The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

Keywords: สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา

มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยา วิทยาเขตขอนแกน่

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

คำ� นำ�

ดว้ ยมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ ไดเ้ ปดิ
ท�ำการเรยี นการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา มหาบณั ฑิต (ปรญิ ญาโท) ต้งั แต่ปี พ.ศ.
๒๕๔๕ และปรญิ ญาเอก ๒๕๕๒ เปน็ ตน้ มา เพอื่ เปน็ การเสรมิ ศกั ยภาพบคุ ลากรทาง
พระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพระนิสิตซ่ึงเป็นพระสงฆ์รุ่นใหม่รวมถึงพุทธศาสนิกชน
ทั่วไป มหาวิทยาลัยจึงตระหนักถึงความส�ำคัญของพระนิสิตที่เข้าศึกษาพระพุทธ
ศาสนาในระดับบัณฑิตศึกษา เพราะถือว่าเป็นบุคลากรท่ีส�ำคัญอย่างยิ่งต่ออนาคต
ของพระพุทธศาสนา ทงั้ ทางดา้ น ศาสนบคุ คล วิชาการดา้ นพระพุทธศาสนา ดังน้นั
เพื่อเปิดโอกาสให้พระนิสิตได้ไปศึกษาขบวนการพุทธใหม่ในประเทศไทย ท้ังท่ี
เป็นการเผยแผ่ของพระภิกษสุ งฆ์และอุบาสกท่ีมีคนไทยยอมรบั นบั ถอื
อกี ทงั้ เพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องพระนสิ ติ และบรู ณาการการเรยี น
การสอนโดยเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั โดยเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดม้ สี ว่ นรว่ มในการเรยี น
การสอนเพื่อพัฒนาสู่การวิจัยส�ำหรับรายวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันซึ่ง
เป็นวัตถุประสงค์ในการเรียนระดับมหาบัณฑิตศึกษาของนิสิตชั้นปีท่ี ๑ สาขาวิชา
พระพทุ ธศาสนา ระดบั ปรญิ ญาโท
ดังนั้นทางอาจารย์ประจ�ำรายวิชาและกลุ่มพระนิสิตจึงได้เสนอโครงการ
เสริมหลักสูตรรายวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันเพ่ือเสริมการเรียนรู้
ขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั ในประเทศอนิ เดยี -เนปาลอนั จะเปน็ การเสรมิ สรา้ ง
ประสบการณต์ รงใหก้ บั พระนสิ ติ ใหม้ อี งคค์ วามรทู้ ช่ี ดั เจนกบั ปรากฏการของพระพทุ ธ
ศาสนาท่มี ีการขยายตวั ดว้ ยองค์กรตา่ งๆ ท้งั เป็นองคก์ รท่เี กิดข้นึ ด้วยแรงศรัทธาของ
คณะสงฆแ์ ละฆราวาสอยา่ งลกึ ซง้ึ มากยงิ่ ขนึ้ ทางพระนสิ ติ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ การจดั
ท�ำโครงการเป็นรูปเล่มในคร่ังนี่คงเป็นประโยชน์ได้มากต่อพระนิสิต ครูอาจารย์
ผู้ใครศ่ กึ ษาอ่ืน และบคุ คลอน่ื สบื ไป

คณะนสิ ิตคณะพทุ ธศาสตรมหาบันฑิต
สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา

lกl

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบัน หนา้

สารบัญ ข

เรื่อง ช
ค�ำนำ� ฒ
สารบัญ ณ
หนงั สือขออนมุ ตั โิ ครงการ
- ขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั ๑ – ๑๒๘
- รายช่ือนิสติ ที่เข้ารว่ มโครงการ ๑๒๙
- ภาคผนวก
- องค์ความรูจ้ ากพระนสิ ติ
- ภาพประกอบโครงการ/กิจกรรม

lขl

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบัน

กำ� หนดโครงการกิจกรรมเสริมหลักสตู รศึกษาดูงาน
ขบวนการพทุ ธใหม่ในโลกปัจจบุ ัน
ณ ประเทศอินเดีย - เนปาล

ระหว่าง วันที่ ๑๖ – ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

วนั ทหี่ น่งึ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๙ สนามบินสวุ รรณภูมิ

๒๒.๓๐ น. คณะพร้อมกันที่สนามบินสุวรรณภูมิ อาคารผู้โดยสารระหว่าง
ประเทศขาออก ชั้น ๔ ประตู ๔ เคานเ์ ตอรข์ องสายการบินแอร์อนิ
ดโิ ก เตรียมเอกสาร ตรวจเชค็ สัมภาระการเดินทาง

วันที่สอง ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๙ กรุงเทพฯ – โกลกัตตา-พทุ ธคยา

๐๒.๑๕ น. เหนิ ฟ้าสู่ เมอื งโกลกตั ตา ประเทศอินเดยี โดยสายการบนิ แอรอ์ นิ ดโก
เทีย่ วบนิ ๖E ๐๗๘

๐๓.๑๕ น. เดนิ ทางถงึ ท่าอากาศยานนานาชาติ โกลกัตตา ประเทศอนิ เดีย
*** เวลาท้องถ่นิ ชา้ กว่าเมอื งไทย ๑ ชัว่ โมงครงึ่ ***
น�ำทุกท่านเดินทางสู่ เมืองพุทธคยา สถานท่ีตรัสรู้อนุตตรสัมมา

สมั โพธิญาณของพระพทุ ธเจา้
ฉนั /รบั ประทานอาหารเชา้ ระหว่างทาง
๑๒.๐๐ น. ฉนั เพล/รบั ประทานอาหารกลางวันระหว่างทาง
๑๔.๐๐ น. เดนิ ทางถงึ พทุ ธคยา นำ� นิสติ กราบนมัสการ หลวงพ่อพระพุทธเมตตา

รว่ มสวดมนต์ อธิษฐาน และ แผ่เมตตา ณ ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ประ
ทักษิณรอบองค์พระมหาเจดยี ์
๑๘.๐๐ น. ฉนั น้ำ� ปานะ/รบั ประทานอาหารเยน็ ณ วดั ภรู ปิ าโล จากน้นั พกั ตาม
อธั ยาศัย

lคl

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

วันท่สี าม ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๙ พทุ ธคยา–เขาดงคะสิริ-แม่น้�ำเนรญั ชรา
– บา้ นนางสุชาดา – พุทธคยา

๐๔.๓๐ น. ร่วมสวดมนต์ อธษิ ฐาน และแผ่เมตตา ณ ตน้ พระศรีมหาโพธ์ ิ ประ
ทกั ษณิ รอบองค์พระมหาเจดยี ์

๐๖.๓๐ น. ฉนั /รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๐๐-๑๑.๐๐ น. สัมมนา ณ สมาคมมหาโพธไิ ชไซตี้ บรรยายโดย
พระปริญญนันทภิกขุ,ดร.
เปน็ ประธานสมาคมมหาโพธไิ ชไซต้ี ณ พทุ ธคยา เรื่อง
บทบาทของท่านอนาคาริกธรรมปาละกับการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดีย
๑๑.๒๐.-๑๒.๐๐ น. ฉนั ภตั ตาหารเพล
๑๒.๓๐-๑๔.๐๐. สมั มนา ณ สถานพยาบาลภรู ิปาโล บรรยายโดย
พระปยิ ปนั ภกิ ข,ุ ดร. เจา้ อาวาสวดั จกั๊ มา่ และเลขานกุ าร
คณะสงฆน์ านาชาติ พทุ ธคยา เรอ่ื ง พฒั นาการพระพทุ ธ
ศาสนาในประเทศอินเดยี
๑๔.๓๐ น. น�ำนิสิตสู่ เขาดงคะสิริ สถานที่บ�ำเพ็ญทุกกรกิริยา สวดมนต์ เจริญ

ภาวนา แผเ่ มตตา จากนั้นนำ� นิสิตชม สถปู บา้ นนางสุชาดา และสถาน
ท่ลี อยถาดอธิษฐาน ณ รมิ ฝง่ั แม่น�ำ้ เนรญั ชรา
๑๗.๐๐ น. ทัศนศกึ ษาวัดนานาชาติ วัดภูฐาน วัดญปี่ ุ่น พระใหญ่ วดั ทเิ บต
๑๘.๐๐ น. ฉนั นำ�้ ปานะ/รับประทานอาหารเยน็ ณ วัดภูรปิ าโล
๑๙.๐๐ น. ทำ� บญุ ทอดผ้าป่า วดั ที่ ๑ พกั ตามอธั ยาศัย หรือ ไปสวดมนต์ต้นพระ
ศรมี หาโพธ์ิ

วันท่สี ่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๙ พุทธคยา - ราชคฤห์ – นาลันทา- ไวสาลี

๐๕.๐๐ น. ฉัน/รับประทานอาหารเช้า ณ ทีพ่ ัก วัดภรู ิปาโล
เดนิ ทางสเู่ มืองราชคฤห์ นมัสการพระคนั ธกุฎีบนยอดเขาคิชฌกูฏ ถำ�้

พระสารบี ุตร ถำ้� พระโมคคลั ลานะ
lงl

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

๑๑.๐๐ น. ฉนั เพล/รับประทานอาหารกลางวนั ณ วัดไทยสริ ิราชคฤห์
น�ำนิสิตสู่วัดเวฬุวัน ปฐมสังฆาราม จากนั้นน�ำชมมหาวิทยาลัยนาลัน

ทา และ นมัสการหลวงพอ่ ดำ�
๑๕.๓๐ น. เดินทางสูเ่ มืองไวสาลี ข้ามสะพานที่ยาวทส่ี ุดในอนิ เดยี ณ เมืองปตั นะ
๑๘.๓๐ น. ฉนั นำ�้ ปานะ/รบั ประทานอาหารเยน็ ณ วดั ไทยไวสาลี และทำ� บญุ ทอด

ผา้ ปา่ วดั ท่ี ๒ พักตามอธั ยาศยั

วันท่ีหา้ ๒๐ มนี าคม ๒๕๕๙ ไวสาล-ี กุสินารา

๐๕.๐๐ น. รับประทานอาหารเชา้ ณ ที่พัก วัดไทยไวสาลี จากนัน้ นำ� พระนสิ ิต
นมัสการปาวาลเจดีย์ สถานท่ีปลงพระชนมายุสังขาร และกูฏาคาร
ศาลาปา่ มหาวนั สถานท่ีก�ำเนิดภิกษุณีสงฆ์

๑๑.๐๐ น. ฉันเพล/รับประทานอาหารกลางวนั ณ ท่พี กั
บา่ ย น�ำนสิ ติ เดินทางสู่เมืองกุสนิ ารา
แวะชมและนมสั การสถูปเมอื งเกสรยิ า
นมสั การ มกุฏพันธนะเจดีย์ สถานทถ่ี วายพระเพลงิ ณ เมอื งกสุ ินารา
๑๘.๐๐ น. ฉนั นำ้� ปานะ/รบั ประทานอาหารเยน็ ณ วดั ไทยกสุ นิ ารา และทอดผา้ ปา่

วดั ท่ี ๓ พกั ตามอัธยาศัย

วนั ทหี่ ก ๒๑ มนี าคม ๒๕๕๙ กสุ นิ ารา – ลมุ พนิ วี นั - มายาเทวมี หาวหิ าร

๐๕.๐๐ น. ฉัน/รับประทานอาหารเช้า ณ ท่พี ัก วดั ไทยกุสนิ ารา
๐๖.๐๐ น. น�ำนิสิตกราบนมัสการสถานท่ีปรินิพาน ณ สาลวโนทยาน น�ำชม

นพิ พานวิหาร สวดมนต์ และเจริญภาวนา แผ่เมตตาอธิษฐาน กราบ
สักการะและถวายผ้าห่มพระพุทธปรินิพาน น�ำทุกท่านเวียนประ
ทักษณิ รอบองคพ์ ระมหาปรินพิ านสถูป
๑๑.๐๐ น. ฉนั เพล/รับประทานอาหารกลางวนั ณ ทพ่ี กั
บ่าย น�ำนิสิตเดินทางสู่พรมแดนอินเดีย-เนปาล น�ำท่านชมสวนลุมพินีวัน
สถานทีป่ ระสตู ิของพระโพธสิ ตั ว์ นำ� ท่านชมมายาเทวมี หาวิหาร สระ

lจl

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

โบกขรณี และสวดมนต์ เจรญิ ภาวนา และแผ่เมตตา อธษิ ฐานสกั กา
ระเสาจกั รพรรดิอโศกมหาราช
๑๘.๐๐ น. ฉนั นำ้� ปานะ/รบั ประทานอาหารเยน็ ทอดผา้ ปา่ วดั ที่ ๔ พกั ตามอธั ยาศยั

วันที่เจ็ด ๒๒ มนี าคม ๒๕๕๙ ลมุ พนิ -ี สาวตั ถี

๐๕.๐๐ น. ฉัน/รับประทานอาหารเชา้ ณ ที่พัก
เชา้ น�ำนิสิตขา้ มพรมแดนเนปาล-อนิ เดีย เดนิ ทางสู่เมอื งสาวตั ถี
๑๑.๐๐ น. ฉนั เพล/รับประทานอาหารกลางวัน ระหว่างทาง
บา่ ย นำ� นสิ ติ ชมสถานท่ี พระพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหารยิ ์
ชมคฤหาสนข์ องทา่ นอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐ ี และชม บา้ นบดิ าของ ทา่ น

องคุลีมาล นมสั การ วัดพระเชตวนั มหาวิหาร สวดมนต์ เจรญิ ภาวนา
แผ่เมตตาจติ อธษิ ฐาน กราบสักการะอานนั ทโพธิ์ และถวายผ้าห่ม
๑๘.๐๐ น. ฉันน้�ำปานะ/รับประทานอาหารเย็น วัดไทยสาวัตถี ร่วมทอดผ้าป่า
วัดที่ ๕ พกั ตามอัธยาสัย

วนั ที่แปด ๒๓ มนี าคม ๒๕๕๙ สาวัตถี-พาราณสี

๐๔.๐๐ น. ฉนั /รับประทานอาหารเช้า ณ ทีพ่ ัก
จากนัน้ น�ำนสิ ติ เดนิ ทางสู่ เมืองพาราณสี
๑๑.๐๐ น. ฉนั เพล/รบั ประทานอาหารกลางวนั ระหว่างทาง
บา่ ย น�ำนิสิตสู่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน สถานท่ีแสดงปฐมเทศนา สวดมนต์

เจริญภาวนา แผ่เมตตา กราบสักการะบูชาและอธิษฐานเวียนประ
ทกั ษณิ รอบองค์พระธมั เมกขสถปู
๑๘.๐๐ น. ฉนั น้�ำปานะ/รับประทานอาหารเย็น ณ วดั ไทยสารนาถ ทอดผา้ ปา่
วดั ท่ี ๖ พักตามอัธยาศัย

lฉl

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

วนั ท่เี กา้ ๒๔ มนี าคม ๒๕๕๙ พาราณส-ี พทุ ธคยา

๐๔.๓๐น. น�ำนิสิตสู่ แม่น�้ำคงคา ชมการบูชายามเช้าของชาวฮินดู การอาบน้�ำ
ลา้ งบาป การบชู าพระอาทิตย์

ฉัน/รบั ประทานอาหารเชา้ ณ ท่ีพัก วัดไทยสารนาถ
นำ� นิสติ สเู่ มือง พุทธคยา
๑๑.๐๐ น. ฉันเพล/รบั ประทานอาหารกลางวัน ระหว่างทาง
บา่ ย นำ� นสิ ติ สเู่ มอื งพทุ ธคยา ซอ้ื ของทร่ี ะลกึ และกราบลาตน้ พระศรมี หาโพธิ์
๑๘.๐๐ น. ฉนั น�้ำปานะ/รับประทานอาหารเยน็ ณ วดั ภูรปิ าโล พักตามอัธยาศยั

วนั ท่ีสบิ ๒๕ มนี าคม ๒๕๕๙ พทุ ธคยา-โกลกาต้า-กรุงเทพฯ

๐๔.๐๐ น. ฉัน/รับประทานอาหารเชา้ ณ ท่พี กั
ออกเดินทางไปยงั เมอื งโกลกตั ตา เพอ่ื กลบั สูเ่ มืองไทย
๑๑.๐๐ น. ฉนั เพล/รบั ประทานอาหารกลางวนั ระหว่างทาง
๑๖.๐๐ น. เดนิ ทางถงึ เมืองโกลกตั ตา
๑๗.๐๐ น. ฉันน้�ำปานะ/รับประทานอาหารเย็น ณ สนามบินโกลกาต้า จากน้ัน

