The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Keywords: พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

๑๔๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

พระไตรปิฎก และเคร่งครัดในพระธรรมวินัย อีก ๒๓ รูป ได้เดินทางไปเพื่อฟื้นฟู
พระพุทธศาสนาในศรีลังกา ซึ่งเป็นการเดินทางไปตามคาเชิญของพระเจ้ากีรติศรี
ราชสิงหะ กษตั รยิ ์ศรีลงั กาในยคุ นน้ั ที่ทรงต้องการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา
ทก่ี าลงั จะสญู สนิ้ หลงั ยคุ ลา่ อาณานิคมประเทศตะวันตกในส่วนของคณะสงฆ์ไทย มหา
เถรสมาคม สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย ได้ดาเนินโครงการกิจกรรมนานาชาติ เร่ืองการเฉลิมฉลองครบ ๒๖๐ ปี แห่ง
การสถาปนาพระพุทธศาสนานิกายสยามวงศ์ในศรีลังกา รวม ๕ โครงการ ได้แก่ ๑.
โครงการบูรณะวัดธรรมาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๒. โครงการขอรับการสนับสนุน
ทุนการศึกษาสาหรับพระภิกษุสามเณรชาวศรีลังกาที่กาลังศึกษาในประเทศไทย ซึ่งเป็น
โครงการที่รัฐบาลศรีลังกาแจ้งความประสงค์ขอรับการสนับสนุนทุนการศึกษาสาหรับ
พระภิกษุสามเณรชาวศรีลังกา จานวน ๒๑ ทุน ๓. โครงการบรรพชาอุปสมบท
พุทธศาสนิกชนชาวศรีลังกา จานวน ๒๖๐ รูป ๔. โครงการจัดสัมมนาวิชาการและจัด
นทิ รรศการทางพระพุทธศาสนา และ ๕. โครงการมอบตน้ พระศรีมหาโพธ์ิ

นายพิจิตร พงษ์เกษ ได้กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนาใน
ประเทศศรีลงั กากับประเทศไทย: ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยศรีลังกา มี
ความสัมพันธ์ทางด้านพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนาน ย้อนกลับไปเม่ือกว่า ๗๐๐ ปี
ก่อน พระธรรมทูตจากประเทศไทย นาโดย พระอุบาลีมหาเถระ จากวัดธรรมาราม จ.
พระนครศรีอยุธยา พร้อมด้วยพระสงฆ์ที่แตกฉานพระไตรปิฎก และเคร่งครัดในพระ
ธรรมวินัย อีก ๒๓ รูป ได้เดินทางไปเพื่อฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ซึ่งเป็นการ
เดินทางไปตามคาเชิญของพระเจ้ากีรติศรีราชสิงหะ กษัตริย์ศรีลังกาในยุคนั้น ท่ีทรง
ต้องการฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกาท่ีกาลังจะสูญส้ิน หลังยุคล่าอาณานิคม
ประเทศตะวนั ตกในส่วนของคณะสงฆ์ไทย มหาเถรสมาคม สานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติ และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ดาเนินโครงการกิจกรรม
นานาชาติ เรื่องการเฉลิมฉลองครบ ๒๖๐ ปี แห่งการสถาปนาพระพุทธศาสนานิกาย

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๔๑

สยามวงศ์ในศรีลังกา วม ๕ โครงการ ได้แก่ ๑. โครงการบูรณะวัดธรรมมาราม จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ๒. โครงการขอรับการสนับสนุนทุนการศึกษาสาหรับพระภิกษุ
สามเณรชาวศรลี งั กาท่กี าลังศึกษาในประเทศไทย ซึ่งเป็นโครงการทร่ี ัฐบาลศรีลังกาแจ้ง
ความประสงค์ขอรับการสนับสนุนทุนการศึกษาสาหรับพระภิกษุสามเณรชาวศรีลังกา
จานวน ๒๑ ทุน ๓. โครงการบรรพชาอุปสมบทพุทธศาสนิกชนชาวศรีลังกา จานวน
๒๖๐ รูป ๔. โครงการจัดสัมมนาวิชาการและจัดนิทรรศการทางพระพุทธศาสนา และ
๕. โครงการมอบตน้ พระศรีมหาโพธิ์

๓.๓ วิถชี วี ิตของพุทธศาสนกิ ชนในประเทศศรลี งั กา
พระครูวรมงคลประยุตได้กล่าว วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี

ลังกาว่าส่ิงที่เหมือนกันอย่างหน่ึงของชาวไทยและศรีลังกาคือ จะมีพระพุทธรูปเป็นส่ิง
ยึดเหนี่ยวจิตใจเหมือนกัน ในประเทศศรีลังกาเราจะพบพระพุทธรูปขนาดใหญ่อยู่
ทั่วไปและจะพบเห็นได้ง่าย ซ่ึงพระพุทธรูปน้ีจะเป็นเคร่ืองเตือนใจให้กับชาวศรีลังกา
ระลึกว่าเป็นชาวพุทธ นอกจากนี้ประเทศ ศรีลังกายังมีประเพณีที่สาคัญและย่ิงใหญ่
เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ที่ประชาชนศรีลังกาทุกคนพร้อมใจกันร่วมพิธี
แสดงความศรทั ธาทีม่ ีต่อพระพุทธศาสนา คือ พิธแี ห่พระธาตเุ ขย้ี วแก้ว จะจัดขึ้นที่เมือง
แคนดี้ ซ่ึงเปน็ เมืองมรดกโลกของชาวศรีลังกา ในริ้วขบวนแห่ประกอบด้วย ช้างที่ได้รับ
การตกแตง่ อย่างสวยงาม มีการแสดงราพื้นเมือง และดนตรีของชาวศรีลังกา ประเพณี
แห่พระธาตุเข้ียวแก้วเป็นประเพณีท่ีแสดงให้เห็นถึงความศรัทธาอันแรงกล้าที่มีต่อ
พระพุทธศาสนา ของชาวศรีลังกา ซ่ึงจะมีผู้มาร่วมงานกันเป็นจานวนมากที่จะขอ
โอกาสสักครั้งที่ได้มาสักการะพระธาตุเข้ียวแก้ว แต่ถึงแม้จะมีผู้คนจานวนมากที่มาต่อ
คิวเพ่ือคอยสักการะพระธาตุเข้ียวแก้วก็ตาม ทุกคนชาวศรีลังกาจะรอคอยกันด้วย
อาการสงบ และมีสีหน้าย้ิมแย้ม แสดงความเป็นมิตรไมตรีให้แก่กันและกันตลอดเวลา
ซึ่งเปน็ ภาพท่นี า่ ประทับใจแก่ผพู้ บเหน็ ขา้ พเจ้าคิดว่าสง่ิ ที่เกดิ ขนึ้ เหลา่ นี้ เกิดจากชาวศรี
ลังกาได้รับการปลูกฝังคาส่ังสอนทางพระพุทธศาสนามาตั้งแต่เยาว์วัย เลยทาให้เมื่อ

๑๔๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

เติบโตเป็นผู้ใหญ่จึงเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ มีความเมตตา ให้แก่กันและกัน พระสงฆ์
และชาวพุทธศรีลังกาจะเน้นการบรรยายธรรม สนทนาธรรม ปาฐกถาธรรม เน้นการ
ปลกู ฝงั ทางสติปัญญามากกวา่ พิธกี รรม

พระครูวิบูล ภัทโรภาส (โอภาโส) กล่าวถึงวิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนใน
ประเทศศรลี ังกาว่า ชาวพุทธศรีลังกาจะเน้นการบรรยายธรรม สนทนาธรรม ปาฐกถา
ธรรม เนน้ การปลูกฝังทางสติปัญญามากกว่าพิธีกรรม วันพระ วันอาทิตย์ พ่อแม่จะพา
ลูกหลานไปวดั สวดมนต์ สมาทานศีล ฟงั ธรรม ปฏบิ ตั ธิ รรม ภาวนา

การบูชาพระของชาวพุทธศรีลังกา จะนาแต่ดอกไม้ไปวางเรียงหน้า
พระพุทธรูปหรือสิ่งสักการะอย่างสวยงาม ชาวพุทธทุกคนถือว่าเป็นหน้าท่ีในการทานุ
บารุงปกปูองพระพุทธศาสนา ใครไปยืนหันหลังถ่ายรูปกับพระพุทธ จะถือว่าไม่ให้
ความเคารพ คณะสงฆ์ศรีลังกาจะเข้มแข็ง เพราะมีกระบวนการกลั่นกรองคนท่ีเข้ามา
บวชอย่างเป็นระบบ ไมใ่ ช่ใครนกึ จะบวชก็บวชได้ คนท่ีจะบวชต้องศึกษาหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาจนเข้าใจ เมื่อเห็นว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมแล้ว จึงจะนามาบวชกับ
ประธานสงฆ์ของนิกายนั้น ๆ ซ่ึงแต่ละนิกายก็จะมีสังฆสภาคอยพิจารณากล่ันกรองว่า
จะใหใ้ ครบวชไม่ใหบ้ วช เม่ือมีปัญหาอะไรกจ็ ะตดั สนิ กันในสังฆสภา

พระครูสุเมธธรรมกิจ ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกา: ชาวศรีลังกานับถือพระพุทธศาสนาเหมือนชาวไทย เพราะมีพุทธศาสนาเป็น
ศาสนาประจาชาติจะแตกต่างตรงที่พระสงฆ์ศรีลังกามีอิทธิพลทางด้านการเมืองการ
ปกครอง พระภิกษุจะมีบทบาทอย่างมาก มีสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร มีพรรคการเมืองเช่นเดียวกับฆราวาส มีสิทธ์ิลงคะแนนเสียงและมีอิทธิพลเหนือ
ประชาชนด้านจิตใจ และประชาชนส่วนใหญ่ในศรีลังกานับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
มีหลายนิกายเนื่องจากพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศศรีลังกาจนเจริญรุ่งเรืองอยู่ในศรี
ลังกา และได้เส่ือมถอย เนื่องจากการเข้ารุกรานของชาติตะวันตก ได้แก่ โปตุเกส
ฮอลันดา และอังกฤษ ต่อมาภายหลังพุทธศาสนาได้รับการฟ้ืนฟูอีกคร้ังโดยได้นิมนต์

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๔๓

พระสงฆ์ชาวไทยไปเผยแผ่ และในขณะเดียวกันก็ได้เกิดนิกายอมรปุรนิกายจากพระ
ชาวศรีลังกาท่ีไปอุปสมบทจากประเทศพม่า และรามัญนิกายจากการไปอุปสมบทจาก
เมอื งมอญ พุทธศาสนาจึงได้กลับมาเจริญรุ่งเรือง และเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมลังกา
พร้อมกลับมาเปน็ ศาสนาประจาชาติ ถือได้ว่ามีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตคนศรีลังกาเป็นอย่าง
มาก

ศาสนาในศรีลังกา พุทธ ๖๙ % ฮินดู ๑๕ % คริสต์ ๘ % อิสลาม ๘ %
ส่วนประชากรศรีลังกา โดยแบ่งออกเป็น ๔ เช้ือชาติคือ สิงหล ๗๔ % ทมิฬ ๑๘ %
มุสลมิ ๗ % ซง่ึ สว่ นใหญ่เป็นชาวมัวร์ Moors คนยากจน หลังจากเกิดมหันตภัยคลื่น
ยักษส์ ึนามิ เม่ือวันที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๔๗ ทาให้มีคนยากจนเพิ่มมากขึ้นอีกถึง ๒ แสน
๘ หมน่ื คน

พระครูโสภณชยาภิวัฒน์ ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศ
ศรีลังกาว่า จะเห็นได้ชัดมาก คือ ทุกบ้านในปัจจุบันน้ีเช้าพุทธในประเทศศรีลังกา จะ
นับถือศีลห้าเป็นประจา จะมีที่บูชาพระพุทธรูปไว้บูชาประจาบ้านทุกบ้านจะพาบุตร
หลานและคนในครอบครัวสมทานศีลห้าสวดมนต์ไว้พระเป็นประจา และส่วนใหญ่ทุก
เช้าคนศรีลังกาท่ีนับถือพระพุทธศาสนาจะพากันไปทาบุญท่ีวัดเป็นประจาบางทีไปกัน
ท้ังครอบครัวเพื่อนาอาหารและดอกไม้ประทีปไปถวายพระที่วัดพอเสร็จแล้วจึงจะพา
กันแยกย้ายไปประกอบสัมมาอาชีพของตนในแต่ละวันอย่างสงบมีความสุขและส่วน
ใหญค่ นของประเทศศรีลังกาจะทานอาหารมังสะวิรัสคือเว้นจากทานเนื้อสัตว์เป็นส่วน
ใหญ่

พระครูอุดมธรรมวัตร ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกาว่า ประเทศศรีลังกามีการนับถือศาสนาท่ีหลากหลาย แต่ประชากรส่วนใหญ่นับ
ถือพุทธศาสนา คือร้อยละ ๖๙.๓ รองลงมาคือศาสนาฮินดู ร้อยละ ๑๕.๕ ศาสนา
อิสลาม ร้อยละ ๗.๖% คริสต์ศาสนา ร้อยละ ๗.๕ และผู้ท่ีนับถือศาสนาอ่ืน ๆ อีกร้อย
ละ ๐.๑

๑๔๔ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศศรีลังกาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖ ในรัชสมัยของพระ
เจ้าเทวานัมปิยติสสะ ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา จนพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอยู่
ในลังกา และได้เสื่อมถอยจากลังกา เนื่องจากการเข้ารุกรานของชาติตะวันตก ได้แก่
ฮอลันดา และอังกฤษ ต่อมาภายหลังพุทธศาสนาได้รับการฟ้ืนฟูอีกครั้ง โดยได้นิมนต์
พระสงฆช์ าวไทยไปเผยแผแ่ ละในขณะเดียวกันกไ็ ด้เกิดนิกายอมรปุรนิกายจากพระชาว
ลังกาท่ีไปอุปสมบทจากประเทศพม่า และรามัญนิกาย ไปอุปสมบทจากเมืองมอญ
พุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรือง และเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมลังกา เป็นศาสนาประจา
ชาติ มีอทิ ธพิ ลต่อวิถชี ีวิตคนลงั กามาก

ความสาคัญของพุทธศาสนาท่ีรองรับโดยกฎหมายของรัฐที่มีอยู่สูงมาก เช่น
ในกฎหมายสิงหลโบราณว่า “ผู้ทาลายเจดีย์และต้นโพธ์ิ กับผู้ที่ปล้นสะดมทรัพย์ของ
ศาสนามโี ทษถงึ ตาย” กฎหมายนีใ้ ชบ้ ังคับชาวศรลี ังกาทุกระดับชั้น รวมถึงชาวต่างชาติ
ดว้ ย และคงมกี ารบังคบั ใช้มานานแลว้ ตั้งแต่รชั กาลพระเจ้าเอลระ ซ่ึงเป็นชาวทมิฬ ใน
พุทธศตวรรษท่ี ๕

ความสาคัญต่อสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการดาเนินวิถีชีวิต อิทธิพล
ทางด้านการเมืองการปกครอง พระภิกษุมีบทบาทอย่างมาก พระภิกษุมีความผูกพัน
กบั ประชาชนและชนช้นั ปกครองอย่างใกล้ชิด จึงมบี ทบาทหลายประการ

พระครูอุดรภาวนาคุณ (สจฺจาสโภ) ได้กล่าว วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนใน
ประเทศศรลี งั กาวา่ การบูชาพระของชาวพุทธศรีลงั กา จะนาแต่ดอกไม้ไปวางเรียงหน้า
พระพุทธรูปหรือส่ิงสักการะอย่างสวยงาม ชาวพุทธทุกคนถือว่าเป็นหน้าที่ในการทานุ
บารุงปกปูองพระพุทธศาสนา คณะสงฆ์ศรีลังกาเข้มแข็ง เพราะมีกระบวนการ
กลั่นกรองคนที่เข้ามาบวชอย่างเป็นระบบ คนท่ีจะบวชต้องศึกษาหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาจนเข้าใจ เมื่อเห็นว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมแล้ว จึงจะนามาบวชกับ
ประธานสงฆ์ของนิกายน้ัน ๆ ซึ่งแต่ละนิกายก็จะมีสังฆสภาคอยพิจารณากล่ันกรองว่า
จะให้ใครบวชไม่ให้บวช เมื่อมีปัญหาอะไรก็จะตัดสินกันในสังฆสภา พระสงฆ์ศรีลังกา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๔๕

ได้ปฏิบัติสมณกิจอย่างเข้มแข็ง ได้วางรากฐานพระพุทธศาสนาสยามวงศ์ โดยเริ่มจาก
การท่องคาขานนาค การนุ่งห่ม จนถึงการใช้บทสวดมนต์ต่าง ๆ การแสดง พระธรรม
เทศนา และยังสอนเร่ืองวิปัสสนากัมมัฎฐานอีกด้วย การปฏิบัติสมณกิจอย่างเข้มแข็ง
ของพระภกิ ษศุ รลี งั กา ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาสยามวงศ์มีความมั่นคงแข็งแรง สถิตถาวร
อย่ใู นประเทศศรีลงั กาตราบจนถึงทกุ วันน้ี

พระมหาก้องไพร สาคโร ได้กล่าว วิธีของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรีลังกา
ว่า ประเทศศรลี งั กามกี ารนับถือศาสนาทห่ี ลากหลาย แต่ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธ
ศาสนา คอื รอ้ ยละ ๙๓.๓ รองลงมาคือศาสนาฮินดู ร้อยละ ๑๕.๕ ศาสนาอิสลาม ร้อย
ละ ๖.๖% คริสต์ศาสนา รอ้ ยละ ๗.๕ และผทู้ ี่นบั ถือศาสนาอ่นื ๆ อีกร้อยละ ๐.๑ พุทธ
ศาสนาสนิกชนในประเทศศรีลังกาให้ความเคารพ ต่อต้นโพธิหรือต่อวัดวาอาราม
ขนบธรรมเนียมประเพณีศรีลังกาจะถอดร้องเท้าก่อนเข้าสถานท่ี ศักด์ิสิทธ์ิ และเข้า
บ้านพักอาศัย สตรีจะสวมกระโปรงยาว หรือกางเกงหลวม เสื้อผ้าฝูายหลวมๆชาวศรี
ลังกายังนิยมรัปประทานอาหารด้วย มือขวา หรือท้ังสองมือจึงจะถือว่าสุภาพ การ
แสดงความเคารพจะใช้วิธีพนมมือไหว้เหมือนคนไทย คนศรีลังกาเป็นพ่ีน้องพุทธจริงๆ
เวลาไป แล้วเค้ารู้ว่ามาจากไทย เค้าจะดีใจแล้วบอกว่าพ่ีน้องพุทธ เวลาไปวัด จะเห็น
เด็กนักเรยี นน่งั เปน็ กลุ่มๆ ต่างคนต่างมา เอาหนังสือสวดมนต์มาน่ังเล่นสวดมนต์กับต้น
โพธิ์

พระมหาทองสุข สุเมโธ ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศ
ศรีลังกาว่า ประเทศศรีลังกามีเมืองสาคัญคือ เมืองแคนดี้ ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าและ
เป็นศูนย์กลางทางพุทธศาสนา มีประชากร กว่า๒๐.๔๘ ล้านคน ซ่ึงประกอบด้วยชาว
สงิ หล,ชาวทมฬิ ,ประชากรมสุ ลิม (แขกมวั รแ์ ละชาวมาเลย์ ) ภาษาที่ชาวศรีลังกาใช้คือ
ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการและเป็นภาษาประจาชาติ , ภาษาทมิฬเป็นภาษา
ราชการ สว่ น ภาษาอังกฤษใชต้ ดิ ตอ่ สือ่ สารท่ัวไปในภาครัฐ ศรีลังกาเป็นประเทศหนึ่งท่ี

๑๔๖ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

มีอิทธิพลทางศาสนาพุทธมากทาให้ประชากรท่ัวไปส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกาย
เถรวาท ,ศาสนาฮนิ ดู ,ศาสนาคริสต์ ,และศาสนาอสิ ลาม

ศรีลังกาขึน้ ชือ่ เรือ่ งชา มกี ารปลกู ชาในประเทศอยู่มากในประเทศ หนึ่งในชาท่ี
มชี ือ่ เสยี งอย่างมากของศรลี ังกาคือชาซีลอน ซงึ่ มีเอกลักษณ์คือความหอมละมุน เม่ือชง
ผ่านน้าร้อนและใส่นมลงไปจะมีสีส้มคล้ายกับชาไทย ชาไทยที่เรานิยมด่ืมน่ันก็คือชาซี
ลอนเช่นกันแต่จะต่างกันตรงท่ีชาไทยจะมีส่วนผสมหลายอย่าง เพราะเนื่องจากชาซี
ลอนมรี าคาแพงและมปี ลูกเฉพาะท่ีเท่านั้น จึงนิยมใช้ใบเมี่ยง(ที่เป็นพันธุ์พ้ืนเมือง-แบบ
ดั้งเดิมหรือแบบท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ) มาใส่สีผสมอาหารมากกว่าหรืออาจมีการ
ผสมน้าลอยดอกส้ม โปฺยก๊ัก เมล็ดมะขามบด หรือ สีผสมอาหารแดงและเหลือง
เพมิ่ เติมลงไปดว้ ย ในไทยทางภาคเหนือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน มีการปลูกชา
ด้วยเชน่ กนั แตข่ องไทยเรานิยมปลูกชาเขยี วหรือชาจีน

สภาพสังคมโดยท่ัวๆ ไป คนศรีลังกาที่จนก็จนพอๆ กับอินเดีย แต่ไม่จนมาก
เทา่ อินเดีย ไปสถานท่ที ่องเทยี่ วตามศรีลงั กา ไม่เจอขอทานมากเท่าท่ีอินเดีย คนจรจัด
น้อยกว่าอินเดียมากๆ หรือ แทบจะไม่เจอเลย ส่วนคนชั้นกลางที่อินเดีย (หลายเมือง)
เห็นมากกว่าท่ีศรลี งั กา (หลายเมอื ง)

