The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

Keywords: พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา

๑๙๐ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ข้าพเจ้าจึงมีแนวคิดที่จะรวบรวมใหม่ โดยทาเป็นพิพิธภัณฑ์ของชาวส่วย หรือ
กวย หรือกุย ให้เป็นแหล่งรวมประวัติศาสตร์ความเป็นมาของศิลปะและวัฒนธรรม
ดังกล่าว เพื่อให้เป็นสถานที่ให้ชนรุ่นหลังได้ศึกษาไม่ให้เส่ือมสลายไป ซ่ึงจะขอความ
ร่วมมอื จากชาวบ้านท้องถนิ่ ใกล้เคียง และหน่วยงานของทางราชการที่เก่ียวข้องต่อไป

พระอนุสรณ์ ปรกฺกโม ได้กล่าวถึง ประสบการณ์จะสามารถนาไปเป็นแนว
ทางการพัฒนาในอนาคตว่า การที่ได้ไปสัมผัสดินแดนพุทธภูมิ ทาให้รู้สึกถึงศรัทธาของ
พุทธศาสนกิ ชนชาวศรีลังกาท่ีนับถือพุทธศาสนาอย่างถึงแก่นแท้ของพุทธศาสนามีศรัทธา
อย่างแรงกล้า เช่น การถอดรองเท้าตั้งแต่นอกวัด การเคารพกราบไหว้พระสงฆ์ การ
แต่งตัวเข้าวัดด้วยชุดสีขาว ดูสะอาดสะอ้าน การบูชาพระด้วยดอกบัวสีขาวและสีชมพู
ดอกใหญ่ ท่ีสวยงาม การรดน้าต้นโพธ์ิ การสวดมนต์ไหว้พระน่ังสมาธิใต้ต้นโพธ์ิ เพื่อบูชา
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไปวัดทุกๆ วันพระ ความรักเคารพและความศรัทธาต่อ
พระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง เป็นต้น ถ้านาการประพฤติปฏิบัติตนของพุทธศาสนาของ
ประเทศศรีลังกามาเป็นต้นแบบในการพัฒนาสังคมไทย จะทาให้ประเทศไทยสงบสุข
รม่ เย็นขึ้น และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าในอนาคต รัฐบาลจะบรรจุพระพุทธศาสนาเป็นศาสนา
ประจาชาติ เหมือนดังหลายประเทศ เช่น ลาว พม่า และศรีลังกา เป็นต้น ตลอดจน
ส่งเสริมให้มีการปลูกฝังคุณธรรมแก่เยาวชนต้ังแต่เกิด เพื่อการพัฒนาประเทศให้ม่ันคง
ดว้ ยบวรแห่งพระพุทธศาสนาสืบไป

นางเจือจนั ท์ วงั ทะพันธ์ ได้กล่าวถึง ประสบการณ์จะสามารถนาไปเป็นแนว
ทางการพัฒนาในอนาคตว่า จากการที่ข้าพเจ้าได้เดินทางไปสัมมนาและศึกษาดูงานที่
ประเทศศรีลังกา สิ่งแรกท่ีจะต้องทา คือ การเตรียมตัวก่อนเดินทาง การเลือกเส้ือผ้าที่
เป็นสีสุภาพโดยเฉพาะเน้นสีขาว การเตรียมยารักษาโรค กระดาษชาระ เครื่องใช้ส่วนตัว
ศึกษาข้อมูลการใช้ชีวิตของชาวศรีลังกาในเบ้ืองต้นจากอินเตอร์เน็ต การแลกเปล่ียนเงิน
รูปีศรีลังกา และการเตรียมใจในการทาสมาธิในระหว่างการเดินทาง ซ่ึงช่วยให้จิตใจของ

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลงั กา ๑๙๑

เราเย็นสบายและมีความสุขพิเศษ การที่ได้ไปสัมผัสดินแดนพุทธภูมิ ทาให้รู้สึกท่ึงและ
ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวศรีลังกาท่ีนับถือพุทธศาสนาอย่างถึงแก่นแท้ของพุทธ
ศาสนามีศรัทธาอย่างแรงกล้า เช่น การถอดรองเท้าตั้งแต่นอกวัด การเคารพกราบไหว้
พระสงฆ์ การเอื้อเฟื้อต่อพระสงฆ์ในการลุกให้น่ังในรถรับส่งในสนามบิน การบูชาพระ
ด้วยดอกบัวสีขาวและสีชมพูดอกใหญ่ ท่ีสวยงาม การรดน้าต้นโพธิ์ การสวดมนต์ไหว้พระ
นง่ั ใตต้ น้ โพธิ์ เพ่อื บูชาองค์พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า เปน็ ตน้

บทบาทของพระสงฆ์ในศรีลังกา พระสงฆ์เป็นผู้คุ้มครองพระพุทธศาสนาตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้แสดงบทบาทที่สาคัญย่ิงทั้งทางการเมือง ทางสังคม รวมท้ังด้าน
วรรณกรรมและศิลปกรรม เช่น บทบาททางด้านการเมือง การท่ีพระพุทธศาสนามี
ความสาคัญต่อวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม ทาให้พระภิกษุมีความผูกพันกับประชาชนและ
ชนช้ันปกครองอย่างใกล้ชิด ปัจจุบันพระสงฆ์ในศรีลังกามีอิทธิพลทางการเมืองเป็นอย่าง
มาก นอกจากเปน็ ท่ปี รึกษาของรฐั บาลแลว้ พระสงฆ์ยังมีสิทธิ์ในทางการเมืองเช่นเดียวกับ
ฆราวาส ท่านมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีส่วนเก่ียวข้องกับ
การเมืองได้เท่ากับฆราวาส ท่านสามารถมีพรรคการเมืองของท่านได้เช่นเดียวกัน
สามารถสนับสนุนหรือคัดค้านใครก็ได้ รวมทั้งมีสิทธิในการวิพากษ์วิจารณ์หรือคัดค้าน
รัฐบาลได้เช่นเดียวกัน และยังสามารถชักชวนประชาชนให้เลือกหรือไม่เลือกผู้แทนคนใด
ก็ได้ เพราะท่านมีอิทธิพลเหนือประชาชนในด้านจิตใจ ท้ังยังมีสิทธิลงคะแนนเสียง
เลือกตั้งผู้แทนราษฎรอีกด้วย บทบาททางด้านศาสนา พระภิกษุสงฆ์ศรีลังกาได้ดารงซึ่ง
พทุ ธธรรมต่อกันมาเป็นลาดับ จึงเป็นผู้นาของประชาชนในทางศีลธรรมสอนประชาชนให้
เขา้ ใจหลกั พุทธศาสนา และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

พระสงฆ์ในประเทศศรลี ังกา แบ่งออกเป็น ๓ นิกายใหญ่ ๆ คือ สยามนิกาย
อมรปุรนิกาย และรามัญนิกาย สยามนิกาย ได้กาเนิดไปจากประเทศไทย มีลักษณะ
การแต่งกายแตกต่างจากสองนิกายหลัง เน่ืองจากพระสงฆ์สยามนิกายนิยมโกนขนค้ิว
หมด การห่มจีวรเวลาออกจากวัด บางวัดก็ห่มคลุมบางวัดก็ห่มลดไหล่หรือท่ีเรียกว่า

