The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Keywords: พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

ôð ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

กลาวถึงแลวในงานวิจยั ของพระธรรมวสิ ทุ ธิเถระ๒ สําหรบั งานวิจัยเลม น้ีมวี ตั ถปุ ระสงค
หลกั เพือ่ มุงเนน เฉพาะเรือ่ งความเปนไปของคณะสงฆส องนกิ ายเทานั้น

เชอ่ื กันวา พระปาวนวาสีสวนใหญพํานักพักอาศัยตามปาเขาและดอยดง ตาง
มงุ มน่ั สนใจแตเ รอ่ื งวิปส สนากรรมฐาน๓ แตมิไดหมายความวาทา นไดต ัดขาดจากสังคม
ชาวบา น หลกั ฐานบอกวาพระปาวนวาสีไดมีการโยกยายเร่ือยไป ไมวาเมืองหลวงจะ
ยายไปทแ่ี หงใด สมยั อาณาจกั รโปโฬนนารวุ ะน้ัน ศนู ยกลางของสํานักทิมบุลาคณะวน
วาสีไดยา ยไปอยูที่ปลาพัตคะละ๔ และยังดํารงคงม่ันในฐานะเปนศูนยกลางของคณะ
สงฆฝายวนวาสีจนกระทั่งถึงสมัยอาณาจักรดัมพเดณิยะ แตครั้นกษัตริยสิงหลอพยพ
โยกยา ยผคู นไปสรางเมืองหลวงแหง ใหมทางตะวนั ตกเฉยี งใตใกลชายทะเล ศูนยกลาง
ของคณะสงฆฝายวนวาสีก็เคล่ือนยายดวยเชนกัน หลักฐานระบุวาประมาณพุทธ
ศตวรรษที่ ๒๐ คณะสงฆฝายวนวาสีแหงสํานักปลาพัตคะละก็ยังเปนที่รูจักกัน
แพรห ลาย แตไ มน านเกิดมีคณะสงฆฝายวนวาสีซึ่งมศี ูนยก ลางอยูที่แครคละบริเวณหัว
เมืองทางตะวันตกของเกาะประมาณ ๓๐ ไมล ดานทิศเหนือของเมืองโกฏเฏ คัมภีร
หงั สสนั เดศยะไดอธบิ ายถงึ การกอตงั้ สถาบนั การศกึ ษาของวัดแครคละ ซึ่งมพี ระเถระผู
เปน หวั หนา นามวาวนรัตนมหาสามี๕

๒ Y Dhammavisuddhi, The Buddhist Sangha in Ceylonc. 1200-1400.
(Unpublished thesis submitted for the degree of Doctor of Philosophy of the
University of London), 1970. p.13ff.

๓ Ibid., p.66.
๔ ปลาพัตคะละเปนภูเขาตั้งอยูบริเวณเขตรัตนปุระแหงมณฑลสบรคามุวะ see,
JCBRAS, xxxi, pp.511-512.
๕ Hims.,v.165ff. H.W. Codrington, ‘the karatala inscription’, JCBRAS., no
96, 1925.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅѧ¡Ò ôñ

นอกจากแครคละแลว สํานักวนวาสีแหงเมืองวัตตละก็มีช่ือเสียงโดงดัง
เชน เดยี วกนั สมภารเจาวัดสมยั น้ันนามวาพระนาคเสนมหาเถระ๖ เช่อื กันวา ทานมีชีวิต
อยูสมัยอาณาจักรดัมพเดณิยะหลักฐานชิ้นน้ีสามารถระบุระยะเวลายอนถอยหลังไป
จนถึงพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ คมั ภรี ห งั สสันเดศยะ และจารกึ แครคละระบุวา วัดแหงนีเ้ ปน
ท่พี าํ นักพักอาศัยของพระนาคเสนเถระผูเ ปนสมภารเจา วดั เหตุท่ีทราบเพราะคาดเดา
เอาจากการเกดิ ขนึ้ ของสํานักแครคละ สมัยน้สี ํานักวนวาสแี หง น้ีอาจจะสูญเสยี ช่ือเสียง
และหมดความสาํ คัญ สาํ นกั วนวาสอี ีกแหง หน่ึงอยูท ่ีเมอื งเบนโตตะทางตอนใตข องเกาะ
มกี ลา วถึงหลายครั้งตามคมั ภีรนอ ยใหญ๗ แตไ มม ีหลักฐานชีช้ ดั ถึงพระเถระผรู ง้ั ตําแหนง
สมภารเจาวดั เพยี งบอกวา เปนศนู ยก ลางของคณะสงฆฝา ยวนวาสีเชน กนั

รายละเอียดโดยยอของสํานักแครคละมีกลาวถึงในคัมภีรหังสสันเดศยะ
ผูเขียนบอกวาเปน ผูศรทั ธาช่ืนชอบอยางสงู ตอพระนวรตั นมหาสามแี หงสํานักแครคละ
คมั ภีรเลมนี้กลา วถึงวิถีชวี ิตของพระสงฆวาดํารงตนตามกฎระเบียบ ประพฤติถูกตอง
ตามพระวินยั และงดงามดว ยศีลจารวัตร ลกั ษณะเชนนี้ถือวาเปนหลักปฏิบัติเบื้องตน
ของพระสงฆผูพํานักพักอาศัยในอารามแหงนี้๘ นอกจากน้ันยังมีการฝกฝนดวย
วิปสสนาธุระดวย สอดคลองกับกฎระเบียบของดัมพเดณิกติกาวัตรวา หลักปฏิบัติ
เบื้องตนของพระสงฆฝ ายวนวาสีคือควรใสใ จเรือ่ งวปิ สสนาธุระ การเนนเรื่องวิปสสนา
ธรุ ะของพระสงฆฝ า ยวนวาสีบอกไวชัดในคัมภีรสัทธรรมรัตนากรยะของพระวิมลกีรติ
เถระ ซึง่ ทา นเปน พระนักปราชญผชู ืน่ ชอบสํานักวนวาสีแหงน้ี เพราะเช่ือเรื่องการสูญ
หายเสาคํ้าหลักพระพุทธศาสนา (ปญจอันตรธาน) ผูเขียนไดรองขอใหสรรพสัตว
วิปส สนากรรมฐาน เพือ่ ใหค ําสอนของพระพุทธเจารุงเรืองสวางไสวช่ัวกาลนาน สวน

๖ Hims., v.195ff; H.W. Codington, ‘The Karagala inscription’, JCBRAS., no
96. 1925, p.29ff.

๗ Tss., v.65; Prs.,v.69; Grs. ,v.105; kks., v.90.
๘ Hms., v.173.

ôò ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ความมั่งค่ังแหงจักรพรรดิผูเขียนไดกระตุนเตือนใหอุบาสกอุบาสิกาพัฒนากุศลจิต
ภาวนาเพอื่ เปน กุศลกรรมวบิ ากหลงั จากสังขารไปสูปรโลกเบ้ืองหนา ความสนใจเรื่อง
วิปส สนากรรมฐานของพระสงฆฝายวนวาสีดังกลาว ไมไดหามเรียนรูหรือสรางสรรค
ผลงานดานวรรณกรรมแตอยางใด เพราะมพี ระสงฆฝายวนวาสีเปนจํานวนมากพากัน
สรา งช่ือเสียงในฐานะพระนักปราชญ ดังเชนพระสงฆที่สืบเชื้อสายมาจากพระธรรม
กีรติเถระแหงสํานักปลาพัตคะละ ลวนโดงดังในฐานะพระสงฆผูทรงความรูในดาน
วรรณคดรี ายช่ือพระสงฆนักปราชญที่สืบสายมาจากพระธรรมกีรติเถระ และผลงาน
ของทา นปรากฏในปจฉมิ บทของคัมภีรส ัทธรรมรตั นากรยะ

คัมภีรนอยใหญสมยั น้ัน ชี้วางานเขียนของพระสงฆฝายวนวาสี ลวนกลาวถึง
แตเร่อื งธรรมสงั เคราะห๙ ไมยงุ เก่ยี วการเรียนการสอนหรอื ผลิตผลงานดานโลกศาสตร
เชน กวีนิพนธ การละคร และดาราศาสตร๑๐ แตหลังจากตรวจสอบหลักฐานอยาง
ละเอียดแลว กลับเหน็ วา ไมไดเ ปน นั้นจริง ตวั อยา งเชน พระวนรัตนมหาสามีแหงสํานัก
แครคละเปนปราชญแตกฉาน ท้ังคดีโลกและคดีธรรมไมแพพระสงฆนักปราชญฝาย
คามวาสี๑๑ คัมภีรหังสสันเดศยะบอกวาทานไดแตงคัมภีรดําเนินตามกาพยภาษา
สนั สกฤต ซึ่งถือวา เปน มาตรฐานในการผลติ ผลงานกวีนพิ นธแนวสันเดศยะ๑๒ คมั ภีรกวี
นิพนธเลม นี้ผเู ขียนยกยองพระวนรตั นเถระวาเปนผูเชี่ยวชาญความรูทางโลก เชน กวี
นิพนธ ละคร และดาราศาสตร๑๓ และอธิบายถึงปทมาวดีปริเวณะท่ีแครคละวา
พระสงฆนักศึกษารูปศึกษาทางโลกดวย ดังเชน กวีนิพนธและละครเชิงศาสนา๑๔

๙ Sannasgala, Sinhala Sandesa Sahtyaya, p.179; M. Wickramsinha,
Sinhala Sahityaya Nagima, Colombo, 1954, p. 140.

๑๐ Sannasgala, Sinhala Sandesa Sahityaya, p.๑๗๙.
๑๑ Hms., v.144ff; cf. Grs., v.16ff.
๑๒ Hms., Introduction, p.xxv.
๑๓ Hms., vv.194-196.
๑๔ Hms., v.191.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ Ñ§¡Ò ôó

รายละเอียดเก่ียวกับหลักสูตรของสถาบันแหงน้ีจะวิเคราะหตอไปหลักฐานดังกลาว
เบ้ืองตน ช้ใี หเห็นวาพระสงฆฝายวนวาสยี คุ นี้มิไดเ รยี นวชิ าทางโลกเทานั้นแตยังผลิตผล
งานอีกดว ย

กลาวกันวา พระสงฆฝ า ยวนวาสีปฏเิ สธคติความเชื่อของมหายานและความเชือ่
แบบชาวบานขณะทฝี่ า ยคามวาสกี ลบั ยอมรบั ความเช่อื เหลา นน้ั อยา งอสิ ระ๑๕ หลกั ฐาน
เหลาน้ีมกี ลาวถึงในคัมภีรสัทธรรมรัตนากรยะ ซ่ึงเปนงานเขียนเชิงกวีกวีธรรมะสมัย
พุทธศตวรรษที่ ๒๐ แตง โดยพระธรรมทนิ นวิมลกีรติเถระ ถือวาเปนสุดยอดงานเขียน
ของพระสงฆฝายวนวาสี เน้ือหากลาวถึงพระพุทธเจามี ๔ กาย กลาวคือ รูปกาย
ธรรมกาย นิมิตกาย และสูญกาย ผูเ ขียนอธบิ ายความหมายเหลาน้ีวา รูปกายหมายถึง
พระพทุ ธเจาในรางกายสามัญมนุษยซึ่งสามารถมองเห็นดวยประสาทเน้ือ ธรรมกาย
เปน รางแหงการตรสั รภู ายใน หรือธรรมะของพระพทุ ธองค สวนนิมติ กายอธบิ ายวา เปน
สภาวะของโสปาธเสสนิรวาณธาตุหมายถึงนิพพาน สวนท่ีเหลือเปนภาวะสามารถ
มองเห็นไดเ พียงผวู เิ ศษเทานั้น และสญู ตาเปน ภาวะของพระพุทธเจาในลกั ษณะของอนุ
ปาธิเสสนิรวาณธาตุ ดงั เชน การประทานพรพระนิพพานปราศจากสว นทีเ่ หลอื ตัวตน๑๖

คําสอนเกี่ยวกบั กายสามของพระพทุ ธเจา เปน หลกั คาํ สอนเดนอยางหนึ่งของ
มหายาน พบเหน็ ในคมั ภรี อษฏสาหสั ริกาปรัชญาปารมติ า ทานนาคารชนุ อธิบายวากาย
ของพระพทุ ธเจา มีสองเทา นน้ั กลา วคอื รปู กาย๑๗ สาํ นักวชิ ญาณวาทไดเ พม่ิ กายสามเขา

๑๕ M. Wickramasinha, op.cit., p.120.
๑๖ See L ‘Abhidhammakosa de Vasubndhu, Traduit et Annote par louis

De La Vallee Poussin, ii, p.294, vi, p.211; louis De La Vallee Poussin, The Two

Nirvanadhatus according to the Vibhasa, Indian Historicail Quarterly, vi. pp.39-45.
๑๗ N. Dutt. Aspecst of Mahayana, Buddhism and Its Relation to

Hinayana, London, 1930, p.95; M. Sasanaratana, Lakdiva Mahayana Adakas,
Colombo, 1969, p.217.

ôô ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

มากลาวคือสัมโภคกายจึงกลายเปนตรีนิกายของมหายาน๑๘ บรรดาตรีกายเหลานั้น
ธรรมกายหรือธรรมธาตุ เปน สารัตถะหลักของพระพุทธเจา และเปนของจริงแทหน่ึง
เดียวตามปรากฏการณและเปนปจเจกภาพ สําหรับสัมโภคกายเปนภาคสําแดงเปน
ภาวะเหนือธรรมชาติ พระพทุ ธเจา ปรากฏพระกายบนสวรรคหรอื สําแดงรางในรปู แบบ
ของเทวดาอันเรอื งรอง สวนนิรมาณกายหมายถึงรางกายท่ีเปลี่ยนรูปรางตามกฎไตร
ลักษณ ช่ือวาเปนกายเน้ือของพระพุทธเจา๑๙ ศัพทวาธรรมธาตุตามความหมายคือ
ธรรมชาตขิ องสรรพสง่ิ ซ่ึงเปนทร่ี จู ักกันดีของนักศึกษาภาษาบาลี๒๐ สวนอีกสองอยาง
เปนท่ีรูจักกันดีในหมูศาสนิก ผูศรัทธามหายาน๒๑ การอธิบายเรื่องตรีกายและกายส่ี
ของพระพุทธเจา ตามหลกั คาํ สอนของมหายานอยางละเอียดเชน นี้ แสดงใหเ หน็ วาพระ
ธรรมทนิ นวิมลกีรตเิ ถระคุน เคยกับหลกั คําสอนเหลาน้เี ปนอยา งดี

คําสอนเรื่องรูปกายมีความคลายคลึงกับนิรมาณกาย แนวความคิดของ
มหายานเกี่ยวกับธรรมกายอาจจะเปรียบเทียบกับธรรมกายของคัมภีรเลมน้ี
ความหมายของนิมิตกายตามคมั ภีรเ ลมนี้ ถือวา เปน การตอ เตมิ เสริมแนวความคิดเร่ือง
สัมโภคกายของมหายาน เพราะผูเขียนไดเพ่ิมอีกหนึ่งกายตามหลักคําสอนเรื่องกาย
การอธิบายเร่ืองกายชใ้ี หเห็นถึงการขยายแนวความคิดเรื่องสุญญตา ของทานนาคาร
ชุน๒๒ แสดงใหเ หน็ วาพระธรรมทินนวิมลกีรติเถระรูจักผลงานของทานนาคารชุนเปน
อยางดี กลาวเฉพาะบทที่ ๗ มีช่ือวาไมตรียสังครหกถาอธิบายเร่ืองพระพุทธเจาทรง
พยากรณพระไมตรียพุทธเจา ตามคําทูลนิมนตของพระสารีบุตรในโอกาสช่ือวารุวัน

๑๘ N. Dutt, op.cit.p.117ff; Har Dayal, The Bodhisattva Doctrine in
Buddhist Sankrit Literature, p. 29.

๑๙ N. Dutt, op.cit., p. 113ff.
๒๐ See Dhigha Nikaya, (PTS), 2.p.9; Majjhima Nikaya, (PTS), 1. P.396.
๒๑ S. Paranavitana, ‘Mahayanism in Ceylon’, CJSc, ii, p.43.
๒๒ M. Sasanaratana, Baudha Darsana Sanghaya, Colombo, 1953, 2.vv.
๔๙-๕๓.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ Ñ§¡Ò ôõ

สักมณะ ความแตกตางอยางเดนชัดขอหน่ึงระหวางมหายานกับเถรวาท คือความ
ผกู พันกบั คติความเชอื่ เรอื่ งพระโพธสิ ัตว หรอื พระพุทธเจาในอนาคต มหายานยอมรับ
วา มีพระโพธสิ ตั วจาํ นวนมากมายนับไมถ ว น๒๓ แมเจาชายสิทธัตถะกอนตรัสรูเปนพระ
โคตมพทุ ธเจา ก็ถือวา เปนพระโพธสิ ตั วเ ชนกนั คติความเชอ่ื เรอ่ื งพระโพธสิ ัตว จึงไดกอ
รางสรางตัวกลายเปนหลักคําสอนสําคัญอยางหนึ่งของชาวสิงหล ดวยเหตุน้ันคัมภีร
สัทธรรมรัตนกรยะอางอิงเรื่องพระไมตรีโพธิสัตวจึงพิจารณาไดวาเปนการยอมรับ
โดยเฉพาะการพยากรณเกี่ยวกับพระไมตรียโพธสิ ตั ววามีตน เคามาจากมหายาน๒๔

ตั้งแตสมัยอนรุ าธปุระตอนปลายเปนตน มา กษัตริยล ังกาลว นยอมรับคติความ
เชื่อพระโพธิสัตวตามนัยมหายาน๒๕ สิลาจารึกท่ีสํานักเชตะวันวิหารชี้บอกวาพระ
โพธสิ ตั วเ ทานน้ั จงึ สามารถเปน กษัตริยของเกาะลังกาได ความเช่ือแบบมหายานทรง
อิทธิพลเร่ือยมาจนถงึ พุทธศตวรรษท่ี ๒๐ พระบรมราชูทิศแหงโอรุวะระ ระบุวาพระ
เจา ปรากรมพาหุท่ี ๖ ทรงเปนพระโพธิสัตวผูยิ่งใหญ เรียกวาโพธิสัตวาวตาระ ผูแตง
คัมภีรสัทธรรมรัตนากรยะก็ยืนยันวาพระองคเปนพระโพธิสัตวจริง หลักฐานสวนนี้
ช้ีใหเห็นวาพระธรรมทินนวิมลกีรติเถระ ยอมคติความเช่ือมหายานดวยการอางถึง
กษัตรยิ วา เปน พระโพธสิ ัตว มคี ติความเชอ่ื ของมหายานสอดแทรกอยูในงานเขียนสมัย
นั้นดว ย ดังเชน เนอ้ื หาของคัมภีรหังสเดศยะไดข อรองใหพระวนรัตนเถระสาธยายรัตน
สูตร เพ่ือแสดงความออ นนอมคารวะตอ เทพอุบลวัณ เทพสามัน และเทพวิภีศะณะ๒๖
ต้งั จติ ปรารถนาใหเทพเหลาน้นั ประทานพรแกพระเจาปรากรมพาหุ ความจริงแลวเถร
วาทยคุ ด้งั เดมิ ไมเ กี่ยวขอ งกับคติความเช่ือเหลานเ้ี ลย แตก ลายมาเปนท่ีรูจักแพรหลาย

๒๓ Bodhicaryavatara, ed. W. Meddhananda, Colombo, 1953, 2vv.49-53.
๒๔ M. Sasanaratana, Lakdiva Mahayana Adahas, p.213.
๒๕ G.C. Mendis, Early History of Ceylon, Colombo, 1959, p.54.
๒๖ Hms.,v.201ff. H.W. Codrington, ‘the karatala inscription’, JCBRAS., no
96, 1925.