สภาพแวดล้อมโดยทั่วๆ ไปในศรีลังกาดูโกลาหลวุ่นวายน้อยกว่าที่อินเดีย แต่
การตดิ ตอ่ อะไรตา่ งๆ เช่น การติดต่อส่ือสารกับหัวหน้าทัวร์ พนักงานโรงแรม เจ้าหน้าท่ี
ตามสถานที่ต่างๆ เจ้าหน้าท่ีแผนกต่างๆ ท่ีสนามบิน น่าปวดหัวพอๆ กับท่ีอินเดีย และ
การตุกติกต่างๆ ในวงการท่องเที่ยวไม่ต่างจากท่ีอินเดียประเทศกาลังพัฒนาอ่ืนๆ ใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากนัก คนศรีลังกาจะคล้ายๆ คนอินเดียอีกอย่าง คือ ชอบมา
ซ้ือทีวีกับเครื่องใช้ไฟฟูาจากเมืองไทย เพราะถูกกว่า และ ทันสมัยกว่าที่บ้านเขามาก
เขาชอบห้างที่เมืองไทย เพราะมันทันสมัย มีระดับ และ ใหญ่มาก ผู้หญิงศรีลังกาเท่าท่ี
เห็นก็ไม่ต่างจากท่ีอื่นๆ ท่ีเป็นสังคมของประเทศกาลังพัฒนาในเอเชีย คือ ต้องเป็นแม่

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๔๗

เป็นภรรยา เป็นช้างเท้าหลัง ไม่ทาตัวเท่าเทียมผู้ชาย หรือ ล้าหน้าผู้ชาย วางตัวอยู่ใน
กรอบทีผ่ ู้หญิงควรอยู่

พระรุ่งธรรม โชติธมฺโม ได้กล่าวว่า วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกา ที่เมืองแคนด้ีอันเป็นเมืองหลวงเก่าและเป็นศูนย์กลางทางพุทธศาสนา มี
ประชากร กว่า๒๐.๔๘ ล้านคน ซ่ึงประกอบด้วยชาวสิงหล,ชาวทมิฬ ,ประชากรมุสลิม
(แขกมัวร์และชาวมาเลย์ ) ภาษาท่ีชาวศรีลังกาใช้คือ ภาษาสิงหลเป็นภาษาราชการ
และเป็นภาษาประจาชาติ , ภาษาทมิฬเป็นภาษาราชการ ส่วน ภาษาอังกฤษใช้
ตดิ ต่อส่อื สารทั่วไปในภาครฐั ศรีลังกาเป็นประเทศหนึ่งท่ีมีอิทธิพลทางศาสนาพุทธมาก
ทาให้ประชากรทั่วไปส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ,ศาสนาฮินดู ,ศาสนา
คริสต์ ,และศาสนาอิสลาม

ศรลี ังกาขนึ้ ชอื่ เรื่องชา มกี ารปลกู ชาในประเทศอยู่มากในประเทศ หนึ่งในชาที่
มีชอ่ื เสียงอย่างมากของศรีลงั กาคอื ชาซีลอน ซงึ่ มเี อกลกั ษณ์คือความหอมละมุน เม่ือชง
ผ่านน้าร้อนและใส่นมลงไปจะมีสีส้มคล้ายกับชาไทย ชาไทยท่ีเรานิยมดื่มน่ันก็คือชาซี
ลอนเช่นกันแต่จะต่างกันตรงท่ีชาไทยจะมีส่วนผสมหลายอย่าง เพราะเนื่องจากชาซี
ลอนมรี าคาแพงและมีปลูกเฉพาะที่เท่าน้ัน จึงนิยมใช้ใบเมี่ยง(ที่เป็นพันธุ์พ้ืนเมือง-แบบ
ดั้งเดิมหรือแบบท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ) มาใส่สีผสมอาหารมากกว่าหรืออาจมีการ
ผสมน้าลอยดอกส้ม โปฺยก๊ัก เมล็ดมะขามบด หรือ สีผสมอาหารแดงและเหลือง
เพิ่มเติมลงไปดว้ ย ในไทยทางภาคเหนือ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน มีการปลูกชา
ด้วยเชน่ กันแต่ของไทยเรานิยมปลกู ชาเขียวหรอื ชาจีน

สภาพสังคมโดยท่ัวๆ ไป คนศรีลังกาท่ีจนก็จนพอๆ กับอินเดีย แต่ไม่จนมาก
เทา่ อนิ เดยี ไปสถานท่ีทอ่ งเทยี่ วตามศรลี ังกา ไม่เจอขอทานมากเท่าท่ีอินเดีย คนจรจัด
นอ้ ยกวา่ อินเดยี มากๆ หรือ แทบจะไม่เจอเลย ส่วนคนชั้นกลางท่ีอินเดีย (หลายเมือง)
เห็นมากกวา่ ที่ศรลี งั กา (หลายเมือง)

๑๔๘ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

สภาพแวดล้อมโดยท่ัวๆ ไปในศรีลังกาดูโกลาหลวุ่นวายน้อยกว่าที่อินเดีย แต่
การติดต่ออะไรต่างๆ เช่น การติดต่อส่ือสารกับหัวหน้าทัวร์ พนักงานโรงแรม
เจ้าหน้าท่ีตามสถานที่ต่างๆ เจ้าหน้าที่แผนกต่างๆ ท่ีสนามบิน น่าปวดหัวพอๆ กับท่ี
อินเดีย และ การตุกติกต่างๆ ในวงการท่องเที่ยวไม่ต่างจากที่อินเดียประเทศกาลัง
พัฒนาอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากนัก คนศรีลังกาจะคล้ายๆ คนอินเดียอีก
อย่าง คือ ชอบมาซ้ือทีวีกับเคร่ืองใช้ไฟฟูาจากเมืองไทย เพราะถูกกว่า และ ทันสมัย
กวา่ ท่บี า้ นเขามาก เขาชอบห้างท่ีเมืองไทย เพราะมันทันสมัย มีระดับ และ ใหญ่มาก
ผู้หญิงศรีลังกาเท่าท่ีเห็นก็ไม่ต่างจากท่ีอื่นๆ ที่เป็นสังคมของประเทศกาลังพัฒนาใน
เอเชีย คือ ต้องเป็นแม่ เป็นภรรยา เป็นช้างเท้าหลัง ไม่ทาตัวเท่าเทียมผู้ชาย หรือ ล้า
หนา้ ผูช้ าย วางตวั อย่ใู นกรอบทีผ่ ู้หญิงควรอยู่

สรุป
วิถีชีวิตของชาวศรีลังกาส่วนใหญ่ จะดาเนินรอยตามหลักคาสอนในทาง

พระพุทธศาสนาเป็นส่วนมาก การดารงชีพก็เป็นลักษณะพอเพียง ไม่หลงในวัตถุ
ภายนอกเท่าท่ีควร ชีวิตส่วนใหญ่อยู่กับการดาเนินชีวิตในแต่ละวันและการสวดมนต์
ตามวดั ต่างๆเปน็ กิจวตั รประจาวนั ของชาวศรีลังกา

พระวีระชาติ ธีรสิทฺโธ ได้กล่าวถึง วิธีของพุทธศาสนาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกาว่า ประชาชนในประเทศศรีลังกามักมีการ แต่งชุดขาวมาถือศีลอุโบสถ อีกท้ัง
มักจะมาร่วมกันสวดมนต์กนั เม่ือจบบทพวกเขาจะกล่าวพร้อมกันว่าสาธุตอนท่ีเราเดิน
เท้าเปล่าจากต้นศรีมหาโพธ์ิไปยังสถูปสุวรรณมาลี เราพบคนแต่งชุดขาวถือศีลอุโบสถ
นัง่ เป็นกลุ่มตามรมิ ทางเดิน เราเห็นภาพน้ีประทับใจมาก คนศรีลังกาอยู่อย่างเรียบง่าย
ใช้ชีวิตด้วยระบบเศรษฐกิจพอเพียง แสวงหาความสุขสงบท่ีเกิดจากการปฏิบัติธรรม
ทุกวันพระ เป็นวันหยุด ราชการของศรีลังกาเพื่อส่งเสริมให้คนไปถือศีลอุโบสถตามวัด
ต่างๆ มหาวหิ ารและอภัยครี วี ิหาร

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๔๙

พระศุภราชัย สุรสกฺโก ได้กล่าววถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกาว่า ชาวพุทธศรีลังกา เป็นชาวพุทธโดยสายเลือด จึงมีความรัก ความหวงแหน
และความผูกพันในพระพุทธศาสนามาก สาเหตุท่ีชาวพุทธศรีลังกาหวงแหน
พระพุทธศาสนามาก เพราะคร้ังหนึ่งเคยถูกเบียดเบียนบีบคั้นจากศาสนาอื่น ถูกย่ายี
ทาลายหัวใจด้วยการทาลายส่ิงท่ีเคารพนับถือน้ันคือพระเขี้ยวแก้ว แม้จะเป็นของ
ปลอมก็ตาม เมื่อหลุดพ้นจากอิทธิพลของต่างศาสนาให้ชาวพุทธศรีลังการักและหวง
แหนพระพทุ ธศาสนามาก

วิถีชีวิตชาวพุทธในลังกายังเป็นพุทธที่บริสุทธิ์ สวดมนต์ไหว้พระ สมาทานศีล
เองทุกวัน ไมม่ ีพุทธพานชิ ย์ ไม่มีการปลกุ เสกเครอ่ื งรางของขลัง ชาวพุทธศรีลังกาไม่ติด
ยึดในเรื่องเคร่ืองรางของขลัง เม่ือมีงานใดๆ ไม่ว่าจะงานศพ งานสาคัญทางศาสนา
พระสงฆแ์ ละชาวพุทธศรลี ังกาจะไม่เนน้ การสวดมนต์ทาแต่พิธีกรรมเหมือนเมืองไทย มี
งานอะไรก็ตามจะเน้นการบรรยายธรรม สนทนาธรรม ปาฐกถาธรรม เน้นการปลูกฝัง
ทางสติปัญญามากกว่าพิธีกรรม พ่อแม่ครอบครัวจะเป็นตัวอย่างที่ดี คือ รักษาศีลให้
ลกู หลานดู กตัญญูให้ลูกหลานเห็น สุขสงบเย็นให้ลูกหลานสัมผัสได้ วันพระวันอาทิตย์
พ่อแม่จะพาลูกหลานไปวัด สวดมนต์ สมาทานศีล ฟังธรรม ปฏิบัติธรรม ภาวนา การ
บูชาพระของชาวพุทธศรีลังกา ไม่เน้นการจุดธูปเทียนให้แสบจมูก แต่จะนาแต่ดอกไม้
ไปวางเรียงหน้าพระพุทธรูปหรือสิ่งสักการะอย่างสวยงาม ชาวพุทธทุกคนถือว่าเป็น
หน้าท่ีในการทานุบารุงปกปูองพระพุทธศาสนา ใครไปยืนหันหลังถ่ายรูปกับ
พระพทุ ธรูป ชาวพทุ ธศรีลงั กาจะมาตะเพิดไล่ทนั ที ถือว่าไมใ่ ห้ความเคารพ

คณะสงฆ์ศรีลังกาจะเข้มแข็ง เพราะมีกระบวนการกลั่นกรองคนที่เข้ามาบวช
อย่างเป็นระบบ ไม่ใช่ใครนึกจะบวชก็บวชได้ คนที่จะบวชต้องมาอยู่วัดดูนิสัยใจคอกัน
เป็นปีๆ ต้องศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจนเข้าใจ เมื่อเห็นว่ามีคุณสมบัติ
เหมาะสมแล้ว จึงจะนามาบวชกับประธานสงฆ์ของนิกายนั้นๆ ซึ่งแต่ละนิกายก็จะ
มีสังฆสภา คอยพิจารณากลั่นกรองว่าจะให้ใครบวชไม่ให้บวช เมื่อมีปัญหาอะไรก็จะ

๑๕๐ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ตัดสินกันในสังฆสภา พระมีน้อยประมาณ ๓,๐๐๐ รูป แต่มีคุณภาพ ต่างจากบ้านเรา
ต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทา การบวชมีแต่เร่ืองพิธีกรรมขาดสาระแก่นสารของการ
บวชท่ีแท้จริง ไม่มีการกลั่นกรองผู้เข้ามาบวช บวชมาแล้วขาดการอบรมฝึกฝน ขาด
การควบคุมดูแลตามหลักที่พระพุทธเจ้าทรงกาหนดไว้ องค์กรปกครองสงฆ์มีก็
เหมือนกับไม่มี ปัญหาต่างๆ ของคณะสงฆ์จึงมีมากมายและจะมีมากยิ่งๆ ข้ึน ถ้าไม่
ปฏริ ูปคณะสงฆโ์ ดยดว่ น อันจะเปน็ สาเหตุของความเสอ่ื มศรัทธาของประชาชน

พระสราวฒุ ิ วิสารโท ไดก้ ล่าวถงึ วถิ ชี ีวิตของพทุ ธศาสนิกชนในประเทศศรีลังกา
ว่าพุทธศาสนิกชนได้รับรองโดยกฎหมายของรัฐมีอยู่สูงมาก ดังปรากฏในกฎหมายสิงหล
โบราณว่า "ผู้ทาลายเจดีย์และต้นโพธ์ิ กับผู้ที่ปล้นสะดมทรัพย์ของศาสนามีโทษถึงตาย"
กฎหมายน้ีใช้บังคับชาวศรีลังกาทุกระดับช้ัน รวมท้ังคนต่างชาติด้วย และคงมีการบังคับ
ใช้มานานแล้ว วิถีชีวิตของผู้คนในสังคมได้มีการนาเอาชื่อทางพุทธศาสนามาตั้งเป็นช่ือ
ของบุคคล จะปรากฏเห็นว่ามีช่ือของบุคคลสาคัญทางพุทธศาสนา ปรากฏเป็นพระนาม
ของกษัตริย์ลังกาหลายพระองค์ การกาหนดเอาวันธรรมสวนะเป็นวันหยุดราชการ งาน
ทุกชนิดต้องหยุดในวันพระ เม่ือถึงวันพระชาวสิงหลจะถืออุโบสถศีล และประกอบ
ศาสนกิจต่าง ๆ นอกจากนั้นรัฐบาลศรีลังกาได้ถือเอาพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ
ตัวอย่างท่ีเราได้เห็นและได้สัมผัส คือการไปบูชานมัสการรอยพระพุทธบาท ท่ีภูเขาสุมน
กูฏชาวพุทธศรีลังกาเตรียมตัวนมัสการบูชารอยพระพุทธบาทในวันพระที่มีความแปลก
กว่าสถานทอี่ นื่ ๆ

พระอธิการสายแพร กตปญฺโญ ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนใน
ประเทศศรีลังกาว่า พระสงฆ์ศรีลังกาได้ปฏิบัติสมณกิจอย่างเข้มแข็ง ได้วางรากฐาน
พระพุทธศาสนาสยามวงศ์ โดยเรม่ิ จากการท่องคาขานนาค การนุ่งห่ม จนถึงการใช้บท
สวดมนต์ต่าง ๆ การแสดง พระธรรมเทศนา และยังสอนเรื่องวิปัสสนากัมมัฎฐานอีก
ด้วย การปฏิบัติสมณกิจอย่างเข้มแข็งของพระภิกษุ ศรีลังกา ทาให้พระพุทธศาสนา
สยามวงศ์มคี วามมัน่ คงแข็งแรง สถิตถาวรอยูใ่ นประเทศศรีลงั กาตราบจนถงึ ทุกวันนี้

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๕๑

ผลงานอันโดดเด่น นอกจากสอนเรื่องธรรมะแล้ว ยังได้เป็นผู้เริ่มต้นให้เกิด
ประเพณีแห่พระธาตุเข้ียวแก้วอีกด้วย ขบวนแห่พระธาตุเข้ียวแก้วของศรีลังกา หรือ
เปราเฮรา (Perahera) ยังกระทาอย่ตู ราบจนทกุ วนั น้ี

งานเปราเฮราน้ีปีหน่ึงจะจัดใหญ่เพียงครั้งเดียวในช่วงเข้าพรรษาโดยจัด
ติดต่อกนั เป็นเวลา ๑๐ วนั วนั สุดท้ายคือ วนั พระข้ึน ๑๕ คา่ เดือน ๙ ขบวนแห่เปราเฮ
ราจะเริม่ เคลื่อนในเวลาตะวันลับฟูาใช้เวลา ประมาณ ๓ ชว่ั โมง

งานวัดศรีลงั กาไม่มีมหรสพมอมเมาประชาชน รูปแบบความบันเทิงในวัดก็คือ
การแสดงแบบเปราเฮรา คือ ขบวนแห่ท่ีมีดนตรีประโคมนาหน้าตามด้วยการแสดงชุด
ต่างๆ สลับกับดนตรีและการแสดงนับไม่ถ้วน ผู้แสดงส่วนใหญ่เป็นผู้ชายมีทุกวัยต้ังแต่
เดก็ จนแก่ พวกเขาจุดคบเพลงิ กาบมะพรา้ ว สว่างไสวไปในขบวน มีช้างร่วมพิธีอัญเชิญ
พระธาตุ ช้างบางเชือกมงี ายาวมากจนไขว้กัน เพราะพวกเขาทาถวายเป็นพุทธบูชาด้วย
ความศรทั ธาในพระพุทธศาสนา ชาวบา้ นใช้เวลาวา่ งจากการทานาหรืองานอาชีพมาฝึก
แสดงใหพ้ ร้อมเพรียงกนั ตามทีท่ างวดั ต้องการ เมื่อถึงเวลาแสดงอย่างครั้งน้ี ทางวัดพระ
ธาตเุ ข้ียวแกว้ กจ็ ะระดมทกุ หมู่บา้ นที่เข้าร่วมโครงการมาเข้าขบวนแหเ่ ปราเฮรา...”๓๗

ชาวพุทธศรีลังกา เป็นชาวพุทธโดยสายเลือด จึงมีความรัก ความหวงแหน
และความผูกพันในพระพุทธศาสนามาก มีงานอะไรก็ตามจะเน้นการบรรยายธรรม
สนทนาธรรม ปาฐกถาธรรม เน้นการปลูกฝังทางสติปัญญามากกว่าพิธีกรรม พ่อแม่
ครอบครัวจะเป็นตัวอย่างท่ีดี คือ รักษาศีลให้ลูกหลานดู กตัญญูให้ลูกหลานเห็น สุข
สงบเย็นให้ลูกหลานสัมผัสได้ วันพระวันอาทิตย์ พ่อแม่จะพาลูกหลานไปวัด สวดมนต์
สมาทานศีล ฟงั ธรรม ปฏิบัตธิ รรม ภาวนา

พระอนุสรณ์ ปรกฺกโม ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกาว่า ประชาชนประเทศศรลี ังกาสว่ นใหญ่นบั ถอื พระพุทธศาสนามาต้ังแต่อดีตจนถึง

๓๗ พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), “เยือนสยามนิกายในศรีลังกา”,
[ออนไลน์], แหลง่ ท่ีมา : http:// watprayoon.org/ [ ๖ เมษายน ๒๕๖๑].

๑๕๒ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

ปัจจุบัน จึงมีผลอย่างมากต่อพุทธศาสนิกชนในประเทศศรีลังกา โดยสามารถสรุปเป็น
ประเด็นต่างๆ ไดด้ งั น้ี

๑. ชาวพุทธศรลี ังกา เปน็ ชาวพุทธโดยสายเลือด ไม่ได้เป็นชาวพุทธตามสาเนา
ทะเบียนบ้านแบบคนไทย จึงมีความรัก ความหวงแหน และความผูกพันใน
พระพทุ ธศาสนามาก

๒. สาเหตุที่ชาวพุทธศรีลังกาหวงแหนพระพุทธศาสนามาก เพราะคร้ังหน่ึง
เคยถูกเบยี ดเบยี นบบี ค้ันจากศาสนาอน่ื ถูกย่ายที าลายหัวใจด้วยการทาลายสิ่งที่เคารพ
นบั ถือนนั้ คือพระเข้ยี วแกว้ แมจ้ ะเปน็ ของปลอมก็ตาม เมอ่ื หลุดพน้ จากอิทธิพลของต่าง
ศาสนาใหช้ าวพุทธศรลี ังการกั และหวงแหนพระพทุ ธศาสนามาก

๓. วิถีชีวิตชาวพุทธในลังกายังเป็นพุทธท่ีบริสุทธ์ิ สวดมนต์ไหว้พระ สมาทาน
ศลี เองทุกวนั ไม่มพี ุทธพานชิ ย์ ไมม่ ีการปลกุ เสกเครื่องรางของขลัง ชาวพุทธศรีลังกาไม่
ตดิ ยดึ ในเรื่องเครือ่ งรางของขลงั เหมอื นชาวพทุ ธเมอื งไทย

๔. มงี านใดๆ ไมว่ า่ จะงานศพ งานสาคัญทางศาสนา พระสงฆ์และชาวพุทธศรี
ลังกาจะไม่เน้นการสวดมนต์ทาแต่พิธีกรรมเหมือนเมืองไทย มีงานอะไรก็ตามจะเน้น
การบรรยายธรรม สนทนาธรรม ปาฐกถาธรรม เน้นการปลูกฝังทางสติปัญญามากกว่า
พิธีกรรม

๕. พ่อแม่ครอบครัวจะเป็นตัวอย่างท่ีดี คือ รักษาศีลให้ลูกหลานดู กตัญญูให้
ลกู หลานเห็น สุขสงบเยน็ ให้ลูกหลานสัมผสั ได้ วันพระวนั อาทติ ย์ พ่อแม่จะพาลูกหลาน
ไปวัด สวดมนต์ สมาทานศีล ฟังธรรม ปฏิบัตธิ รรม ภาวนา

๖. การบูชาพระของชาวพุทธศรีลังกา ไม่เน้นการจุดธูปเทียนให้แสบจมูก
เหมือนเมืองไทย แต่จะนาแต่ดอกไม้ไปวางเรียงหน้าพระพุทธรูปหรือสิ่งสักการะอย่าง
สวยงาม เมืองไทยเน้นการจุดธูปเทียน ถ้าญาติโยมเยอะๆ จุดธูปคนละสามก้าน ควัน
ธูปเข้าจมูกแสบหูแสบตาไปหมด น้าตาเทียนย้อยเลอะเทอะเปรอะเป้ือนสกปรกดูแล้ว
ไม่เจริญศรัทธา

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๕๓

๗. ชาวพุทธทุกคนถือว่าเป็นหน้าที่ในการทานุบารุงปกปูองพระพุทธศาสนา
ใครไปยืนหันหลังถ่ายรูปกับพระพุทธรูป ชาวพุทธศรีลังกาจะมาตะเพิดไล่ทันที ถือว่า
ไมใ่ หค้ วามเคารพ ต่างจากเมืองไทยมักจะคิดว่าหน้าที่ปกปูองพระพุทธศาสนาเป็นของ
พระสงฆ์ เวลามีข่าวไม่ดีต่างๆ เกี่ยวกับพระสงฆ์ จะพากันซ้าเติมเสมอ โดยลืมคิดไปว่า
เป็นหน้าทข่ี องตนเองโดยแท้ในการทจี่ ะต้องชว่ ยกันรกั ษาพระพุทธศาสนา

๘. คณะสงฆ์ศรีลังกาจะเข้มแข็ง เพราะมีกระบวนการกลั่นกรองคนที่เข้ามา
บวชอยา่ งเปน็ ระบบ ไม่ใชใ่ ครนึกจะบวชก็บวชได้ คนทจ่ี ะบวชต้องมาอยู่วัดดูนิสัยใจคอ
กันเป็นปีๆ ต้องศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจนเข้าใจ เม่ือเห็นว่ามีคุณสมบัติ
เหมาะสมแล้ว จึงจะนามาบวชกับประธานสงฆ์ของนิกายน้ันๆ ซ่ึงแต่ละนิกายก็จะ
มีสังฆสภา คอยพิจารณากล่ันกรองว่าจะให้ใครบวชไม่ให้บวช เม่ือมีปัญหาอะไรก็จะ
ตัดสินกันในสังฆสภา พระมีน้อยประมาณ ๓,๐๐๐ รูป แต่มีคุณภาพ ต่างจากบ้านเรา
ต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทา การบวชมีแต่เรื่องพิธีกรรมขาดสาระแก่นสารของการ
บวชที่แท้จริง ไม่มีการกล่ันกรองผู้เข้ามาบวช บวชมาแล้วขาดการอบรมฝึกฝน ขาด
การควบคุมดูแลตามหลักท่ีพระพุทธเจ้าทรงกาหนดไว้ องค์กรปกครองสงฆ์มีก็
เหมือนกับไม่มี ปัญหาต่างๆ ของคณะสงฆ์จึงมีมากมายและจะมีมากย่ิงๆ ขึ้น ถ้าไม่
ปฏริ ปู คณะสงฆโ์ ดยดว่ น อันจะเปน็ สาเหตุของความเสอ่ื มศรัทธาของประชาชน๓๘

นางเจอื จนั ท์ วงั ทะพนั ธ์ ได้กลา่ วถงึ วิถีชวี ติ ของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกาวา่ ชาวพุทธศรีลังกา เป็นชาวพุทธโดยสายเลือด ไม่ได้เป็นชาวพุทธตามสาเนา
ทะเบียนบ้านแบบคนไทย จึงมีความรัก ความหวงแหน และความผูกพันใน
พระพุทธศาสนามาก สาเหตุท่ีชาวพุทธศรีลังกาหวงแหนพระพุทธศาสนามาก เพราะ
คร้งั หนึง่ เคยถกู เบยี ดเบียนบีบค้ันจากศาสนาอ่นื ถูกย่ายีทาลายหัวใจด้วยการทาลายสิ่ง

๓๘ พระมหาธรรมรัต อรยิ ธมฺโม, (๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๖), “ข้อคิดจากศรลี งั กานามาฝาก
ญาติโยมเมืองไทย”, คม ชัด ลึก, [ออนไลน์], ๑๒ ย่อหน้า, แหล่งที่มา : http://www.
komchadluek.net/news/lifestyle/๑๖๖๗๓๓, [๙ เมษายน ๒๕๖๑].