ตรวจเช็คสมั ภาระ
๒๐.๔๕ น. เหินฟา้ สู่กรงุ เทพฯ โดยสายการบินแอรอ์ นิ ดโิ ก เทย่ี วบิน ๖E ๐๗๗

วนั ท่สี บิ เอ็ด ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๙ สนามบินนานาชาติสวุ รรณภมู ิ กรงุ เทพฯ

๐๐.๕๕ น. เดนิ ทางถงึ สนามบนิ นานาชาติสวุ รรณภมู ิ กรุงเทพฯโดยสวสั ดิภาพ
หมายเหต ุ กำ� หนดการเดนิ ทางน้ี อาจเปลยี่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสมของหมู่

คณะ เวลา สภาพการ จราจร และสภาพภมู อิ ากาศในขณะนน้ั ตาม
ความเปน็ จรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ซง่ึ ผจู้ ดั สามารถเปลย่ี นแปลงได ้ โดยไมจ่ ำ� เปน็
ตอ้ งแจง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ ทง้ั นถ้ี อื เอาความปลอดภยั และประโยชน์
ของผูเ้ ดินทางเปน็ ประการสำ� คัญ

lชl

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบนั

รายชือ่ พระนสิ ติ ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ

ที่ ชอื่ ฉายา นามสกลุ ลงชื่อ

๑ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ฐติ ปญฺโญ วนั ยาย
ดร.พระมหามติ ร*

๒ ดร.พระมหาดาวสยาม* วชริ ปญโฺ ญ กลา้ ลอด

๓ เจา้ อธกิ ารประพล อติพโล โพธเิ์ ศษ

๔ เจ้าอธกิ ารปรีชา อนาลโย พนั วัล

๕ นายกติ ติ ภูผา

๖ พระกฤษณพล ปญฺญาธโร อม่ิ โอษฐ์

๗ พระครูธรรมธรเอนก ญาณเมธี จนั นาวนั

๘ พระครปู รยิ ัติธรรมวฒั น์ จนั ทาโภ ธุรารตั น์

๙ พระครูประทีปรัตนคุณ ธมฺมทโี ป คำ� ผอง

๑๐ พระครูวรมงคลประยตุ สิรมิ งคฺ โล ไชยราช

๑๑ พระครวู บิ ลู ภัทโรภาส โอภาโส การพาศ

๑๒ พระครูสุเมธธรรมกิจ ฐิตเมโธ กดุ สมบัติ

๑๓ พระโชติ อตพิ โล ภาษี

๑๔ พระถาวร มหาญาโณ ปะมายัง

๑๕ พระมหากอ้ งไพร สาคโร เกตสุ าคร

๑๖ พระมหาทองสุข สุเมโธ ไทยทนุ

๑๗ พระวรี ศักดิ์ อธิปญั โญ ประเสรฐิ สังข์

๑๘ พระสมฤทธ์ิ ฉนทฺ จติ โต พนมทิพย์

๑๙ พระสนุ ทร ธีรปัญโญ

๒๐ พระสุรเชษฐ์ อุตตโม

๒๑ พระอนนต์ อคคฺ ปญั โญ

๒๒ พระอุทิพย์ ปัญญาทโี ป
หมายเหตุ: * คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น อาจารย์ประจ�ำรายวิชา ขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ ัน

lซl

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจบุ ัน

ขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จุบัน
Neo-Buddhist Movements in Contemporary

World

พระมหามติ ร ฐติ ปญฺโญ,ผศ.ดร.
อาจารยป์ ระจำ� สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่

๑. ความน�ำ

ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน (Neo-Buddhist Movements in
Contemporary World) เปน็ การดำ� เนินกจิ กรรมทางพุทธศาสนาใหเ้ คล่อื นไหวไป
ได้และแสดงบทบาทที่เหมาะสมในโลกยุคโลกาภิวัตน์และทุนนิยมขบวนการพุทธ
ศาสนาปรากฏการณ์และมีปฏิกิริยาต่ออิทธิพลจากความสมัยใหม่ อาทิการตีความ
คมั ภรี ต์ ามตวั อกั ษร เพราะผนู้ ำ� ขบวนการดงั กลา่ วจำ� นวนไมน่ อ้ ยไดร้ บั การศกึ ษาแบบ
สมยั ใหม่ ในปจั จบุ นั บทบาทของขบวนการพทุ ธศาสนาไดก้ ลายเปน็ ปรากฏการณท์ าง
พทุ ธศาสนาทเี่ ดน่ ชดั ทสี่ ดุ โลกาภวิ ตั นก์ ม็ สี ว่ นไมน่ อ้ ยในการสรา้ งความเตบิ ใหญใ่ หแ้ ก่
ขบวนการพุทธพุทธศาสนา
กระแสโลกาภิวัตน์ไม่เพียงช่วยให้เป็นกระตุ้นให้กับการขยายขอบเขตของ
ขบวนการพุทธใหม่เท่าน้ัน หากยังมีส่วนอย่างมากในการท�ำให้ขบวนการศาสนา
อนื่ ๆ ทมี่ คี วามเขม้ ขน้ รนุ แรงนอ้ ยกวา่ เตบิ โตขนึ้ ทว่ั โลกดว้ ย ทเี่ ปน็ เชน่ นกี้ เ็ พราะกระ
แสโลกาภิวัตนไ์ มเ่ พียงแตจ่ ะท�ำใหค้ ่านยิ มแบบโลกยิ วสิ ัย เสรนี ิยม และบริโภคนยิ ม
แพรข่ ยายไปทว่ั โลกอยา่ งไมเ่ คยปรากฏมากอ่ น จนบางคนเรยี กกระบวนการนวี้ า่ การ
ท�ำให้วัฒนธรรมเป็นหนง่ึ เดยี วกนั (Homogenization of culture) หรอื เรยี กอย่าง
เจาะจงว่า Mcdonaldizationหากยังก่อ ให้เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน
มากขน้ึ รวมทั้งสร้างแรงบีบค้ันทางเศรษฐกิจเพม่ิ ขนึ้ แกป่ ระชาชน จำ� นวนมาก ซึง่
ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ เปน็ ปจั จยั ประการหนงึ่ ทผี่ ลกั ดนั ใหผ้ คู้ นจำ� นวนไมน่ อ้ ยหนั ไปพงึ่ พทุ ธ
ศาสนา หรือท�ำให้พทุ ธศาสนากลบั มามบี ทบาทตอ่ ผู้คนมากขน้ึ

l1l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบนั

ปรากฏการณท์ างพระพทุ ธศาสนาในยคุ โลกาภวิ ตั นม์ ไิ ดจ้ ำ� กดั แคก่ ารขยาย
ตัวเท่าน้ัน เม่ือมองการเติบโตทางด้านพระพุทธศาสนาทั่วโลก จะพบว่าเป็นอีก
ขบวนการหนง่ึ ซงึ่ เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ ในชว่ งหลาย ทศวรรษทผ่ี า่ นมากค็ อื ขบวนการ
พุทธศาสนาใหม่ ในขณะที่ขบวนการการเปลย่ี นแปลงไปส่โู ลกยุกต์ใหม่เพ่อื เปน็ การ
ปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์หรอื สภาพแวดล้อม กย็ งั มขี บวนการเครง่ จารีตกลบั ไป
หาอดีตและยึดติดกับ คุณค่าและความเช่ือ (ท่ีเชื่อว่า) เป็นของพุทธศาสนาด้ังเดิม
และส่วนใหญ่ยังอิงอยู่กับสถาบันทางพุทธศาสนาที่มีอยู่เดิมอยู่นั้น ขบวนการพุทธ
ศาสนาใหม่มีแนวทางตรงกันข้าม คือแยกจากสถาบันด้ังเดิมมีอัตลักษณ์เป็นของ
ตนเอง โดยไมอ่ งิ หรอื สนใจกบั อตั ลกั ษณเ์ กา่ ของพทุ ธศาสนาดง้ั เดมิ แมข้ บวนการพทุ ธ
ศาสนาใหม่เป็นอันมากจะยังถือว่า เป็นส่วนหนึ่งของพุทธศาสนาหลักของโลกเช่น
พทุ ธศาสนามหายาน พระพุทธศาสนาเถรวาท แตก่ ม็ ขี บวนการพทุ ธศาสนาใหม่ซึ่ง
เกิดเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม มีท้ังอุบาสก อุบาสิกาเป็นผู้ก่อต้ังไม่ใช่น้อยท่ีต้ังตัวเป็น
พทุ ธศาสนาใหม่ อยา่ งเช่น ส�ำนกั วดั หนองป่าพง (หลวงพอ่ ชา สภุ ทฺโท)1 ส�ำนักสวน
โมกขพลาราม (หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)2 ก็เกิดข้ึนด้วยเหตุแห่งการวิกฤตทางการ
เมอื ง เศรษฐกจิ สงั คมซง่ึ เหน็ ไดจ้ ากคำ� สอนทที่ ง้ั สองสำ� นกั ไดน้ ำ� เสนอตอ่ สงั คมในขณะ
น้ันส่วนนอกประเทศ ได้แก่ เอ็มเบ็ดการ์ (B.R.Ambedkar)3 ผู้ต่อสู้เพ่ือให้ยกเลิก
ระบบวรรณะในสงั คมอนิ เดยี โดยชกั ชวนชนชนั้ ตำ่� ตอ้ ย (ศทู ร/อธศิ ทู ร)ใหห้ นั มานบั ถอื
พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาท่ีใหค้ วามเสมอภาคทางสงั คม อนาคารกิ ธรรม
ปาละ4 เรยี กรอ้ งพระพทุ ธศาสนากับคนื มาตุภูมิและท่านโกเอ็นก้า” (สตั ยา นารายัน
โกเอ็นก้า (S.N. Goenka)5 ผนู้ ำ� วิปัสสนากับคนื ดนิ แดนมหาภารตเพ่ือสขุ ภาพจิตท่ดี ี
ของประชาชน องค์ดาไล ลามะ6 ผู้น�ำรัฐบาลผลัดถิ่นของธิเบตท่ีพยายามต่อสู่เพ่ือ

1 เสถยี รพงษ์วรรณปก, สองอาจารยผ์ ยู้ ิง่ ใหญ,่ (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร, ๒๕๔๙), หนา้ ๑๙๐.
2 อา้ งแล้ว, หนา้ ๒๐๗.
3 วริ ชั ถิรพันธูเมธี, ดร. เอ็มเบ็ดก้าร์ รฐั บุรุษจากสลัม, (กรุงเทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ชยาลยั , ๒๕๓๓), หนา้

๒๗๔-๒๗๕.
4 พระราชธรรมมนุ ี (เกียรติ สกุ ิตฺติ), จดหมายเลา่ เร่ืองอนาคารกิ ธรรมปาละ, (กรงุ เทพมหานคร:มปป, ๒๕๔๓), หน้า ๓๔.
5 William Hart, The Art of Living, (vipassana meditation bYs.n.goenka), (india: Minal Enterprises, 1988, p. 60.
6 My Land & My People, memoirs of His Holiness, The Dalai Lama, (New Delhi: SrishtiPublishers&

Distributors, 1999).P. 58.

l2l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบนั

เอกราชของธิเบตบนฐานของอหงิ สธรรม (non-violence) และเปน็ ผเู้ สนอแนวคิด
เรื่องความรบั ผดิ ชอบระดบั สากล (universal responsibility) บนฐานของจิตใจท่ี
มุ่งหวังประโยชน์สุขเพ่ือผู้อื่น (altruistic mind) ไม่ว่าจะเป็นนอกประเทศหรือใน
ประเทศท่ีน�ำมาศึกษาน้ีล้วนแล้วแต่เป็นส�ำนักที่มีบทบาทในการเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาที่เปน็ ที่นิยมในปจั จุบัน

๑.๒ ความหมายและขอบเขตของขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจบุ นั

พระพทุ ธศาสนาแนวใหมเ่ รยี กวา่ Neo-Buddhism เปน็ พระพทุ ธศาสนาที่
เกิดขึ้นมาเพ่ือด�ำเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาให้เคลื่อนไหวไปได้และแสดง
บทบาทที่เหมาะสมในโลกยุคโลกาภิวัตน์และทุนนิยม หลายคนคงแปลกใจว่า
พระพุทธศาสนามหายานท�ำไมจึงท�ำอะไรได้หลากหลาย ท�ำให้พระพุทธศาสนา
มหายานถกู มองไปในสองประเดน็ ทส่ี ดุ ขว้ั กลา่ วคอื ขวั้ หนงึ่ ถกู มองไปในแงบ่ วกวา่ มี
ความคลอ่ งตวั ในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา อกี ขวั้ หนงึ่ กถ็ กู มองวา่ ทำ� อะไรเกนิ ภาวะ
ของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา เมื่อมองให้ดีๆ แท้จริงลักษณะท่ีพระพุทธศาสนา
แสดงออกในยุคนี้ไม่ใช่มหายานอย่างที่คิดกัน แต่เป็นพระพุทธศาสนาแนวใหม่ของ
คนยุคใหม่น้ี มันเริ่มจากกระบวนการปรับตัวของคนในสังคมท่ีมีกระบวนทัศน์
เปล่ยี นแปลงไป พอดเี กิดขึน้ ในประเทศทน่ี ับถือพระพทุ ธศาสนามหายานเท่าน้ันจงึ
ถูกมองว่าเป็นมหายานไปท้ังหมด อันที่จริงไม่ว่าพระพุทธศาสนาเถรวาทหรือ
มหายานกส็ ามารถทำ� ได้ เพราะไมไ่ ดเ้ กยี่ วกบั พระพทุ ธศาสนาแตเ่ กย่ี วกบั คนในสงั คม
ท่รี บั เอาแนวคดิ ของการบริหารจดั การยุคทนุ นยิ มมาปรับใชก้ ับศาสนา7
ขบวนการเน้นการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม ตามความเชื่อว่าจะท�ำให้ชีวิตมี
ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง มกี ารผกู โยงเขา้ กบั ความเชอ่ื ลทั ธวิ ญิ ญาณนยิ ม พระศรอี ารยิ เมต
ไตย พระยานาค ส่ิงศักดิ์สิทธิ์ วัตถุมงคล ซ่ึงเป็นความเช่ือท่ีควบคู่มากับสังคมไทย
เป็นเวลาช้านาน นอกจากนั้นยังเน้นให้มีการผูกโยงเข้ากับชีวิตประจ�ำวันกับโลก
วญิ ญาณ...คาดว่าน่าจะเป็นสง่ิ หนึง่ ทจ่ี ะท�ำให้สานุศิษยม์ ีความเคารพเลือ่ มใสมากยิ่ง
ขนึ้ และยอมรับแนวคดิ ใหม่นไ้ี ด้อยา่ งสนิทใจ ถงึ แมว้ า่ ลทั ธิวิญญาณนิยมใช่จะทำ� ให้

7 Valuedealshopper.com/?subid=201810-6388 (วนั ท่ี ๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๗)

l3l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

คนไมต่ ้องการเหตุผลมาอธบิ ายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ 8
สรปุ ไดวา ผลของการเกดิ ขนึ้ ของเกดิ ข้นึ ของกระบวนการพทุ ธใหม่ในโลก
ปัจจุบันเป็นการสร้างความทันสมัยของการเรียนการสอน แต่เมื่อเราพิจารณาถึง
กระบวนการการจดั กจิ กรรมการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนานน้ั มกั จะตามมาดว้ ยการเผย
แพร่แนวคิดแบบโลกิยวิสัย (secularism) ซ่ึงมักจะสวนทางกับแนวคิดทางศาสนา
ดงั เดมิ ซงึ่ จะมผี ลดแี ละผลเสยี ตามมาจนตอ้ งลกุ ขนึ้ สกู้ นั ทางดา้ นหลกั การและเหตผุ ล
จนดูเหมอื นตอ่ ตา้ นความทันสมัยของพระพทุ ธศาสนา พรอ้ มทัง้ รปู แบบและวิธีการ
เผยแผ่พระพุทธศาสนาของนักเผยแผ่ มรี ปู แบบท่ีหลากหลาย ทีใ่ ชก้ ลวิธใี นการนำ�
เสนอธรรมและใชพ้ ทุ ธวธิ ใี นการเผย ซงึ่ การเผยแผน่ น้ั จะใชเ้ ทคนคิ อนั เปน็ เฉพาะของ
แตล่ ะบุคคล โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื นำ� หลกั ธรรมท่ีแทจ้ รงิ เปน็ เครอื่ งรองรับ ดงั นนั้
ขบวนพุทธใหม่ท่ีเกิดข้ึนก็เพ่ือสนองความต้องการของสังคมเพื่อให้คนเรามีความ
เสถยี รภาพในการด�ำเนินชีวติ