๑๙๒ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

พาดหางควาย นอกจากน้ี พระสยามนิกายทุกองค์จะใช้ร่มผ้าสีดา คันยาว ที่ถือมี
ลักษณะงอโค้ง ซึ่งเป็นบริขารประจาไม่ว่าฝนจะตกหรือไม่ก็ตาม เมื่อจะออกจากวัดไป
ไหนต้องถอื ตดิ ตวั ไปดว้ ยทกุ ครัง้ เหมือนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ สว่ นอมรปุรนิกายนั้น ไม่
นิยมโกนคิ้วเหมือนพระสยามนิกาย และเมื่อจะออกนอกวัดก็จะห่มคลุมท้ัง ๒ บ่า
เช่นเดียวกับรามัญนิกาย และจะถือร่มใบตาลท่ีมีรูปยาวๆ ไม่ใหญ่นัก ไม่มีก้านเหล็ก
แต่มีท่ีกางและหุบได้ โดยอาศัยก้านตาล ใช้ได้เฉพาะกันแดดเท่านั้น อย่างไรก็ตามการ
ห่มผ้าของพระทั้ง ๓ นิกายน้ีจะเหมือนกัน คือ ตอนล่างจะต้องห่มให้ชายจีวรเล้ือยลง
มาถึงข้อเท้า นอกจากนั้นเวลา มีกิจนิมนต์ไปบ้านใคร ทุกนิกายจะต้องมีพัดใบตาล
เล็กๆ ติดมือไปด้วยทุกองค์ รวมท้ังร่มท่ีจะต้องถือไป ไม่นิยมถือย่ามเหมือนพระไทย
และพระพม่า ในเรื่องการปฏิบัติตนของทั้ง ๓ นิกาย นี้ พระสยามนิกายและอมรปุร
นิกาย จะคล้ายกันมาก ส่วนพระรามัญนิกาย จะต่างออกไปโดยท่ีท่านจะไม่จับเงิน
ดงั น้ันเมือ่ เวลาไปไหนมักจะต้องมเี ด็กตดิ ตามไปด้วย เพ่ือใหเ้ ด็กช่วยในการหยิบเงินจ่าย
คา่ รถ เห็นไดว้ ่าการปฏบิ ัติตนของรามัญนกิ ายน้นั จะเครง่ ครดั กวา่ นิกายอนื่ ๆ

อย่างไรก็ตามพระสงฆ์ทั้ง ๓ นิกายนี้ ไม่นิยมลาสิกขา เนื่องจากประชาชน
มักจะดูหมิ่นดูแคลนและไม่นับถือผู้ท่ีสึกออกมาจากพระ โดยถือว่าไม่ใช่คนดี ซ่ึงใน
ภาษาสิงหลจะเรียกว่า หิระลุ คือ ผู้ทิ้งผ้าจีวร และคนศรีลังกาหมายถึงบุคคลที่เกียจ
คร้าน ไม่น่าปรารถนาในสังคม ในเร่ืองการแสดงความเคารพระหว่างพระในนิกายทั้ง
๓ ไม่แตกต่างกัน เพราะผู้ท่ีอาวุโสน้อยกว่าต้องเคารพผู้ที่มีอาวุโสมากกว่า สาหรับ
ความเป็นอยู่ เช่น การฉัน ก็เช่นเดียวกัน ทั้ง ๓ นิกาย สามารถฉันร่วมอาสนะเดียวกัน
ได้ ยกเว้นในเรื่องทาอุโบสถสังฆกรรม จะไม่ทาร่วมกัน เพราะพระสยามนิกายคิดว่า
ตนเองมาจากวรรณะสงู จงึ มองอกี สองนิกายว่า มาจากวรรณะต่ากวา่ นอกจากน้ันพระ
ท้ัง ๓ นิกาย ไม่นิยมการสูบบุหร่ี เพราะประชาชนจะไม่เล่ือมใสพระที่สูบบุหร่ี ในเรื่อง
การปลงผมเช่นเดียวกัน พระท้ัง ๓ นิกาย ปลงผมตามความพอใจ เพราะไม่มีวันโกน
โดยเฉพาะเหมือนในประเทศไทย

พระพุทธศาสนาในประเทศศรลี งั กา ๑๙๓

ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาในอนาคต ในประเทศไทยรัฐบาลควรทานุ
บารุงและเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง หน่วยงานของทางราชการท่ีเก่ียวข้อง
โดยเฉพาะสานักงานพระพุทธศาสนาควรมีบทบาทอย่างเป็นรูปธรรม ในการปลูกฝัง
คุณธรรมจริยธรรม และจิตสานึกในการนับถือพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนให้
ถึงแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ในปัจจุบันควรมี
ความรู้ทั้งทางปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ ดังเช่น พระสงฆ์ของศรีลังกา และ
พุทธศาสนิกชนของชาวศรีลังกา ซ่ึงไม่ใช่การปฏิบัติแค่เปลือกของศาสนาหรือเป็น
พุทธศาสนิกชนแค่ในทะเบียนบ้าน พระสงฆ์ควรจะมีบทบาทและเป็นต้นแบบที่ดีใน
การสรา้ งทรัพยากรมนษุ ย์ใหเ้ ปน็ ทรพั ยากรที่มีคณุ ภาพของชาติ ไม่ใช่ปลูกฝังประชาชน
แค่เร่ืองพิธีกรรม ยึดติดในเครื่องรางของขลังหรือพุทธพาณิชย์ อันไม่ใช่แก่นแท้ของ
พระพทุ ธศาสนา ควรเผยแผ่พระพุทธศาสนาแบบเชิงรุก ปฏิรูปคณะสงฆ์ หรือปรับปรุง
กฎหมายคณะสงฆ์ให้ทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงการปฏิวัติตัวพระสงฆ์เอง
ด้วย ไม่อย่างนั้นแล้วพระพุทธศาสนาอาจจะถูกกลืนหรือล่มสลายโดยศาสนาอ่ืน ซึ่งมี
การเผยแผ่แบบเชิงรกุ อย่างตอ่ เน่อื งในปจั จุบนั

นางสาวจันทร์ศิริ พลอยงาม ได้กล่าวว่า ส่ิงท่ีได้จากประสบการณ์จะ
สามารถนาไปเป็นแนวทางการพัฒนาอนาคต: จากประสบการณ์ท่ีได้มานั้นสามารถ
นามาพัฒนาในเร่ืองของการนบั ถือศาสนาพทุ ธและการเผยแพร่ศาสนาพุทธ ให้ดารงอยู่
ได้ตลอดไปด้วยการเกิดพลังศรัทธาและเล่ือมใสในพระพุทธเจ้าและผู้ซ่ึงบวชเป็นพระ
เพราะจากการที่เห็นประชาชนของประเทศศรีลังกาก้มลงกราบไหว้พระท่ีเท้าและเอา
มือของตัวเองไปแตะท่ีหน้าอกนั้นถือว่า เขาได้เข้าถึงตัวแทนของพระพุทธเจ้าที่เขามี
ความศรัทธาและเคารพยกหย่องเป็นอย่างสูง เพื่อให้พระพุทธศาสนาคงอยู่ได้อย่าง
เข้มแข็งก็จะต้องมีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มากข้ึนและให้เป็นพระท่ีทรงมีไว้ซึ่ง
ความรู้ความสามารถในการเผยแผ่พระศาสนาในทางที่ถูกต้องอย่างท่ีพระพุทธองค์ได้

๑๙๔ พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.

