The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Keywords: พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

๙๐ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

การกาหนดเอาวันธรรมสวนะเป็นวันหยุดราชการ งานทุกชนิดต้องหยุดในวัน
พระ เม่ือถึงวันพระชาวสิงหลจะถืออุโบสถศีล และประกอบศาสนกิจต่าง ๆ พระเจ้า
แผ่นดินได้ออกกฎหมาย "มาฆาตะ" คือห้ามฆ่าสัตว์และเบียดเบียนชีวิตสัตว์ จนอาชีพ
นายพรานได้หายไป นอกจากน้ันรัฐบาลศรีลังกาได้ถือเอาพุทธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติ

อิทธิพลทางด้านการเมืองการปกครอง : ในด้านการเมืองน้ัน พระภิกษุมี
บทบาทอย่างมาก พระภิกษุมีความผูกพันกับประชาชนและชนชั้นปกครองอย่าง
ใกลช้ ิด จงึ มบี ทบาทหลายประการ ไดแ้ ก่

๑) บทบาททางการเมือง พระภิกษุมีความใกล้ชิดและมีอิทธิพลต่อประชาชน
ส่วนใหญ่มีบทบาทในการไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทระหว่างผู้นาทางการเมือง ดังกรณีพระ
โคธกัฑตะ ติสสะเถระ สามารถเจรจายุติสงครามการเมืองยืดเย้ือ ระหว่างพระเจ้าวัฎฎ
คามนีอภยั กบั แมท่ พั ของพระองค์ใหส้ งบลงได้

๒) บทบาทในการเป็นท่ีปรึกษาของกษัตริย์ เน่ืองจากพระภิกษุได้มีโอกาส
ถวายการอบรมส่ังสอนแก่บรรดาเจ้าชายต่าง ๆ เมื่อเจ้าชายเหล่าน้ีข้ึนครองราชย์
พระภิกษุก็จะกลายเป็นราชครู มีบทบาทต่อการกถวายคาแนะนาแก่กษัตริย์ ดังกรณี
พระสังฆมิตตเถระเป็นราชครูของพระเจ้ามหาเสนะ มีอิทธิพลต่อพระเจ้ามหาเสนะ
อย่างมาก พระองค์จะทรงปฏิบัติตามคาแนะนาของพระสังฆมิตตะเกือบทุกเร่ือง
โดยเฉพาะการรับส่งั ให้ทาลายคณะสงฆฝ์ ุายมหาวหิ าร

๓) บทบาทในการเลือกแต่งต้ังพระมหากษัตริย์ เม่ือปลายพุทธศตวรรษท่ี ๕
พระเจ้าสัทธาติสสะสวรรคต คณะเสนาบดีและคณะสงฆ์ประชุมกัน ณ ถูปาราม ได้
เลือกเจ้าชายถุลถนะ ขึ้นครองราชย์ ตามหลักการแล้วก็น่าจะเป็นเจ้าชายลันชติสสะ
พระเชษฐา แตค่ ณะสงฆ์ไม่สนับสนนุ

๔) บทบาททางการศึกษา ตั้งแต่พุทธศาสนาเข้ามาประดิษฐานในลังกา
พระภิกษุสงฆ์ได้เข้ามามีบทบาทต่อการทาหน้าที่เป็นครูอบรมส่ังสอนประชาชน แทน

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๙๑

พวกพราหมณ์ ท่ีเคยคาหน้าที่นี้มาก่อน มีวัดเป็นศูนย์กลางในการการศึกษาอบรม
ศลี ธรรมจรรยาแก่กลุ บตุ รกุลธิดา๙

พระอุบาลีคือพระธรรมทูตชั้นยอดของไทย ศรีลังกาและไทยมีประวัติ
ความ สัมพันธท์ างดา้ นศาสนาทย่ี าวนาน พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทยได้ช่ือ
ว่าลังกาวงศ์ ทั้งนี้เพราะเม่ือ ๗๐๐ ปีท่ีผ่านมา พ่อขุนรามคาแหงได้อาราธนาหัวหน้า
พระสงฆ์ศรีลังกามาจากนครศรีธรรมราชในภาคใต้ มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาแบบ
ลังกาวงศ์ ท่ีกรุงสุโขทัย และเม่ือ ๒๕๐ ปีท่ีผ่านมา ชาวไทยได้มีโอกาส ตอบแทนคุณ
ของศรีลังกาด้วยการที่พระเจ้าบรมโกษฐ์ ทรงส่งพระอุบาลีและคณะมาฟื้นฟูการ
อุปสมบทใน ศรีลังกาหลังจากที่ สมณวงศ์ในเกาะลังกาได้ขาดสูญไป เพราะการกดข่ี
ของโปรตุเกส แต่ด้วยความเสียสละ ท่ียิ่งใหญ่ของพระอุบาลี การอุปสมบทก็ได้รับการ
ฟ้ืนฟู และมกี ารสถาปนาสยามนกิ ายในศรลี ังกา.

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทท่ีมีต่อประชาชนในประเทศศรีลังกา :
ประชาชนชาวศรีลังกามากกว่าร้อยละ ๖๐ เป็นพุทธมามกะ ชาวศรีลังกา มีความ
ผูกพันกับพระพุทธศาสนาทุกด้าน ท้ังประเพณี วัฒนธรรม อารยะธรรม และวิถีชีวิต
จะเห็นร่องรอยความเจริญท่ีมีพระพุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญ พระมหากษัตริย์
ส่วนมากเป็นพุทธมามกะ ให้การอุปถัมภ์และคุ้มครองส่งเสริม พุทธศาสนา วัด
กลายเป็นศูนย์กลางทางการศึกษา เป็นศูนย์กลางของชุมชน ทุกระดับช้ัน คณะสงฆ์
และวัด ท่ีมีบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนประเทศชาติ ให้ก้าวหน้า ควบคู่ไปกับ
สถาบนั การปกครอง

ในด้านการเมืองการปกครอง พระสงฆ์ในศรีลังกามีบทบาท ทางการเมืองสูง
ไมว่ า่ จะเป็นบทบาทในการเปน็ ท่ีปรึกษาของพระมหากษัตริย์ การไกล่เกลี่ยกรณีพิพาท
ระหว่างผู้นาทางการเมอื ง บทบาทใน การเลือกตั้ง ในปัจจุบันพระสงฆ์ชาวศรีลังกาเข้า

๙ พระมหาทองสุข สเุ มโธ/ ไทยทนุ รหัส ๖๐๐๕๑๐๕๐๒๓ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา

๙๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ไปเป็น ส.ส. ทาหน้าท่ี เป็นตัวแทนของประชาชนในรัฐสภา ซ่ึงถือเป็นพัฒนาการแปลก
ไปจาก บทบาทเดมิ ที่เคยมมี า

ในดา้ นการศึกษา วดั ในประเทศศรีลังกาตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน มี ลักษณะเป็น
ทั้งศูนย์กลางและสถาบันทางการศึกษา พระสงฆ์นอกจากจะเป็น ปูชนียบุคคลที่ได้รับ
ความเคารพอย่างสูงจากประชาชนแล้ว ยังเป็นบุคลากร ทางการศึกษา ทาหน้าท่ีเป็น
ผู้นาทางด้านจิตปัญญา เป็นครูอบรมศีลธรรม และสั่งสอนวิชาการแก่คนในสังคม เป็น
นักวิชาการ นักคดิ สรา้ งสรรค์ภมู ิ ปัญญาแบบพทุ ธ ผลิตผลงานวรรณกรรมตา่ งๆ

ศรีลังกาเป็นฐานท่ีมั่นของพุทธศาสนาเถรวาทมานานจวบจนปัจจุบัน
สถานการณ์พุทธศาสนาในลังกาในปัจจุบันจึงยังม่ันคงและเข้มแข็ง ชาวศรีลังกายังคง
เคารพนับถือและมีความเลื่อมใสในพุทธศาสนา สามารถประยุกต์ หลักธรรมมาใช้ให้
เกิดประโยชน์ต่อชีวิต พระสงฆ์ส่วนใหญ่ยังคงเป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ เป็นผู้นาทาง
จิตปัญญาอย่างแท้จริง ท่ีสาคัญชาวพุทธลังกา ได้แสดง ความเป็นผู้นา ในการผลักดัน
ให้พุทธศาสนาเป็นที่ยอมรับในเวทีโลก อย่างน่าช่ืนชม จากเง่ือนไขต่างๆ ในปัจจุบัน
สรุปได้ว่า พุทธศาสนาในประเทศศรีลังกาใน อนาคตยังจะมีความมั่นคง และน่าจะ
กลับมาเป็นแหลง่ เรยี นร้ทู างพทุ ธศาสนาท่ี สาคัญแหง่ หนึง่ ของโลกในอนาคตได้๑๐

ประเทศไทยและศรีลังกา มีความสัมพันธ์ด้านพุทธศาสนายาวนานกว่า ๗๐๐
ปีตั้งแต่สมัยสุโขทัย แต่ท้ังสองประเทศเพ่ิงฉลองครบรอบ ๒๖๐ ปี ความสัมพันธ์ด้าน
พุทธศาสนา เม่ือ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ โดยเริ่มนับจากสมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยพระ
เจ้าอยู่หัวบรมโกศ ส่งพระอุบาลีกับคณะพระธรรมทูตไปฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรี
ลังกา จนก่อเกิดนิกายที่ทรงอิทธิพลท่ีสุดจนถึงทุกวันน้ี คือ นิกายสยามวงศ์ ประเทศ
ศรีลังกาเป็นแหล่งกาเนิดพุทธศาสนาท่ีเก่าแก่ไม่แพ้ประเทศอินเดีย เห็นได้จากศาสน
สถานและศาสนวัตถุที่ปรากฏให้เห็นเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมท่ีสืบเนื่องยาวนาน

๑๐ พระศุภราชัย สุรสกฺโก(ล้วนศรี) รหสั …สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๙๓

เกอื บ ๒๖๐๐ ปี ประเทศไทย กับประเทศศรีลังกามีความสัมพันธ์ด้านศาสนายาวนาน
กว่า ๗๐๐ ปี ต้ังแต่สมัยสุโขทัยจนมาถึงปัจจุบัน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทใน
ประเทศไทย ได้รับสืบทอดมาจากประเทศศรีลังกา มีช่ือว่า ลังกาวงศ์ เคยมีการนิมนต์
พระสงฆ์จากลังกา นามว่า ราหุล มาจาพรรษา และเผยแผ่พุทธศาสนา แบบลังกาวงศ์
ตงั้ แต่พทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ เชน่ เดียวกับพระพุทธศาสนานิกาย เถรวาท ที่ใหญ่ท่ีสุดในศรี
ลังกา มีชื่อว่า สยามวงศ์ หรือ อุบาลีวงศ์ สืบเน่ืองจากสมัยกรุงศรีอยุธยา ในแผ่นดิน
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กษัตริย์ศรีลังกาในสมัยน้ันได้ส่งคณะทูตมายังกรุงศรีอยุธยา
เพอื่ ขอพระธรรมทูตจากไทยไปฟน้ื ฟูพทุ ธศาสนาในศรลี งั กา

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีต่อประชาชนในประเทศศรีลังกา: ในการสืบ
ต่อพระพุทธศาสนาในศรีลังกา สถานที่แต่ละแห่งบ่งบอกถึงลักษณะความเป็นอยู่ท่ีมี
ความผูกพันต่อพระพุทธศาสนา การเกิดความปั่นปุวนอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เพราะเหตุการณ์
บ้านการเมืองไม่สงบ พระเถระในลังกาได้ร่วมกันชาระทาสังคายนาคร้ังที่ ๕ ขึ้น พระเจ้า
วัฏฏคามิณีอภัยได้ทรงสร้างวิหารช่ือว่า "อภัยคีรีวิหาร" ถวายพระมหาติสสะเถระ ซ่ึง
ต่อมาคณะสงฆ์ในฝุายอภัยคีรีวิหารก็มีความเห็นแตกต่างจากฝุายมหาวิหาร จนเป็นเหตุ
ใหเ้ กดิ ความแตกแยกใน วงการคณะสงฆล์ งั กา ความแตกแยกของสงฆ์ ๒ ฝาุ ย

๑. คณะสงฆ์มหาวิหาร คณะสงฆ์ฝุายนี้เป็นพวกหัวอนุรักษ์นิยม เป็นพวกที่
เคร่งในการประพฤติปฏิบัติ สามารถรักษาความบริสุทธิ์หลักคาสอนพระธรรมวินัยใน
นิกายฝาุ ยเถรวาทไว้ไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์

๒. คณะสงฆ์อภัยคีรีวิหาร คณะฝุายน้ีเป็นพวกหัวเสรีนิยมก้าวหน้า ไม่มีความ
รังเกียจภิกษุต่างนิกาย ยินดีรับเอาความคิดเห็นของต่างนิกายเข้ามา เม่ือมีมหายาน
เกิดขึน้ แล้ว คณะอภยั คีรีจึงเปน็ ศูนย์สาคญั ของมหายานในลังกาดว้ ย๑๑

๑๑ พระสราวฒุ ิ วิสารโท / วิชัยโย รหสั …..สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา.

๙๔ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

พระพุทธศาสนาได้อุบตั ิข้ึนในประเทศอนิ เดีย หลงั จากมีการสังคายนาคร้ังแรก
เสร็จส้ินในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ได้ส่งพระสมณทูตออกเผยแผ่พระพุทธศาสนา
จานวน ๙ สาย หนึ่งใน ๙ สายน้ัน มีพระมหินทเถระ พระราชโอรสของพระเจ้าอโศก
มหาราชเป็นผู้นาพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแผ่ยังกรุงอนุราธปุระ เกาะสิงหล หรือ
ประเทศศรีลงั กาในปจั จบุ ัน และพระพุทธศาสนาได้เจริญร่งุ เรอื งเป็นแบบอย่างของการ
ปฏบิ ัตจิ นเป็นตน้ แบบ

พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทยได้ช่ือว่าลังกาวงศ์ ทั้งนี้เพราะเมื่อ
๗๐๐ ปีที่ผ่านมา พ่อขุนรามคาแหงได้อาราธนาหัวหน้าพระสงฆ์ศรีลังกามาจาก
นครศรีธรรมราชในภาคใต้ มาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ท่ีกรุงสุโขทัย และ
เมื่อ ๒๕๐ ปีท่ีผ่านมา ชาวไทยได้มีโอกาสตอบแทนคุณของศรีลังกาด้วยการที่พระเจ้า
บรมโกษฐ์ ทรงส่งพระอุบาลีและคณะมาฟ้ืนฟูการอุปสมบทในศรีลังกาหลังจากที่สมณ
วงศ์ในเกาะลังกาได้ขาดสูญไป เพราะการกดข่ีของโปรตุเกส แต่ด้วยความเสียสละ ที่
ยิง่ ใหญข่ องพระอบุ าลี การอปุ สมบทกไ็ ด้รับการฟืน้ ฟู และมีการสถาปนาสยามนิกายใน
ศรีลังกา เราทั้งหลายต่างมาประชุมกันที่น่ี เพ่ือราลึกถึงคุณูปการอันยิ่งใหญ่ ท่ีพระอุ
บาลีได้ทาไว้แก่พระพุทธศาสนาในศรีลังกา ขณะท่ีพระอุบาลีตัดสินใจเดินทางมาศรี
ลังกาน้ัน ท่านอาจจะรู้ตัวว่านี่เป็นการเดินทาง ท่ีไม่มีวันกลับ ท่านพร้อมที่จะสละชีวิต
ของท่าน เพ่ือประโยชน์แก่มนุษยชาติ และเพื่อการประกาศพระพุทธศาสนา ท่านได้
ปฏิบัติตามพระพุทโธวาทท่ีประทานแก่ พระอรหันต์ ๖๐ รูป ซึ่งเป็นพระธรรมทูตรุ่น
แรกว่า “จรถ ภิกฺขเว จาริก พหุชนหิตาย พหุชน สุขาย โลกานุกมฺปาย ภิกษุทั้งหลาย
เธอท้ังหลายจงเที่ยวจาริกไป เพ่ือประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความสุขแก่ชนเป็น
อันมาก เพ่ืออนุเคราะห์แก่ชาวโลก” พระอุบาลีถึงแก่มรณภาพ ท่ีศรีลังกา หลังจากใช้
เวลาฟ้ืนฟูวงศ์อุปสมบท ในเกาะนี้ได้ ๓ ปี โดยส่วนตัวแล้ว ข้าพเจ้าเห็นว่า พระอุบาลี
เป็นพระธรรมทูตผู้ยิ่งใหญ่ท่ีสุดเท่าท่ีประเทศไทยเคยมีมา ทั้งน้ีด้วยเหตุผลท่ีว่าพระอุ
บาลไี ม่เพยี งแตด่ าเนินภารกิจในศรลี ังกาใหล้ ลุ ่วงไปเท่าน้ัน แตย่ ังประสบความสาเร็จใน

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๙๕

การ สถาปนาคณะสงฆ์นิกายใหญ่ที่สุดในศรีลังกาซ่ึงขนานนามนิกายน้ีตามชื่อของ
ประเทศมาตุภูมิ และชื่อพระอุบาลีว่า ยาโม ปาลีมหานิกาย หรือเรียกง่าย ๆ ว่า สยาม
นิกาย นับเป็นเร่ืองน่าสนใจท่ีว่าพระพุทธศาสนานิกายสาคัญในศรีลังกามีช่ือว่า สยาม
นิกาย ขณะท่ีพระพุทธศาสนาในประเทศไทยมีช่ือว่า ลังกาวงศ์ ทั้งนี้เพราะข้อเท็จจริง
ทางประวัติศาสตร์ ทว่ี า่ ประเทศไทยยอมรบั นับถอื พระพทุ ธศาสนาเถรวาทจากศรีลังกา
ในสมัยสุโขทัยคริสต์ศตวรรษที่ ๑๒ และยังอนุรักษ์ประเพณีตามหลักพระไตรปิฎก
พรอ้ มทัง้ รักษาสมณวงศไ์ ม่ให้ขาดสูญตั้งบัดน้นั เป็นต้นมา

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีต่อประชาชนในประเทศศรีลังกา :
พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ มชี อื่ เสยี งขจรขจายไปทกุ สารทศิ มพี ระภิกษุจากเมืองต่าง ๆ
ได้เข้ามาบวชเรียนและศึกษาพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์แล้วนาพระพุทธศาสนาลังกา
วงศ์ไปเผยแผ่และปฏิบัติยังบ้านเมืองของตน ในขณะเดียวกันท่ีศรีลังกาอันตรงกับรัช
สมัยของพระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์ พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ได้เข้าสู่ภาวะเส่ือมถอย
จนถึงข้ันวิกฤติจากการคุกคามจากพวกทมิฬและชนชาติตะวันตกจนถึงกับขาดแคลน
พระภิกษุสงฆ์ พระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์จึงโปรดให้ส่งราชทูตพร้อมพระราชสาส์นมายัง
กรุงศรีอยุธยา เพื่อนิมนต์พระภิกษุสงฆ์จากสยามไปช่วยฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรี
ลังกา พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจึงโปรดให้พระอุบาลีเถระและคณะสงฆ์เดินทางไปยังศรี
ลังกาเพ่ือช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนา โดยการเป็นพระอุปัชฌาย์บวชสามเณรศรีลังกา
เป็นพระภิกษุ ทาให้เกิดพระภิกษุสยามวงศ์ขึ้นในศรีลังกา กลายเป็นนิกายของ
พระพุทธศาสนาที่สาคัญทสี่ ดุ นกิ ายหน่งึ ในประเทศศรลี ังกาปัจจุบัน พระเจ้าอโศกได้จัด
สมณะทูตในพระพุทธศาสนาเข้าสู่ลังกาเป็นคร้ังแรก ทาให้พระพุทธศาสนาได้เป็น
ศาสนาประจาราชอาณาจักรศรีลังกา เป็นรากฐานและวัฒนธรรมของชาวศรีลังกา
เนื่องจากอิทธิพลทางศาสนายังมีส่วนช่วยระบบวรรณะได้ลดความเข้มข้นลงด้วย
อิทธิพลคาสอนทางพุทธศาสนา นอกจากน้ันรัฐบาลศรีลังกาได้ถือเอาพุทธศาสนาเป็น

๙๖ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ศาสนาประจาชาติ จะเหน็ ไดว้ า่ ศาสนาพุทธมีความสาคัญและส่งผลต่อวัฒนธรรม การ
ดาเนนิ วิถีชีวติ ของชาวศรลี งั กาเป็นอย่างมาก๑๒

ความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในช่วงต้นท่ีได้กล่าวมาแล้ว ทาให้เกิด
พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ เผยแผ่ไปสู่ดินแดนต่างๆ ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หลายประเทศ ได้แก่ พม่า เขมร และสยาม ซึ่งผู้เขียนจะได้กล่าวถึงการเข้ามาของ
ลังกาวงศเ์ ฉพาะในประเทศสยาม ดังต่อไปน้ี

ตามตานานพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ท่ีเข้ามาสู่ประเทศสยามน้ัน กล่าวว่า
หลังจากท่ีพระเจ้า ปรากรมพาหุ ได้ทาการสังคายนาพระไตรปิฎกคร้ังที่ ๓ ซ่ึงมีพระ
มหากัสสปเถระเป็นประธาน ผลการ สังคายนาในคร้ังน้ันทาให้เมืองที่นับ ถือ
พระพุทธศาสนาในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้เดินทางสู่ ศรีลังกาเพ่ือนา
พระพุทธศาสนามาปฏิบัติในดินแดนของตน ผู้ท่ีเดินทางไปนั้นเม่ือไปเห็นวัตรปฏิบัติ
ของพระสงฆ์ชาวลังกาตามแบบแผนน้ันก็เกิดความเลื่อมใส ใคร่จะนากลับมา
ประดิษฐานในบ้านเมือง ของตน แต่พระสงฆ์ชาวลังการังเกียจว่าสมณวงศ์ในนานา
ประเทศแตกต่างกันมาเสียช้านานแล้ว จึงเกี่ยงให้พระภิกษุซ่ึงไปจากต่างประเทศรับ
อุปสมบทใหม่ แปลงเป็นนิกายลังกาวงศ์อันเดียวกัน เสียก่อน พระภิกษุต่างประเทศก็
ยอมกระทาตาม อุปสมบทตามนิกายลังกาวงศ์ ศึกษาลัทธิพระธรรม วินัยในลังกาทวีป
จนรอบรู้แลว้ จึงกลบั มายงั ประเทศของตน บางพวกก็พาพระสงฆช์ าวลังกามาด้วย เมื่อ
มาถงึ บ้านเมืองเดมิ ผู้คนเหน็ วา่ พระสงฆล์ งั กาวงศป์ ฏบิ ตั เิ ครง่ ครดั ในพระธรรมวินัย ก็พา
กันเลื่อมใส ให้บุตรหลานมาบวชเรียนในสานักพระสงฆ์ลังกาวงศ์มากข้ึนโดยลาดับท้ัง
ในประเทศพม่า รามัญ และ ประเทศสยามตลอดไปจนประเทศลานนา ลานช้าง และ
กัมพูชา

๑๒ พระอธกิ ารสายแพร กตปญโฺ ญ (พริง้ เพราะ) รหัสนสิ ิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๐๘ สาขาวิชา
พระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๙๗

ในส่วนของประเทศสยาม มีข้อความปรากฏในตานานว่า “พระพุทธศาสนา
ลังกาวงศแ์ รกมาถึง เมื่อราว พ.ศ. ๑๘๐๐ พวกพระภิกษุไทยซ่งึ ได้ไปบวช ณ เมืองลังกา
กลับมาตั้งคณะที่เมืองนครศรีธรรมราช ก่อนแล้วชักชวนพระสงฆ์ชาวลังกาที่ตามมา
ดว้ ย ช่วยกันสรา้ งพระมหาธาตุทีเ่ มืองนครศรีธรรมราช แปลงเป็นพระสถูปอย่างลังกา”
ขอ้ ความตอนนี้สอดคลอ้ งกับตานานพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช ที่กล่าวถึงการ
เข้ามาของพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์และการบูรณะพระมหาธาตุเจดีย์ให้เป็นรูปทรง
ลงั กา ว่า “พระเจ้าจันทรภาณุ ทรงอุปถมั ภบ์ ารุงและบูรณะส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้
เจริญรุ่งเรืองข้ึนมาก โดยได้ทรงจัดส่งพระภิกษุสงฆ์ไทยไปศึกษาพระธรรมวินัยท่ีเมือง
ลังกา เพราะในสมัยนั้นพระพุทธศาสนา เจริญรุ่งเรืองมากในเมืองลังกา พระสงฆ์ไทย
พมา่ มอญ ลาวและเขมร ได้ออกเดินทางไปศึกษา พระธรรมวินัยในเมืองลังกากันมาก
เมือ่ พระสงฆจ์ ากเมืองนครศรีธรรมราชไปศึกษากลับมาก็ชักชวน พระภิกษุชาวลังกามา
ต้ังคณะสงฆ์ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช เรียกว่า พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ระยะนั้น
ภิกษุชาวลังกาได้ร่วมมือช่วยเหลือพระเจ้าจันทรภาณุ บูรณะเสริมสร้างให้เป็นไปตาม
แบบลังกา โดยก่อสถูปแบบลังกาครอบเจดีย์องค์เดิม แต่การบูรณะพระบรมธาตุใน
คราวนัน้ ก็ยังไมบ่ รบิ รู ณแ์ บบ อยา่ งทป่ี รากฏในปจั จุบนั น.ี้ ..”๑๓

จึงสามารถกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ได้เจริญรุ่งเรือง ณ เมือง
นครศรีธรรมราชก่อนเมืองอื่น ในสยามประเทศ ในด้านความสัมพันธ์กับเมืองลังกานั้น
มีหลกั ฐานวา่ พระเจ้าจนั ทรภาณแุ ห่ง นครศรธี รรมราช ได้เดินทางไปเมืองลังกาถึงสอง
คร้ัง และได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์จากลังกา มาประดิษฐานในเมืองนครศรีธรรมราช
ดว้ ย

จนถึงปี พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้
อาราธนาพระสงฆ์และ เชิญนักปราชญ์ราชบัณฑิตจากนครศรีธรรมราช ไปเผยแพร่

๑๓ วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร, วดั พระมหาธุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
, (ม.ป.ท. : ม.ป.ป.,) หนา้ ๒๒.

๙๘ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ และศิลปวัฒนธรรม ต่างๆ ที่กรุงสุโขทัย ดังปรากฏในศิลา
จารึกหลักท่ี ๑ ของพ่อขุนรามคาแหง ด้านที่ ๓ บรรทัดที่ ๒๙–๓๐ ว่า “...พ่อขุน
รามคาแหงกระทาโอยทานแก่ มหาเถรสังฆราชปราชญ์เรียนจบไตรปิฎก หลวกกว่าปุูครู
ในเมืองนี้ ทุกคนลุกแต่เมืองนครศรีธรรมราชมา...”๑๔ ความเรื่องนี้ได้เป็นที่ปรากฏรู้อยู่
ทั่วไปแล้ว พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้อาราธนาพระสงฆ์จาก
เมอื งนครศรีธรรมราช มาจาพรรษา ณ วัดอรญั ญกิ ในกรุงสุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนา
ลังกาวงศ์เจริญรุ่งเรืองในกรุงสุโขทัย และแพร่หลายไปยังเมืองต่างๆ ในสยามประเทศ
อทิ ธิพลของพระพทุ ธศาสนาลังกาวงศไ์ ดแ้ สดงออก ให้เห็นเด่นชัดคือการสร้างพุทธเจดีย์
ท่ียดึ ถือตามรูปแบบและคติการสร้างของลังกา ตน้ แบบแรกๆ น่าจะมาจากเจดีย์เมืองอนุ
ราธปุระ ซ่ึงเป็นอาณาจักรรุ่งเรืองยุคแรกของศรีลังกา ปัจจุบันมีเจดีย์ทรงลังกาปรากฏ
ให้เห็นหลายแห่งในประเทศไทย เช่น พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช เจดีย์วัดช้าง
ลอ้ มจังหวัดสุโขทัย และพระปฐมเจดยี ์ จงั หวัดนครปฐม เป็นต้น

การสรา้ งเจดีย์ตามรูปแบบนี้มีคติธรรมพระพุทธศาสนาแฝงเอาไว้กับองค์สถูป
หรอื เจดีย์ ซงึ่ พระพรหมบณั ฑติ (ประยูร ธมฺมจิตโฺ ต) ตีความไว้ว่า๑๕

๑. ฐานรากใต้ดิน หมายถงึ ธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
๒. ส่วนที่เป็นฐานสถูปหรือเจดีย์เหนือพื้นดินข้ึนมามี ๓ ชั้น หมายถึง พระ
รัตนตรยั
๓. ถัดจากน้ันเป็นรูปโดมทรงฟองน้าหรือระฆังคว่า หมายถึง โพธิปักขิยธรรม
๓๗ ประการ
๔. ตอ่ จากน้นั เป็นบลั ลังกส์ ่เี หลยี่ มหมายถงึ อรยิ สจั ๔

๑๔ วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดพระมหาธุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช,
หน้า ๒๓.

๑๕ สมบูรณ์ บุญฤทธ์ิ, “ลังกาวงศ์ในสยามและสยามวงศ์ในศรีลังกา”, มหาจุฬา
วชิ าการ, ปีท่ี ๑ ฉบบั ท่ี ๒ (มกราคม, ๒๕๖๐): ๔๓-๔๔.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๙๙

๕. ถดั จากน้นั เปน็ ปลอ้ งไฉน หมายถึง นวงั คสตั ถศุ าสน์
๖. ตอ่ จากน้นั เป็นปลียอด หมายถึง มรรค ๔ ผล ๔
๗. ยอดบนสุดเป็นรูปทรงกลม หมายถึง พระนิพพาน
อิทธพิ ลพระพุทธศาสนาเถรวาททมี่ ตี อ่ ประชาชนในประเทศศรีลังกา: ประเทศ
ศรีลังกาส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีท้ังรุ่งเรือง
และเสื่อมบ้างในบางยุคบางสมัย แต่พระพุทธศาสนาเถรวาทก็มีบทบาทที่สาคัญยิ่งต่อ
ประชาชนในประเทศศรลี งั กาทัง้ ทางการเมือง ทางสังคม ตลอดทั้งทางวรรณกรรมและ
ศลิ ปกรรม
๑. บทบาททางดา้ นการเมือง
การท่ีพระพุทธศาสนามีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ทาให้
พระภิกษุมีความผูกพันกับประชาชนและชนช้ันปกครองอย่างใกล้ชิด ดังเห็นได้จากใน
อดีตว่าพระภิกษุไดเ้ ข้ามามีบทบาททางการเมือง เชน่ การไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทระหว่าง
ผู้นาทางการเมือง โดยพระโคธกัฑตะติสสะเถระ สามารถยุติสงครามกลางเมือง
ระหว่างพระเจ้าวัฏฏคามนีอภัยกับแม่ทัพของพระองค์ การเป็นท่ีปรึกษาของกษัตริย์
เน่ืองจากต้องอบรมส่ังสอนบรรดาเจ้าชายต่างๆ ซ่ึงเม่ือข้ึนมาเป็นกษัตริย์ บรรดาภิกษุ
เหล่านี้ได้กลายเป็นพระราชครู ถวายคาแนะนาแก่กษัตริย์ และการเลือกต้ัง
พระมหากษตั รยิ ์ เปน็ ต้น
ปัจจุบันพระสงฆใ์ นศรลี ังกามอี ทิ ธพิ ลทางการเมอื งเปน็ อย่างมาก นอกจากเป็น
ท่ปี รกึ ษาของรฐั บาลแลว้ พระสงฆย์ ังมสี ิทธ์ิในทางการเมืองเช่นเดียวกับฆราวาส ท่านมี
สิทธิสมัครรับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเมืองได้
เท่ากับฆราวาส ท่านสามารถมีพรรคการเมืองของท่านได้เช่นเดียวกัน สามารถ
สนับสนุนหรอื คัดคา้ นใครกไ็ ด้ รวมทงั้ มสี ิทธใิ นการวพิ ากษว์ จิ ารณ์หรือคัดค้านรัฐบาลได้
เช่นเดียวกัน และยังสามารถชักชวนประชาชนให้เลือกหรือไม่เลือกผู้แทนคนใดก็ได้

๑๐๐ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

เพราะท่านมีอิทธิพลต่อประชาชนด้านจิตใจ ท้ังยังมีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง
ผู้แทนราษฎรอกี ด้วย

๒. บทบาททางดา้ นศาสนา
พระภิกษุสงฆ์ศรีลังกาได้ดารงซึ่งพุทธธรรมต่อกันมาเป็นลาดับ ท่านจึงเป็น
ผูน้ าของประชาชนในทางศีลธรรม ทา่ นได้สอนประชาชนให้เข้าใจหลักพุทธศาสนาเพ่ือ
ความกินดีอยู่ดีของสังคม รวมท้ังท่านยังเป็นประธานศาสนาพิธีต่างๆ และแนะนา
ประชาชนในการบาเพ็ญกุศล นอกจากนั้นบทบาททางศาสนาของท่านก็คือ การ
เผยแพร่พระพุทธศาสนา จะเห็นได้ว่าในศรีลังกามีสมาคมเก่ียวกับการเผยแพร่
พระพุทธศาสนามากมาย จนเป็นท่ีทราบกันดีว่า ศรีลังกาเป็นศูนย์กลางเผยแพร่พุทธ
ศาสนาที่ยิ่งใหญ่ แหล่งเผยแพร่พุทธศาสนาที่ก่อตั้งข้ึนในต่างประเทศเป็นแห่งแรกคือ
ประเทศอินเดีย โดยท่านอนาคาร์กธรรมปาล ได้ก่อต้ังสมาคมมหาโพธิขึ้นใน พศ.
๒๔๓๔ ปัจจุบันสมาคมนี้มีมากกว่า ๒๕ แห่งในอินเดีย ท่านนารทะมหาเถระ ได้ไป
ก่อต้ังแหลง่ เผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาข้ึนในยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยต้ังพุทธวิหารใน
ลอนดอน เรียกว่า London Buddhist Vihara ใน พศ. ๒๕๐๐ พระสงฆ์ศรีลังกาได้
เดินทางไปเยอรมนี เพ่ือเผยแพร่พระพุทธศาสนาภายใต้การอุปถัมภ์ของเยอรมัน
พระสงฆ์ในศรีลังกาเปน็ ผูค้ ุ้มครองพระพุทธศาสนาต้งั แต่อดตี จนถึงปจั จบุ ัน
๓. บทบาททางด้านศาสนา
พระภิกษุสงฆ์ศรีลังกาได้ดารงซ่ึงพุทธธรรมต่อกันมาเป็นลาดับ ท่านจึงเป็น
ผนู้ าของประชาชนในทางศลี ธรรม ทา่ นไดส้ อนประชาชนให้เข้าใจหลักพุทธศาสนาเพ่ือ
ความกินดีอยู่ดีของสังคม รวมทั้งท่านยังเป็นประธานศาสนาพิธีต่างๆ และแนะนา
ประชาชนในการบาเพ็ญกุศล นอกจากน้ันบทบาททางศาสนาของท่านก็คือ การ
เผยแพร่พระพุทธศาสนา จะเห็นได้ว่าในศรีลังกามีสมาคมเก่ียวกับการเผยแพร่
พระพุทธศาสนามากมาย จนเป็นท่ีทราบกันดีว่า ศรีลังกาเป็นศูนย์กลางเผยแพร่พุทธ
ศาสนาท่ีย่ิงใหญ่ แหล่งเผยแพร่พุทธศาสนาที่ก่อตั้งขึ้นในต่างประเทศเป็นแห่งแรกคือ

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๐๑

ประเทศอินเดีย โดยท่านอนาคาร์กธรรมปาล ได้ก่อต้ังสมาคมมหาโพธิ ข้ึนใน พศ.
๒๔๓๔ ปัจจุบันสมาคมนี้มีมากกว่า ๒๕ แห่งในอินเดีย ท่านนารทะมหาเถระ ได้ไป
ก่อตัง้ แหล่งเผยแพร่พระพทุ ธศาสนาขึ้นในยุโรปและสหรัฐอเมริกา โดยต้ังพุทธวิหารใน
ลอนดอน เรียกว่า London Buddhist Vihara ใน พศ. ๒๕๐๐ พระสงฆ์ศรีลังกาได้
เดนิ ทางไปเยอรมนี เพอื่ เผยแพร่พระพทุ ธศาสนาภายใตก้ ารอปุ ถมั ภ์ของเยอรมนั ๑๖

กล่าวได้วา่ บทบาทของพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีต่อประชาชนในประเทศ
ศรีลังกา ตลอดทงั้ พระสงฆม์ คี วามใกล้ชดิ สนทิ และมอี ิทธพิ ลต่อประชาชนเป็นอย่างมาก
เป็นเหตุให้ผู้ปกครองในอดีต คือ กษัตริย์ต้องระมัดระวังไม่ทาการใดๆ ท่ีสร้างความ
กระทบกระเทือนต่อพระพุทธศาสนาและสถาบันสงฆ์ เพราะอาจจะส่งผลต่อการ
บริหารบ้านเมืองของพระองค์ได้และอาจจะรวมถึงผู้ปกครองในปัจจุบันและอนาคต
ด้วย๑๗

พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศศรีลังกาสู่ประเทศไทย (ประเทศสยาม)
มีข้อความปรากฏในตานานว่า “พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์แรกมาถึงเมื่อราว พ.ศ.
๑๘๐๐ พวกพระภิกษุไทยซึ่งได้ไปบวช ณ เมืองลังกากลับมาต้ังคณะที่เมือง
นครศรีธรรมราชก่อนแล้ว ชักชวนพระสงฆ์ชาวลังกาท่ีตามมาด้วย ช่วยกันสร้างพระ
มหาธาตุท่ีเมืองนครศรีธรรมราชแปลงเป็นพระสถูปอย่างลังกา” การเข้ามาของ
พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์และการบูรณะพระมหาธาตุเจดีย์ให้เป็นรูปทรงลังกาว่า
“พระเจ้าจันทรภาณุ ทรงอุปถัมภ์บารุงและบูรณะส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้
เจริญรุ่งเรืองข้ึนมาก โดยได้ทรงจัดส่งพระภิกษุสงฆ์ไทยไปศึกษาพระธรรมวินัยที่เมือง
ลังกา เพราะในสมัยน้ันพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมากในเมืองลังกา พระสงฆ์ไทย

๑๖ มาลินี ประเสริญธรรม, “ความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในศรีลังกา”, (๒๕๕๔),

SWU eJournals, [ออนไลน์], ๑๘ หน้า, แหล่งท่ีมา: http://www. ejournals.swu.ac.

th/index.php/JOH/article/download/๑๒๗๙/๑๒๘๘, [๙ เมษายน ๒๕๖๑]. หนา้ ๑๕-๑๖.
๑๗ พระอนสุ รณ์ ปรกกฺ โม (ยง่ิ ยง) รหสั นิสิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๑ สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา

๑๐๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พม่า มอญ ลาวและเขมรได้ออกเดินทางไปศึกษาพระธรรมวินัยในเมืองลังกากันมาก เมื่อ
พระสงฆ์จากเมืองนครศรีธรรมราชไปศึกษากลับมาก็ชักชวนพระภิกษุชาวลังกามาตั้ง
คณะสงฆ์ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช เรียกว่า พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ระยะนั้นภิกษุ
ชาวลังกาได้ร่วมมือช่วยเหลือพระเจ้าจันทรภาณุ บูรณะเสริมสร้างให้เป็นไปตามแบบ
ลังกา โดยก่อสถูปแบบลังกาครอบเจดีย์องค์เดิม แต่การบูรณะพระบรมธาตุในคราวน้ันก็
ยังไม่บริบูรณ์แบบอย่างที่ปรากฏในปัจจุบันนี้...” จึงกล่าวได้ว่า พระพุทธศาสนาลังกา
วงศ์ได้เจริญรุ่งเรือง ณ เมืองนครศรีธรรมราชก่อนเมืองอ่ืน ในสยามประเทศ ในด้าน
ความสัมพันธ์กับเมืองลังกานั้น มีหลักฐานว่า พระเจ้าจันทรภาณุแห่ง นครศรีธรรมราช
ได้เดินทางไปเมืองลังกาถึงสองคร้ัง และได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์จากลังกา มา
ประดิษฐานในเมืองนครศรธี รรมราชด้วย๑๘