๑๕๔ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ที่เคารพนับถือนั้น คือ พระเข้ียวแก้ว แม้จะไม่ใช่ของจริงก็ตาม เมื่อหลุดพ้นจาก
อิทธิพลของต่างศาสนาให้ชาวพุทธศรีลังการักและหวงแหนพระพุทธศาสนามาก วิถี
ชวี ิตชาวพทุ ธในลังกายังเปน็ พุทธท่ีบรสิ ทุ ธิ์ สวดมนต์ไหว้พระ สมาทานศีลเองทุกวัน ไม่
มีพุทธพาณิชย์ ไม่มีการปลุกเสกเคร่ืองรางของขลัง ชาวพุทธศรีลังกาไม่ติดยึดในเรื่อง
เครื่องรางของขลัง เหมอื นชาวพุทธเมอื งไทย มีงานใดๆ ไม่ว่าจะงานศพ งานสาคัญทาง
ศาสนา พระสงฆ์และชาวพุทธศรีลังกาจะไม่เน้นการสวดมนต์ทาแต่พิธีกรรมเหมือน
เมืองไทย มีงานอะไรก็ตามจะเน้นการบรรยายธรรม สนทนาธรรม ปาฐกถาธรรม เน้น
การปลูกฝังทางสติปัญญามากกว่าพิธีกรรม พ่อแม่ครอบครัวจะเป็นตัวอย่างที่ดี คือ
การรักษาศีล ความกตัญญูแก่บุพการีและผู้มีพระคุณ ความสุขสงบร่มเย็นเป็นท่ีพึ่ง
ของลูกหลาน วันพระวันอาทิตย์ พ่อแม่จะพาลูกหลานไปวัด สวดมนต์ ภาวนา
สมาทานศีล ฟังธรรม และปฏิบัติธรรม ซ่ึงมีวัดคงคารามเป็นที่ต้ังของโรงเรียน
พระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตยแ์ หง่ แรกของศรีลังกา

การบูชาพระของชาวพุทธศรีลังกา ไม่เน้นการจุดธูปเทียนให้แสบจมูกเหมือน
เมืองไทย แต่จะนาแต่ดอกไม้ไปวางเรียงหน้าพระพุทธรูปหรือสิ่งสักการะอย่างสวยงาม
เมืองไทยเน้นการจุดธูปเทียน ถ้าญาติโยมเยอะๆ จุดธูปคนละสามก้าน ควันธูปเข้าจมูก
แสบหแู สบตาไปหมด น้าตาเทยี นย้อยเลอะเทอะเปรอะเปื้อนสกปรกดูแล้วไม่เจริญศรัทธา
ชาวพุทธทุกคนถือว่าเป็นหน้าท่ีในการทานุบารุงปกปูองพระพุทธศาสนา ใครไปยืนหัน
หลังถา่ ยรูปกบั พระพุทธรปู ชาวพุทธศรีลงั กาจะมาตะเพิดไล่ทันที ถือว่าไม่ให้ความเคารพ
ต่างจากเมืองไทยมักจะคิดว่าหน้าที่ปกปูองพระพุทธศาสนาเป็นของพระสงฆ์ เวลามีข่าว
ไม่ดีต่าง ๆ เกี่ยวกับพระสงฆ์จะพากันซ้าเติมเสมอ โดยลืมคิดไปว่า เป็นหน้าท่ีของตนเอง
โดยแทใ้ นการท่จี ะต้องชว่ ยกันรักษาพระพุทธศาสนา

คณะสงฆ์ศรีลงั กาจะเข้มแข็ง เพราะมีกระบวนการกลั่นกรองคนท่ีเข้ามาบวช
อย่างเป็นระบบ ไม่ใช่ใครนึกจะบวชก็บวชได้ คนที่จะบวชต้องมาอยู่วัดดูนิสัยใจคอกัน
เป็นปี ๆ ต้องศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจนเข้าใจ เมื่อเห็นว่ามีคุณสมบัติ

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๕๕

เหมาะสมแล้ว จึงจะนามาบวชกับประธานสงฆ์ของนิกายน้ันๆ ซึ่งแต่ละนิกายก็จะ
มีสังฆสภา คอยพิจารณากล่ันกรองว่าจะให้ใครบวชไม่ให้บวช เมื่อมีปัญหาอะไรก็จะ
ตัดสินกนั ในสงั ฆสภา พระมนี ้อยประมาณ ๓,๐๐๐ รูป แตม่ คี ุณภาพ

นางสาวจันทร์ศิริ พลอยงาม ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนใน
ประเทศศรีลังกาว่า ชาวศรีลังกานับถือพระพุทธศาสนาเหมือนชาวไทย ศาสนาจะมี
อิทธิพลทางด้านการเมืองการปกครอง พระภิกษุจะมีบทบาทอย่างมาและความผูกพัน
กบั ประชาชนและชนชน้ั ปกครองอยา่ งใกลช้ ิด ในส่วนของความสัมพันธ์ทางศาสนาของ
ไทยและศรีลังกา ซึ่งมีความต่างกันเพียงแค่นิกายในการนับถือ ซ่ึงคนไทยส่วนใหญ่นับ
ถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท แต่ในศรีลังกามีหลายนิกายเนื่องจากพระพุทธศาสนาเข้า
มาสปู่ ระเทศศรลี ังกาจนเจรญิ รุ่งเรอื งอย่ใู นศรีลังกาและหลังจากนั้นก็ได้มีการเส่ือมถอย
เนอ่ื งจากการเข้ารุกรานของชาติตะวันตก ได้แก่ ฮอลันดา และอังกฤษ ต่อมาภายหลัง
พุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟู อีกครั้งโดยได้นิมนต์พระสงฆ์ชาวไทยไปเผยแผ่ และใน
ขณะเดียวกันก็ได้เกิดนิกายอมรปุรนิกายจากพระชาวศรีลังกาท่ีไปอุปสมบทจาก
ประเทศพม่า และรามัญนิกายจากการไปอุปสมบทจากเมืองมอญ พุทธศาสนาจึงได้
กลับมาเจริญรุ่งเรือง และเป็นพ้ืนฐานของวัฒนธรรมลังกา เป็นศาสนาประจาชาติ มี
อทิ ธิพลตอ่ วถิ ีชวี ิตคนศรลี ังกาอกี ครั้ง

นายพิจิตร พงษ์เกษ ได้กล่าวถึง วิถีชีวิตของพุทธศาสนิกชนในประเทศศรี
ลังกาวา่ ปกครอง พระภกิ ษุจะมีบทบาทอย่างมาและความผูกพันกับประชาชนและชน
ช้ันปกครองอยา่ งใกล้ชดิ ในส่วนของความสัมพันธ์ทางศาสนาของไทยและศรีลังกา ซ่ึงมี
ความต่างกันเพียงแค่นิกาย ในการนับถือ ซ่ึงคนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกาย
เถรวาท แต่ในศรลี ังกามีหลายนกิ ายเนือ่ งจากพระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศศรีลังกา
จนเจริญรุ่งเรืองอยู่ในศรีลังกาและได้เสื่อมถอย เน่ืองจากการเข้ารุกรานของชาติ
ตะวันตก ได้แก่ ฮอลันดา และอังกฤษ ต่อมาภายหลังพุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟู อีก
ครัง้ โดยได้นิมนต์พระสงฆ์ชาวไทยไปเผยแผ่ และในขณะเดียวกันก็ได้เกิดนิกายอมรปุร

๑๕๖ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

นิกายจากพระชาวศรีลังกาทไี่ ปอุปสมบทจากประเทศพม่า และรามัญนิกายจากการไป
อุปสมบทจากเมืองมอญ พุทธศาสนาจึงได้กลับมาเจริญรุ่งเรือง และเป็นพื้นฐานของ
วัฒนธรรมลงั กา เปน็ ศาสนาประจาชาติ มอี ทิ ธิพลตอ่ วถิ ชี วี ิตคนศรีลังกาอีกครงั้

๓.๔ สถานทที่ ม่ี คี วามประทับใจในการทศั นศกึ ษา
พระครูวรมงคลประยุต ได้กล่าว สถานท่ีท่ีมีความประทับใจในการทัศนศึกษา

ครั้งนี้ว่ามีความประทับใจในสถานที่ทุกแห่งของการสัมมนาและศึกษาดูงานในคร้ังนี้
เช่น วัดถ้าดัมบุลลา เขาสิกิริยา หรือภูเขาสิงโต วัดศรีปรมนันทะหรือวัดจุฬาลงกรณ์
เมอื งแคนดีว้ ดั พระเข้ียวแก้ว วัดกัลณียาราชมหาวิหาร และวัดคงคาราม รวมถึงระหว่าง
การเดินทางได้เห็นการทาไร่ชาของชาวศรีลังกา สวยงาม และรสชาติของชาหอมอร่อย
ทั้งยังมีคุณสมบัติในการปูองกันและรักษาโรคหลายอย่างการได้ขึ้นยอดเขาสุมนกูฏท่ี
ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท พบเห็นประชาชนชาวศรีลังกาและชาวต่างชาติมีจิต
ศรัทธาอยา่ งแรงกล้าขนึ้ ไปกราบรอยพระพทุ ธบาท ซ่ึงชาวศรีลังกาและคนต่างชาติท้ังคน
ร่างกายสมบูรณ์ และคนพิการ แต่มีจิตศรัทธาท่ีจะขึ้นไปยอดเขาอย่างไม่ย่อท้อด้วย
ความต้งั ใจจริงและความอดทน ผู้คนจิตใจดีมีไมตรีต่อกันตลอดระยะทาง ทาให้ข้าพเจ้า
ประทับใจเป็นยงิ่ นัก

ข้อเสนอแนะ รัฐบาลศรีลังกาหรือผู้ปกครองหรือผู้ดูแลสถานที่ ควรจะมีหน่วย
แพทย์หรือพยาบาลประจาจุดแต่ละจุดระหว่างทางระยะ ๗ กิโลเมตร เพื่อทาการ
รักษาพยาบาลให้ทันเวลา เพราะข้าพเจ้าได้เห็นคนเป็นลม ได้รับอุบัติเหตุ รวมถึงคนที่
เสียชีวิต แต่ขาดหน่วยงานที่ช่วยเหลือแบบฉุกเฉินและทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งมีเพียง
ชาวบ้านทีม่ จี ิตอาสานาคนปวุ ย หรอื ผ้ทู ีเ่ สยี ชีวติ ขนย้ายลงมาจากยอดเขาเทา่ นั้น

พระครูวิบูล ภัทโรภาส (โอภาโส) กล่าวถึงสถานท่ีที่มีความประทับใจในการ
ทัศนศึกษาครั้งน้ีว่า ประทับใจในการขึ้นยอดเขาสุมนกูฏท่ีประดิษฐานรอยพระพุทธ
บาท ในการขึ้นไปแสวงบุญท่ียอดเขาสุมนกูฏ ช่วงระหว่างทางขึ้นเขา ข้าพเจ้าพบเห็น
ประชาชนชาวศรีลังกาและชาวต่างชาติมีจิตศรัทธาอย่างแรงกล้าข้ึนไปกราบรอยพระ

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๕๗

พุทธบาท ซึ่งมีคนหนุ่มสาว คนพิการ คนแก่อุ้มลูกหลานขึ้นไปยอดเขาอย่างไม่ย่อท้อ
ข้าพเจา้ ไดเ้ หน็ ในความตั้งใจจริงและความอดทนของประชาชนเหล่านั้น ทาให้ข้าพเจ้า
มีแรงผลักดนั มุมานะทีจ่ ะตอ้ งขึ้นสูย่ อดเขาเพอื่ ไปกราบนมัสการรอยพระพุทธบาทให้ได้
การท่ีไม่มีสิ่งเสพติดหรือของมึนเมาขายระหว่างทาง ผู้คนจิตใจดียิ้มแย้มแจ่มใสต่อกัน
ตลอดระยะทาง ทาให้ขา้ พเจ้าประทับใจต่อประชาชนชาวศรลี งั กาอยา่ งไม่ร้ลู ืม

อันเป็นช่วงเวลาที่นักแสวงบุญจะได้เรียนรู้ท่ีจะฝึกจิตให้อยู่กับปัจจุบัน อยู่กับ
ทุกขณะของการย่างก้าวสมความปรารถนาของผู้แสวงบุญ เม่ือเดินทางมาถึงยอดเขาก็
จะพบกับรอยพระพุทธบาท ซ่งึ เป็นรอยลกึ ในแผ่นหิน ความศรัทธาท่ีมีต่อรอยพระพุทธ
บาทแห่งน้ีสะท้อนผ่านฝูงชนหลากหลายเชื้อชาติที่มากราบไหว้บูชา อาจกล่าวได้ว่า
เขาสุมนกฏู เปน็ ยอดเขาทหี่ ลอมรวมความศรัทธาของพทุ ธศาสนกิ ชนจากทว่ั โลก

พระครสู ุเมธธรรมกจิ ได้กล่าวถึง สถานที่ท่ีมีความประทับใจในทัศนะศึกษาดู
งาน: ในการศึกษาหาความรู้ มีท้ังภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การศึกษาดูงานนอก
ห้องเรียนหรือนอกสถานท่ีซึ่งเรียกว่า ทัศนะศึกษา หรือ หาประสบการณ์ ก็ใช่ คาว่า
ประสบการณ์ อธิบายไดว้ า่ การศึกษาโดยเนน้ ความจรงิ เหน็ สถานที่จริง ปฏิบัติจริง ไม่
มีคาว่า “ ข้ีโม”้ ทาถกู บา้ ง ผิดบา้ ง กถ็ ือว่าเอาความผิดพลาดเป็นครู

สาหรับความประทับใจ นับว่าเป็นการลาดับโปรแกรมได้อย่างยอดเย่ียม
เพราะเปน็ การไต่ตามสะเต็บ จากง่ายไปหายาก หากเป็นการชมภาพยนตร์ เหมือนกับ
ว่าตัวเราได้ร่วมแสดงด้วย พูดแบบภาษาบ้าน บ้านว่า มันส์พะยะค่ะ แต่เรามีสถานะ
เป็นพระภิกษุ (ภิกษุชรา) ไหนจะคอยสารวม ระวัง แต่ก็นั่นหละ เราไม่ชนเขา แต่เขา
จะชนเรา เขาไมเ่ หนอื่ ยแต่เราเหนือ่ ย เพราะต้องการทดสอบวิชาที่ได้เรียนมา มีการฝึก
สมาธิ มีการเดินจงกรม เปน็ ตน้ คงเป็นอานิสงส์ของการเดินจงกรมอย่างแน่นอน จึงทา
ใหค้ วามยากผา่ นพน้ ไปได้

บททดสอบจาก การขึ้นเขาไปชมถ้าดัมบุลลา ๕ ถ้า จากน้ันก็เขา สิกิริยา
บนั ได ๒,๒๐๐ ขัน้ ลงมาไปสวนสมุนไพร นวดน้ามัน ไหวพ้ ระเขีย้ วแก้ว ชมไร่ชา พาขึ้น

๑๕๘ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

เขาที่มีดอยสูงท่ีสุด เดินตามบันได ๕,๕๐๐ ขั้นขึ้น ๕ ช่ัวโมง ลง ๔ ช่ัวโมง ออกจากท่ี
พักบ่ายโมง กลับถึงที่พัก ๒๒ นาฬิกา ถามว่าเหน่ือยไหม ถ้าตอบว่าไม่ ก็ไม่มีใครเช่ือ
ต้องตอบแบบทหารว่า เหน่ือยพอทนได้ คือเหน่ือยแล้วก็พัก หายเหน่ือยก็เดินต่อ
สุดทา้ ยกถ็ งึ เปาู หมาย ทาภารกจิ สาเร็จ ต่อไปจะได้ตอบกับผู้ถามอย่างภาคภูมิใจว่า คุ้ม
มาก ดกี ว่าตอบว่า ไม่คุ้ม แล้วยงั พาล บอกคนอ่ืนวา่ อยา่ ไปเลย มัน อนั ตราย ! ถามว่า
ประทบั ใจทไ่ี หน ตอบให้ชัดว่า สกิ ริ ยิ า และเขาสมุ นกูฏ

ขณะกาลังเดินขึ้นบันไดไป นอกจากเห็นความต้ังใจ ความอดทน ความเพียร
ของตนเองแล้ว ก็ยังเห็นคนอื่น ๆ ซึ่งมีทุกเพศทุกวัย ขณะขึ้นยังไม่รู้ว่าทุกศาสนา มา
ทราบทีหลังก็ตอนเช้าขณะฉันเช้า จึงเข้าใจในภาษาอีสานว่า กะหยอน ภาษาไทยว่า
มิน่าหละ เห็นเขาจ้องมองเราเหมือนตัวประหลาด จะนอบน้อมกราบไหว้เรา คงใช่คน
ที่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ หากว่ามโี อกาส มีบญุ บารมี ท่แี น่ๆ มีเงิน คงต้องกลับไปข้ึนบันได
อีกคร้ัง

พระครูโสภณชยาภิวัฒน์ ได้กล่าวถึง สถานท่ีที่มีความประทับใจในการ
ทศั นะศึกษา: มีความประทับใจและได้ความรู้เพิ่มเติมจากประสบการที่มีในหลายๆจุด
ที่ได้เขา้ ไปศึกษาและค้นควา้ ดูความเปน็ มาเปน็ ไปของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาที่มีต่อ
ไทยไม่ว่าจะเป็น “จุลาลงกรณ์ธรมศาลา” วัดศรีปรมนันทะ เมืองกอลล์ /ถ้าดัมบุลลา
เมอื งดมั บุลลา ศรีลังกา/เมืองสกิ ิริยาหรือภูเขาสิงโต-เมืองแคนด้ี /วัดพระเค้ียวแก้ว (ได้
สักการะพระบรมธาตุเข้ียวแก้วหือพระทัตธาตุของพพะพุทธองค์) และได้เดินทางไป
นมัสการลอยพระพุทธบาท บนเขาสุณกูฎ (สิริปาทะ) ประเทศศรีลังกา และสุดท้ายท่ี
รู้สึ กดีใจ ภูมิใจป ลื้ มใจเป็ นอย่างมากคือการที่ได้เข้าเฝู ากร าบ คาร าว ะร อง ส มเด็จ
พระสังฆราชและสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้าของประเทศศรีลังกาอย่างใกล้ชิดและมีโอกาส
ไดถ้ วายปจั จยั และผ้าไตรในครง้ั นีด้ ว้ ย

พระครูอุดมธรรมวัตร ได้กล่าวไวว้ า่ สถานที่ทีม่ ีความประทับในทัศนะศึกษาดู
งานเป็นครั้งแรกของชีวิต ที่เดินทางออกนอกประเทศไปทัศนะศึกษาเรียนรู้