ôö ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

สมัยกลาง แมแตพระวนรัตนเถระก็ไมสามารถปฏิเสธอิทธิพลความเชื่อทางสังคมได
ดวยเหตุดงั กลาวหลกั คาํ สอนของมหายานและคตคิ วามเช่ือชาวบา นตางเปน ท่รี จู กั กันดี
ของพระสงฆฝายวนวาสี เพราะผูเขยี นคัมภีรสทั ธรรมรัตนากรยะและคัมภีรหื ังสสนั เดศ
ยะ ลว นไดแรงบันดาลใจจากคัมภีรข องมหายานทั้งสิน้

๒.๑.๒ คณะสงฆฝายคามวาสี
สําหรับคณะสงฆฝายคามวาสีนั้นอาศัยอยูตามอารามวิหารใกลเมืองหรือ
หมูบ าน ทาํ งานพระศาสนาอยูกับชาวบานเปนปกติวิสัย ศูนยกลางสวนใหญอยูกลาง
เมืองหลวง สมัยอาณาจักรดมั พเดณยิ ะนน้ั คระสงฆฝ า ยคามวาสีมีศูนยกลางอยูท่ีวิชัย
สนุ ทรารามแหง เมอื งดัมพเดณยิ ะ๒๗ คมั ภรี ว ตุ ตมาลาสันเดศสตกะ ซึ่งเปนกาพยภาษา
บาลีไดอ ธบิ ายรายละเอยี ดเกีย่ วกับวดั ที่แดดคิ ามะวา สรา งโดยพระเจาปรากรมพาหุท่ี
๕๒๘ และระบุเพิ่มเติมวาอาวาสแหงนี้มีพระผูใหญท้ังสองคณะอาศัยอยู๒๙ แมไมมี
หลักฐานระบุแนชัดวาอาวาสแหงน้ีเปนศูนยกลางของคณะสงฆฝายคามวาสี แตก็
ยนื ยันไดว า เปนศนู ยกลางการบริหารคณะสงฆ
ภายหลังการลม สลายของอาณาจกั รดมั พเดณิยะ ลว งเขา สมัยพระเจา ปรากรม
พาหทุ ่ี ๖ แหง อาณาจักรโกฏเฏ๓๐ พระองคโ ปรดใหสรา งอาวาสหลายแหง บริเวณเมือง
หลวงโกฏเฏ สันนิษฐานวานาจะนอมถวายแดพระสงฆฝายคามวาสี เพ่ือใหเปน
ศูนยกลางสงเคราะหชวยเหลือชาวบาน งานเขียนประเภทสันเดศยะยุคนี้กลาวถึง
อาวาสขนาดใหญในเมืองโกฏเฏนามวารามราชมหาวิหาร๓๑ แปลวาวัดของพระเจา
แผนดิน นาจะเปนวัดสําคัญสรางโดยพระเจาปรากรมพาหุ นอกจากน้ันยังมีตามหัว

๒๗ D. Sumanajoti, Damabadeni Yugaya, 2.p.69; Sdhityaya, 4.63.
๒๘ Vss.,v.51 f.
๒๙ SSL., p.104.
๓๐ JCBRAS., xxii, p.15.
๓๑ Sahityaya, 2, 1957. P.69.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò ô÷

เมืองนอยใหญต ลอดอาณาจักร วัดเหลานี้คงเปนศูนยกลางทางศาสนาของบานเมือง
เกอื บครึ่งศตวรรษ แตรัชสมัยพระเจาภูวเนกพาหุกลับไมมีกลาวถึง อาจเปนไปไดวา
ความมากอิทธิพลของโปรตเุ กสและบทบาทของคณะมิชชนั นารตี อพระเจา ภูวเนกพาหุ
จึงทําใหสถานภาพและช่ือเสียงของคณะสงฆสิ้นสุดลงนับตั้งแตชวงแรกแหงการณ
ครองราชยของพระเจา ธรรมปาละ

ความเสยี หายรายแรงเกิดข้นึ กับราชมหาวหิ าร เม่ือพระเจาธรรมปาละไดเขารีต
เปนคริสต พระสงฆตามอารามวิหารเหลานี้จึงพากันท้ิงวัดเสีย แลวอพยพไปอาศัย
อาณาจักรสีตาวะกะ และอาณาจักรแคนดี๓๒ หลกั ฐานในพระบรมราชูทิศแสดงใหเห็นถึง
ความศรัทธามั่นคงตอ ศาสนาใหม ของพระเจา ธรรมปาละวา พระองคท รงประทานอาราม
วิหารนอยใหญท่ีดินและภาษีวัดท้ังหมดภายในอาณาจักรโกฏเฏ มอบถวายใหแกพวก
มชิ ชนั นารเี พอื่ เปนทุนสําหรบั คํ้าจุนวิทยาลัย ซ่ึงบาทหลวงโรมันคาทอลิกกําลังเรงสราง
ตามหวั เมอื งนอ ยใหญช ายทะเล นอกจากอารามนามราชมหาวิหารเหลานั้นแลว จํานวน
วดั มากหลายท่สี ังกัดคณะสงฆฝ า ยคามวาสกี ็ถูกพวกมิชชันนารียึดครองเชนกัน ไดแก เก
ลาณียะ แวลิคามะ เดลคามุวะ อัตตนคัลละ และโตฏคามุวะ บางแหงเปนศูนยกลาง
การศกึ ษาแหงยุคซ่งึ มีชือ่ เสยี งโดงดัง๓๓

เม่ือดินแดนรอบนอกของเกาะลังกาตกเปน อาณานิคมของโปรตุเกสหมดแลว
พระเจาวิมลธรรมสุริยะที่ ๑ ไดตั้งตัวเปนกษัตริยศรีลังกาครองเมืองศรีวัฒนบุรีหรือ
เมอื งแคนดี้ เม่ือ พ.ศ. ๒๑๓๕ โปรตุเกสไมสามารถตีเมืองแคนดี้ไดเพราะมีภูเขาเปน
กาํ แพงลอมรอบอยางดี ในยุคทีแ่ คนด้ีเปนเมืองหลวงของศรีลังกานี่เองที่คณะสงฆสูน
สนิ้ ไปจากศรีลังกาจนกษตั ริยศ รลี งั กาตองสง ราชทูตไปกรงุ ศรีอยุธยาเพอื่ อาราธนาพระ
อบุ าลไี ปพื้นฟสู มณวงศที่ศรีลังการ

๓๒ Rjv.,v.59.
๓๓ SSS., pp.191-196.

ôø ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

๒.๒ บทบาทของพระสงฆค ามวาสี
หนาหลักของพระสงฆฝ ายคามวาสีคือศกึ ษาเลาเรียนธรรมะ สวดสาธยาพระ

ไตรปฏ ก เทศนาธรรม และสงเคราะหศาสนพิธีแกชาวบานซ่ึงสอดคลองตามนัยแหง
คนั ถธุระ๓๔ มีกลา วไวในคมั ภรี อ รรถกถา๓๕ และกติกาวัตร ดังเชนโปรโฬนนารุกกติกา
วตั รไดบัญญตั ิกฎระเบียบเพ่ือใหพระสงฆประพฤติตนตามคันถธุระและวิปสสนาธุระ
เพอ่ื ความเจรญิ รุงเรืองของพระศาสนา ดัมพเดณิกติกาวัตรเพิ่มเติมอีกวา หนาที่หลัก
ของพระสงฆผูประพฤติตนตามคันถธุระ คือการสอน การเรียน และการแสดงธรรม
หลกั ฐานสว นนีม้ ิไดหมายความวาพระสงฆฝายคามวาสีพากันเหินหางจากการปฏิบัติ
ธรรม เพราะดัมพเดณิกติกาวัตรบอกวาพระสงฆฝายคามวาสีนั้น นอกจากศึกษาเลา
เรยี นธรรมะ และปฏิบัติหนาท่ีตามขอ บังคับแลว ควรเจริญภาวนาดวย กติกาวัตรสมัย
พระเจาพาหุที่ ๖ ระบวุ า พระสงฆฝา ยคามวาสีควรรําลึกไวเสมอวาหนาท่ีเบื้องตนคือ
การศึกษาเลาเรียนและส่ังสอนธรรม หลักฐานสวนน้ีชี้ชัดเจนวา หนาที่หลักของ
พระสงฆฝายคามวาสีคือใกลชิดติดตอฆราวาส จึงเห็นไดวาเมื่อเก่ียวของคุนเคยกับ
ฆราวาสนานวัน นามเดือนและนานป ยอมทําใหความคิดและความเปนอยูของ
พระสงฆฝา ยคามวาสีมีความแตกตางจากพระสงฆฝ า ยวนวาสีอยา งสนิ้ เชงิ ความใกลช ิด
ของพระสงฆฝ ายคามวาสกี ับชาวบา นเชนนี้ นําไปสคู วามประมาทและความเส่ือมถอย
ดว ยเหตนุ ี้หลักฐานหลายแหงจึงอธบิ ายถงึ การชําระฟนฟูคณะสงฆหลายตอหลายครั้ง
โดยระบวุ าความเสื่อมเกิดขึ้นบอยครง้ั ในคณะสงฆ ฝายคามวาสมี ากกวา ฝา ยวนวาสี

๓๔ See, The Pali Text Society’s Pali English Dictionary, ed. T.W. Rhys
Davids and William Stede, p.93.

๓๕ Dhammapdatthakatha, (PTS), ed. H.C. Norman, London, 1906, 1.
pp.7,9,154; paramatthajotika, (PTS), ed. H.Smith, London, 1916, pp.194, 306.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò ôù

แตอ ีกมุมหนึ่ง ความสัมพนั ธใ กลช ดิ ระหวางพระสงฆฝายคามวาสีกับชาวบาน
กเ็ กิดพฒั นาการภายในคณะสงฆห ลายอยาง กลายเปนลกั ษณะพเิ ศษระหวางพระสงฆ
ผูสนใจวิปสสนากรรมฐานกับพระสงฆผูมีความเชื่อแตกตางจากหลักคําสอนของ
พระพทุ ธเจา

สันนษิ ฐานวา พระสงฆผ อู ยทู ามกลางสงั คม ตา งชื่นชอบความเชื่อแบบชาวบาน
ดงั เชน คติความเชอื่ เกี่ยวกับยักษ หลักฐานเหลานพี้ บในคมั ภรี สุมังคลวิลาสินีซึ่งอธิบาย
วธิ ีการแกไข กรณีพระสงฆถ ูกยักษเ ขา สงิ ๓๖ บัญญัติขอหนึ่งในดัมพเดณิกติกาวัตรหาม
พระสงฆถวายเคร่ืองพลีแกยักษ หรือวารวมพิธีทรงเจาเขาผี ยุคน้ีการทรงเจาเขาผี
กลายเปน ที่รจู กั แพรห ลายของพระสงฆ ฝายคามวาสี โดยเฉพาะพระศรีราหุลเถระนั่น
ถือวาเปนผูช ํานาญในพธิ กี รรมเหลาน้ี๓๗ หลักฐานเชนนี้ปรากฏในงานเขียนหลายเลม
ของทา น คมั ภีรกเุ วณอิ สั นะซึ่งมีเนอ้ื หาเก่ียวกับไสยศาสตร แตงข้นึ เพือ่ สดดุ ชี ยั ชนะและ
ประทานพรแดพ ระเจา ปรากรมพาหทุ ่ี ๖ เปนผลงานของพระสงฆลูกศิษยของพระศรี
ราหุลเถระ สวนพระวีทาคมไมตรยี เถระไดป ระณามความเชือ่ เหลาน้ี โดยแตงคัมภีรชื่อ
วาบุดุคณุ าลงั การยะ

การกราบไหวบูชาเทพอุบลวันและเทพวิภีศะณะ พรอมกับพระโพธิสัตว
มหายานนามวา อวโลกเิ ตศวร (นาถะ) ปรากฏวา มีอยูเ คียงขางพระพุทธเจาแพรหลาย
ตามอารามนอ ยใหญข องคณะสงฆฝายคามวาสี คติความเชื่อเหลานี้สามารถยอนรอย
ถอยหลังถึงยุคอนุราธปุระ เปนท่นี าสงั เกตวา ทั้งวรรณกรรมหรอื จารกึ จาํ นวนมาก ภาย
พทุ ธศตวรรษที่ ๑๕–๑๘ ลวนอางถงึ คตคิ วามเชอื่ เหลานี้ และวรรณกรรมเหลานั้นตาง
เปน ผลงานของพระสงฆฝ า ยคามวาสี๓๘ วชิ ัยพาหปุ รเิ วณะแหงหมูบานโตฏคามุวะเปน

๓๖ Sumangalailasini, (PTS), 3. pp.969-70.
๓๗ Wachissara, Saranankara Sangharaja Samaya, p.99
๓๘ Prs.,v.179ff; trs.,v.100; kks.,v.165; Sls.,vv.77-92.

õð ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ศูนยกลางการประกอบพิธีกรรมสรรเสริญบูชาเทพนาถะ๓๙ สําหรับเดวินูวะระเปน
สถานสถติ ของเทพอุบลวนั และเกลาณยี ะเปน สถานสถติ ของเทพวภิ ีศะณะมาเนน่ิ นาน

พระศรรี าหลุ เถระเปน ผูเชื่อมัน่ ตอ เทพวิภีศะณะ และศรทั ธาม่ันคงตอ เทพอบุ ล
วนั หลกั ฐานสวนน้ียนื ยนั ไดจ ากงานเขียนของทานชอ่ื วาปเรวสิ นั เดศยะ สว นสมภารเจา
วัดแหง ตลิ กปริเวณะแหง เมืองเดวินวู ะระ ก็เปน ผศู รทั ธาแกกลาตอเทพอุบลวันเชนกัน
เพราะระบถุ งึ งานเขียนของทานนามวาโกกิลสันเดศยะ คัมภีรหังสสันเดศยะของพระ
วนรตั นเถระแหงสํานักแครคละไดรองขอใหออนนอมตอเทพเจาเหลาน้ัน ท้ังพระศรี
ราหุลเถระและเจาอาวาสติลกปริเวณะตางพากันประกอบพิธีออนวอนเทพเจาดวย
ความเคารพศรัทธาสวามิภักด์ิ เหตุเพราะคณะสงฆฝายคามวาสีผูกพันใกลชิดกับ
ฆราวาสเชน นี้ จึงยอมรบั คติความเชื่อแบบชาวบานแลวกลมกลืมเขากับพิธีกรรมทาง
พทุ ธศาสนาจนรวมเปน เนื้อเดยี วกัน

เพราะศรทั ธาเชื่อม่นั ตอความเชื่อแบบชาวบา น คณะสงฆฝายคามวาสีจึงทรง
อิทธิพลตอชาวบานเปนธรรมดาวิสัย สมัยนั้นตางเช่ือกันวาเทพอุบลวันและเทพ
วิภีศะณะ สามารถประทานพรใหสําเร็จผลได ดังเชน ประทานพรพระสวามีผูมี
ความสามารถแดพระราชธดิ าของกษตั ริย หรอื ประทานบุตรแกพ ระราชธดิ าผไู รบตุ รมา
นาน ความเชอ่ื เชน น้เี ปน แรงบนั ดาลใจใหพระศรีราหลุ เถระ แตงคัมภีรปเรวิสันเดศยะ
และคัมภีรแสฬลิหินิสันเดศยะ เน้ือหาของคัมภีรปเรสันเดศยะใชนกพิราบเปนผูนํา
สาสนสงถึงเทพอุบลวันแหงเมืองเดวินูวะระ เพ่ือออนวอนประทานพรใหพระนาง
จันทราวดี ผูเปนพระราชธิดาของพระเจาปรากรมพาหุที่ ๖ สยัมพรกับพระสวามีท่ี
เหมาะสม๔๐ สว นคัมภรี แ สฬลิหนิ ิสันเดศยะกลาวถึงการสงสาสนถึงเทพวิภีศะณะแหง

๓๙ N. Mudiyanse, Mahayana Monuments in Ceylon, 1969, Colombo,
p.12. Prs., 179ff; Sls.,vv..77-92.

๔๐ G Varasambodhi, Campola Ithihasaya, Colombo, 1949, p.32. AAGP.,
p.64.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅѧ¡Ò õñ

เกลาณียะในนามของนันนุระ พระราชธิดาอีกพระองคหน่ึงของพระเจา ปรากรมพาหุท่ี
๖ วอนขอใหเทพวิภีศะณะประทานบุตรแกพระนาง สาสนท่ีสงถึงเทพวิภีศะณะมี
ใจความวา ขา พระมหาเทพเทวาเจา ผูเปนพระเนตรแหงโลกสาม ผูมีพระบาทอันชุม
เย็นดวยกลิ่นหอมแหงเกสรของบุปผาชาติ อันเปนมาลาคลองพระบาทเทวาเจา ขอ
พระองคท รงเมตตาประทานพรใหเ จา หญิง (อุลกุฑยเทวี) ไดอัญมณีกลาวคือพระราช
โอรสผูง ามสงา มจี ติ ใจงดงาม มีอายยุ ั่งยืนนาน รงุ เรืองงดงาม มีพระปรีชาสามารถและ
มีชื่อเสียงเลอ่ื งลอื ขจรไกล ขอใหพ ระโอรสของพระองคน ้นั ไดรับการยกยองและชื่นชม
ยินดีของพระมเหสีนามวารัตนาวลี ขอใหพระองคไดเสวยราชยเปนพระเจาแผนดิน
แหงลังกาเหมือนดังพระเจาปรากรมพาหุมหาราช ไมมีความสําเร็จอันใดยิ่งไปกวา
ความเปนใหญ และอํานาจอันสูงสงของพระองคอีกแลว พระกรุณาคุณและชื่อเสียง
ของพระองคจะเพมิ่ ขึ้นเทา พันทวี หากอญั มณคี อื พระโอรสจะปรากฏเปนของขวัญอัน
ทรงคุณคาแกพระราชธิดา ผูกราบกรานนอมบูชาที่พระบาทอันสูงเลิศดวยดอกมะลิ
และปทุมชาติ๔๑

อรรถาธิบายดังกลาวชวยใหเขาใจชัดแจง ถึงอิทธิพลความเช่ือตอคณะสงฆ
ฝายคามวาสี ความยืดหยนุ เชน นนี้ าํ ไปสูการสรางเทวาลยั จาํ นวนมากใกลชิดติดอาราม
วหิ าร หลักฐานระบวุ า ยุค อนรุ าธปรุ ะไมม อี ารมวิหารเก่ียวขอ งกับเทวาลยั แตอยางใด
ปรากฏพบเหน็ ครั้งแรกในสมยั คัมโปละ ซ่งึ ระบุวา บรเิ วณวดั ลงั กาตลิ กะมรี ูปปนเทพเจา
ฮนิ ดปู ระดษิ ฐานเชือ่ มติดกบั พระวิหารดานนอก๔๒ ตอ มาพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ความเชื่อ
เชนนไี้ ดร งุ เรอื งแพรห ลายเกิดมเี ทวาลัยจํานวนมากเคียงคูอยูกับอารามวิหาร คัมภีรอ
ลตุ นูวะระเดวาเลกรวมี ะระบวุ า มอี ารามวหิ ารหลายแหง อยูติดกบั เทวาลัย และสมภาร
เจาวัดเปนผูทําหนาที่สวดพระปริตรตอหนาเทพอุบลวันเปนนิจ๔๓ คณะสงฆฝาย

๔๑ Sls.,vv.77-92.
๔๒ ADK., folio. Klu.
๔๓ ADK., folio. Klu.

õò ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

คามวาสีแหงสํานักคลตุรุมลุ ะวหิ ารก็ประกอบพิธีเชนเดียวกัน๔๔ นอกจากนั้นยังมีการ
นอมถวายท่ีดินและภาษีอากรแกสมภารผูกระทําพิธีดวย เจาอาวาสผูกระทําเชนน้ี
เรียกวาวิทานสามี๔๕ ตําแหนงนี้เปนกฎระเบียบเชนเดียวกับสามันเทวาลัยแหงเมือง
รัตนปุระ มิใชเฉพาะสํานักคลตุรุมุวะเทานั้น ยังมีอารามวิหารอีกหลายแหงท่ีอยูติด
เทวาลยั หลักฐานจากพระบรมราชูทิศมหาสามันเทวาลัยระบุวา หนาท่ีหลักของเจา
อาวาสผูด แู ลเทวาลัยคอื สวดพระปรติ รทุกวันดานหนาเทพสามัน๔๖