ทาการเผยแผ่ไว้ในอดีตชาติไว้แล้ว ก็ยังนาคาส่ังสอน ในด้านๆ ท่ีพระองค์เคยสอนไว้
สามารถนามาใช้ในปจั จบุ นั ไดอ้ ย่างไมม่ ีอะไรเปน็ ท่สี งสยั ไดเ้ ลย

ในฐานนะท่ีข้าพเจา้ เปน็ นิสติ ปริญญาเอก สาขาวิชาพระพุทธศาสนา เม่ือเรียน
จบก็สามารถนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนทางด้านนี้ไปประยุกต์ใช้กับการส อนในวิชา
ช่างได้ เพราะทุกอย่างที่พระพุทธเจ้าท่านทรงสอนไว้แล้วนั้น สามารถนามาใช้ได้อย่าง
ถูกต้องเพราะได้รับการสอนจากพระอาจารย์ทุกท่านเป็นอย่างชัดเจนแล้วจึงสามารถ
ให้เหตุผลได้

นายพจิ ิตร พงษเ์ กษ ไดก้ ล่าววา่ สิง่ ท่ีได้จากประสบการณ์ การไปทัศนศึกษา
พุทธศาสนาเชิงพุทธ ครั้งนี้ ก็สามารถนาไปเป็นแนวทางการพัฒนาในอนาคต คือ การ
ปฏิบัติ ประพฤติธรรม ของพุทธศาสนิกชน คือ บรรพบุรุษจะเป็นผู้ชักชวนนาพา
ลกู หลานเข้าวดั วาอารามในทุกขึ้นและแรม ระหว่าง ๗ – ๘, ๑๔ – ๑๕ และนอกจาก
เขา้ ปฏบิ ัติธรรมแลว้ ยังได้ทาความสะอาด สถูปดและศาสนสถานด้วย

บทท่ี ๔
สรุป

ความนาํ
บทนี้ผูเขียนไดการรวบรวมการจากคําตอบของนิสิตท่ีไดถายทอดอารมณ

ความรูสึกนึกคิด จากประสบการณสงสารออกมาเปนลายลักษณอักษรจนกลายเปน
เรื่องราวตางๆ อันเปนใจความสําคัญของเนื้อหา ซึ่งผูเขียนไดแบงออกเปนสองสวน
ดังนี้ ๑) การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพโดยใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา (content
analysis) ที่ไดจากภาคทฤษฏีและการลงพื้นท่ีพรอมทั้งปรากฏการณทางสังคม
(contextual) ซ่ึงปรากฏการณทางสังคมบางประการ ที่ไมสามารถอธิบายไดดวย
เหตุผลธรรมดาท่ัวไปได การลงพ้ืนท่ีจึงเปนสวนหนึ่งท่ีพยายามทําความเขาใจเกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและสภาพแวดลอมตางๆ ของบริบท ๒) การ
วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณโดยใช สถิติเชิงบรรยายและสถิติวิเคราะหประเภทตางๆ
สําหรบั การวเิ คราะหขอมลู เชงิ ปรมิ าณในสว นของการวเิ คราะหขอมลู เบื้องตน สถิติที่ใช
ไดแก สถติ ิเชิงบรรยาย ประกอบดวย ความถี่ รอ ยละ คา เฉลยี่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
ดงั มีรายละเอยี ดดงั น้ี

๔.๑ ความรูเ ชงิ คณุ ภาพ
พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศศรีลังกาสูประเทศไทย: ตามหลักฐานท่ี

ปรากฏในตํานานวา “พระพุทธศาสนาลังกาวงศแรกมาถึงเม่ือราว พ.ศ. ๑๘๐๐ พวก
พระภิกษุไทยซ่ึงไดไปบวช ณ เมืองลังกากลับมาตั้งคณะที่เมืองนครศรีธรรมราชกอน
แลว ชักชวนพระสงฆชาวลังกาที่ตามมาดวย ชวยกันสรางพระมหาธาตุที่เมือง
นครศรีธรรมราชแปลงเปนพระสถูปอยางลังกา” การเขามาของพระพุทธศาสนาลังกา
วงศและการบูรณะพระมหาธาตุเจดียใหเปนรูปทรงลังกาวา “พระเจาจันทรภาณุ ทรง
อุปถัมภบํารุงและบูรณะสงเสริมพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองข้ึนมาก โดยไดทรง

ñùö ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »âÚ Þ,¼È.´Ã.

จัดสงพระภิกษุสงฆไทยไปศึกษาพระธรรมวินัยที่เมืองลังกา เพราะในสมัยนั้น
พระพทุ ธศาสนาเจริญรุงเรืองมากในเมืองลังกา พระสงฆไทย พมา มอญ ลาวและเขมร
ไดออกเดินทางไปศึกษาพระธรรมวินัยในเมืองลังกากันมาก เมื่อพระสงฆจากเมือง
นครศรีธรรมราชไปศึกษากลับมาก็ชักชวนพระภิกษุชาวลังกามาตั้งคณะสงฆท่ีเมือง
นครศรีธรรมราช เรียกวา พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ ระยะนั้นภิกษุชาวลังกาได
รว มมอื ชวยเหลอื พระเจาจันทรภาณุ บูรณะเสริมสรางใหเปนไปตามแบบลังกา โดยกอ
สถูปแบบลังกาครอบเจดียองคเดิม แตการบูรณะพระบรมธาตุในคราวน้ันก็ยังไม
บริบูรณแบบอยางที่ปรากฏในปจจุบันนี้...” จึงกลาวไดวา พระพุทธศาสนาลังกาวงศ
ไดเจริญรุงเรือง ณ เมืองนครศรีธรรมราชกอนเมืองอ่ืน ในสยามประเทศ ในดาน
ความสมั พันธกบั เมอื งลงั กาน้ัน มีหลกั ฐานวา พระเจาจันทรภาณุแหง นครศรีธรรมราช
ไดเดินทางไปเมืองลังกาถึงสองคร้ัง และไดอัญเชิญพระพุทธสิหิงคจากลังกา มา
ประดิษฐานในเมอื งนครศรีธรรมราชดว ย๑

พ.ศ. ๑๘๒๐ พอขุนรามคําแหงมหาราช กษัตริยแหงกรุงสุโขทัย ไดอาราธนา
พระสงฆและเชิญนักปราชญราชบัณฑิตจากนครศรีธรรมราช ไปเผยแพร
พระพุทธศาสนาลังกาวงศและศิลปวัฒนธรรมตาง ๆ ท่ีกรุงสุโขทัย ดังปรากฏในศิลา
จารึกหลักท่ี ๑ ของพอขุนรามคําแหง ดานท่ี ๓ บรรทัดที่ ๒๙–๓๐ วา “... พอขุน
รามคําแหงกระทําโอยทานแก มหาเถรสังฆราชปราชญเรียนจบไตรปฎก หลวกกวาปู
ครูในเมืองน้ีทุกคนลุกแตเมืองนครศรีธรรมราชมา...๒ พอขุนรามคําแหงมหาราช
กษัตรยิ แ หง กรุงสโุ ขทัย ไดอาราธนาพระสงฆจ ากเมืองนครศรีธรรมราชมาจําพรรษา ณ
วัดอรัญญิก ในกรุงสุโขทัย ทําใหพระพุทธศาสนาลังกาวงศเจริญรุงเรืองในกรุงสุโขทัย

๑ วัดพระมหาธาตุวรมหาวหิ าร, วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช, (ม.ป.ท.: ม.ป.ป.,)
หนา ๒๒-๒๕.