จนถึงปี พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้
อาราธนาพระสงฆ์และเชิญนักปราชญ์ราชบัณฑิตจากนครศรีธรรมราช ไปเผยแพร่
พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์และศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ท่ีกรุงสุโขทัย ดังปรากฏในศิลา
จารึกหลักที่ ๑ ของพ่อขุนรามคาแหง ด้านท่ี ๓ บรรทัดท่ี ๒๙–๓๐ ว่า “... พ่อขุน
รามคาแหงกระทาโอยทานแก่ มหาเถรสังฆราชปราชญ์เรียนจบไตรปิฎก หลวกกว่าปูุ
ครูในเมืองน้ีทุกคนลุกแต่เมืองนครศรีธรรมราชมา...๑๙ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
กษตั รยิ แ์ ห่งกรุงสุโขทัย ได้อาราธนาพระสงฆ์จากเมืองนครศรีธรรมราชมาจาพรรษา ณ
วัดอรัญญิก ในกรุงสุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์เจริญรุ่งเรืองในกรุงสุโขทัย
และแพร่หลายไปยังเมืองต่าง ๆ ในสยามประเทศ อิทธิพลของพระพุทธศาสนาลังกา
วงศ์ได้แสดงออกให้เห็นเด่นชัดคือ การสร้างพุทธเจดีย์ที่ยึดถือตามรูปแบบและคติการ

๑๘ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด
นครศรธี รรมราช, (ม.ป.ท.: ม.ป.ป.,) หนา้ ๒๒-๒๕.
๑๙ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร,

นครศรีธรรมราช, หน้า ๒๓ – ๒๕.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๐๓

สร้างของลังกา ต้นแบบแรก ๆ น่าจะมาจากเจดีย์เมืองอนุราธปุระ ซ่ึงเป็นอาณาจักร
รุ่งเรืองยุคแรกของศรีลังกา ปัจจุบันมีเจดีย์ทรงลังกา ปรากฏให้เห็นหลายแห่งใน
ประเทศไทย เชน่ พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช เจดีย์วัดช้างล้อม จังหวัดสุโขทัย
และพระปฐมเจดยี ์ จงั หวดั นครปฐม เปน็ ตน้

พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ มีชื่อเสียงขจรขจายไปทุกสารทิศ มีพระภิกษุจาก
เมืองต่าง ๆ ได้เข้ามาบวชเรียนและศึกษาพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์แล้วนา
พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ไปเผยแผ่และปฏิบัติยังบ้านเมืองของตน ในจานวนน้ีมีประเทศ
สยามท่ีได้รับพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์มาประดิษฐาน และเจริญรุ่งเรืองแพร่หลายต้ังแต่
สมยั โบราณจวบจนถงึ รัชสมัยของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งกรุงศรีอยธุ ยา

ในขณะเดียวกันที่ศรีลังกาอันตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์
พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ได้เข้าสู่ภาวะเสื่อมถอยจนถึงข้ันวิกฤติจากการคุกคามจาก
พวกทมิฬ และชนชาติตะวันตก จนถึงกับขาดแคลนพระภิกษุสงฆ์ พระเจ้าศรีวิชัยราช
สงิ ห์จึงโปรดให้ส่งราชทูตพร้อมพระราชสาส์นมายังกรุงศรีอยุธยา เพื่อนิมนต์พระภิกษุ
สงฆ์จากสยามไปช่วยฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจึงโปรด
ให้พระอุบาลีเถระและคณะสงฆ์เดินทางไปยังศรีลังกาเพ่ือช่วยฟื้นฟูพระพุทธศาสนา
โดยการเปน็ พระอุปัชฌายบ์ วชสามเณรศรีลังกาเป็นพระภิกษุ ทาให้เกิดพระภิกษุสยาม
วงศ์ขึ้นในศรีลังกา จึงเป็นเรื่องที่ชาวพุทธศาสนิกชนไทยควรจะได้ภาคภูมิใจท่ี
พระมหากษัตริย์และคณะสงฆ์ชาวสยามได้มีส่วนร่วมในการฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาใน
ต่างแดนจนได้รับการยกย่องและให้ “พระพุทธศาสนาสยามวงศ์” จากประเทศไทย
กลายเปน็ นิกายของพระพุทธศาสนาทส่ี าคญั ท่ีสุดนิกายหน่ึงในประเทศศรลี งั กาปจั จุบัน

พระพทุ ธศาสนาเข้าสู่ศรีลังกาในพุทธศตวรรษท่ี ๓ สมัยพระเจ้าเทวานัมปิยา
ติสสะ (DEVANAMPIYATISSA) ร่วมสมัยกับพระเจ้าอโศกมหาราช โดยพระเจ้าอโศก
ได้จัดสมณะทูตในพระพุทธศาสนาเข้าสลู่ ังกาเปน็ ครัง้ แรก ทาให้พระพุทธศาสนาได้เป็น
ศาสนาประจาราชอาณาจักรศรีลังกาเป็นรากฐานและวัฒนธรรมของชาวศรีลังกา

๑๐๔ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลทางศาสนา การนาดอกไม้และการแต่งกายไปวัดของคนศรีลังกา เป็น
กจิ กรรมหนง่ึ ทเ่ี ห็นกนั บอ่ ย ๆ ชาวพุทธศรีลังกานิยมไหว้พระและถวายพระด้วยดอกไม้
ดอกไม้ที่คนศรีลังกานิยมใช้ถวายพระคือ ดอกไม้ท่ีมีกลิ่นหอม ไม่นิยมดอกไม้พลาสติก
และดอกไม้นั้นส่วนใหญ่จะต้องเก็บจากต้นเท่านั้น ชาวศรีลังกายังชอบใช้ดอกไม้เป็น
ดอก ๆ ไม่นยิ มร้อยมาลัยเหมอื นเมอื งไทยและอนิ เดีย สว่ นใหญ่จะใช้ดอกบัวสีชมพูมาก
ท่ีสุด บางครั้งอาจเป็นดอกล่ันทม ดอกพุด ดอกมะลิ นอกจากนี้ ศาสนายังมีส่วนช่วย
ระบบวรรณะได้ลดความเข้มข้นลงด้วยอิทธิพลคาสอนทางพุทธศาสนา นอกจากนั้นยัง
มีอิทธิพลด้านอ่ืน ๆ อีก เช่น ชอ่ื ของบคุ คลต่าง ๆ ได้มีการนาเอาชื่อทางพุทธศาสนามา
ตัง้ เปน็ ช่อื ของบุคคล นบั ตง้ั แตก่ ษัตริยร์ าชวงศจ์ นถึงประชาชนท่ัวไป เช่น พระเจ้าพุทธ
ทาสะ พระเจ้าสังฆติสสะ พระเจ้าโมคคัลลานะ พระเจ้ากัสปะ พระเจ้ามหินทะ เป็น
ต้น จะปรากฏเห็นว่า มีชื่อของบุคคลสาคัญทางพุทธศาสนา ปรากฏเป็นพระนามของ
กษัตริย์ลังกาหลายพระองค์ มีการกาหนดเอาวันธรรมสวนะเป็นวันหยุดราชการ งาน
ทุกชนิดต้องหยุดในวันพระ เมื่อถึงวันพระชาวสิงหลจะถืออุโบสถศีล และประกอบ
ศาสนกิจต่าง ๆ พระเจ้าแผ่นดินได้ออกกฎหมาย “มาฆาตะ” คือ ห้ามฆ่าสัตว์และ
เบียดเบียนชีวิตสัตว์ จนอาชีพนายพรานได้หายไป นอกจากนั้นรัฐบาลศรีลังกาได้
ถือเอาพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ จะเห็นได้ว่า ศาสนาพุทธมีความสาคัญและ
สง่ ผลต่อวฒั นธรรมการดาเนนิ วิถชี ีวิตของชาวศรีลังกาเป็นอย่างมาก๒๐

ความสาคัญของพุทธศาสนาท่ีรองรับโดยกฎหมายของรัฐท่ีมีอยู่สูงมาก เช่น
ในกฎหมายสิงหลโบราณว่า ผู้ทาลายเจดีย์และต้นโพธิ์ กับผู้ที่ปล้นสะดมทรัพย์ของ
ศาสนามีโทษถึงตาย กฎหมายน้ีใช้บังคับชาวศรีลังกาทุกระดับช้ันรวมถึงชาวต่างชาติ

๒๐ ศรีลังกา, วัฒนธรรมศรีลังกา, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: http://www.
buchladenbkk.com /? ContentID=ContentID-๑๒๐๖๑๕๐๙๓๓๐๐๓๔๐๕๒ [๕ เม.ย.
๒๕๖๑].

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๐๕

ด้วย และมีการบังคับใช้มานานแล้ว ตั้งแต่รัชกาลพระเจ้าเอลระ ซ่ึงเป็นชาวทมิฬใน
พทุ ธศตวรรษท่ี ๕ ๒๑

พระพุทธศาสนาเถรวาทในศรีลังกาได้เผยแพร่จากอินเดียสู่ลังกา เม่ือ
ประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ ในคราวท่ีพระเจ้าอโศกมหาราชทรงอุปถัมภ์การสังคายนาพระ
ธรรมวินัยคร้ังที่ ๓ ในอินเดีย และได้ส่งพระเถระผู้รอบรู้แตกฉานในพระธรรมวินัยไป
เผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนต่างๆ รวม ๙ สายด้วยกัน ใน ๙ สายนั้น สายหน่ึง
ได้มายังเกาะของชาวสิงหล ได้แก่ประเทศศรีลังกาในปัจจุบัน โดยการนาของพระมหิ
นทเถระ ในรชั สมยั ของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ซ่ึงเป็นกษัตริย์ของลังกาและเป็นพระ
สหายของพระเจ้าอโศกมหาราช แต่ท้ังสองพระองค์ยังไม่เคยพบกัน พระเจ้าเทวานัม
ปิยติสสะทรงศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ได้อุทิศมหาเมฆวันอุทยานเป็นวัด
เรียกว่า “วัดมหาวิหาร” ถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเข้าสู่ลังกาในยุคนี้
เป็นพทุ ธศาสนาแบบเถรวาท พระมหินทเถระได้นาเอาพระไตรปิฎกและอรรถกถาไปสู่
ลังกาด้วย การเดินทางไปสู่ลังกาของพระมหินทเถระในครั้งนั้น นอกจากเป็นการเผย
แผ่พระพุทธศาสนาแล้ว ยงั ถอื วา่ เป็นการปลูกฝังวัฒนธรรมของชาวลังกา เพราะท่านมิ
เพียงแต่นาเอาพระพุทธศาสนาไปเท่านั้นท่านยังได้นาเอาอารยะธรรม ศิลปกรรม
สถาปตั ยกรรม เข้าไปด้วย ลาดบั ตอ่ มา พระนางอนุฬาเทวีมเหสีและสตรีบริวารจานวน
มาก ปรารถนาจะอุปสมบทบ้าง พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะจึงทรงส่งคณะทูตไปสู่ราช
สานักของพระเจ้าอโศก ทูลขอพระนางสังฆมิตตาเถรี และก่ิงพระศรีมหาโพธ์ิ ด้าน
ทกั ษณิ มาสลู่ ังกาทวปี และพระนางสังฆมิตตาเถรเี ปน็ อุปชั ญาย์บรรพชาอุสมบทแก่สตรี
ชาวลงั กาไดต้ ัง้ คณะภิกษุณีข้นึ ในลงั กาในสมยั รัชกาลของพระเจ้าปรากรมพาหุท่ี ๑ ทรง
สถาปนาสมเด็จพระสังฆราชปกครองสงฆท์ ัง้ ประเทศเป็นคร้ังแรก และสร้างวัดวาอารม
อกี มากมายจนลังกาไดก้ ลายเปน็ ศูนยก์ ลางการศกึ ษาพระพุทธศาสนา แต่ภายหลังพวก

๒๑ นางเจือจันท์ วังทะพันธ์ เลขประจาตัวนิสิต ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๘ สาขาวิชา
พระพทุ ธศาสนา

๑๐๖ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ทมิฬ กม็ ารกุ รานอกี และมอี านาจเหนอื ชาวสิงหล ทาให้พระพุทธศาสนาเส่ือมลงอีกคร้ัง
ระหว่างท่ีลังกาอ่อนแอลงชนชาติโปรตุเกสและฮอลันดาก็ได้เข้ามาผลัดเปล่ียนกันเข้า
มามีอานาจซ่ึงชนท้ังสองพยามยามประดิษฐานคริสต์ศาสนาแต่ก็ไม่สาเร็จ ท้ังนี้
เนื่องจากพระพุทธศาสนาไดฝ้ ังรากลึกลงสู่จิตใจของชาวลังกามาเป็นเวลา ชา้ นาน

ใน พ.ศ.๒๒๓๙ พระเจ้ากิตติสิริราชสีห์ ได้ส่งราชทูตไปขอพระสงฆ์จาก
ประเทศไทยใน รัชสมัยพระเจ้าบรมโกศแห่งกรุง ศรีอยุธยา พระเจ้าบรมโกศทรงส่ง
พระอุบาลีและพระอริยมุนี พร้อมด้วยคณะสงฆ์ ๑๒ รูป เดินทางไปลังกา และได้ทา
การบรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวสิงหล พระสงฆ์ที่บรรพชาอุปสมบทใหม่หนี้
เรยี กวา่ อุบาลีวงศ์หรือสยามวงศ์ หรือสยามนิกาย ซึ่งเป็นคณะสงฆ์ส่วนใหญ่ของลังกา
มาจนกระท่ังทุกวันน้ีประเทศไทย และศรีลังกา มีความสัมพันธ์ด้านพุทธศาสนา
ยาวนานกว่า ๗๐๐ปีตั้งแต่สมัยสุโขทัย แต่ท้ังสองประเทศเพ่ิงฉลองครบรอบ ๒๖๐ ปี
ความสัมพันธด์ า้ นพทุ ธศาสนา เมือ่ เดอื นสิงหาคมปีทแี่ ล้ว (พ.ศ. ๒๕๖๐)

อิทธพิ ลพระพทุ ธศาสนาเถรวาทท่ีมีต่อประชาชนในศรีลังกา: พระพุทธศาสนา
เม่ือเข้ามามีบทบาทในบ้านเมืองศรีลังกามากข้ึนแล้วได้เผยแผ่แนวความคิดเร่ืองกฎ
แห่งกรรมให้กว้างขวาง ขณะเดียวกันได้ส่งเสริมให้การมีศีลธรรมและคุณธรรมให้มี
ความสาคัญมากขึ้นยิ่งกว่าระบบวรรณะ (ได้แก่บรรดาหลักธรรมที่เป็นแกนหลักต่างๆ
เช่น ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจสี่ ไตรลักษณ์ กุศลกรรมบท ฯลฯ) เพื่อเป็นการตอกย้า
และอธิบายแนวคิดหลักของพระพุทธศาสนาท่ีว่า “บุคคลทาดีย่อมได้ดี บุคคลทาชั่ว
ย่อมได้ผลชัว่ ” และการยนื หยดั แนวคิดของการเป็นศาสนาแห่งสิทธิมนุษยชนให้ฝังราก
ลกึ และชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ

การที่พระพุทธศาสนาได้กลายเป็นศาสนานิยมในศรีลังกามาเป็นเวลานานยัง
เนื่องมาจากการท่ีพระพุทธศาสนาให้สิทธิอย่างกว้างขวางแก่บุคคลทั่วไปสามารถเข้า
มานบั ถอื และเขา้ มา เป็นสมาชิก (ซงึ่ การเขา้ มาเป็นสมาชกิ ในพุทธศาสนาจึงทาให้ได้รับ
สิทธิต่างๆมากมาย เช่น การได้สิทธิในการฟังธรรมท่ีเข้มข้นจากพระภิกษุแตกต่างจาก

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๐๗

ในศาสนาพราหมณ์ที่เพียงถ่ายทอดมนต์ท่ีสาคัญผ่านมาทางครอบครัวและสายตระกูล
เทา่ นั้น การท่ีกุลบุตรสามารถได้รับสิทธิในการได้รับยกฐานะให้เป็นส่วนหน่ึงของพระ
รัตนตรยั โดยการบรรพชาอปุ สมบท และ บิดามารดาพนี่ ้องไดร้ ับการยกย่องว่าเป็นญาติ
ในพระพทุ ธศาสนา ฯลฯ)

นอกจากน้ีพระพุทธศาสนายังได้เข้ามาใกล้ชิดกับวิถีชีวิตของประชาชนชาว
ศรีลังกามากข้ึนอีกเมื่อมีการกาหนดให้วันธรรมสวนะ (วันพระ) เป็นวันหยุดราชการ
(รวมแล้วเดอื นหนึง่ มีวนั หยดุ เพิ่มขึน้ อกี ๔ วัน) และกิจกรรมท่ีประชาชนมักจะทากันใน
วนั พระก็คอื การรกั ษาอโุ บสถศีล (ศีลแปด) การร่วมฟังธรรม ณ ธรรมศาลาท่ีตั้งอยู่ตาม
มุมเมือง การร่วมประกอบศาสนกิจต่างๆ (การร่วมประกอบศาสนกิจนั้นมีความ
เครง่ ครดั มากถึงในระดับท่ีมีการห้ามค้าขายในวันพระใหญ่ (วันเพ็ญข้ึน ๘ ค่าและ ๑๕
ค่า) และผู้ฝุาฝืนจะต้องเสียค่าปรับเป็นเงินหรือน้ามันเพื่อนาไปใช้ในการตามประทีป
โคมไฟให้แก่วดั วาอารามต่างๆ๒๒

เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๖ ในคราวที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงอุปถัมภ์การ
สังคายนาพระธรรมวนิ ยั คร้ังที่ ๓ ในอินเดีย และได้ส่งพระเถระผู้รอบรู้แตกฉานในพระ
ธรรมวินยั ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนตา่ งๆ รวม ๙ สายด้วยกัน ใน ๙ สายน้ัน
สายหนึ่งได้มายังเกาะของชาวสิงหล ได้แก่ประเทศศรีลังกาในปัจจุบัน โดยการนาของ
พระมหินทเถระ ในรัชสมัยของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ซ่ึงเป็นกษัตริย์ของลังกาและ
เป็นพระสหายของพระเจ้าอโศกมหาราช แต่ทั้งสองพระองค์ยังไม่เคยพบกัน พระเจ้า
เทวานัมปิยตสิ สะทรงศรัทธาเล่อื มใสในพระพทุ ธศาสนา ไดอ้ ทุ ิศมหาเมฆวันอุทยานเป็น
วดั เรยี กวา่ “วดั มหาวิหาร” ถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ พระพุทธศาสนาเข้าสู่ลังกาในยุคน้ี
เป็นพทุ ธศาสนาแบบเถรวาท พระมหินทเถระได้นาเอาพระไตรปิฎกและอรรถกถาไปสู่
ลังกาด้วย การเดินทางไปสู่ลังกาของพระมหินทเถระในครั้งน้ัน นอกจากเป็นการเผย

๒๒ นางสาวจนั ทร์ศริ ิ พลอยงาม รหัส ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๗ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

๑๐๘ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

แผ่พระพุทธศาสนาแล้ว ยงั ถอื วา่ เป็นการปลูกฝังวัฒนธรรมของชาวลังกา เพราะท่านมิ
เพียงแต่นาเอาพระพุทธศาสนาไปเท่านั้นท่านยังได้นาเอาอารยะธรรม ศิลปกรรม
สถาปัตยกรรม เข้าไปด้วย ลาดับตอ่ มา พระนางอนุฬาเทวีมเหสีและสตรีบริวารจานวน
มาก ปรารถนาจะอุปสมบทบ้าง พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะจึงทรงส่งคณะทูตไปสู่ราช
สานักของพระเจ้าอโศก ทูลขอพระนางสังฆมิตตาเถรี และกิ่งพระศรีมหาโพธ์ิ ด้าน
ทกั ษิณมาสลู่ ังกาทวีป และพระนางสงั ฆมิตตาเถรีเป็นอปุ ชั ญาย์บรรพชาอุสมบทแก่สตรี
ชาวลงั กาไดต้ ้งั คณะภิกษุณีขึน้ ในลงั กาในสมยั รัชกาลของพระเจา้ ปรากรมพาหุท่ี ๑ ทรง
สถาปนาสมเด็จพระสงั ฆราชปกครองสงฆท์ ้งั ประเทศเป็นครั้งแรก และสร้างวัดวาอารม
อีกมากมายจนลังกาได้กลายเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธ ศาสนา แต่ภายหลัง
พวกทมิฬ ก็มารุกรานอีกและมีอานาจเหนือชาวสิงหล ทาให้พระพุทธศาสนาเสื่อมลง
อีกคร้ังระหว่างท่ีลังกาอ่อนแอลงชนชาติโปรตุเกสและฮอลันดาก็ได้เข้ามาผลัดเปล่ียน
กันเข้ามามีอานาจซึ่งชนทั้งสองพยามยามประดิษฐานคริสต์ศาสนาแต่ก็ไม่สาเร็จ ทั้งนี้
เนื่องจากพระพุทธศาสนาได้ฝังรากลกึ ลงสู่จติ ใจของชาวลังกามาเปน็ เวลา ช้านาน