งานวรรณกรรมของพระสงฆฝา ยคามวาสหี ลายเลม แสดงถึงความคุนเคยกับ
เคร่ืองหมายฤกษยามตามนัยโหราศาสตร ตัวอยางเชน คัมภีรปเรวิสันเดศยะระบุวา
พระศรีราหุลเถระกาํ หนดฤกษยามแกนกพิราบ โดยเร่ิมตนเดินทางวันจันทรตอนเชา
ตามดวงหะตะ ตอนดาวพุธเคล่ือนเขาสูราศีกันย๔๗ สวนคัมภีรแสฬลิหิณิสันเดศยะได
รวบรวมรายชื่อฤกษยามเปนจํานวนมาก๔๘ ดานคัมภีร กุเวณิอัสนะบอกวาพระศรี
ราหลุ เถระไดแ นะนาํ ผูสง สาสนใหตรวจสอบฤกษยามกอนออกเดินทาง เพราะเห็นวา
เปนเรอื่ งสําคัญย่ิงกวาดวงดาว๔๙ พระเถระนอกจากปฏิบัติตนตามความเช่ือดังกลาว
แลว ยงั มีสวนสาํ คัญในการประกอบพิธีกรรมทางไสยศาสตรดวย ตัวอยางเชนคัมภีรกุ
เวณิอัสนะบอกวาพระเถระประกอบพิธีกรรมเซนสรวงเทพธิดากุเวณิ เพ่ือออนวอน
เทพธดิ าใหประทานพรแกพ ระเจา ปรากรมพาหุที่ ๖ หลกั ฐานตามตํานานกลาววาพระ
ศรีราหุลเถระเปนผูศรัทธาช่ืนชอบเทพสกันดะโดยมีมนตราอยางหนึ่งเรียกวาส
กันดวรปรสาทะ กลาวกันวาเพราะมนตรานี้เองทําใหพระเถระสามารถมีความรู

๔๔ ADK., folio. Klu.
๔๕ K. Nanavimala, Sapragamuve Parani Liyavili, p.34.
๔๖ Skt. Hasta, eleventh (or thirteenth) lunar asterism, sv. Sanskrit-English
Dictionary, A.A. Macdon ald, London, 1973.
๔๗ Kuveni-asana, ed. K. Nanavimala, Ratnapura, 1956, p.11.
๔๘ Sls., v.16.
๔๙ Kuveni-asna, p.11.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò õó

กวา งขวางทั้งศาสตรแ ละศลิ ป จนไดรับการขนานนามวา ศาฑภาษาปรเมศวร แปลวาผู
แตกฉานดา นภาษาทัง้ หก๕๐ คมั ภีรป เรวิสันเดศยะบอกวาพระศรีราหุลเถระอางตนวา
ไดร บั พรจากเทพสกนั ดะเม่อื อายุ ๑๕ ป สว นบรู พาจารยข องทา น ซง่ึ สังกัดสํานกั อุตรุ ุมู
ละกศ็ รัทธาชนื่ ชอบเทพสกนั ดะเชนกัน๕๑ คัมภรี ราชรัตนากรยะ๕๒ บอกวาสํานักแหงน้ี
เปนสาขาหนึง่ ของสาํ นักอภัยคิรีวหิ ารสมัยอาณาจักร อนรุ าธปรุ ะ

หลกั ฐานชน้ิ สุดทายท่กี ลา วถึงคณะสงฆฝายวนวาสีและฝายคามวาสี พบเห็น
ในคัมภรี ร าชรัตนากรยะ ซ่ึงวาดวยการฟนฟูคณะสงฆภายใตการอุปถัมภของพระเจา
เสนาสัมมตวิกรมพาหุแหงอาณาจักรแคนดี้ หลักฐานบางแหงบอกวาพระสงฆฝาย
คามวาสีพากนั ประพฤตทิ ุจริตผดิ พระธรรมวนิ ัย เพราะคิดวาไมม ใี ครสามารถชําระฟน ฟู
คณะสงฆได๕๓ สถานการณเส่ือมทรุดลงอีกเมอ่ื เกดิ ความไมม่นั คงทางการเมืองท่ัวเกาะ
ลังกา ซึ่งเรมิ่ ปรากฏเคาลางตอนตนพุทธศตวรรษที่ ๒๑ การตอสูด้ินรนทางการเมือง
ภายในและการบกุ รกุ รานจากคนตา งชาติ เปนเหตใุ หก ษัตรยิ ภ ายหลงั พระเจา วิกรมพาหุ
ไมส ามารถใหค วามอปุ ถัมภพระศาสนาได เมอื่ ขาดการอุปถมั ภจ ากบา นเมอื งพระสงฆท ัง้
วนวาสีและฝายคามวาสี ก็ตกอยูในสภาพลมเหลวไมสามารถสืบตอพิธีอุปสมบทได
ตอนทา ยพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ สถานการณเ ขา สภู าวะวกิ ฤตจนพระเจา วมิ ลธรรมสูรยิ ะที่
๒ แหงอาณาจักรแคนด้ี ตองสงคณะราชทูตไปอัญเชิญพระสงฆจากเมืองยะไขมา
ประกอบพิธีอปุ สมบท๕๔ ถงึ กระน้นั กไ็ มสามารถทําใหสถานการณพระพุทธศาสนาก็ไม
กระเตอ้ื งข้นึ แตอ ยา งใด จนกระทั่งสมยั ที่พระเจา ศรวี ชิ ัยราชสง่ิ หะขึ้นครองราชยใน พ.ศ.
๒๒๘๒ ท้ังเกาะลังหาพระสงฆไมไดคงมีแตคณะสามาเณรที่มีหัวหนาช่ือวา สามเณร

๕๐ For an account of sadbasa, see below chapter five. p.152 ff.
๕๑ SRS., p.5.
๕๒ Rjrt., p.55.
๕๓ K. Wachisara, op.cit. p.27.
๕๔ M.B. Ariyapala, Society in Mevieval Ceylon, Colombo, 1956, p.233.

õô ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

สรณงั กร สามเณรสรณังรปู น้แี หละท่เี ปน ผูถวายพระพรพระเจา ศรวี ชิ ยั ราชสิงหะใหสง
ราชทูตไปนมิ นตพระสงฆไ ทยไปพื้นฟสู มณวงศใ นศรีลังกา

๒.๓ ความเช่อื ที่มีตอ พระเขีย้ วแกว
วัดพระธาตุเข้ียวแกวเปนวัดสําคัญที่สุดในศรีลังกา คณะของเราท้ังฝาย

บรรพชิตและฝา ยคฤหสั ถไ ดทยอยกันไปมนสั การพระธาตุเขี้ยวแกวแลวเกิดความปล้ืม
ปต เิ หมือนกบั ไดเขา เผา เฉพาะพระพักตรพ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา พระธาตเุ ข้ียวแกว องคน ้ี
ถอื วา เปน สง่ิ สักการะบูชาสูงสุดของชาวศรีลังกาขนาดท่ีวาเจาชายองคใดของศรีลังกา
สมัยโบราณไครอบครองพระธาตุเขี้ยวแกว เขาชายองคน้นั ก็จะไดใหเ ปน กษตั ริยของศรี
ลังกาทงั้ ประเทศทีเดียว แมในปจจุบันนี้ พระธาตุเข้ียวแกวก็เปนศูนยรวมใจของชาว
พทุ ธศรลี ังกาท้ังประเทศ

พระธาตเุ ขี้ยวแกว (พระทาฐธาตุ) คอื พระธาตุสวนท่ีเปนเขี้ยวของพระพุทธเจา
มีทงั้ หมด ๔ องค มหาปริพพานสูตรระบุท่ีประดิษฐานของพระธาตุเขี้ยวแกวท้ัง ๔ องค
ไววา องคหน่ึงประดิษฐานอยูท่ีพระเจดียจุฬามณีบนสวรรคช้ันดาวดึงส องคหนึ่ง
ประดิษฐานอยูที่พิภพพญานาค องคหนึ่งประดิษฐานอยูที่แควนคันธาระ องคหน่ึง
ประดษิ ฐานอยูท ี่แควนกาลิงคะ ซึ่งอยทู างทิศตะวันออกเฉียงใตของอนิ เดยี

ในขณะเดียวกันพระธาตุเขี้ยวแกวที่กลาวไวในโลกมนุษยมีเพียง ๒ องค คือ
องคหน่ึงเคยอยูที่แควนคันธาระและปจจุบันประดิษฐานอยูท่ีวัดหลิงกวง กรุงปกก่ิง
ประเทศจนี อกี องคห นึ่งเคยอยูท ี่แควนกาลิงคะและปจจุบันประดิษฐานท่ีวัดพระธาตุ
เขย้ี วแกว เมืองแคนด้ี ประศรีลังกา

คมั ภรี ดาลกาวงศข องศรีลังการะบุวา ในรชั สมัยพระเจาคหุ สวี ะ แควนกาลงิ คะ
เกิดศกึ สงคราม กอนออกรบพระเจาคหุ สีวะตรัสส่ังพระราชธิดาพระนามวาเหมมาลา
วาถา พระองคสวรรคตในสนามรบใหนาํ พระธาตุเขี้ยวแกวไปท่ีลังกา เม่ือพระราชบิดา
สวรรคตในสนามรบ พระนางเหมมาลาพรอ มดว ยพระสวามีไดปลอมพระองคอัญเชิญ

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò õõ

พระธาตเุ ขีย้ วแกว ลงเรือไปศรลี ังกา พระธาตเุ ข้ยี วแกว ถึงเมืองอนุราธบุรีในศรีลังกาใน
รัชสมัยของพระเจากีรติศิรเิ มฆวรรณผูข น้ึ ครองราชยใ น พ.ศ. ๘๔๕

กษัตริยศรีลังกาในอดีตรักและหวงแหนพระธาตุเข้ียวแกวมาก เมื่อยายเมือง
หลวงไปทใี่ ดก็จะอญั เชญิ พระธาตเุ ขยี้ วแกวไปประดษิ ฐานไวที่น้ันดวย เม่ือราชอาณาจักร
สดุ ทา ยของศรีลังกาท่เี มืองแคนดสี้ ูญเสียเอกราชใหกับองั กฤษ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๘ ชาวพุทธ
ศรีลังกาไดสรางวัดพระธาตุเข้ียวแกว ณ ที่ปจจุบันแลวต้ังคณะกรรการรักษาพระธาตุ
เขยี้ วแกวกนั เองโดยไมยอมใหอ ังกฤษเขายงุ เก่ยี วซ่ึงฝา ยองั กฤษก็ยนิ ยอมโดยดี

เม่ือ วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๑ คณะของคณาจารยและนิสิตจาก มจร. ได
เดินทางไปนมัสการพระธาตุเขี้ยวแกว การเดินทางไปในคร้ังน้ีเปนการเดินทางไปศึกษาดู
งานของนิสติ ปรญิ ญาเอก สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา ในการโปรแกรมที่เดินทางน้ันคือไป
นมัสการพระธาตุเข้ียวแกวดวย แตการไปในคร้ังนี้จะไดเห็นเฉพาะสถูปทองคําสูงสอน
ศอกเศษท่ีบรรจุพระธาตเุ ขยี้ วแกว ไวภายในเทา นั้น คนทว่ั ไปจะไมม ีโอกาสไดเห็นพระธาตุ
เขย้ี วแกว องคจ รงิ เขาจะเปดใหแ ขกบา นแขกเมือง คนสาํ คัญระดบั นายก รัฐมนตรีเทาน้ัน
ไดช มพระธาตุเข้ียวแกว องคจ รงิ

สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานภุ าพไดท รงนพิ นธไ วใน เรื่องประดิษฐานพระสงฆ
สยามวงศในลังกาทวิป ตอนหน่ึงกลาวถึงบันทึกของราชทูตไทยทีติดตามพระอุบาลีไป
นมัสการพระธาตุเขี้ยวแกวท่ีศรีลังกา เมื่อ ๒๕๔ ปมาแลววา “ขาพเจานมัสการใกล
ประมาณศอกคืบแลสัญฐานพระทันตธาตุน้ันเหมือนดอกจําปาตูม พระรัศมีตันเหลือง
ปลายแดงออนๆ” คณะของคณาจารยแ ละนสิ ิตจาก มจร. ไดเ ขา ไปนมัสการพระธาตุเข้ียว
แกวถอื วาบุญและมงคลชวี ิตอยางยง่ิ

ความเชื่อพิธกี รรมและประเพณวี ฒั นธรรมทางพระพทุ ธศาสนาของชาวสิงหล
ไมป ฏบิ ตั ิเครงครัดนัก แตธรรมดาวิสัยก็ตองมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงบาง เพราะคํา
สอนของพระพุทธเจากอ เกิดพัฒนาการจนรงุ เรอื งแพรห ลาย ประวตั ิศาสตรยคุ ตน บอก
วา พระพทุ ธศาสนาผูกพันกับคติความเช่ือแบบพราหมณ คมั ภีรพ ระพุทธศาสนาระบุวา

õö ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

ยักษนาคและเทพเจา ลวนยอมรบั ความยง่ิ ใหญข องพระพทุ ธเจา๕๕ พัฒนาการแรกเร่ิม
ในศรีลังกาคือพระพุทธศาสนามีคติความเชื่อหลากหลาย พรอมทั้งพิธีกรรมและ
ประเพณีที่ประพฤติปฏิบัติท่ัวไป ซ่ึงถือวาไมขัดแยงกับคําสอนหลักของพระพุทธเจา
ลกั ษณะเชนนี้เปนการกลมกลืนกบั ความเช่อื ทางสังคมอันหลากหลาย

บรรดาคตคิ วามเช่อื ของศรลี ังกายคุ กลางนั้น พระเข้ียวแกวถือวาสําคัญสูงสุด
แมป ระวตั ิพระเขย้ี วแกวจะยอ นถอยหลังพุทธสตวรรษที่ ๙๕๖ แตเ ร่มิ มีความสําคัญมาก
สดุ ยุคหนง่ึ อาจเปนเพราะเกิดการต่ืนตัวยอมรับวาผูครอบครองพระเขี้ยวแกวมีสิทธิ์
ครองราชยเหนือแผนดินลังกา ความเช่ือเชนน้ีเริ่มตนจากยุคโปโฬนนารุวะ เม่ือพระ
เขยี้ วแกว กลายเปนเครื่องคุม ครองของอาณาจักร กษตั รยิ สงิ หลทําหนา ทค่ี มุ ครองรกั ษา
พระเข้ียวแกว จําตองประดิษฐานพระเข้ียวแกวภายในวิหารใกลพระราชวัง และทํา
หนา ทค่ี มุ ครองรักษาท้ังกลางวนั และกลางคนื ความเชอ่ื เรอื่ งความยงิ่ ใหญข องพระเขยี้ ว
แกว เกดิ ขนึ้ ตอนพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘

ลวงเขาสมัยโกฏเฏพระเจาปรากรมพาหุที่ ๖ โปรดใหสรางวิหารอันใหญโต
งดงาม และมีพระราชโองการจัดพิธีแหแหนอยางย่ิงใหญ หลักฐานสวนน้ีบันทึกไวใน
คัมภีรดาฬดาสิริตะ จึงทําใหทราบวาพิธีแหแหนพระเขี้ยวแกวยิ่งใหญตระการตาตอ
สาธารณชนเพยี งไร๕๗ กอ นสมยั อาณาจักรโกฏเฏพระเขยี้ วแกว มกี ารโยกยา ยตามความ
เปล่ียนแปลงของราชวงศสิงหล และจําตองคุมครองพระเขย้ี วแกวจากผูบุกรุกตางชาติ
หรอื ผยู ดึ ครองบัลลงั กบ อยคร้งั เม่ือพระเจาปรากรมพาหุท่ี ๖ เสวยราชยเปนกษัตริย
แหง อาณาจักรโกฏเฏแลว พระราชกรณียกิจเบ้ืองตนคือโปรดใหสรางพระวิหาร เพ่ือ

๕๕ Samyutta Nikaya (PTS), I, pp.212; Saratthapakasini, (PTS), I, pp.316-
337; See also J. Mason, La religion populaire Ie canon bouddhique pali, Louvain,
1941, pp.126-129.

๕๖ Dathavamsa, ed. M. Ananda, 1956, Gampaha, 5, vv,1-3; Daladasirita,
ed. Vv. Sorata, Colombo, 1961, p.35.

๕๗ Dls., p.49ff; ASCM., iii, pp.34-37.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò õ÷

ประดิษฐานพระเขี้ยวแกวคัมภีรสัทธรรมรัตนากรยะระบุวา พระองคโปรดใหสราง
อาคารสามชัน้ อยางสวยสดงดงาม ประดิษฐานพระเขี้ยวแกวใกลชิดติดพระราชวัง๕๘
สว นบาตรของพระพทุ ธเจาซง่ึ ปกติเกบ็ รักษาไวพรอมกับพระเขี้ยวแกวหลายศตวรรษ
ไมมีกลาวถงึ เลย หลกั ฐานสุดทายกลา วถงึ สมยั พระเจาปรากรมพาหทุ ี่ ๔ นบั จากน้ันไม
มหี ลกั ฐานกลาวถงึ ในคมั ภรี เลม ใดเลย

นกั กวนี อยใหญส มยั นั้น นอกจากบรรยายมหานครโกฏเฏแลว ยังไดกลาวถึง
วดั พระเขย้ี วแกวดวย โดยระบุวา ไดร ับการดูแลรักษาเปนอยางดีจากกษัตริย๕๙ คัมภีร
คิรสนั เดศยะระบวุ า พระเจาปรากรมพาหุที่ ๖ โปรดใหจัดงานแหแหนพระเขี้ยวแกว
ทุกปเ พือ่ สกั การบชู า คัมภรี ส ัทธรรมรัตนาลังการยะ กลาวาพิธีแหดังกลาวเปนหนาที่
ของกษัตริยผูศรัทธาตอพระเข้ียวแกว สวนตํานานระบุวาพระเจาแผนดิน (พระเจา
ปรากรมพาหุท่ี ๖) โปรดใหสรางวิหารสามช้ันอยางอลังการสําหรับประดิษฐานพระ
เข้ียวแกว ใหทําผอบทองคาํ ดว ยมณีอันมคี า มากมายเปลงประกายเจิดจา และโปรดให
สรา งผอบทองคําครอบอกี ชนั้ หนงึ่ นอกจากนน้ั โปรดใหท าํ ผอบทองคําอนั สวยงามเลิศ
ลํา้ แลว ประดษิ ฐานพระเขี้ยวแกว ภายในผอบสชี่ นั้ คัมภีรค ริ สันเดศยะอธิบายเสริมอีกวา
พระองคโ ปรดใหจัดพิธีบูชาทุกวันและแหแหนทุกป เพราะทรงเคารพศรัทธาตอพระ
เขย้ี วแกว แตรายละเอยี ดพิธีแหแ หนไมมกี ลา วถึง พิธีดงั กลา วพบในคัมภรี ดาฬดาสิริตะ
สมยั พระเจาภูวเนกพาหุท่ี ๗ พระเขยี้ วแกว ประดษิ ฐานภายในอารามกลางเมอื งโกฏเฏ

เมอ่ื พระเจาธรรมปาละเขารีตเปนคริสตแลว หิริปฏิแยนิลาเมไดอันเชิญพระ
เขย้ี วแกวออกจากเมืองโกฏเฏแลวนําไปถวายแดพ ระเจา มายาดนุ เน๖๐ กลาวกันวาชาว
พทุ ธตางเปนหวงถึงความปลอดภยั ของพระเขีย้ วแกว เน่ืองจากมัชชนั นารีมีอิทธิพลตอ

๕๘ Sdhrt., p.297; JCBRAS.,, no65, p.312.
๕๙ Sls.,v.๑๖; Prs.,vv.๓๙-๔๐; Grs.,vv.๕๐-๕๑; Sdhrt., p.297.
๖๐ Hugh Nevill, Ethnology, ‘Sinhala Kavi’, ed. P.E.P. Deraniyagala, Colombo,
iii, p.155; Saparagamurl Parani Liyavili, ed. K. Nanavimala, Ratnapurta, p.36.