๒ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช,
หนา ๒๓ – ๒๕.

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò ñù÷

และแพรหลายไปยังเมืองตาง ๆ ในสยามประเทศ อิทธิพลของพระพุทธศาสนาลังกา
วงศไ ดแสดงออกใหเหน็ เดนชดั คอื การสรางพุทธเจดียที่ยึดถือตามรูปแบบและคติการ
สรางของลังกา ตนแบบแรก ๆ นาจะมาจากเจดียเมืองอนุราธปุระ ซึ่งเปนอาณาจักร
รุงเรืองยุคแรกของศรีลังกา ปจจุบันมีเจดียทรงลังกาปรากฏใหเห็นหลายแหงใน
ประเทศไทย เชน พระบรมธาตเุ จดียนครศรีธรรมราช เจดียวัดชางลอม จังหวัดสุโขทัย
และพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม เปนตน ตอมาพระพุทธศาสนาลังกาวงศไดเขาสู
ภาวะเส่ือมถอยจนถึงข้ันวิกฤติจากการคุกคามจากพวกทมิฬ และชนชาติตะวันตก
จนถึงกับขาดแคลนพระภิกษุสงฆ พระเจาศรีวิชัยราชสิงหจึงโปรดใหสงราชทูตพรอม
พระราชสาสนมายังกรุงศรีอยุธยา เพ่ือนิมนตพระภิกษุสงฆจากสยามไปชวยฟนฟู
พระพุทธศาสนาในศรลี ังกา พระเจาอยูหัวบรมโกศจึงโปรดใหพระอุบาลีเถระและคณะ
สงฆเดินทางไปยังศรีลังกาเพื่อชวยฟนฟูพระพุทธศาสนา โดยการเปนพระอุปชฌาย
บวชสามเณรศรีลงั กาเปนพระภิกษุ ทําใหเกิดพระภิกษุสยามวงศข้ึนในศรีลังกา จึงเปน
เรือ่ งที่ชาวพุทธศาสนิกชนไทยควรจะไดภาคภูมิใจท่ีพระมหากษัตริยและคณะสงฆชาว
สยามไดมีสวนรวมในการฟนฟูพระพุทธศาสนาในตางแดนจนไดรับการยกยอง และ
ให “พระพทุ ธศาสนาสยามวงศ” จากประเทศไทยกลายเปน นกิ ายของพระพุทธศาสนา
ทสี่ ําคัญทส่ี ดุ นกิ ายหนงึ่ ในประเทศศรีลงั กาปจ จบุ นั

อิทธิพลพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีตอประชาชนในประเทศศรีลังกา:
ประชนในประเทศศรลี งั กามีการนบั ถือศาสนาพระพุทธศาสนารอยละ ๖๙.๓ รองลงมา
คือศาสนาฮินดู รอยละ ๑๕.๕ ศาสนาอิสลาม รอยละ ๗.๖% คริสตศาสนา รอยละ
๗.๕ และผูทน่ี บั ถือศาสนาอืน่ ๆ อกี รอ ยละ ๐.๑ จึงเห็นไดวาพระพุทธศาสนามีอิทธิพล
ตอวิถีชีวิตของชาวศรีลังกาและเปนศาสนาประจําราชอาณาจักรศรีลังกา ดวยอิทธิพล
ทางศาสนานี้เอง ที่ทําใหเราไดเห็นกิจกรรมของประชาชนชาวศรีลังกานําดอกไมและ
การแตงกายดวยชดุ ขาวไปวัดอยูบอ ย ๆ พุทธศาสนาไดร ับรองโดยกฎหมายของรัฐ เชน
ในกฎหมายสิงหลโบราณวา "ผูทําลายเจดียและตนโพธิ์ กับผูท่ีปลนสะดมทรัพยของ

ñùø ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »âÚ Þ,¼È.´Ã.

ศาสนามีโทษถึงตาย กฎหมายน้ีใชบังคับชาวศรีลังกาทุกระดับช้ันรวมถึงชาวตางชาติ
ดวย และมีการบังคับใชมานานแลว ต้ังแตรัชกาลพระเจาเอลระ ซึ่งเปนชาวทมิฬใน
พุทธศตวรรษท่ี ๕

ความสัมพันธระหวางพระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกากับประเทศไทย:
ประเทศไทยและประเทศลังกามีความสัมพันธกันมาหลายรอยป สืบเน่ืองมาจากการท่ี
ไทยไดรับการสืบทอดพุทธศาสนาแบบลังกาวงศมาเผยแผในประเทศไทย การติดตอ
ระหวางชาติท้ังสองเปนลักษณะการใหและการตอบแทน กลาวคือในตอนตนพุทธ
ศตวรรษท่ี ๑๙ ไทยรับนับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศจากลังกา และตอมาเม่ือทาง
ศรีลังกาเกิดปญหายุงยากทางการเมืองในปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ หมดส้ินสมณวงศ
ฝายไทยไดสนองตอบดวยการชวยเหลือกอตั้งนิกายสยามวงศในศรีลังกา หลังจากน้ัน
ไดมีความสัมพันธใกลชิดมากข้ึนจนถึงสมัยรัตนโกสินทร โดยเฉพาะในรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งทางศรีลังกาไดขอรับความอุปถัมภทาง
พทุ ธศาสนาอีกคร้ังหนึ่ง และยกยองพระองคเปน “อัครศาสนูปถัมภก” ในประเทศตน
สาเหตุที่ไทยและลังกามีความสัมพันธอันใกลชิดตอกันตลอดระยะเวลายาวนาน โดย
เนน ในเรอ่ื งความสัมพนั ธทางพทุ ธศาสนาตงั้ แตร ชั กาลสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ ซึ่ง
ไดมีการกอตั้งนิกายสยามวงศในลังกา จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว จากการออกศึกษานอกสถานท่ีหรือจากสบการณจริงพบวา พุทธศาสนา
แบบลงั กาวงศไ ดเขามาต้ังม่ันและเจริญรงุ เรอื งขึ้นเปนลําดับมา นับตั้งแตกรุงสุโขทัยรับ
นับถือพุทธศาสนาแบบลังกาวงศแ ลว สว นศรีลงั กาซึ่งเปนประเทศตนวงศมักจะประสบ
ปญหาความยุงยากทางการเมืองท้ังภายในและภายนอก มีหลักฐานที่แสดงใหเห็นวา
การติดตอระหวางไทยกับศรีลังกาในปลายสมัยอยุธยา ในรัชกาลสมเด็จพระเจาอยูหัว
บรมโกศน้ัน ฮอลันดาซ่ึงยึดครองดินแดนในเกาะลังกาบางสวนอยูได มีสวนสนับสนุน
ใหกษัตริยศรีลังกาผูปกครองอาณาจักรแคนดี ซึ่งยังคงเปนอิสระใหติดตอขอความ