๑.๓ แนวคิดเกี่ยวกบั ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบนั

แนวคิดเกี่ยวกับขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันไม่เคยมีมาก่อนใน
ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา ทงั้ ในนกิ ายเถรวาท และมหายาน หากแตเ่ ปน็ รปู ของ
พระพุทธศาสนาแนวใหม่ท่ีเกิดขึ้นเพอื่ ตอบสนองปัญหาของสังคมโลกยคุ ใหม่
ขบวนการพทุ ธใหมเ่ ปน็ รปู แบบทท่ี ค่ี อ่ นขา้ งจะเดนิ สวนทางกบั แนวทางของ
นกิ ายพระพทุ ธศาสนาทมี่ อี ยเู่ ดมิ ทง้ั นกิ ายเถรวาท และมหายานซง่ึ มกี ารเพม่ิ เนอื้ หา
ใหม่ ๆ เขา้ มาในพระพทุ ธศาสนาทมี่ อี ยเู่ ดมิ กลา่ วคอื เปน็ กระบวนทศั นข์ องพทุ ธแนว
ใหม่ หรอื อาจจะบญั ญตั ชิ ่ือใหมเ่ พ่ือให้มคี วามสอดคล้องกับสงั คมปจั จุบนั
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน (Neo-Buddhist Movements in
Contemporary World) คอื ลกั ษณะส�ำคญั ความทา้ ทายในสังคมปจั จุบนั ทงั้ ทาง
ความหมายและลักษณะการด�ำเนินการ ขบวนการพุทธใหม่น้ีเป็นการท�ำงานเพื่อ
สังคมเป็นส่วนมาก ซึ่งได้น�ำหลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้เพ่ือแก้

8 พระใบฎกี าสพุ จน์ ตปสโี ล (เกษนคร), ขบวนการพทุ ธใหมใ่ นประเทศไทย (Neo-Buddhist Movements in Thailand),
สถาบันวิจัยพทุ ธศาสตร์, (มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ประจำ� ปี ๒๕๕๒)

l4l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

ปัญหาสังคม จุดร่วมส�ำคัญอย่างหน่ึงของกลุ่มชาวพุทธใหม่ที่ท�ำงานเพื่อสังคม คือ
การถอื เอาปญั หาความทกุ ขข์ องชาวโลกเปน็ แรงกระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความอยากทจี่ ะทำ� งาน
เพอ่ื สังคม รวมทง้ั การต้งั ปณธิ านแบบพระโพธิสตั วข์ องมหายาน ท่จี ะคุม้ ครองรกั ษา
สรรพสตั วโ์ รเบริ ต์ อ.ี กอสส์ (Robert E.Goss)9 มองวา่ พระพทุ ธศาสนารปู แบบนเี้ ปน็
พระพุทธศาสนาเพ่ือสังคมและเป็นขบวนการสากลท่ีอยู่เหนือการสังกัดนิกาย โดย
มุ่งตอบสนองปัญหาของโลกทง้ั ทางการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นรปู แบบของ
ขบวนการปลดปลอ่ ยความทกุ ขข์ องมนษุ ยท์ เี่ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและ
การเมอื ง โดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั คำ� สอนเรอ่ื งศลี สมาธิ ปญั ญามาและความเมตตากรณุ า
มาธิบายใหเ้ ห็นถงึ หลกั ปฏจิ จสมุปบาท และศูนยตา เพ่อื แกป้ ัญหาสังคม รวมท้งั การ
ใชว้ ธิ กี ารปฏบิ ตั กิ รรมฐาน ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการศกึ ษา เมตตากรณุ าเชงิ สงั คม และการ
สรา้ งเครอื ขา่ ยระดบั รากหญา้ เพอ่ื เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มกบั สงั คมอยา่ งกระตอื รอื รน้ อยา่ ง
เช่น องค์ทะไล ลามะ ผู้น�ำเรียกร้องเพ่ือเอกราชของทิเบตจากการยึดครองของจีน
ได้เสนอแนวคิด“ความรับผิดชอบสากล” (universal responsibility) และแนวคดิ
แบบแบบ “จติ ใจทห่ี วังประโยชน์เพ่ือผู้อืน่ ” (altruistic mind) ซ่ึงตั้งอยบู่ นฐานของ
ความรกั ความเมตตากรุณา การใหอ้ ภัย และการองิ อาศยั กนั ของสิ่งท้งั หลาย ทา่ น
กลา่ วว่า “ทกุ ๆ ชาติกอ็ งิ อาศัยชาติอ่นื แมแ้ ตช่ าตทิ ม่ี ขี อ้ พิพาทกันก็ตอ้ งรว่ มมอื ใน
การใช้ทรัพยากรของโลก มนุษย์ทั้งหลายทั้งในชุมชนโลกและครอบครัว จ�ำต้อง
สามัคคีกันและร่วมมือกันบนฐานของการเคารพซ่ึงกันและกัน แนวคิดเร่ืองการท�ำ
ประโยชนเ์ พอื่ ผู้อน่ื (altruism) จงึ เป็นปจั จัยทีส่ �ำคัญอย่างยง่ิ ยวด” ความรบั ผิดชอบ
สากล (universal responsibility) และจิตใจที่หวังประโยชน์เพื่อผู้อื่นถือว่าเป็น
รากฐานสำ� คญั ของแนวคดิ ของบขวนการพทุ ธใหมแ่ ละรากฐานทล่ี กึ ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั คอื
ความตระหนกั รใู้ นความเกย่ี วโยงสมั พนั ธก์ นั ของสงิ่ ทง้ั หลาย ซง่ึ ในระบบความสมั พนั ธ์
น้ี จักรวาลถูกมองในฐานะเป็นองค์รวมแห่งอินทรียภาพ สรรพส่ิงล้วนอิงอาศัยกัน
และเปน็ เหตปุ ัจจยั แกก่ นั และกัน (อทิ ัปปัจจยตา) ไมว่ า่ จะเปน็ การคิด การพูด และ
การกระทำ� รวมทง้ั สรรพสตั วท์ งั้ หลาย ลว้ นแตร่ วมอยใู่ นขา่ ยใยแหง่ ชวี ติ นที้ งั้ สน้ิ (the
web of life)

9 Robert E. Goss, "NaropaInstitute : The Engaged Academy," Engaged Buddhism in the West, ed.

l5l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจบุ นั

อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ มองโดยภาพรวมแลว้ ขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั
อาจแบง่ ลักษณะโดยรวมเป็น ๓ ประการ ดังน้ี
๑) ความตระหนักรู้ (Awareness) หมายถึง มนุษย์ทุกคนต้องมีสติ
ตระหนักรู้สิ่งที่เกิดข้ึนภายในตัวเอง สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว รวมทั้งตระหนักรู้ใน
สภาพความทุกข์ของหมู่สัตว์ในสังคมและโลก ถือว่าเป็นพ้ืนฐานส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่
การท�ำกิจกรรมทางสังคม
๒) สรา้ งสถาบนั รปู แบบใหม่ สรา้ งสงั คมในรปู แบบใหม่ แตไ่ มม่ กี ารไมแ่ บง่
แยกเปน็ ฝกั ฝ่าย (non-dualism) การพงึ่ พาอาศยั กนั (independence) และความ
รสู้ ึกเหน็ อกเห็นใจกัน
๓) การลงมอื กระทำ� (Imperative of Action) หมายถงึ สงั คมในพระพทุ ธ
ศาสนาไมใ่ ชเ่ รอื่ งใหม่ หากแตม่ รี ากฐานดงั้ เดมิ มาตง้ั แตส่ มยั พทุ ธกาล เพยี งแตจ่ ำ� ตอ้ ง
มกี ารปรบั รปู แบบใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเปลย่ี นแปลงของสงั คมแตล่ ะยคุ สมยั เทา่ นน้ั

๑.๔ กิจกรรมสำ� คัญของขบวนการพุทธใหม่

สำ� นกั ของขบวนการพทุ ธใหมม่ กั มกี ารจดั ตงั้ มลู นธิ พิ พิ กั ธรรม ทำ� การเผยแผ่
ธรรมหลกั ธรรมคำ� สอนทางพระพทุ ธศาสนาสรา้ งกจิ กรรมทน่ี า่ สนใจใหก้ บั ประชาชน
เข้ามาศึกษาและปฏิบัติธรรม สร้างสถานท่ีให้เป็นท่ีรื่นรมย์ เจริญตา สบายใจแก่ผู้
พบเหน็ มีเขตพุทธาวาส และ สังฆาวาส อย่างเปน็ สดั สว่ น เปน็ ต้น

๑.๕ จุดมงุ่ หมายในการเผยแผ่

ขบวนการพระพทุ ธศาสนาแนวใหมท่ เี่ กดิ ขนึ้ เพอื่ ตอบสนองปญั หาสงั คมโลก
ยุคใหม่ รวมทั้งพยายามท่ีจะตีความพุทธธรรมให้ครอบคลุมปัญหาใหม่ๆ ที่เต็มไป
ด้วยความสลับซับซ้อนในสังคมปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นปัญหาความทุกข์ของ
ปจั เจกบคุ คลหรอื ปญั หาในระดบั สงั คมสามารถดำ� เนนิ ควบคกู่ นั ไปได้ อกี ความหมาย
หน่ึง ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน มักจะมองว่าการสอนแบบจารีตที่เน้นการ
แกป้ ญั หาของปจั เจกบคุ คล ไมเ่ พยี งพอตอ่ การตอบปญั หาสงั คมยคุ ใหม่ จงึ ไดพ้ ยายาม
น�ำหลักค�ำสอนทางพระพุทธศาสนาเข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสังคม เช่น

l6l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

ปัญหาความอยตุ ธิ รรมทางสังคม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปญั หาความรนุ แรง ปัญหาทาง
เศรษฐกจิ ปญั หาทางการเมอื งเปน็ ตน้
ขบวนการพระพุทธศาสนาแนวใหม่ท่ีเกิดขึ้นในสังคมโลกปัจจุบัน ทั้งใน
สังคมไทยและต่างประเทศโดยมกั จะอธิบายหลกั ธรรมให้งา่ ยกับการเข้าใจ เนน้ การ
ศึกษาให้เห็นความเช่ือมโยงระหว่างบริบททางสังคมกับการเกิดขึ้นของขบวนการ
พระพทุ ธศาสนาแนวใหม่ จดั รปู แบบการในการเผยแผ่ทีช่ ัดเจน มีการจัดต้งั องคก์ ร
ใหเ้ กดิ ความเชอื่ มนั่ และความมนั่ คงในการเผยแผน่ และมกี ารตคี วามคำ� สอนแนวใหม่
เพือ่ ใหง้ า่ ยตอ่ ความเขา้ ใจ

l7l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบัน

แนวคดิ และองคค์ วามรูข้ องขบวนการพทุ ธใหม่ในโลก
ปัจจุบนั

ส�ำนักวัดหนองป่าพง

๑. บทนำ�

“ทำ� ตนใหต้ ัง้ อยใู่ นคณุ อนั สมควรเสยี ก่อน แลว้ จงึ สอนคนอน่ื ทีหลัง จงึ จกั
ไมเ่ ป็นบณั ฑติ สกปรก”
หลวงพอ่ ชาถอื วา่ เปน็ พระนกั ปราชญแ์ ละเปน็ พระนกั ปฏบิ ตั ทิ ส่ี ำ� คญั รปู หนง่ึ
ทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทยเป็นพระสงฆ์ผู้มีบทบาทท้ังด้านการปฏิบัติและ
การเผยแผพ่ ทุ ธธรรมทา่ นมจี รยิ วตั รเปน็ ทนี่ า่ เลอ่ื มใสและศรทั ธาเปน็ ผมู้ คี วามเสยี สละ
ทุ่มเท มีใจรกั มุ่งม่นั ในการสบื ทอดพระพทุ ธศาสนา เป็นผูม้ ีจิตเมตตา ทำ� งานดว้ ย
ความเสยี สละปรารถนาประโยชนส์ ขุ แกผ่ รู้ บั ธรรมะทที่ า่ นแสดงจงึ เปน็ ธรรมทบ่ี รสิ ทุ ธิ์
ไมม่ ีความเคลือบแฝง มแี ต่ความจรงิ ท่พี สิ จู น์ได้
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาน้ันท่านนอกจากประกาศในประเทศไทยแล้ว
ยังได้บริหารจัดการให้มีการประกาศธรรมและเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลกดัง
เหน็ ได้จากศษิ ยานศุ ิษย์ของทา่ นที่เปน็ ชาวต่างชาติ และการก่อตอ่ ตั้งสำ� นกั ปฏบิ ัตทิ ี่
ตา่ งแดนเปน็ จำ� นวนหลายแหง่ ไดส้ รา้ งความสพั พนั ธก์ บั พทุ ธศาสนกิ ชนทวั่ โลก นเ้ี ปน็
อีกมิติหน่ึงท่ีเป็นขบวนการพุทธศาสนาแนวใหม่ท่ีสร้างความสนใจกับคนท่ัวโลก จึง
เป็นเร่ืองสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ทีค่ วรน�ำแนวคดิ และวิธีการการเผยแผข่ องท่านมาศกึ ษาให้
กับคนรุ่นใหม่ได้เข้าใจถึงแนวคิด ค�ำสอน กิจกรรมและแนวทางปฏิบัติของพระ
โพธิญาณเถร ใหล้ ะเอยี ดต่อไป

l8l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

๒. ประวตั ิหลวงชา สภุ ทโฺ ท

๒.๑ ชวี ิตปฐมวยั
ชา ช่วงโชติ เป็นลูกอีสานโดยก�ำเนิด ท่านเกิดท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ใน
หมู่บ้าน บ้านจกิ กอ่ หมู่ท่ี ๙ ต. ธาตุ อ. วารนิ ชำ� ราบ จ. อบุ ลราชธานี บดิ าชือ่ นาย
มา มารดาชอื่ นางพมิ พ์ ช่วงโชตมิ ีพ่นี ้องร่วมบดิ ามารดาเดียวกนั ๑๐ คน ทา่ นเกดิ
วนั ศกุ ร์ ที่ ๑๗ มถิ ุนายน ๒๔๖๑ แรม ๗ คำ�่ เดอื น ๗ ปมี ะเมยี ท่านเป็นบุตรคนที่ ๕
ของนายมา และนางพมิ พ์ ช่วงโชติ

๒.๑.๑ การศึกษา
เรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนบ้านก่อ ต.ธาตุ อ.วารินช�ำราบ
จ.อบุ ลราชธานี จนเม่ือจบชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ก็ได้ลาออกจากโรงเรียนเพราะมี
ความสนใจในศาสนา และมคี วามตง้ั ใจทจี่ ะบวช จงึ ไดข้ ออนญุ าตจากบดิ ามารดาและ
ทา่ นกเ็ ห็นดีด้วย
ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ สอบธรรมชนั้ ตรไี ด้ ณ วดั กอ่ ใน ต.ธาตุ อ.วารนิ ชำ� ราบ
จ.อบุ ลราชธาน1ี 0
ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ สอบธรรมช้ันโทได้ ณ วัดเค็งใหญ่ ต.เค็งใหญ่
อ. อ�ำนาจเจริญ จ. อบุ ลราชธานี
ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ สอบธรรมช้นั เอกได้ ณวัดก่อนอก อ.พบิ ลู มังสาหาร
จ. อุบลราชธานี

๓. การเกดิ ขึ้นของสำ� หนักหนองปา่ พอง

วัดหนองป่าพงต้ังอยู่ที่บ้านพงสว่าง หมู่ท่ี ๑๐ ต�ำบลโนนผึ้ง อ�ำเภอ
วารนิ ชำ� ราบ หนา่ งจากตวั จงั หวดั อบุ ลราชธานี ไปทางอำ� เภอกนั ทรลกั ษณ์ ตามถนน
ทางหลวงหมายเลข ๒๑๗๘ ประมาณ ๘ กม. โดยได้รบั วิสงุ คามสีมา เมอ่ื วนั ท่ี ๕
เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ตามประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เลม่ ท่ี ๙๑ ตอนที่ ๗๑
โดยก�ำหนดเขตกว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร มีพืน้ ที่ปา่ ภายในเขตกำ� แพง ๑๘๖ ไร่

10 เสถยี รพงษว์ รรณปก, สองอาจารย์ผูย้ ่ิงใหญ,่ (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร, ๒๕๔๙), หน้า ๑๙๐.