õø ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

ราชสํานักโกฏเฏ หลักฐานบอกวาการครอบครองพระเข้ียวแกวหมายถึงผูทําหนาท่ี
คมุ ครองอาณาจกั ร ดว ยเหตุน้ันจึงทําใหสถานภาพทางการเมอื งของพระเจา มายาดนุ เน
เขมแข็งข้ึน พระองคจึงมีพระราชทินนามวาตรีสีหลาธิศวระ หรือกษัตริยแหงตรี
สงิ หล๖๑ พระองคโปรดใหส รางวัดพระเข้ียวแกวท่ีเดลคมุวะแลวประดิษฐานไวภายใน
และโปรดใหป ระกอบพธิ แี หแหนเปน ประจาํ ทกุ ป สวนผสู บื ทอดคอื พระเจา ราชสิงหะท่ี
๑ แมทรงขัดแยง กับคณะสงฆบ าง แตก็โปรดใหมีประเพณีแหแหนพระเข้ียวแกวทุกป
เชนกัน โดยใหจ ัดทส่ี ามันเทวาลยั แหง เมืองรัตนปุระ สันนิษฐานวาพระองคอาจจะจัด
พธิ ีแหแหนบูชาเทพสามนั พรอมกับพระเขย้ี วแกว แตรายละเอยี ดไมมีกลาวไว

๒.๔ พระพทุ ธบาทบนยอดเขาสมุ นกฏู
พระพุทธบาทบนยอดเขาสุมนกูฏ ประเทศศรีลังกา นับเปนรอยท่ีสูงที่สุดใน

ประเทศศรีลังกา ประวัติยอพระพุทธบาทเขาสุมณกูฎ (สิริปาทะ) รอยพระพุทธบาท
เขาสุมนกูฏ ประเทศศรีลังกา ตามตํานานเดิมมีความเช่ือวาพระพุทธเจาเคยเสด็จมา
ประทับรอยพระพทุ ธบาทที่ภเู ขาสุมนกฏู แหงนี้ ภูเขาน้ีมีชื่อเรียกกันทั้ง ๓ ชื่อ เชน วา
ศรีปาทะ Sri Pada, sacred foot print. Shiva Padam, foot print of Shiva.
Adam's Peak, Muslims Christians ท้ัง ๓ ชอื่ นี้ มีความหมายท่ีตางกันอยางเชน Sri
Pada, sacred foot print (ศรีปาทะ) เปนความเช่ือของชาวพุทธท่ีมีความเช่ือวาน้ัน
คือรอยพุทธบาท สว นที่ช่อื วา Shiva Padam, foot print of Shiva น้นั เปนความเชื่อ
ของศาสนกิ ชนของฮินดทู ่ีเชื่อวานั้นคือรอยบาทของพระศิวะ ในสวนท่ีชื่อวา Adam's
Peak, Muslims, Christians น้ันศาสนิกชนมุสลิม, คริสต มีความเชื่อวาเปนรอยเทา
ของเทพเจา ในศาสนาของตน แตอ ยางไรก็ตาม เม่ือมาตรวจสอบประวัติและรองรอย
ของความเปนมาของ Sri Pada กพ็ อมหี ลกั ฐานกนั อยูบ าง

๖๑ Ethnology, III, p.155; Queroz., op.cit., p.223.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò õù

สมุ นกฏู ซ่ึงเปน สถานทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงประทับรอยพระบาทเบือ้ งซา ยบนกอน
หิน กลายเปนบณุ ยสถานสําคญั สาํ หรบั ผจู ารกิ แสวงบุญยคุ กลางของศรลี งั กา ความเชื่อ
เร่ืองพระพุทธบาทและการสักการบูชาเปนที่รูจักแพรหลาย หน่ึงศตวรรษกอน
อาณาจักรโกฏเฏ คัมภีรมหาวงศบอกวาเมื่อคร้ังเสด็จลังกาครั้งท่ี ๓ พระพุทธเจาได
เสด็จไปยังสมุ นกูฏและประทับรอยพระบาทเบื้องซายเอาไว๖๒ นอกจากหลักฐานน้ีไม
ปรากฏวา มใี นตํานานหรอื หลกั ฐานอนื่ ใด มีงานเขียนของชาวตางชาติระบุวารอยพระ
พทุ ธบาททสี่ มุ นกฏู มกี ารเคารพกราบไหวสงู สดุ กอ นพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖๖๓

คัมภีรจ ลุ ฃวงศแ ละจารกึ อมั พคามวุ ะบันทกึ ไววาพระเจา วิชัยพาหุท่ี ๑ ไดเ สด็จ
จาริกไปยังเขาสุมนกูฏเพอ่ื สักการรอยพระพุทธบาท ครั้นทราบถึงความลําบากของผู
จาริกบุณยสถานแหงน้ี จึงโปรดใหสรางอาคารหลายแหงและมอบถวายหมูบาน
เรยี กวาคิลิมลยะ เพอื่ ชว ยเหลือผูจ ารกิ แสวงบญุ หลักฐานฝายศรีลังกาอางถึงคติความ
เช่ือเก่ยี วกบั รอยพระพุทธบาท และการจาริกแสวงบุญสุมนกูฏเริ่มต้ังแตสมัยพระเจา
วิชยั พาหุท่ี ๑ สมัยนถ้ี อื วา เปน การปฏิรปู ความเช่ือเก่ียวกับรอยพระพุทธบาท จากน้ัน
เปนตนมาดุเหมือนวาสุมนกูฏรุงเรืองแพรหลาย ไดรับราชูปถัมภหลายตอหลาย
ศตวรรษ ดงั เชนพระเจา นิสสงั กมัลละ พระเจาปรากรมพาหุท่ี ๒ และพระเจา วชิ ยั พาหุ
ท่ี ๔๖๔ หลักฐานลวนบันทึกไววาพระเจาแผนดินเหลานั้นไดเสด็จไปกราบไหวบุณย
สถานแหง นี้ พรอมพระราชทานหมบู า นเปนจาํ นวนมากเพื่อเปนพุทธบชู า

ความเช่ือเร่ืองรอยพระพุทธบาทเร่ิมมีความสําคัญมาก จากกวีนิพนธของ
พระเวเทหเถระ ชื่อวาสุมนกูฏวัณณนา ซึ่งมีเนื้อหาอธิบายถึงความเปนมาและ

๖๒ S. Paranavitana, The Good of Adam’s Peak, p.2 ff; Manimekhalai, 2,
pp.122-123.

๖๓ Cv.,60. 14-67; CJSG., ii, p.195; EZ., pt.2, pp.202-209.
๖๔ Samantakutavannana, ed. M. Nanissara, Colombo, 1910; Ps, p.420ff.

öð ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

ความสาํ คญั ของพระพุทธบาทแหงนี้๖๕ แมรอยพระพุทธบาทจะไมไดตั้งอยูในเสนทาง
ของพวกนักผูแตงคัมภีรสันเดศยะสมัยอาณาจักรโกฏเฏ สวนใหญก็ไมไดละเลยท่ีจะ
อางถึงสมุ นกูฏและรอยพระพทุ ธบาทแตอยา งใด ไมมีการกลา วถงึ พระเจาปรากรมพาหุ
ที่ ๖ หรือกษัตริยแหงอาณาจักรโกฏเฏพระองคใด โปรดใหซอมแซมหรือเสด็จจาริก
แสวงบุณยสถานแหงน้ี แตพระเจาเสนาสัมมตวิกรมผูปกครองอาณาจักรแคนดี ได
เสด็จไปสกั การะบณุ ยสถานแหงน้ี พรอ มโปรดใหจ ดั งานเทศกาลนอมถวายสิ่งของมีคา
ราคาแพงเปนจํานวนมาก๖๖ สมัยนี้สุมนกูฏกลายเปนบุณยสถานที่ร่ํารวยม่ังคั่ง
เนอื่ งจากมที ีด่ ินอันเปน พระบรมราชทู ศิ หลายยุค หลายสมัยเปน จํานวนมาก พรอมทั้ง
รายไดจากการบชู าของผจู ารกิ แสวงบญุ เปน จาํ นวนมาก มีบนั ทกึ ไวว าพระเจาราชสิงหะ
ท่ี ๑ ผปู ระกาศเลกิ นบั ถอื พระพุทธศาสนาแลว หันไปนับถือลัทธิฮินดู ไดเลิกสิทธิของ
พระสงฆผดู ูแลรอยพระพุทธบาทพรอมภาษีที่ดิน ใหถวายแกพระผูหันมานับถือลัทธิ
ฮนิ ดูเสยี ๖๗

รอยพระพุทธบาทบนเขาสุมนกูฏมิใชศูนยรวมใจชาวพุทธสิงหลเทาน้ัน แต
รวมถงึ นักจารกิ แสวงบุญชาวตางแดนดวย พระเมธังกรเถระหนึ่งในผูนําของสมณทูต
กมั พูชาและไทย ซงึ่ ไดรับการอปุ สมบท่ีเกลาณียะ (พ.ศ. ๑๙๖๘) กอนจะเดินทางกลับ
บา นเกดิ เมืองนอน เพอ่ื กอต้ังสงิ หลสงั ฆะทเี่ มืองสโุ ขทยั ไดเ ดนิ ทางไปกราบไหวร อยพระ
พุทธบาท จารกึ พระพทุ ธบาททเ่ี มอื งสโุ ขทยั กลา ววามคี วามคลายคลึงกับรอยพระพุทธ
บาทบนยอดเขาสุมนกูฏซ่ึงเปนอัญมณีแหงเกาะลังกา๖๘ คณะสมณทูตของพระเจา
ธรรมเจดียแ หงอาณาจกั รหงสาวดีเดินทางมาศรีลังกาสมัยพระเจาภูวเนกพาหุท่ี ๖ ก็

๖๕ Grs.,v.21; Sls.,v.25; Hms,v.76; Svls.,v.152.
๖๖ SPL., p.36; Wachissara, op.cit. p.65.
๖๗ Forneau, Le Siam Ancient, Paris, 1995, I. pp.242-254; G. Coedes, Recuil
des inscriptions du Siam, p.46ff.
๖๘ IA, xxii, (1996), p.44.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò öñ

เคยเดนิ ทางไปกราบไหวสักการะรอยพระพุทธบาทเชนกัน๖๙ จารึกสามภาษาที่เมือง
กอลลอ ธริ ายช่ือพระบรมราชูทิศของกษัตรยิ แ หง ราชวงศหมิงพระนามวาหยงเลอ (พ.ศ.
๑๙๕๓) โปรดใหแมทัพเรือนามวาเจิ้งเหอและวังเจียงสรางอารามวิหารบนยอดเขา
ปรณวิตานะกลา ววาวดั แหง นรี้ ูจักกันในนามลังกาปรวะ (สุมนกฏู )๗๐

ความเชื่อเรื่องรอยพระพุทธบาทโดงดังไปไกลทวั่ โลก นกั เดนิ ทางตางประเทศ
และ นักเขียนลวนอางถึงสุมนกูฏหรืออดัมพีค บรรดานักเดินทางชาวยุโรปยุคกลาง
กลาวคือมาโคโปโล และ มาริโญลลิบอกวาอดัมพีคเปนหนึ่งในสถานที่อัศจรรยแหง
ลังกา และเพ่มิ เตมิ วาธรรมดาชาวมุสลมิ น้ันมคี วามศรัทธามากกวาชาวพุทธ๗๑ นกั ประวิ
ตศิ าสตรชาวโปรตุเกสนามวาริเบยโรและเควยรอชก็ใหรายละเอียดเก่ียวกับอดัมพีค
เชนกัน๗๒ เม่ือโปรตุเกสสามารถยึดครองหัวเมืองใกลรอยพระพุทธบาทแลว ไดอุทิศ
ถวายภเู ขาสมนั ตกฏู แกน กั บุญยูเซบอิ สั ๗๓

เมื่อยอนกลับไปในความเชื่อของอินเดียสมัยโบราณมักจะเห็นวามีความเช่ือ
เก่ียวกบั รอยพระพทุ ธบาทวา มีปรากฏอยูในทุกศาสนา ไมวาในศาสนาพราหมณ เชน
และพุทธเปนตน สําหรับพุทธศาสนาหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษรเกาแกที่สุดท่ี
แสดงใหเห็นความเช่ือเกี่ยวกับรอยพระพุทธบาท ในอรรถกถาของพระสุตตันตปฎก
มัชฌมิ านิกาย คอื ปุณโณวาทสูตร ไดกลาวถงึ รอยพระพุทธบาทวา รอยพระบาทมสี อง
แหง คือ ฝง แมน า้ํ นิมมทาและบนภูเขาสจั จพนั ธครี ี๗๔ สว นหลักฐานทีเ่ ปนรอยพระพทุ ธ
บาท เร่ิมพบในศิลปะอินเดียตั้งแตประมาณตนพุทธศตวรรษท่ี ๓ สมัยพระเจาอโศก
มหาราชแลว จากนัน้ จงึ ปรากฏแพรห ลายทั่วไปในประเทศทนี่ ับถอื พุทธศาสนา

๖๙ EZ., 3. Pp.337-339; GAP., p.17.
๗๐ The Book of Ser Marco Polo, tr. and ed. By Sir. H. Yule, ii, pp.316-322
๗๑ Ribeiro’s History of Ceilao,tr. P.E. Peiris, Colombo, 1905. pp.90-92.
๗๒ E. Carpenter, From Adam’s Peak to Elephanta, London, 1992, p.62.
๗๓ HBC., pp.316-322.
๗๔ ม.อ.ุ (ไทย) 14/395/447.

öò ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงนพิ นธถงึ คติการนบั ถอื รอยพระพุทธ
บาทของไทยวา รับสืบเนื่องมาจากชาวอินเดียและลังกา โดยชาวอินเดียแตคร้ัง
พุทธกาลหรือกอ นหนา นัน้ ไมน ิยมสรา งรูปเทวดาหรือมนุษยไวบูชา เม่ือพระสัมมาสัม
พุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน พุทธศาสนิกชนจึงสรางสถูปหรือวัตถุตาง ๆ เปน
สัญลักษณแทนพระพุทธองค รอยพระพทุ ธบาทเปนวัตถหุ นง่ึ ทน่ี ยิ มทําในสมัยนั้น สวน
คติของชาวลังกาเกดิ ข้นึ ภายหลงั มกี ลาวถงึ ในตาํ นานเร่อื ง มหาวงศ วา พระพุทธเจาได
เสดจ็ ทางอากาศไปยงั ลังกาทวีปและทรงเทศนาสงั่ สอนชาวลังกาจนเกิดความเลื่อมใส
ในพระพุทธศาสนา กอนท่ีพระพุทธเจาจะเสด็จกลับมัชฌิมประเทศ จึงไดทรงทํา
ปาฏิหาริยประทับรอยพระพุทธบาทไว ณ ยอดเขาสุมนกูฎ เพ่ือใหชาวลังกาไดทําการ
สกั การบชู า

ตอมาราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ เมื่อหลวงจีนฟาเยนเดินทางมาถึงลังกา ได
บันทกึ โดยเช่อื วาพระพุทธเจา ไดประทบั รอยพระบาทไวสองแหงในลังกา คือ ยอดเขา
สุมนกูฏแหงหนึ่ง อีกรอยหน่ึงไดประทับไวทางทิศเหนือของเมืองอนุราธปุระ ซึ่งใน
เอกสารลังกากลบั ไมพ บการยืนยันถึงสถานทด่ี งั กลาว หากแตม ปี รากฏในบทสวดบาลีที่
ใชก ันในเมอื งไทย มกี ารกลาวถงึ “สุวณั ณมาลกิ ” วา เปนหน่ึงในรอยพระบาทในจาํ นวน
๕ แหงที่พระพทุ ธเจาประทับไว ไดแก เขาสัจจพันธคีรี ฝงแมนํ้านิมมทา เขาสุมนกูฏ
และโยนกปรุ ะ จงึ เหน็ ไดว าความเชือ่ ทวี่ ามีรอยพระพุทธบาทแทจริงที่เขาสัจจพันธคีรี
และฝงแมนาํ้ นิมมทานนั้ เปนความเชื่อด้ังเดิมท่ีสุด เกิดขึ้นในอินเดียและปรากฏอยูใน
พระไตรปฎก

สว นเขาสุมนกูฎและสวุ รรณมาลิกเกิดขึ้นในลังกา และลังกาก็ไดลืมรอยพระ
พุทธบาทที่เขาสุวรรณมาลิกไปแลว แตมาเหลือตกคางอยูในบทสวดมนตที่ใชใน
เมืองไทย ซง่ึ รับอิทธพิ ลทางพุทธศาสนามาจากลังกา สวนโยนกปุระเปนสถานท่ีที่ฝาย
ไทยเพ่มิ เตมิ ขนึ้ ภายหลัง และอาจหมายถึงดินแดนอาณาจักรลานนาท่ีเปนอาณาจักร
โยนกมากอ น จากการคน หาขอ มูลจากพระไตรปฎ กใน ปณุ โณวาทสตู ร อรรถกถา พระ

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò öó

สตุ ตันตปฎ ก มชั ฌมิ นิกายและแหลงขอ มลู ตา งๆ ทม่ี กี ารคนหา สุวรรณมาลิกและสุมน
กูฏ พบวา อยูในประเทศศรีลังกา สวนอีกสามแหงอยูในประเทศไทย ในพระไตรปฎก
เรยี กวา แควน สนุ าปรนั ตะ หางจากเชตวันวิหาร ๓๐๐ โยชน๗๕ ทรงเสด็จทางอากาศ
พรอมภกิ ษอุ รหนั ต ๔๙๙ รูปไปโปรดดาบสท่เี ขาสจั จพนั ธ (สระบรุ )ี ใหบรรลุพระอรหนั ต
บวชแลวตามเสด็จพระพทุ ธองคไปโปรดนิมมทานาคราช พระพทุ ธองคทรงประทบั รอย
พระบาทไวท่ีริมฝงแมนํ้านิมมทา (เชื่อกันวาคือรอยพระพุทธบาทที่เกาะแกวพิศดาร
ปลายแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต) จากนั้นโปรดใหพระสจั จพันธก ลับไปพํานักท่ีเขาสัจจ
พันธต ามเดิม พระสัจพนั ธทูลขอเครอื่ งสักการะบชู า พระพุทธองคจึงประทับรอยพระ
บาทไวบนหลงั แผนหนิ ทึบเหมือนประทบั ตราไวบนกอนดินเหนียวสดเปนตํานานที่มา
ของรอยพระพทุ ธบาทบนเขาสจั จพนั ธ จ.สระบรุ ี สว นรอยพระพุทธบาทที่โยนกบุรี คง
หมายเอาชอ่ื โยนกนครอันเปน ชอ่ื เดิมของลานนา สวนท่ีศรีลงั กาน้ันมเี จดียอ งคหน่ึงบน
เขาอภยั คีรี หรอื Abhayagiri Dagoba (ไทยเรียกวา สุวรรณมาลิก หรือ สุวรรณมาลี)
สันนิษฐานวาเปนเจดียท่ีสรางครอบรอยพระพุทธบาทไว ดังขอความภาษาอังกฤษ
อางอิงดงั นี้

The Abhayagiri Dagoba is the second biggest brick structure in
the world after the Jetavana Dagoba. The Abhayagiri Dagoba was built
by King Gajabahu (114-136 AD) and reaches a height of 370 feet (115 m).
Abhayagiri monastery is one of the eight sacred sites for Buddhists in
Anuradhapura, Sri Lanka. It is believed that the Abhayagiri Dagoba was

๗๕ ม.อ.ุ อ. ๑๔/๓๙๗/๓๒๐., ทาวสกั กะน้ันทรงพิจารณาเห็นวาพระศาสดาจะเสด็จไปแควน
สนุ าปรนั ตะ จึงรบั สง่ั เรยี กพระวศิ วกรรมมาสงั่ วา พอ วันนีพ้ ระผูมีพระภาคเจาจะเสด็จเท่ียวบิณฑบาต

ระยะทางไกลประมาณสามรอยโยชน พอ จงเนรมติ เรอื นยอดไว ๕๐๐ หลังทาํ การเตรียมระยะทางเสด็จ

ท่ีทายสุดซุมประตูพระเชตวัน ตั้งไวใหพรอม. พระวิศวกรรมนั้นไดกระทําอยางน้ันแลว. เรือนยอด
สาํ หรับพระผมู ีพระภาคเจา มี ๔ มขุ . ของสองพระอศั รสาวกมี ๒ มุข. ทเี่ หลอื มีมขุ เดียว.