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò ñùù

ชวยเหลือจากไทยในการฟนฟูพุทธศาสนา โดยที่ฮอลันดาหวังผลประโยชนในทาง
การเมอื งและการคา

ผลท่ีเกิดขึ้นจากการติดตอในชวงนี้ คือ การกอต้ังนิกายสยามวงศ ซึ่งเปน
นิกายที่เกาแกและใหญที่สุดของศรีลังกา ตอมาศรีลังกาตองเผชิญกับการขยายตัวของ
ลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตกเปนเวลานาน จนในท่ีสุดไดตกเปนอาณานิคมของอังกฤษ
ถงึ แมอังกฤษจะมนี โยบายไมเบยี ดเบยี นพุทธศาสนา แตการพุทธศาสนาก็เส่ือมโทรงลง
เนื่องจากขาดผูนําและองคกรท่ีจะรวบรวมพระสงฆและพุทธศาสนิกชนเขาดวยกัน
เพ่ือฟนฟูทะนุบํารุงพุทธศาสนาในประเทศของตน คณะสงฆลังกาจึงตองอาศัยความ
ชวยเหลือจากประเทศที่นับถือพุทธศาสนาเชนเดียวกันคือประเทศไทย ในขณะนั้นดู
เหมือนวาคณะสงฆศรีลังกาขออยูใตการปกครองคณะสงฆไทย แตคณะสงฆฝายไทยดู
เหมือนวาไมรับคําขอโดยตรง แตพระสงฆฝายไทยก็พยายามหาหนทางชวยเหลือใน
ขอบเขตที่สามารถจะทําได สาเหตุที่ฝายลังกาเลือกท่ีจะขอรับความอุปถัมภจากไทย
นั้น นอกจากจะเปนเพราะมีพ้ืนฐานการนับถือศาสนาแบบเดียวกัน และความม่ันคง
ของพุทธศาสนาในประเทศไทยแลว ยังมีเหตุผลสําคัญอีกขอหน่ึงคือ ไทยเปนชาติที่นับ
ถอื พุทธศาสนาแบบเถรวาทเพียงประเทศเดียว ท่ียงั คงรักษาเอกราชไวไ ดใ นขณะนั้น

วิถีชีวิตของพทุ ธศาสนิกชนในประเทศศรีลังกา:
ประสบการณจากไปศึกษาดูงานในคร้ังนี้จะเห็นไดวาชาวพุทธศรีลังกาดู
เหมือนจะเปนชาวพุทธโดยสายเลือด ไมไดเปนชาวพุทธตามสําเนาทะเบียนบาน เปน
ชาวพทุ ธทีม่ ีความรกั ความหวงแหน และความผูกพันในพระพุทธศาสนามาก สาเหตุที่
ชาวพุทธศรีลังกาหวงแหนพระพุทธศาสนามาก เพราะในชีวิตของพวกเขาดูเหมือนวา
เคยถูกโดนปฏิบัติดวยการเบียดเบียนบีบคั้น ท่ีมากไปกวานั้นพวกเขาถูกย่ํายีทําลาย
หวั ใจดวยการทําลายสงิ่ ทเ่ี คารพนับถือนั้น คือ พระเข้ียวแกว แมจะไมใชของจริงก็ตาม
เม่ือหลุดพนจากอิทธิพลของอื่นที่รุงเรืองในขณะนั้นชาวพุทธศรีลังกาจึงฟนฟู
พระพุทธศาสนาที่พวกเขารักและหวงแหนดวยการรวมพลังชาวพุทธข้ึน วิถีชีวิตชาว

òðð ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

พุทธในศรีลังกายังเปนพุทธท่ีบริสุทธ์ิ สวดมนตไหวพระ สมาทานศีลเองทุกวัน ไมมี
พุทธพาณชิ ย ไมมตี ิดในของเครื่องรางของขลัง พระสงฆและชาวพุทธศรีลังกาจะไมเนน
การสวดมนตท ําแตพธิ ีกรรมเทา น้นั แตย งั เนนการบรรยายธรรม สนทนาธรรม ปาฐกถา
ธรรมดวย จึงเห็นไดวาศรีลังกาจะเนนการปลูกฝงทางสติปญญามากกวาสิ่งอ่ืนได พอ
แมครอบครัวจะเปนตัวอยางที่ดี คือ การรักษาศีล ความกตัญูแกบุพการีและผูมี
พระคุณ ความสุขสงบรมเย็นเปนท่ีพึ่งของลูกหลาน วันพระวันอาทิตย พอแมจะพา
ลูกหลานไปวัด สวดมนต ภาวนา สมาทานศีล ฟงธรรม และปฏิบัติธรรมตามที่สะดวก
หรือไมก็ไปตามวัดท่ีพวกเขาศรัทธา ท่ีมากไปกวานั้น ไกลไดพูดฟงวาธรรมดาเดือน
สัปดาหห นง่ึ จะมีวันสวดมนตส ําหรับทจ่ี ะตอ งสวดมนตรว มกัน

คณะสงฆศรีลังกามีกระบวนการกลั่นกรองคนที่เขามาบวชอยางเปนระบบ
ไมใชใครนึกจะบวชก็บวชได คนที่จะบวชตองมาอยูวัด ประพฤติวัด ปฏิบัติธรรมทาง
พระพุทธศาสนาจนเขาใจ เมื่อเห็นวามีคุณสมบัติเหมาะสมแลว จึงจะนํามาบวชกับ
ประธานสงฆของนิกายนั้นๆ ซึ่งแตละนิกายก็จะมีสังฆสภา คอยพิจารณากล่ันกรองวา
จะใหใครบวชไมใหบวช เม่ือมีปญหาอะไรก็จะตัดสินกันในสังฆสภา ขนวนการน้ีๆ เอง
ทาํ ใหคณะสงฆมคี วามเขมแข็งมาถงึ ทุกวนั น้ี

สถานที่ที่มีความประทับใจในการทัศนศึกษาครั้งน้ี: การไปทัศนะศึกษาใน
ครั้งนี้สามารถสรางความประทับใจและศรัทธาในการหล่ังไหลของพุทธศาสนิกชนชาว
ศรีลังกาและชาวตางชาติ ท่ีไดมานมัสการสถานท่ีสําคัญทางพระพุทธศาสนา
โดยเฉพาะชาวตา งชาตไิ มวา จะมาดวยศรัทธาหรือเรียนรูก็ตามแตนั้นเปนปรากฏการณ
ทางสังคม และท่ีมากไปกวาน้ันอีกก็คือ ณ วัดพระเข้ียวแกว ดาลดา มัลลิกาวะ
(Dalada Valigawa) เปนท่ีประดิษฐานพระเข้ียวแกว พระทันตธาตุขององคสมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งถือเปนส่ิงศักด์ิสิทธ์ิคูบานคูเมืองศรีลังกามีคนหลั่งไหลไปไม
ขาดสาย มีความเชอ่ื วา พระเขย้ี วแกวที่ประเทศศรีลังเปนของแทและที่ยังเหลือกอยูบน
โลกมนุษยโดยมีหลักฐานรองรับความถูกตองตรงตามพระคัมภีรมหาวงศดวยวา พระ