l9l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จุบนั

๓ งาน ๙๔ ตารางวา
จดุ เรมิ ตน้ ของวดั หนองป่าพง เม่ือวนั ท่ี ๘ มนี าคม พ.ศ.๒๔๙๗ (ขน้ึ ๔ ค่�ำ
เดือน ๔ ปี มะเสง็ ) พระโพธญิ าณเถร (ชา สุภทโฺ ท) ท่านและคณะธุดงค์ก็เดินทางมา
ถงึ ชายปา่ ดงดิบอันหนาทึบ ชาวบ้านเรยี กวา่ ดงหนองป่าพง ซง่ึ อยู่หา่ งจากบ้านก่อ
(บา้ นเกดิ ของทา่ น) ไปทางทศิ ตะวนั ตก ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร เมอื่ เดนิ ทางมาถงึ กไ็ ด้
ท�ำการปักกลดเรียงรายอยู่ตามชายป่าประมาณ ๕-๖ แห่ง ดงป่าพงในสมัยน้ัน มี
สภาพเป็นป่าทึกรกร้าง ชุกชุมด้วยไขป่า ในอดีตป่าพงเป็นดงใหญ่ มีแหล่งน�้ำอุดม
สมบูรณ์ เปน็ ทอ่ี ยู่อาศัยของสตั ว์ปา่ นานาชนดิ ชาวบา้ นเรยี กดงดินนีว้ ่า “หนองป่า
พง” เพราะเป็นที่อยู่อาศัยสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาบริเวณผืนป่าท่ีกว้างใหญ่ได้ถูก
ทำ� ลายหมดไป ยงั คงเหลือเพียงสว่ นทเ่ี ป็นบรเิ วณของวดั ในปัจจุบนั
สาเหตทุ ป่ี ่านถ้ี กู บกุ รกุ ถากถางเพราะชาวบา้ นเชื่อถอื กันวา่ มีอ�ำนาจลึกลับ
แฝงเรน้ อยใู่ นดงนน้ั เพราะปรากฏอยเู่ สมอวา่ คนทเี่ ขา้ ไปทำ� ไรตดั ไมห้ รอื ลา่ สตั ว์ เมอ่ื
กลับออกมามักมีอันต้องล้มตายไปทุกราย โดยท่ีหาสาเหตุไม่ได้ ชาวบ้านจึงพากัน
เกรงกลวั ภยั มอื นนั้ มม่ี ใี ครกล้าเข้าไปทำ� ลาย หรืออาศัยท�ำกนั ในป่าน้เี ลย ดงปา่ พง
จึงดำ� รงความเป็นอยอู่ ยา่ งสมบูรณ์ ชื่อ วัดหนองป่าพง นเี้ ปน็ ชอื่ ท่ีทา่ นคิดตง้ั ขนึ้ เอง
โดยอาศยั สภาพภมู ิประเทศเป็นหลัก แตช่ อ่ื ทช่ี าวบา้ นเรียกกนั ตดิ ปากกค็ ือวัดป่าพง
โดยระยะแรกๆ หลวงพอ่ ชา สภุ ทโฺ ท และลกู ศษิ ยต์ อ้ งตอ่ สอู้ ยา่ งเดด็ เดย่ี วกนั ไขป้ า่ กบั
ไขป่า ซง่ึ ขณะนั้นชุกชมุ มากโดยที่ท่านไม่ย่อมขอความชว่ ยเหลือเลย เพราะวา่ ทา่ น
ตอ้ งการใหผ้ ทู้ ม่ี าพบเหน็ ดว้ ยตา แลว้ เกดิ ความเลอ่ื มใสเอง ทา่ นสอนอยเู่ สมอวา่ พระ
ไปยงุ่ กบั การหาเงนิ กอ่ สรา้ งวดั เปน็ สงิ่ นา่ เกลยี ดแตใ่ หพ้ ระสรา้ งคน คนจะสรา้ งวดั เอง
จากวดั เลก็ ๆ ทมี่ บี รรณศาลา (กระทอ่ ม) ไมก่ หี่ ลงั จงึ ไดม้ สี งิ่ กอ่ สรา้ งอนั ควร
แก่สมณวิสัยเพ่ิมเติม จนพอแก่ความต้องการในปัจจุบัน ทั้งที่พักอาศัยของภิกษุ
สามเณร แม่ชี อบุ าสก อุบาสิกาทม่ี าค้างแรมเพอื่ ปฏิบตั ธิ รรม กระทอ่ มชว่ั คราวได้
กลายมาเป็นกุฏิถาวรจ�ำนวนมาก ศาลามุงหญ้า ซ่ึงเคยใช้เป็นท่ีฉันและแสดงธรรม
ได้เปลยี่ นมาเป็นศาลาและโรงฉนั อนั ถาวร ก�ำแพงวัด หอระฆังเสนาสนะอื่น ได้เพม่ิ
มากข้นึ จากแรงศรทั ธา ความเลอ่ื มใสนน้ั เอง

l 10 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

วดั หนองปา่ พงเปน็ ป่าฝ่ายอรัญวาสี เป็นสำ� นักปฏิบตั ธิ รรม ท่แี วดลอ้ มด้วย
ธรรมชาติ อนั สงบอนั สงดั มบี รรยากาศรม่ เยน็ เหมาะ แกก่ ารพำ� นกั อาศยั เพอ่ื บำ� เพญ็
สมณธรรม
ชีวิตพระในวัดหนองป่าพอง ยึดหลักพระธรรมวินัยที่พระพุทธองค์ทรง
บัญญัติไว้ เป็นแนวทางปฏิบัติฝึกหัดกายวาจาใจในชีวิตประจ�ำวัน เน้นการศึกษา
ประพฤติ ปฏิบัตใิ ห้บรสิ ทุ ธบิ์ ริบรู ณใ์ นศลี สมาธิ ปญั ญา พรอ้ มทง้ั น�ำธุดงควัตร ๑๓
และ ๑๔ และกำ� หนดกฎกติการะเบยี บต่างๆ มาผสมผสานเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ เพือ่
สง่ เสริมการบำ� เพ็ญสมณธรรมใหด้ ำ� เนนิ ไปด้วยดีและมีความละเอยี ดลึกซึง้ ยง่ิ ขน้ึ
ตอ่ มาเหน็ วา่ ควรตงั้ เปน็ สำ� นกั สงฆ์ จงึ ไดเ้ รม่ิ การปลกู สรา้ งเสนาสนะขน้ึ ดว้ ย
แรงศรทั ธาจากญาตโิ ยมชาวบา้ นกอ่ และบา้ นกลาง มกี ฏุ เิ ลก็ ๆ ๓-๔ หลงั มงุ ดว้ ยหญา้
คา ปูด้วยฟากไมไ้ ผ่ ฝาท�ำด้วยใบตองชาดและตน้ เลาต้นแขม ต่อจากน้นั หลวงพ่อก็
พาญาตโิ ยมออกไปปกั เขตวัดเนื้อท่ปี ระมาณ ๑๘๗ ไร่ และตัดถนนรอบ หลวงพ่อตงั้
ชอ่ื วดั วา่ “วัดหนองปา่ พง” แตช่ าวบ้านมกั เรียกกนั ตดิ ปากวา่ วดั ป่าพง
สภาพปจั จบุ นั ของวดั หนองปา่ พง เปน็ สำ� นกั วดั ปา่ ทม่ี พี ระภกิ ษสุ ามเณรมา
อาศยั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิธรรมเรือนร้อย มีกุฏพิ ระกว่า ๗๐ หลงั กฏุ แิ ม่ชกี วา่ ๖๐ หลัง
นอกจากน้ันยังมีโบสถ์ ศาลาอเนกประสงค์ โรงฉัน เมรุเผาศพ เป็นต้น บนเนื้อที่
๓๐๐ ไร่
นอกจากนนั้ วดั หนองปา่ พงยังมวี ดั สาขาในประเทศไทย ๘๒ แหง่ ในต่าง
ประเทศ ๘ แห่ง สาขาส�ำรองอกี ๕๑ แหง่ หลวงพ่อใหเ้ หตุผลของการขยายสาขาไว้
หลายประการ เปน็ ตน้ วา่ เพอื่ อนเุ คราะหญ์ าตโิ ยมผตู้ อ้ งการสรา้ งวดั ปา่ ใกลบ้ า้ นของ
ตน เพ่ือเป็นท่ีพึ่งทางใจ การส่งพระออกไปตามค�ำนิมนต์ของชาวบ้านอย่างนี้ ถือ
เปน็ การตอบสนองความตอ้ งการของสงั คม สำ� หรบั พระเถระทรี่ บั ผดิ ชอบเปน็ เจา้ ของ
ส�ำนักในแต่ละวัด ท่านก็ได้มีโอกาสใช้ความรู้ความสามารถท่ีได้ศึกษามา สร้าง
ประโยชนแ์ กพ่ ระศาสนามากขนึ้ และการทห่ี ลวงพอ่ คอยสง่ คนเกา่ ออกจากวดั หนอง
ป่าพงเร่อื ยๆ กท็ �ำใหม้ ที ่วี ่างสำ� หรบั คนใหมอ่ ย่เู สมอ

l 11 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

๔. หนา้ ที่การงาน

๑) เป็นเจ้าอาวาสวดั หนองปา่ พง เมือ่ วนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๑๖
๒) ไดร้ บั พระราชทานเปน็ พระราชาคณะมนี ามวา่ พระโพธญิ าณเถร เมอื่
วนั ท่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๑๖
๓) ป๒ี ๕๑๗ ไดร้ บั หนงั สอื ใหเ้ ขา้ ไปอบรมเปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ และไดร้ บั ตรา
ต้งั พระอุปชั ฌาจารย์ เม่อื วนั ท่ี ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๗

๕. คำ� สอนสำ� คญั ของส�ำนกั หนองป่าพอง

ค�ำสอนท่ีส�ำคัญที่ทางส�ำนักได้เผยแผ่ส�ำหรับบรรพชิตและส�ำหรับคฤหัสถ์
เป็นค�ำสอนท่ีจะเน้นไปที่เสียสละเพ่ือธรรม การเข้าสู่หลักธรรม ธรรมะที่หยั่งรู้ยาก
ธรรมะธรรมชาติ ปฏิบตั กิ นั เถดิ ธรรมปฏสิ ันถาร สองหนา้ ของสจั ธรรม ปจั ฉมิ กถา
การฝกึ ใจ มรรคสามคั คี ดวงตาเห็นธรรม อย่เู พอื่ อะไร เร่ืองจิตน้ี น้ำ� ไหลน่งิ ธรรมใน
วินัย บ้านท่ีแท้จริง สัมมาสมาธิ ขึ้นตรงต่อพระพุทธเจ้า ความสงบบ่อเกิดปัญญา
พระองคเ์ ดยี ว นอกเหตเุ หนอื ผล สมมตตแิ ละวมิ ตุ ติ การทำ� จติ ใหส้ งบ ตจุ โฉโปฎฐลิ ะ
ดวงตาเหน็ ธรรม ทำ� ใจใหเ้ ปน็ บญุ ทรงไวซ้ ่ึงข้อวตั ร เหนอื เวทนา เพียรละกามฉนั ทะ
ทางพ้นทุกข์ ไมแ่ นค่ อื อนจิ จงั โอวาทบางตอน อา่ นใจธรรมชาติ อยูก่ ับงูเหา่ สมั มา
ทิฐทิ ่ีเยือกเย็น มรรคผลไม้พ้นสมยั นกั บวชนักรบ ธดุ งค์ทกุ ขด์ ง สัมมาปฏปิ ทา พึง
ต่อสคู้ วามกลัว กวา่ จะเป็นสมณะ เครอ่ื งอยขู่ องบรรพชติ กญุ แจภาวนา วิมตุ ตโิ ดย
ยดึ คำ� สอนของพระพทุ ธองคท์ ่ีตรสั วา่ “ทำ� ตนให้ตงั้ อยใู่ นคณุ อนั สมควรเสียกอ่ นแลว้
จึงสอนคนอนื่ ทีห่ ลัง จงึ จักไมเ่ ปน็ บิณฑติ สกปรก” คำ� สอนเหล่านถี้ ึงแม้วา่ จะเปน็ คำ�
สอนมอี ยใู่ นพระพทุ ธศาสนาอยแู่ ลว้ กต็ ามการทที่ า่ นไดน้ ำ� สอนเหลา่ นม้ี าประยกุ ตแ์ ลว้
เทศนาเพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ ความเขา้ ใจดว้ ยเทคนคิ และวธิ กี ารของทา่ น นนั้ และคอื องคค์ วาม
รใู้ หมท่ คี่ นรนุ่ หลงั ควรมาศกึ ษา เมอ่ื จะกลา่ วถงึ หลกั การสอนและเทคนคิ ของทา่ นอกี
ประการหนง่ึ กจ็ ะเหน็ วา่ วธิ กี ารสอนของทา่ นสามารเหน็ ไดง้ า่ ยกค็ อื “สอนคนดว้ ยการ
ท�ำให้ดู ทำ� เหมือนพดู พดู เหมอื นท�ำ” ดังนัน้ ไมว่ ่าจะท�ำกิจวัตรอันใด เช่น กวาดวัด
จดั ท่ฉี ัน ล้างบาตร นั่งสมาธิ ตกั นำ�้ ทำ� วตั ร สวดมนต์ เดินจงกรม ในระหวา่ งวนั พระ
ถือเนสัชชิ ไม่นอนตลอดคนื ท่านจะเปน็ คนลงมอื ทำ� เป็นตวั อย่างใหแ้ กล่ ูกศษิ ย์ ลกู

l 12 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจุบัน

ศษิ ยแ์ ละญาตโิ ยมจงึ เกดิ ความเลอ่ื มใสเคารพยำ� เกรงในปฏปิ ทาทหี่ ลวงพอ่ ชาดำ� เนนิ
อยู่
สง่ิ ที่นา่ อัศจรรย์กม็ ีอยบู่ า้ ง เช่น ท่านพดู ภาษาฝรัง่ ไมไ่ ด้ ศษิ ย์พดู ภาษาไทย
ไมไ่ ด้ แตท่ า่ นกส็ ามารถถา่ ยทอดธรรมใหแ้ กศ่ ษิ ยไ์ ด้ นก่ี ระมงั ทเี่ รยี กกนั วา่ “ถา่ ยทอด
จากใจถึงใจ” สัจธรรมไม่จ�ำเป็นต้องส่ือผ่านภาษา ย่อมเป็นท่ีรับรู้กันได้กระจ่ายย่ิง
กวา่ ภาษาถา่ ยทอดเสยี อกี !
หยดุ ชวั่ มนั กด็ ี คนเราบางคน บางทกี อ็ ยากจะเอาบญุ เชน่ ผา้ ยงั สกปรกอยู่
ยังไมไ่ ดท้ �ำความสะอาด แตอ่ ยากจะยอ้ มสีซะแล้ว ลองเอาผ้าเชค็ เทา้ ที่ยงั ไม่ไดฟ้ อก
ไปยอ้ มสดี ซู ิ มนั จะสวยไหม การไมก่ ระทำ� บาปนนั้ มนั เลศิ ทสี่ ดุ บางคนบางคราว โจร
มันก็ให้ได้ มนั ก็แจกได้ แตว่ ่าจะพยายามสอนใหม้ ันหยดุ เป็นโจรน่ันนะ มันยากทสี่ ุด
การจะละความช่ัวไม่กระท�ำผิดมันยาก การท�ำบุญ โจรมันมันก็ท�ำได้มันเป็นปลาย
เหตุมัน การไม่กระท�ำบาปทั้งหลายท้ังปวงน้ันนะเปน็ ต้นเหตุ
นอกเหนือเหตุผลพระพุทธองค์ท่านทรงสอนว่าให้ “นอกเหตุเหนือผล”
ไม่ว่าจะท�ำอะไร ปัญญาของท่านให้นอกเหตุเหนือผล ให้นอกเกิดเหนือตาย
นอกสขุ เหนอื ทกุ ข์ ลองคดิ ตามไปซลิ องพจิ ารณาไปตาม คนเราเคยอยใู่ นบา้ น พอ
หนีจากบ้านไปไมม่ ที อ่ี ยูไ่ มร่ จู้ ะท�ำอยา่ งไร เพราะเรามันเคยอย่ใู นภพ อยใู่ นความ
ยดึ มน่ั ถอื มน่ั เป็นภพ
ดว้ ยการอทุ ศิ ชวี ติ เพอ่ื การปฏบิ ตั ธิ รรมและเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนา ซง่ึ ชอ่ื เสยี ง
ของท่านขจรไกลไปถึงต่างแดนจนมีชาวต่างประเทศเลื่อมใส ศรัทธาขอบวชในส�ำ
หนกั ของทา่ นเปน็ จำ� นวนมาก ทา่ นจงึ ไดส้ รา้ งวดั ปา่ นานาชาตใิ หภ้ กิ ษชุ าวตา่ งชาตไิ ด้
ใช้เป็นท่ีฝึกปฏิบัติธรรม นอกจากน้ันยังได้สร้างวัดสาขาของวัดหนองป่าพงเพื่อเผย
แพร่ศาสนาไปท่ัวทุกภาค ซ่ึงในประเทศไทยมีจ�ำนวนท้ังส้ิน ๘๒ สาขา ส่วนท่ีต่าง
ประเทศมีทงั้ หมด ๗ สาขา