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาททีม่ ีต่อประชาชนในศรีลังกา: พระพุทธศาสนา
เม่ือเข้ามามีบทบาทในบ้านเมืองศรีลังกามากข้ึนแล้วได้เผยแผ่แนวความคิดเรื่องกฎ
แห่งกรรมให้กว้างขวาง ขณะเดียวกันได้ส่งเสริมให้การมีศีลธรรมและคุณธรรมให้มี
ความสาคัญมากข้ึนย่ิงกว่าระบบวรรณะ (ได้แก่บรรดาหลักธรรมท่ีเป็นแกนหลักต่างๆ
เช่น ปฏิจจสมุปบาท อริยสัจสี่ ไตรลักษณ์ กุศลกรรมบท ฯลฯ) เพ่ือเป็นการตอกย้า
และอธิบายแนวคิดหลักของพระพทุ ธศาสนาที่ว่า บ“ คุ คลทาดีย่อมได้ดี บุคคลทาชั่วย่อม
ได้ผลชั่ว“และการยืนหยัดแนวคิดของการเป็นศาสนาแห่งสิทธิมนุษยชนให้ฝังรากลึก
และชดั เจนมากยิง่ ข้ึน

การที่พระพุทธศาสนาได้กลายเป็นศาสนานิยมในศรีลังกามาเป็นเวลานานยัง
เนื่องมาจากการท่ีพระพุทธศาสนาให้สิทธิอย่างกว้างขวางแก่บุคคลทั่วไปสามารถเข้า
มานบั ถอื และเขา้ มา เป็นสมาชิก(ซ่ึงการเข้ามาเป็นสมาชิกในพุทธศาสนาจึงทาให้ได้รับ

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๐๙

สิทธิต่างๆมากมาย เช่น การได้สิทธิในการฟังธรรมที่เข้มข้นจากพระภิกษุแตกต่างจาก
ในศาสนาพราหมณ์ที่เพียงถ่ายทอดมนต์ที่สาคัญผ่านมาทางครอบครัวและสายตระกูล
เทา่ น้ัน การที่กุลบุตรสามารถได้รับสิทธิในการได้รับยกฐานะให้เป็นส่วนหน่ึงของพระ
รัตนตรัยโดยการบรรพชาอุปสมบท และ บิดามารดาพี่น้องได้รับการยกย่องว่าเป็น
ญาตใิ นพระพทุ ธศาสนา๒๓

๓.๒ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากบั ประเทศไทย
พระครูวรมงคลประยุตได้กล่าว หนังสือ “พุทธศาสน์สยามวงศ์ โต้คลื่นไป

มั่นคงที่ศรีลังกา” ว่าการเดินทางของคณะสงฆ์สยามเพ่ือไปปฏิบัติภารกิจฟ้ืนฟู
พระพทุ ธศาสนาในศรลี งั กาไวค้ อ่ นขา้ งละเอยี ด สรปุ ความพอสงั เขป ดังต่อไปนี้

ครั้นพระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา ประเทศสยาม ได้ต้อนรับคณะ
ทตู ของ พระเจา้ กติ ติสิริราชสิงห์ ท่ีเดินทางจากเมอื งแคนดี้ ศรีลังกา และทราบถึงความ
ประสงค์ของพระเจ้ากิตติสิริราช สิงห์ที่ต้องการได้คณะสงฆ์จากประเทศสยามไปฟื้นฟู
พระพุทธศาสนาในศรีลังกาแล้ว พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้ทรงเลือกพระอุบาลีเถระ
เป็นหัวหน้าคณะสงฆ์เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศรีลังกา หลังจากนั้นยังได้
โปรดเกล้าฯ ให้พระอุบาลีเถระเป็นผู้คัดเลือกพระภิกษุร่วมคณะไปเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาท่ีศรีลังกาด้วยตนเอง พระอุบาลีเถระได้เลือกพระอริยมุนี ผู้แตกฉานเร่ือง
พระไตรปฎิ ก และพระมหานามะผู้รอบรอบร้ใู นพระธรรมวินยั ร่วมเดนิ ทางไปในครง้ั นี้

พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ธมฺมธโช) กล่าวถึงพระภิกษุสยามท่ีร่วมในคณะเดินทาง
ไปประเทศ ศรีลังกาในคร้ังน้ันว่า คณะพระภิกษุสยามประกอบด้วย ๑) พระอุบาลี ๒)
พระอริยมุนี ๓) พระมหานาม ๔) พระมหาบุญ ๕) พระมหาสุวรรณ ๖) พระมหาม
นิศร์ ๗) พระมหามณี ๘) พระพรหมโชติ ๙) พระมณีโชติ ๑๐) พระจันทรโชติ ๑๑)
พระธรรมโชติ ๑๒) พระบญุ โชติ ๑๓) พระอินทรโชติ ๑๔) พระจันทสาระ ๑๕) พระสิริ

๒๓ นายพจิ ติ ร พงษ์เกษ รหสั ๖๐๐๕๑๐๕๐๑๙ สาขาวชิ า พระพุทธศาสนา

๑๑๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

จันทะ ๑๖) พระอินทสุวรรณ ๑๗) พระพรหมสร ๑๘) พระยศทิน มีสามเณร ร่วม
เดินทางอีก ๗ รูป และข้าราชการผู้ใหญ่อีก ๕ ท่าน คือ หลวงวิสุทธไมตรี, หม่ืนพิพิธ
เสน่หา, ขนุ วาจาภริ มย์, ขนุ มหาพร และขนุ พาทวี ิจติ ร

ก่อนออกเดินทาง คณะทูตจากศรีลังกาได้เข้าพบคณะสงฆ์สยามท่ีวัดธรรมา
ราม เม่ือราชทูต เข้าเฝูาฯ กราบถวายบังคมทูลลาพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรง
พระราชทานพระพุทธรูปทองคาและ เคร่ืองราชบรรณาการอีกจานวนมาก เพ่ือเป็น
ราชไมตรีระหวา่ งกัน

พระอุบาลีเถระและคณะได้พานักท่ีเมืองแคนด้ี ศรีลังกา ปฏิบัติภารกิจฟื้นฟู
พระพุทธศาสนา บรรพชาและอุปสมบทพระภิกษุ สามเณรแก่ชาวศรีลังกา เป็น
พระภิกษุกว่า ๗๐๐ รูป เป็นสามเณร กว่า ๓,๐๐๐ รูป ในระยะเวลา ๓ ปีกว่า ท่านก็
อาพาธด้วยโรคหูอกั เสบ และถึงแกม่ รณภาพไป ในปี พ.ศ. ๒๒๙๘ ระหว่างท่ีพระอุบาลี
เถระอาพาธอยู่ท่ีเมืองแคนด้ี ศรีลังกา พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ส่ง
สมณทูตจากสยามชุดใหม่เดินทางมาสับเปล่ียนกับสมณทูตชุดแรก ซึ่งเข้ามาปฏิบัติ
สมณกิจแลว้ เป็นเวลาถงึ ๓ ปี สมณทูตชดุ ทส่ี องน้ปี ระกอบด้วย พระวิสุทธาจารย์ เป็น
หวั หน้าคณะ ดว้ ยทรงเห็นวา่ พระวิสุทธาจารย์ เปน็ ผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นวิปสั สนากมั มฎั ฐาน
หรือฝุายปฏิบัติ ส่วนพระอุบาลีเถระน้ัน เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านพระธรรมวินัย หรือฝุาย
ปริยัติ พระองค์ทรงตั้งพระราชหฤทัยว่า จักให้ฝุายปริยัติ และปฏิบัติของสยามวงศ์ได้
เจริญงอกงามในศรีลังกาควบคกู่ นั ไป

พระครูวิบูล ภัทโรภาส (โอภาโส) กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทยว่า พระพุทธศาสนานิกายสยามวงศ์
ของศรีลงั กา ซ่ึงเปน็ นิกายทีไ่ ดร้ ับการอปุ สมบทจากคณะสงฆ์ นาโดยพระอุบาลีมหาเถระ
วัดธรรมารามแห่งกรุงศรีอยุธยา นับเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างสัมพันธไมตรีระหว่าง
ไทย - ศรีลังกา จนถึงปัจจุบันประเทศไทยและศรีลังกา มีความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟู
นสืบเน่ืองกันมานานกว่า ๗๐๐ ปี นับแต่แรกรับนับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทอย่าง

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๑๑

ลังกาวงศ์ในยุคกรุงสุโขทัย จนถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๓ พระพุทธศาสนาเถรวาทในศรี
ลังกาประสบปัญหาสูญส้ินสมณวงศ์ ไม่มีพระสงฆ์เพียงพอท่ีจะทาพิธีอุปสมบทกุลบุตร
ได้ แต่มีสามเณรผ้มู คี วามรู้ท้ังภาษาบาลแี ละคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาอย่างแตกฉานรูป
หนงึ่ นามว่า สามเณรสรณัง การได้กราบทูลพระเจ้าแผ่นดินศรีลังกา ให้ส่งราชทูตมายัง
ประเทศที่พระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างลังกาวงศ์เจริญรุ่งเรือง พระเจ้าศรีวิชัย ราชสิงห์
ส่งคณะราชทูตมาถึงเมืองปัตตาเวียก็ส้ินรัชกาล พระเจ้ากีรติ ศรีราชสิงห์
พระมหากษัตริย์องค์ใหม่ ได้ส่งคณะราชทูตอัญเชิญพระราชสาส์นและเคร่ืองราช
บรรณาการ มาถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา เดินทางถึงปากน้า
เจ้าพระยาเมื่อวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๒๙๔ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงพระกรุณาโปรด
เกลา้ ฯ ใหจ้ ัดคณะสงฆ์ประกอบด้วยพระอุบาลี มหาเถระจากวัดธรรมาราม เป็นหัวหน้า
คณะ อัญเชิญพระธรรมคัมภีร์ไปกับคณะราชทูตออกเดินทางสู่ศรีลังกา การเดินทาง
คราวแรกประสบเหตุขัดข้อง เรือเกยตื้น แต่ก็ได้ออกเดินทางไปอีกคร้ัง ถึงเกาะลังกาใน
เดือนพฤษภาคม ๒๒๙๖ คณะสงฆ์สยามได้ประกอบพิธีอุปสมบทบรรพชา ได้พระภิกษุ
สามเณร รวมกวา่ ๓,๐๐๐ รปู การฟ้นื ฟสู มณวงศเ์ ป็นผลสาเร็จ พระพุทธศาสนาเถรวาท
ฝุายสยามนิกายได้ประดิษฐานนับแต่น้ันมา ปัจจุบันมีวัดฝุายสยามวงศ์ในประเทศศรี
ลังกาถึง ๕,๕๐๐ วัด ในจานวนวัด ๙,๐๐๐ วัดท่ัวประเทศ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง ใน
วาระครบรอบ ๒๕๐ ปี ของการสืบต่อพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา รัฐบาลศรี
ลังกาได้เสนอให้การสนับสนุน งบประมาณเพ่ือการบูรณะโบราณสถานในวัดธรรมาราม
ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในส่วนที่เก่ียวข้องกับพระอุบาลีมหาเถระ ได้แก่ หอ
พระไตรปฎิ ก และหอระฆัง ซึง่ เม่อื วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ได้มีพิธีลงนามในบันทึก
ความเข้าใจ ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยและศรีลังกา
เร่ืองการบูรณะวัดธรรมาราม โดยรัฐบาลศรีลังกายินดีสนับสนุนเงินจานวน
๓,๔๔๐,๐๐๐ บาท สาหรับการบูรณะหอพระไตรปิฎกและหอระฆัง และรัฐบาลไทย
โดยกรมศิลปากร จดั สรรเงนิ อีกจานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อการสร้างเขื่อนปูองกัน

๑๑๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ตลงิ่ พงั ทลาย วนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๔๕ ไดม้ ีพธิ เี ปิดโครงการบูรณะวัดธรรมาราม โดย
มี นายปองพล อดิเรกสาร รองนายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน เป็นประธานฝุายไทย ฝุายศรี
ลังกามีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพุทธศาสนาพระสังฆราช และผู้แทนระดับสูงท้ังฝุาย
สงฆ์และฝุายฆราวาสมาร่วมพิธีท้ังน้ี กรมศิลปากรได้ดาเนินการบูรณะเมื่อวันท่ี ๒๑
สิงหาคม ๒๕๔๕ และมีการเฉลิมฉลองในเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๖ รัฐบาลไทยและ
รฐั บาลศรีลังกาได้ร่วมกันจัดกิจกรรมเฉลิมฉลอง ๒๕๐ ปี พระพุทธศาสนานิกายสยาม
วงศ์ของศรีลังกา ประกอบด้วยพิธีการรับมอบระฆังจากศรีลังกา เม่ือวันที่ ๑๔
พฤษภาคมในปีเดียวกัน ณ วัดธรรมาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้วยสายสัมพันธ์
ของคณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนชาวไทยและศรีลังกา ทาให้พระพุทธศาสนาเถรวาท
ลังกาวงศ์และสยามวงศเ์ จริญย่ังยืนชว่ั กาลนาน

พระครูสุเมธธรรมกิจ ได้กล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากับประเทศไทยว่า ประเทศไทยและประเทศศรีลังกามีประวัติ
ความสัมพันธ์ด้านศาสนายาวนานกว่า ๗๐๐ ปี ตั้งแต่สมัยสุโขทัยนับเน่ืองมาจนถึง
ปัจจุบัน จะเห็นได้ว่าพุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศไทยมีชื่อว่า “ลังกาวงศ์”
ในขณะท่ีพุทธศาสนานิกายเถรวาทที่สาคัญนิกายหนึ่งในประเทศศรีลังกามีช่ือว่า
“สยามวงศ์” พระพุทธศาสนาในประเทศไทยนั้นได้รับสืบทอดมาจากประเทศศรีลังกา
เมื่อคร้ังกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี กล่าวคือในปี พ.ศ. ๑๖๙๖ พระเจ้าปรากรมพาหุ
มหาราช กษัตริย์แห่งลังกาทวีปได้ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาจนรุ่งเรืองทั้งการศึกษา
และการปฏิบตั ิ จนลงั กาในยคุ นัน้ ไดก้ ลายเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนา ทา
ใหพ้ ระสงฆจ์ ากประเทศตา่ งๆ เดินทางเขา้ มาศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั และบวชแปลงใหม่ใน
ลังกา แล้วกลับไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาแบบลงั กาวงศใ์ นประเทศของตน บ้างก็นิมนต์
พระสงฆ์จากลังกาเข้ามาเผยแผ่พุทธศาสนายังประเทศของตน เช่น ในกรณีของสยาม
ประเทศก็มีการนิมนต์พระสงฆ์จากลังกานามว่า ราหุล มาจาพรรษาและเผยแผ่พุทธ

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๑๓

ศาสนาแบบลังกาวงศ์ ณ เมืองนครศรีธรรมราช ต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๗ ซ่ึงก็ได้รับ
การยอมรับในหม่คู นไทยอยา่ งรวดเรว็

พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้อาราธนา
พระมหาเถรสังฆราช จากเมืองนครศรีธรรมราชมาจาพรรษา ณ วัดอรัญญิก ในกรุง
สุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์เจริญรุ่งเรืองในสยามประเทศนับแต่นั้น
เป็นต้นมาจวบจนปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. ๑๙๐๔ พระเจ้าลิไท กษัตริย์องค์ที่ ๕ ของ
กรุงสุโขทัย ทรงอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากลังกาทวีปมาจาพรรษาในสุโขทัย
ในยคุ นีเ้ ร่มิ มกี ารแบง่ คณะสงฆอ์ อกเป็น ๒ ฝาุ ย คือ ฝุายคามวาสี และฝุายอรญั วาสี

ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ในแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ คณะสงฆ์ในศรี
ลังกาได้เส่ือมสูญไป เนื่องจากภัยคุกคามจากพวกทมิฬ (อินเดีย) และชาติตะวันตก
(โปรตุเกส) ในคร้ังน้ันลังกาทวีปมีเพียงคณะสามเณร นาโดยสามเณร สรณังกร
สามเณรเหล่านั้นไม่สามารถบวชเป็นพระภิกษุได้ เพราะไม่มีพระอุปัชฌาย์และพระ
อันดับ กษัตริย์ศรีลังกาในสมัยนั้นทรงพระนามว่า พระกีรติศรีราชสิงหะ จึงได้ส่งคณะ
ทูตมายังกรุงศรีอยุธยาเพ่ือขอสมณทูตจากสยามไปช่วยฟื้นสมณวงศ์ในศรีลังกา เม่ือ
ปลาย พ.ศ. ๒๒๙๓

พ.ศ. ๒๒๙๕ คณะพระธรรมทูตชุดแรกจากกรุงศรีอยุธยานาโดยพระอุบาลี
พระอริยมุนี และพระนามะ ได้เดินทางไปยังศรีลังกา ได้จาพรรษาอยู่ท่ี วัดบุปผาราม
ณ กรุงศิริวัฒนบุรี ซ่ึงปัจจุบันคือ วัดมัลวัตตะ ตั้งอยู่ ณ เมืองแคนด้ี ท่านและคณะได้
บรรพชาอุปสมบท สามเณรสรณังกรและคณะ รวมท้ังกุลบุตรแห่งลังกาทวีปเป็น
พระภิกษุกว่า ๗๐๐ รูป สามเณร ๓,๐๐๐ รูป ภายในระยะเวลา ๓ ปีที่พานักอยู่ในศรี
ลังกา นอกจากนี้ท่าน และคณะยังได้ร่วมกันฟื้นฟูสมณวงศ์ในศรีลังกาจนเป็นผลสาเร็จ
อันนาไปสู่การก่อต้ังคณะสงฆ์นิกายใหญ่ท่ีสุด และทรงอิทธิพลท่ีสุดในศรีลังกาจวบ
จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีช่ือว่า “สยามนิกาย” เนื่องจากเป็นนิกายท่ีสืบเชื้อสายสมณวงศ์มา
จากสยาม หรอื ประเทศไทยในปัจจบุ ันนั่นเอง

๑๑๔ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

พ.ศ. ๒๒๙๘ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ได้ส่งคณะธรรมทูตชุดท่ี ๒ ไปยังศรีลังกา
เพ่อื ผลัดเปล่ียนหนา้ ทีก่ ับคณะธรรมทตู ชุดแรก เม่อื เดินทางมาถึงเมืองท่าตรินโคมาลี แห่ง
ลงั กาทวปี ไดท้ ราบขา่ ววา่ พระอุบาลีถึงแก่มรณภาพเสียแล้ว ด้วยโรคหูอักเสบภายใน กุฏิ
วัดบุปผาราม คณะธรรมทูตชุดที่ ๒ น้ี ได้จาพรรษาอยู่ที่ วัดบุปผาราม และได้ปฏิบัติ
ศาสนกิจต่อเน่ืองจากคณะสงฆ์สยามชุดแรกเป็นเวลารวมทั้งส้ิน ๔ ปี จนกระท่ังเดินทาง
กลบั กรุงศรอี ยธุ ยาในปี พ.ศ. ๒๓๐๑ การที่คณะสงฆ์สยามเดินทางไปสืบพุทธศาสนาในศรี
ลังกา ทาให้พุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟูจนเป็นหลักให้กับศรีลังกาอีกคร้ัง ศรีลังกาจึง
ขนานนามพระสงฆ์ท่ีได้รับการอุปสมบทจากพระอุบาลีว่า “อุบาลีวงศ์” หรือ “สยาม
วงศ์” และทาให้ “สยามนิกาย” เป็นหน่ึงในพุทธศาสนานิกายเถรวาทในศรีลังกามีผู้ให้
การยอมรบั นับถือเปน็ จานวนมากสืบต่อมาเป็นเวลาเกือบ ๓๐๐ ปนี บั ถงึ ปจั จบุ ัน

ในขณะทปี่ ระเทศศรลี ังการับเอาพระพุทธศาสนาจากประเทศไทยจนกลายเป็น
นิกายท่ีสาคัญนิกายหนึ่งในศรีลังกาในปัจจุบันเรียกว่า “สยามวงศ์”หรือ “สยามนิกาย”
ซึ่งเป็นหนึ่งในนิกายที่สาคัญนิกายหนึ่งในสามนิกายของพระพุทธศาสนาในศรีลังกา
ปัจจุบันประเทศไทยก็รับเอาพระพุทธศาสนาจากศรีลังกาเข้ามาจนกลายเป็น “ลังกา
วงศ”์