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๕๙

พระพุทธศาสนานอกประเทศสาขาพระพุทธศาสนาดุษฎีบัณฑิต การท่ีไปประเทศศรี
ลังกาครง้ั น้ี ขา้ พเจ้ามีความประทับใจในด้านการตอ้ นรับของพระสงฆ์ในประเทศ นั้นก็
คือ วันแรกท่ีได้เข้าพบเจ้าอาวาสวัดศรีปรมันตะจุฬาลงกรณ์ธรรมศาลา ซึ่งวัดน้ี เม่ือ
คร้ังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสในยุโรปคร้ังแรก เมื่อปี
๒๔๔๐ ได้เสด็จไปนมัสการวัดในเมืองกอลล์ เม่ือวันท่ี ๙ เมษายน ๒๔๔๐ ต่อมา
พระองค์ท่านไดส้ รา้ งศาสนสถานในพระพุทธศาสนาแห่งวัดน้ี จนคนไทยทุกยุคทุกสมัย
ท่ีไปเยือนประเทศศรีลังกาจาเป็นต้องไปนมัสการวัดจุฬาลงกรณ์ธรรมศาลาแห่งเป็น
ประจา ข้าพเจ้าได้มีความประทับใจท่ีบรรดาพระสงฆ์สามเณรแห่งวัดนี้ได้มีการ
ต้อนรับเป็นอย่างดี มีอุบาสกชาวศรีลังกาหรือผู้อุปถัมภ์วัดแห่งน้ีมาต้อนรับนาพาเทียว
สถานท่ีพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จมาประทับและสร้างธรรมศาลาให้เป็นที่
พักผ่อนในพระองค์ท่านและคณะที่มาเยือนธรรมศาลาแห่งนี้ หลังจากได้พบปะกัน
พอสมควร เจ้าอาวาสวัดจุฬาลงกรณ์ธรรมศาลา ท่านได้มองของทีระลึกแด่พระนิสิต
ปริญญาเอก และผู้ติดตามจนครบหมดทุกคน คณะนิสิต มจร.ขอนแก่น ร่วมคณะได้
รวบรวมปัจจัยสมทบบูรณะวัดแห่งนี้ให้ไว้แด่เจ้าอาวาสวัด ในที่สุดความประทับใจท่ี
พระศรีลังกาได้มาต้อนรับครั้งนี้ถือว่าเป็นความประทับใจที่ข้าพเจ้าจะจดจาไว้ตลอด
กาลนา

พระครูอุดรภาวนาคณุ (สจจฺ าสโภ) ได้กลา่ วว่า สถานทีท่ ่มี ีความประทับใจใน
การทัศนศึกษาดูงานครัง้ นี้ ทุกๆ สถานท่ีท่ีได้ไป เป็นประสบการณ์ตรงที่ ทาให้ข้าพเจ้า
ได้พบส่ิงท่ีแปลกใหม่แตกต่างจากประเทศไทย แต่ที่ประทับมากเป็นพิเศษ คือ การได้
เดินขึ้นไปแสวงบุญ ณ ยอดเขาสุมนกูฏท่ีประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ช่วงระหว่าง
ทางมีชาวพุทธขึ้นลงเขาโดยไม่ขาดสายท้ังเช้า เย็น ตลอดถึงตอนกลางคืน บรรยากาศ
เบื้องบนยอดเขารอยพระพุทธบาทมีความเย็นมาก เมฆหมอกไหลผ่านเหมือนได้ขึ้นไปบน
สวรรค์ สงบกาย เย็นใจ ซึ่งเหมาะกับการปฏิบัติธรรมเป็นอย่างย่ิง เป็นห้วงเวลาท่ีนัก
แสวงบุญจะได้ฝึกจิตกายฝึกจิตมีสติให้อยู่กับปัจจุบัน อยู่กับลมหายใจเข้าออกทุกขณะ

๑๖๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ของการย่างก้าว ความศรัทธาของชาวพุทธที่มีต่อรอยพระพุทธบาทแห่งนี้ นับเป็นบุญ
อยา่ งย่ิงใหญข่ องชีวิตข้าพเจ้าที่จะจดจาไวช้ ่ัวชีวติ น้ี

พระมหากอ้ งไพร สาคโร ได้กล่าวว่า สถานท่ีที่มีความประทับใจในทัศนะศึกษา
ดูงานว่า สถานที่ท่ีมีความประทับใจในทัศนะศึกษามากที่สุดคือ “พระเขี้ยวแก้วศรีลังกา”
สิ่งรวมใจพุทธศาสตร์ที่พระมหากษัตริย์ต้องดูแลยิ่งชีวิต ถือได้ว่าเป็นตัวแทนของพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า ท่ีชาวศรีลังกาเปรียบดังตัวแทนของพระพุทธเจ้า เห็นคนทั้งหลายเฝูา
รอคอยเวลากราบไหว้พระเขี้ยวแก้ว เมื่อถึงเวลาแล้วก็จะทยอยเข้ากราบไหว้ไม่เคย
วา่ งเวน้ จากศรทั ธา ถอื ว่าได้เข้าถงึ ศรัทธาของชาวศรีลังกา รอยพระพุทธบาทท่ีภูเขาสมณ
กฏู ได้เห็นคนหล่ังไหลไปไหว้รอยพระบาท ถึงจะตั้งบนยอดภูเขาสูงแต่ก็มีคนข้ึนลงไม่ขาด
ระยะ เรารวู้ า่ ทุกคนเป็นชาวพุทธต่างมีศรัทธา วิริยะบากบ่ันท่ีจะข้ึนภูเขาสูงเพ่ือไปกราบ
ไหว้สกั การะรอยพระพทุ ธ ทกุ คนดูยิม้ แย้มแจม่ ใสไมร่ ู้จกั เหน็ดเหน่ือย ย่ิงเห็นเราเป็นพระ
แล้วยิ่งให้ความเคารพบูชา เราก็พลอยได้รับพลังจากคนรอบข้าง ความเข้มแข็ง ความ
ศรัทธาของชาวศรลี งั กา แม้แต่ต้นพระศรีมหาโพธิ์ก็จะให้ความเคารพดูแลรักษาเป็นอย่าง
ดี มีพิธีรดน้าต้นโพธ์ิซ่ึงไม่เคยเห็นจากท่ีอื่น รู้สึกว่าที่อินเดียน่าจะทาเหมือนกัน ต้นโพธิ์
น่าจะดขี ึ้นกวา่ ปจั จุบัน และหลายท่ีทีม่ ีความเก่ียวข้องกบั พทุ ธศาสนา

พระมหาทองสุข สุเมโธ ได้กล่าวถึง สถานท่ีท่ีมีความประทับใจในการไปทัศนะ
ศึกษาว่า ภูเขาสุมนกูฎ หรืออีกชื่อหนึ่งว่า “ศรีปาทะ” (Sri Pada) หรือรู้จักกันในชื่อ
“Adam's PeakW” เปน็ ยอดเขาสูงท่ีสาคัญของศรีลังกา ถึงแม้ว่าความสูงของเขาลูกนี้จะ
สูงไม่มาก (ความสูงเพียง ๒,๒๔๓ เมตร) แต่ความศรัทธาที่ชาวพุทธท่ัวโลกมีต่อเขาลูกน้ี
กลับสูงอย่างหาที่เปรียบไม่ได้ จนกล่าวได้ว่า “ศรีปาทะ” เป็นยอดเขาท่ีมีความสาคัญ
ท่ีสุดของศรีลังกา เพราะเช่ือกันว่าเป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ เน่ืองจากบนยอดเขาน้ันเป็นที่
ประดษิ ฐานรอยพระพุทธบาท ขณะที่ศาสนาฮินดูเชื่อว่าเป็นรอยเท้าของพระศิวะ และ
ศาสนาคริสต์เช่อื วา่ เปน็ รอยเท้าของอาดัม

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๖๑

จากตานานในเร่ืองมหาวงศ์มีอยู่ว่า คร้ังหนึ่งพระพุทธเจ้าได้เสด็จโดยทางอากาศ
ไปยังลังกาทวีป ได้ทรงส่ังสอนชาวศรีลังกาจนเกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา โดย
ก่อนท่ีพระพุทธเจ้าจะเสด็จกลับไปยังชมพูทวีป ได้ทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ประทับรอย
พระพุทธบาทขนาดใหญ่ประดิษฐานไว้บนยอดเขา สาหรับให้ชาวลังกาได้สักการบูชาต่าง
พระองค์ และกลายเปน็ ทแ่ี สวงบุญของพุทธศาสนิกชนมาจนทกุ วันนี้

รอยพระพุทธบาทบนยอดเขาศรีปาทะ จึงเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของอุดม
คตสิ ูงสุดของชาวพุทธ นั่นคือนิพพาน การขึ้นไปแสวงบุญท่ียอดเขาศรีปาทะ จึงไม่ได้มี
ความหมายอ่ืนใดมากไปกว่าช่วงระหว่างทางท่ีปีนเขา คือช่วงเวลาของการฝึกตนและ
เตรียมตนให้พรอ้ ม โดยมนี พิ านเป็นเปูาหมายสูงสุด

ปัจจุบันช่วงฤดกู ารแสวงบุญยอดเขาศรปี าทะมกั เร่ิมตน้ ในช่วงธนั วาคมเร่ือยไป
จนถึงเมษายน ตลอดเสน้ ทางผแู้ สวงบญุ ต้องใชค้ วามพยายามในการเดินลดเลีย้ วไปตาม
แนวเขาและหน้าผาตลอดเส้นทาง แต่เม่ือเดินทางไปเร่ือย ๆ ก็จะพบกับเส้นทางที่ท้ัง
สูงและลาดชันมากยิ่งขึ้น ช่วงเวลานี้เองที่นักแสวงบุญได้เรียนรู้ที่จะฝึกจิตให้อยู่กับ
ปจั จุบนั อยูก่ บั ทุกขณะของการย่างก้าว จนเกิดเปน็ สมาธิ

สมความปรารถนาของผู้แสวงบุญ เมื่อเดินทางมาถึงยอดเขาก็จะพบกับรอย
พระพุทธบาทซึ่งเป็นรอยลึกในแผ่นหิน “ศรีปาทะ” ความศรัทธาที่มีต่อรอยพระพุทธ
บาทแห่งน้ีสะท้อนผ่านฝูงชนหลากหลายเช้ือชาติท่ีมากราบไหว้บูชา จนพูดได้ว่า “ศรี
ปาทะ” เป็นยอดเขาท่ีหลอมรวมความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลกอย่าง
แทจ้ ริง

พระรุ่งธรรม โชติธมฺโม ได้กล่าวว่า สถานที่ท่ีมีความประทับใจในการไป
ทศั นะศึกษา: “ศรีปาทะ” (Sri Pada) หรือรู้จักกันในช่ือ "Adam's Peak" เป็นยอดเขา
สูงท่ีสาคัญของศรีลังกา ถึงแม้ว่าความสูงของเขาลูกน้ีจะสูงไม่มาก (ความสูงเพียง
๒,๒๔๓ เมตร) แต่ความศรทั ธาท่ีชาวพุทธทั่วโลกมีต่อเขาลูกนี้กลับสูงอย่างหาท่ีเปรียบ
ไม่ได้ จนกล่าวได้ว่า “ศรีปาทะ” เป็นยอดเขาท่ีมีความสาคัญท่ีสุดของศรีลังกา เพราะ

๑๖๒ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

เชื่อกันว่าเป็นภูเขาศักด์ิสิทธิ์ เน่ืองจากบนยอดเขาน้ันเป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธ
บาท ขณะที่ศาสนาฮินดูเช่ือว่าเป็นรอยเท้าของพระศิวะ และศาสนาคริสต์เชื่อว่าเป็น
รอยเทา้ ของอาดัม

จากตานานในเรื่องมหาวงศ์มีอยู่ว่า ครั้ งหนึ่ง
พระพุทธเจ้าได้เสด็จโดยทางอากาศไปยังลังกาทวีป
ได้ทรงส่ังสอนชาวศรีลังกาจนเกิดความเลื่อมใสใน
พระพุทธศาสนา โดยก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จ
กลับไปยังชมพูทวีป ได้ทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ประทับรอยพระพุทธบาทขนาดใหญ่
ประดิษฐานไว้บนยอดเขา สาหรับให้ชาวลังกาได้สักการบูชาต่างพระองค์ และ
กลายเปน็ ทแ่ี สวงบญุ ของพทุ ธศาสนิกชนมาจนทุกวันนี้
รอยพระพุทธบาทบนยอดเขาศรีปาทะ จึง
เปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของอุดมคติสูงสุดของชาว
พทุ ธ น่นั คอื นพิ พาน การขึ้นไปแสวงบุญที่ยอดเขาศรีปา
ทะ จึงไม่ได้มีความหมายอื่นใดมากไปกว่าช่วงระหว่าง
ทางทปี่ ีนเขา คือช่วงเวลาของการฝึกตนและเตรียมตนให้พร้อม โดยมีนิพานเป็นเปูาหมาย
สงู สดุ
ปัจจุบันชว่ งฤดูการแสวงบญุ ยอดเขาศรีปาทะมกั เรมิ่ ตน้ ในช่วงธันวาคมเรื่อยไป
จนถงึ เมษายน ตลอดเสน้ ทางผแู้ สวงบญุ ต้องใช้ความพยายามในการเดนิ ลดเล้ยี วไปตาม
แนวเขาและหน้าผาตลอดเส้นทาง แต่เมื่อเดินทางไปเรื่อย ๆ ก็จะพบกับเส้นทางท่ีท้ัง
สูงและลาดชันมากยิ่งขึ้น ช่วงเวลานี้เองท่ีนักแสวงบุญได้เรียนรู้ที่จะฝึกจิตให้อยู่กับ
ปัจจบุ ัน อย่กู ับทกุ ขณะของการยา่ งกา้ ว จนเกิดเป็นสมาธิ
สมความปรารถนาของผู้แสวงบุญ เม่ือเดินทางมาถึงยอดเขาก็จะพบกับรอย
พระพุทธบาทซ่ึงเป็นรอยลึกในแผ่นหิน "ศรีปาทะ" ความศรัทธาท่ีมีต่อรอยพระพุทธ
บาทแห่งน้ีสะท้อนผ่านฝูงชนหลากหลายเช้ือชาติท่ีมากราบไหว้บูชา จนพูดได้ว่า "ศรี

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๖๓

ปาทะ" เป็นยอดเขาท่ีหลอมรวมความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลกอย่าง
แทจ้ รงิ

พระวีระชาติ ธีรสิทฺโธ ได้กล่าวว่า สถานท่ีท่ีมีความประทับใจในทัศนะศึกษา
ดงู าน: พระธาตุเข้ียวแก้ว เพราะวัดพระธาตุเข้ียวแก้วซึ่งเป็นวัดสาคัญท่ีสุดในศรีลังกา
พวกเราจึงได้ทยอยกันไปมนัสการสักการะพระธาตุเข้ียวแก้วแล้วเกิดความปล้ืมปีติ
เหมือนกับได้เข้าเฝูาเฉพาะพระพักตร์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทีเดียว พระธาตุเขี้ยวแก้ว
องค์นี้ถือว่าเป็นสิ่งสักการะบูชาสูงสุดของชาวศรีลังกาถึงขนาดที่ว่าเจ้าชายองค์ใดของ
ศรีลังกาสมัยโบราณได้ครอบครองพระธาตุเขี้ยวแก้ว เจ้าชายองค์น้ันก็จะได้ให้เป็น
กษัตริย์ของศรีลังกาท้ังประเทศทีเดียว แม้ในปัจจุบันนี้ พระธาตุเข้ียวแก้วก็เป็นศูนย์
รวมใจของชาวพุทธศรีลังกาท้ังประเทศ พระธาตุเขี้ยวแก้ว(พระทาฐธาตุ)คือพระธาตุ
สว่ นทเี่ ป็นเขีย้ วของพระพทุ ธเจา้ มีทัง้ หมด ๔ องค์ มหาปริพพานสูตรระบุท่ีประดิษฐาน
ของพระธาตุเขี้ยวแก้วท้ัง ๔ องค์ไว้ว่า องค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ท่ีพระเจดีย์จุฬามณีบน
สวรรค์ช้ันดาวดึงส์ องค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ท่ีพิภพพญานาค องค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ท่ี
แคว้น คันธาระ องค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ที่แคว้นกาลิงคะ ซ่ึงอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียง
ใต้ของอินเดีย กษัตริย์ศรีลังกาในอดีตรักและหวงแหนพระธาตุเข้ียวแก้วมาก เมื่อย้าย
เมืองหลวงไปท่ีใดก็จะอัญเชิญพระธาตุเข้ียวแก้วไปประดิษฐานไว้ท่ีน้ันด้วย เมื่อ
ราชอาณาจักรสุดท้ายของศรีลังกาท่ีเมืองแคนดีสูญเสียเอกราชให้กับอังกฤษเมื่อ พ.ศ.
๒๓๕๘ ชาวพุทธศรีลังกาได้สร้างวัดพระธาตุเข้ียวแก้ว ณ ท่ีปัจจุบันแล้วต้ังคณะกรรม
การรักษาพระธาตุเขี้ยวแก้วกันเองโดยไม่ยอมให้อังกฤษเข้ายุ่งเก่ียวซึ่งฝุายอังกฤษก็
ยนิ ยอมโดยดี

พระศภุ ราชัย สรุ สกฺโก ได้กล่าวว่า สถานที่ที่มีความประทับใจในทัศนะศึกษา
ดูงานคือ สถานท่ีพระพุทธบาทเขาสุมณกูฎ (สิริปาทะ) รอยพระพุทธบาท เขาสุมนกูฏ
ประเทศศรีลังกา - ศรีปาทะ (Sri Pada) ตามตานานพระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาประทับ
รอยพระพุทธบาททภ่ี ูเขาสุมนกูฏแห่งน้ี ภูเขานช้ี ่อื ภาษาอังกฤษว่า Adam's Peak มีอีก

๑๖๔ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ช่ือว่า Sumana-kuta ตานานสมัยสุโขทัย หลักฐานที่ใช้ประกอบการพิจารณาเรื่องนี้
หาได้ยากเตม็ ท.ี ท่พี อจะชท้ี ิศทางของเมอื งราดไดบ้ ้างเป็นเค้ามูล ก็คือจารึกเขาสุมนกูฏ
(เขาพระบาทใหญ่) เมืองสุโขทัย.๑๐ จารึกหลักนี้เป็นจารึกของพญาฤาไทย,๑๑ จารึก
ในราว พ.ศ. ๑๙๑๓-๑๙๑๕. ตอนต้นเล่าถึง พญาเลอไทย (โอรสพ่อขุนรามคาแหง)
จาลองรอยพระพุทธบาทจากยอดเขา “สุมนกูฏ” (สุมนกูฏ-Adam’s peak) เมือง
ลงั กามา ประดิษฐานไว้เหนือยอดเขาเมอื งสุโขทัย, ใหช้ อื่ ภูเขานัน้ ใหม่ตามอย่างลังกาว่า
"สูมนกูฏ" คติที่ถือกันในลังกาทวีปน้ัน เกิดขึ้นภายหลัง โดยอ้างว่า พระพุทธเจ้าได้ทรง
ประทับรอยพระพุทธบาทไว้ให้เป็นท่ีสักการะบูชา มีอยู่ ห้าแห่งด้วยกัน คือท่ีเขา
สุวรรณมาลิก เขาสุวรรณบรรพต เขาสุมนกูฏ ท่ีเมืองโยนกบุรี และที่หาดในลาน้านัม
ทานที มีคาถา คานมัส การ แต่งไว้สาหรับสวดท้ายบทสวดมนต์อย่างเก่า ดังน้ี สุวณฺณ
มาลิเก สุวณฺณ ปัพพเต สุมนกูเฏ โยนกปุเร นมฺมทาย นทิยา ปัญฺจปทวร อห วนฺทามิ
ทูรโต เดิมเรารู้จักแต่รอยพระพุทธบาทท่ีเขาสุมนกูฏ ซึ่งอยู่ที่ลังกาทวีปแห่งเดียว ตาม
ตานานในเร่อื งมหาวงศ์ มีว่า คร้ังหนึ่ง พระพุทธเจ้า ได้เสด็จโดยทางอากาศไปยังลังกา
ทวีป ได้ทรงสั่งสอนชาวลังกาทวีป จนเกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ก่อนที่
พระองค์จะเสด็จ กลับไปยังมัชฌิมประเทศ ได้ทรงกระทาอิทธิปาฏิหารย์ ประทับรอย
พระพุทธบาท ซ่ึงมีขนาดใหญ่ มีความยาวประมาณหน่ึงวา ประดิษฐานไว้บนยอดเขา
สมุ นกฏู สาหรบั ให้ชาวลงั กาได้สกั การบูชาต่างพระองค์

พระสราวุฒิ วิสารโท ได้กล่าวว่า สถานที่ท่ีมีความประทับใจในการทัศนะ
ศึกษาดูงานท่ีประทับใจ คือยอดเขาที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท มีชื่อตามบาลีว่า
“สุมนกูฏ” ประเทศศรีลังกา หรือ ศรีปาทะ (Sri Pada) หรือ ยอดเขาของอดัม
(Adam's Peak)

ในตานานเรื่องมหาวงศ์ ว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จทางอากาศไปยังลังกาทวีป
และทรงเทศนาส่ังสอนชาวลังกาจนเกิดความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ก่อนท่ี

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๖๕

พระพุทธเจ้าจะเสด็จกลับมัชฌิมประเทศ จึงได้ทรงทาปาฏิหาริย์ประทับรอยพระพุทธ
บาทไว้ ณ ยอดเขาสมุ นกูฎ เพื่อให้ชาวลงั กาไดท้ าการสกั การบูชา

ต่อมาราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ เม่ือหลวงจีนฟาเหียนเดินทางมาถึงลังกา ได้
บันทึกโดยเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ประทับรอยพระบาทไว้สองแห่งในลังกา คือ ยอดเขา
สุมนกูฏแห่งหนึง่ กับอีกรอยทางทิศเหนือของเมืองอนุราธปุระ ซึ่งในเอกสารลังกากลับ
ไมพ่ บการยืนยนั ถึงสถานที่ดังกล่าว