๖. บทวิเคราะหอ์ งค์ความรู้

จากคำ� กลอนของทา่ นในขา้ งตน้ นจี้ ะเหน็ วา่ ทา่ นสอนดว้ ยวธิ กี ารมองเขา้ หา
ตวั เอง และเปรยี บเทยี บตวั เองกบั ธรรมชาตวิ า่ โดยความเปน็ จรงิ แลว้ เราจะตอ้ งเรยี น

l 13 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

รธู้ รรมทม่ี อี ยใู่ นเราใหด้ เี สยี กอ่ น หรอื อกี นยั หนงึ่ ทา่ นนนั้ ไดก้ ระทำ� ใหด้ แู ลว้ เพอื่ ใหค้ น
อนื่ นน้ั ไดร้ ตู้ ามการสอนธรรมนนั้ จงึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ แตเ่ พยี งการอธบิ ายอยา่ งเดยี วแมแ้ ตก่ าร
ประพฤติการปฏิบัติให้เห็นก็เป็นการสอนธรรมได้ หลักค�ำสอนเหล่านี้ล้วนแล้วแต่
สอนใหค้ นเราอยา่ มองขา้ มตนเอง กอ่ นอน่ื นน้ั จะตอ้ งมองทต่ี นเองและพจิ ารณาตนเอง
เป็นเบ้ืองต้น อย่ามองให้ไกลตนมากนักเพราะธรรมนั้นอยู่ในตัวคนเรานี้เอง อย่าง
กรณคี นบางคนอยากจะเอาบญุ แตย่ งั ไมห่ ยดุ ทำ� ชวั่ ผา้ ยงั สกปรกอยู่ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ความ
สะอาด แตอ่ ยากจะยอ้ มสกี ารไมก่ ระทำ� บาปนนั้ มนั เลศิ ทสี่ ดุ บางคนบางคราวโจรมนั
กใ็ หไ้ ดห้ มายความวา่ โจรมนั ยงั รจู้ กั เสยี สละ แตว่ า่ จะพยายามสอนใหม้ นั หยดุ เปน็ โจร
น่นั นะ มนั ยากที่สดุ การจะชักล้างละความชวั่ ไมก่ ระทำ� ผิดมนั กย็ าก การท�ำบุญ โจร
มันกท็ �ำได้ แต่การกระทำ� น้ันมนั เป็นเพียงปลายเหตเุ ท่านัน้ (หยดุ ชั่วมันกด็ )ี
นอกเหนอื เหตผุ ล: พระพทุ ธองค์ทา่ นทรงสอนวา่ ให้ “นอกเหตเุ หนอื ผล”
ไมว่ ่าจะทำ� อะไร ปญั ญาของทา่ นใหน้ อกเหตเุ หนือผล ใหน้ อกเกดิ เหนือตาย นอกสขุ
เหนือทุกข์ ลองคิดตามไปพิจารณาไปตามคนเราเคยอยู่ในบ้าน พอหนีจากบ้านไป
ไม่มีที่อยู่ไม่รู้จะท�ำอย่างไร เพราะเรามันเคยอยู่ในภพ อยู่ในความยึดม่ันถือมั่นเป็น
ภพดงั นนั้ คำ� สอนของหลวงปชู่ าทา่ นจะดเู หมอื นกำ� ลงั จะบอกหรอื ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ สภาวะ
ของการอยนู่ อกเหน็ เหนอื ผลวา่ มนั เปน็ กลวธิ ใี นการมองเขา้ หาตวั ดธู รรมชาติ เปรยี บ
เทยี บ กบั ธรรมชาตทิ ม่ี อี ยตู่ วั เราวา่ เปน็ เชน่ นนั้ ทา่ นจงึ ตอ้ งประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ หล้ กู ศษิ ย์
ดูเปน็ ตวั อย่าง ส่วนวธิ ีการของทา่ นนัน้ ได้ใช่รปู แบบของสมถะและวปิ สั สนาในการก
ระทำ� ใหด้ ู สมถะและวปิ สั สนานน้ั ทา่ นยงั ตอ้ งอาศยั ศลี สมาธแิ ละปญั ญาเปน็ ตวั กำ� กบั
ดูแลเพราะศีล สมาธิและปัญญาเป็นเบื้องต้นที่จะน�ำเข้าตัวสมถะและวิปัสสนาได้
ท้งั หมดล้วนแล้วแตม่ ีจุดหมายปลายทางอยู่ที่ มรรค ผล นพิ พานซง่ึ จะเป็นพ้นทกุ ข์
ทกุ ขอ์ ย่างแท้จรงิ

๗. ผลกระบทตอ่ สงั คม

ซงึ่ มีลักษณะเด่นและส�ำคัญ ดังน้ี
๑. การอธบิ ายธรรมบางเรอ่ื งใหม่
๒. การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยให้ความส�ำคัญกับสิ่ง

l 14 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

แวดลอ้ ม การสรา้ งถาวรวตั ถใุ หก้ ลมกลนื กบั ธรรมชาตกิ ารอนรุ กั ษต์ น้ ไมแ้ ละอนรุ กั ษ์
สัตว์ป่าทุกชนิดและก�ำหนดให้ผู้ที่มาปฏิบัติธรรมต้องให้ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์
สิง่ แวดลอ้ มด้วย
๓. ส�ำนกั วดั หนองปา่ พงเปน็ วัดตน้ แบบของวัดปา่ กวา่ ๑๐๐ แห่งในไทย
และในหลายแห่งในยโุ รป
๔. ทศั นะการปกครองไมค่ วรทจี่ ะก�ำหนดนิกาย

สรปุ ทา้ ยบท

จากการศึกษาหลักการและหลักธรรมหลวงพ่อชา ช้ีให้เห็นว่าผู้บรรลุ
คณุ ธรรมข้นั สูง รู้แจ้งเหน็ จริง ไมต่ ิดในความเป็นพุทธ คริสต์ อิสลาม ไมต่ ิดในความ
คิดว่าคริสต์จะกลืนพุทธหรือพุทธจะกลืนคริสต์ โดยเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ชื่อต่างๆ
เป็นเพียงส่ิงสมมติ แท้ที่จริงในพุทธศาสนาจะมีนิกายหรือไม่มี ไม่ส�ำคัญขอแต่เรา
เข้าใจในธรรมชาติทเ่ี ปน็ สากล น้ันคือพุทธะ
ประเด็นส�ำคัญควรตึกตรองถึงหลักค�ำสอนของพระพุทธเจ้าที่ทรงตรัส
วา่ “ทำ� ตนใหต้ งั้ อยใู่ นคณุ ธรรมสมควรเสยี กอ่ น แลว้ จงึ สอนคนอน่ื ทหี ลงั จงึ จะไมเ่ ปน็
บัณฑิตสกปรก” ด้วยเหตุน่ีท่านจึงส่ังสอนบรรดาลูกศิษย์ของท่านด้วยหลักการที่
ว่า“สอนคนดว้ ยการทำ� ใหด้ ู ทำ� เหมอื นทพ่ี ูด พูดเหมือนท่ีทำ� ” ซ่ึงเรือ่ งนที้ า่ นเปรยี บ
เปรยใหเ้ หน็ วา่ “การใหธ้ รรมะนก่ี เ็ หมอื นกบั ใหย้ ารกั ษาคนไข้ นายแพทยร์ กั ษาคนไข้
ก็ต้องร้วู า่ ยาชนิดไหนเหมาะแกใ่ คร ตอ้ งรูจ้ ักคนไข้ รู้สมฏุ ฐานของโรคเหมือนกับเรา
ทอดแหไปเหวี่ยงแหไปสะเปะสะปะคร่อมแม่น�้ำเลย ไม่ได้หรอก ต้องคอยเวลาเห็น
ปลาบอ้ น(ผดุ )นนั่ แหละ มนั บอ้ นตรงไหนกเ็ หวยี่ งลงตรงนนั้ เลยถงึ จะไดก้ ารสอนกต็ อ้ ง
ดวู า่ เขาจะรบั ไดแ้ คไ่ หน ดคู วามพอดขี องเขา เพราะความพอดนี น้ั แหละคอื ธรรมะ ถา้
ไมพ่ อดไี มเ่ ปน็ ธรรมะ”นกี้ เ็ ปน็ องคค์ วามรจู้ ากคำ� สอนของหลวงพอ่ ชาทนี่ ำ� มาอธบิ าย
ใหก้ บั คนในสงั คมเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ถงึ ธรรมไดง้ า่ ยและปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การทางพระ
พทุ ะศาสนา
การสอนธรรมะอยู่ที่การปฏิบัติให้เป็นแบบอย่าง พุทธศาสนาที่อยู่ใกล้ชิด
ธรรมชาติ เรยี บงา่ ยเปน็ อสิ ระจากกฎเกณฑข์ องรฐั เชน่ เดยี วกบั วดั ปา่ ทงั้ หลาย มพี ระ

l 15 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบนั

ทเี่ ปน็ พระ มใิ ชพ่ ระเพยี งรปู แบบ ไมว่ นุ่ วายกบั การสรา้ งวดั วาอาราม เพราะถอื วา่ พระ
มหี นา้ ทส่ี ร้างวดั ภายในใจคน และจะเป็นผสู้ ร้างวดั ให้เอง ไม่ฟงุ้ เฟอ้ สรุ ่ยุ สุร่าย หรอื
สะสมกอบโกยไม่สร้างความแตกแยก ต�ำหนิติเตียนหรือเพ่งโทษผู้อื่น แต่มีหน้าท่ี
ขดั เกลาหรอื สำ� รวจจติ ของตนเอง ความคดิ ทเี่ ปน็ สากลไมต่ ดิ ยดึ ในสมมตขิ องทา่ นเหน็
ได้จากค�ำปรารภในการสร้างโบสถ์วัดหนองป่าพง โบสถ์หลังน้ีจะไม่ท�ำพระเคร่ือง
หากนิ จะไมใ่ หเ้ ดอื ดรอ้ นทางบา้ นเมอื ง จะไมเ่ รย่ี ไร รปู แบบจะเปน็ ทรงไทยหรอื แบบ
ไหนกไ็ มส่ �ำคญั เพราะมันเป็นเพยี งรปู ร่าง หาใช่ความหมายของศาสนาทแี่ ท้ บุคคล
ทเี่ ขา้ มาศกึ ษาธรรมกเ็ ชน่ ดว้ ยกบั ชา่ งไมท้ ฉ่ี ลาดรจู้ กั พชื พนั ธแ์ุ ละคณุ ภาพของไมแ้ ตล่ ะ
ตน้ ยอ่ มสามารถนำ� ไมจ้ ากปา่ มาทำ� ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ ชส้ อยไดต้ ามความเหมาะสมนี้
คอื หลกั การทที่ างสำ� นักหนองปา่ พงมกั ใชเ่ ป็นประจำ�
การปฏบิ ตั ติ ามขอ้ วตั รปฏบิ ตั อิ ยา่ งเอาจรงิ เอาจงั คอื เครอ่ื งมอื ในการขดั เกลา
กิเลสที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง ดังที่หลวงพ่อชาเรียกว่า “ตะแกงร่อนคน” ถ้าวัตรปฏิบัติ
บกพร่องก็ยังถือว่าไม่ผ่านตะแกง ยังต้องมุงมานะปฏิบัติกันต่อไปจนกว่าจะผ่านได้
การปฏบิ ตั ธิ รรม ไมใ่ ชก่ ารมาเฝา้ นงั่ ทำ� สมาธิ เดนิ จงกรมเทา่ นน้ั แตต่ อ้ งรวมถงึ วถิ กี าร
ด�ำเนินชีวิตอย่างปกติด้วย ทุกขณะของการเป็นอยู่ ย่อมถือว่าเป็นการปฏิบัติธรรม
ท้ังนน้ั ต้องพยายามรกั ษาจิตใหห้ า่ งไกลจากสงิ่ รบกวนอยูต่ ลอดเวลา

l 16 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

ส�ำนักสวนโมกขพลาราม

๑. บทน�ำ

“กินขา้ วจานแมว (กนิ ง่าย)
อาบนำ�้ ในคู (ใชส้ อยคุ้มคา่ )
นอนกุฏิเลา้ หมู (นอนง่าย)
ฟงั ยุงรอ้ งเพลง (จิตสงบเย็น)
อยู่เหมอื นตายแลว้ (ตายจากความยดึ ม่นั ถือมัน่ )”
ท่านพุทธทาสภิกขุเป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา เป็นนักปฎิรูปพุทธ
ศาสนาทส่ี ำ� คญั รปู หนงึ่ ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทย การตคี วามพทุ ธศาสนาของทา่ นนบั เปน็
ความพยายามท่ีจะปฏิรูปพุทธศาสนาของไทย พุทธทาสภิกขุได้ตีความค�ำสอนของ
พทุ ธศาสนาฝ่ายเถรวาทและธรรมเนียมปฏบิ ัติ ของชาวพทุ ธไทย ด้วยการใชป้ ญั ญา
และเหตผุ ล อนั เปน็ ผลสบื เนอื่ งมาจากความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรใ์ นปจั จบุ นั และ
การเติบโตของชนช้ันกลางในสังคมไทย ซึ่งรวมถึงคนในวงการวิชาชีพต่างๆ และ
ปญั ญาชน ผลลพั ธท์ ต่ี ามมากค็ อื ทา่ นไดเ้ ปน็ ผวู้ างกรอบทฤษฎที างสงั คมกบั การศกึ ษา
พระไตรปิฏก และการตีความพุทธศาสนาด้วยปัญญาและเหตุผลท�ำให้ค�ำสอนของ
ท่านกลายเปน็ ตวั แทนของปญั ญาในพุทธศาสนาของไทย
พระพทุ ธศาสนาในเมอื งไทยอาจจำ� แนกออกไดเ้ ปน็ ๓ รปู แบบ ตามลกั ษณะ
แห่งโครงสร้างทางชนชั้นในสังคมไทย รูปแบบที่หนึ่งได้แก่ พุทธศาสนาของชนชั้น
กลาง ซง่ึ สนบั สนนุ โดยชนชน้ั ปกครองและชนชน้ั สงู รปู แบบทส่ี องไดแ้ ก่ พทุ ธศาสนา
ฝา่ ยปฏริ ปู ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากชนชน้ั กลางและรปู แบบทสี่ ามไดแ้ ก่ ไสยศาสตร์
ซึ่งถือเป็นศาสนาของสามัญชนในทุกชนชั้นโดยเฉพาะอย่างย่ิงชนชั้นล่างอันรวมถึง
ชาวนาในชนบทและกรรมกรในเมืองเน่ืองจากรูปแบบของศาสนาและสถานะทาง
สังคมของผู้ที่นับถือมีส่วนที่ค่อนข้างจะสัมพันธ์กัน การโต้แย้งทรรศนะทางศาสนา
มกั จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ สถานะทางสงั คมการเมอื งระหวา่ งกลมุ่ ชนชนั้ ตา่ งๆ ในสงั คม
ไทยดว้ ย

l 17 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จุบนั

ดว้ ยเหตนุ ที้ า่ นจงึ ไดต้ คี วามคำ� สอนในพระไตปฏิ กและวฒั นะธรรมชาวพทุ ธ
ของไทยด้วยการใช้ปัญญาและเหตุผล รวมท้ังการตีความในเชิงจิตวิทยา อันท�ำให้
เร่อื งราวทงั้ หมดในพุทธศาสนาเป็นเรอ่ื งทางจติ ใจลว้ นๆ ดงั นั้นบทนี้จึงจำ� ต้องศึกษา
แนวคิด ค�ำสอน กิจกรรมและแนวทางปฏิบัติของท่านพุทธทาสภิกขุให้ละเอียด
ต่อไป