พระครูโสภณชยาภิวัฒน์ ได้กล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนา
นาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทยว่า เม่ือปี พ.ศ.๒๒๙๕ พระธรรมทูตจากประเทศ
ไทย นาโดยพระอุบาลี มหาเถระ จากวัดธรรมาราม จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมด้วย
พระสงฆ์ที่แตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นการเดินทางไปตามคาเชิญจาก พระเจ้ากีรติศรี
ราชสิงหะ กษัตริย์ศรีลังกาในยุคน้ัน ที่ทรงต้องการฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ซ่ึง
กาลังจะสูญส้ิน เน่ืองจากไป และหน่ึงในสามเณรที่ได้รับการอุปสมบทในครั้งน้ัน คือ
สามเณรเวลิวิตะ ศรีสรณังกร ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสังฆราช และทรง
สถาปนา พระพุทธศาสนานิกายสยามหลังจากนั้นพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกาก็
กลับคืนมาเข้มแข็งจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงหากนับจนถึงวันนี้ก็เข้าสู่ปีที่ ๒๖๐ แล้วรัฐบาลศรี

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๑๕

ลังกา โดย นายมหินทรา ราชปกษา ประธานาธิบดีศรีลังกา จึงสั่งการให้จัดงานเฉลิม
ฉลองอย่างยิ่งใหญ่ตลอด พ.ศ.๒๕๕๖ และเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง ๒๖๐ ปีแห่ง
พระพุทธศาสนานิกายสยามวงศ์ของศรีลังกา พร้อมทั้งเชิญรัฐบาลไทย และคณะสงฆ์ไทย
รว่ มเปิดงานเฉลิมฉลองในคร้ังน้ัน

พระครูอุดมธรรมวัตร ได้กล่าวไว้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลงั กากบั ประเทศไทยว่า ไทยและศรีลังกาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตใน
ระดับอัครราชทูต เมื่อวันท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ และยกระดับเป็นระดับ
เอกอัครราชทูตเมื่อวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๐๔ ความสัมพันธ์ทางการทูตเป็นไปอย่าง
ราบรื่นตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ไทยและศรีลังกามีความใกล้ชิดทางศาสนาและ
วัฒนธรรม เน่ืองจากท้ังสองประเทศนับถือพุทธศาสนา และที่ผ่านมาไทยได้อัญเชิญกฐิน
พระราชทานไปทอดถวายท่ีวัดในศรีลังกาเป็นประจาทุกปี เอกอัครราชทูต ณ กรุง
โคลมั โบ คนปัจจุบนั คอื นายพลเดช วรฉตั ร

สว่ นเอกอัครราชทูตศรีลังกาประจาประเทศไทย คือ พล.อ. (นอกราชการ) สวุ ัน
ทะ แหนนะทิเค ศานตะ โกฏเฏโกฑะ (H.E. Gen. (Retd.) Suwanda Hennadige
Shantha Kottegoda)

ไทยและศรีลังกามีความสัมพันธ์พิเศษทางด้านพุทธศาสนาต้ังแต่ศตวรรษท่ี
๑๒ เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชได้ส่งคณะผู้แทนไปศรีลังกา เพ่ือนิมนต์พระภิกษุศรีลังกา
จานวน ๓ รปู มาชว่ ยฟ้ืนฟเู ผยแผพ่ ทุ ธศาสนา (นิกายลังกาวงศ์) ท่ีนครศรีธรรมราช ก่อนท่ี
จะเผยแผ่ไปยังอาณาจักรสุโขทัยในสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชทาให้พุทธศาสนาใน
ประเทศไทยเจริญรุ่งเรือง ต่อมาในปี ๒๒๙๖ สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ไทยได้ส่งคณะ
พระภิกษุ นาโดยพระอุบาลีมหาเถระจากกรุงศรีอยุธยาเดินทางไปยังศรีลังกาตามคาร้อง
ขอ เพอ่ื ฟ้ืนฟพู ระพุทธศาสนาในศรลี ังกา (นิกายสยามวงศ์) ซง่ึ สบื ทอดมาจนปจั จุบัน

๑๑๖ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ในปี ๒๔๔๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯ เยือนศรีลังกา
และทรงวางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง “จุฬาลงกรณ์ธรรมศาลา” ท่ีวัดศรีปรมนันทะ (หรือวัด
จุฬาลงกรณ์) ในเมือง Galle เมื่อเดือนมกราคม ๒๔๘๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อานันทมหิดล และ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระ
ศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี เสด็จฯ เยือนศรีลังกา โดยได้เสด็จฯ ยังวัดทีปทุตตามารามอัน
เป็นวัดพุทธที่เก่าแก่ท่ีสุดแห่งหนึ่งในกรุงโคลัมโบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท
มหิดล ทรงปลูกต้นไม้มงคล คือ ต้นจันทน์ ต่อมาในปี ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ เยือน
วัดทีปทตุ ตามาราม

ในเดือนสงิ หาคม ๒๕๔๒ สมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟูาจุฬาภรณวลัยลักษณ์
อคั รราชกมุ ารีไดเ้ สด็จฯ เยือนวัดทีปทตู ตามารามเช่นกัน

รัฐบาลไทย โดยกระทรวงการต่างประเทศและกรมศิลปากรได้ให้ความ
ช่วยเหลือวัดทีปทูตตามารามในการซ่อมแซมยอดฉัตรรัตนเจดีย์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ตามท่เี จา้ อาวาสของวดั ขอความช่วยเหลือผ่านสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคลัมโบ ทั้งนี้
ยอดฉัตรดังกล่าว วัดทีปทุตตามารามได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ศรีลังกาได้มอบหน่อพระศรีมหาโพธ์ิจากวัดพระธาตุเขี้ยวแก้ว เมืองแคนด้ี และ
วัดพระศรีมหาโพธิ์ เมืองอนุราชปุระในศรีลังกาเพ่ือมาปลูกในไทย นอกจากนั้น ศรีลังกา
ยังได้บรจิ าคเงนิ จานวน ๓,๔๔๐,๐๐๐ บาท เพือ่ ร่วมบูรณปฏิสังขรณ์หอไตรและหอระฆัง
วัดธรรมาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นวัดที่พระอุบาลีมหาเถระเคยเป็นเจ้า
อาวาส ก่อนท่ีจะเดินทางไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา และนาย Ratnasiri
Wickramanayaka นายกรัฐมนตรีศรีลังกาได้เดินทางมาเป็นประธานในพิธีเปิดหอไตร
และหอระฆงั ดังกล่าว เมื่อวนั ท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๐

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๑๗

วัดพุทธในศรีลังกาได้รับผ้าพระกฐินพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวผ่านกระทรวงการต่างประเทศเป็นประจาทุกปี และมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั (มจร.) ไดใ้ ห้ทนุ พระศรีลงั กามาเปน็ อาจารย์สอนที่ มจร. อย่างสม่าเสมอ

พระครูอุดรภาวนาคุณ (สจฺจาสโภ) ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทยว่า พระพุทธศาสนานิกายสยาม
วงศ์ของศรีลังกา ซ่ึงเป็นนิกายที่ได้รับการอุปสมบทจากคณะสงฆ์ นาโดยพระอุบาลี
มหาเถระ วัดธรรมารามแห่งกรุงศรีอยุธยา นับเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้าง
สัมพันธไมตรีระหว่างไทย - ศรีลังกา จนถึงปัจจุบันประเทศไทยและศรีลังกามี
ความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟูนสืบเนื่องกันมานานกว่า ๗๐๐ ปี นับแต่แรกรับนับถือ
พระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างลังกาวงศ์ในยุคกรุงสุโขทัย จนถึงพุทธศตวรรษท่ี ๒๓
พระพุทธศาสนาเถรวาทในศรีลังกาประสบปัญหาสูญสิ้นสมณวงศ์ ไม่มีพระสงฆ์เพียง
พอที่จะทาพิธีอุปสมบทกุลบุตรได้ แต่มีสามเณรผู้มีความรู้ท้ังภาษาบาลีและคัมภีร์ทาง
พระพุทธศาสนาอยา่ งแตกฉานรูปหนึ่ง นามว่า สามเณรสรณัง การได้กราบทูลพระเจ้า
แผ่นดินศรีลังกา ให้ส่งราชทูตมายังประเทศที่พระพุทธศาสนาเถรวาทอย่างลังกาวงศ์
เจริญรงุ่ เรือง พระเจ้าศรีวิชัย ราชสิงห์ ส่งคณะราชทูตมาถึงเมืองปัตตาเวียก็สิ้นรัชกาล
พระเจ้ากีรติ ศรีราชสิงห์ พระมหากษัตริย์องค์ใหม่ ได้ส่งคณะราชทูตอัญเชิญพระราช
สาส์นและเคร่ืองราชบรรณาการ มาถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา
เดินทางถึงปากน้าเจ้าพระยาเมื่อวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๒๙๔ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดคณะสงฆ์ประกอบด้วยพระอุบาลี มหาเถระจากวัด
ธรรมาราม เป็นหัวหน้าคณะ อัญเชิญพระธรรมคัมภีร์ไปกับคณะราชทูตออกเดินทางสู่
ศรีลังกา การเดินทางคราวแรกประสบเหตุขดั ข้องเรอื เกยต้ืน แต่ก็ได้ออกเดินทางไปอีก
ครั้ง ถึงเกาะลังกาในเดือนพฤษภาคม ๒๒๙๖ คณะสงฆ์สยามได้ประกอบพิธีอุปสมบท
บรรพชา ได้พระภิกษุ สามเณร รวมกว่า ๓,๐๐๐ รูป การฟื้นฟูสมณวงศ์เป็นผลสาเร็จ

๑๑๘ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระพุทธศาสนาเถรวาทฝุายสยามนิกายได้ประดิษฐานนับแต่นั้นมา ปัจจุบันมีวัดฝุาย
สยามวงศใ์ นประเทศศรีลงั กาถึง ๕,๕๐๐ วดั ในจานวนวัด ๙,๐๐๐ วดั ทั่วประเทศ

พระมหาก้องไพร สาคโร ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนา
ในประเทศศรีลังกากับประเทศไทย เม่ือปี พ.ศ.๒๒๙๕ พระธรรมทูตจากประเทศไทย
นาโดยพระอุบาลี มหาเถระ จากวัดธรรมาราม จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมด้วย
พระสงฆท์ ่ีแตกฉานในพระไตรปิฎกเป็นการเดินทางไปตามคาเชิญจาก พระเจ้ากีรติศรี
ราชสิงหะ กษตั รยิ ศ์ รลี งั กาในยคุ น้ัน ทีท่ รงต้องการฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ซ่ึง
กาลังจะสูญส้ิน เนื่องจากไม่มีพระภิกษุสงฆ์ท่ีจะสามารถทาหน้าท่ีเป็นพระอุปัชฌาย์ได้
สาเหตุมาจากคณะสงฆ์ศรีลังกาในขณะนั้นนาเอาคติความเช่ือแบบมหายานและลัทธิ
ฮนิ ดูเข้ามาผสมผสานกับคาสอนแบบเถรวาท จนกระท่ังพธิ กี รรมกลายเป็นคาสอนหลัก
ประกอบกบั นกั ลา่ อาณานิคมตะวันตก คือ โปรตเุ กส เข้ามามีบทบาททางการเมืองแล้ว
เผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกด้วยวิธีการที่รุนแรง เพ่ือถอนรากถอนโคน
พระพุทธศาสนา ศรีลังกาและไทยมีประวัติความ สัมพันธ์ทางด้านศาสนาที่ยาวนาน
พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทยได้ช่ือว่าลังกาวงศ์ ทั้งน้ีเพราะเมื่อ ๗๐๐ ปีท่ี
ผา่ นมา พอ่ ขุนรามคาแหงไดอ้ าราธนาหัวหน้าพระสงฆ์ศรีลังกามาจากนครศรีธรรมราช
ในภาคใต้ มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ที่กรุงสุโขทัย และเมื่อ ๒๕๐ ปีท่ี
ผา่ นมา ชาวไทยได้มีโอกาส ตอบแทนคณุ ของศรีลังกาด้วยการทีพ่ ระเจ้าบรมโกษฐ์ ทรง
ส่งพระอุบาลีและคณะมาฟ้ืนฟูการอุปสมบทใน ศรีลังกาหลังจากท่ี สมณวงศ์ในเกาะ
ลังกาได้ขาดสูญไป เพราะการกดขี่ของโปรตุเกส แต่ด้วยความเสียสละ ท่ียิ่งใหญ่ของ
พระอบุ าลี การอุปสมบทก็ไดร้ บั การฟื้นฟู และมกี ารสถาปนาสยามนิกายในศรลี ังกา.

พระมหาทองสุข สุเมโธ ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนา
ในประเทศศรีลังกากับประเทศไทย ประเทศไทยและประเทศลังกามีความสัมพันธ์กัน
มาหลายร้อยปี สืบเนื่องจากการที่ไทยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์เป็นศาสนา
ประจาชาติ การติดต่อระหว่างชาติทั้งสองเป็นลักษณะการให้และการตอบแทน

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๑๙

กล่าวคือในตอนต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ไทยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์จาก
ลังกา และต่อมาเมื่อทางลังกาเกิดปัญหายุ่งยากทางการเมืองในปลายพุทธศตวรรษที่
๒๓ หมดสนิ้ สมณวงศ์ ฝาุ ยไทยได้สนองตอบด้วยการช่วยเหลือก่อต้ังนิกายสยามวงศ์ใน
ลงั กา หลังจากน้นั ไดม้ ีความสมั พันธใ์ กล้ชิดต่อมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะใน
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทางลังกาได้ขอรับความอุปถัมภ์
ทางพุทธศาสนาอกี คร้ังหนึง่ และยกยอ่ งพระองค์เปน็ “อคั รศาสนูปถัมภก” ในประเทศ
ตน สาเหตุที่ไทยและลังกามีความสัมพันธ์อันใกล้ชิดต่อกันตลอดระยะเวลายาวนาน
โดยเน้นในเรื่องความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม
โกศ ซ่ึงได้มีการก่อต้ังนิกายสยามวงศ์ในลังกา จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ได้เข้ามาต้ังม่ันและเจริญรุ่งเรืองขึ้น
เป็นลาดับมา นับตั้งแต่กรุงสุโขทัยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์แล้ว ส่วนลังกา
ซ่ึงเป็นประเทศต้นวงศ์มักจะประสบปัญหาความยุ่งยากทางการเมืองทั้งภายในและ
ภายนอก มีหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่า การติดต่อระหว่างไทยกับลังกาในปลายสมัย
อยุธยา ในรชั กาลสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั บรมโกศนน้ั ฮอลนั ดาซงึ่ ยึดครองดินแดนในเกาะ
ลังกาบางสว่ นอยไู่ ด้ มสี ่วนสนบั สนนุ ใหก้ ษตั ริยล์ งั กาผู้ปกครองอาณาจักรแคนดีซึ่งยังคง
เป็นอสิ ระ ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือจากไทยในการฟื้นฟูพุทธศาสนา โดยที่ฮอลันดา
หวังผลประโยชน์ในทางการเมืองและการค้า ผลของการติดต่อในช่วงนี้ก็คือ ได้มีการ
ก่อตั้งนิกายสยามวงศ์ ซ่ึงเป็นนิกายที่เก่าแก่และใหญ่ท่ีสุดของลังกาแม้กระทั้งทุกวันนี้
ตอ่ มาลังกาตอ้ งเผชญิ กับการขยายตวั ของลัทธจิ ักรวรรดินิยมตะวันตกเป็นเวลานาน จน
ในที่สุดได้ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ถึงแม้อังกฤษจะมีนโยบายไม่เบียดเบียนพุทธ
ศาสนา แต่การพุทธศาสนาก็เส่ือมโทรงลง เนื่องจากขาดผู้นาและองค์กรที่จะรวบรวม
พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนเข้าด้วยกัน เพ่ือฟ้ืนฟูทะนุบารุงพุทธศาสนาในประเทศ
ของตน คณะสงฆ์ลังกาจึงต้องอาศัยความช่วยเหลือจากประเทศที่นับถือพุทธศาสนา
เช่นเดียวกันคอื ประเทศไทย

๑๒๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์เข้ามาเผยแผ่
ในประเทศไทยคร้ังแรกท่ีนครศรีธรรมราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย
ข้นึ ครองราชย์ในปีพทุ ธศักราช ๑๘๒๐ พระองคไ์ ด้นิมนต์พระสงฆ์จากนครศรีธรรมราช
มาเผยแผ่ท่ีเมืองสุโขทัย ดังที่ปรากฎในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง หลักที่หนึ่งว่า
“เบอ้ื งตะวนั ตกสุโขทยั มีอรัญญกิ พ่อขุนรามคาแหงกระทาโอยทานแก่มหาเถรสังฆราช
เรยี นจบปฏิ กไตรย หลวกกว่าปคูุ รูในเมอื งน้ี ทกุ คนลกุ แต่เมอื งศรีธรรมราชมา๒๔

ลงั กาและไทยจึงมกี ารแลกเปลย่ี นศลิ ปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาเร่ือยมา
มีพระสงฆ์ไทยไปศึกษาพระปริยัติธรรมท่ีศรีลังกาหลายรูป บางรูปกลับมาแต่งคัมภีร์
สาคัญทางพระพุทธศาสนา ในขณะที่พระสงฆ์จากศรีลังกาก็เดินทางมาพักจาพรรษา
ในประเทศไทย ปัจจุบันมีพระสงฆ์ไทยศึกษาท่ีประเทศศรีลังกาหลายรูปและใน
ขณะเดยี วกนั ก็มีพระสงฆจ์ ากศรลี งั กาเข้ามาศึกษาในประเทศไทยจานวนมาก

จนกระท่ังศรีลังกาเกือบสูญส้ินสมณวงศ์ทั้งประเทศมีสามเณรเพียงรูปเดียว
นามว่าสามเณรสรณังกร สาเหตุท่ีพระสงฆ์ในศรีลังกาไม่มีนั้นมีสาเหตุสาคัญหลาย
ประการ ดังท่ีลังกากุมารเขียนไว้ในตามรอยพระอุบาลีไปฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาท่ีศรี
ลงั กาตอนหน่ึงว่า “ส่วนหน่ึงมาจากคณะสงฆ์เองนาเอาคติความเชื่อแบบมหายานและ
ลัทธิฮินดูเข้ามาผสมผสานกับคาสอนแบบเถรวาท ความเช่ือเหล่านี้ได้กลืนเป็นเนื้อ
เดียวกับจารีตแบบพุทธ จนกระทั่งพิธีกรรมกลายเป็นคาสอนหลัก ส่วนหนึ่งมาจาก
การละเลยเพิกเฉยของสถาบันพระมหากษัตริย์ ท้ังนี้เน่ืองมาจากสถานการณ์ทาง
การเมืองที่สับสนวุ่นวายเกิดการแก่งแย่งชิงดีกันระหว่างราชวงศ์สิงหลด้วยกันเอง
นอกจากน้ันนักล่าอาณานิคมตะวันตกคือโปรตุเกสเข้ามามีบทบาททางการเมืองแล้ว
เผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาธิลิกด้วยวิธีการท่ีรุนแรง เพ่ือถอนรากถอนโคน

๒๔ ประชุมศิลาจารึกภาคท่ี ๑, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี, ๒๕๒๑),หน้า ๒๒.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๒๑

พระพุทธศาสนา และสุดท้ายกษัตริย์สิงหลเองทาลายล้างพระพุทธศาสนาจนสูญส้ิน
สมณวงศ์ เพราะทรงหันไปนับถอื ลัทธิฮินดูนกิ ายไศวะ”๒๕

ปีพุทธศักราช ๒๒๙๔ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาโปรดให้
คั ด เ ลื อ ก พ ร ะ ส ง ฆ์ ท่ี แ ต ก ฉ า น ใ น พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก แ ล ะ เ ค ร่ ง ค รั ด ใ น พ ร ะ ธ ร ร ม วิ นั ย
ประกอบด้วยพระสงฆ์ ๒๔ รูป นาโดยพระอุบาลีมหาเถระและพระอริยมุนีมหาเถระ
พร้อมทั้งสามเณรอีกเจ็ดรูป ออกเดินทางด้วยเรือกาปั่นหลวงท่ีเพ่ิงต่อข้ึนใหม่เพ่ือให้
เป็นพาหนะส่งคณะสงฆ์ไทยไปลังกา แต่การเดินทางในครั้งนั้นมิได้ราบร่ืนเรือกาปั่น
ของพระสมณทูตถูกคล่ืนใหญ่ซัดจนมาเกยตื้นท่ีเมืองนครศรีธรรมราช คณะสงฆ์ชุดนั้น
จงึ ไปไมถ่ ึงลงั กา

ปีพุทธศักราช ๒๒๙๕ คณะสงฆ์ชุดเดิมออกเดินทางอีกคร้ังโดยเรือกาปั่น
ฮอลันดา ขึ้นฝั่งท่ีท่าเรือตรินโคมาลี พระเจ้ากีรติศรีราชสิงหะรับสั่งให้ขุนนางผู้ใหญ่
ต้อนรับและเชิญพระสงฆ์และคณะราชทูตไทยเข้ามายังเมืองแคนด้ี โปรดให้พระสงฆ์
ไทยไปพักที่วัดบุปผาราม ปัจจุบันคือวัดมัลวัตตะ จากน้ันพระอุบาลีได้ทาการ
อุปสมบทภกิ ษุชาวสีงหลจานวน ๗๐๐ รูป และบรรพชาสามเณรอีก ๓,๐๐๐ รูป

พระสาสนโสภณ(พิจิตร) ได้บันทึกถึงการอุปสมบทไว้ตอนหนึ่งว่า “วันขึ้น
๑๕ ค่า เดือน ๘ พระอุบาลีให้อุปสมบทแก่สามเณรไทยหนึ่งรูปก่อนในคามวาสี เวลา
ค่าพระเจ้ากีรติศิริราชสิงหะเสด็จไปยังวัดบุปผารามพร้อมด้วยข้าราชบริพาร ทรง
อาราธนาพระสงฆไ์ ทยมพี ระอบุ าลีเป็นประธานให้อุปสมบทแก่สามเณรสิงหลผู้ใหญ่หก
รปู มีสามเณรสรณังกรเป็นประธาน ในวันอุปสมบทสามเณรสรณงั กรมีอายุ ๕๔ ป๒ี ๖

๒๕ ลังกากุมาร, ตามรอยพระอุบาลีไปฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาท่ีศรีลังกา,

(กรงุ เทพมหานคร : สาละ, ๒๕๕๒) หนา้ ๑๑๙.
๒๖ พระสาสนโสภณ, พระธรรมทูตไทยไปศรีลังกาในสมัยอยุธยา, พิมพ์คร้ังท่ี ๕,

(กรงุ เทพมหานคร : ชวนพิมพ์,๒๕๕๓), หนา้ ๖๖.