öô ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

built over the footprint of the Buddha.The Buddha came to Lanka and
by his supernatural powers placed one foot in the north of
Anuradhapura, the other on top of Adam's Peak

ในขณะเดียวกันตํานานในประเทศไทยสมัยสุโขทัย มีหลักฐานที่ใช
ประกอบการพิจารณาเรอ่ื งนี้ ถึงแมจ ะหาไดย ากแตก ็พอทจี่ ะช้ีทิศทางไดบางเปนเคา มลู
ก็คอื จารึกเขาสมุ นกฏู (เขาพระบาทใหญ) เมอื งสุโขทัย ๑๐ จารึกหลกั น้เี ปนจารึกของ
พญาฤาไทย, ๑๑ จารึกในราว พ.ศ. ๑๙๑๓-๑๙๑๕. ตอนตนเลาถึง พญาเลอไทย
(โอรสพอ ขนุ รามคําแหง) จําลองรอยพระพทุ ธบาทจากยอดเขา “สูมนกูฏ” เมืองลังกา
มาประดิษฐานไวเหนือยอดเขาเมืองสุโขทัย ใหช่ือภูเขาน้ันใหมตามอยางลังกาวา “สู
มนกูฏ” คตทิ ถ่ี ือกันในลังกาทวีปน้ัน เกิดข้ึนภายหลัง โดยไดกลาวถึง พระพุทธเจาได
ทรงประทับรอยพระพุทธบาทไวใหเปนที่สักการะบูชามีอยูหาแหงดวยกัน คือท่ีเขา
สวุ รรณมาลกิ เขาสวุ รรณบรรพต เขาสุมนกูฏ ทเ่ี มอื งโยนกบุรี และทีห่ าดในลําน้ํานิมม
ทานที มีคาถา คํานมัสการ แตงไวสาํ หรับสวดทายบทสวดมนตอยางเกา ดังน้ี สุวณฺณ
มาลิเก สุวณฺณปพพเต สุมนกูเฏ โยนกปุเร นิมฺมทาย นทิยา ปฺจปทวรํ อหํ วนฺทามิ
ทรู โต เดิมเรารจู ักแตรอยพระพุทธบาทท่ีเขาสมุ นกูฏ ซึ่งอยูที่ลังกาทวีปแหงเดียว ตาม
ตํานานในเรื่องมหาวงศ วาคร้ังหน่ึง พระพุทธเจาไดเสด็จโดยทางอากาศไปยังลังกา
ทวีป ไดทรงสั่งสอนชาวลังกาทวีป จนเกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา กอนท่ี
พระองคจ ะเสดจ็ กลับไปยังมัชฌมิ ประเทศ ไดท รงกระทําอทิ ธิปาฏิหารย ประทับรอย
พระพทุ ธบาท ซ่ึงมขี นาดใหญ มคี วามยาวประมาณหนึ่งวา ประดิษฐานไวบนยอดเขา
สมุ นกฏู สําหรบั ใหช าวลังกาไดส กั การะบชู าตางพระองค

ยังมหี ลกั ฐานการบูชารอยพระพทุ ธบาทในไทย คือ รอยพระบาทคูที่สระ
มรกต จังหวัดปราจีนบุรี มีอายุอยูประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๑–๑๓ ถือวาเปน
หลกั ฐานทเ่ี กา แกท ี่สดุ ในเมืองไทยซึง่ อยใู นยคุ ของวัฒนธรรมสมัยทวารวดี หลังจากนั้น
ไมปรากฏหลักฐานการทํารอยพระบาทอีกจนถึงสมัยพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ จึงพบ

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ Ñ§¡Ò öõ

แพรห ลายขน้ึ ทั้งในสโุ ขทยั และลานนา อนั อาจเนื่องจากอิทธิพลของพุทธศาสนาลังกา
วงศที่พระเถระจากสุโขทัยและลานนาหลายรูปไดเดินทางไปลังกาหรือพมาอันเปน
ดนิ แดนทีพ่ ทุ ธศาสนาแบบลงั กาวงศไ ปเจริญอยู กระทง่ั สบื คติดงั กลา วตอ มาจนถึงสมัย
อยธุ ยา การสรางรอยพระพทุ ธบาทจําลองขน้ึ ในสถานท่ีตาง ๆ ก็มีมากยิ่งขึ้น ดวยเชื่อ
วา รอยพระพทุ ธบาทจาํ ลองยอมมอี านุภาพและสิริมงคลประดุจรอยพระพุทธบาทอัน
แทจริง

คํานมัสการรอยพระพุทธบาท ๕ แหง
วนั ทามิ พุทธงั ภะวะปาระตณิ ณัง
ตโิ ลกะเกตงุ ตภิ ะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลงั กเิ ลสงั
เฉตะวานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง
ยงั นิมมะทายะ นะทยิ า ปลุ เิ น จะ ตเี ร
ยัง สจั จะพนั ธะคิรเิ ก สเุ มนา จะลัคเค
ยัง ตตั ถะ โยนะกะปุเร มนุ โิ น จะ ปาทงั
ตัง ปาทะลญั ชะนะมะหังสริ ะสา นะมามิ
สวุ ัณณะมาลิเก สวุ ณั ณะปพพะเต สมุ ะนะกเู ฏ
โยนะกะปเุ ร นิมมะทายะ นะทยิ า
ปญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหงั วันทามิ ทรู ะโต ฯ
อิจเจวะมจั จนั ตะนะมสั สะเนยยงั
นะมสั สะมาโน ระตะนัตตะยงั ยงั
ปญุ ญาภิสนั ทัง วปิ ลุ งั อะลตั ถัง
ตัสสานภุ าเวนะ หะตันตะราโยฯ
อามนั ตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏเิ วทะยามิ โว ภกิ ขะเว
ขะยะวะยะธมั มา สงั ขารา อปั ปะมาเทนะ สมั ปาเทถาตฯิ

öö ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

คาํ แปล
ขาพเจาขอนมัสการพระพทุ ธเจา ผูข า มพนฝงแหง ภพ,
ผเู ปน ธงชัยของไตรโลก ผเู ปนนาถะเอกของไตรภพ,
ผปู ระเสริฐในโลก ตัดกเิ ลสท้งั ส้ินไดแ ลว ชว ยปลุกชน
หาที่สดุ มไิ ดใหต รสั รมู รรคผลและนพิ พาน,
รอยพระบาทใดอันพระพทุ ธองค ไดท รงแสดงไว,
ในหาดทรายแทบฝง แมน้ํานมิ มะทา,
รอยพระบาทใดอันพระพทุ ธองค ไดทรงแสดงไว,
เหนือยอดเขาสัจจะพนั ธ และเหนอื ยอดเขาสุมะนา,
รอยพระบาทใดอันพระพุทธองค ไดทรงแสดงไว,
ในเมืองโยนะกะ ขาพเจาขอนมัสการพระบาท และ
รอยพระบาทนัน้ ๆ ของพระมุนดี ว ยเศยี รเกลา ,
ขา พเจาขอนมสั การสถานทม่ี รี อยพระบาท,
อันประเสรฐิ ๕ สถานแตทไ่ี กล, คือที่เขาสวุ รรณมาลกิ ๑
ท่ีเขาสวุ รรณะบรรพต ๑, ทย่ี อดเขาสุมะนะกูฏ ๑,
ทีโ่ ยนะกะบรุ ี ๑, ท่แี มน ้ําช่อื นิมมะทา ๑,
ขาพเจาขอนมสั การอยูซ ่ึงพระรัตนตรยั ใดๆ อนั บุคคล
ควรไหวโดยสว นยงิ่ , อยา งน้ีดวยประการฉะนี้,
ไดแ ลวซง่ึ กองบุญอันไพบลู ย,
ขออานุภาพแหง พระรตั นตรยั น้นั จงขจัดภัยอนั ตราย เสยี เถดิ ,
ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เราขอเตือนทานทงั้ หลาย
ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย เราขอใหท านทัง้ หลายทราบไววา
สังขารท้ังหลายมคี วามเส่อื มส้นิ ไปเปน ธรรมดา,
ขอใหท านท้งั หลายจงยังประโยชนต น และประโยชนท าน

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ Ñ§¡Ò ö÷

ใหถ ึงพรอมดว ยความไมป ระมาทเถดิ ,
ดวยประการฉะน้แี ล ฯ.

จากความเชื่อวาเร่อื งรอยพระพทุ ธบาท ๕ แหง ทป่ี ระดษิ ฐานสถานดังนั้น
๑) สวุ ัณณะมาลิเก ที่เขาสุวรรณมาลิก รอยพระพุทธบาท เขาสุวรรณมาลิก
(อภยั คีรี) เมอื งอนรุ าธะปุระ ประเทศศรีลังกา เจดียบนเขาอภัยคีรี หรือ Abhayagiri
Dagoba ไทยเรียกวา สวุ รรณมาลิก หรือ สุวรรณมาลี สันนิษฐานวาเปนเจดียที่สราง
ครอบรอยพระพุทธบาท
๒) สุวัณณะปพพะเต ท่ีเขาสุวรรณบรรพต รอยพระพุทธบาท เขาสุวรรณ
บรรพต (เขาสัจพนั ธบรรพต) วัดพระพทุ ธบาท จ.สระบุรี ประเทศไทย
๓) สุมะนะกูเฏ ทย่ี อดเขาสุมะนะกูฏ รอยพระพุทธบาท เขาสุมนกูฏ อีกชื่อคือ
ศรีปาทะ (Sri Pada) หรอื ยอดเขาของอดมั (Adam's Peak) ประเทศศรีลังกา
๔) โยนะกะปุเร ที่โยนะกะบุรี รอยพระพทุ ธบาทสรี่ อย จ.เชียงใหม
๕) นมั มะทายะ นะทิยา ทแ่ี มน้ําชื่อนัมมะทา รอยพระพุทธบาท ริมฝงแมนํ้า
นมิ มทา (นมั มทานที) ตงั้ อยทู เ่ี กาะแกวพศิ ดาร ปลายแหลมพรหมเทพ จ.ภูเก็ต
๒.๕ คติการบชู าพระพุทธรูป
ตํานานการสรางพระพุทธรูปสวนมากแลว เช่ือกันวาเริ่มจากสมัยพระเจามิ
ลินทเปนตนมา กลาวคือเม่ือชนชาติกรีกเขารุกรานอินเดีย เมื่อชนชาติกรีกที่เขามา
ต้งั แตพระเจาอเลก็ ซานเดอรเขารุกรานอินเดียไดแลว ก็ไดตั้งรกรากถาวรที่บากเตรีย
คนั ธาระ สาคระและหลายสวนของอาฟกานิสถาน ปากีสถานและอินเดียเหนือเร่ิมมา
เลอื่ มใสในพุทธศาสนา คาํ วา คนั ธาระ (Gandhara) มาจากคําวา คันธารี คติของพวก
กรีกไมรังเกียจสรางรูปเคารพและกอนที่จะเปลี่ยนมาเปนพุทธมามกะก็ไดสรางรูป
เคารพของตนอยมู ากมายหลายองคดวยกนั เชน เทพเจายูปเ ตอรห รือ ซิวส ฮิรา เฮอร
มีส อริ ีสอพอลโล อารเตมิส เอเธนา โปซดี อน อาโปรดตี ฯลฯ เทพเจา เหลา นีส้ วนใหญ

öø ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

เปน พระเจาประจาํ ธรรมชาติ และพวกกรีกสรางเปน เทวรูปดุจมนุษยมีสัดสวนเปนสัน
งดงามจนจัดเปน สญั ลักษณอ ันหน่งึ แหงศลิ ปกรรมของชาตกิ รกี โบราณ

ครน้ั เม่อื เปลย่ี นใจมาเลือ่ มใสพทุ ธศาสนา นสิ ัยความเคยชินที่ไดกราบไหวบูชา
เทวรูป ทาํ ใหพวกกรกี เกิดมโนภาพคดิ สรางพระพทุ ธรูปข้ึนมาบาง เพ่อื ใหเ ปน ทสั นานตุ
ตรยิ ะยามนึกถงึ พระบรมศาสดา ไมเกดิ ความวาเหวเปล่ียวใจ ฉะน้ันจึงไดเกิดคติสราง
พระพุทธรปู ขึ้นในหมูชาวกรีกข้ึนกอน ภายหลังพุทธมามกะชนชาติอินเดียไดพบเห็น
พระพทุ ธรูปเขากเ็ กดิ ความปสาทะจึงไดหันมานิยมสราง พระพุทธรูปตามคติของชาว
กรีกข้ึน แตไ ดดัดแปลงเปน แบบอยา งศลิ ปกรรมแหงชนชาติของตน แมพวกพราหมณ
พลอยเกิดสรา งเทวรูปพระอิศวร พระนารายณข้ึนกราบไหวบูชา คติรังเกียจสรางรูป
เคารพจึงเปน อันจืดจางไปจากชาติชาวอินเดียโดยพฤตินัย ในสมัยพระเจามิลินทะจึง
นบั วาเปน ยคุ แรกแหงการสรางพระพทุ ธรปู ลกั ษณะพทุ ธรูปของชางชาวกรกี กส็ รา งให
เหมือนมนุษยจริง ลักษณะที่เห็นวางดงามดวงพระพักตรคลายคลึงกับเทวรูป จน
บางคร้งั ทาํ เปนพระมสั สุ (หนวด) บนพระโอษฐก็มี เบ้ืองบนพระเศียรทําเปนพระเกตุ
มาลา (ขมวดผม) เพื่อใหเห็นแตกตา งจากรปู พระสาวก เสนพระเกศาก็ทําเปนลักษณะ
มวนเกลา ดังเชนพระเกศาของพระกษัตริย ผากาสาวพัสดุทําเปนรอยกลีบยนเห็น
ชัดเจนดุจผาจรงิ ๆ และมกั จะมีประภามณฑลรายรอบพระเศยี ร แตไ มม ลี วดลาย พระ
พุทธปฏิมากรดังกลาวน้ี ชางกรีกคิดสรางสรรคเ ปน ปางตาง ๆ โดยอาศยั พระพุทธจริยา
ที่ทรงบําเพ็ญเปนบรรทัดฐาน เชน ปางตรัสรูก็ทําเปนขัดสมาธิวางพระหัตถซอนกัน
ภายใตรมไมโพธิพฤกษ ปางแสดงพระธรรมจักรทําเปนรูปประทับบนบัลลังก และจีบ
พระดรรชนี เปนวงกลมดุจวงจักรดังน้ี เปนตน อยางไรก็ดีพุทธศิลปดังกลาวนี้ มา
แพรหลายรุงเรอื งอยางกวางขวางก็ในสมยั ตอ มาคือสมยั พวกอนิ โดไซรสั หรอื พวกงวย

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò öù

สีมีอํานาจในอินเดียภาคเหนือเรียกวา "พุทธศิลปแบบคันธาระ (Gandhara Arts)"
ท้งั นีเ้ พราะเกดิ ขึ้นแถวแควนคนั ธาระนัน่ เอง๗๖

หรับคติความเช่อื เกี่ยวกับพระพุทธรูปในศรีลังกาน้ัน สามารถสืบคนไปจนถึง
ยุคแรกเร่ิม หลกั ฐานอา งอิงเกี่ยวกับพระพุทธรปู กอ นพุทธศตวรรษท่ี ๙ มีไมมากนัก มี
กลาวถึงมากในคัมภีรมหาวงศ๗๗ ความโดงดังแพรหลายเรื่องพระพุทธรูปเห็นไดจาก
วิหารขนาดใหญ (ปฏมิ าฆระ) ซ่ึงสรางทกุ แหง ทั่วเกาะลงั กา โดยเฉพาะสมยั อนุราธปุระ
แลโปโฬนนารุวะ สถาปตยกรรมที่โดดเดนหลังยุคโปโฬนนารุวะคือคฑลาเดณิยวิหาร
และลังกาตลิ วหิ าร สรางสมยั พุทธศตวรรษที่ ๑๙๗๘ วิหารท่ยี ง่ิ ใหญแหง ยุคโปโกฏเฏอยู
ท่วี ดั เกลาณิวิหาร คมั ภรี แสฬลิหิณิสนั เดศยะอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับวัดเกลาณียะ
อยางละเอยี ด โดยบอกวา ผูม าเยย่ี มเยียนอารามแหงน้ยี อมเห็นวหิ ารขนาดใหญนามวา
ลังกาติลกะ ซึ่งมีนามคลายวิหารสมัยโปโฬนนารุวะและสมัยคัมโปละ๗๙ ผูแตงคัมภีร
บอกวาวิหารหลังน้ีมีความสําคัญมาก เปนรองเพียงสฬปฬิมเคยะและบอกอีกวาสี
สาํ หรับแตมทางวิหารคลายคลึงกบั สีนาํ้ ทะเลของทาวโกสยี  ซึง่ เจดิ จาดัง่ ละลอกคลื่น๘๐
ฉันทบทท่ี ๖๒ อธิบายวาวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสนทองคําตั้งอยู
ดา นซายของวหิ าร๘๑ ถดั มาเปนพระพุทธรูปอีกองคหนึ่งมีพญานาคแผพังพานบนพระ
เศียร เพือ่ บงถึงพระพทุ ธเจาขณะประทับคราวฝนตกหนักมีพญานาคมุจลินทคอยแผ
พงั พานปกปอง๘๒ สว นพระพุทธรูปใตตนโพธ์ิเปนปางประทับนั่งสมาธิพรอมดวยมหา

๗๖ เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา, บริษัทสรางสรรคบุคส จํากัด,
๒๕๔๔

๗๗ HBC., pp.316-322.
๗๘ AAGB., pp.46-54 and 63-70.
๗๙ Sls., v.60.
๘๐ Sls., v.61.
๘๑ Ibid. v.62.
๘๒ Ibid. v.66.

÷ð ¾ÃÐÁËÒÁԵà °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

บรุ ษุ ลักษณะ ๓๒ ประการ๘๓ จากประตดู านทศิ ใตผ ูท ําหนา ท่ีสงสาสนคือนกไดยนิ เสียง
กลอง และการบูชาพระพุทธรูปตรีภังคสององคท่ีติวังกปฬิมเคยะตามเวลาอันเปน
มงคลฤกษ๘๔ วิหารอีกหลงั หนง่ึ นามวา เตลกฏรเคยะเช่อื กันวาสรางตรงจุดพระอรหันต
ถกู ตม ดวยหมอ นา้ํ เดือดโดยพระเจา กลั ยาณีติสสะ๘๕

พิธีเก่ียวกับพระพุทธรูปมีการปฏิบัติเหมือนบุคคลมีชีวิต อาจเปนไปไดวา
ความคิดเชน นเี้ ปนความคิดเชิงสญั ลกั ษณเฉพาะบคุ คล เชนพิธีอปุ สมบทและอภิเษก๘๖
บางคร้งั ตวิ ังกะมีพ้นื ฐานประตมิ ากรรมท่แี ตกตา งจากรปู ปน เมื่อพระพุทธรปู ไดรับการ
ปฏบิ ัตเิ หมือนคนมีชีวติ จะตอ งมีพธิ สี รงนํ้าแตงตวั และถวายอาหาร สมัยอาณาจักรอนุ
ราธปรุ ะอาจะมพี ิธีกรรมชื่อวาอภิเษก (การประพรหมพระพุทธรูปดวยนํ้าศักด์ิสิทธิ์)๘๗
คัมภีรสัทธรรมรัตนากรยะอธิบายรายละเอยี ดเกีย่ วกับพิธีกรรมที่กระทําโดยพระเจา ธัน
ยกฏกะแหง อนิ เดยี ใต ตามคาํ บอกเลาของบูรพาจารยนามวาสีลวังสธรรมกีรติเถระ๘๘
คมั ภีรบ อกวาพระพุทธรปู ศิลาทว่ี ดั ธันยกฏกะมีการสรงนา้ํ ทกุ วนั พระพุทธรปู หินออนก็
คลมุ ดวยผาขนาดสองนวิ้ พรอ มดวยดอกไมเสววันดิยิะ๘๙ ตกแตงเพื่อใหพระพุทธรูปมี
ลักษณะเหมือนดอกไม ถัดมาเปนการสรงน้ําในอางนํ้าหอมและนํ้ามันงา จากน้ันขัด
ดวยน้ํามนั พรอ มสรงดว ยนาํ้ อันบริสทุ ธ์ิ๙๐ สนั นษิ ฐานวา พิธกี รรมท่ีคลายกันถูกจัดขึ้นใน
เทศกาลพเิ ศษเพ่อื พระพุทธรูปเปน กรณีพเิ ศษ พิธีกรรมท่บี รรยายเก่ยี วกับพระพุทธรูป
อมราวดีเหมือนวิธีปฏิบัติของฮินดู เพราะยุคนี้พระพุทธศาสนาบริเวณอมราวดีไดรับ

๘๓ Ibid. v.69.
๘๔ Ibid. v.69.
๘๕ Ibid. v.70.
๘๖ Mv.,39.66; HBC., p.293.
๘๗ Mv., 39.40.
๘๘ Sdhrt., p.561f.
๘๙ Rosa Centifolia, Rosa Damaseoene, sv. SSS., p.1094.
๙๐ Shrt., p.962.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò ÷ñ

อิทธิพลแบบฮินดูคอนขางมาก แมพระสงฆผูนําทําพิธีกรรมจะเปนชาวสิงหล แตไม
มั่นใจวา จะเปน พิธกี รรมท่ีคลายคลึงกบั สมัยยังรงุ เรอื งหรอื ไม