๒. ประวัติพุทธทาสภิกขุ หรือ พระธรรมโกศาจารย์

๒.๑ ชีวติ ปฐมวัย
นามเดมิ เงื่อม พานชิ เกิดเม่อื วันอาทิตยท์ ่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๙ ณ
บา้ นกลาง ต.พมุ เรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎรธ์ านี
พ.ศ. ๒๔๕๗ เมอ่ื อายุ ๘ ขวบ บิดามารดาพาเด็กชายเง่ือมไปฝากเป็นเด็ก
วดั ทว่ี ดั พมุ เรยี ง หรอื วดั ใหมเ่ ปน็ เวลา ๓ ปี เพอื่ รบั การศกึ ษาเบอ้ื งตน้ ตามแบบโบราณ
ซงึ่ วดั พมุ เรยี ง หรอื วดั ใหมเ่ ปน็ วนั ทคี่ นในสกลุ พานชิ เคยบวชสบื ตอ่ กนั มา โดยในสมยั
ก่อนวัดท่ีจะมีโรงเรียนนั้น พ่อแม่มักจะให้ลูกชายได้อยู่ท่ีวัด เพ่ือที่จะให้ได้รับการ
ศกึ ษาขั้นตน้ ตามแบบโบราณ รวมทั้งจะได้มกี ารค้นุ เคยกับพระพทุ ธศาสนา
อปุ สมบท = ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๙
มรณภาพ = ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๖
พรรษา ๗๒ อายุ ๘๖
วัดธารน้�ำไหล (สวนโมกขพลาราม) จงั หวัดสุราษฎร์ธานี
สงั กดั มหานกิ ายวุฒิการศึกษา ป.ธ.๓, น.ธ.เอก
๒.๒ การศึกษา
พ.ศ. ๒๔๕๗ เมือ่ อายุ ๘ ขวบ บดิ ามารดาพาเดก็ ชายเง่อื มไปฝากเปน็ เดก็
วดั ทว่ี ดั พมุ เรยี ง เป็นเวลา ๓ ปี เพือ่ รับการศึกษาเบ้อื งตน้ ตามแบบโบราณ
พ.ศ. ๒๔๖๐ เด็กชายเง่ือมกลับมาอยู่บ้าน เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่
โรงเรยี นวัดโพธาราม และเล่าเรียนทน่ี ี่จนถึงชน้ั มัธยม
พ.ศ. ๒๔๖๔ ยา้ ยมาเรยี นชนั้ มธั ยมปที ่ี ๒ ทโี่ รงเรยี นสารภอี ทุ ศิ ตำ� บลตลาด
เพอื่ จะไดอ้ ยกู่ บั บดิ า ซง่ึ มาเปดิ รา้ นคา้ ขายขา้ วเปลอื กทต่ี ลาดไชยา เดก็ ชายเงอื่ มตอ้ ง

l 18 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

รับหน้าท่ีล�ำเลียงสนิ ค้าจากบ้านทไี่ ชยาไปบา้ นทพ่ี ุมเรยี ง
พ.ศ. ๒๔๖๕ บิดาถึงแก่กรรมด้วยโรคลมปัจจุบัน ในช่วงที่เด็กหนุ่มเง่ือม
กำ� ลงั เรียนหนงั สืออย่ชู ั้น ม. ๓ เมื่อจบช้นั ม. ๓ แล้วออกจากโรงเรียนมาช่วยด�ำเนนิ
การคา้ กบั มารดา และสง่ นอ้ งชาย ซงึ่ ในขณะนน้ั เปน็ สามเณรยเี่ กย ใหม้ โี อกาสไดเ้ รยี น
ท่โี รงเรยี นประจำ� จังหวัดสุราษฎร์ธานี

๓. การเกดิ ขึ้นของส�ำนกั สวนโมกขพลาราม

เร่มิ กอ่ ตงั้ สวนโมกขพลาราม ที่ อ.ไชยา ทา่ นพุทธทาสภกิ ขุอุทิศตนเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาจนกระทง่ั ถงึ แกม่ รภาพอยา่ งสงบ ณ สวนโมกขพลาราม เมอื่ วนั ที่ ๘
ก.ค. ๒๕๓๖
ทา่ นพทุ ธทาสภิกขเุ ปน็ ผรู้ ิเริม่ ก่อตง้ั สวนโมกขพลาราม เม่อื วนั ที่ ๑๒ พ.ค.
๒๔๗๕ และหันมาเน้นการเผยแผ่ศาสนาด้วยด้วยการใช้ปากกาโดยใช้นามปากว่า
“พทุ ธทาส” การกอ่ ตง้ั สวนโมกขพลารามนอกจากจะเปน็ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา
ด้วยการออกหนังสือและยังเป็นสถานท่ีปฏิบัติธรรม ผลงานของท่านพุทธทาสภิกขุ
ยงั มปี รากฏอยมู่ ากมายทง้ั ในรปู พระธรรมเทศนา โดยทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขตุ ง้ั ใจทำ� การ
ถ่ายทอดพระพุทธศาสนาให้อยู่ในฐานะท่ีเป็นพุทธศาสนา อย่างแท้จริง น่ันคือเป็น
ศาสนาแหง่ ความรู้ ความตนื่ ความเบกิ บาน ไมเ่ จอื ปนไปดว้ ยความหลงผดิ ทเี่ ขา้ แทรก
มากมายจนกลายเปน็ เนอ้ื รา้ ยทค่ี อยกดั กนิ ทง้ั เรอื่ งพทุ ธพาณชิ ย์ เรอ่ื งไสยศาสตร์ เรอ่ื ง
ลัทธพิ ราหมณ์ เร่อื งความยึดมนั่ ถือมัน่ ในบญุ บาป เรอ่ื งความหลงใหลในยศลาภของ
พระสงฆ์ และเรื่องปลีกย่อยอืน่ ๆ อีกมากมาย ทา่ นพุทธทาสภกิ ขุมงุ่ ช้ีให้ชาวพุทธท้ัง
หลายเหน็ ถงึ มจิ ฉาทฐิ แิ ละสลี พั พตปรามาส ดว้ ยเหตนุ ท้ี ำ� ใหห้ ลายคนขนานนามทา่ น
พทุ ธทาสภกิ ขวุ า่ เปน็ พระผปู้ ฏริ ปู แตแ่ ทจ้ รงิ แลว้ คำ� สอนของทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขกุ ไ็ มม่ ี
อะไรนอกเหนอื ไปกวา่ ความจรงิ อนั สงู สดุ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงคน้ พบเลย เพยี งแตร่ ะยะ
เวลาอันยาวนานได้ท�ำให้ความเข้าใจค�ำสอนของพระพุทธเจ้าเปลี่ยนแปรหรือถูก
เบยี่ งเบนไป ทา่ นพุทธทาสภิกขจุ ึงท�ำหนา้ ที่เสมือนผู้กล่ันใหพ้ ระพทุ ธศาสนากลบั มา
บรสิ ทุ ธ์ิอีกคร้งั

l 19 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ ัน

๔. คำ� สอนสำ� คญั ของสำ� นกั สวนโมกขพลาราม

การกระท�ำของผู้นั้น ผลเกิดจากการกระท�ำของผู้ใด ผู้นั้นต้องได้รับอย่าง
แนน่ อนและยตุ ธิ รรม ไมม่ ใี ครอาจสบั เปลยี่ น ตวั ผทู้ ำ� กบั ตวั ผรู้ บั หรอื มอี ำ� นาจเหนอื
กฎอันน้ไี ด้ น่เี รียกวา่ ลัทธิกรรม มีเป็นหลกั สั้นๆ ว่า สตั วท์ ั้งหลาย มกี รรมเปน็ ของ
ตน หมนุ ไปตามอำ� นาจเกา่ ซง่ึ ในระหวา่ งนน้ั กท็ ำ� กรรมใหม่ เพม่ิ เขา้ อนั จะกลายเปน็
กรรมเก่า ตอ่ ไปตามลำ� ดับ เป็นเหตุและผลของกนั และกัน ไมร่ ู้จกั ส้ินสุด คาบเกี่ยว
เนอ่ื งกนั เหมอื นลกู โซ่ ไมข่ าดสาย เราเรยี กความเกยี่ วพนั อนั นก้ี นั วา่ สงั สารวฏั หรอื
สายกรรม มนั คาบเกย่ี วระหวา่ ง นาทนี ้ี กบั นาทหี นา้ หรอื ชว่ั โมงนกี้ บั ชวั่ โมงหนา้ วนั
น้ีกับวันหน้า เดือนน้ีกับเดือนหน้า ปีนี้กับปีหน้า จนถึง ชาตินี้กับชาติหน้า สับสน
แทรกแซงกนั จนรไู้ ด้ยาก วา่ อันไหน เปน็ เหตุของอันไหนแน่ ดูเผนิ ๆ จงึ คล้ายกบั วา่
มีใครคอยบนั ดาล สายกรรม ประจ�ำบุคคลหนึ่งๆ ย่อมผิดจากของอีกคนหนึง่ เพราะ
ฉะนน้ั ตา่ งคน จงึ ตา่ งเปน็ ไปตาม แนวกรรม ของตน ไมเ่ หมอื นกนั กรรมเปน็ เหตุ สขุ
และทุกข์เป็นผลเกิดมาแต่กรรมน้นั ๆ
นอกจากแกน่ ค�ำสอนเรอ่ื ง ธรรม ๙ ตา11 ได้แก๑่ . อนจิ จตา ๒. ทกุ ขตา ๓.
อนตั ตา ๔. อทิ ปั ปจั จยตา ๕. สญุ ญตา ๖. ธมั มฏั ฐิตา ๗. ธัมมนิยามตา ๘. อตมั มย
ตา ๙. ตถตา

๕. วิเคราะห์องคค์ วามรู้

สาระสำ� คญั ในการสอนของสำ� นกั สวนโมกพลารามนนั้ ดเู หมอื นทา่ นจะเนน้
ไปทกี่ ารกระทำ� ของผนู้ น้ั ผลเกดิ จากการกระทำ� ของผใู้ ด ผนู้ น้ั ตอ้ งไดร้ บั อยา่ งแนน่ อน
และยุตธิ รรม ไม่มีใครอาจสับเปลี่ยน ตัวผู้ท�ำ กบั ตวั ผู้รับ หรอื มอี �ำนาจเหนอื กฎอัน
น้ไี ด้ นีเ่ รยี กว่า ลทั ธิกรรม มเี ป็นหลักสัน้ ๆ ว่า สัตว์ท้งั หลาย มกี รรมเป็นของตน สตั ว์
ท้ังหลายหมุนไปตามอ�ำนาจเก่าซึ่งในระหว่างน้ันก็ท�ำกรรมใหม่เพ่ิมเข้ามากรรมเพ่ิม
เขา้ มากจ็ ะกลายเปน็ กรรมเกา่ ตอ่ ไปตามลำ� ดบั เปน็ เหตแุ ละผลของกนั และกนั ไมร่ จู้ กั
ส้ินสุด คาบเก่ียวเน่อื งกันเหมือนลกู โซ่ ไมข่ าดสาย เราเรียกความเกี่ยวพันอนั นีก้ นั ว่า
สงั สารวฏั หรอื สายกรรม มนั คาบเก่ยี วระหว่างนาทนี ีก้ บั นาทหี น้า หรือ ชวั่ โมงนกี้ บั

11 เสถียรพงษ์วรรณปก, สองอาจารยผ์ ูย้ ิ่งใหญ,่ (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร, ๒๕๔๙), หน้า ๘๓.

l 20 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

ช่ัวโมงหนา้ วันนี้กับวนั หน้า เดอื นน้กี ับเดอื นหน้า ปีนี้กบั ปีหน้า จนถึงชาตนิ ก้ี ับชาติ
หน้า สับสน แทรกแซงกันจนรู้ได้ยากว่าอันไหนเป็นเหตุของอันไหนกันแน่ ดูเผินๆ
จึงคล้ายกับว่ามีใครคอยบันดาล สายกรรมประจ�ำบุคคลหน่ึงๆ ย่อมผิดจากของอีก
คนหนงึ่ เพราะฉะนนั้ ตา่ งคนจงึ ตา่ งเปน็ ไปตามแนวกรรม ของตนไมเ่ หมอื นกนั กรรม
เป็นเหตุสขุ และทกุ ข์เปน็ ผลเกดิ มาแต่กรรมนนั้ ๆ
สงิ่ ทน่ี า่ สนใจอกี ประการหนงึ่ ในหลกั การเผยแผข่ องสำ� นกั สวนโมกพลาราม
น้ันก็คือ ธรรม ๙ ตา ได้แก่ ๑. อนิจจตา ๒. ทกุ ขตา ๓. อนัตตา ๔. อทิ ปั ปัจจยตา
๕. สุญญตา ๖. ธมั มัฏฐิตา ๗. ธมั มนยิ ามตา ๘. อตัมมยตา ๙. ตถตา ทา่ นพทุ ธทาส
ภกิ ขถุ อื วา่ ธรรมเหลา่ นเ้ี ปน็ หวั ใจของพระพทุ ธศาสนา ทา่ นยงั อธบิ ายถงึ หลกั อกี ขอ้ วา่
สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภนิ เิ วสาย สรรพสง่ิ ไมค่ วรยึดมั่นถือมัน่ เพราะสอดคล้องกับไตร
ลกั ษณะ คอื อนจิ จตา (ความไมเ่ ทยี่ ง) ทกุ ขตา (ความถกู กดดนั ) และอนตั ตตา (ความ
หาสภาพท่ีเป็นตวั ตนแทจ้ ริงไมไ่ ด้) หรือกลา่ วตามภาษาท่ีคลอ่ งปากกันว่า ชวี ติ เป็น
อนิจจัง ทุกขัง อนตั ตาท้งั ๓ ประการนี้มีช่อื เรียกตามภาษาธรรมะวา่ ไตรลักษณ์
หรอื สามญั ญลกั ษณะ ชวี ติ เมอ่ื เกดิ ขน้ึ มาตง้ั แตก่ ำ� เนดิ ในครรภจ์ นกระทงั่ วาระสดุ ทา้ ย
ย่อมตกอยใู่ ตอ้ ำ� นาจของกฎธรรมชาติ ๓
วตั ถนุ ยิ ม : ทา่ นกม็ กั จะปฏเิ สธเพราะทา่ นใหท้ ศั นะคตเิ กย่ี ววตั ถนุ ยิ มวา่ มนั
เปน็ การเสพตดิ ทางวตั ถทุ ม่ี นั มอี ม่ิ มแี ตค่ วามวนุ่ วา่ ยไมม่ ที สี่ นิ สดุ ทา่ นดเู หมอื นจะเนน้
การอยปู่ า่ กนิ อยอู่ ยา่ งงา่ ย ๆ ซง่ึ ในจดุ นกี้ จ็ ะเหน็ คำ� ทที่ า่ นชอบใชก้ ค็ อื คำ� วา่ “กนิ ขา้ ว
จานแมว (กนิ งา่ ย) อาบน้�ำในคู (ใช้สอยค้มุ ค่า) นอนกฏุ ิเล้าหมู (นอนงา่ ย) ฟังยุง
ร้องเพลง (จิตสงบเย็น) อยู่เหมือนตายแล้ว (ตายจากความยึดมั่นถือม่ัน)”และ
“กนิ อยา่ งตำ�่ มุง่ กระทำ� อย่างสงู เปน็ อยู่อยา่ งงา่ ย มงุ่ กระทำ� สง่ิ ยาก ใชช้ ีวิตใกล้
ชิดกับธรรมชาติที่สุดน่ันก็คือ ลดอ�ำนาจกิเลสตามสัญชาตญาณด้ังเดิม หรือลด
การพ่ึงพาวัตถุส่วนเกิน”ท่านเน้นให้เห็นถึงความส�ำคัญในการสัมผัสกับธรรมชาติ
ให้คนเรามีเวลาคิดค้น ศึกษาให้มาก เมื่อพิจารณาถึงสิ่งท่ีเน้นให้เห็นธรรมชาติแล้ว
การใช้ชีวิตท่านก็ยังเน้นอย่างกรณีท่ีสถานที่อเนกประสงค์ของสวนโมกนั้นจะเห็น
สถานท่ีท่ีพระนั่งฉันกับพื้นทราย ญาติโยมน่ังตามพ้ืนตามโคนต้นไม้ ท่ีเป็นเช่นน้ีก็
เพราะท่านให้ความส�ำคัญกับประวัติศาสตร์ทางพระพุทธศาสนาว่าพระพุทธเจ้า