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òðñ

ทันตธาตุหลังจากการถวายพระเพลิงพุทธสรีระแลว นับต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๙ พระ
เขีย้ วแกว ไดประดิษฐานอยบู นแผน ดนิ แหงน้ีมาโดยตลอด มิเคยถูกนําออกนอกดินแดน
นี้เลยต้ังแตถูกอัญเชิญมาจากชมพูทวีป โดยเจาหญิงเหมมาลาแหงแควนกาลิงคะ เมื่อ
กวา ๑,๗๐๐ ปกอน ชาวศรีลังกาตางถวายเคารพตอพระทันตธาตุอยางสูงสุด โดยเช่ือ
กันวาหากเมื่อใดพระเขี้ยวแกวถูกนําออกนอกเกาะลังกาแลว จะนําภัยพิบัติมาสู
ประเทศชาติและยังเช่ือวาหากเม่ือใดที่เกิดทุกขภัยขึ้น การเปดอัญเชิญพระเข้ียวแกว
ออกใหผูคนสักการบชู าจะสามารถขจดั เภทภัยตาง ๆ ได

ส่ิงท่ีไดจากประสบการณการศึกษาในคร้ังน้ี : ในภาพรวมแลวนิสิตมักจะให
คําตอบวาเปน การไปสมั มนาศึกษานอกสถานที่คุมคา เปนประการณของชีวิตนักศึกษา
ในสายพระพุทธศาสนาไดเรียนรูถึงการเฉพาะเร่ืองแหงพระพุทธศาสนาในประเทศศรี
ลังกาเปนอยางดี นิสิตคณะพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ได
สะทอนในเรอ่ื งของรอยเทาของพระพุทธเจาผานทางการแสดงความคิดเห็นดังขอมูลท่ี
นิสิตไดแสดงแลวในขางตน นิสิตไดรับความรูจากประสบการณทางพระพุทธศาสนา
และประวตั ิศาสตรจ ากการศึกษาดูงาน เชน วัดถ้ําดัมบุลลา เขาสิกิริยา หรือภูเขาสิงโต
วัดศรีปรมนันทะหรือวดั จุฬาลงกรณ เมืองแคนดี้ วัดพระเข้ียวแกว วัดกัลณียาราชมหา
วิหาร และวัดคงคาราม สถานท่ีแหงนี้ไดทําใหนิสิตไดรับประสบการณจากการสัมผัส
สถานที่จริง อันเปนการเพ่ิมพูนความรูจากการศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาในอดีต
อีกท้ังยังไดใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารในประเทศศรีลังกาในชีวิตประจําวันตลอด
เสร็จส้ินการสัมมนาและศึกษาดูงาน รวมถึงไดรับความรูจากมัคคุเทศกชาวศรีลังกาท่ี
สอนภาษาทองถิ่นของชาวศรีลังกา การแนะนําสถานที่ท่ีจะไปศึกษาดูงาน และการ
ทักทาย อาร ยู บวร ซึง่ ความหมายวา ใหมอี ายุมั่นขวัญยืน

òðò ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »ÚâÞ,¼È.´Ã.

ประสบการณจะสามารถนําไปเปนแนวทางการพัฒนาในอนาคต : นิสิตได
สะทอนจากการศึกษาดงู านในครง้ั นีว้ า ในประเทศไทยรฐั บาลควรทํานบุ ํารุงและเผยแผ
พระพุทธศาสนาอยางจริงจัง หนวยงานของทางราชการที่เก่ียวของ โดยเฉพาะ
สํานักงานพระพุทธศาสนาควรมีบทบาทอยางเปนรูปธรรม ในการปลูกฝงคุณธรรม
จริยธรรม และจิตสาํ นกึ ในการนับถือพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชนใหถึงแกนแท
ของพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆในปจจุบันควรมีความรูทั้ง
ทางปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธ ดังเชน พระสงฆของศรีลังกา และพุทธศาสนิกชนของ
ชาวศรีลังกา ซ่ึงไมใชการปฏิบัติแคเปลือกของศาสนาหรือเปนพุทธศาสนิกชนแคใน
ทะเบียนบาน พระสงฆควรจะมีบทบาทและเปนตนแบบท่ีดีในการสรางทรัพยากร
มนุษยใหเปนทรัพยากรที่มีคุณภาพของชาติ ไมใชปลูกฝงประชาชนแคเร่ืองพิธีกรรม
ยึดตดิ ในเครือ่ งรางของขลังหรือพทุ ธพาณชิ ย อันไมใ ชแกน แทของพระพุทธศาสนา ควร
เผยแผพระพทุ ธศาสนาแบบเชิงรกุ ปฏิรูปคณะสงฆ หรือปรับปรุงกฎหมายคณะสงฆให
ทันสมัยตอสถานการณปจจุบัน รวมถึงการปฏิวัติตัวพระสงฆเองดวย ไมอยางน้ันแลว
พระพทุ ธศาสนาอาจจะถูกกลืนหรือลมสลายโดยศาสนาอ่ืน ซึ่งมีการเผยแผแบบเชิงรุก
อยา งตอ เน่ืองในปจ จุบัน

๔.๒ ความรเู ชงิ ประมาณ
การวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับความพึงพอใจโครงการทัศนศึกษาดูงาน

ศิลปวัฒนธรรมและพระธาตุเขี้ยวแกวประเทศศรีลังกาของนิสิตปริญญาเอกมหาจุฬา
ลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน ผลการวเิ คราะหขอมูลตามลาํ ดับ ดงั นี้

๔.๒.๑ สัญลกั ษณท่ีใชใ นการวเิ คราะหข อมลู
๔.๒.๒ ขนั้ ตอนในการวิเคราะหขอมลู (เชิงปริมาณ)
๔.๒.๓ ผลการวิเคราะหข อมูล
๔.๒.๔ ผลการวิเคราะหขอมูลเชงิ คณุ ภาพ

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òðó

๔.๒.๑ สญั ลกั ษณท ใ่ี ชใ นการวเิ คราะหขอมลู
เพื่อใหเกดิ ความเขาใจตรงกันในการส่อื ความหมายของขอมูล ผวู ิจยั ไดกําหนด
ความหมายของสญั ลกั ษณในการนําเสนอผลการวิเคราะหข อมลู ดังน้ี
X แทน คาเฉล่ยี (Mean)
S.D. แทน สวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

๔.๒.๒ ขน้ั ตอนในการวิเคราะหขอมูล(เชิงปริมาณ)
ผูวจิ ัยนาํ เสนอขอมลู ตามลําดบั ดงั น้ี