รอยพระพุทธบาทบนยอดเขาศรีปาทะ จึงเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของอุดม
คติสูงสดุ ของชาวพทุ ธ นัน่ คอื นิพพาน การขึ้นไปแสวงบุญท่ียอดเขาศรีปาทะ จึงไม่ได้มี
ความหมายอืน่ ใดมากไปกว่าช่วงระหว่างทางท่ีปีนเขา คือ ช่วงเวลาของการฝึกตนและ
เตรียมตนให้พร้อม โดยมีนิพานเป็นเปูาหมายสูงสุด ปัจจุบันช่วงฤดูการแสวงบุญยอด
เขาศรีปาทะมักเร่ิมต้นในช่วงธันวาคมเรื่อยไปจนถึงเมษายน ตลอดเส้นทางผู้แสวงบุญ
ต้องใช้ความพยายามในการเดินลดเล้ียวไปตามแนวเขาและหน้าผาตลอดเส้นทาง แต่
เมื่อเดินทางไปเรือ่ ย ๆ ก็จะพบกบั เส้นทางที่ท้ังสูงและลาดชันมากย่ิงขึ้น ช่วงเวลาน้ีเอง
ทน่ี กั แสวงบุญได้เรียนรู้ท่ีจะฝึกจิตให้อยู่กับปัจจุบัน อยู่กับทุกขณะของการย่างก้าว จน
เกิดเป็นสมาธิละกส็ มความปรารถนาของผู้แสวงบุญ เม่ือเดินทางมาถึงยอดเขาก็จะพบ
กับรอยพระพุทธบาท ซ่ึงเป็นรอยลึกในแผ่นหิน “ศรีปาทะ” ความศรัทธาท่ีมีต่อรอย
พระพุทธบาทแหง่ นสี้ ะทอ้ นผ่านฝงู ชนหลากหลายเชื้อชาติท่ีมากราบไหว้บูชา จนพูดได้
ว่า “ศรีปาทะ” เป็นยอดเขาท่ีหลอมรวมความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลก
อย่างแทจ้ รงิ

พระอธิการสายแพร กตปญฺโญ ได้กล่าวถึง สถานท่ีที่มคี วามประทับใจในการ
ทัศนะศึกษาดูงานว่า มีความประทับใจ ยอดเขาที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท มีชื่อ
ตามบาลีว่า “สุมนกูฏ” ประเทศศรีลังกา หรือ ศรีปาทะ (Sri Pada) หรือ ยอดเขาขอ
งอดมั (Adam’s Peak)

๑๖๖ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ในตานานเร่ืองมหาวงศ์ ว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จทางอากาศไปยังลังกาทวีป
และทรงเทศนาส่ังสอนชาวลังกาจนเกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ก่อนที่
พระพุทธเจ้าจะเสด็จกลับมัชฌิมประเทศ จึงได้ทรงทาปาฏิหาริย์ประทับรอยพระพุทธ
บาทไว้ ณ ยอดเขาสุมนกฎู เพ่อื ใหช้ าวลังกาได้ทาการสกั การบูชา

ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ ๑๐ เมื่อหลวงจีนฟาเหียนเดินทางมาถึงลังกา ได้
บันทึกโดยเชื่อว่าพระพุทธเจ้าได้ประทับรอยพระบาทไว้สองแห่งในลังกา คือ ยอดเขา
สมุ นกูฏแหง่ หนึง่ กับอีกรอยทางทิศเหนือของเมืองอนุราธปุระ ซึ่งในเอกสารลังกากลับ
ไมพ่ บการยืนยนั ถึงสถานทีด่ ังกล่าว

รอยพระพุทธบาทบนยอดเขาศรีปาทะ จึงเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนของอุดม
คตสิ งู สุดของชาวพทุ ธ นน่ั คอื นพิ พาน การขนึ้ ไปแสวงบุญที่ยอดเขาศรีปาทะ จึงไม่ได้มี
ความหมายอื่นใดมากไปกว่าช่วงระหว่างทางที่ปีนเขา คือ ช่วงเวลาของการฝึกตนและ
เตรียมตนให้พร้อม โดยมีนิพานเป็นเปูาหมายสูงสุด ปัจจุบันช่วงฤดูการแสวงบุญยอด
เขาศรีปาทะมักเริ่มต้นในช่วงธันวาคมเรื่อยไปจนถึงเมษายน ตลอดเส้นทางผู้แสวงบุญ
ต้องใช้ความพยายามในการเดินลดเล้ียวไปตามแนวเขาและหน้าผาตลอดเส้นทาง แต่
เมือ่ เดินทางไปเรอ่ื ย ๆ กจ็ ะพบกบั เส้นทางที่ทั้งสูงและลาดชันมากยิ่งข้ึน ช่วงเวลาน้ีเอง
ทน่ี กั แสวงบญุ ได้เรียนรู้ท่ีจะฝึกจิตให้อยู่กับปัจจุบัน อยู่กับทุกขณะของการย่างก้าว จน
เกดิ เปน็ สมาธลิ ะกส็ มความปรารถนาของผู้แสวงบุญ เม่ือเดินทางมาถึงยอดเขาก็จะพบ
กับรอยพระพุทธบาท ซ่ึงเป็นรอยลึกในแผ่นหิน “ศรีปาทะ” ความศรัทธาท่ีมีต่อรอย
พระพทุ ธบาทแห่งน้ีสะท้อนผา่ นฝูงชนหลากหลายเช้ือชาติท่ีมากราบไหว้บูชา จนพูดได้
ว่า “ศรีปาทะ” เป็นยอดเขาท่ีหลอมรวมความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลก
อย่างแทจ้ รงิ

พระอนุสรณ์ ปรกฺกโม ได้กล่าวว่า สถานที่ท่ีมีความประทับใจในการทัศนะ
ศึกษาดูงาน : ประเทศศรีลังกามีสถานท่ีเกี่ยวข้องทางพระพุทธศาสนาที่น่าสนใจหลาย
ท่ี แต่ทีผ่ เู้ ขียนประทับใจมคี วามประทบั ใจทีส่ ุด ได้แก่ รอยพระพทุ ธบาท

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๖๗

รอยพระพุทธบาท (Foot Print) ชาวศรีลังกาเรียกกันว่า ศรีปาทะ (Sri
Pada) ที่อยู่บนยอดเขา “สุมนกูฏ” (Adam’s Peak) ในตานานเร่ืองมหาวงศ์ ว่า
พระพุทธเจา้ ไดเ้ สด็จทางอากาศไปยังลงั กาทวีปและทรงเทศนาส่ังสอนชาวลังกาจนเกิด
ความเล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนา กอ่ นทพ่ี ระพทุ ธเจ้าจะเสด็จกลับมัชฌิมประเทศ จึงได้
ทรงทาปาฏิหาริย์ประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ณ ยอดเขาสุมนกูฎ เพ่ือให้ชาวลังกาได้
ทาการสักการบูชา

ศรีปาทะคือสถานที่สุดท้ายในรายการจาริกของเราก่อนกลับกรุงโคลัมโบ
ขณะเดียวกันก็เป็น “จุดสุดยอด” ของการเดินทางครั้งน้ีด้วย น้อยคนนักที่มาเที่ยวศรี
ลังกาแล้วจะไดไ้ ปถงึ ยอดศรีปาทะ (ซง่ึ นกั ท่องเที่ยวต่างชาติรู้จักในนาม Adams Peak)
สาเหตุก็เพราะศรีปาทะนั้นเป็นเขาสูงเกือบ ๒,๒๕๐ เมตร ต่ากว่าดอยอินทนนท์แค่
๓๒๐ เมตรเท่าน้ัน ที่สาคัญก็คือไม่มีถนนไปถึง ต้องเดินด้วยเท้าเท่าน้ันจึงจะขึ้นไปถึง
ยอดได้ ดังน้ันจึงต้องอาศัยทั้งกาลังกายและกาลังใจอย่างยิ่งยวด สาหรับคณะของเรา
นค้ี ือจุดหมายที่ท้าทายอย่างย่ิงจนเกิดเป็นสมาธิละก็สมความปรารถนาของผู้แสวงบุญ
เม่ือเดินทางมาถึงยอดเขาก็จะพบกับรอยพระพุทธบาท ซึ่งเป็นรอยลึกในแผ่นหิน "ศรี
ปาทะ" ความศรัทธาที่มีต่อรอยพระพุทธบาทแห่งนี้สะท้อนผ่านฝูงชนหลากหลายเช้ือ
ชาติท่ีมากราบไหว้บูชา จนพูดได้ว่า "ศรีปาทะ" เป็นยอดเขาที่หลอมรวมความศรัทธา
ของพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลกอย่างแท้จริง ระหว่างทางมีผู้คนมากมาท่ีมีแรงศรัทธา
ต่อพระพุทธเจ้า มีทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่ เด็กเล็ก เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ คนชรา บ้างก็มา
เป็นคู่ๆ บา้ งกม็ าเป็นครอบครวั รอ้ งเพลง สวดมนต์ระหว่างเดนิ ทาง บ้างก็ให้กาลังใจซ่ึง
กันและกัน แม้จะเหนื่อยยากเพียงใด ทุกคนต่างเต็มไปด้วยรอยยิ้มท่ีเป้ือนเหง่ือ เห็น
ภูเขาศรีปาทะอยู่ไกลๆ โดดเด่นเป็นสง่า ยอดสูงเสียดฟูา นับเป็นภูเขาท่ีสวยงามได้รูป
ด้านทง้ั สองสอบเข้าหากันและมาบรรจบท่ียอดอันเป็นท่ีประดิษฐานรอยพระพุทธบาท
ลักษณะคล้ายสามเหล่ียมด้านเท่าหรือพีระมิด สมแล้วที่สามารถสะกดใจและบันดาล
ศรทั ธาให้แก่ผคู้ นมานานกว่าพันปี แต่ช่ืนชมได้ไม่นาน ความรู้สึกคร่ันคร้ามและหนักใจ

๑๖๘ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

กม็ าแทนท่ี เม่อื ระลึกไดว้ า่ ยอดเสียดฟูานน้ั คือจุดหมายที่เราต้องเดินไปให้ถึงในอีกไม่ ก่ี
ชั่วโมงน้ี มองด้วยตาเปล่าก็เห็นได้ว่านอกจากยอดเขาจะอยู่สูงและไกลแล้ว ยังชันอีก
ด้วย ความลาดเอียงไม่น้อยกว่า ๔๐ องศา ยิ่งสูงก็ย่ิงชัน อาจถึง ๕๐ องศาด้วยซ้า ดู
แลว้ ยงั นกึ ไมอ่ อกว่าจะขึน้ ไปถึงและกลบั ลงมาภายใน ๑ วันได้อย่างไร ผ่านไปได้ชั่วโมง
หน่ึงแล้ว จุดหมายก็ยังอยู่อีกไกล แถมยังชันข้ึนทุกที กาลังก็ลดน้อยถอยลงเป็นลาดับ
ขณะที่ความเหนื่อยเม่ือยล้าเพิ่มข้ึน ถึงตอนน้ีก็รู้แล้วว่างานน้ีเดินด้วยเท้าอย่างเดียวไม่
พอ ต้องอาศยั ใจช่วยด้วย

พอเดินทางถึงหลักกิโลเมตรที่ ๔ คนที่เดินลงมาบอกว่าสู้ๆ อีก ๕ กิโลเมตร
แค่นั้นแหล่ะ กาลังใจหายไปหมด ประกอบกับเดินขึ้นรูปสุดท้าย รูปอ่ืนๆ เดินทางไป
หมดแลว้ ได้แต่นักพักและถามใจตัวเองว่า อยู่วัดดีๆ ไม่ชอบ มาทาไมให้ลาบาก นักไป
สักประมาณครึง่ ชั่วโมง ก็เหน็ ทง้ั คนชรา เด็กเล็กๆ รวมถึงคนพิการต่างต้ังหน้าตั้งตาข้ึน
ไปบนยอดเขา รวมถึง หัวหน้าไกด์ท่องเที่ยวก็ยืนรออยู่ด้วย เลยคิดในใจเราจะยอมแพ้
แก่คนพวกน้ันหรือ จึงรวบรวมกาลังกายและกาลังใจของตนขึ้นมาใหม่ แล้วหา
น้าอัดลมเพ่ือเพิ่มพลังงานให้มีแรงเดินต่อไป จากนั้นก็เดินทางต่อไปข้างหน้า พอถึง
หน้าเผาท่ีสูงชัน เท้าเริ่มก้าวไม่ไหวแล้ว ชาวศรีลังกาที่กาลังเดินลงมาย้ิมให้และย่ืนไม้
ยาวๆ เพื่อค้าและลดกาลังในการเดินมาให้ ได้พบกับน้าใจดีๆ จากต่างแดน แม้จะต่าง
ภาษาแต่ก็หัวใจพระพุทธศาสนาเช่นเดียวกัน ย่ิงมีกาลังใจเพิ่มข้ึนไปอีก เดินทางไปอัก
สักพัก ก็เห็นยอดเขาและมีส่ิงปลูกสร้างงดงามอลังการมาก สื่อให้เห็นความศรัทธาต่อ
พระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก บนยอดเขาสูงขนาดนี้ยังสามารถสร้างได้ยิ่งใหญ่
อลังการไดข้ นาดน้ี พอเดินข้ึนไปถึงยอดเขาเท่าน้ันแหล่ะ ความเหน็ดเหนื่อยที่สะสมมา
หลายชัว่ โมง ได้มลายหายไป เมื่อพบผู้คนมากมายยืนสวดมนต์ด้วยความเล่ือมใส และ
รอยพระพุทธบาทที่อยู่ตรงหน้ายิ่งรู้สึกภูมิใจท่ีสามารถเดินทางขึ้นมากราบสักการะ
บูชาได้ เป็นประสบการณ์ที่สาคัญครั้งหนึ่งในชีวิต ที่ไม่เคยประสบพบเจอ หลักจากนั้น
ก็พากันเดินทางกลับท่ีพัก ระหว่างทางยิ่งค่าย่ิงมีคนขึ้นมาเยอะมาก จนแทบไม่มี

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๖๙

หนทางเดินแต่ก็ยังพากันขึ้นมา แสดงให้เห็นความศรัทธาต่อพระพุทธเจ้าของ
พุทธศาสนิกชนศรีลังกาย่ิงนัก ช่วงประมาณ ๒ ทุ่ม เห็นหญิงวัยกลางคนคนหน่ึงที่เขา
กาลังจะหามลงไป เธอเป็นร่างท่ีไร้วิญญาณ สาเหตุจากหัวใจเต้นแรงเกินไปจนขาดใจ
ยิ่งตอกย้าความศรัทธาต่อการเดินทางเพื่อไปสักการะรอยพระพุทธบาท ยิ่งนักขนาด
ยอมตายถวายชีวิตขนาดนี้ จากนั้นสักระยะก็เดินทางถึงที่พักใช้เวลาเดินทางจากท่ีพัก
ต้ังแต่เวลา ๑๒.๓๐ น. ไปถึงยอดเขา เวลา ๑๗.๓๐ น. และเดินทางลงจากยอดเขา
๑๘.๐๐ น. ถึงที่พัก ๒๒.๓๐ น. รวมเวลาเดินทาง ๑๐ ช่ัวโมง น่ีแหล่ะเป็นสถานที่ท่ี
ประทบั ใจท่ีสุดในการเดนิ ทางศกึ ษาดงู านทป่ี ระเทศศรีลังกาในครั้งนี้

นางเจือจันท์ วังทะพันธ์ ได้กล่าวว่า สถานที่ท่ีมีความประทับใจในการทัศน
ศึกษาคร้ังน้ีว่า การเห็นพุทธศาสนิกชนชาวศรีลังกาและชาวต่างชาติ ท่ีได้มานมัสการ
ณ วัดพระเข้ียวแก้ว ดาลดา มัลลิกาวะ (Dalada Valigawa) เป็นที่ประดิษฐานพระ
เขี้ยวแก้ว พระทันตธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซ่ึงถือเป็นสิ่งศักด์ิสิทธิ์
คู่บ้านคู่เมืองศรีลังกา พระเขี้ยวแก้วเพียงองค์เดียวท่ีปรากฏบนโลกมนุษย์โดยมีหลัก
ฐานรองรับความถูกต้องตรงตามพระคัมภีร์มหาวงศ์ด้วยว่า พระทันตธาตุหลังจากการ
ถวายพระเพลงิ พทุ ธสรีระแลว้ นบั ตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษที่ ๙ พระเขี้ยวแก้วได้ประดิษฐาน
อยู่บนแผ่นดินแห่งนี้มาโดยตลอด มิเคยถูกนาออกนอกดินแดนน้ีเลยตั้งแต่ถูกอัญเชิญ
มาจากชมพูทวีป โดยเจ้าหญิงเหมมาลาแห่งแคว้นกาลิงคะ เมื่อกว่า ๑,๗๐๐ ปีก่อน
ชาวศรีลงั กาตา่ งถวายเคารพต่อพระทันตธาตุอย่างสูงสุด โดยเชื่อกันว่าหากเม่ือใดพระ
เข้ียวแก้วถูกนาออกนอกเกาะลังกาแล้ว จะนาภัยพิบัติมาสู่ประเทศชาติและยังเชื่อว่า
หากเม่ือใดที่เกิดทุกข์ภัยขึ้น การเปิดอัญเชิญพระเข้ียวแก้วออกให้ผู้คนสักการบูชาจะ
สามารถขจัดเภทภัยตา่ ง ๆ ได้

พระเขีย้ วแก้วเปน็ สมบัตอิ นั ล้าคา่ สาหรับชาวพทุ ธศรีลังกา ปรากฏหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ว่า ในปีท่ี ๙ แห่งรัชสมัยพระเจ้าศิริเมฆวรรณ (โอรสของพระเจ้ามหา
เสนะ) คือประมาณปี พ.ศ. ๙๑๓ เจ้าชายทันตกุมาร และเจ้าหญิงเหมชาลา แห่งแคว้น

๑๗๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

กาลิงคะในอินเดียได้แอบซ่อนพระธาตุเขี้ยวแก้ว ซึ่งเป็นพระเขี้ยวด้านซ้ายของ
พระพุทธเจ้าหนีไปยังเกาะลังกาตามพระบัญชาของพระบิดาคือ พระเจ้าคุหเสวราช
เพราะพระเข้ียวแก้วน้ีเป็นท่ีต้องการของเมืองต่าง ๆ ย่ิงนัก อาจทาให้ก่อเกิดสงคราม
และพระเข้ียวแก้วอาจตกไปอยู่ในมือของฝุายศัตรูได้ พระเจ้าคุหเสวราช เห็นว่า เกาะ
ลังกาคู่ควรท่ีเป็นท่ีประดิษฐานพระเขี้ยวแก้วน้ี จึงมีพระบัญชาดังกล่าว ในรัชสมัยพระ
เจา้ วิชยั พาหทุ ี่ ๖ แห่งโกฎเฏ (พ.ศ.๑๙๓๐-๑๙๓๔) พระเจ้าจักรพรรดิจีนพระนามว่า ยุง
โห ได้ส่งแม่ทัพคนหนึ่งมาขอพระธาตุเข้ียวแก้วจากเกาะลังกาแต่ได้รับการปฏิเสธ เป็น
เหตุให้จีนส่งกองทัพมาจับ พระเจ้าวิชัยพาหุท่ี ๖ ไปเป็นเชลยท่ีเมืองจีน แม้ต่อมาจะ
ปลดปล่อยแต่จีนก็หาเหตุให้เกาะลังกาส่งส่วยแก่ตนเป็นเวลาถึง ๕๐ ปี มีประเพณีสืบ
ทอดกันมาว่า ผู้เป็นสังฆนายกแห่งวัดมัลลวัตตะ และวัดอัสสคีรี ซึ่งเป็นพระฝุายสยาม
วงศ์ท้ังสองวดั จะตอ้ งผลดั เปลี่ยนหมุนเวียนกนั มีหนา้ ทคี่ อยดูแลพระธาตุเขีย้ วแก้ว

ชาวศรีลังกามีความเช่ือถือว่า ถ้าฝนแล้งเจ้าหน้าที่จะอัญเชิญพระธาตุเข้ียว
แก้วออกแห่เพื่อขอฝนและจะได้สัมฤทธิผลดังปรารถนาจริง ๆ ชาวศรีลังกาเชื่อว่า ถ้า
ใครได้ครอบครองพระเขี้ยวแก้ว ก็จะเป็นพระราชาพระมหากษัตริย์ มีเรื่องเล่าเร่ือง
เกย่ี วกับอภนิ หิ ารของพระเข้ียวแก้ว ในหนังสือประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ฉบับมุข
ปาฐะไว้ว่า "เมื่อโปรตุเกสครอบครองศรีลังกาอยู่นั้น เพื่อเป็นการถอนรากถอนโคน
พระพุทธศาสนาในเกาะลังกา โปรตุเกสได้ออกกฎหมายใช้เก็บภาษีต่อครอบครัวชาว
พุทธอย่างรุนแรง ผู้ใดยอมรับนับถือศาสนาคริสต์ก็ได้อภิสิทธิ์ไม่ต้องเสียภาษี จึงมีชาว
ศรีลังกาเข้ารีตเป็นจานวนมากรวมทั้งพระเจ้าธรรมปาละแห่งโคลัมโบด้วย เข้ารีตแล้ว
เปลยี่ นชื่อเป็น พระเจ้าดองยวง และเพ่อื เปน็ การประกาศชยั ชนะของพระผู้เป็นเจ้า นัก
สอนศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกจึงสั่งให้ พระเจ้ายองดวงมอบพระเข้ียวแก้วให้
แล้ว หัวหน้าบาทหลวงคาทอลิกได้ใช้ครกตาพระเข้ียวแก้ว ต่อหน้าชาวศรีลังกาจน
ทาลายไปหมด รัฐบาลโปรตุเกสได้ออกเหรียญท่ีระลึกในงานน้ี รูปเหรียญด้านหนึ่งเป็น
รูปผู้สาเร็จราชการโปรตุเกสจารึกว่า "ผู้พิทักษ์อันเที่ยงแท้" อีกด้านหนึ่งเป็นรูป

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๗๑

บาทหลวงตาพระเขี้ยวแก้ว พระสันตปาปาแห่งโรมได้ส่งสาส์นมาแสดงความยินดี แต่
พระเจ้าวิมลธรรมสุริยะแห่งกรุงแคนดีบอกว่า พระเขี้ยวแก้วของจริงอยู่ท่ีตน ท่ีพวก
บาทหลวงทาลายเป็นของปลอม" ศรีลังกานั้น ถือว่าพระเข้ียวแก้ว เป็นสัญลักษณ์แห่ง
ความเป็นเอกราชและเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นกษัตริย์แห่งลังกาด้วย โดยในราว
เดือนสิงหาคมของทุกปีจะพิธีกรรมอันยิ่งใหญ่สมโภชพระเข้ียวแก้ว จะมีริ้วขบวนยาว
เหยียดนาด้วยช้างท่ีตกแต่งประดับประดาอย่างสวยงาม มีระบาราฟูอน การแสดง
พนื้ เมอื งลังกา และดนตรีพ้นื เมืองลงั กาบรรเลงแหง่ ไปรอบเมือง