l 21 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

ประสูติที่พื้นดิน (สวนลุมพินี) ตรัสรู้ที่พ้ืนดิน (ใต้ต้นโพธิ์) และปรินิพพานที่พ้ืนดิน
(ระหวา่ งตน้ รงั ค)ู่ ในจดุ นๆ้ี เอง เมอ่ื มกี ารสรา้ งโบสถข์ องสวนโมกขจ์ งึ ไมม่ อี าคารเปน็
ท่กี ลางแจ้ง มีผูส้ รา้ งห้องน�ำ้ ถวายท่านๆ กไ็ มใ่ ช้ ทา่ นสรงน้ำ� ในโอง่ ข้างนอกและนอน
ทแ่ี ครเ่ ลก็ ๆ ปณธิ านอยา่ งหนง่ึ ของทา่ นคอื “นำ� เพอ่ื นมนษุ ยอ์ อกจากวตั ถนุ ยิ ม” เปน็
วธิ ีการช่วยให้คนพ้นทุกขไ์ ด้ง่าย
สังคมนยิ ม : ในสว่ นของสงั คมนยิ มตามหลักแห่งพระศาสนา ท่านกบั ไมไ่ ด้
พูดถึง “สังคมนิยม” ในความหมายที่เป็นรูปแบบการเมืองการปกครองในหลาย
ประเทศ แตท่ า่ นกบั พดู ถงึ แนวคดิ ทเ่ี นน้ สงั คม เพราะธรรมชาตอิ นั บรสิ ทุ ธน์ิ นั้ เปน็ เรอื่ ง
ของสงั คมนิยม ซ่ึงตรงกนั ขา้ มกับเสรนี ยิ มทเ่ี ปิดโอกาสใหค้ นแขง่ ขนั และกระตุ้นด้วย
กิเลสและผลประโยชน์แต่กับท่านพูดถึงสังคมนิยมในฐานะท่ีเป็นเจตนารมณ์ของ
ธรรมชาติ ที่ให้คนอยู่ร่วมกัน สัมพันธ์กันเกื้อกูลกัน ซ่ึงทุกศาสนาก็สอนเหมือนกัน
สอนไม่ใหค้ นเหน็ แกต่ วั และสงั คมในอดุ มคตทิ ที่ กุ ศาสนาสอนกล็ ว้ นแตส่ ะทอ้ นความ
เปน็ สงั คมนยิ ม ดังกรณที ่ที ่านยกเรือ่ ง “สงฆ์” ในพทุ ธศาสนา ว่าเปน็ สงั คมนิยมใน
อุดมคติ และบอกว่า พระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นผู้น�ำทม่ี ีอดุ มคตเิ ปน็ สังคมนยิ ม
การปกครอง : ในการปกครองท่านพุทธทาสยังยืนยันว่าระบอบการ
ปกครองชนดิ ก็ตามล้วนแล้วแตม่ คี วามดีอยใู่ นตวั เอง ใชไ้ ด้ทงั้ นัน้ มีประโยชนท์ ้ังสิ้น
ระบอบเผด็จการก็มีส่วนดี ถ้าผู้เผด็จการต้ังอยู่ในธรรมะหรือเผด็จการโดยธรรม ผู้
เผดจ็ การสามารถสงั่ การและทำ� งานไดร้ วดเรว็ กวา่ ไมต่ อ้ งมขี น้ั ตอนมากมาย ระบอบ
ประชาธปิ ไตย ก็มสี ว่ นดี ถา้ เป็นประชาธิปไตยทคี่ �ำนงึ ถงึ ประโยชนส์ ุขของประชาชน
เป็นใหญ่ มใิ ชป่ ระชาธิปไตยของคนพาลท่ีใชพ้ วกมากลากไป ประชาธปิ ไตยของพวก
คนพาลเป็นประชาธปิ ไตยบ้าบอ ไม่เป็นประโยชน์แตอ่ ย่างใด
การเมอื ง : ทา่ นพทุ ธทาสวางอดุ มคตไิ วท้ คี่ วามรกั ผอู้ นื่ หรอื ตงั้ อยบู่ นพนื้ ฐาน
ของธรรมทั้งหมดไม่ว่าการเมืองระบบไหนๆ จะต้องมีธรรมเป็นตัวก�ำกับจึงจะเป็น
ความมุ่งหมายส่วนใหญ่ของการเมือง มันจะต้องเป็นไปเพ่ือสันติของโลกโดย
ปราศจากการใช้อาญา นกั การเมืองจะต้องเปน็ สตั บุรุษผ้จู ัดโลกใหอ้ ยกู่ นั อย่างผาสกุ
โดยปราศจากอาญา

l 22 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

ด้านการศึกษา : ท่านพุทธทาสภิกขุมองว่าการศึกษาของประเทศไทยใน
ปัจจุบันเป็นการศึกษาแบบล้มเหลวเหมือนหมาหางด้วน ท่ีเช่นนี้ก็เพราะการศึกษา
ทั่วโลกมักมีแต่เพียงสองอย่าง คือ รู้หนังสือกับอาชีพแล้วก็ขมักเขม้นจัดกันอย่างดี
ทสี่ ดุ มนั กไ็ มม่ ผี ลอะไรมากไปกวา่ สองอยา่ งนน้ั มนั กย็ งั ขาดการศกึ ษาทที่ ำ� ใหม้ คี วาม
เปน็ มนษุ ย์ทถี่ ูกต้องอยู่นัน้ เอง ดังน้นั ท่านจึงเรยี กการศึกษาชนิดนว้ี ่า เป็นการศกึ ษา
เหมอื นกบั หมาหางดว้ น
ท่านยังย�้ำอีกท่ีหน่ึงว่า การศึกษาหมาหางด้วน มันรู้มาก รู้มากแต่เรื่อง
หนังสอื กบั วชิ าชพี แต่ไมม่ ีความร้เู สยี เลยวา่ จะดบั ทกุ ข์ในจติ ใจกนั อยา่ งไร ฉะนั้นการ
ศกึ ษาทวั่ โลกเวลานเี้ ปน็ การศกึ ษาหมาหางดว้ น เพราะไมป่ ระกอบไปดว้ ยวชิ ชาทดี่ บั
ทกุ ขม์ แี ตว่ ชิ ชาทจ่ี ะทำ� อะไรเพอื่ ปากเพอื่ ทอ้ งเพอ่ื อาชพี พอเผลอเขา้ ควบคมุ ไมไ่ ดอ้ นั
น้ันเกิดเป็นพิษเกิดปัญหาเกิดความทุกข์มากมายตามมา เพราะวิชชาชนิดนั้น ไม่
สามารถควบคุมความโลภโกรธและไม่ควบคมุ ความหลงได้ ศึกษาอยา่ งนไี้ มส่ ามารถ
เรยี กวา่ วชิ ชาไดเ้ พราะมนั มคี า่ เทา่ กบั อวชิ ชาตลอดเวลาทเี่ รายงั ไมม่ วี ชิ ชา เรากต็ กอยู่
ใตอ้ ำ� นาจสญั ชาตญาณทป่ี ราศจากวชิ ชาสญั ชาตญานเดมิ ๆทมี่ อี ยใู่ นตวั ตนของเราใน
สณั ชาตญานของมนษุ ยน์ นั้ มที ง้ั วชิ ชาและอวชิ ชาดง้ นน้ั คนเราจงึ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งมกี าร
ฝึกอบรมตนอยู่ตลอดเวลา
ส่วนระบบการศึกษาของชาติไทย ท่านพุทธทาสวิพากษ์วิจารณ์และ
วเิ คราะหไ์ วม้ าก ทา่ นเรยี กระบบการศกึ ษาทล่ี ม้ เหลวนว้ี า่ “ระบบการศกึ ษาหมาหาง
ด้วน” การศกึ ษาเปน็ สนุ ัขหางดว้ น ไมส่ มบรู ณ์ สอนให้คนรูห้ นังสือและมอี าชพี แต่
ไมส่ อนใหเ้ ปน็ มนษุ ยอ์ ย่างถูกต้อง จงึ เหมอื นหมาหางด้วนและเจดยี ย์ อดด้วนจบการ
ศึกษาแล้วยังติดยาเสพติด หรือท�ำคอร์รับชั่น ฯลฯ อันธพาลก็ผ่านการศึกษา จบ
ระดับปรญิ ญามาแลว้ ก็ยัง ตดิ ในรสอร่อยทรี่ ู้อย่วู ่าเป็นโทษ เชน่ บหุ ร่ี เหลา้ บางทแี ม้
หมอก็เอาดว้ ย นเ่ี ปน็ การศกึ ษาลักษณะหมาหางดว้ น คือมกี ารศกึ ษาแตว่ ชิ าหนงั สือ
และวิชาชีพเท่าน้ัน ไม่มีการศึกษาเรื่องมนุษย์ท่ีมีคุณธรรมอย่างถูกต้องตามหลัก
ศาสนา
ทัศนะคติเก่ียวกับพระสงฆ์ : ท่านเคยวิพากษ์ถึงเรื่องกฎคณะสงฆ์ท่ีออก
มาห้ามไม่ให้พระสงฆ์เก่ียวข้องกับการเมืองว่า หากเข้าใจการเมืองในความหมาย

l 23 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

ธรรมดาก็เห็นด้วย แต่ถา้ หากเข้าใจอย่างที่ท่านพดู มาแล้วนัน้ ท่านกบ็ อกวา่ ท�ำไมไ่ ด้
ซง่ึ กน็ า่ จะเปน็ เชน่ นนั้ เพราะทา่ นถอื วา่ ระบบพระธรรมในพระพทุ ธสาสนา มนั กเ็ ปน็
ระบบการเมืองระบบหน่ึงของสัจจธรรมของธรรมสัจจะ หรือของศาสนาก็มีระบบ
วางไว้ส�ำหรับจัดโลกน้ีให้อยู่กันอย่างผาสุก โดยปราศจากอาญา ฉะน้ันพระสงฆ์ท่ี
เก่ียวข้องกับการเมืองระบบนี้ได้อย่างเต็มที่ แต่อย่าไปเกี่ยวข้องระบบการเมืองของ
นกั การเมอื งสกปรกทที่ ำ� ไปดว้ ยกเิ ลสตณั หาโดยไมม่ ธี รรมสจั จะของพระพทุ ธเจา้ หรอื
ของศาสนาเลยเพราะขืนไปเก่ียวข้องมันก็พลอยเปน็ อยา่ งนัน้ ด้วย

๖. ผลกระทบต่อสังคม

สำ� นักสวนโมกข์ระยะเวลา ๕๐ ปี ส่งผลกระทบ เรียกกันว่า การปฏิรปู ใน
หลายๆ ลกั ษณะดว้ ยกัน ลักษณะเดน่ และสำ� คญั ดังนี้
๑. การวจิ ารณค์ วามเช่ือและการปฏิบตั ิศาสนาในสังคมไทย
๒. การอธิบายธรรมบางเรื่องใหม่
๓. การศกึ ษาเชิงเปรยี บเทยี บพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน
๔. การเก่ยี วขอ้ งกบั ศาสนาคริสต์และศาสนาอืน่ ๆ
๕. ทศั นะการเมอื งแบบ “ธรรมิกสังคมนยิ ม” ส�ำนกั สวนโมกขพลาราม
๖. ดา้ นการศกึ ษาโดยรณรงคใ์ หน้ ำ� หลกั คณุ ธรรม ศลี ธรรม หลกั จรยิ ธรรม
กลบั เข้าส่สู ถาบันการศึกษาใหไ้ ดเ้ รียนรปู้ ระพฤติปฏบิ ัติอยา่ งจรงิ จัง
๗. ด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยให้ความส�ำคัญกับสิ่ง
แวดลอ้ ม การสรา้ งถาวรวตั ถใุ หก้ ลมกลนื กบั ธรรมชาตกิ ารอนรุ กั ษต์ น้ ไมแ้ ละอนรุ กั ษ์
สตั วป์ า่ ทกุ ชนดิ ในบรเิ วณสวนโมกขพลารามและกำ� หนดใหผ้ ทู้ มี่ าปฏบิ ตั ธิ รรมตอ้ งให้
ความส�ำคัญกับการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อมดว้ ย

สรุปท้ายบท

คำ� ของพทุ ธทาสภกิ ขมุ คี วามหลากหลาย ครอบคลมุ ทกุ ปญั หาในสงั คมไทย
และสงั คมโลก มคี วามลกึ ซึ้งทางด้านศาสนา ด้านจิตวทิ ยา ด้านภาษาศาสตร์ ด้าน
การเมือง ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการศึกษาและแม้แต่ด้านศิลปะและสุนทรียภาพ

l 24 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

ส่ิงที่มากไปกล่าวหลักธรรมท่ีครอบคลุมทุปัญหาแล้วท่านยังกล้าวิพากษ์วิจารณ์
แนวคิดของนักปราชญ์ระดับต้นของพระพุทธศาสนาอย่างเช่นพระพุทธโฆสาจารย์
ในเร่ืองอธิบายปฏิจจสมุปบาทวา่ ยังมีความไมส่ มบูรณอ์ ยู่หรอื ไมถ่ ูกต้องนน้ั เอง ทงั้ ท่ี
พระพทุ ธโฆษาจารจเ์ ปน็ ปราชญท์ างพทุ ธศาสนาทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การตคี วามหลกั ธรรม
โดยไม่มีใครเคลือบแคลงสงสัย รวมทั้งท่านกล้าวิพากษ์พิธีกรรมและพิธีปฏิบัติตาม
ประเพณขี องชาวพทุ ธสง่ ผลให้เกิดการวิพากษ์วจิ ารณแ์ นวค�ำสอนของท่าน
วิธีการตีความของท่านก็เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ดูเหมือนว่าก�ำลังใช้ภาษาท่ี
เป็นไปในลักษณะปฏิวัติ หรือเป็นกบฏอย่างยิ่ง แต่ท่านพุทธทาสภิกขุก็มีความเป็น
นกั อนุรักษค์ �ำสอนพุทธศาสนาดั้งเดมิ อย่างย่งิ ดังค�ำยืนยงั ของพระพรหมมังคลาจาร
ย์ (ปัญญานนั ทภกิ ข)ุ สหายธรรมของท่านว่า พทุ ธทาสภกิ ขุศกึ ษาพระไตรปิฏกอย่าง
จรงิ จงั และถอ่ งแทจ้ นเขา้ ใจ ดงั นนั้ คำ� สอนของทา่ นจงึ มคี วามสอดคลอ้ งกบั พระพทุ ธ
ศาสนาและท่ีส�ำคัญที่สุด ท่านได้น�ำเอาแก่นธรรมไปแสดงในโอกาสต่างๆ เพ่ือแก้
ปญั หาในระดับต่างๆ อยา่ งไมเ่ คยเกิดขึ้นมาก่อนในประวตั ิศาสตร์ไทย โดยอา้ งพทุ ธ
พจนแ์ ละแกน่ คำ� สอนในพทุ ธศาสนาทถ่ี กู ตอ้ งนอกจากนพี้ ทุ ธทาสภกิ ขยุ งั เปน็ ผศู้ กึ ษา
คน้ ควา้ พระไตรปฏิ กเปน็ อยา่ งดี พรอ้ มทง้ั นำ� มารวบรวมเปน็ หนงั สอื ชดุ จากพระโอษฐ์
คอื พทุ ธประวตั จิ ากพระโอษฐป์ ฏจิ จสมปุ บาทจากพระโอษฐเ์ ปน็ การรวบรวมแกน่ คำ�
สอนพทุ ธศาสนาจากพระไตรปิฏก และน�ำเสนอในรูปแบบท่ีเปน็ สากล แตก่ ระน้ันก็
ยงั ไมท่ ้งิ ความเป็นอัตลกั ษณ์แห่งคัมภีร์หลักในพทุ ธศาสนา
ในช่วงแรกท่ีพุทธทาสภิกขุ ได้เร่ิมด�ำเนินชีวิตตามปณิธาน เนื่องจาก
บุคลิกภาพในวันหนุ่มท่ีแข็งกร้าวในสภาพสังคมท่ีเป็นช่วงเฉ่ือยทางวัฒนธรรม ทาง
จรยิ ธรรมและทางศาสนาธรรม แมค้ นในสงั คมไมเ่ ขา้ ใจแกน่ วฒั นธรรมของตนเอง แต่
ก็ไมม่ ีการตรวจสอบและวิพากษว์ จิ ารณ์ เมอ่ื พทุ ธทาสภิกขุ ลุกขน้ึ มาวพิ ากษ์วิจารณ์
ในลกั ษณะบนั ลอื สหี นาท เพอื่ จะแกค้ วามเขา้ ใจผดิ และการปฏบิ ตั ผิ ดิ ในทางพระพทุ ธ
ศาสนา ตลอดจนการขาดความสนใจในแกน่ ธรรม ทา่ นมคี วามกลา้ หาญ ทำ� ดว้ ยความ
เชอ่ื มนั่ ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วทำ� ใหก้ ารเสนอแนวคดิ ตา่ งๆ ของทา่ น ตกกระทบทำ� ใหเ้ กดิ
การกระเพอื่ มในวงการตา่ งๆ อยา่ งรนุ แรง และเปน็ ผลใหค้ ำ� สอนของทา่ นแทรกเขา้ ไป
ในวงการวชิ าการอย่างมาก