๑. ผลการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปเกี่ยวกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปของ
ผตู อบแบบสอบถาม

๒. ผลการวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับความพึงพอใจโครงการทัศนศึกษาดู
งานศลิ ปวฒั นธรรมและนมัสการ พระธาตุเขี้ยวแกวประเทศศรีลังกาของนิสิตมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัยวทิ ยาเขตขอนแกน โดยภาพรวม และรายดา น

๓. ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอกิจกรรมการเผยแผธรรมของนิสิต
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัยมลี กั ษณะเปนแบบสอบถามปลายเปด (Open ended)

๔.๒.๓ ผลการวิเคราะหข อมลู ผลความพึงพอใจในการกจิ กรรมเสริมใหพระ
นิสิตไดศกึ ษาวิชาศกึ ษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา

ตอนท่ี ๑ ผลการวิเคราะหขอมลู ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม
ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลเบื้องตนของผูตอบแบบสอบถาม โดยกลุมตัวอยางที่
ตอบแบบสอบถามเปนพระนิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต ช้ันปท่ี ๑ สาขาวิชา
พระพทุ ธศาสนา วิทยาเขตขอนแกน จาํ นวน ๑๘ รูป/คน ดังตารางท่ี ๑

òðô ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »ÚâÞ,¼È.´Ã.

ตารางที่ ๑ จํานวนและรอยละขอมลู ท่ัวไปของผตู อบแบบสอบถาม

ขอมูลทั่วไป จาํ นวน(รูป) รอ ยละ
๑. สถานภาพ ๑๕ ๘๓.๓๓
๓ ๑๖.๖๖
๑.๑ พระนิสิต/นสิ ิต ๑ ๕.๕๕
๑.๒ นสิ ิตคฤหัสถ ๐
๑.๓ บคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ๐
๑.๔ อ่ืน ๆ ๑๘.๐๐ ๑๐๐.๐๐

รวม

จากตารางที่ ๑ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนพระนิสิตและนิสิต
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา โดยพระนิสิตคิดคิดเปน

รอยละ ๘๓.๓๓ นิสิตคฤหัสถคิดคิดเปนรอยละ ๑๖.๖๖ บุคลากรของมหาวิทยาลัยคิด
คิดเปนรอยละ ๕.๕๕ รวมนิสิตและบุคคลากรที่เขาท่ีรวมโครงการคิดคิดเปนรอยละ

๑๐๐.๐๐
ตอนท่ี ๒ ผลการวเิ คราะหขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมให

พระนิสิตไดศึกษาวิชาศึกษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา โดย
ภาพรวมและรายดา นดงั ตารางที่ ๒

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òðõ

ตารางท่ี ๒ คา เฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมให
พระนิสิตไดศึกษาวิชาศึกษาเฉพาะเรื่องในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา

โดยภาพรวมและรายดา น

ดา นท่ี ความพงึ พอใจในการกจิ กรรมเสรมิ ระดับความพงึ พอใจ

๑. ดา นความรู เน้อื หาการจดั การโครงการ X S.D. แปลผล อนั ดบั ท่ี
๒. ดา นวิทยากรบรรยาย ๔.๓๓ ๐.๕๑ มาก ๓
๓. ดานการบรหิ ารโครงการ ๔.๕๖ ๐.๕๕ มาก ๑
๔.๔๐ ๐.๕๗ มาก ๒
รวม ๔.๔๓ ๐.๕๔ มาก -

จากตารางท่ี ๒ พบวา ความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมใหพระนิสิตไดศึกษาวิชา
ศึกษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ( X
= ๔.๔๓) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมาก ทุกดาน โดยเรียงลําดับ
ตามคาเฉล่ียจากมากไปหานอย คือ ดานวิทยากรบรรยาย ( X =๔.๕๖) รองลงมาคือ
ดานการบริหารโครงการ ( X =๔.๔๐) และดานความรู เน้ือหาการจัดการโครงการ
( X =๔.๓๓) ตามลําดับ

òðö ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °µÔ »ÚâÞ,¼È.´Ã.

ตารางที่ ๓ คา เฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมให
พระนิสิตไดศ กึ ษาวชิ าศกึ ษาเฉพาะเรื่องในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา

ดานความรู เนอ้ื หาการจัดการโครงการ โดยภาพรวมและรายขอ

ดานท่ี ดานวิทยากรบรรยาย ระดับความพึงพอใจ
๑. ความรูก อนเดินทางศกึ ษาดงู าน X S.D. แปลผล อันดบั ท่ี
๓.๕๙ ๑.๑๘ มาก ๖

๒. ความรูหลงั การศึกษาดูงาน ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๓

๓. ความเขาในเน้ือหาการบรรยายระหวาง ๔.๕๕ ๐.๗๓ มาก ๒

การเดนิ ทาง

๔. เน้ือหาบรรยายตรงกับวัตถุประสงค ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๑

ของการศึกษาดูงาน

๕. สามารถนําความรูที่ไดในการอบรม ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๕

ไปประยกุ ตใ ชในการทํางานไดจ รงิ

๖. ความเหมาะสมของเอกสาร ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๔

ประกอบการอบรม

รวม ๔.๓๓ ๐.๕๑ มาก -

จากตารางท่ี ๓ พบวา ความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมใหพระนิสิตไดศึกษาวิชา
ศึกษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา ดานความรู เนื้อหาการจัดการ
โครงการ โดยภาพรวมและรายขออยูในระดับมาก ( X =๔.๓๓) เม่ือพิจารณาเปนราย
ขอ พบวา อยูในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับตามคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย คือ

เนื้อหาบรรยายตรงกับวัตถุประสงคของการศึกษาดูงาน ( X =๔.๖๔) รองลงมาคือ

ความเขาในเน้ือหาการบรรยายระหวางการเดินทาง ( X =๔.๕๕) และความรูหลัง

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òð÷

การศกึ ษาดูงาน ( X =๓.๘๒) ตามลําดับสวนขอ ที่มีระดับคาเฉล่ียตํ่าสุดคือ ความรูกอน
เดินทางศึกษาดูงาน ( X =๓.๕๙)

ตารางที่ ๔ คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพงึ พอใจในกิจกรรมเสริมให
พระนสิ ิตไดศกึ ษาวชิ าศึกษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา
ดา นวทิ ยากรบรรยาย โดยภาพรวมและรายขอ

ดา นท่ี ดา นการบริหารโครงการ ระดับความพึงพอใจ
๑ การสรางบรรยากาศการเรียนรู X S.D. แปลผล อนั ดับที่
๔.๕๐ ๐.๘๐ มาก ๖

๒ ความรอบรู ความเชี่ยวชาญ ในเนื้อหา ๔.๔๕ ๐.๘๕ มาก ๕

รายวิชา และสถานที่

๓ เทคนคิ วิธีการบรรยายโดยรวม ๔.๕๙ ๐.๕๐ มาก ๔

๔ การอธบิ ายและการยกตัวอยาง ๔.๕๙ ๐.๖๖ มาก ๓

ประกอบ ชดั เจน

๕ เปดโอกาสใหซักถาม และการตอบ ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๒

คําถามตรงประเดน็

๖ ความชดั เจน ตรงประเด็น ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๑

รวม ๔.๕๖ ๐.๕๕ มาก -

จากตารางที่ ๔ พบวา ความพงึ พอใจในกิจกรรมเสรมิ ใหพระนิสิตไดศึกษาวิชา
ศึกษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา ดานวิทยากรบรรยาย โดย
ภาพรวมและรายขออยูในระดบั มาก ( X = ๔.๕๖) เมือ่ พจิ ารณาเปน รายขอ พบวา อยู
ในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับตามคาเฉล่ียจากมากไปหานอย คือ ความชัดเจน
ตรงประเด็น ( X =๔.๖๔) รองลงมาคือ เปดโอกาสใหซักถาม และการตอบคําถามตรง

òðø ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»ÚâÞ,¼È.´Ã.