หลังจากการเขามาของพระมหินทเถระ ผูคนชาวลังกาไดยอมรับนับถือ
พระพทุ ธศาสนาแลว ความเชื่อด้งั เดมิ เกี่ยวกบั เทพเจาและเหลายักษไมปรากฏใหเห็น
อีกเลย เทพเจา และเหลายักษเ ปน สง่ิ ทม่ี ีอยจู ริงตามจักรวาลวิทยาของชาวพุทธ เทพเจา
เหลานน้ั ไมมีรูปเคารพแตก ําเนิดกอ นพุทธศาสนา หมายถงึ เทพเจา ฮนิ ดู การรกุ รานของ
พวกทมฬิ ครั้งแลวครั้งเลาทําใหศรีลังการูจักเทพเจาแหงอินเดียใต ซึ่งเร่ิมตนแตสมัย
อาณาจกั รโปโฬนนารุวะจนกลายเปนท่ีรูจักแพรหลาย และการแตงงานเก่ียวดองกับ
พระราชธิดากษัตริยอินเดียตอนใตสมัยกลาง เปดโอกาสใหเทพเจาฮินดูกอรางสราง
ฐานะตอ ผคู น เพราะยคุ อาณาจักรคัมโปละนนั้ เทพเจา ฮินดูสามารถประดษิ ฐานภายใน
อาคารอันเดยี วกนั กับพระพุทธรูปได

บทท่ี ๓
องคค์ วามรู้ท่ไี ดจ้ ากการศึกษาดูงานประเทศศรลี ังกา

ความนา
บทน้ีเป็นการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีนิสิตได้สะทอดออกจากการศึกษาดูงานที่

ประเทศศรีลังกา ว่า จากประสบการณ์ท่ีได้ออกไปทัศนะศึกษาดูงานแล้ว นิสิตได้อะไร
บาง แล้วจะเก็บประสบการณ์น้ีไปปรับใช้ในการดาเนินงาน การเผยแผ่ และการดาเนิน
ชวี ติ อย่าง ประสบการณใ์ นการออกศึกษาดูงานนอกสถานที่เป็นการศึกษาท่ีประสบการณ์
ตรง องค์ความรู้นี้เป็นองค์ความรู้ที่ทรงคุณค่าท่ีนิสิตได้แสดงออก ด้วยเหตุน้ี จึงได้
นาเสนอองค์ความรู้ผ่านประสบการณ์ท่ีนิสิตพยายามสื่อสารประสบการณ์ของตนสู่สังคม
สื่อสารเก่ียวกับประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศศรีลังกาสู่ประเทศไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทย วิถีชีวิตของ
พุทธศาสนิกชนในประเทศศรลี ังกา สถานที่ที่มีความประทับใจในการทัศนศึกษาครั้งนี้ ส่ิง
ที่ได้จากการศึกษาในคร้ังนี้ และประสบการณ์จะสามารถนาไปเป็นแนวทางการพัฒนา
ในอนาคต

๓.๑ ประวตั ศิ าสตร์พระพทุ ธศาสนาเถรวาทในประเทศศรลี งั กาส่ปู ระเทศไทย
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศศรีลังกาสู่ประเทศไทย:

สงั คมเมืองพุทธศรีลังกา ไม่แตกต่างจากประเทศพุทธอื่นๆ เท่าใดนัก มีวัดวาอารามให้
เห็นกันทั่วทุกมุมเมือง ประชาชนเคารพนับถือพระสงฆ์ในฐานะตัวแทนพระพุทธเจ้า
เป็นอย่างมาก วิถีชีวิตชาวบ้านใกล้ชิดพระเจ้าอย่างแยกไม่ออก แต่ที่เห็นต่างไป คือ
เหตุการณ์ความไม่สงบและการรบพุ่งกันระหว่างชาวทมิฬกับชาวสิงหล ทาให้ประเทศ
นอี้ ยูภ่ ายใต้ภาวะความตงึ เครยี ดและอนั ตรายมานานมากแลว้ แต่แม้กระนน้ั ชาวบ้านก็
ยังนิยมนุ่งขาวห่มขาวเข้าวัด วัดกลายเป็นที่พึ่งทางจิตใจที่สาคัญมากอย่างหนึ่งเลย
ทีเดียว ในเมืองไทยเวลาจะลาพระกลับบ้าน ท่านก็จะให้พรและพรมน้ามนต์เป็นสิริ

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๗๓

มงคล แต่ท่ีศรีลังกา ท่านจะเอาเครื่องประดับศีรษะ คล้ายๆ พวกมงกุฏชฎา ซึ่งถือว่า
เป็นของสูงมาสวมลงบนศีรษะเรา พร้อมกับให้พร เป็นธรรมเนียมปฏิบัติสากลสาหรับ
ทกุ วัดที่นี่

ชาวศรีลังกาให้ความสาคัญ และมีความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาเป็นอย่าง
มาก สังเกตได้จากชาวศรีลังกา มีโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาในวันอาทิตย์
ผู้ปกครองจะใหก้ ารสนับสนนุ โดยสง่ เยาวชนเข้าศึกษาพระพุทธศาสนาในวันอาทิตย์กัน
อย่างพร้อมเพรียง ประชาชนไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่หรือเด็กที่เข้ามาศึกษาในโรงเรียน
พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ทุกคนจะพร้อมใจการสวมใส่ชุดสีขาวท้ังผู้ชายและผู้หญิง
และเข้าร่วมกิจกรรมกันอย่างมสี มาธแิ ละจรงิ จงั เปน็ อย่างมาก๑

สยามนกิ าย ได้กาเนิดไปจากประเทศไทย มีลักษณะการแต่งกายแตกต่างจาก
สองนิกายหลัง เนอ่ื งจากพระสงฆส์ ยามนกิ ายนิยมโกนขนค้ิวหมด การห่มจีวรเวลาออก
จากวัด บางวัดก็ห่มคลุม บางวัดก็ห่มลดไหล่หรือท่ีเรียกว่า พาดหางควาย นอกจากน้ี
พระสยามนิกายทุกองค์จะใช้ร่มผ้าสีดา คันยาว ที่ถือมีลักษณะงอโค้ง ซึ่งเป็นบริขาร
ประจาไม่ว่าฝนจะตกหรือไม่ก็ตาม เมื่อจะออกจากวัดไปไหนต้องถือติดตัวไปด้วยทุก
ครั้งเหมือนเป็นธรรมเนยี มปฏบิ ัติ

ส่วนอมรปุรนิกายน้ัน ไม่นิยมโกนค้ิวเหมือนพระสยามนิกาย และเม่ือจะออก
นอกวัดก็จะห่มคลุมท้ัง ๒ บ่า เช่นเดียวกับรามัญนิกาย และจะถือร่มใบตาลที่มีรูป
ยาวๆ ไม่ใหญ่นัก ไม่มีก้านเหล็ก แต่มีที่กางและหุบได้ โดยอาศัยก้านตาล ใช้ได้เฉพาะ
กันแดดเท่านั้น อย่างไรก็ตามการห่มผ้าของพระท้ัง ๓ นิกายน้ีจะเหมือนกัน คือ
ตอนล่างจะต้องห่มให้ชายจีวรเล้ือยลงมาถึงข้อเท้า นอกจากนั้นเวลา มีกิจนิมนต์ไป
บ้านใคร ทุกนิกายจะต้องมีพัดใบตาลเล็กๆ ติดมือไปด้วยทุกองค์ รวมทั้งร่มที่จะต้อง
ถอื ไป ไม่นยิ มถือยา่ มเหมือนพระไทยและพระพม่า

๑ พระครูวรมงคลประยุต, เลขประจาตัวนิสิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๒, สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา

๗๔ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ในเรือ่ งการปฏบิ ตั ิตนของท้ัง ๓ นกิ ายนี้ พระสยามนิกายและอมรปุรนิกาย จะ

คล้ายกันมาก ส่วนพระรามัญนิกาย จะต่างออกไปโดยที่ท่านจะไม่จับเงิน ดังน้ันเม่ือ

เวลาไปไหนมักจะต้องมีเด็กติดตามไปด้วย เพ่ือให้เด็กช่วยในการหยิบเงินจ่ายค่ารถ

เหน็ ได้วา่ การปฏิบตั ิตนของรามัญนิกายน้ันจะเครง่ ครัดกว่านิกายอนื่ ๆ

อย่างไรก็ตามพระสงฆ์ทั้ง ๓ นิกายนี้ ไม่นิยมลาสิกขา เน่ืองจากประชาชน

มักจะดหู มนิ่ ดแู คลนและไมน่ ับถือผู้ที่สึกออกมาจากพระโดยถือว่าไม่ใช่คน

ดี ซงึ่ ในภาษาสิงหลจะเรยี กวา่ หิระลุ คือ ผู้ทิ้งผ้าจีวร และคนศรีลังกาหมายถึง บุคคล

ที่เกยี จคร้าน ไมน่ า่ ปรารถนาในสงั คม

ในเรื่องการแสดงความเคารพระหว่างพระในนิกายทั้ง ๓ ไม่แตกต่างกัน

เพราะผ้ทู ีอ่ าวุโสนอ้ ยกวา่ ตอ้ งเคารพผทู้ ่ีมีอาวุโสมากกว่า สาหรับความเป็นอยู่ เช่น การ

ฉัน ก็เช่นเดียวกัน ท้ัง ๓ นิกาย สามารถฉันร่วมอาสนะเดียวกันได้ ยกเว้นในเรื่องทา

อุโบสถสงั ฆกรรม จะไมท่ าร่วมกัน เพราะพระสยามนกิ ายคิดว่าตนเองมาจากวรรณะสูง

จงึ มองอกี สองนกิ ายวา่ มาจากวรรณะต่ากวา่ นอกจากนน้ั พระท้ัง ๓ นิกาย ไม่นิยมการ

สบู บหุ รี่ เพราะประชาชนจะไม่เล่ือมใสพระท่ีสูบบุหรี่ ในเร่ืองการปลงผมก็เช่นเดียวกัน

พระทั้ง ๓ นิกาย ปลงผมตามความพอใจ เพราะไม่มีวันโกนโดยเฉพาะเหมือนใน

ประเทศไทย๒

พระพุทธศาสนา ไดอ้ บุ ัติขน้ึ ในดินแดนชมพทู วปี เรียกอีกอย่างวา่ อินเดีย โดยมี

สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าเป็นองค์พระศาสดา หลังจากพระองค์ได้เสด็จดับขันธ์

ปรินิพพานแล้ว พุทธบริษัทเหล่าสาวกได้ ทาสังคายนาข้ึน เพื่อรักษาพระธรรมคาสอน

ชาระพระธรรมวินัยให้บริสุทธ์ิผุดผ่อง ในครั้งนั้นพระเจ้าอโศกมหาราช และพระโมค

คัลลีบุตรติสสเถระ ได้เรียกประชุมสงฆ์จานวน ๑,๐๐๐ รูป จัดทาสังคายนา ครั้งที่ ๓

ขึน้ ณ วัดอโศการาม แขวงเมืองปาฏลีบุตร ประเทศอินเดีย หลังจากทาสังคายนาแล้ว

๒ พระครูวิบูล ภัทโรภาส (โอภาโส) นิสิตปริญญาเอกช้ันปีท่ี๑ รหัส .......สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๗๕

พระเจ้าอโศกมหาราชได้ ส่งธรรมทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามากท่ีสุดถึง ๙ สาย
ด้วยกัน สายที่ ๘ ได้ส่งพระโสณะ พระอุตตระไปยังแคว้นสุวรรณภูมิ ส่วนสายที่ ๙
น้ัน ได้ส่งพระพระมหินท์เถระ พร้อมด้วยคณะ อีก ๕ รูป และอุบาสก ๑ ท่าน ไปยัง
เกาะลังกาของชาวสิงหล โดยมีพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะทรงศรัทธาเล่ือมใส ได้อุทิศ
มหาเมฆวันทอทุ ยาน เรียกว่า “วัดมหาวิหาร”ถวายแด่คณะสงฆ์ พระพุทธศาสนาเข้าสู่
ลังกาในยุคนี้ เป็นแบบเถรวาท พร้อมกันนี้พระมหินท์เถระยังได้นาเอาพระไตรปิฎก
พระอรรถกถา และอารยธรรม ศลิ ปกรรม สถาปัตยกรรมเขา้ ไปด้วย

เมือ่ พ.ศ.๑๖๙๗ – ๑๗๓๐ สมัยพระเจ้าปรากรมพาหุที่ ๑ ทรงเป็นมหาราชที่
สาคัญที่สุดองค์หนึ่งของลังกา ในด้านการพระศาสนาทรงชาระการพระศาสนาให้
บริสุทธ์ิ ยังคณะสงฆ์ให้รวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้อีกคร้ังหนึ่ง พระมหากษัตริย์
ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช ปกครองสงฆ์ทั้งประเทศเป็นครั้งแรก เป็นยุคที่มี
ศิลปกรรมงดงาม และลังกาได้กลายเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนา ปรากฏ
เกียรติคุณแพร่ไปท่ัว มีพระสงฆ์และนักศึกษาเดินทางจากประเทศใกล้เคียงมาศึกษา
พระพทุ ธศาสนาในลังกา แลว้ นาไปเผยแพรใ่ นประเทศของตน เป็นอันมากถือได้ว่าเป็น
ยคุ ทองแห่งพระพุทธศาสนาในลงั กา

พ.ศ.๑๖๙๗ น้ี น่ีเองที่ประเทศไทย ตรงกับสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ก็ได้มี
การนมิ นต์พระสงฆ์จากลังกา นามว่า ราหุล มาจาพรรษา และเผยแผ่พุทธศาสนาแบบ
ลงั กาวงศ์ ณ เมอื งนครศรธี รรมราช ตัง้ แตพ่ ุทธศตวรรษที่ ๑๗ ซึ่งกไ็ ด้รับการยอมรับใน
หม่คู นไทยอย่างรวดเรว็

พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้อาราธนา
พระมหาเถรสังฆราช จากเมืองนครศรีธรรมราช มาจาพรรษา ณ วัดอรัญญิก ในกรุง
สโุ ขทัย ทาให้พระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์เจริญรุ่งเรืองในสยามประเทศ นับแต่นั้น
เป็นตน้ มาจวบจนปจั จุบนั โดยในปี พ.ศ. ๑๙๐๔ พระเจา้ ลไิ ท

๗๖ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

กษตั รยิ อ์ งค์ที่ ๕ ของกรุงสุโขทัย ทรงอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากลังกาทวีป มา
จาพรรษาในสุโขทัย ซึ่งในยุคน้ีเริ่มมีการแบ่งคณะสงฆ์ออกเป็น ๒ ฝุาย คือ ฝุาย
คามวาสี และฝุายอรัญวาสี

พ.ศ. ๒๐๕๐ ฝรั่งโปตุเกสถือโอกาสรุกรานอีก ได้นาเอาคริสต์ศาสนา มา
เผยแพร่

พ.ศ. ๒๒๐๐ ฝร่ังฮอลันดาก็เข้ายึดครอง นาเอาคริสต์ศาสนา มาเผยแพร่ ทา
ให้พุทธศาสนาในขณะนั้นก็ย่าแย่ลงจนพระภิกษุสงฆ์ต้องทิ้งวัดวาอาราม ทาให้ไม่มี
พระภิกษุหลงเหลืออยู่เลย คงเหลือแต่สามเณรอยู่บ้าง โดยมี สามเณรสรณังกร เป็น
หัวหน้า

พ.ศ. ๒๒๙๓ พระเจ้ากิตติราชสิงหะ กษัตริย์ลังกาในขณะน้ัน ให้ส่งทูตมา ขอ
นิมนต์พระสงฆ์จากเมืองไทย (อยุธยา) ไปฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนา ณ ลังกาทวีป สมัยน้ัน
ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าบรมโกศจึงได้ส่งพระ
ธรรมทูตไทยจานวน ๑๐ รูป มีพระอุบาลี เป็นหัวหน้า เดินทางมาประเทศลังกา มาทา
การบรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวลังกาถึง ๓,๐๐๐ คน ณ เมืองแคนด้ี ทาให้
สามเณรสรณังกร ได้รับการอปุ สมบทในคร้งั นี้ และได้รับการสถาปนาจากกษัตริย์ลังกา
ให้เป็นสมเด็จพระสังฆราช จึงเป็นเหตุให้เกิดคณะสงฆ์นิกายสยามวงศ์ หรืออุบาลีวงศ์
ขนึ้ ในประเทศลังกา๓

พ.ศ. ๒๓๔๐ องั กฤษไดค้ รองอานาจแทนฮอลันดา ขยายอานาจไปทั่วประเทศ
ลังกา โดยรบชนะกษัตริย์แคนดี ได้ตกลงทาสนธิสัญญารับประกันสิทธิของฝุายลังกา
และการคุม้ ครองพระศาสนา ครัน้ ตอ่ มาได้เกิดกบฏขน้ึ เมอ่ื ปราบกบฏได้สาเร็จ อังกฤษ
ได้ดัดแปลงสนธิสัญญาเสียใหม่ ระบบกษัตริย์ลังกาจึงได้สูญส้ินตั้งแต่บัดน้ัน ตั้งแต่
อังกฤษเขา้ มาปกครองลงั กาตอนต้น พระพทุ ธศาสนาไดร้ บั ความเป็นอิสระมากขึ้น ด้วย

๓ พระครูสุเมธธรรมกิจ ฐิตเมโธ / กุดสมบัติ รหัส นิสิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๓ สาขาวิชา
พระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๗๗

สนธิสัญญาดังกล่าว ครั้นต่อมาภายหลังจากการปกครองของอังกฤษประมาณ ๕๐ ปี
พระพุทธศาสนากถ็ ูกกีดกันและตอ่ ต้านจากศาสนาคริสต์ รัฐถูกบีบจากศาสนาคริสต์ให้
ยกเลิกสัญญาทค่ี ุม้ ครองพุทธศาสนา บาทหลวงของคริสต์ได้เผยแผ่ครสิ ต์ศาสนาของตน
และโจมตีพุทธศาสนาอย่างรุนแรง โดยได้รับการสนับสนุนจากต่างชาติ นับต้ังแต่
อังกฤษเข้าปกครองลังกามาเป็นเวลากว่า ๓๐๐ ปี จนได้รับอิสรภาพเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑
จากการท่ีพุทธศาสนาถูกรุกรานเป็นเวลาช้านานจากศาสนาคริสต์ ทาให้ชาวลังกามี
ความมุ่งมานะที่จะฟื้นฟูพุทธศาสนาในลังกาอย่างจริงจัง จนปัจจุบันประเทศศรีลังกา
ไดเ้ ป็นประเทศทีม่ พี ระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติ

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทท่ีมีต่อประชาชนประเทศศรีลังกา จะเห็นได้
ว่าประชาชนในประเทศศรีลังกาได้นับถือศาสนาพุทธมากของประชากรในประเทศศรี
ลังกามีการนับถือศาสนาท่ีหลากหลาย แต่ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา คือ
ร้อยละ ๖๙.๓ รองลงมาคือศาสนาฮินดู ร้อยละ ๑๕.๕ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ ๗.๖%
ครสิ ต์ศาสนา รอ้ ยละ ๗.๕ และผ้ทู ี่นบั ถือศาสนาอื่น ๆ อีกรอ้ ยละ ๐.๑ ความสาคัญของ
พุทธศาสนาที่รองรับโดยกฎหมายของรัฐท่ีมีอยู่สูงมาก เช่น ในกฎหมายสิงหลโบราณ
ว่า “ผู้ทาลายเจดีย์และต้นโพธิ์ กับผู้ท่ีปล้นสะดมทรัพย์ของศาสนามีโทษถึงตาย”
กฎหมายนี้ใช้บังคับชาวศรีลังกาทุกระดับชั้น รวมถึงชาวต่างชาติด้วย และคงมีการ
บังคบั ใช้มานานแล้ว ตงั้ แต่รชั กาลพระเจ้าเอลระ ซ่ึงเป็นชาวทมิฬ ในพุทธศตวรรษที่ ๕
ความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการดาเนินชีวิต อิทธิพลทางด้านการเมือง
การปกครอง พระภิกษุมีบทบาทอย่างมาก พระภิกษุมีความผูกพันกับประชาชนและ
ชนช้ันปกครองอยา่ งใกล้ชิด จึงมบี ทบาทหลายประการ๔

พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อ
ประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผย
แผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ ๙ สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศก

๔ พระครูโสภณชยาภวิ ัตฒน.์ รหัสนิสติ ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๑. สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา

๗๘ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

มหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณ
ภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ท้ัง ๗ ประเทศใน
ปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจ
กลางอยู่ท่ีจังหวัดนครปฐมของไทย เน่ืองจากได้พบโบราณวัตถุท่ีสาคัญ เช่นพระปฐม
เจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสาคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีใน
กลางอยู่ท่ีเมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคน้ี นา
โดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาใน
แถบนี้ จนเจริญรงุ่ เรืองมาตามลาดับ ตามยุคสมยั ต่อไปนี้