นางสาวจันทร์ศิริ พลอยงาม ได้กล่าวว่า สถานที่มีความประทับในทัศนะ
ศึกษาดูงานในการทัศนะศึกษาในการเรียนปริญญาเอกสาขาพระพุทธศาสนานี้ เป็น
คร้ังแรกของชีวติ ของขา้ พเจา้ ฯ ที่เดินทางออกนอกประเทศโดยการนั่งเคร่ืองบิน และ
ไปประเทศท่ขี า้ พเจ้าไมเ่ คยคิดว่า จะไปเลยในชวี ิต แต่เพราะเป็นการเรียนและเป็นส่ิงที่
ขา้ พเจ้าเลอื กเรียนเองเพราะอยากรูใ้ นเรือ่ งของพระพุทธศาสนา จึงทาให้เกิดความรู้สึก
ประทับใจในการไปในครงั้ นท้ี กุ สถานท่ที ไี่ ด้ไปกราบไหว้ และ ขอพรรู้สึกถึงความเคารพ
และศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาของประชาชนของประเทศศรีลังกาเพราะเห็นจากการที่
ประชาชนแห่แหนกันเข้าไปกราบไหว้แต่ละสถานท่ีมีทั้งเด็กเล็กไปจนถึงคนแก่ คน
พิการ คนปุวยเพ่ือที่จะขอพรให้พระคุ้มครอง และข้าพเจ้าประทับใจที่มีเพื่อนเรียน
หนงั สือทเี่ ปน็ พระ และเพื่อนท่ีเปน็ ผหู้ ญิงดว้ ยกนั ท่านก็ดูแลข้าพเจ้าได้เป็นอย่างดี คือ
เพอ่ื นกนั จะไม่ท้งิ กนั ในเวลาทีล่ าบากคอยให้กาลังใจตลอดเวลาในการเดินทางไปทัศนะ
ศกึ ษาในครัง้ น้ี เพราะขา้ พเจา้ ไมส่ บายก่อนออกเดนิ ทางจึงเป็นส่ิงที่ประทับใจมากที่สุด
คือ ข้าพเจ้าสามารถข้ึนไปกราบรอยพระพุทธบาทได้โดยปลอดภัยทั้งขาขึ้นและขาลง
มีเพื่อนพระท่ีคอยพูดให้กาลังใจตลอดระยะเวลาท่ีเดินขึ้นเขาถึงแม้จะเหน่ือยและท้อ
มากจนไม่อยากเดินต่อไปแล้ว คือหลวงพ่ีรุ่งธรรมเป็นผู้คอยดูแลและคอยปลอบใจให้
ข้อคิดตลอดเวลาท่ีเดินทาง เม่ือขึ้นไปถึงก็หิวน้ามากและขอน้ากินจากหลวงพ่ีวีระชาติ
ก็ได้กิน และหลวงพี่ทองสุข ก็ให้เงินในการทาบุญ นี่คือความประทับใจมาก และตอน

๑๗๒ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ขาลงกม็ ี หลวงพ่ีอนุสรณ์ และหลวงพ่รี งุ่ ธรรม หลวงพ่อสุเมธ เป็นผู้คอยดูแลตลอดการ
เดินทางลงจากเขา จึงเป็นความประทับในครั้งหนึ่งของชีวิตและเป็นคร้ังแรกของชีวิตที่
มีเพ่ือนเป็นพระคอยดูแล เพราะไม่เคยคดิ ว่าจะมีประสบการณ์แบบนี้ในชวี ิตเลยคะ

นายพิจิตร พงษ์เกษ ได้กล่าวว่า สถานท่ีประทับใจในการทัศนศึกษาที่
ประเทศศรีลังกา คือ พุทธศาสนสถานพระเข้ียวแก้ว เพราะเป็นแหล่งทะเลสาบ อัน
เป็นร่มรื่น มีแมกไม้นานพันธุ์ ซ่ึงเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของศาสนิกชน อากาศเย็นร่ม
รื่น อารมณ์สบาย อีกยังมีนกหลากหลายชนิด ได้สอบถามผู้ไปเท่ียวพักผ่อนว่านก
เหลา่ นี้ ชาวบา้ นไม่รงั แกไมเ่ บียดเบียนก และบอกวา่ นกเหลา่ นีเ้ ป็นนกมาจากเทวโลกได้
นาพรเสยี งเทวดามาอวยพรให้ผู้มาพกั ผอ่ น ณ ทะเลสาบแหง่ นี้

๓.๕ สิ่งท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษา
พระครูวรมงคลประยุตได้กล่าว สิ่งที่ได้จากการศึกษาในครั้งน้ีว่า การศึกษาดู

งานในครั้งน้ี ทาให้ขา้ พเจ้าได้รับประสบการณ์และความรู้ ได้พบประชาชนชาวศรีลังกา
และชาติต่างๆ จากทั่วโลกมาสักการะกราบไหว้สิ่งศักด์ิสิทธิ์ในศรีลังกา การรดน้าต้น
โพธิ์ซึ่งเป็นประเพณีสืบทอดกันมาแต่โบราณ การเคารพกราบไหว้และบทสวดมนต์ขอ
พรจากพระพุทธเจ้าด้วยสาเนียงท่ีแปลกหูจากที่เมืองไทยสวด ทาให้สัมผัสในรสพระ
ธรรมได้อย่างซาบซึ้ง ได้พบเห็นความศรัทธาอย่างแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนาของ
ประชาชนชาวศรีลังกา เป็นส่ิงที่ประทับอย่างมาก การใช้ชีวิตของชาวศรีลังกาแบบ
เรยี บง่าย ไม่ฟูุงเฟูอ นกั เรยี น นกั ศึกษาจะใส่ชุดแบบฟอร์มสีขาวทั้งหมดเป็นที่งดงามย่ิง
นกั การรบั ประทานอาหารส่วนใหญจ่ ะเป็นอาหารมังสวิรัติ

พระครูวิบูล ภัทโรภาส (โอภาโส) กล่าวถึงส่ิงท่ีได้จากการศึกษาในคร้ังน้ีว่า
การศึกษาดูงานในครั้งนี้ ทาให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้ และได้พบสิ่งมหัศจรรย์ตามรอย
ของพระพุทธองค์ ได้เก็บเกี่ยวประสบการณ์จากสถานท่ีต่าง ๆ พร้อมถ่ายภาพไว้ทุก
สถานท่ี เพ่ือเก็บไว้เตือนความทรงจา และจะนาเอาส่ิงท่ีดีคือ ความศรัทธาอย่างแรง

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๗๓

กล้าต่อพระพุทธศาสนาของประชาชนชาวศรีลังกา ไปเล่าสู่ญาติโยมฟัง ให้ถือเป็น
แบบอย่างที่ดี และนาไปปฏิบตั ิเปน็ ตวั อย่างตอ่ ลูกหลานสืบไป

พระครูสุเมธธรรมกิจ ได้กล่าวถึง สิ่งที่ได้จากการศึกษาในครั้งน้ี: ได้เห็น
ขนบธรรมเนียมประเพณีศรีลังกา จะถอดร้องเท้าก่อนเข้าสถานที่ ศักด์ิสิทธิ์ และเข้า
บ้านพกั อาศยั สตรจี ะสวมกระโปรงยาว หรือกางเกงหลวม เส้ือผ้าฝูายหลวมๆ ชาวศรี
ลังกายังนิยมรับประทานอาหารด้วย มือขวา หรือท้ังสองมือจึงจะถือว่าสุภาพ การ
แสดงความเคารพจะใช้วิธีพนมมือไหว้เหมือนคนไทย ได้พบเห็นส่ิงใหม่ ๆ ในด้านพุทธ
ศาสนาของประเทศศรีลังกา ถึงแม้ประเทศของเขาจะมีหลายศาสนาเช่นเดียวกันกับ
ไทย และเห็นถงึ การก่อสร้างสง่ิ ประดิษฐ์ท่ีเก่ียวกับพระพุทธศาสนา และการอนุรักษ์สิ่ง
ท่มี ีอยแู่ ล้วให้คงอยู่เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้กราบไหว้สักการะในคราวต่อไป เป็นประเทศท่ี
มีแหล่งให้กราบไหว้บูชาและเที่ยวชมที่ติดอันดับของมรดกโลกหลายแห่ง ถึงแม้
ประเทศของเขาจะไม่เจริญทางด้านบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชนของประเทศเขาก็
ตาม แต่ความศรัทธาในการนับถือพระพุทธศาสนาน้ีถือว่าเป็นแรงศรัทธาที่แรงกล้ามาก
ความรู้ใหม่ ๆ จะลืมเสียไม่ได้ ซ่ึงเป็นความรู้ท่ีได้รับจากการไปศึกษาดูงาน ในคร้ังน้ี รอย
พระพทุ ธบาท ท่เี ขาสุมนกฏู เป็นรอยเท้าปรศิ นาท่นี ่าคดิ สาหรบั หลาย ๆ ศาสนา

ศาสนาพุทธ มีความเชื่อว่า คือ รอยพระพุทธเจ้า ๑ ใน ๕ ที่ กล่าวไว้ใน
อรรถกถาพระไตรปิฎก

ศาสนาครสิ ต์ มีความเชือ่ ว่า คอื รอยเท้าของ อดมั – พคี
ศาสนาฮินดู มีความเช่ือว่า คือ รอยเทา้ ของพระศิวะ
ศาสนาอสิ ลาม มคี วามเช่ือว่า คือ รอยเทา้ ของพระอลั เล่าะห์
พระครูโสภณชยาภิวัตฒน์ ได้กล่าวถึง สิ่งที่ได้จากการทัศนะศึกษาในครั้ง :
ได้ความรู้เก่ียวกับพระพุทธศาสนาฝุายเถรวาทในศรีลังกาที่มีความสาคัญต่อประเทศ
ไทยพระสงฆ์ไทยอย่างชัดเจนขึ้นและได้รับรู้ถึงความเป็นอยู่ทางด้านวัฒนะธรรมการ
ปกครองการครองเรือนหรอื อืน่ ๆ ของชาวพทุ ธในประเทศศรีลงั กาอย่างระเอียดมากข้ึน

๑๗๔ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ในอดีตจนถึงปัจจุบัน และ ได้รับรู้การปกครองเผยแผ่ศาสนาในกลุ่มอิทธิพลในศาสนา
อ่ืนๆ ที่มีอยู่ในประเทศศรีลังกาด้วย ท่ีแน่ๆ คือได้รับรู้วิธีการเดินทางว่าจะไปประเทศ
ศรีลงั กาต้องทาอย่างไรใช่สกุลเงินแบบไหนจึงจะเหมาะสมต่อประเทศศรีลังกา จะควร
วางตัวอย่างไรเม่ือจะเข้าไปศึกษาในแต่ละแห่งของสถานท่ีน้ันๆ ในประเทศศรีลังกา
และท่ีลืมไม่ได้ต่อประสบการที่เราควรจะวางตัวอย่างไรจึงจะเหมาะสมด้านจรรยา
มารยาทตอ่ ผูค้ นหรอื หมู่คณะทีร่ ่วมเดินทางไปกับเราด้วย

พระครูอุดมธรรมวัตร ได้กล่าวถึงสิ่งที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ว่า นับว่าเป็น
ประโยชน์ทไ่ี ด้พบเหน็ ส่งิ ใหมๆ่ ในดา้ นพุทธศาสนาของประเทศศรีลังกาซึ่งแตกต่างจาก
ประเทศไทยเป็นอย่างมาก ประชาชนมีความเป็นกันเอง ท้ังด้านการปกครอง การ
เป็นอยู่ และวฒั นธรรมประเพณี ล้วนมีคุณค่าทางศาสนาพุทธเป็นอย่างมาก ประชาชน
ชาวศรีลังกาจะนับถือศาสนาพุทธและประเพณีดังเดิมตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน คน
ในประเทศเกือบท่ัวประเทศนับถือศาสนาพุทธ และศาสนาเข้ายึดจิตใจของชาวศรีลังกา
เป็นส่วนมาก และอีกอย่างที่ข้าพเจ้าได้ศึกษาในกรณีด้านการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมในประเทศศรีลังกา ไม่ปาุ ไม้ ภูเขา สถานท่ีสาคัญๆ ในศรีลังกา ประชาชน
เขาจะให้ความสาคัญ และศรัทธารักษาสิ่งธรรมชาติให้คงอยู่ โดยช่วยกันรักษาปุาไม้ ไม่
ทาลาย จะเปน็ หว้ ย หนอง คลอง บงึ เขาจะรักษาไว้ตลอด และประเพณีสาคัญ ๆ ในทาง
พระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นวัดถ้าดัมมุลลา จะมีสัญญาลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา
ทั้งหมด เช่นรูปป้ันพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ไว้ตามถ้าและมีความศรัทธาในองค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นอย่างมาก ถือว่าเป็นจุดสาคัญอีกเมืองหนึ่งท่ีมีความรักษา
พระพุทธศาสนาไว้ สิ่งท่ีได้จากการศึกษาดูงานเก่ียวกับพระพุทธศาสนาในประเทศศรี
ลังกาน้ันกค็ ือ ได้ไปกราบนมสั การสมเด็จพระสังฆราชและรองพระสังฆราชองค์ประมุข
ของชาวศรีลังกา ท่านให้การต้อนรับเป็นกันเองเป็นอย่างดี ในวัดน้ันจะมีพระประวัติ
พระสงฆ์ไทยมาเผยแผ่พระศาสนาและสมเด็จพระบรมวงศานุวงศ์ทุกเกือบแทบทุก
พระองค์ไดม้ าเย่ียมเยอื นนมสั การในเมืองศรีลังแหง่ เปน็ ประจา

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๗๕

พิธีกรรมทางศาสนาท่ีชาวลังกาได้สืบทอดกันมาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันก็คือ
พิธีกราบนมัสการรพระบรมธาตุเขี้ยวแก้ว ซ่ึงชาวศรีลังการถือเป็นงานประเพณี
วัฒนธรรมอันล้าค่าของประเทศ จนชาวต่างประเทศนักท่องเที่ยวท่ัวโลกได้พากัน
มารว่ มพธิ แี หพ่ ระเขยี้ วแก้วนมัสการกันเป็นจานวนมากทุก ๆ วันจะมีประชาชนชาวศรี
ลังกาและตา่ งชาตมิ าท่องเท่ียวนมสั การวดั แห่งนเี้ ปน็ จานวนมาก

พระครูอดุ รภาวนาคุณ (สจจฺ าสโภ) ได้กลา่ วว่า สิ่งท่ไี ดจ้ ากการศึกษาในครั้งนี้
ทาให้ข้าพเจ้าได้รับประสบการณ์ พบปะผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ การส่ือสาร การใช้
ภาษา การได้ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่ส่ังสมมา การได้พบส่ิงมหัศจรรย์ของโลก
ทุก ๆ สถานท่ีท่ีได้ก้าวย่างไป มีส่ิงที่น่าค้นหาศึกษาเพราะมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน
เช่น ท่ีเขาสิกิริยา หรือภูเขาสิงโต มีประวัติศาสตร์เก่ียวกับความรักต่างชนช้ันวรรณะ
ของเจ้าหญิงกับสามัญชน เจ้าหญิงถูกพระบิดากักขังไว้ ณ เขาสิกิริยาแห่งน้ีจนกระทั่ง
ส้ินพระชนม์ เป็นเรื่องราวท่ีน่าศึกษาและน่าเห็นใจในสถานะเช่นนั้น เห็นความศรัทธา
อยา่ งแรงกล้าต่อพระพุทธศาสนาของประชาชนชาวศรีลังกา ซ่ึงถือเป็นแบบอย่างที่ดีที่
ชาวพทุ ธทั่วโลกควรดารงไวต้ ่อไป

พระมหากอ้ งไพร สาคโร ไดก้ ลา่ วว่า ส่ิงท่ีได้จากการศึกษา คนศรีลังกาจะไม่
ค่อยบุกรุกปุาทาลายต้นไม้เพื่อทามาหากับทาสวนพืชไร มีก็ส่วนน้อย หรือการสร้าง
บ้าน ก็จะสร้างข้ึนในระว่าง ช่องว่างของตนไม้ ถึงไม่เป็นระเบียบ แล้วก็ตัดต้นไม้
ทาลายธรรมชาติ ต้นไม้เสียหายเป็นจานวนมากในการสร้างบ้าน ซ่ึงแตกต่างจากชาว
ศรีลังกา จะเป็นพวกอนุรักษ์ธรรมชาติ คนศรีลังกาจะถือคนไทยว่าเป็นพีน้องชาวพุทธ
เพราะชาวศรีลังกาเชื่อว่าศาสนาพุทธ สูญหายจากประเทศเขายาวนานและได้พระ
ไทยเราไปช่วยเผยแผใ่ นสมยั ก่อน จนทาให้เกิดนกิ ายสยามวงศ์ เขาจึงใหค้ วามรักความ
เคารพพระไทย หรอื แม้แต่ชนชาวไทยท่ีไปแสวงหาบุญบ้านเขา เขารู้ว่ามาจากไทย เข้า
จะดีใจแล้วบอกวา่ พ่นี ้องชาวพุทธ

๑๗๖ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระมหาทองสุข สุเมโธ ได้กล่าวไว้ว่า ส่ิงท่ีได้จากทัศนะศึกษา ได้มองเห็นถึง
ความจริงใจและศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมาก อยากจะบอกว่า ความรู้สึกแรกที่
ก้าวเข้าไปในวัด เราสัมผัสได้ถึงความเช่ือและความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของชาว
ศรีลังกาอย่างเหลือเช่ือมากๆเลย ในวัดเต็มไปด้วยคนทุกวัย วัยรุ่น หนุ่ม สาว คน
สูงอายุ ทกุ คนใส่ชดุ สีขาว น่ังลงท่ีพ้ืนทราย รอบๆ วัด ตั้งใจสวดมนต์ กันแบบสงบมาก
เขาว่ากันว่า การเข้าวัดสวดมนต์คือวัฒนธรรมอันจริงจังของคนศรีลังกา ทางานเสร็จ
พอเลกิ งานกจ็ ะมาทีว่ ดั น่ังสวดมนต์กนั แบบจริงๆจังๆ

คนท่ีนี่เขามีความเช่ือ และศรัทธาต่อต้นโพธิ์มาก และที่วัดนี้เขามีความเช่ือ
เร่ืองการฝากสงิ่ ท่ีไม่ดเี อาไวก้ ับต้นโพธิ์ ด้วยการอธิษฐานขอพร พร้อมถือน้าเดินวนรอบ
ต้นโพธิ์ สามรอบ ตั้งจิตอธิษฐานกันให้ดีๆ พอครบสามรอบ ก็นาน้าข้ึนไปรดที่ฐานต้น
โพธิ์ จะช่วยปัดเปุา คลายเร่ืองร้ายให้หมดไปได้ บางคนก็มาเขียนชื่อลูกท่ีปุวย ฝากไว้
กับตน้ โพธ์ิ บริเวณรอบๆเลยจะเห็นมชี อ่ื ตดิ อยรู่ อบๆเต็มไปหมด

ภายในวิหารก็จะมีภาพเขียน งานแกะสลักรูปแบบลังกา อยู่เต็มไปหมดเลย
คนทีน่ จี่ ะไหว้พระกันดว้ ยดอกไม้ สว่ นธปู หรอื กายาน จะอนญุ าตให้จุดบูชาได้เฉพาะที่
ด้านนอกเท่านั้น

วัดคงคารามซึ่งเป็นวัดของนิกายสยามวงศ์ ภายในพระอุโบสถประดิษฐาน
พระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ และรอบๆ ก็มีภาพจิตรกรรมฝาผนังสวยงาม
นอกจากนั้น ท่ีวัดน้ียังมีอาคารที่เก็บรักษาโบราณวัตถุและส่ิงมีค่าต่างๆ มากมายทาง
ศาสนา เอาไวอ้ ีกด้วย

พระร่งุ ธรรม โชตธิ มโฺ ม ได้กล่าวว่าสิ่งที่ได้จากทัศนะศึกษาเป็นการได้เห็นโลก
แห่งความเป็นจริงที่กว้างออกไป เห็นสังคมท่ีต่างเชื้อชาติ ต่างเผ่าพันธุ์ของตัวเอง
เห็นวิถีชีวิตของผู้คน ท่ีอยู่กันคนละแผ่นดิน และเห็นพลังความศรัทธาในท่ามกลาง
ความขัดแย้ง ในความเช่ือถือและศรัทธาในศาสนาตนที่นับถือ ทาให้ผู้เขียนสัมผัสถึง

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๗๗

ความยง่ิ ใหญข่ องพระพุทธศาสนา จากทแี่ ค่ได้รบั และสัมผสั ภายในประเทศของตนเท่า
นน้ั เอง

ถึงแม้ว่าสังคมในแต่ละประเทศจะมีแตกต่างกัน วิถีชีวิตของคนในแต่ละ
เผ่าพันธ์ุที่แตกต่าง แต่มีความเหมือนท่ีไม่แตกต่างกันเลย นั้นก็คือ ทุกคนบนโลกนี้
ปรารถนาความสุขด้วยกันทั้งหมด แต่ปัญหาในการที่จะแสวงหาความสุขนั้น จะต้อง
กาจัดความอยาก กิเลส ตัณหา อุปาทาน ซ่ึงเป็นตัวปัญหาท่ีก่อความวุ่นวายในโลก
น้ีไม่รู้จักจบส้ิน ส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีเอง ที่พระพุทธศาสนามีคาตอบให้และมีวิธีการท่ี
ปฏบิ ตั ิท่จี ะดับมันลง ขจดั มันให้หมดออกไปจากจิตจากใจได้ พระพทุ ธศาสนาจึงได้แผ่
ขยายไปท่ัวทุกสารทิศ ผู้แสวงบุญและผู้หวังความพ้นทุกข์ ผู้มีธุลีในตาน้อย และผู้มี
ปัญญาท้ังหลาย จึงได้หันหน้าเข้ามาสู่ร่มเงาของพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นเช้ือ
ชาติ เผ่าพันธ์ุไหนๆ ถ้าได้สัมผัสและนาไปปฏิบัติก็จะบังเกิดผล และเช่ือมั่น ว่า
พระพุทธศาสนาน้ี เปน็ ศาสนาสากลและเป็นศาสนาทีม่ ุ่งส่คู วามสนั ตสิ ุขอยา่ งแทจ้ ริง