๑๒๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

กอ่ นที่สมณทูตชุดที่สองจะเดินทางไปถึงศรีลังกาน้ัน พระอุบาลีมรณภาพด้วย
โรคหูอักเสบ ภายในกุฏิวัดบุปผารามเมื่อปีพุทธศักราช ๒๒๙๙ พระเจ้าแผ่นดิศรีลังกา
ใหจ้ ัดพิธถี วายเพลิงศพอย่างยิ่งใหญ่สมเกียรติ โดยจัดขึ้นที่สุสานหลวงนามว่าอาดาหะ
นะมะลุวะ ปัจจุบันคือวัดอัศคิริยะเคดิเควิหาร หลังเสร็จส้ินพิธีถวายเพลิงศพแล้ว ทรง
รับสงั่ ใหส้ รา้ งเจดีย์บรรจุอฏั ฐิเพ่อื สักการบชู าซง่ึ มีปรากฎอย่จู นถึงปัจจุบัน

ในขณะท่ีประเทศศรีลังการับเอาพระพุทธศาสนาจากประเทศไทยจนกลายเป็น
นิกายที่สาคัญนิกายหนึ่งในศรีลังกาในปัจจุบันเรียกว่า “สยามวงศ์”หรือ “สยามนิกาย”
ซึ่งเป็นหน่ึงในนิกายที่สาคัญนิกายหนึ่งในสามนิกายของพระพุทธศาสนาในศรีลังกา
ปัจจุบัน ประเทศไทยก็รับเอาพระพุทธศาสนาจากศรีลังกาเข้ามาจนกลายเป็น “ลังกา
วงศ”์

พระรุ่งธรรม โชติธมฺโม ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากับประเทศไทยว่า ประเทศไทยและประเทศลังกามีความสัมพันธ์กัน
มาหลายร้อยปี สืบเนื่องจากการท่ีไทยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์เป็นศาสนา
ประจาชาติ การติดต่อระหว่างชาติทั้งสองซึ่งเห็นได้จาก รัชกาลพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ได้เข้ามาตั้งม่ันและเจริญรุ่งเรืองขึ้น
เป็นลาดับมา นับต้ังแต่กรุงสุโขทัยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์แล้ว ส่วนลังกา
ซ่ึงเป็นประเทศต้นวงศ์มักจะประสบปัญหาความยุ่งยากทางการเมืองทั้งภายในและ
ภายนอก มีหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่า การติดต่อระหว่างไทยกับลังกาในปลายสมัย
อยธุ ยา ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศนั้น ฮอลันดาซึ่งยึดครองดินแดนในเกาะ
ลังกาบางสว่ นอยู่ได้ มสี ว่ นสนับสนนุ ให้กษตั รยิ ล์ ังกาผู้ปกครองอาณาจักรแคนดีซึ่งยังคง
เป็นอสิ ระ ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือจากไทยในการฟื้นฟูพุทธศาสนา โดยท่ีฮอลันดา
หวังผลประโยชน์ในทางการเมืองและการค้า ผลของการติดต่อในช่วงน้ีก็คือ ได้มีการ
ก่อต้ังนิกายสยามวงศ์ ซ่ึงเป็นนิกายที่เก่าแก่และใหญ่ท่ีสุดของลังกาแม้กระท้ังทุกวันน้ี
ต่อมาลงั กาตอ้ งเผชิญกบั การขยายตัวของลัทธิจกั รวรรดนิ ิยมตะวันตกเป็นเวลานาน จน

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๒๓

ในที่สุดได้ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ถึงแม้อังกฤษจะมีนโยบายไม่เบียดเบียนพุทธ
ศาสนา แต่การพุทธศาสนาก็เสื่อมโทรงลง เน่ืองจากขาดผู้นาและองค์กรท่ีจะรวบรวม
พระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนเข้าด้วยกัน เพื่อฟื้นฟูทะนุบารุงพุทธศาสนาในประเทศ
ของตน คณะสงฆ์ลังกาจึงต้องอาศัยความช่วยเหลือจากประเทศท่ีนับถือพุทธศาสนา
เช่นเดียวกนั คอื ประเทศไทย

สาเหตุที่ฝุายลังกาเลือกท่ีจะขอรับความอุปถัมภ์จากไทยน้ัน นอกจากจะเป็น
เพราะมีพื้นฐานการนับถือศาสนาแบบเดียวกัน และความมั่นคงของพุทธศาสนาใน
ประเทศไทยแล้ว ยังมีเหตุผลสาคัญอีกข้อหน่ึงคือ ไทยเป็นชาติที่นับถือพุทธศาสนา
แบบเถรวาทเพยี งประเทศเดียว ท่ียังคงรกั ษาเอกราชไวไ้ ด้ในขณะน้นั ๒๗

ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์เข้ามาเผยแผ่ใน
ประเทศไทยคร้ังแรกที่นครศรีธรรมราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัยข้ึน
ครองราชย์ในปีพุทธศักราช ๑๘๒๐ พระองค์ได้นิมนต์พระสงฆ์จากนครศรีธรรมราชมา
เผยแผ่ที่เมืองสุโขทัย ดังที่ปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง หลักท่ีหน่ึงว่า “เบื้อง
ตะวันตกสุโขทัยมีอรัญญิก พ่อขุนรามคาแหงกระทาโอยทานแก่มหาเถรสังฆราชเรียน
จบปิฏกไตรย หลวกกวา่ ปุคู รูในเมืองน้ี ทกุ คนลกุ แตเ่ มอื งศรีธรรมราชมา๒๘

ฐากูร พานิช บันทึกไว้ว่า “พระสงฆ์ชาวลังกาท่ีเดินทางมานครศรีธราชครั้ง
แรกมาตั้งแต่พุทธศตวรรษท่ี ๑๗ สมัยพระเจ้าปรากรมพาหุมหาราช ที่ทรงฟ้ืนฟูพระ
ธรรมวินัยและสยามก็ได้ส่งพระสงฆ์ไปบวชแปลงในลังกา ขากลับได้นิมนต์พระสงฆ์

๒๗ พิมพ์ราไพ เปรมสมิทธ์, ความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาระหว่างไทยกับลังกา
ต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๒๕) บทคดั ย่อ.

๒๘ ประชุมศิลาจารึกภาคที่ ๑, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี, ๒๕๒๑),หน้า ๒๒.

๑๒๔ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

ลังกานามว่าราหุลมาจาพรรษาทีน่ ครศรธี รรมราชด้วย และตอ่ มากไ็ ด้ต้งั ลังกาวงศ์ข้ึนใน
สยามประเทศ๒๙

ลังกาและไทยจึงมีการแลกเปล่ยี นศลิ ปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่อยมา
มีพระสงฆ์ไทยไปศึกษาพระปริยัติธรรมที่ศรีลังกาหลายรูป บางรูปกลับมาแต่งคัมภีร์
สาคัญทางพระพุทธศาสนา ในขณะที่พระสงฆ์จากศรีลังกาก็เดินทางมาพักจาพรรษา
ในประเทศไทย ปัจจุบันมีพระสงฆ์ไทยศึกษาท่ีประเทศศรีลังกาหลายรูปและใน
ขณะเดียวกันกม็ พี ระสงฆ์จากศรลี ังกาเขา้ มาศึกษาในประเทศไทยจานวนมาก

จนกระท่ังศรีลังกาเกือบสูญสิ้นสมณวงศ์ท้ังประเทศมีสามเณรเพียงรูปเดียว
นามว่าสามเณรสรณังกร สาเหตุท่ีพระสงฆ์ในศรีลังกาไม่มีน้ันมีสาเหตุสาคัญหลาย
ประการ ดังที่ลังกากุมารเขียนไว้ในตามรอยพระอุบาลีไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาท่ีศรี
ลังกาตอนหนึ่งว่า “ส่วนหนึ่งมาจากคณะสงฆ์เองนาเอาคติความเช่ือแบบมหายานและ
ลัทธิฮินดูเข้ามาผสมผสานกับคาสอนแบบเถรวาท ความเช่ือเหล่าน้ีได้กลืนเป็นเนื้อ
เดียวกับจารีตแบบพุทธ จนกระท่ังพิธีกรรมกลายเป็นคาสอนหลัก ส่วนหนึ่งมาจาก
การละเลยเพิกเฉยของสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งน้ีเน่ืองมาจากสถานการณ์ทาง
การเมืองที่สับสนวุ่นวายเกิดการแก่งแย่งชิงดีกันระหว่างราชวงศ์สิงหลด้วยกันเอง
นอกจากน้ันนักล่าอาณานิคมตะวันตกคือโปรตุเกสเข้ามามีบทบาททางการเมืองแล้ว
เผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาธิลิกด้วยวิธีการที่รุนแรง เพื่อถอนรากถอนโคน
พระพุทธศาสนา และสุดท้ายกษัตริย์สิงหลเองทาลายล้างพระพุทธศาสนาจนสูญส้ิน
สมณวงศ์ เพราะทรงหันไปนบั ถอื ลทั ธิฮินดูนกิ ายไศวะ”๓๐

๒๙ ฐากูร พานิช, ไทย-ศรีลังกา กัลยาณมิตร, (กรุงเทพมหานคร : อัมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนดพ์ บั ลชิ ชงิ่ , ๒๕๔๕), หนา้ ๒๓.

๓๐ ลังกากุมาร, ตามรอยพระอุบาลีไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่ศรีลังกา,
(กรุงเทพมหานคร : สาละ, ๒๕๕๒), หน้า ๑๑๙.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๒๕

ในปีพุทธศักราช ๒๒๙๓ พระเจ้ากีรติศรีราชสิงหะ กษัตริย์ศรีลังกามีความ
ศรัทธาแรงกล้าที่จะฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับคืนสู่ศรีลังกาอีกคร้ัง จึงได้ส่งราชทูต
มายังกรุงศรีอยุธยา ลังกากุมารบันทึกไว้ว่า “พ.ศ. ๒๒๙๓ คณะราชทูตออกเดินทาง
จากท่าเรือตรินโคมาลี โดยเรือของฮอลันดานามว่าเวลตรา การเดินทางคร้ังนั้นผ่าน
เมืองอะแจ สุมาตราและแวะพักที่มละกาเป็นเวลาห้าเดือน เพื่อหลีกเลี่ยงฤดูมรสุม
จากนั้นคณะราชทูตได้เดินทางเข้ามายังปากน้าเจ้าพระยา ผ่านเมืองบางกอกและ
นนทบุรี”๓๑

ปีพุทธศักราช ๒๒๙๔ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาโปรดให้
คัดเลือกพระสงฆ์ท่ีแตกฉานในพระไตรปิฎกและเคร่งครัดในพระธ รรมวินัย
ประกอบด้วยพระสงฆ์ ๒๔ รูป นาโดยพระอุบาลีมหาเถระและพระอริยมุนีมหาเถระ
พร้อมท้ังสามเณรอีกเจ็ดรูป ออกเดินทางด้วยเรือกาป่ันหลวงที่เพ่ิงต่อข้ึนใหม่เพื่อให้
เป็นพาหนะส่งคณะสงฆ์ไทยไปลังกา แต่การเดินทางในคร้ังนั้นมิได้ราบรื่นเรือกาป่ัน
ของพระสมณทูตถูกคล่ืนใหญ่ซัดจนมาเกยต้ืนท่ีเมืองนครศรีธรรมราช คณะสงฆ์ชุดน้ัน
จงึ ไปไมถ่ ึงลังกา

ปีพุทธศักราช ๒๒๙๕ คณะสงฆ์ชุดเดิมออกเดินทางอีกครั้งโดยเรือกาปั่น
ฮอลันดา ขึ้นฝ่ังที่ท่าเรือตรินโคมาลี พระเจ้ากีรติศรีราชสิงหะรับส่ังให้ขุนนางผู้ใหญ่
ต้อนรับและเชิญพระสงฆ์และคณะราชทูตไทยเข้ามายังเมืองแคนด้ี โปรดให้พระสงฆ์
ไทยไปพักที่วัดบุปผาราม ปัจจุบันคือวัดมัลวัตตะ จากน้ันพระอุบาลีได้ทาการ
อปุ สมบทภิกษชุ าวสงี หลจานวน ๗๐๐ รปู และบรรพชาสามเณรอกี ๓,๐๐๐ รปู

เจดียบ์ รรจอุ ัฏฐิพระอบุ าลี
๓๑ ลังกากมุ าร, ตามรอยพระอบุ าลไี ปฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาท่ศี รีลงั กา,หน้า ๑๒๒.

๑๒๖ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระสาสนโสภณ (พิจิตร) ได้บันทึกถึงการอุปสมบทไว้ตอนหน่ึงว่า “วันขึ้น ๑๕
ค่า เดือน ๘ พระอุบาลีให้อุปสมบทแก่สามเณรไทยหนึ่งรูปก่อนในคามวาสี เวลาค่าพระ
เจ้ากีรติศิริราชสิงหะเสด็จไปยังวัดบุปผารามพร้อมด้วยข้าราชบริพาร ทรงอาราธนา
พระสงฆ์ไทยมีพระอุบาลีเป็นประธานให้อุปสมบทแก่สามเณรสิงหลผู้ใหญ่หกรูป มี
สามเณรสรณงั กรเป็นประธาน ในวันอุปสมบทสามเณรสรณงั กรมีอายุ ๕๔ ปี๓๒

กอ่ นที่สมณทูตชุดที่สองจะเดินทางไปถึงศรีลังกาน้ัน พระอุบาลีมรณภาพด้วย
โรคหูอักเสบ ภายในกุฏิวัดบุปผารามเม่ือปีพุทธศักราช ๒๒๙๙ พระเจ้าแผ่นดิศรีลังกา
ใหจ้ ัดพิธีถวายเพลิงศพอย่างย่งิ ใหญ่สมเกียรติ โดยจัดขึ้นที่สุสานหลวงนามว่าอาดาหะ
นะมะลุวะ ปัจจุบันคือวัดอัศคิริยะเคดิเควิหาร หลังเสร็จส้ินพิธีถวายเพลิงศพแล้ว
ทรงรับส่ังใหส้ ร้างเจดยี ์บรรจุอัฏฐิเพือ่ สกั การบชู าซงึ่ มปี รากฎอยูจ่ นถงึ ปจั จบุ นั

ในขณะที่ประเทศศรีลังการับเอาพระพุทธศาสนาจากประเทศไทยจนกลายเป็น
นิกายท่สี าคัญนิกายหน่ึงในศรลี งั กาในปัจจบุ ันเรียกวา่

“สยามวงศ์”หรือ “สยามนิกาย”ซ่ึงเป็นหนึ่งในนิกายที่สาคัญนิกายหน่ึงในสาม
นิกายของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาปัจจุบัน ประเทศไทยก็รับเอาพระพุทธศาสนา
จากศรีลังกาเขา้ มาจนกลายเปน็ “ลงั กาวงศ”์

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาททีม่ ีตอ่ ประชาชนในประเทศศรี
ลงั กา: พทุ ธศาสนาได้รองรับโดยกฎหมายของรัฐ ดังปรากฏในกฎหมายสิงหล
โบราณว่า "ผู้ทาลายเจดียแ์ ละต้นโพธ์ิ กบั ผทู้ ปี่ ล้นสะดมทรัพย์ของศาสนามีโทษถึงตาย"
กฎหมายนี้ใช้บังคับชาวศรีลังกาทุกระดับชั้น รวมท้ังคนต่างชาติด้วย และคงมีการ
บงั คับใชม้ านานแล้ว ตงั้ แต่รัชกาลพระเจ้าเอลระ ซง่ึ เปน็ ชาวทมิฬ ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๕

๓๒ พระสาสนโสภณ, พระธรรมทูตไทยไปศรีลังกาในสมัยอยุธยา, พิมพ์คร้ังที่ ๕,
(กรุงเทพมหานคร : ชวนพมิ พ์,๒๕๕๓), หนา้ ๖๖.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๒๗

ความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม: วิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ระบบวรรณะ
ในสังคมลังกาได้ถูกลดความสาคัญลง แม้ว่าวิถีชีวิตของชาวลังกาในช่วงเริ่มต้นสมัย
ประวัติศาสตร์ จนถึงช่วงก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเข้ามาประดิษฐาน ระบบวรรณะได้
ลดความเขม้ ข้นลงดว้ ยอทิ ธิพลคาสอนทางพทุ ธศาสนา นอกจากนนั้ ยังมีอิทธิพลด้านอื่น
ๆ อีก เช่น ชื่อของบุคคลต่าง ๆ ได้มีการนาเอาช่ือทางพุทธศาสนามาต้ังเป็นช่ือของ
บุคคล นับตั้งแต่กษัตริย์ ราชวงศ์ จนถึงประชาชนทั่วไป เช่น พระเจ้าพุทธทาสะ พระ
เจ้าสังฆติสสะ พระเจ้าโมคคัลลานะ พระเจ้ากัสปะ พระเจ้า มหินทะ เป็นต้น จะ
ปรากฏเห็นว่ามีช่ือของบุคคลสาคัญทางพุทธศาสนา ปรากฏเป็นพระนามของกษัตริย์
ลงั กาหลายพระองค์

การกาหนดเอาวันธรรมสวนะเป็นวันหยุดราชการ งานทุกชนิดต้องหยุดในวัน
พระ เม่ือถึงวันพระชาวสิงหลจะถืออุโบสถศีล และประกอบศาสนกิจต่าง ๆ พระเจ้า
แผ่นดนิ ไดอ้ อกกฎหมาย “มาฆาตะ” คอื ห้ามฆ่าสัตว์และเบียดเบียนชีวิตสัตว์ จนอาชีพ
นายพรานได้หายไป นอกจากน้ันรัฐบาลศรีลังกาได้ถือเอาพุทธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติ

อิทธิพลทางด้านการเมืองการปกครอง : ในด้านการเมืองนั้น พระภิกษุมี
บทบาทอย่างมาก พระภิกษุมีความผูกพันกับประชาชนและชนช้ันปกครองอย่าง
ใกล้ชดิ จงึ มีบทบาทหลายประการ ไดแ้ ก่