ในรัชสมัยพระเจ้าวิชัยพาหุที่ ๑ พระองค์ได้ทรงเริ่มฟื้นฟูพระพุทธศาสนา
ข้นึ มาใหม่ ตอ่ มาก็ถงึ รัชสมยั ของพระเจา้ ปรกั กมพาหทุ ่ี ๑ ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้า
วิชัยพาหุท่ี ๑ ทรงฟื้นฟแู ละบารุงพระพุทธศาสนาเป็นการใหญ่ต่อจากพระราชบิดา จึง
ทาใหพ้ ระพุทธศาสนาเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก แตใ่ นสมยั ตอ่ ๆ มาบ้านเมืองก็วุ่นวายอีก คณะ
สงฆ์แทบจะตั้งอยู่ไม่ได้ จนถึง พ.ศ. ๒๐๑๙ ก็ต้องมีการนาพระสงฆ์จากพม่าได้มาให้
การอุปสมบทแก่กลุ บตุ รทล่ี งั กา

ประมาณ พ.ศ. ๒๐๕๐ ประเทศลังกาอ่อนแอลง โปรตุเกสมีอานาจปกครอง
นกิ ายโรมันคาทอลิครุ่งเรอื ง พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการเบยี ดเบยี นมากเส่ือมโทรมลง ใน
ที่สุดต้องนาคณะสงฆ์จากพม่าไปให้การอุปสมบทในลังกาอีกครั้งหน่ึง ต่อมาชาว
ฮอลันดาเร่ิมเข้ามามีอานาจและขับไล่พวกโปรตุเกสออกไป แต่ฮอลันดาน้ันเองก็
ครอบครองลังกาแทน ซึ่งฮอลันดาพยายามหย่ังนิกายโปรเตสแตนท์ลง แต่ไม่สาเร็จ
เหมือนเป็นความโชคดีที่พระมหากษัตริย์ทรงพระนามว่า พระเจ้ากิตติราชสิงหะ ทรง
ไดร้ ับคาแนะนาจากสามเณรรูปหน่ึงช่ือวา่ “สรณังกร” ใหส้ ่งคณะทูตมายังประเทศไทย
ซึ่งตรงกับสมัยของพระเจ้าบรมโกษฐ์แห่งกรุงศรีอยุธยา ขอสงฆ์ไปอุปสมบทกุลบุตรใน
ลังกา และทางประเทศไทยก็ส่งคณะภิกษุไทยมีพระอุบาลีมหาเถระเป็นประธานมา
ลังกา มกี ารตอ้ นรับภิกษไุ ทยอย่างมโหฬารที่เมืองแคนดี้ (Kandy) และต่อมาคณะภิกษุ

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๗๙

ไทยกใ็ ห้การอุปสมบทแบบไทยแก่กุลบุตรชาวลังกา และสามเณรที่ได้รับการอุปสมบท
เป็นองค์แรกคือ สามเณรสรณังกร ท่านผู้น้ีต่อมาภายหลังได้เป็นสมเด็จพระสังฆราช
แห่งลงั กา ในนกิ ายสยามวงศเ์ ปน็ องค์แรก เปน็ เหตุใหเ้ กดิ สงฆส์ ยามวงศ์ในลังกาข้ึนและ
มมี าตราบเทา่ ทุกวนั น้ี

สาหรับพระอุบาลีเถระน้ัน ต่อมาได้อาพาธถึงแก่มรณภาพท่ีลังกาน้ันเอง
ปจั จุบนั อัฐขิ องท่านยังปรากฏอยู่ อาสนะที่ท่านนั่งอุปสมบทกุลบุตร ตลอดจนพัดรองที่
ทา่ นใชป้ ระจา ยงั คงรักษาไวค้ งรูปเดิมจดั เป็นปชู นยี วัตถุของพระสงฆ์นกิ ายสยามวงศ์

ในสมยั เดยี วกนั นน้ั ได้มีสามเณรกลมุ่ หน่งึ ออกไปรับการอปุ สมบทในพม่า เมื่อ
กลบั มาแลว้ กต็ ้งั “อมรปรุ นกิ าย” ๒ ข้ึน และยังมีอีกพวกหน่ึงไปบวชแต่เมืองมอญแล้ว
นาตั้งเป็น “รามัญนิกาย” ขึ้น ข้อท่ีผิดกันก็คือ ภิกษุในสยามนิกายน้ันส่วนมากเป็นผู้ดี
ชั้นสูงนิยมบวชกันโดยมาก ไม่นิยมรับคน ชั้นต่าเข้ามาบวช เพราะฉะนั้น คนชั้นต่าจึง
หันไปบวชในอมรปุรนิกายและรามัญนิกายเป็นส่วนมากสรุปนิกายพระสงฆ์ในลังกามี
๓ นิกาย

๑. สยามนกิ าย หรอื อบุ าลีวงศ์
๒. อมรปรุ นิกาย หรือ มรมั มวงศ์
๓. รามัญนกิ าย เปน็ นิกายท่ีเลก็ ทสี่ ดุ
ทง้ั ๓ นกิ าย ยงั แบ่งเป็นสาขาแตกแยกกนั ไปตามสานักต่าง ๆ
อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทท่ีมีต่อประชาชนในศรีลังกา: อิทธิพลของ
พระพุทธศาสนาในศรลี ังกาสว่ นมากเหน็ อทิ ธพิ ลทางดา้ นพระพุทธศาสนาซึ่งสามารถจะ
เป็นการแบ่งการศึกษาซ่ึงแลบ่งออกเป็น ๔ ประเด็น คือ ๑. ศึกษาประวัติ
พระพุทธศาสนาในศรีลังกา ๒. ศึกษาสภาพการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในศรี
ลงั กา ๓. ศกึ ษาถึงอิทธพิ ลของพระพทุ ธศาสนาในศรีลังกา ๔. ศึกษาแนวโน้มในอนาคต
ของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาพุทธศาสนาเริ่มเข้าสู่ศรีลังกาครั้งแรก เม่ือประมาณ
พ.ศ. ๒๓๖ โดยการนา ของพระมหินทเถระ ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าเทวานัมปิยติส

๘๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

สะ พุทธศาสนาในศรีลังกา แบ่งออกเป็น ๓ สมัยใหญ่ๆ ได้แก่สมัยก่อนอนุราธปุระ
สมัยอนุราธปุระ และสมัยโปโรนรุวะ บางสมัยมีความเจริญรุ่งเรืองสุดขีด แต่บางยุค
สมัยก็มีความเส่ือมโทรม จนไม่มีพระสงฆ์ เหลืออยู่เลย ต้องไปนาพุทธศาสนามาจาก
ประเทศอน่ื ดงั เช่น ในปี พ.ศ.๒๒๐๙ รชั สมัย พระเจา้ กิตตริ าชสิงห์ ได้นาคณะสงฆ์จาก
ประเทศไทย และประเทศพมา่ ไปสืบอายุ พทุ ธศาสนายังลังกา เป็นต้น ๑) ประวัติของ
พุทธศาสนาในศรีลังกาประชาชนชาวศรีลังกามากกว่าร้อยละ ๖๐ เป็นพุทธมามกะ
ชาวศรีลังกา มีความผูกพันกับพระพุทธศาสนาทุกด้าน ท้ังประเพณี วัฒนธรรม อารย
ธรรม และวิถีชีวิต จะเห็นร่องรอยความเจริญที่มีพระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญ
พระมหากษัตริย์ส่วนมากเป็นพุทธมามกะ ให้การอุปถัมภ์และคุ้มครองส่งเสริม พุทธ
ศาสนา วัดกลายเป็นศูนย์กลางทางการศึกษา เป็นศูนย์กลางของชุมชน ทุกระดับช้ัน
คณะสงฆ์และวัด ที่มีบทบาทสาคัญในการขับเคลอ่ื นประเทศชาติ ให้ก้าวหน้า ควบคู่ไป
กบั สถาบนั การปกครอง ๒) สภาพการณ์ปัจจบุ นั ของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาในด้าน
การเมืองการปกครอง พระสงฆ์ในศรีลังกามีบทบาท ทางการเมืองสูง ไม่ว่าจะเป็น
บทบาทในการเป็นท่ีปรึกษาของพระมหา- กษัตริย์ การไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทระหว่าง
ผู้นาทางการเมือง บทบาทใน การเลือกตั้ง ในปัจจุบันพระสงฆ์ชาวศรีลังกาเข้าไปเป็น
ส.ส. ทาหนา้ ที่ เป็นตัวแทนของประชาชนในรัฐสภา ซ่ึงถือเป็นพัฒนาการแปลกไปจาก
บทบาทเดิมท่เี คยมีมา ๓) อิทธพิ ลของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาในด้านการศึกษา วัด
ในประเทศศรีลังกาตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน มี ลักษณะเป็นท้ังศูนย์กลางและสถาบันทาง
การศึกษา พระสงฆ์นอกจากจะเป็น ปูชนียบุคคลท่ีได้รับความเคารพอย่างสูงจาก
ประชาชนแล้ว ยังเป็นบุคลากร ทางการศึกษา ทาหน้าท่ีเป็นผู้นาทางด้านจิตปัญญา
เป็นครูอบรมศีลธรรม และสั่งสอนวิชาการแก่คนในสังคม เป็นนักวิชาการ นักคิด
สร้างสรรค์ภูมิ ปัญญาแบบพุทธ ผลิตผลงานวรรณกรรมต่างๆ ๓) อิทธิพลของ
พระพทุ ธศาสนาในศรีลังกา (ต่อ)ศรีลังกาเป็นฐานท่ีม่ันของพุทธศาสนาเถรวาทมานาน
จวบจนปัจจุบัน สถานการณ์พุทธศาสนาในลังกาในปัจจุบันจึงยังมั่นคงและเข้มแข็ง

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๘๑

ชาวศรีลังกายังคง เคารพนับถือและมีความเล่ือมใสในพุทธศาสนา สามารถประยุกต์
หลักธรรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิต พระสงฆ์ส่วนใหญ่ยังคงเป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติ
ชอบ เป็นผู้นาทางจิตปัญญาอย่างแท้จริง ที่สาคัญชาวพุทธลังกา ได้แสดง ความเป็น
ผนู้ า ในการผลกั ดนั ให้พุทธศาสนาเปน็ ท่ียอมรับในเวทีโลก อย่างน่าช่ืนชม จากเงื่อนไข
ต่างๆ ในปัจจุบัน สรุปได้ว่า พุทธศาสนาในประเทศศรีลังกาใน อนาคตยังจะมีความ
ม่ันคง และ น่าจะกลับมาเป็นแหล่งเรยี นรู้ทางพุทธศาสนาท่ี สาคัญแห่งหนึ่งของโลกใน
อนาคตได้๕

พทุ ธศาสนาเผยแผเ่ ข้าสู่ศรีลังกา คร้ังแรกสมัยพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ (พ.ศ.
๒๓๕-๒๗๕) เมืองหลวงขณะน้ันช่ือ เมืองอนุราธปุระผู้นาพระพุทธศาสนาไปเผยแผ่ใน
ศรีลังกาคือ พระมหินทเถระโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช พร้อมคณะภิกษุ ๑ รูป
เณร ๑รูปและอุบาสก ๑ คน พระมเหสีของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ยอมรับในพุทธ
ศาสนาจนกระท่ังขอออกบวชเป็นภิกษุณีพร้อมเหล่าสตรีบริวาร แต่ไม่มีพระอุปัชฌา
จงึ ไดท้ ลู ขอผู้ใดมาเป็นพระอุปัชฌาในการบวช ครั้งนั้นพระสังฆมิตตาเถรี เป็นพระธิดา
พระเจ้าอโศกมหาราชพรอ้ มนาเอากิง่ พระศรีมหาโพธ์ิจากพุทธคยา อินเดียมาปลูกที่ศรี
ลังกาเป็นแห่งแรกท่ี เมืองอนุราธปุระ ถือว่าเป็นต้นไม้ประวัติศาสตร์ที่มีอายุยืนยาว
ท่ีสดุ ในพระพทุ ธศาสนา มีการสร้างส่งิ ก่อสรา้ งมหาวิหาร และ ถูปาราม ข้ึนที่บริเวณซึ่ง
ปลูกต้นพระศรีมหาโพธ์ิ เกิดยุคเข็ญในช่วงท่ีชาวทมิฬ ครองศรีลังกานานถึง ๑๔ ปี
ต้องกินเนื้อมนุษย์ พระพุทธศาสนาสูญส้ิน ต่อมากษัตริย์ศรีลังกาองค์หน่ึงสามารถกู้
บัลลังก์คืนได้จะมีการแตกแยกนิกาย พระสงค์ออก ๒ นิกาย คือ ๑. นิกายฝุายมหา
วิหารยึดคาสอนแบบจารีตประเพณี ๒. ฝุายอภัยคีรีวิหาร-คาสอนตามอิสระรับความ
เชื่อจากตา่ งประเทศของนกิ ายธรรมรุจิ

๕ พระครูอุดมธรรมวตั ร รหัส ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๖ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา.

๘๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

พระพทุ ธศาสนาท่เี ผยแผ่เขา้ สูป่ ระเทศไทย ในแต่ละอาณาจักรมีการนับถือ
ที่แตกต่างกันออกไป เช่น อาณาจักรตามพรลิงค์ และอาณาจักรศรีวิชัย นับถือนิกาย
มหายาน ส่วนอาณาจักรทวาราวดี อาณาจักรพุกาม และอาณาจักรหริภุญไชย นับถือ
นิกายเถรวาท สาหรบั การนับถือพระพุทธศาสนาของคนไทย ไม่สามารถระบุให้ชัดเจน
แตย่ ึดถอื เอาอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเร่มิ ตน้ ในการศกึ ษา ดังนี้

๑) อาณาจักรสุโขทัย ในราว พ.ศ. ๑๘๐๐ พระสงฆ์ไทยท่ีไปศึกษาในลังกาได้
กลับมาประเทศไทยพร้อมด้วยพระสงฆ์ชาวลังกา ได้มาตั้งสานักเผยแผ่ศาสนาข้ึนที่เมือง
นครศรีธรรมราชพอถึง พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชข้ึนครองราชย์ และทรง
ทราบกิตติศัพท์ว่า พระสงฆ์ที่เมืองนครศรีธรรมราช ซ่ึงเป็นพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา
นกิ ายเถรวาทอยา่ งลงั กาวงศ์ มีวัตรปฏิบัติน่าเคารพเล่ือมใส จึงโปรดเกล้าฯ ให้นิมนต์พระ
มหาเถรสงั ฆราชจากนครศรีธรรมราชมายังวัดอรัญญิก ในกรุงสุโขทัย ต่อมา พ.ศ. ๑๘๙๗
พระเจ้าลิไทข้ึนครองราชย์ ได้นิมนต์พระมหาสามีสังฆราช เมืองลังกา ชื่อสมนะ เข้ามาสู่
สุโขทัย พระองค์ทรงเลื่อมใสได้เสด็จออกผนวชช่ัวคราว ณ วัดอรัญญิก และได้ทรงพระ
ราชนิพนธห์ นงั สือเร่ือง เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิพระร่วง พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ได้
เป็นท่ีเคารพนับถือของประชาชนไทยในสมัยสุโขทัยเป็นอย่างยิ่ง และแผ่ขยายไปทั่ว
อาณาจกั รสุโขทยั

๒) สมัยอาณาจักรล้านนา เม่ือ พ.ศ. ๑๙๑๓ พระเจ้ากือนาแห่งอาณาจักร
ล้านนา ไดส้ ง่ พระราชทตู มาอาราธนาพระสังฆราชสุมนเถร จากพญาลิไทยแห่งกรุงสุโขทัย
ข้ึนไปยังล้านนา ซึ่งเป็นการเริ่มต้นพระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในล้านนา ต่อมาใน
รัชกาลพระเจ้าติโลกราช ได้อุปถัมภ์ให้มีการทาสังคายนาครั้งท่ี ๘ ท่ีวัดโพธารามหรือวัด
เจ็ดยอด และในรัชกาลพระเมืองแก้ว (พ.ศ.๒๐๓๘-๒๐๖๘) เป็นยุครุ่งเรืองของวรรณคดี
พระพุทธศาสนา มีพระสงฆ์เป็นนักปราชญ์คัมภีร์ภาษาบาลีจานวนมาก เช่น พระสิริมัง
คลาจารย์ แตง่ หนังสือเร่ือง มังคลัตถทีปนี เวสสันตรทีปนี จักรวาฬทีปนี และสังขยาปกา
สฎีกา พระรัตนปญั ญาแต่งหนังสอื เรื่อง วชริ สารัตถสังคห และชินกาลมาลีปกรณ์ เปน็ ตน้

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๘๓

๓) สมัยอาณาจักรอยุธยา ในสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลการนับถือ
พระพุทธศาสนานิกาย เถรวาทอย่างลังกาวงศ์ จากอาณาจักรสุโขทัย ในสมัยน้ีได้มีการ
แต่งหนังสือเกย่ี วกับพระพุทธศาสนา เช่น มหาชาติคาหลวง กาพย์มหาชาติ นันโทปนันท
สตู ร พระมาลัยคาหลวง ปุณโณวาทคาฉันท์ เป็นต้น ใน พ.ศ. ๒๒๙๖ พระพุทธศาสนาใน
ประเทศลังกาขาดพระภิกษุที่จะสืบศาสนา กษัตริย์ลังกาจึงส่งคณะทูตมาขอพระสงฆ์ไทย
ไปทาการอุปสมบทให้แก่ชาวลังกา พระเจ้าบรมโกศได้ส่งพระอุบาลีและพระอริยมุนี
พร้อมดว้ ยคณะสงฆ์อีก ๑๕ รูป เดินทางไปยังลงั กา

๔) สมัยอาณาจักรธนบุรี หลังจากที่พระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงสถาปนา
กรุงธนบรุ ีแล้วก็ไดฟ้ ื้นฟูพระพุทธศาสนาซ่ึงเส่ือมโทรมไปหลังจากได้รับผลกระทบจากการ
เสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ แก่พม่า จึงได้อาราธนาพระสงฆ์ที่กระจัดกระจายจากภัย
สงครามมาประจาอยู่ในพระอารามต่าง ๆ และได้โปรดเกล้าฯ ให้สืบหาพระสงฆ์ที่ทรง
คุณธรรมจากทั่วประเทศให้ไปประชุมท่ีวัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆษิตารามในปัจจุบัน)
เพ่อื ทาการคดั เลอื กพระสงฆท์ ี่ทรงคุณสมบัติขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช ซึ่งท่ีประชุมได้ลง
มติเลือกพระอาจารย์ศรี วัดประดู่ กรุงศรีอยุธยา เป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์แรกของ
กรุงธนบุรี เพื่อให้ทรงเป็นผู้รับผิดชอบในการฟื้นฟูบูรณะพระพุทธศาสนา ให้กลับคืนสู่
ความรุ่งเรืองดังเดิม

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีต่อประชาชนในประเทศศรีลังกา: พระ
เจา้ อโศกได้จัดสมณะทูตในพระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ลังกาเป็นครั้งแรก ทาให้พระพุทธศาสนา
ได้เปน็ ศาสนาประจาราชอาณาจักรศรีลังกา เป็นรากฐานและวัฒนธรรมของชาว ศรีลังกา
เน่ืองจากอิทธิพลทางศาสนายังมีส่วนช่วยระบบวรรณะได้ลดความเข้มข้นลงด้วยอิทธิพล
คาสอนทางพุทธศาสนา นอกจากน้ันรัฐบาลศรีลังกาได้ถือเอาพุทธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติ จะเหน็ ไดว้ ่า ศาสนาพทุ ธมีความสาคัญและส่งผลต่อวัฒนธรรม การดาเนินวิถี
ชีวิตของชาวศรีลังกาเป็นอย่างมาก ประชาชนชาวศรีลังกานับถือพระสงฆ์ในศรีลังกา
ซ่ึงแบง่ ออกเป็น ๓ นกิ ายใหญ่ ๆ คอื สยามนกิ าย อมรปรุ นิกาย และรามัญนกิ าย