ประเด็น ( X =๔.๖๔) และการอธิบายและการยกตัวอยางประกอบ ชัดเจน ( X =
๔.๕๙) ตามลําดับสวนขอท่ีมีระดับคาเฉลี่ยตํ่าสุดคือ ความรอบรู ความเชี่ยวชาญ ใน
เนื้อหารายวิชา และสถานท่(ี X =๔.๔๕)

ตารางท่ี ๕ คา เฉลยี่ และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมให
พระนิสิตไดศ ึกษาวิชาศึกษาเฉพาะเรอื่ งในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา
ดา นการบริหารโครงการ โดยภาพรวมและรายขอ

ระดับความพึงพอใจ
ดา นท่ี ความพึงพอใจในการกจิ กรรมเสริม X S.D. แปลผล อันดับท่ี

๑ ความเหมาะสมของสถานที่ทเี่ ดนิ ทาง ๔.๓๖ ๐.๘๔ มาก ๕

แตล ะแหง

๒ การประชาสมั พนั ธโ ครงการ ๔.๕๐ ๐.๘๐ มาก ๒

๓ ความเหมาะสมของระยะเวลาในการ ๔.๓๒ ๐.๘๓ มาก ๖

จัดโครงการ

๔ ส่งิ อาํ นวยความสะดวกวัสดุอุปกรณ ๔.๓๒ ๐.๕๖ มาก ๗

โสตทศั นศกึ ษา

๕ การประสานงานและอํานวยความ ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๓

สะดวกของเจา หนา ท่ี

๖ ความสําเร็จโดยรวมของการทัศน ๔.๕๕ ๐.๕๑ มาก ๑

ศึกษาคร้งั น้ี

๗ ภาพรวมในการจัดโครงการ ๔.๓๖ ๐.๘๔ มาก ๔

รวม ๔.๔๐ ๐.๕๗ มาก -

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÅÕ §Ñ ¡Ò òðù

จากตารางท่ี ๕ พบวา ความพึงพอใจในกจิ กรรมเสริมใหพระนิสิตไดศึกษาวิชา
ศึกษาเฉพาะเร่ืองในการพัฒนาแหงพระพุทธศาสนา ดานการบริหารโครงการ โดย
ภาพรวมและรายขอ อยใู นระดับมาก ( X = ๔.๔๐) เม่ือพจิ ารณาเปนรายขอ พบวา อยู
ในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับตามคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย คือ ความสําเร็จ
โดยรวมของการทัศนศึกษาคร้ังน้ี ( X =๔.๕๕) รองลงมาคือ การประชาสัมพันธ
โครงการ ( X =๔.๕๐) และการประสานงานและอํานวยความสะดวกของเจาหนาท่ี
( X =๔.๔๑) ตามลําดับสวนขอท่ีมีระดับคาเฉล่ียตํ่าสุดคือ สิ่งอํานวยความสะดวกวัสดุ
อุปกรณโ สตทัศนศึกษา ( X =๔.๓๒)

ตอนที่ ๓ ขอมลู ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับกิจกรรม
จากกลุมตัวอยางที่ไดตอบแบบสอบถามของพระนิสิตหลักสูตรพุทธศาสตร
ดษุ ฏบี ัณฑติ ชั้นปที่ ๒ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา วิทยาเขตขอนแกน จํานวน ๒๒ รูป/
คน ไดแ สดงความคิดเห็นวาตองการใหม ีการจัดโครงการนี้อีกในครงั้ ตอไป

บรรณานกุ รม

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
2539.

ธติ ิมา พิทักษไ พรวัน. ประวัติศาสตรยุคโบราณ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,
๒๕๒๒.

ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อารยธรรม.
กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๕.

สนิท ศรสี ําแดง. พระพทุ ธศาสนา: กระบวนทัศนใหม. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔.

พระธรรมโกศาจารย. วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตรสมัยใหม. “Science
without religion is lame, religion without science is blind”๔๘.

พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, รศ.ดร. “พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม: ตัว
แบบวธิ วี ิทยาวา ดวยพุทธบูรณาการและพุทธสหวิทยาการ”. กรุงเทพมหาคร:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ([email protected]
ปรับปรุงครั้งลาสดุ วันพฤหัสบดี ท่ี ๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๕.

อภิญวฒั น โพธิ์สาน. ชีวติ ปละผลงานนักปราชญพุทธ. มหาสารคาม: ภิชาติการพิมพ,
๒๕๕๗.

T.W. Rhys Davids and William Stede. The Pali Text Society’s Pali
English Dictionary, ed.

Dhammavisuddhi. The Buddhist Sangha in Ceylonc. unpublished thesis
submitted for the degree of Doctor of Philosophy of the University
of London. 1970

H.W. Codrington, ‘the karatala inscription’. JCBRAS., 1925.

¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò òññ

M. Wickramsinha. Sinhala Sahityaya Nagima. Colombo, 1954.
N. Dutt. Aspecst of Mahayana, Buddhism and Its Relation to

Hinayana. London, 1930
M. Sasanaratana. Lakdiva Mahayana Adakas. Colombo, ๑๙๖๙.
Har Dayal. The Bodhisattva Doctrine in Buddhist Sankrit Literature.
M. Sasanaratana. Baudha Darsana Sanghaya. Colombo. 1953.
W. Meddhananda. Bodhicaryavatara. Colombo, ๑๙๕๓.
G.C. Mendis. Early History of Ceylon. Colombo, ๑๙๕๙.
Dhammapdatthakatha. (PTS), ed. H.C. Norman. London, 1906.
Paramatthajotika. (PTS), ed. H.Smith. London, 1916.
N. Mudiyanse. Mahayana Monuments in Ceylon, 1969.
G Varasambodhi. Campola Ithihasaya. Colombo, ๑๙๔๙.
Skt. Hasta. eleventh (or thirteenth) lunar asterism. sv. Sanskrit-English

Dictionary, A.A. Macdon ald, London, 1973.

M.B. Ariyapala. Society in Mevieval Ceylon. Colombo, 1956.

ภาคผนวก
ภาพกิจกรรม

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò òñó

òñô ¾ÃÐÁËÒÁµÔ à °Ôµ»âÚ Þ,¼È.´Ã.

¾Ãо·Ø ¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·ÈÈÃÕÅ§Ñ ¡Ò òñõ


Click to View FlipBook Version