๑) บทบาททางการเมือง พระภิกษุมีความใกล้ชิดและมีอิทธิพลต่อประชาชน
ส่วนใหญ่มีบทบาทในการไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทระหว่างผู้นาทางการเมือง ดังกรณีพระ
โคธกัฑตะ ตสิ สะเถระ สามารถเจรจายุติสงครามการเมืองยืดเย้ือ ระหว่างพระเจ้าวัฎฎ
คามนอี ภัยกับแมท่ ัพของพระองคใ์ หส้ งบลงได้

๒) บทบาทในการเป็นท่ีปรึกษาของกษัตริย์ เน่ืองจากพระภิกษุได้มีโอกาส
ถวายการอบรมสั่งสอนแก่บรรดาเจ้าชายต่าง ๆ เม่ือเจ้าชายเหล่าน้ีข้ึนครองราชย์
พระภิกษุก็จะกลายเป็นราชครู มีบทบาทต่อการกถวายคาแนะนาแก่กษัตริย์ ดังกรณี

๑๒๘ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

พระสังฆมิตตเถระเป็นราชครูของพระเจ้ามหาเสนะ มีอิทธิพลต่อพระเจ้ามหาเสนะ
อย่างมาก พระองค์จะทรงปฏิบัติตามคาแนะนาของพระสังฆมิตตะเกือบทุกเร่ือง
โดยเฉพาะการรบั ส่งั ให้ทาลายคณะสงฆ์ฝุายมหาวิหาร

๓) บทบาทในการเลือกแต่งต้ังพระมหากษัตริย์ เม่ือปลายพุทธศตวรรษที่ ๕
พระเจ้าสัทธาติสสะสวรรคต คณะเสนาบดีและคณะสงฆ์ประชุมกัน ณ ถูปาราม ได้
เลือกเจ้าชายถุลถนะ ข้ึนครองราช ตามหลักการแล้วก็น่าจะเป็นเจ้าชายลันชติสสะ
พระเชษฐา แตค่ ณะสงฆ์ไมส่ นับสนนุ

๔) บทบาททางการศึกษา ตั้งแต่พุทธศาสนาเข้ามาประดิษฐานในลังกา
พระภิกษุสงฆ์ได้เข้ามามีบทบาทต่อการทาหน้าที่เป็นครูอบรมส่ังสอนประชาชน แทน
พวกพราหมณ์ ท่ีเคยคาหน้าท่ีน้ีมาก่อน มีวัดเป็นศูนย์กลางในการการศึกษาอบรม
ศีลธรรมจรรยาแก่กลุ บตุ รกุลธิดา

บทบาททางวรรณกรรม : พระสงฆ์มีบทบาทต่อด้านวรรณกรรม พระสงฆ์มี
บทบาทต่อการร้อยกรองวรรณกรรม ได้ผลิตวรรณกรรมจานวนมาก โดยเฉพาะคัมภีร์
มหาวงศ์ และทีปวงศ์ ซ่งึ เป็นพงศาวดารทางประวตั ิศาสตรข์ องลังกา

บทบาททางศลิ ปกรรม : ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ เป็นบ่อเกิดแห่งศิลปะอัน
ทรงคณุ ค่าของลังกา ศิลปะอันงดงามเกิดจากความศรัทธาเล่ือมใสในพุทธศาสนา แล่ว
บรรจงสร้างอย่างประณีต พุทธศาสนิกชนลาวลังกาถือว่า การก่อสร้างวัตถุสถานทาง
พุทธศาสนาได้บุญอานิสงส์มากจึงได้สร้าง ศาสนวัตถุมากมาย นอกจากเป็นงานของ
ฆราวาสแลว้ พระภกิ ษุสงฆเ์ องก็มีสว่ นสาคัญท่ีทาให้ศิลปกรรมแพร่หลาย ด้วยพระสงฆ์
ก็เป็นผ้ทู มี่ ีฝีมอื ในการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะ

พระวีระชาติ ธีรสิทฺโธ ได้กล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากบั ประเทศไทยวา่

ประเทศไทยไมไ่ ด้เป็นหนี้บุญคุณศรีลังกาเพียงฝุายเดียว ไทยเรายังได้มีโอกาส
ตอบแทนคุณศรีลังกาเมื่อ ๒๕๓ ปที ผี่ ่านมาสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ยุคน้ันคณะสงฆ์ใน

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๒๙

ศรีลังกาได้สูญสลายไปเนื่องจากประเทศถูกภัยคุกคามจากโปรตุเกสเป็นเวลานาน ท้ัง
เกาะศรีลังกาคร้ังน้ันมีแต่คณะสามเณรซึ่งมีสามเณรสรณังกรเป็นหัวหน้า สามเณร
เหล่าน้ันบวชเป็นพระภิกษุไม่ได้เพราะไม่มีพระอุปัชฌาย์และพระอันดับ กษัตริย์ศรี
ลังกาจึงส่งราชทูตมายังกรุงศรีอยุธยาเพ่ือขอสมณทูตจากสยามไปฟ้ืนฟูสมณวงศ์ในศรี
ลงั กา

คณะพระธรรมทูตจากสยามในยุคนั้นนาโดยพระอุบาลีได้เดินทางไปศรีลัง กา
แล้วทาพิธีให้การอุปสมบทสามเณรสรณังกรและคณะเป็นพระภิกษุ พระอุบาลีฟ้ืนฟู
สมณวงศ์ในศรีลังกาเป็นผลสาเร็จจนสามารถก่อตั้งคณะสงฆ์ท่ีเป็นนิกายใหญ่ท่ีสุดและ
ทรงอิทธิพลท่ีสุดในศรีลังกาปัจจุบันมีชื่อว่าสยามนิกาย เพราะสืบเชื้อสายสมณวงศ์มา
จากสยามหรือประเทศไทย หลังจากเกิดสยามนิกายข้ึนในศรีลังกาได้ประมาณ ๕๐ ปี
ก็เกิดนิกายท่ี ๒ ตามมาเรียกว่าอมรปุรนิกาย ซึ่งสืบเช้ือสายสมณวงศ์มาจากพม่า และ
มนี ิกายท่ี ๓ เกิดตามมาเป็นน้องสดุ ท้องเรียกว่ารามัญญนิกาย นิกายนี้สืบเช้ือสายสมณ
วงศ์มาจากมอญ คณะสงฆ์ศรีลังกาในปัจจุบันแบ่งออกเป็น ๓ นิกายหลักคือ สยาม
นิกาย อมรปรุ นิกายและรามัญญนกิ าย แต่ละนิกายต่างมีประมุขสงฆ์สูงสุดเรียกว่าพระ
มหานายกปกครองตนเองนิกายใครนิกายมัน ตาแหน่งพระมหานายกของศรีลังกานี้
เทียบได้กับตาแหน่งสังฆนายกของไทยในสมัยที่ยังใช้ พ.ร.บ. คณะสงฆ์ ๒๔๘๔ ศรี
ลงั กาเคยมพี ระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายกเพยี งรปู เดยี วคอื พระสรณังกรแห่งสยาม
นิกาย ผู้เป็นศิษย์รูปแรกของพระอุบาลี ภายหลังท่ีเกิดอมรปุรนิกายข้ึนมา ตาแหน่ง
พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายกก็ถูกยกเลิกไป คงเหลือแต่ตาแหน่งพระมหานายก
มาจนถึงปัจจุบัน ทุกวันน้ี สยามนิกายได้แบ่งออกเป็น ๒ นิกายย่อย ได้แก่ มัลวัตตะ
(Malwatta) และ อัสคิริยะ (Asgiriya) และมีพระมหานายก ๒ รูป คือ พระมหานายก
ฝาุ ยมัลวัตตะ และพระมหานายกฝาุ ย อสั คริ ิยะ

๑๓๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

พระศุภราชัย สุรสกฺโก ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากับประเทศไทย: ความสัมพันธ์ของการรับเอาพระพุทธศาสนามาสถิตตั้ง
ม่นั ใน ๒ ประเทศคือ ลังกาวงศ์ในสยาม (ไทย) และสยามวงศ์ในลังกา (ศรีลังกา) น้ัน ได้มี
มาอย่างช้านาน ต่างก็รับเอาวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนามาปฏิบัติซ่ึงกันและกัน โดย
ฝุายไทยหรือสยามได้รับเอาพระพุทธศาสนาจากศรีลังกาเข้ามายึดถือ ปฏิบัติมาก่อนเป็น
ระยะเวลาเกือบ ๑,๐๐๐ ปีมาแล้ว การรับเอาพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์เข้าสู่ประเทศ
สยามจะเข้ามาทางเส้นใดนน้ั ได้ปรากฏหลกั ฐานหลายกระแส ในส่วนของนครศรีธรรมราช
ไ ด้ ป ร า ก ฏ ห ลั ก ฐ า น ว่ า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ลั ง ก า ว ง ศ์ ไ ด้ เ ข้ า สู่ เ มื อ ง ต า ม พ ร ลิ ง ค์
(นครศรีธรรมราช) มาต้ังแต่พุทธศตวรรษ ท่ี ๑๖ โดยในตานานเมืองนครศรีธรรมราช
และตานานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ได้กล่าวถึงชนกลุ่มใหญ่ที่เข้ามาต้ังถ่ินฐานใน
แคว้นตามพรลิงค์ภายหลังจากการโจมตีของโจฬะ ชนกลุ่มน้ีเป็นกลุ่มชนท่ีมาจากลังกา
โดยเฉพาะกลุ่มชนและภิกษุสงฆ์ที่ย้ายถิ่นฐานมาจากดินแดนในคาบสมุทร และเข้ามา
รวมกันกับกลุ่มซ่ึงอาศัยอยู่ในพื้นที่ดั้งเดิมได้แก่ ชนพื้นเมือง กับชนเช้ือสายอินเดียท่ีเข้า
ตั้งถ่ินฐานแต่เดิม ชนสามกลุ่มน้ีได้ผสมผสานกันโดยมีพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์เป็น
แกนกลาง รปู แบบ ความเชอ่ื ของผู้คนในแคว้นตามพรลิงค์จึงคล้อยตามไปทางลังกาเป็นสู่
วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบทาง ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และการบันทึกตานาน โดยมี
ศูนย์กลางชุมชนบนหาดทรายแก้วในบริเวณ ที่เป็น “เมืองพระเวียง” (ตาบลในเมือง
อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราชในปจั จุบนั )

นับตั้งแต่พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ได้เข้ามา เจริญรุ่งเรืองและแพร่หลายท่ัวไป
ในประเทศสยาม นับจากพระเจ้าจันทรภาณุแห่งเมืองนครศรีธรรมราช สู่พ่อขุน
รามคาแหงแห่งกรุงสุโขทัย ผ่านรัชสมัย ของพระมหากษัตริย์ไทยหลายยุคหลายสมัย
จวบจนถงึ รชั สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่ง
กรุงศรีอยุธยา ซ่ึงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๗๑ – ๒๓๐๑ อันตรงกับรัชสมัยของพระ
เจ้าศรีวิชัยราชสิงห์ แห่งศรีลังกา ซ่ึงครองราชย์ ในปี พ.ศ. ๒๒๘๒ พระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๓๑

ลังกาวงศ์ในศรีลังกาได้ผ่านภาวะเสื่อมถอยจนถึงขั้นวิกฤติเนื่องจากถูกภัยคุกคามจาก
พวกทมิฬ และ ชนชาติตะวันตกดังได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น พระพุทธศาสนาในศรี
ลังกาขาดพระภิกษุสงฆ์ ยังคงเหลอื เพียงสามเณรสรณงั กรผเู้ ลอ่ื มใสในพระพุทธศาสนา
เปน็ กาลังหลักในการฟนื้ ฟูศาสนา “...สามเณร สรณังกรได้ถวายพระพรพระเจ้าศรีวิชัย
ราชสิงหใ์ ห้สง่ ราชทตู ไปนิมนตพ์ ระสงฆ์ไทยไปฟน้ื ฟพู ระพุทธศาสนาในศรีลังกา พระเจ้า
ศรีวิชัยราชสิงห์จึงได้ส่งราชทูตพร้อมด้วยพระราชสาสน์ไปยังกรุงศรีอยุธยา พวก
ราชทูตอาศัยเรือสาเภาของฮอลันดาไปแวะท่ีเมืองปัตตาเวีย เกาะชวา พวกราชทูตศรี
ลังกาฝาก พระราชสาส์นและเคร่ืองราชบรรณาการไว้ท่ีเกาะชวาแล้วเดินทางต่อไปยัง
กรุงศรีอยุธยาเพื่อดูลู่ทาง ความเป็นไปได้ในการขอสมณทูตสยาม พวกราชทูตได้เข้า
เฝูาพระเจ้าแผ่นดินสยามและได้ความมั่นใจ ว่าทางสยามพร้อมที่จะ ส่งสมณทูตไปศรี
ลังกา แต่เนื่องจากพวกราชทูตไม่ได้นาพระราชสาส์นจาก ศรีลังกาติดตัวไปเข้าเฝูา
พวกเขาจึงต้องเดินทางกลับเกาะชวาเพ่ือนาพระราชสาส์นไปถวายพระเจ้า แผ่นดิน
สยาม ในระหวา่ งเดินทางกลบั ไปเกาะชวานั้นเอง พวกราชทูตก็ได้ข่าวการสวรรคตของ
พระเจ้า ศรีวิชัยราชสิงห์ จึงพากันเปลี่ยนใจเดินทางกลับศรีลังกา...” ต่อมาพระเจ้า
กิตติสิริราชสิงห์ ได้ข้ึน ครองราชย์เป็นรัชกาลต่อมาเม่ือปี พ.ศ. ๒๒๙๐ หลังจาก
ครองราชย์ได้ ๓ ปี พระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ ได้ตัดสินใจส่งคณะทูตมายังกรุงศรีอยุธยา
เพื่อนขอสมณทตู จากประเทศสยามไปช่วยฟนื้ ฟพู ระพุทธศาสนาในศรีลังกาอีกคร้ังหนึ่ง
เมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๒๙๓

พระสราวุฒิ วิสารโท ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากับไทย: ไทยและศรีลังกามีความใกล้ชิดทางศาสนาและวัฒนธรรม
เนื่องจากท้งั สองประเทศนับถือพทุ ธศาสนา ยอ้ นอดีตกลับไปเม่ือปี พ.ศ.๒๒๙๕ พระธรรม
ทูตจากประเทศไทย นาโดย พระอุบาลี มหาเถระ จากวัดธรรมาราม พระนครศรีอยุธยา
พร้อมด้วยพระสงฆ์ท่ีแตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นการเดินทางไปตามคาเชิญจาก พระ
เจ้ากีรติศรีราชสิงหะ กษัตริย์ศรีลังกาในยุคน้ัน ท่ีทรงต้องการฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาใน

๑๓๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ศรีลังกา ซ่ึงกาลังจะสูญสิ้น เนื่องจากไม่มีพระภิกษุสงฆ์ท่ีจะสามารถทาหน้าที่เป็นพระ
อุปัชฌาย์ได้ สาเหตุมาจากคณะสงฆ์ศรีลังกาในขณะน้ันนาเอาคติความเชื่อแบบ
มหายานและลัทธิฮินดูเข้ามาผสมผสานกับคาสอนแบบเถรวาท จนกระท่ังพิธีกรรม
กลายเป็นคาสอนหลัก ประกอบกับนกั ล่าอาณานคิ มตะวนั ตก

พระอธิการสายแพร กตปญฺโญ ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง
พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทย: ย้อนอดีตกลับไปเม่ือปี พ.ศ. ๒๒๙๕
พระธรรมทูตจากประเทศไทย นาโดย พระอุบาลีมหาเถระ จากวัดธรรมาราม จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา พร้อมด้วยพระสงฆ์ท่ีแตกฉานในพระไตรปิฎกและเคร่งครัดในพระ
ธรรมวนิ ยั อีก ๒๓ รปู ไดเ้ ดนิ ทางไปเพ่อื ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกาเป็นการ
เดินทางไปตามคาเชิญจาก พระเจ้ากีรติศรีราชสิงหะกษัตริย์ศรีลังกาในยุคนั้น ที่ทรง
ต้องการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ซึ่งกาลังจะสูญสิ้นเน่ืองจากไม่มีพระภิกษุสงฆ์ที่
จะสามารถทาหน้าท่ีเป็นพระอุปัชฌาย์ได้ สาเหตุมาจากคณะสงฆ์ศรีลังกาในขณะนั้น
นาเอาคติความเช่ือแบบมหายานและลัทธิฮินดูเข้ามาผสมผสานกับคาสอนแบบเถรวาท
จนกระท่ังพิธีกรรมกลายเป็นคาสอนหลัก ประกอบกับนักล่าอาณานิคมตะวันตก คือ
โปรตเุ กส เขา้ มามบี ทบาททางการเมืองแล้ว เผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกด้วย
วิธีการท่ีรุนแรง เพื่อถอนรากถอนโคนพระพุทธศาสนา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ทรงตอบรับคาเชิญในคร้ังน้ัน และทรงมีรับสั่ง
ให้คัดเลือกพระสงฆ์ เพ่ือเดินทางไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา โดยคณะ
พระธรรมทูตชุดดังกล่าวได้อุปสมบทให้กับชาวศรีลังกาจานวน ๗๐๐ รูป และบรรพชา
สามเณรอีก ๓,๐๐๐ รูปและหนึ่งในสามเณรที่ได้รับการอุปสมบทในครั้งน้ัน คือ
สามเณรเวลิวิตะ ศรีสรณังกร ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสังฆราช และทรง
สถาปนาพระพุทธศาสนานิกายสยามวงศ์ หรืออุบาลีวงศ์ขึ้นหลังจากน้ันพระพุทธศาสนา
ในประเทศศรีลังกาก็กลบั คืนมาเขม้ แข็งจนถึงปัจจบุ นั

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๓๓

พระอนุสรณ์ ปรกกฺ โม ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากับประเทศไทย: นับตั้งแต่พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ได้เข้ามา
เจริญรงุ่ เรอื งและแพรห่ ลายทั่วไปในประเทศสยาม นับจากพระเจ้าจันทรภาณุแห่งเมือง
นครศรีธรรมราช สู่พ่อขนุ รามคาแหงแห่งกรุงสุโขทัย ผ่านรัชสมัย ของพระมหากษัตริย์
ไทยหลายยุคหลายสมัย จวบจนถึงรชั สมยั พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ พระมหากษตั ริย์ แห่ง
ราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งกรงุ ศรอี ยุธยา ซึ่งครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๗๑ – ๒๓๐๑
อันตรงกับ รัชสมัยของพระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์ แห่งศรีลังกา ซ่ึงครองราชย์ ในปี พ.ศ.
๒๒๘๒ พระพุทธศาสนา ลังกาวงศ์ในศรีลังกาได้ผ่านภาวะเสื่อมถอยจนถึงข้ันวิกฤติ
เนื่องจากถูกภัยคุกคามจากพวกทมิฬ และ ชนชาติตะวันตกดังได้กล่าวมาแล้วใน
ตอนตน้ พระพทุ ธศาสนาในศรลี งั กาขาดพระภิกษุสงฆ์ ยังคงเหลือ เพียงสามเณรสรณัง
กรผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เป็นกาลังหลักในการฟื้นฟูศาสนา “...สามเณร สรณัง
กรได้ถวายพระพรพระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์ให้ส่งราชทูตไปนิมนต์พระสงฆ์ไทยไปฟ้ืนฟู
พระพุทธ- ศาสนาในศรีลังกา พระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์จึงได้ส่งราชทูตพร้อมด้วยพระ
ราชสาส์นไปยังกรุงศรีอยุธยา พวกราชทูตอาศัยเรือสาเภาของฮอลันดาไปแวะที่เมือง
ปัตตาเวีย เกาะชวา พวกราชทูตศรีลงั กาฝาก พระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการ
ไว้ท่ีเกาะชวาแล้วเดินทางต่อไปยังกรุงศรีอยุธยาเพ่ือดูลู่ทาง ความเป็นไปได้ในการขอ
สมณทูตสยาม พวกราชทูตได้เข้าเฝูาพระเจ้าแผ่นดินสยามและได้ความม่ันใจ ว่าทาง
สยามพรอ้ มทจ่ี ะ สง่ สมณทูตไปศรีลงั กา แต่เนือ่ งจากพวกราชทตู ไม่ได้นาพระราชสาส์น
จาก ศรีลังกาติดตัวไปเข้าเฝูา พวกเขาจึงต้องเดินทางกลับเกาะชวาเพ่ือนาพระราช
สาส์นไปถวายพระเจ้า แผ่นดินสยาม ในระหว่างเดินทางกลับไปเกาะชวาน้ันเอง พวก
ราชทู ตก็ได้ ข่าวการสวรรคตของพระเจ้าศรีวิชัยราชสิงห์ จึงพากันเปล่ียนใจเดินทาง
กลับศรลี ังกา...” ตอ่ มาพระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ ได้ข้ึน ครองราชย์เป็นรัชกาลต่อมาเม่ือ
ปี พ.ศ. ๒๒๙๐ หลังจากครองราชย์ได้ ๓ ปี พระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ ได้ตัดสินใจส่ง