๘๔ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

สยามนิกาย ได้กาเนิดไปจากประเทศไทย มีลักษณะการแต่งกายแตกต่าง
จากสองนิกายหลัง เนือ่ งจากพระสงฆ์สยามนิกายนิยมโกนขนคิ้วหมด การห่มจีวรเวลา
ออกจากวัด บางวัดก็ห่มคลุม บางวัดก็ห่มลดไหล่หรือท่ีเรียกว่า พาดหางควาย
นอกจากนี้ พระสยามนิกายทุกองค์จะใช้ร่มผ้าสีดา คันยาว ที่ถือมีลักษณะงอโค้ง ซ่ึง
เป็นบริขารประจาไม่ว่าฝนจะตกหรือไม่ก็ตาม เมื่อจะออกจากวัดไปไหนต้องถือติดตัว
ไปดว้ ยทกุ ครัง้ เหมอื นเปน็ ธรรมเนียมปฏิบตั ิ

ส่วนอมรปุรนิกายนั้น ไม่นิยมโกนคิ้วเหมือนพระสยามนิกาย และเมื่อจะ
ออกนอกวดั ก็จะห่มคลุมทั้ง ๒ บ่า เช่นเดียวกับรามัญนิกาย และจะถือร่มใบตาลที่มีรูป
ยาวๆ ไม่ใหญ่นัก ไม่มีก้านเหล็ก แต่มีที่กางและหุบได้ โดยอาศัยก้านตาล ใช้ได้เฉพาะ
กันแดดเท่านั้น อย่างไรก็ตามการห่มผ้าของพระทั้ง ๓ นิกายน้ีจะเหมือนกัน คือ
ตอนล่างจะต้องห่มให้ชายจีวรเล้ือยลงมาถึงข้อเท้า นอกจากน้ันเวลา มีกิจนิมนต์ไป
บ้านใคร ทุกนิกายจะต้องมีพัดใบตาลเล็กๆ ติดมือไปด้วยทุกองค์ รวมท้ังร่มที่จะต้อง
ถอื ไป ไม่นยิ มถอื ยา่ มเหมือนพระไทยและพระพม่า

ในเร่ืองการแสดงความเคารพระหว่างพระในนิกายท้ัง ๓ ไม่แตกต่างกัน
เพราะผทู้ อ่ี าวโุ สน้อยกว่าต้องเคารพผทู้ มี่ อี าวุโสมากกว่า สาหรับความเป็นอยู่ เช่น การ
ฉัน ก็เช่นเดียวกัน ทั้ง ๓ นิกาย สามารถฉันร่วมอาสนะเดียวกันได้ ยกเว้นในเร่ืองทา
อโุ บสถสงั ฆกรรม จะไม่ทารว่ มกัน เพราะพระสยามนกิ ายคิดว่าตนเองมาจากวรรณะสูง
จงึ มองอกี สองนกิ ายวา่ มาจากวรรณะตา่ กว่า นอกจากนั้นพระท้ัง ๓ นิกาย ไม่นิยมการ
สบู บหุ ร่ี เพราะประชาชนจะไมเ่ ล่อื มใสพระท่ีสูบบุหรี่ ในเร่ืองการปลงผมก็เช่นเดียวกัน
พระทั้ง ๓ นกิ าย ปลงผมตามความพอใจ อย่างไรก็ตามพระสงฆ์ทั้ง ๓ นิกายน้ี ไม่นิยม
ลาสิกขา เน่ืองจากประชาชนมักจะดูหมิ่นดูแคลนและไม่นับถือผู้ที่สึกออกมาจากพระ
โดยถือว่าไม่ใช่คนดี ซ่ึงในภาษาสิงหลจะเรียกว่า หิระลุ คือ ผู้ท้ิงผ้าจีวร และคนศรี
ลงั กาหมายถงึ บคุ คลทีเ่ กยี จคร้าน ไม่น่าปรารถนาในสังคม

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๘๕

ดอกไม้ที่คนศรีลังกานิยมใช้ถวายพระคือ ดอกไม้ที่มีกล่ินหอม ไม่นิยมดอกไม้
พลาสติก และดอกไม้นั้นส่วนใหญ่จะต้องเก็บจากต้นเท่านั้น ชาวศรีลังกายังชอบใช้
ดอกไม้เป็นดอก ๆ ไม่นิยมร้อยมาลัยเหมือนเมืองไทยและอินเดีย ส่วนใหญ่จะใช้
ดอกบวั สชี มพูมากท่สี ดุ ๖

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทที่ต่อประชาชนในประเทศศรีลังกา: คนศรี
ลังกามคี วามเชื่อและความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ในวัดเต็มไปด้วยคนทุกวัย วัยรุ่น
หนมุ่ สาว คนสงู อายุ ทุกคนใส่ชุดสขี าว น่ังลงท่ีพื้นทราย รอบๆวัด ตั้งใจสวดมนต์ การ
เขา้ วดั สวดมนตค์ อื วัฒนธรรมอนั จริงจังของคนศรลี ังกา ทางานเสร็จ พอเลิกงานก็จะมา
ท่ีวัด นั่งสวดมนต์ คนท่ีนี่เขามีความเช่ือ และศรัทธาต่อต้นโพธิ์ และท่ีวัดพระศรีมหา
โพธ์ิ เมืองอนุราธปุระน้ีเขามีความเช่ือเร่ืองการฝากสิ่งท่ีไม่ดีเอาไว้กับต้นโพธิ์ ด้วยการ
อธิษฐานขอพร พร้อมถือน้าเดินวนรอบต้นโพธิ์ สามรอบ ต้ังจิตอธิษฐานกันให้ดีๆ พอ
ครบสามรอบ กน็ าน้าขน้ึ ไปรดทฐ่ี านต้นโพธ์ิ จะช่วยปัดเปุา คลายเรื่องร้ายให้หมดไปได้
บางคนก็มาเขียนชื่อลูกที่ปุวย ฝากไว้กับต้นโพธิ์ ความสาคัญของพุทธศาสนาท่ีรองรับ
โดยกฎหมายของรัฐท่ีมีอยู่สูงมาก เช่น ในกฎหมายสิงหลโบราณว่า “ผู้ทาลายเจดีย์
และตน้ โพธ์ิ กบั ผูท้ ี่ปลน้ สะดมทรัพย์ของศาสนามีโทษถึงตาย” กฎหมายนี้ใช้บังคับชาว
ศรีลังกาทุกระดับชั้น รวมถึงชาวต่างชาติด้วย และคงมีการบังคับใช้มานานแล้ว ตั้งแต่
รัชกาลพระเจา้ เอลระ ซึง่ เป็นชาวทมิฬ ในพุทธศตวรรษท่ี ๕๗

ในสมัยอนุราชปุระระยะแรก (ในราวกลางศตวรรษที่ ๓ กอนคริสตศักราช)
พระเจ้าอโศกมหาราช ไดทรงส่งสมณฑูตภายใต้การนาของพระราชโอรส คือ พระ
มหินทเถระ เดินทางเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศรีลังกา พร้อมทั้งพระเถระอ่ืนๆ

๖ พระครอู ดุ รภาวนาคุณ (สจฺจาสโภ) เลขประจาตัวนิสิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๐ สาขาวิชา

พระพทุ ธศาสนา
๗ พระมหาก้องไพร สาคโร (เกตุสาคร) รหัส ๖๐๐๕๑๐๕๐๒๒ สาขาวิชา

พระพุทธศาสนา

๘๖ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

อีก ๔ รูป คือ พระอิฎฎิยะ พระอุตติยะ พระสัมพละ พระภัททสาละ และสมุน
สามเณร ซงึ่ เปนพระนัดดาของพระเจาอโศก การที่ท่านไดพาพระเถระ ๔ รูปมาดัวย
นั้น เพื่อให้ครบองคสงฆเพราะมีวัตถุประสงคท่ีจะใหการบรรพชาอุปสมบทแกผูที่
ปรารถนาจะบวช เน่ืองจากตามพุทธานุญาตน้ันต้องมีสงฆ์จานวน ๕ รูป จึงสามารถ
ทาการอุปสมบทแกกุลบุตรได ตาม หลักฐานคมั ภีรบาลไี ดบันทกึ ไววา พระมหินทเถระ
ไดพบกับพระเจาเทวานัมปยะติสสะเป็นคร้ังแรกที่ มิสสกบรรพต หรือปจจุบันคือ มิ
หินตเล ซึ่งพระเจาเทวานัมปยะติสสะทรงให้การต้อนรับแกคณะธรรมทูตด้วยความ
เคารพ

เมื่อมีการสนทนากันครั้งแรก พระมหินทเถระไดถามปัญหาแกพระราชาเพื่อ
หย่ังถึงปัญญา และเม่ือตระหนักแล้วพระองค์มีพระปรีชาพอที่จะเข้าใจคาสอนของ
พระพทุ ธองค์ จึงได แสดงพระธรรมเทศนา เรื่อง หัตถิปโทปมสูตร (จูฬหัตถปิโทปม
สตูร) โปรดพระเจ้าเทวานัมปยติสสะเปนพระสูตรแรกท่ีแสดงในศรีลังกา และท่ีทรง
เลือกพระสูตรนี้เพราะทรงเห็นว่าเหมาะกับเหตุการณ พระสูตรน้ีไดให้ทรรศนะ
เกี่ยวกับ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ์และวิธีที่คนจะหันมารับนับถือพุทธศาสนา
และบวชเป็นภิกษุ พรอมทั้งอธิบายถึงความเป็นอยู่อย่างง่ายๆ และบริสุทธิ์ของภิกษุ
อย่างละเอียด การพัฒนาชีวิตข้ันต่างๆ จนถึงขั้นพระอรหันตซึ่งเป็นขั้นสุดยอดของ
พระพทุ ธศาสนา พระสูตรนย้ี งั ประกอบไปด้วยหลกั สาคัญของพระพุทธศาสนาไวเกือบ
ท้ังหมด เช่น อริยสจั ๔ เปน็ ตน้

ทรงย้าถึงหลักศีลธรรมในพระพุทธศาสนาว่า เป็นคุณธรรมที่จาเป็นแก่ชีวิต
ของผู้หวังความสุข หลังจากเทศนาจบแลวพระเจาเทวานัมปยติสสะไดทูลอาราธนา
ให้พระมหนิ ทเถระพรอมคณะเสด็จประทับในพระราชอุทยานมหาเมฆวัน ซ่ึงต่อมาได
ทรงถวายพระราชอุทยานน้ีให้แก่สงฆ์ พระมหินทเถระจึงไดวางแผนสร้างสานักงาน
ใหญแ่ ห่งพระพุทธศาสนาข้นึ ซง่ึ มชี ่อื เรยี กว่า “มหาวิหาร” เป็นท่ีรู้จักกันท่ัวไปว่าเป็น
ศูนย์กลางการศึกษาและอารยธรรมของพระพุทธศาสนาฝุายเถรวาท และไดรับการ

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๘๗

ขนานนามวา “เมืองศักด์ิสิทธ์ิแหงอนุราชปุระ” อย่างไรก็ตามพระพุทธศาสนาก็ยังไม
ไดตงั้ มน่ั ในศรลี งั กา สาหรับหลักฐานการต้ังมั่นของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาหรือยัง
น้ันท่ีปรากฏอยู่มีความแตกต่างกัน เนื่องจากคัมภีรทีปวงศ มหาวงศ ได้กล่าวว่า พระ
มหินทเถระไดทูลตอบพระราชาว่า พระพุทธศาสนาจะต้ังมั่นก็ต่อเม่ือสีมาแห่งโรง
อุโบสถและการกระทาอ่ืนๆ ของคณะสงฆไดต้ังมั่นแลว ตามคาสอนของสมเด็จพระ
สมั มาสัมพทุ ธเจาเท่าน้นั แตใ่ นหนงั สอื สมนั ตปาสาทกิ า ไดบันทึกว่า พระราชาตอบว่า
“มหาบพิตร พระพทุ ธศาสนาไดตง้ั ลงแลว แตร่ ากของพระพทุ ธศาสนายังหยั่งไมลึกนัก
ต่อเม่ืองกุลบุตรท่ีเกิดในศรีลังกาไดเข้ามามาอุปสมบทเป็นภิกษุในศรีลังกา ศึกษาวินัย
และท่องจาวินัยได้แล้วน่ันแหละ พระพุทธศาสนาจึงจะช่ือว่า หยั่งรากลึกนะมหา
บพติ ร”๘

พุทธศาสนาลังกาวงศ์สู่ลานนา: ในรัชสมัยพระเจ้ากือนา (บาลีผูกศัพท์ว่ากิล
นา) ทรงเป็นธรรมิกราช ครั้งนั้นทรงส่งทูตไปอาราธนาพระอุทุมพรบุบผามหาสวามี
เป็นพระเถรชาวลังกาที่ชราภาพมากแล้ว ขณะน้ันได้ลัทธิลังกาวงศ์อยู่ท่ีนครพัน (คือ
เมาะตะมะ) ใหม้ าเชยี งใหม่ แตไ่ ม่สาเร็จ ทา่ นจึงส่งพระหลานชายคือ พระอานันทเถระ
มาแทน พระเจา้ กือนาจงึ อาราธนาให้ท่านอานันทเถระทาการบวชกุลบุตรชาวเชียงใหม่
แต่พระอุทุมพรปฏิเสธ พระเจ้ากือนารับคาของพระอุทุมพรให้เชิญพระเถระ ๒ รูป
ชาวสุโขทยั มาเป็นอปุ ัชฌาย์ คอื พระสุมนเถระ และพระอโนมทสั สเี ถระ ท้ัง ๒ รูปจึงได้
จาพรรษาที่วัดพระยืน จังหวัดลาพูน ส่วนตัวท่านเองจะเป็นพระกรรมวาจาจารย์ เมื่อ
ออกพรรษาพระเจ้ากือนาจึงพระราชทานอุทยานหลวงนอกเมืองเชียงใหม่ให้เป็นวัด
คือวดั สวนดอกในปจั จุบนั (บุปผาราม) อาราธนาพระสุมนะครอง และเป็นสังฆราชองค์
แรกแห่งราชอาณาจักรลานนาไทย ได้สร้างเจดีย์บรรจุพระบรมธาตุ ท่ีวัดสวนดอกไว้
ด้วยเป็นศิลปแบบลังกาองค์แรกในเชียงใหม่ ต่อมาได้ทรงเส่ียงช้างอัญเชิญพระบรม

๘ จานงค์ ทองประเสรฐิ. พระพุทธศาสนาในลงั กา. ๒๕๑๐, หน้า ๗๕.

๘๘ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ธาตุข้ึนไปบนยอดดอยสุเทวบรรพต และสร้างเจดีย์ใหญ่บรรจุพระบรมธาตุ คือ พระ
ธาตดุ อยสุเทพในปัจจุบันนน่ั เอง

ต่อมาพระเจ้าสามฝ่ังแกน เป็นโอรสของพระเจ้าแสนเมือง พระเจ้าสามฝั่งแกน
ไม่โปรดพุทธศาสนาเทาไร พระองค์ชอบไสยสาศตร์ ทรงสร้างวัดมุมเมือง (มุมเมือง)
จดุ ประสงค์ในการสรา้ งวดั มุมเมอื ง

๑. เพอ่ื ประดษิ ฐานพระแกว้ มรกต
๒. เพื่อเก็บผลประโยชนจ์ ากวดั ตา่ งๆ มาไว้ทีว่ ัดมมุ เมือง
จากการกระทาน้ันน้ันทาให้วัดต่างๆ เดือดร้อนเป็นอย่างมาก ทาให้พระเถระ
ตา่ งๆ ท้ิงเมอื งเชียงใหม่ ไปลังกา คือพระเมธังกรเถระ พระญาณมงคลเถระ ท่านทั้ง ๒
รวมทั้งพระมอญและพระเขมร ประมาณ ๒๐ รูปจึงเดินทางไปลังกา เพราะความไม่
เป็นธรรมของพระเจ้าสามฝ่ังแกน การไปลังกาของพระเหล่านี้ มีจุดประสงค์ ๒
ประการ คอื
๑. เพ่อื ไปศึกษาธรรมวินยั
๒. เพอื่ ทาการอุปสมบทใหม่ โดยทาการอุปสมบทที่ “อุทกสีมา (ใช้แม่น้าเป็น
เขตสมี า) ช่อื แมน่ า้ “กลั ยาณคี งคา” โดยมพี ระธรรมสวามีเปน็ อุปัชฌาย์ พระวันรัตเป็น
พระกรรมวาจาจารย์
ภายหลังท่านเหล่านั้นได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย จึงนิมนต์พระชาว
ลังกามาด้วยคือ ๑.พระอุตตมปัญญาสามี ๒. พระวิกรมพาหุสามี ทั้ง ๒ ท่านเม่ือได้
ศึกษาพระธรรมวนิ ยั แล้ว เม่ือมาอยูเ่ มืองไทยไดต้ ง้ั นกิ ายขน้ึ มาเรียกว่า “นิกายลังกาวงศ์
ใหม่”ข้ึนทางตอนเหนือของประเทศไทย ช่วงนั้นลังกาวงศ์มีความเจริญรุ่งเรืองใน ๓
ประเทศคือ ไทย –มอญ-เขมร ทาใหเ้ ชยี งใหม่มีนกิ าย ๓ นกิ าย คอื
๑. นกิ ายเดมิ
๒. นกิ ายลงั กาเก่า (พระสุมนเถระ)
๓. นกิ ายลงั กาใหม่

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๘๙

สมัยพระเจ้าติโลกราช ราชนัดดาของพระเจ้าแสนเมืองมา คณะสงฆ์แตกเป็น
๓ นิกาย คือ นิกายเดิม และนิกายที่ ๒ ซ่ึงสืบเน่ืองมาจากพระสุมน นิกายท่ี ๓ คือ
นิกายลังกาวงศ์ใหม่ซ่ึงเข้ามายังลานนาไทย พวกลังกาวงศ์ใหม่ประพฤติเคร่งครัดกว่า
พวกลังกาวงศ์เดิมซึ่งต้ังอยู่ที่วัดสวนดอก พระเจ้าติโลกราชทรงเลื่อมใสมาก ทรงเข้า
อปุ ถัมภ์ และทรงเสด็จออกผนวชในนิกายน้ีด้วยเปน็ เวลา ๗ วัน เม่ือ พ.ศ. ๑๙๙๕ พระ
เจา้ ติโลกราชได้ทรงสถาปนาพระเมธังกรขน้ึ เปน็ พระสงั ราชแห่งลานนาไทย พระองค์ได้
ทรงสร้างวัดใหม่ข้ึน จาลองแบบวิหารพุทธคยา โลหปราสาท รัตนมาลีช่ือว่า วัดโพ
ธาราม คอื วดั เจดยี ์เจด็ ยอดนัน้ เอง

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีต่อประชาชนในประเทศศรีลังกา :
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาได้รับการรองจากรัฐบาลให้เป็นศาสนาประจาชาติ ดัง
ปรากฏในกฎหมายสงิ หลโบราณวา่ "ผู้ทาลายเจดยี ์และต้นโพธ์ิ กับผู้ที่ปล้นสะดมทรัพย์
ของศาสนามีโทษถึงตาย" กฎหมายน้ีใช้บังคับชาวศรีลังกาทุกระดับช้ัน รวมท้ังคน
ต่างชาตดิ ้วย และคงมีการบังคบั ใช้มานานแล้ว ต้ังแต่รัชกาลพระเจ้าเอลระ ซึ่งเป็นชาว
ทมิฬ ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๕

ความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม: วิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ระบบวรรณะใน
สังคมลังกาได้ถูกลดความสาคัญลง แม้ว่าวิถีชีวิตของชาวลังกาในช่วงเร่ิมต้นสมัย
ประวตั ศิ าสตร์ จนถึงช่วงก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเข้ามาประดิษฐาน ระบบวรรณะได้ลด
ความเข้มข้นลงด้วยอิทธิพลคาสอนทางพุทธศาสนา นอกจากนั้นยังมีอิทธิพลด้านอ่ืน ๆ
อีก เช่น ช่ือของบุคคลต่าง ๆ ได้มีการนาเอาช่ือทางพุทธศาสนามาต้ังเป็นช่ือของบุคคล
นบั ตงั้ แต่กษตั ริย์ ราชวงศ์ จนถึงประชาชนทั่วไป เช่น พระเจ้าพุทธทาสะ พระเจ้าสังฆติส
สะ พระเจ้าโมคคัลลานะ พระเจ้ากัสปะ พระเจ้า มหินทะ เป็นต้น จะปรากฏเห็นว่ามีชื่อ
ของบุคคลสาคญั ทางพุทธศาสนา ปรากฏเป็นพระนามของกษตั รยิ ล์ ังกาหลายพระองค์


Click to View FlipBook Version