พระวีระชาติ ธีรสิทฺโธ ได้กล่าวว่า ส่ิงที่ได้จากการศึกษา ได้สัมผัสวัฒนธรรมใน
ประเทศศรีลังกาทาให้กระผมมีความคิดว่าประเทศศรีลังกาเป็นประเทศท่ีสะอาดและ
หลากหลายวัฒนธรรมโดยเฉพาะวัฒนธรรมด้านพุทธศาสนาท่ีทาให้ศรีลังกาเป็นประเทศ
ที่โดดเด่นในด้านศาสนาโดยเฉพาะประชาชนชาวศรีลังกามีความน้าหนึ่งใจเดียวท่ีจะ
อนุรักษ์พระพุทธศาสนาให้คงไว้ในประเทศของตน จะเห็นได้ว่าพวกเราได้ไปศึกษาแต่ละ
สถานที่จะมีประชาชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่พากันเข้าวัดและไปกราบไหว้ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ซึ่งเป็น
สัญลักษณ์ของพระพุทธเจ้าซ่ึงจากการได้ขึ้นไปกราบไหว้ภูเขาท่ีสูงท่ีสุดในประเทศศรี
ลังกาจะมีผู้คนมากมายพากันไปเป็นกลุ่มและครอบครัวเพื่อจะไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์ิที่
เป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าโดยแต่ละครอบครัวพากันไปต้ังแต่เด็กผู้ใหญ่คนแก่และคน
ท้องกระผมจึงเห็นว่าประเทศศรีลังกายังเป็นประเทศท่ีมีจิตดีงาม ตามแบบ
พระพทุ ธศาสนา

๑๗๘ พระมหามติ ร ฐติ ปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระศภุ ราชัย สุรสกฺโก ได้กล่าวว่า ส่ิงที่ได้จากการศึกษาดูงาน ทาได้ทราบถึง
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของประเทศศรีลังท่ีชัดเจนย่ิงขึ้น โดยเฉพาะประวัติศาสตร์
ของพระพุทธศาสนาท่ีมาปักหลักในประเทศศรีลังกาต้ังแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
เรื่อยมาจนกระท่ังถึงปัจจุบัน แม้จะมีอุปสรรคต่างๆมากมายแต่ประเทศศรีลังกาก็ยัง
สามารถรักษาพระพุทธศาสนาให้คงอยู่คู่แผ่นดินได้ และท่ีสาคัญได้รู้ถึงประวัติของ
นิกายสยามวงศ์ท่ีเข้ามามีบทบาทในการกอบกู้พระพุทธศาสนาให้กลับคืนมาปักหลัก
มัน่ คงอกี คร้ังหน่ึง นอกจากนี้ยังได้เห็นสภาพภูมิประเทศที่อุดมสมบูรณ์ มีปุาเขาลาเนา
ไพรที่ร่มรื่น ที่สาคัญที่สุดของพระเทศศรีลังกาคือความศรัทธาท่ีมีต่อพระพุทธศาสนา
เป็นศรัทธาท่ีอยู่ในใจของชาวพุทธทุกเพศทุกวัย จะเห็นได้จากการไปเย่ียมชมสถานที่
สาคัญๆ ทางพระพุทธศาสนา เช่น วัดพระธาตุเข้ียวแก้ว รอยพระพุทธบาทบนยอดเขา
สุมนกูฏ เป็นต้น ได้เห็นศรัทธาที่หลั่งไหลมาทาการสักการะบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ด้วยจิตท่ีเล่ือมใส แม้จะเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ชาวพุทธท่ีนั่นก็ยอม “ศรัทธา” สิ่งนี้จึงเป็น
สัญลักษณ์ท่ีงดงามของชาวพทุ ธทศี่ รลี งั กาทหี่ าไดย้ ากในโลก และเป็นส่ิงที่น่าจะนามาเป็น
ต้นแบบแก่ชาวพทุ ธท่ัวโลก นอกจากความศรทั ธาแล้ว ชาวพุทธศรีลังกายังให้ความเคารพ
ต่อพระสมั มาสมั พุทธเจ้าอย่างสูงสุด จะไม่ยอมให้ใครมาจาบจ้วงล่วงเกินพระพุทธศาสนา
ไดเ้ ลย

พระสราวุฒิ วิสารโท ได้กล่าวว่า อธิบายถึงสิ่งท่ีได้จากการศึกษาในครั้งนี้ การ
เดินทางไปสปู่ ระเทศศรีลงั กาในคร้ังนี้ นอกจากเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแล้ว ยังถือ
ว่าเป็นการปลูกฝังวัฒนธรรมของชาวศรีลังกาอีกด้วย ร่องรอยทางประวัติศาสตร์ของศรี
ลังกา ในสมัยอาณานิคมชาติตะวันตกชนชาติโปรตุเกสได้เข้ามาค้าขาย และถือโอกาส
รุกรานชาวสิงหลขณะที่กาลังอยู่ในความวุ่นวาย พวกโปรตุเกสก็ได้ดินแดนบางส่วนไว้
ครอบครอง และพยายามบีบบงั คบั ประชาชนที่อยู่ใต้ปกครองให้นับถือศาสนาคริสต์นิกาย
คาทอลิก คราวหนึ่งถึงกับยึดอานาจกษัตริย์ได้ ทาให้พุทธศาสนากลับเส่ือมถอยลง จนถึง
กับนิมนต์พระสงฆ์จากประเทศพม่ามาให้การอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวลังกา ต่อมาชาว

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๗๙

ฮอลันดาได้เข้ามาค้าขายในลังกาและได้ช่วยชาวลังกาขับไล่พวกโปรตุเกสได้ในปี พ.ศ.
๒๒๐๐ แล้วฮอลันดาก็เข้ายึดครองพ้ืนที่ท่ียึดได้ และนาเอาคริสต์ศาสนามาเผยแพร่
พยายามกีดกันพระพุทธศาสนา แต่ไม่สาเร็จ สถานการณ์พุทธศาสนาในขณะน้ันย่าแย่ลง
มาก เนื่องจากเกิดการแก่งแย่งกันแล้ว พุทธศาสนาก็ถูกกดขี่จากพวกโปรตุเกสและ
ฮอลันดา ประชาชนไม่น้อยก็ไปเข้ารีตกับศาสนาคริสต์ พวกชาวพุทธในใจกลางเกาะมัว
แต่รบราฆ่าฟันกัน พุทธศาสนาก็ขาดผู้อุปถัมภ์และยังเกิดวิกฤตการณ์ข้าวยากหมากแพง
อยา่ งรุนแรง จนพระภิกษุสงฆ์ต้องทิ้งวัดวาอาราม จนไม่มีพระภิกษุหลงเหลืออยู่เลย คงมี
สามเณรเหลืออยู่บ้าง โดยมีสามเณรสรณังกรเป็นหัวหน้า ไปนิมนต์พระสงฆ์จากสยาม
เม่ือ พ.ศ. ๒๒๙๔ หรือ พ.ศ. ๒๒๙๓ ตามการนับแบบไทย สามเณรผู้ใหญ่ชื่อสามเณร
สรณังกรไดท้ ูลขอใหพ้ ระเจ้ากิตติราชสิงหะ กษัตริย์ลังกาในขณะนั้น ให้ส่งทูตมาขอนิมนต์
พระสงฆ์จากเมืองไทย (กรุงศรีอยุธยา) ไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ณ ลังกาทวีป สมัยนั้น
ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าบรมโกศจึง
ได้ส่งพระสมณทูตไทยจานวน ๑๐ รูป มีพระอุบาลีเป็นหัวหน้า เดินทางมาประเทศลังกา
มาทาการบรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวลังกาถึงสามพันคน ณ เมืองแคนดี้ สามเณร
สรณงั กรซ่งึ ได้รับการอุปสมบทในครั้งน้ี ได้รับการสถาปนาจากกษัตริย์ลังกาให้เป็นสมเด็จ
พระสังฆราช จึงได้เกิดคณะสงฆ์นิกายสยามวงศ์ หรือนิกายสยามวงศ์ อุบาลีวงศ์ ขึ้นใน
ลังกา ต่อมาพระอุบาลีเถระเกิดอาพาธและได้มรณภาพในลังกาในเวลาต่อมา ในสมัย
เดียวกันน้ันได้มีสามเณรคณะหน่ึงเดินทางไปขอรับการอุปสมบทในประเทศพม่า แล้ว
กลับมาต้ังนิกาย “อมรปุรนิกาย” ขึ้น อีกคณะหนึ่งได้เดินทางไปขออุปสมบทจากคณะ
สงฆ์เมอื งมอญ กลับมาต้ังนิกาย “รามัญนิกาย” ขึ้น ในสมัยน้ีได้มีนิกายเกิดข้ึนในลังกา ๓
นิกาย คือ ๑. นิกายสยามวงศ์ หรืออุบาลีวงศ์ ๒. นิกายอมรปุรนิกาย ๓. นิกายรามัญ
นิกายทั้ง ๓ น้ี ยังคงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ยุคอังกฤษปกครอง และปัจจุบัน ต่อมา
เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๔๐ และอีก ๑๙ ปีต่อมา อังกฤษได้ครองอานาจแทนฮอลันดา ขยาย
อานาจไปทวั่ ประเทศลงั กา โดยรบชนะกษตั รยิ แ์ คนดี ไดต้ กลงทาสนธิสัญญารับประกัน

๑๘๐ พระมหามติ ร ฐิตปญฺโญ,ผศ.ดร.

สิทธิของฝุายลังกาและการคุ้มครองพระศาสนา ครั้นต่อมาได้เกิดกบฏขึ้น เมื่อปราบ
กบฏได้สาเร็จ อังกฤษได้ดัดแปลงสนธิสัญญาเสียใหม่ ระบบกษัตริย์ลังกาจึงได้สูญส้ิน
ต้ังแต่บัดน้ัน ต้ังแต่อังกฤษเข้ามาปกครองลังกาตอนต้น พระพุทธศาสนาได้รับความ
เป็นอิสระมากข้ึน ด้วยสนธิสัญญาดังกล่าว คร้ันต่อมาภายหลังจากการปกครองของ
อังกฤษประมาณ ๕๐ ปี พระพุทธศาสนาก็ถูกกีดกันและต่อต้านจากศาสนาคริสต์ รัฐ
ถกู บีบจากศาสนาครสิ ตใ์ ห้ยกเลิกสัญญาท่ีคุ้มครองพุทธศาสนา บาทหลวงของคริสต์ได้
เผยแผค่ ริสต์ศาสนาของตน และโจมตพี ุทธศาสนาอย่างรุนแรง โดยได้รับการสนับสนุน
จากต่างชาติ นับต้ังแต่อังกฤษเข้าปกครองลังกามาเป็นเวลากว่า ๓๐๐ ปี จนได้รับ
อิสรภาพเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๑ จากการท่พี ุทธศาสนาถกู รกุ รานเป็นเวลาช้านานจากศาสนา
คริสต์ ทาให้ชาวลังกามีความมุ่งมานะท่ีจะฟื้นฟูพุทธศาสนาในลังกาอย่างจริงจัง จน
ปัจจบุ ันประเทศศรลี ังกา ได้เป็นประเทศที่มพี ระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติ

พระอธิการสายแพร กตปญฺโญ ได้กล่าวว่า ส่ิงที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ว่า
เป็นการได้รับประสบการณ์โดยตรงจากการที่ได้ไปศึกษาดูงานที่ประเทศศรีลังกา ซึ่ง
เป็นการเพ่ิมพูนความรู้นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน ซ่ึงได้เดินทางไปศึกษา
ประวตั พิ ระพุทธศาสนาในอดีตตามสถานท่ีต่างๆ อีกทั้งยังได้ฝึกฝนการใช้ภาษาอังกฤษ
ในการสื่อสาร และได้ใช้ภาษาท้องถิ่นของศรีลังกาในการซ้ือขายสินค้า การทักทาย
ประจาวันของมัคคุเทศก์ (ไกด์) ชาวศรีลังกา I YOU BAUWAN การแลกเปล่ียน
เงินตราของรูปีศรีลังกา สภาพวิถีชีวิตของชาวศรีลังกาที่นิยมรับประทานอาหาร
มังสวิรัติมากกว่าเนื้อสัตว์ ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าของ
พุทธศาสนิกชนชาวศรีลังกา การรดน้าต้นโพธิ์ท่ีใหญ่มากในวัดกัลยาณีราชมหาวิหาร
การสวดมนต์บูชาต่อพระพุทธองค์ตามวัดและสถานท่ีศักด์ิสิทธิ์ต่าง ๆ มีปรากฏในเห็น
อยา่ งไมข่ าดสายเป็นที่ประทับใจต่อพุทธศาสนิกชนย่งิ นกั

พระอนุสรณ์ ปรกฺกโม ได้กล่าวว่า ส่ิงที่ได้จากการศึกษาดูงาน ทาให้มี
ประสบการณ์ท่ีไม่สามารถหาได้จากท่ีไหนนอกจากการมาสัมผัสวิถีชีวิต ความเป็นอยู่

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๘๑

ของพุทธศาสนิกชนประเทศศรีลงั กา ซึง่ เป็นการเพ่ิมพูนความรู้นอกเหนือจากการเรียน
ในห้องเรยี น ซึง่ ไดเ้ ดนิ ทางไปศึกษาประวัตพิ ระพทุ ธศาสนาในอดีตตามสถานท่ีต่างๆ ได้
ศึกษา สภาพวิถีชีวิตของชาวศรีลังกาท่ีได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา ตลอดทางที่
เดินทางไม่ปรากฏเห็นสถานบันเทิงเริงรมย์ต่างๆ และที่สาคัญไปกว่าน้ัน คือ “แรง
ศรัทธา” ต่อพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าของพุทธศาสนิกชนประเทศศรีลังกา ท่ี
สังเกตเห็นได้ชัดเจนคือ การเดินทางขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทท่ีเขาสุมนกูฏ
เดินทางมากจานวนมากทุกวัน บ้างก็มาเป็นครอบครัว บ้างก็อุ้มลูกเล็กเด็กแดงขึ้นไป
บ้างก็พยุงคนชรา พยุงคนพิการข้ึนไป วัยหนุ่มสาวท่ีชวนกันไปเพ่ือนมัสการรอยพระ
พุทธบาท ต่างกนั มากกับบางคนบางกลุ่มในประเทศไทย ที่ชวนกันไปมั่วสุมต่างๆ ชวน
กนั ไปเข้าผับ เขา้ บารส์ ถานเรงิ รมย์ตา่ งๆ น้อยคนนักทีจ่ ะเขา้ วดั ฟังธรรม

ในทางตรงกันข้ามประเทศศรีลังกาปลูกฝังให้ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา
ต้ังแต่เด็กๆ เห็นคุณค่าของพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก อาจเป็นเพราะคร้ังหน่ึง
พระพุทธศาสนาเกือบหายไปจากศรีลังกาจนเหลือแค่สามเณร จนได้มาขอให้พระ
ประเทศไทยไปอุปสมบทให้ จากน้นั พทุ ธศาสนากเ็ จรญิ ร่งุ เรืองเปน็ อย่างมากในศรีลังกา
หรือตอ้ งให้พระพทุ ธศาสนาหายไปจากประเทศไทยก่อน พุทธศาสนิกชนชาวไทยจึงจะ
สานึก ดังคาที่ว่า “ไม่เห็นโลงศพ ไม่หล่ังน้าตา” ด้วยแรงศรัทธาที่เหนียวแน่นนี้ จึง
สมควรนาเอามาเป็นแบบอยา่ งในการปฏบิ ัติของพุทธศาสนิกชนทว่ั โลก

นางเจือจันท์ วังทะพันธ์ ได้กล่าวว่า สิ่งที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถทา
ให้นิสิตได้รับความรู้จากประสบการณ์ทางพระพุทธศาสนาตามรอยพระพุทธองค์จาก
สถานที่จริงหลายแห่ง เช่น วัดถ้าดัมบุลลา เขาสิกิริยา หรือภูเขาสิงโต วัดศรีปรมนันทะ
หรอื วัดจฬุ าลงกรณ์ เมืองแคนดี้ วัดพระเข้ียวแก้ว วัดกัลณียาราชมหาวิหาร และวัดคงคา
ราม ทาให้ข้าพเจ้าได้รับประสบการณ์ท่ีสัมผัสได้จากการที่ได้ไปศึกษาดูงานท่ีประเทศศรี
ลังกา อันจะเป็นการเพ่ิมพูนความรู้จากการศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาในอดีต อีกทั้ง
ยงั ได้ใชภ้ าษาอังกฤษในการสือ่ สารในประเทศศรีลังกาในชีวิตประจาวันตลอดเสร็จส้ินการ

๑๘๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

สัมมนาและศึกษาดูงาน รวมถึงได้รับความรู้จากมัคคุเทศก์ชาวศรีลังกาที่สอนภาษา
ท้องถ่ินของชาวศรีลังกา การแนะนาสถานท่ีท่ีจะไปศึกษาดูงาน และการทักทาย อาร์ ยู
บวร ความหมายนยั ให้มีอายุม่ันขวัญยืน

นางสาวจันทร์ศิริ พลอยงาม ได้กล่าวว่า สิ่งที่ได้จากการศึกษาในคร้ังนี้
สามารถได้พบเห็นสิ่งใหม่ในด้านพุทธศาสนาของประเทศศรีลังกาซ่ึงมีความนับถือ
ศาสนาพุทธเหมือน กับประเทศไทย ประเทศของเขามีหลายศาสนาเช่นเดียวกันและ
เห็นถึงการมีสร้างส่ิงประดิษฐ์ท่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์ส่ิงท่ีมีอยู่แล้ว
ให้คงอยู่ต่อไปเพื่อให้ชนรุ่นหลังได้กราบไหว้สักการะในคราวต่อไป และเป็นประเทศท่ีมี
แหลง่ กราบไหวแ้ ละให้เที่ยวชมท่ีติดอันดับของมรดกโลกถึงแม้ประเทศของเขาจะไม่เจริญ
ทางด้านบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชนของประเทศเขาก็ตาม แต่ความศรัทธาในการ
นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาน้ีถือวา่ เป็นแรงศรัทธาที่แรงกล้ามาก

นายพิจิตร พงษ์เกษ ได้กล่าวว่า ส่ิงที่ได้จากไปทัศนศึกษาประเทศศรีลังกา
พระอาจารย์ไดพ้ าชมมากมายหลายสถานที่ สิ่งท่ีได้จากการไปคือ แนวทางการสนทนา
ภาษาองั กฤษกับลา่ ม (ไกด)์ ได้ดีและถูกต้อง พบเห็นภูผาสูงชัน รวมท้ังถ้าเหวลึก และ
เห็นดินแดน พุทธศักด์ิสิทธิ์หลายแห่ง คือ รอยฝีพระหัตถ์ของพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว
รชั กาลท่ี ๕ ทรงสร้าง “มหาจุฬาลงกรณพระธรรมศาลา” เพ่อื เป็นพุทธอนุสรณส์ ถาน

๓.๖ ประสบการณ์จะสามารถนาไปเปน็ แนวทางการพัฒนาในอนาคต
พระครูวรมงคลประยุตได้กล่าวประสบการณ์ว่า สามารถนาไปเป็นแนว

ทางการพัฒนาในอนาคต : แนวทางการพัฒนาในประเทศไทย คือ รัฐควรปลูกฝัง
เยาวชนในการศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริงควบคู่ไปกับด้านวิชาการต่าง ๆ จะ
ทาให้เยาวชนเติบโตเป็นทรัพยากรมนุษย์ของประเทศชาติโดยสมบูรณ์แบบมีคุณธรรม
มศี ีลธรรม ไม่เปน็ ปัญหาของสังคม ซ่งึ กลไกสาคญั ที่จะขบั เคลื่อนให้เป็นรูปธรรมได้ก็คือ
พระสงฆ์ ถึงเวลาแล้วที่พระสงฆ์ควรจะปฏิวัติตนเองให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมให้มาก
ย่ิงขึ้น นอกเหนือจากจะชักจูงหรือมอมเมาประชาชนให้ยึดแต่พิธีกรรมหรือการทาบุญ

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๘๓

เพื่อหวังผลตอบแทน ควรเน้นการปฏิบัติธรรมและการศึกษาหลักคาสอนของ
พระพุทธเจ้าอยา่ งแทจ้ รงิ ถงึ แมก้ ารปฏบิ ตั ธิ รรมจะไม่สามารถบรรลุธรรมได้ แต่ก็ยังเป็น
เกราะปูองกนั ไมใ่ ห้ตกอย่ใู นอบายในทีส่ ดุ

พระครูวิบูลภัทโรภาส (โอภาโส) กล่าวถึง ประสบการณ์จะสามารถนาไปเป็น
แนวทางการพัฒนาในอนาคตว่า จากประสบการณ์ที่ได้รับ ข้าพเจ้าจะนาไปปรับใช้กับวัด
ของข้าพเจ้า แนะนาสั่งสอนอุบาสกและอุบาสิกา ให้ทานุบารุงรักษาพระพุทธศาสนา
ร่วมกัน โดยปฏิบัติตามคาสอนและหลักธรรมของพระพุทธองค์ ซ่ึงข้าพเจ้าได้นา
หลักสังคหวัตถุ ๔ ไปปรับใช้ ซึ่งเป็นปัจจัยท่ีมีอิทธิผลในการพัฒนาชุมชนของประชาชน
ในยุคท่ีสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่ในข้ันวิกฤตน้ี ปัญหาสังคมปัจจุบันมีความ
สลับซับซ้อน ซึ่งต้องหาหลักธรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวิต
และพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีข้ึน ในยุคสมัยที่ตกอยู่ในสภาพท่ีอดอยาก
ยากจนหนสี้ นิ มากล้นปลกู ข้าว แตไ่ ม่มีข้าวกิน ปลูกพืชก็ขายไม่ได้ราคา เลี้ยงสัตว์ก็ถูกโรค
ระบาดชีวิตตกต่าหลงใหลในอบายมุขไม่ใส่ใจในเรื่องสุขภาพอนามัยท้ังของตนเอง และ
บุตรหลานเด็ก ๆขาดการดูแลเอาใจใส่เพราะขาดสารอาหารเหล่านี้ เป็นปัญหาของ
ชาวบา้ นท่ตี ้องมีหลักธรรมเขา้ มามีส่วนในการแกป้ ัญหาดังกล่าว