๑๓๔ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ค ณ ะ ทู ต ม า ยั ง ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า เ พ่ื อ ข อ ส ม ณ ทู ต จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ส ย า ม ไ ป ช่ ว ย ฟ้ื น ฟู
พระพทุ ธศาสนาในศรลี ังกาอีกครัง้ หน่ึง เมอ่ื ปลายปี พ.ศ. ๒๒๙๓๓๓

เหตุผลที่พระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ ได้เลือกที่จะขอพระภิกษุจากสยามไปช่วย
ฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ในศรีลังกา น่าจะมีเหตุผลเพราะเห็นว่าพระภิกษุในประเทศ
สยามมีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยสูง และประเทศสยามเป็นประเทศท่ีรับ
พระพุทธศาสนาเถรวาทมาจากลงั กามาก่อน

คณะทูตของพระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ท่ีเดินทางมาประเทศสยามในครั้งน้ี มี
ท้ังหมด ๖๑ คน ในจานวนนัน้ มีทูต ๕ คน คือ ๑) วิลปาเกตตะตะ ๒) อายิตลิยัทเท ๓)
ปัตตะโปละ ๔) อัลเลโปละ และ ๕) อริยะคามะ นอกน้ันเป็นนักฟูอนราหมอดู ตารวจ
ออกเดินทางจากเมอื งแคนดี้ เม่ือวันท่ี ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๒๙๓ แต่ต้องไปค้างอยู่ที่
มะละกาถึง ๕ เดือน จึงจะแล่นเข้าสู่ปากน้าเจ้าพระยา และเข้าสู่กรุงศรีอยุธยา ใน
เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๒๙๔ ได้รับการต้อนรับอย่างดียิ่งจากพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ
หลังจากทราบความประสงค์ของคณะทูตที่เดินทางมา พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศก็
สนองตอบ ต่อความตอ้ งการอย่างเต็มที่๑๒ ดังจะได้กล่าวต่อไปถึงการเดินทางของคณะ
พระสงฆจ์ ากประเทศสยาม ในการประกอบภาระกิจฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนา ภายใต้การ
นาของพระอบุ าลีเถระในประเทศศรีลงั กา ทาให้เกดิ พระพทุ ธศาสนาสยามวงศ์ข้ึนในศรี
ลังกา ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๒๙๖ มาจนถึงปัจจุบันนี้นับเป็นเวลา ๒๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖
ซ่ึงท้ังสองประเทศได้ร่วมกันจัดงานเฉลิมฉลอง ๒๖๐ ปี สยามวงศ์อย่างยิ่งใหญ่ เมื่อ
เดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซ่ึงได้กล่าวแล้วในเบื้องต้น

ครัน้ พระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา ประเทศสยาม ได้ต้อนรับคณะ
ทตู ของพระเจา้ กิตติสริ ิราชสิงห์ ท่ีเดินทางจากเมืองแคนดี้ ศรีลังกา และทราบถึงความ
ประสงค์ของพระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ท่ีต้องการได้คณะสงฆ์จากประเทศสยามไปฟื้นฟู
พระพุทธศาสนาในศรลี ังกาแล้ว พระเจ้าอยู่หวั บรมโกศได้ทรงเลือกพระอุบาลีเถระเป็น

๓๓ สมบูรณ์ บญุ ฤทธิ์, “ลงั กาวงศ์ในสยามและสยามวงศ์ในศรลี ังกา”, หน้า ๔๕.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๓๕

หัวหน้าคณะสงฆ์เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศรีลังกาหลังจากนั้นยังได้โปรด
เกล้าฯ ใหพ้ ระอุบาลีเถระเป็นผู้คัดเลือกพระภิกษุร่วมคณะไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่
ศรีลังกาด้วยตนเอง พระอุบาลีเถระได้เลือกพระอริยมุนี ผู้แตกฉานเร่ืองพระไตรปิฎก
และพระมหานามะ ผู้รอบรอบรูใ้ นพระธรรมวินัยร่วมเดนิ ทางไปในครั้งน้ี๓๔

เม่ือพระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ ได้ทราบข่าวการมาถึงของคณะสมณทูต ทรงมี
พระกระแสรับส่ัง ให้อามาตย์ช้ันผู้ใหญ่ ๙ คน มีอัครมหาเสนาบดีเป็นหัวหน้านาของ
พระราชทานมาตอ้ นรับ ต่อจากนน้ั ก็มีขบวนแหข่ องศรีลงั กานาสูเ่ มืองแคนด้ี

ครั้นถึงเมืองแคนดี้ พระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ ทรงออกต้อนรับด้วยพระองค์เอง
บริเวณใกล้แม่น้า มหาเวลี จากน้ันได้แห่พระพุทธรูป และคณะเข้าไปยังเมืองหลวง
อย่างเอิกเกริก และทรงจัดพระราช อุทยานให้เป็นที่พักของคณะสงฆ์ ต่อมาสร้างเป็น
วดั เรยี กวา่ วดั บุปผาราม แต่ชาวศรีลังกาเรียกว่า วัดธรรมิกราช ตามคาเรียกขานพระ
นามพระเจา้ อยูห่ ัวบรมโกศแหง่ กรุงสยาม

เม่ือถึงวันเสาร์ เดือน ๘ ข้ึน ๑๕ ค่าพระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ เสด็จมายังวัดบุ
ปผารามพร้อม ข้าราชบริ พาร ทรงอาราธนาคณะสงฆ์ สยามมี พระอุ บาลี เถระเป็
นประธาน ให้ อุ ปสมบทแก่ สามเณรสิงหล ซึ่งเป็นสังฆนายก จานวน ๖ รูป ๑ ใน ๖
รูปนี้มีสามเณรสรณังกร รวมอยู่ด้วย การอุปสมบทในครั้งนี้ นับเป็นการอุปสมบทครั้ง
แรกของสยามวงศ์ในศรีลังกา เอกสารฝุายศรีลังการะบุว่า มีพระอุบาลีเถระเป็นพระ
อปุ ัชฌาย์ พระพรหมโชติและพระมหาบุญเป็นพระคู่สวด ผู้เข้าอุปสมบทเป็นพระสยาม
วงศ์ รูปแรก คือ สามเณรโกบแบกัตตุเว เจ้าอาวาสวัดโปยมะลุวิหาร รูปที่สองคือ
สามเณรนาวินเน เจ้าอาวาสวัดอัศคิริ ส่วนรูปที่สาม คือ สามเณรสรณังกร พระรูปน้ี
ต่อมาเป็นพระสังฆราช และเป็นกาลัง สาคัญยิ่งในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาสยาม

๓๔ สัจภูมิ ละออ, พระพุทธศาสน์สยามวงศ์โต้คลื่นไปม่ันคงที่ศรีลังกา,
(กรุงเทพมหานคร: ตถาตา, ๒๕๕๖) หนา้ ๔๗-๔๘.

๑๓๖ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

วงศ์ในศรีลังกา และอาจนับได้ว่าวันอุปสมบทคร้ังแรกน้ี เป็นวันเริ่มต้นของ
พระพทุ ธศาสนาสยามวงศ์๓๕

หลังจากวันอุปสมบท คือวันอาทิตย์ เดือน ๘ แรม ๑ ค่าเป็นวันเข้าพรรษา
พระเจา้ กิตติสิริ- ราชสิงห์ ได้ออกบาเพ็ญพระราชกุศล พระราชทานปัจจัยไทยทานแด่
พระภิกษุสงฆ์ และอารธนา พระสงฆ์สยามวงศ์ อธิษฐานพรรษาอยู่วัดบุปผาราม ณ
กรุงศิริวัฒนบุรี ซึ่งปัจจุบันคือ วัดมัลวัตตะ เมืองแคนดี พระอุบาลีเถระและคณะได้
พานักที่เมืองแคนด้ี ศรีลังกา ปฏิบัติภารกิจฟื้นฟูพระพุทธศาสนา บรรพชาและ
อปุ สมบทพระภิกษุ สามเณรแก่ชาวศรีลังกา เป็นพระภิกษุกว่า ๗๐๐ รูป เป็นสามเณร
กว่า ๓,๐๐๐ รูป ในระยะเวลา ๓ ปีกว่า ท่านก็อาพาธด้วยโรคหูอักเสบ และถึงแก่
มรณภาพไป ในปี พ.ศ. ๒๒๙๘ ระหว่างท่ีพระอุบาลีเถระอาพาธอยู่ท่ีเมืองแคนด้ี ศรี
ลงั กา พระเจ้าอยูห่ ัวบรมโกศ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ส่งสมณทูตจากสยามชุดใหม่เดินทาง
มาสับเปล่ียนกับสมณทูตชุดแรก ซึ่งเข้ามาปฏิบัติสมณกิจแล้ว เป็นเวลาถึง ๓ ปี สมณ
ทตู ชดุ ที่สองน้ีประกอบด้วย พระวิสุทธาจารย์ เป็นหัวหน้าคณะ ด้วยทรงเห็นว่า พระวิ
สุทธาจารย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวิปัสสนากัมมัฎฐาน ส่วนพระอุบาลีเถระน้ัน เป็น
ผู้เช่ยี วชาญดา้ นพระธรรมวนิ ัย หรือฝุายปริยัติ พระองค์ทรงต้ังพระราชหฤทัยว่า จักให้
ฝาุ ยปรยิ ัติ และปฏิบตั ิของสยามวงศไ์ ดเ้ จรญิ งอกงามในศรีลังกาควบคู่กันไป

เมื่อพระเจ้ากิตติสิริราชสิงห์ทรงทราบข่าว ได้ทรงจัดเสนาบดีนาไพร่พลกว่า
๑๕๐ คน พร้อมยา อาหารและส่ิงของเคร่ืองใช้ต่างๆ มาต้อนรับคณะสมณทูตอย่าง
เร่งด่วน ทรงรับส่ังให้พนักงานปลูกปะราพิธีต้อนรับสมณทูตสยามที่ริมแม่น้าวาลุกา
ส่วนพระองค์พร้อมด้วยบรมวงศานุวงศ์เสด็จไปต้อนรับ และนิมนต์คณะสมณทูตจาก
สยามให้เขา้ พักที่วดั บุปผาราม โดยมีคณะสงฆ์ชุดแรกรอต้อนรับอยู่แล้ว หลังจากนั้นไม่
นาน คณะสงฆ์ชดุ แรกก็เดินทางกลับกรุงศรีอยุธยาพร้อมด้วยราชทูตที่พาสมณทูตชุดท่ี

๓๕ เรอ่ื งเดียวกนั , หน้า ๕๖.

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๓๗

สองมา เม่ือมาถึงกรุงศรีอยุธยาก็ได้รับการต้อนรับจากพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศอย่าง
สมเกียรติ

พระสงฆ์สยามในศรีลังกาได้ปฏิบัติสมณกิจอย่างเข้มแข็ง ได้วางรากฐาน
พระพุทธศาสนา สยามวงศ์ โดยเร่ิมจากการท่องคาขานนาค การนุ่งห่ม จนถึงการใช้
บทสวดมนต์ต่างๆ การแสดง พระธรรมเทศนา และยังสอนเร่ืองวิปัสสนากัมมัฎฐานอีก
ด้วย ผลงานอันโดดเด่น นอกจากสอนเร่ือง ธรรมะแล้ว ยังได้เป็นผู้เริ่มต้นให้เกิด
ประเพณีแห่พระธาตุเขี้ยวแก้วอีกด้วย ขบวนแห่พระธาตุเขี้ยวแก้ว ของศรีลังกา หรือ
เปราเฮรา (Perahera) ยงั กระทาอยูต่ ราบจนทกุ วนั น้ี

การปฏิบัตสิ มณกิจอยา่ งเข้มแขง็ ของพระภิกษสุ ยามทั้งสองชดุ ในคร้ังน้ัน ทาให้
พระพุทธศาสนา สยามวงศ์มีความม่ันคงแข็งแรง สถิตถาวรอยู่ในประเทศศรีลังกา
ตราบจนถงึ ทกุ วนั น้ี

พระอุบาลีเถระ ในฐานะพระภิกษุสยามผู้เป็นหัวหน้าคณะสมณทูตจากสยาม
และเป็นผู้ฟ้ืนฟู พระพุทธศาสนาในศรีลังกาจนพระพุทธศาสนาสยามวงศ์เจริญรุ่งเรือง
ได้รับการยกย่องและเคารพ นับถือจากศรีลังกาเป็นอย่างมาก การที่ท่านได้มรณภาพ
ในประเทศศรีลังกาในขณะปฏิบัติศาสนกิจ ย่อมแสดงถึงความเสียสละท่ีย่ิงใหญ่ของ
ท่านในการถวายชีวิตเป็นธรรมพลีเพ่ือยังพระพุทธศาสนา ให้ตั้งมั่นถาวรสืบไปในโลก
เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณงามความดีของพระอุบาลีเถระในฐานะพระธรรมทูต จาก
ประเทศสยาม ประเทศศรีลังกาจึงได้สร้างรูปหล่อของท่านประดิษฐานไว้ ณ วัดบุ
ปผาราม เมืองแคนดี้ กุฎิท่ีท่านเคยจาพรรษาและส่ิงของท่ีท่านเคยใช้สอยขณะจา
พรรษาอยใู่ นศรลี ังกาท่ียงั คง หลงเหลอื อย่นู ้ัน ยังได้รับการอนุรักษ์เอาไว้ที่วัดบุปผาราม
เพือ่ เปน็ เคร่อื งระลกึ ถงึ และเปน็ สิง่ เคารพ ของชาวศรลี ังกามาจนทุกวันน้ีเชน่ กนั ๓๖

๓๖ สมบรู ณ์ บญุ ฤทธิ์, “ลังกาวงศใ์ นสยามและสยามวงศใ์ นศรีลงั กา”, หน้า ๕๑.

๑๓๘ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

สรุปไดว้ า่ เมอื่ ครั้นพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกาเจริญรุ่งเรือง และทา
การสังคายนาจากการท่องจาสู่หนังสือเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นคัมภีร์พระไตรปิฎก
ประเทศต่างๆ ท่ีใกล้เคียงก็ได้มาคัดลอกพระไตรปิฎกที่ประเทศศรีลังกาศรีลังกา หน่ึง
ในน้ัน ก็มีสยามประเทศมาด้วย คร้ังเม่ือพระพุทธศาสนาในพระเทศศรีลังกาเร่ิมเสื่อม
ลงจนเหลือแตส่ ามเณรจากการแย่งชิงบ้านเมอื งกัน กษตั ริย์ศรีลังกาก็ได้ส่งราชทูตมายัง
ประเทศไทยเพื่อขอให้ส่งพระสงฆ์มาอุปสมบทให้แก่สามเณรและช่วยทานุบารุง
พระพุทธศาสนาในพระเทศศรีลังกาจน พระพุทธศาสนาในพระเทศศรีลังกา
เจริญรงุ่ เรอื งมาถึงปัจจบุ ัน

นางเจอื จันท์ วังทะพันธ์ ไดก้ ลา่ วถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลังกากับประเทศไทยว่า ประเทศไทยและประเทศลังกามีความสัมพันธ์กัน
มาหลายร้อยปี สืบเน่ืองจากการที่ไทยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์เป็นศาสนา
ประจาชาติ การติดต่อระหว่างชาติทั้งสองเป็นลักษณะการให้และการตอบแทน
กล่าวคือในตอนต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ไทยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์จาก
ลังกา และต่อมาเมื่อทางลังกาเกิดปัญหายุ่งยากทางการเมืองในปลายพุทธศตวรรษท่ี
๒๓ หมดสิ้นสมณวงศ์ ฝาุ ยไทยได้สนองตอบด้วยการช่วยเหลือก่อตั้งนิกายสยามวงศ์ใน
ลงั กา หลังจากนนั้ ได้มีความสัมพนั ธใ์ กล้ชิดต่อมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะใน
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงทางลังกาได้ขอรับความอุปถัมภ์
ทางพุทธศาสนาอกี ครัง้ หนงึ่ และยกย่องพระองค์เป็น “อคั รศาสนูปถัมภก” ในประเทศ
ตน สาเหตุท่ีไทยและลังกามีความสัมพันธ์อันใกล้ชิดต่อกันตลอดระยะเวลายาวนาน
โดยเน้นในเรื่องความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาต้ังแต่รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม
โกศ ซึ่งได้มีการก่อต้ังนิกายสยามวงศ์ในลังกา จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการศึกษาพบว่า พุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ได้เข้ามาตั้งมั่น
และเจริญรุ่งเรืองข้ึนเป็นลาดับมา นับต้ังแต่กรุงสุโขทัยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกา
วงศ์แล้ว ส่วนลังกาซ่ึงเป็นประเทศต้นวงศ์มักจะประสบปัญหาความยุ่งยากทาง

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๓๙

การเมืองทั้งภายในและภายนอก มีหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่า การติดต่อระหว่างไทย
กับลังกาในปลายสมัยอยุธยา ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศน้ัน ฮอลันดาซึ่ง
ยดึ ครองดินแดนในเกาะลังกาบางส่วนอยู่ได้ มีส่วนสนับสนุนให้กษัตริย์ลังกาผู้ปกครอง
อาณาจักรแคนดี ซึ่งยังคงเป็นอิสระให้ติดต่อขอความช่วยเหลือจากไทยในการฟื้นฟู
พุทธศาสนา โดยทีฮ่ อลันดาหวงั ผลประโยชน์ในทางการเมอื งและการค้า

ผลของการติดต่อในช่วงน้ีก็คือ ได้มีการก่อต้ังนิกายสยามวงศ์ ซ่ึงเป็นนิกายท่ี
เกา่ แก่และใหญท่ ส่ี ดุ ของลังกาแม้กระทั้งทุกวันนี้ ต่อมาลังกาต้องเผชิญกับการขยายตัว
ของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตกเป็นเวลานาน จนในที่สุดได้ตกเป็นอาณานิคมของ
อังกฤษ ถงึ แม้องั กฤษจะมนี โยบายไมเ่ บยี ดเบียนพุทธศาสนา แต่การพุทธศาสนาก็เสื่อม
โทรงลง เน่ืองจากขาดผู้นาและองค์กรท่ีจะรวบรวมพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชนเข้า
ดว้ ยกนั เพื่อฟ้นื ฟทู ะนบุ ารุงพุทธศาสนาในประเทศของตน คณะสงฆ์ลังกาจึงต้องอาศัย
ความช่วยเหลือจากประเทศที่นับถือพุทธศาสนาเช่นเดียวกันคือประเทศไทย ดังที่ได้มี
การเสนอท่ีรับการบวชแปลงเป็นธรรมยุติกนิกาย และการขออยู่ใต้การปกครองคณะ
สงฆ์จากฝุายไทย แม้ความประสงค์ดังกล่าวนี้จะไม่ได้รับการตอบสนองโดยตรง ฝุาย
ไทยก็พยายามหาหนทางช่วยเหลือในขอบเขตที่สามารถจะทาได้ สาเหตุท่ีฝุายลังกา
เลือกที่จะขอรับความอุปถัมภ์จากไทยน้ัน นอกจากจะเป็นเพราะมีพ้ืนฐานการนับถือ
ศาสนาแบบเดียวกัน และความม่ันคงของพุทธศาสนาในประเทศไทยแล้ว ยังมีเหตุผล
สาคัญอีกข้อหนึ่งคือ ไทยเป็นชาติที่นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาทเพียงประเทศเดียว
ทย่ี งั คงรกั ษาเอกราชไวไ้ ด้ในขณะนน้ั

นางสาวจันทร์ศิริ พลอยงาม ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง
พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทย : ประเทศไทยกับสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยศรีลังกา มีความสัมพันธ์ทางด้านพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนาน
ย้อนกลบั ไปเม่ือกวา่ ๗๐๐ ปีก่อน พระธรรมทตู จากประเทศไทย นาโดย พระอุบาลี
มหาเถระ จากวัดธรรมาราม จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมด้วยพระสงฆ์ที่แตกฉาน


Click to View FlipBook Version