พระครูสุเมธธรรมกิจ ได้กล่าวถึงการไปทัศนะศึกษาหาประสบการณ์ เรียนรู้
นอกสถานที่ ทาให้เห็นสิ่งต่าง ๆ ที่ได้รับรู้มาน้ันสามารถนามาพัฒนาในเรื่องของการ
เผยแพร่พระพุทธศาสนาให้ดารงอยู่ได้ตลอดไป เพื่อให้พุทธศาสนิกชนเกิดพลังศรัทธา
เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และเหล่าสาวก เพราะจากการที่เห็นประชาชนของประเทศ
ศรลี งั กากม้ ลงกราบไหว้พระทเ่ี ท้า และเอามอื ของตวั เองไปแตะที่หน้าอกน้ันถือว่า เขา
ได้เข้าถึงตัวแทนของพระพุทธเจ้าท่ีเขาเกิดความศรัทธาและเคารพยกย่องเป็นอย่างสูง
เพ่อื ใหพ้ ระพุทธศาสนาเกดิ ความเข้มแขง็ และมน่ั คงโดยจัดให้มีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
อยู่เนื่อง ๆ มีการจัดอบรมพระภิกษุสามเณรให้เป็นผู้ท่ีทรงไว้ซึ่งความรู้ความสามารถใน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในวิธีท่ีถูกต้อง ดังท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงเผยแผ่ในสมัยคร้ัง

๑๘๔ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พุทธกาล มาบัดน้ี คาส่ังสอนในด้านต่าง ๆ ท้ัง ๑๘ ศาสตร์ ท่ีพระองค์ตรัสสอนไว้
สามารถนามาปรบั ใช้ในปัจจบุ นั ได้เป็นอยา่ งดี

มี ๓ คา ที่สาคัญ ต้องจดจาในเวลาเดินทาง หรือ ไปทัวร์ ท่องเที่ยว เวลาลง
จากรถ ไม่ว่าสถานท่ีไหน ๆ ทุกท่าน มีความต้องการ “ฉ่ี” ต้องการ “แชะ” และ
ตอ้ งการ “ช็อบ” คือ เขา้ หอ้ งนา้ ออกจากห้องน้า เดินหาที่บันทึกภาพเพ่ือโพสต์ สุดท้าย
ก็มองหารา้ น เซเวน่ อิเลเว่น หรอื รา้ นขายสินคา้ ของทร่ี ะลึก

พระครูโสภณชยาภิวัฒน์ ได้กล่าวถึง ส่ิงท่ีได้จากประสบการณ์จะสามารถ
นาไปเป็นแนวทางการพฒั นาในอนาคตวา่ จากประสบการการทัศนะศึกษาในคร้ังนี้เรา
จะสามารถนาวิชาความรู้มาปรับปรุงและใช้ในการส่งเสริมในรายวิชาท่ีศึกษาอยู่ใน
ปจั จุบนั และประสบการในครั้งนี้จะสามารถนาไปเป็นแนวทางปรับปรุงใช่ในการศึกษา
ค้นคว้าแนวทางและเขียนงานวิชาการในอนาคตได้เป็นอย่างดียิ่งและยังจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ทตี่ อ้ งการศึกษาหาความรู้จากประสบการที่เราได้ไปประเทศศรีลังกามา
หรือศึกษาคน้ คว้ามาในครง้ั น้ี และสมารถนาความรูเ้ หล่านไี้ ปเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อ
ผูต้ ้องการศกึ ษาคน้ คว้าและพทุ ธศาสนกิ ชนท้ังทางดา้ นวชิ าการและประสบการไดส้ บื ไป

พระครูอุดมธรรมวัตร ได้กล่าวไว้ว่า สิ่งท่ีได้จากประสบการณ์จะสามารถ
นาไปเป็นแนวทางการพัฒนาอนาคตว่าประสบการณ์ที่ได้ไปประเทศศรีลังกาครั้งน้ี มี
หลายประเด็นสาคัญๆ ที่ข้าพเจ้าคิดว่าไปครั้งนี้ได้เห็นหลายรูปแบบในทางด้าน
ประเพณวี ฒั นธรรมท่ชี าวศรีลังกาได้สืบทอดกันมาเป็นเวลาหลายร้อยพันปี โดยเฉพาะ
สถานท่ีสาคัญๆ ของชาวศรีลังกา ล้วนเป็นสถานทีชาวศรีลังกาได้พากันศรัทธากราบ
ไหว้นมัสการสถานท่ีสาคัญๆทางพระศาสนาท่ัวประเทศ วิถีชีวิตชาศรีลังกาได้ถือเป็น
แบบอย่างต่อการพัฒนาพระพุทธศาสนาในประเทศไทยเป็นอย่างมาก แต่การจะนาเอา
วิถีชีวิตของชาวลังกามาปรับใช้ในวิถีชีวิตในประเทศไทย คิดว่าจะยกที่จะนาหลักการ
ปฏิบัติของชาวลังกา โดยเฉพาะพิธีอันศักด์ิสิทธิ์ในสถานท่ีต่างที่ได้ไปพบเห็นน้ัน ถ้า
นาเอาหลักปฏิบัติของชาวลังกามาเผยแผ่ในประเทศไทยเรา จะถือว่าการนาพาศาสนา

พระพทุ ธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๘๕

พทุ ธใหเ้ จริญงอกงามข้ึนอีกครั้งก็น่าจะเป็นไปได้และเจริญมากกว่ายุคก่อนๆที่ทามา ดังที่
ชาวลังกาไปกราบนมสั การพระพุทธบาทเขาสุมนกูฎ รอยพระพุทธบาท แต่ดั้งเดิม ขณะน้ี
ทางศรีลังกาได้สงวนไว้เป็นสิ่งท่ีหวงแหนและเป็นหัวใจของประเทศจึงได้สร้างรอยพระ
พุทธบาทจารองไว้กวมของเดิม ให้ประชาชนไปกราบนมัสการขอพรจากพระพุทธเจ้าที่
เขาเห็นว่าเป็นส่ิงท่ีศักดิ์สิทธิ์และถ้าใครข้ึนไปบนยอดเขาแห่งน้ีจะมีความสุขตลอดไปและ
อกี ส่วนหน่ึงการอาชีพปลกู ชาตามบนไหล่เขาถือว่าเป็นส่ิงท่ีชาวลังกาใช้ความอดทนจนได้
ผลผลติ สนิ ค้าในประเทศส่งออกนอกประเทศ แต่ถ้าพระนิสิตปริญญาดุษฎีบัณฑิตมีความ
พยายามการนาหลักท่ีไปประการณ์ครั้งมาเผยแผ่นประเทศไทยเราน่าจะเป็นปะโยชน์
อย่างมากนี้คือความคิดของข้าพเจ้าท่ีได้ประสบการณ์ไปศึกษาดูงานด้านพระพุทธศาสนา
ในประเทศศรลี ังกา ถ้ามโี อกาสจะได้ไปอีกครัง้

พระครูอุดรภาวนาคุณ (สจฺจาสโภ) ได้กล่าวว่า ประสบการณ์จะสามารถ
นาไปเป็นแนวทางการพัฒนาในอนาคต สามารถนาไปเป็นแนวทางการพัฒนาต่อ
ตนเอง ซึ่งในการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีมิใช่ศึกษาแค่ในช้ันเรียนหรือตารา การท่ีได้
ไปศึกษาดูงานนอกสถานท่ีทาให้เรามีทัศนะที่กว้างไกล ซึ่งส่ิงท่ีดีที่เราพบเห็นสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ในการบริหารตนเองและสังคม ในฐานะที่ข้าพเจ้าเป็นเจ้าอาวาส
(ผู้บริหาร) การท่ีได้ไปศึกษาดูงานวัดต่าง ๆ ในประเทศศรีลังกา การได้พบเห็นข้อวัตร
ปฏิบัติของพระสงฆ์ศรีลังกา ซ่ึงมี ๓ นิกายใหญ่ ๆ คือ สยามนิกาย อมรปุรนิกาย และ
รามัญนิกาย การแสดงความเคารพระหว่างพระในนิกายท้ัง ๓ ผู้ที่อาวุโสน้อยกว่าต้อง
เคารพผู้ท่ีมีอาวุโสมากกว่าเช่นเดียวกับประเทศไทย แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า พระทั้ง ๓
นิกาย ไม่นิยมการสูบบุหรี่ เพราะประชาชนจะไม่เลื่อมใสพระที่สูบบุหรี่ จะเห็นได้ว่า
ชาวศรีลังกาศรัทธาพระสงฆ์ตั้งแต่ภาพลักษณ์ภายนอกจนถึงภายใน ซ่ึงพระสงฆ์ศรี
ลังกาไม่อาจจะเพิกเฉยต่อสิ่งน้ีได้ แต่ในประเทศไทยมิได้เป็นเช่นน้ัน ก็ถือว่าเป็นสิ่งท่ีดี
ทีจ่ ะนาไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จังท่ีวัดของขา้ พเจ้า แม้จะเป็นการยากสักหน่อย หรืออาจจะ
มีการแบง่ โซนเปน็ สัดส่วนสาหรบั ผ้สู บู บุหร่ีต่อไป

๑๘๖ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

พระมหาก้องไพร สาคโร ได้กล่าวว่า สิ่งท่ีได้จากประสบการณ์จะสามารถนาไป
เป็นแนวทางการพัฒนาในอนาคต สามารถนาประสบการณ์ไปเป็นแนวทางการพัฒนาใน
อนาคต คอื ไดเ้ หน็ ศรทั ธาอันแรงกล้าของชาวศรีลังกา ท่ีสามารถรักษาศาสนาเอาไว้ได้ ทั้ง
ที่ตกเป็นเมืองขึ้นของหลายประเทศเป็นเวลาหลายปี จนถึงขนาดพระหมดจากประเทศ
แต่ก็ยังต่อสู้จนศาสนากลับมาเจริญรุ่งเรืองอีกครั้ง เห็นความศรัทธาที่ทั้งพระทั้งฆราวาส
ร่วมกันต่อสู้ กรอบกู้ศาสนากลับคืนมา ประเทศไทยของเราควรดูศรัทธาที่แรงกล้าของ
ชาวศรีลังกา เร่ืองการทาบญุ เขาจะเอากายของตัวเองเป็นหลัก ไม่เร่ิมที่วัตถุทานอย่างคน
ไทย ตรงคาสอนของพระพุทธเจ้าท่ีว่าอามิสบูชาไม่สามารถที่จะรักษาศาสนาไว้ได้ แต่
การปฏิบัติบูชาสามารถที่จะรักษาศาสนาไว้ได้ คนไทยส่วนมากจะติดอยู่กับการให้ทาน
ควรจะถือเอาอย่างท่ีศรีลังกาบ้าง วันพระวันสาคัญจะเข้าวัดแทบจะทุกคนในครอบครัว
และพระสงฆ์ที่น่ีสามารถเล่นการเมืองได้ จึงสามารถท่ีจะผักดันพุทธศาสนาเสนอ
แผนพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ที่บ้านเราดูเหมือนพระจะถูกกาจัดสิทธิ์อีกด้วย ไม่สามารถ
เลือกตง้ั ไดเ้ ป็นตวั อย่างและอีกหลายๆเรือ่ ง การจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไม่
ทาลายปุาไม้ภูเขาก็น่านามาเป็นแบบอย่าง ประเทศศรีลังกาเต็มไปด้วยทรัพยากร
ธรรมชาติ ต้นไม้สมบูรณ์ คนทั้งหลายจะอนุรักษ์ปุาไม้ธรรมชาติ ดูการสร้างบ้านจะไม้
ค่อยทาลายธรรมชาติ ได้เห็นบ้านหลังหน่ึงปลูกติดกอไผ่และก็เบียดเสียดติดบ้านท่ีกาลัง
สรา้ ง เขาก็ไม่คิดเอาออก เพียงแต่หาส่ิงอื่นกันก้ันเอาไว้ ดูตามภูเขาต้นไม้จะอุดมสมบูรณ์
เขียวขจเี ปน็ สว่ นมากทั้งท่ชี ว่ งหน้าแล้ง

พระหาทองสุข สุเมโธ ได้กล่าวว่า ประสบการณ์จากทัศนะศึกษานาไปเป็น
แนวทางในการพัฒนาในอนาคตว่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศศรีลังกาเมื่อ พ.ศ.
๒๓๖ ในรัชสมัยของพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จนพุทธ
ศาสนาเจริญรุ่งเรืองอยู่ในลังกา และได้เสื่อมถอยจากลังกา เน่ืองจากการเข้ารุกรานของ
ชาติตะวันตก ได้แก่ ฮอลันดา และอังกฤษ ต่อมาภายหลังพุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟูอีก
ครั้ง โดยได้นิมนต์พระสงฆ์ชาวไทยไปเผยแผ่และในขณะเดียวกันก็ได้เกิดนิกายอมรปุร

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๘๗

นิกายจากพระชาวลังกาท่ีไปอุปสมบทจากประเทศพม่า และรามัญนิกาย ไปอุปสมบท
จากเมืองมอญ พุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรือง และเป็นพ้ืนฐานของวัฒนธรรมลังกา เป็น
ศาสนาประจาชาติ มีอทิ ธิพลต่อวถิ ีชวี ิตคนลงั กามาก

ความสาคัญของพุทธศาสนาที่รองรับโดยกฎหมายของรัฐท่ีมีอยู่สูงมาก เช่น ใน
กฎหมายสิงหลโบราณว่า “ผู้ทาลายเจดีย์และต้นโพธ์ิ กับผู้ที่ปล้นสะดมทรัพย์ของศาสนา
มโี ทษถงึ ตาย” กฎหมายน้ใี ชบ้ ังคับชาวศรีลังกาทุกระดับช้ัน รวมถึงชาวต่างชาติด้วย และ
คงมีการบังคับใช้มานานแล้ว ต้ังแต่รัชกาลพระเจ้าเอลระ ซ่ึงเป็นชาวทมิฬในพุทธ
ศตวรรษที่ ๕

จากการทัศนะศึกษาในประเทศศรีลังกาครั้งนี้ ผู้เขียนได้สัมผัสถึงความ
ยิ่งใหญ่แห่งพลังความศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนชาวศรีลังกา ท่ีมีต่อพระพุทธศาสนา
อย่างลกึ ซ้ึง ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัวของชาวศรีลังกาเองแล้ว การปลูกฝังพลังศรัทธา
ในพระพุทธศาสนาให้กบั เดก็ ๆเยาวชนรุ่นใหมๆ่ ชาวศรลี งั กามีกระบวนการและวิธีการ
ท่จี ะทาใหเ้ ด็กๆและเยาวชนรุ่นใหม่ๆ เคารพรักและศรัทธาพระพุทธศาสนาอย่างฝังลึก
ลงในจิตใจ อย่างได้ผลเป็นอย่างดียิ่ง ประเทศท่ีนับถือพุทธศาสนาควรเอาชาวศรีลังกา
เป็นตวั อยา่ ง ของพทุ ธศาสนกิ ชนท่ีดี

พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย ถือได้ว่าเป็นรากเหง้าของวิถีชีวิตของคนไทย
มานานแสนนาน แต่สถานการณ์พระพุทธศาสนาในปัจจุบัน เร่ิมจะสั่นคลอนและ
ความศรัทธาเร่ิมจะผิดหลักแนวคาสอนออกไปทีละนิดๆ ถึงแม้ว่าวัดจะมีมาก จะว่าไป
แล้วมีวัดในทุกหมู่บ้านเลยก็ว่าได้ ความเจริญในทางวัตถุก็มีมาก การก่อสร้างบูรณะ
ใหม่ก็มีเยอะ แต่พลังความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนคนไทยน้ัน ถ้าจะเปรียบกับชาว
ศรลี ังกาแลว้ ยังมีความหา่ งไกลอยา่ งมาก

ด้วยเหตุผลหลายประการท่ีสังคมสงฆ์ของไทย พยายามที่จะเอาคาสอนในทาง
พระพุทธศาสนาให้เข้าไปมีบทบาทในทุกภาคส่วนของสังคม แต่คนในสังคมและที่สาคัญ
อยา่ งย่งิ คอื ภาครัฐ ควรมีแนวทางมาตรการปูองกันคุ้มครองรักษาพระพุทธศาสนา อีกท้ัง

๑๘๘ พระมหามติ ร ฐิตปญโฺ ญ,ผศ.ดร.

ต้องสง่ เสริมพุทธศาสนาใหเ้ ข้าไปมีบทบาทในสังคมให้มากกว่าเท่าที่เป็นมา และจะต้องให้
พระสงฆ์มีส่ วนร่วมในการกาหนดทิศทางขององค์กรสงฆ์ได้อย่างอิ สระเสรีภาพตาม
หลักธรรมวินัย และท่ีสาคัญอย่างยิ่งยวด ผู้ใหญ่หรือผู้นาในทางการปกครอง หรือแม้แต่
คนทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ควรทาตัวเป็นแบบอย่างท่ีดี ในฐานะท่ีเป็นพุทธศาสนิกชน
เพ่ือให้คนรุ่นใหม่ ได้เห็นเป็นตัวอย่าง การปลูกฝังพลังศรัทธาในพระพุทธศาสนาก็จะง่าย
และจะกลายเป็นวิถีชีวิตของคนไทยยุคใหม่ ย้อนกลับไปในครั้งอดีตเหมือนอย่างท่ีเคย
เป็นมา

พระวีระชาติ ธีรสิทฺโธ ได้กล่าวถึง สิ่งท่ีได้จากประสบการณ์จะสามารถนาไป
เป็นแนวทางการพัฒนาในอนาคตว่า ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แหล่งศิลปะและ
แหล่งท่องเที่ยว เพ่ือให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้ามาสัมผัสและเห็นความสวยงาม
ของแต่ละสถานท่ี

การจดั การและอนรุ กั ษ์สถานทสี่ าคัญทางพระพุทธศาสนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
เชิงวัฒนธรรมและศิลปกรรม อธิบายความศรัทธาในประเทศศรีลังกาที่มีต่อ
พระพุทธศาสนาให้สังคมไทยได้รับรู้ในข้อเท็จจริงเก่ียวกับพระพุทธศาสนาพยายามพา
นักศึกษารนุ่ ใหม่เข้ามาศึกษาด้านพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกาเพ่ือให้เข้าใจในด้าน
ศาสนามากขึน้

พระศุภราชัย สุรสกฺโก ได้กล่าวถึง สิ่งท่ีได้จากประสบการณ์จะสามารถนาไป
เปน็ แนวทางการพฒั นาในอนาคตว่า หลักปฏิบัติที่งดงามของชาวพุทธศรีลังกาที่มีต่อพระ
พระพทุ ธศาสนา เช่น สวดมนต์ที่บ้านเป็นประจา ไปวัดทุกๆวันพระ นุ่งขาวห่มขาวเข้าวัด
มีความรักเคารพและความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง สิ่งเหล่านี้ถ้านามาเป็น
เป็นแนวทางในการพัฒนาสังคมไทยในอนาคต น่าจะเป็นที่จะทาให้ประเทศไทยสงบสุข
ร่มเย็นขึ้น โดยเฉพาะการสวดมนต์ท่ีบ้านเป็นประจา เพราะบ้านคือหน่วยของสังคมท่ีเล็ก
ท่ีสุด แต่มีความสาคัญท่ีสุดในการพัฒนาบุคคลากรของชาติ ถ้าท่ีบ้านมีความรัก ความ
อบอุ่น ปัญหาสังคมด้านต่างๆจะเกิดขึ้นได้น้อยมาก ๆ ดังน้ันจะทาให้สังคมอยู่จึงต้องเร่ิม

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๘๙

ที่ครอบครัว ด้วยการส่งเสริมให้ทุกๆครอบครัว มีการสวดมนต์ร่วมกันเป็นประจา อย่าง
น้อย ๆก็สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง เพราะที่จะให้ทุกคนในบ้านอยู่พร้อมหน้าพร้อมตากัน สวด
มนต์เสร็จก็นั่งสมาธิแผ่เมตตาให้ใจใสใส จากน้ันให้ลูกหลานกราบเท้าขอพรพ่อแม่ แล้ว
พ่อแม่ก็ให้คาส่ังสอนที่ดีงาม เพียงเท่านึ่งความสงบสุขของสังคม ประเทศชาติก็เกิดข้ึน
แล้ว

พระสราวุฒิ วิสารโท ได้กล่าวว่า ส่ิงที่ได้จากประสบการณ์จะสามารถนาไปเป็น
แนวทางการพัฒนาในอนาคตได้ท้ัง และส่วนรวมก็คือ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่จะหาจากที่อื่นมา
แทนไมไ่ ดอ้ กี เพราะเราไดส้ ัมผัสกับตวั ของเราเองได้กระทาด้วยตัวเอง เป็นการเรียนรู้ที่ได้
จากการเรียนรู้จากประสบการณ์ของเราจริง ๆ อย่างท่ีคนอ่ืนจะให้เราได้ยากจึงเป็นการ
ที่คุ้มค่าท่ีสุดในการไปทัศนะศึกษาครั้งน้ี และถือได้ว่าเป็นบุญของคณะที่ไป เพราะได้เข้า
กราบถวายนมัสการสมเด็จพระสังฆราชและรองสมเด็จพระสังฆราช ของศรีลังกาท้ังสอง
พระองค์ อีกด้วย ทาให้มีกาลังใจอย่างมุ่งมั่นท่ีจะนาความรู้ท่ีได้มาสานต่อเพื่อให้เกิด
ประโยชน์แก่พระพทุ ธศาสนาในอนาคตต่อไป

พระอธิการสายแพร กตปญฺโญ ได้กล่าวถึง ประสบการณ์จะสามารถนาไป
เป็นแนวทางการพัฒนาในอนาคตว่า จากประสบการณ์ดังกล่าว ข้าพเจ้าสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นบทบาททางด้านสังคม ในฐานะที่
ข้าพเจ้าเป็นเจ้าอาวาสวัดศาลาเย็น ตาบลตากูก อาเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
เป็นผู้นาชุมชนในการนาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์และการปฏิบัติธรรมไปเผย
แผ่แก่ประชาชนให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงแก่นของพระพุทธศาสนา ไม่ให้หลงงมงายด้าน
วัตถุมงคล หรือเคร่ืองรางของขลัง ดังเช่น พุทธศาสนิกชนของชาวศรีลังกา ซึ่งมีความ
ศรทั ธาตอ่ พระพุทธศาสนาอย่างแท้จรงิ

บทบาทด้านศิลปวัฒนธรรม วัดของข้าพเจ้าเป็นแหล่งรวมของหนังสือ
วรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรมของชาวส่วย หรือ กวย หรือกุย รวมถึงวัตถุโบราณ ผ้า
โบราณเก่าแก่เป็นจานวนมาก แต่ปจั จุบนั ไดถ้ ูกไฟไหม้หมดแล้ว


Click to View FlipBook Version