l 25 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

ดว้ ยเหตนุ จ้ี งึ ทำ� ใหค้ ำ� สอนของพทุ ธทาสภกิ ขมุ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ตอ่
วงการตา่ งๆ ทหี่ ลากหลาย คอื ทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขอุ า่ นมาก โยนโิ สมนสกิ ารอยา่ งจรงิ
ดงั ทท่ี า่ นกลา่ ววา่ ทา่ นอา่ นหนงึ่ สว่ น โยนโิ สมนสกิ ารสบิ สว่ น นอกจากอา่ นและศกึ ษา
ศาสตร์ท่ีหลากหลายแล้ว ท่านยังสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดกับปราชญ์อย่างมาก
ด้วย จากนั้นท่านน�ำไปทดลองปฏิบัติอย่างจริงจัง ท่านปฏิบัติมาก อยู่ใกล้ชิดกับ
ธรรมชาติมาก สามารถประสานระหว่างความเป็นพระป่ากับเทคโนโลยี ประสาน
ระหว่างความเป็นนักอ่านกับทดลองปฏิบัติอย่างต่อเานื่องส่งผลให้ท่านประสาน
ประสบการณเ์ ฉพาะตวั ได้ โดยไมท่ อดทงิ้ พระคมั ภรี ด์ ง้ั เดมิ นอกจากนท้ี า่ นยงั สบื สาน
อดตี ปจั จบุ นั แลว้ ปทู างสอู่ นาคตได้ ทำ� ใหค้ ำ� สอนของทา่ นทนตอ่ การพสิ จู น์ แมจ้ ะถกู
วิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรงในช่วงแรกๆ แต่ก็เป็นท่ียอมรับในกาลต่อมาและยิ่งเป็น
ทยี่ อมรบั มากขึ้นรวมทั้งไดร้ บั การอ้างเพ่ิมข้ึนตามลำ� ดับ

l 26 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบนั

อนาคาริก ธรรมปาละ

๑. บทน�ำ

“...หลงั จากทพ่ี ระพทุ ธศาสนาไดถ้ กู เนรเทศออกไปเปน็ เวลานานถึง ๘๐๐
ปี ชาวพทุ ธทงั้ หลายกไ็ ดก้ ลบั คนื มายงั พทุ ธสถานอนั เปน็ ทร่ี กั ของตนนอี้ กี ... เปน็ ความ
ปรารถนาของสมาคมมหาโพธิ ท่ีจะมอบพระธรรมค�ำสอนอันเปี่ยมด้วยพระมหา
กรุณาของพระพทุ ธองค์ ใหแ้ กป่ ระชาชนชาวอินเดยี ทัง้ มวล ไม่เลอื กชาตชิ ั้นวรรณะ
และลัทธินิกาย...ข้าพเจ้ามั่นใจว่าท่านทั้งหลาย จะพร้อมใจกันเผยแผ่อารยธรรม
(ธรรมอันประเสริฐ) ของพระตถาคตเจา้ ไปให้ตลอดทั่วทั้งอินเดีย...”
อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) เป็นบุคคลอีกท่าน
หนึ่งที่ท�ำการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อต้ังสมาคมมหาโพธิ์
และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ด้วยเหตุน้ี
จงึ สำ� คญั อยา่ งยิ่งที่จะต้องศึกษาแนวคดิ อดุ มการณ์ วสิ ัยทศั น์ของทา่ น เพียงเพราะ
แหง่ การอา่ นอา่ นหนังสอื เรอ่ื งประทปี แห่งเอเชียของทา่ นเซอร์ เอด็ วิลอาร์โนล กใ็ ห้
ท่านเกิดความซาบซ้ึงในพระพุทธศาสนาและมีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อ
พระพุทธองค์ถึงเพียงนี้ ด้วยศรัทธาท่ีเกิดจากการอ่านหนังสือเป็นตัวผักดันให้ท่าน
ตอ้ งทมุ่ เททง้ั แรงกายและแรงใจเพอ่ื พระพทุ ธศาสนา จนไดเ้ ดนิ ทางสอู่ นิ เดยี เพอื่ ศกึ ษา
ข้อเท็จจริง เม่ือเดินทางมาถึงอินเดียแล้วก็พบกับสภาพเจดีย์พุทธคยาท่ีช�ำรุดทรุด
โทรมถกู ทอดทงิ้ มกี ารมบี รู ณะ มกั ไปกวา่ นนั้ เจดยี พ์ ทุ ธคยายงั ถกู ครอบครองดว้ ยพวก
มหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ และเกิดแรงบันดาลใจที่อยากจะท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธ
ศาสนา จงึ ท�ำการอธษิ ฐานตอ่ ต้นพระศรีมหาโพธิว์ ่าจะถวายชีวติ เปน็ พทุ ธบูชา เพอ่ื
ฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและน�ำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธท่ัว
โลกใหไ้ ด้

l 27 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

๒. ประวตั ิ ท่านอนาคารกิ ธรรมปาละ

๒.๑ ชีวติ ปฐมวัย
เกิดเมอื่ วันท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๐๗ ทีเ่ มอื งโคลมั โบ ประเทศศรีลังกา
เดิมมีชือ่ วา่ “ดอน เดวดิ เววาวิตารเน (Don DevidVewavitarne)
บิดา ชื่อ ดอน คาโรลิสเววาวิตารเน
มารดา ชื่อวา่ มัลลกิ า เววาวติ รเน (ธรรมคณุ วฒั นะ)
๒.๒ การศกึ ษา
- จบการศกึ ษาจากเรยี นในโรงเรยี นของมชิ ชนั นารเี มอื งโคลมั โบประเทศ
ศรลี งั กา
- มคี วามรู้ความช�ำนาญเกย่ี วกับประวัตศิ าสตรข์ องประเทศ
๒.๓ ออกบรรพชา
ท่านธรรมปาละ ได้ตั้งใจไว้ตั้งแต่ต้นว่า หากท่านจะตายขอตายในเพศ
บรรพชติ ดงั นนั้ ทา่ นจงึ ไดร้ บั การบรรพชา (บวชเปน็ สามเณร) ท่ี วดั มลู คนั ธกฎุ วิ หิ าร
ซึ่งเป็นวดั ท่สี ร้างขึน้ ในบริเวณหา่ งจากสารนาถ ซ่งึ เปน็ สถานทีแ่ สดงปฐมเทศนาของ
พระพทุ ธองค์ ในวนั ท่ี ๑๓ กรกฎาคม ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ โดย มพี ระโพธิรกุ ขมเู ลเรวตะ
เถระ จากศรีลงั กาเป็นอปุ ชั ฌาย์
ถงึ บดั นี้ สขุ ภาพของทา่ นธรรมปาละกเ็ รมิ่ เจบ็ หนกั ขน้ึ เพราะการตรากตรำ�
ท�ำงานหนกั มากเกนิ ไป แต่ท่านกไ็ ด้ปรารถนาทจี่ ะไดบ้ วชเป็นพระภิกษุให้ได ้ ณ วนั
ที่ ๑๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๗๔ ทวี่ ดั มลู คนั ธกฎุ วิ หิ ารกไ็ ดท้ ำ� พธิ เี ปดิ อยา่ งเปน็ ทางการ
และมกี ารผกู พทั ธสมี าเปน็ วดั โดยสมบรู ณ์ โดยคณะสงฆศ์ รลี งั กา สน้ิ เงนิ การสรา้ งวดั
ตลอดจนเงนิ คา่ จา้ ง ชา่ งชาวญป่ี นุ่ คอื โกเซทซุ โนสุ มาเขยี นภาพฝาผนงั พทุ ธประวตั ิ
รวมทง้ั หมด ๑๓๐,๐๐๐ รูปี
วนั เปดิ มลู คนั ธกฎุ วิ หิ าร มชี าวพทุ ธและขา้ ราชการรฐั บาลอนิ เดยี หลายทา่ น
และชาวพุทธจากต่างประเทศมากมาย ได้มาร่วมงานกว่าพันคน รัฐบาลอินเดียได้
มอบพระบรมสารีรกิ ธาตขุ องพระพทุ ธเจ้า ให้กบั ผู้แทนสมาคม ได้มกี ารน�ำพระธาตุ
ขึน้ สหู่ ลงั ช้าง แหร่ อบพระวิหารสามรอบ แลว้ จงึ นำ� ข้นึ ประดษิ ฐานยังยอดพระเจดยี ์
ในพระวหิ าร ทา่ นธรรมปาละไดก้ ลา่ วปราศรยั ในงานเปดิ วนั นน้ั ความตอนสดุ ทา้ ยท่ี

l 28 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบัน

น่าประทับใจว่า“...หลังจากท่ีพระพุทธศาสนาได้ถูกเนรเทศออกไปเป็นเวลานานถึง
๘๐๐ ปี ชาวพุทธท้ังหลายก็ได้กลับคืนมายังพุทธสถานอันเป็นที่รักของตนนี้อีก ...
เปน็ ความปรารถนาของสมาคมมหาโพธิ ทจ่ี ะมอบพระธรรมคำ� สอนอนั เปย่ี มดว้ ยพระ
มหากรุณาของพระพุทธองค์ ให้แก่ประชาชนชาวอินเดียท้ังมวล ไม่เลือกชาติชั้น
วรรณะ และลัทธินิกาย...ข้าพเจ้าม่ันใจว่าท่านทั้งหลาย จะพร้อมใจกันเผยแผ่
อารยธรรม (ธรรมอนั ประเสรฐิ ) ของพระตถาคตเจา้ ไปให้ตลอดทัว่ ทัง้ อนิ เดยี ...”

๔. การฟื้นฟูพระพทุ ธศาสนา

ทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละ เปน็ ผปู้ ระสานงานกบั เจา้ หนา้ ทขี่ องจงั หวดั คยา
เพื่อจุดประสงค์ที่จะเรียกร้องพระวิหารมหาโพธิท่ีพุทธคยาให้กลับมาเป็นของชาว
พทุ ธ ถึงแมว้ ่ามันจะยากสกั เพียงไรทา่ นก็ยังต้องเพยี รพยายาม เพราะการดแู ลพระ
วหิ ารมหาโพธใ์ิ นขณะเปน็ ของพวกมหันต์ แตท่ ่านก็ต้องท�ำด้วยเหตผุ ลวา่ สถานทน่ี ้ี
เปน็ พุทธสถาน
ทา่ นธรรมปาละไดเ้ ดนิ ทางกลบั มายงั โคลมั โบ เพอ่ื ทจ่ี ะไปจดั ตงั้ พทุ ธสมาคม
ขน้ึ มาใหเ้ ปน็ องคก์ รในการดำ� เนนิ การในการเรยี กรอ้ งพทุ ธคยาใหก้ ลบั คนื มาเปน็ ของ
ชาวพุทธอยา่ งจรงิ จงั พอวนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ กไ็ ดก้ อ่ ตง้ั พทุ ธสมาคม
ในช่ือวา่ “พุทธคยามหาโพธโิ ซไซเอต”ี้ ก็ได้รบั การตง้ั ขึน้ ณ กรุงโคลมั โบ ประเทศ
ลังกา มีท่านประธานนายก เอช. สุมังคลมหาเถระ เป็นนายกสมาคม พันเอกโอล
คอตตเ์ ปน็ ผ้อู �ำนวยการ ทา่ นธมั มปาละเปน็ เลขาธิการ นอกน้ีก็มีผ้แู ทนจากประเทศ
และกลุ่มชาวพุทธต่างๆ เข้าร่วม ในการก่อตั้งด้วย โดยเฉพาะอย่างย่ิง มีผู้แทน
จากประเทศไทยของเราเข้าร่วมด้วย คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า
จันทรทัตจุฑาธร (His Royal Highness Prince Chandradat Chudhadharn) ชอ่ื
ของสมาคมนี้ ต่อมาไดต้ ัดค�ำวา่ พทุ ธคยาออก คงไวแ้ ต่ มหาโพธิโซไซเอตี้ ดังปรากฎ
ในปจั จุบัน
จุดประสงคข์ องสมาคมมหาโพธิ ที่ไดจ้ ัดตั้งขึน้ ในคราวนน้ั คือ
๑. เพอื่ สรา้ งวดั พระพทุ ธศาสนาและกอ่ ตงั้ พทุ ธวทิ ยาลยั กบั สง่ คณะพระ
ภิกษุซึง่ เปน็ ผู้แทนของประเทศพระพทุ ธศาสนา คือ จนี ญป่ี ุน่ ไทย เขมร พม่า ลงั กา

l 29 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

จิตตะกอง เนปาล ธเิ บต และอารกนั ไปประจ�ำอยู่ ณ พทุ ธคยา
๒. เพื่อจัดพิมพว์ รรณคดีพระพทุ ธศาสนาขึ้นในภาษาอังกฤษ และภาษา
ท้องถ่ินของอนิ เดยี
หลังจากนั้น ในวนั อาสาฬหปรุ ณมี ทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละไดก้ ลับไปยงั
พทุ ธคยา พร้อมกบั พระภิกษชุ าวลังกาอกี ๔ รูป ทพ่ี ร้อมจะมาร่วมดว้ ยกับท่าน การ
ขอมติในการสร้างที่พักในเขตพุทธคยาในครั้งนี้ท่านได้ขอติดต่อกับพวกมหันต์อย่าง
ยากล�ำบาก ขณะนน้ั เป็นยคุ ของเหมนารยนั คี มหันต์ไดม้ ีมติใหท้ า่ นเชา่ ท่ีแปลงเล็กๆ
ส่วนหนง่ึ ในพทุ ธคยาเพื่อท�ำเปน็ ท่ีพัก ตอ่ มาในเดือนตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๓๔ ทา่ นธัมม
ปาละไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ ชาวพทุ ธระหวา่ งชาตขิ น้ึ ทพี่ ทุ ธคยา โดยมผี แู้ ทนชาวพทุ ธ
จากลงั กา จีน ญ่ีปนุ่ และจติ ตะกอง เข้าร่วมประชุม ซ่งึ ไดม้ ีการประชมุ กนั ในวนั ท่ี
๓๑ ของเดือนตุลาคม ผู้แทนจากญ่ีปุ่นกล่าวว่า ชาวพุทธญี่ปุ่นยินดีท่ีจะสละทรัพย์
เพ่ือขอซื้อพุทธคยาคืนจากพวกมหันต์ ค�ำกล่าวน้ีเป็นที่อนุโมทนาในที่ประชุมอย่าง
มาก ทา่ นธัมมปาละไดใ้ ห้มีการประดบั ธงชาตญิ ี่ปนุ่ ไว้ขา้ งๆ ธงพระพทุ ธศาสนาเพอ่ื
เป็นเกยี รตแิ ก่ชาวพทุ ธญปี่ นุ่ แต่กลับไม่เปน็ ผลดี อย่างทค่ี ิด เม่อื ข้าหลวง เบงกอล
เดินทางมาถดั จากวนั ทีม่ กี ารประชมุ เพอ่ื จะมาเยีย่ มชมพทุ ธคยา แตเ่ มื่อเหน็ ธงชาติ
ญี่ปุ่น ก็เกิดระแวงข้ึนมาทันที เพราะขณะน้ันอังกฤษท่ีปกครองอินเดีย ยังวิตกกับ
ทา่ ทที างการเมอื งของญป่ี นุ่ อยู่ ทำ� ใหข้ า้ หลวงเบงกอล เดนิ ทางกลบั ทนั ที และปฏเิ สธ
ทจี่ ะพบกบั ผแู้ ทนชาวพทุ ธอยา่ งไมม่ ขี อ้ แม้ และยงั บอกผา่ นเจา้ หนา้ ที่ ไปยงั ทา่ นธมั ม
ปาละอกี วา่ พทุ ธคยาเปน็ ของพวกมหนั ต์ รฐั บาลจงึ ไมป่ ระสงคจ์ ะไปยงุ่ เกย่ี วใดๆ กบั
เรื่องนี้ ในการน้ันชาวพุทธ ได้เรียกร้องพุทธคยาให้กลับมาเป็นสมบัติของชาวพุทธ
เหมือนเดิมดูเหมอื นกลบั มือมนต่อไปมากขึ้นกวา่ เดมิ ดว้ ยซ้�ำ
หลงั จากนนั้ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ สมาคมมหาโพธิ กไ็ ดย้ า้ ยจากโคลมั โบมาอยู่
ทีก่ ลั กัตตา ท่อี ินเดยี และไดอ้ อกวารสารสมาคมมหาโพธิ (Mahabodhi Review)
ซึ่งยังคงอยู่จนปจั จุบันน้ี ถงึ ๑๑๑ ปี แลว้ และเป็นวารสารท่ีโดง่ ดังในทั้งตะวนั ออก
และตะวนั ตก ในชว่ งแรกๆ วา่ กนั วา่ ทา่ นธรรมปาละและทมี งานตอ้ งอดมอ้ื กนิ มอ้ื เพอ่ื
นำ� เงนิ ไปซอื้ แสตมปม์ าสง่ หนังสือกนั ทีเดียว

l 30 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ นั

๕. บทวเิ คราะห์องความรู้

ท่านธรรมปาลผู้เป็นคนชาวเนปาลโดยก�ำเนิด พื้นฐานทางครอบครัวของ
ทา่ นเปน็ พทุ ธศาสนกิ ชนทม่ี คี วามศรทั ธาในหลกั คำ� สอนทางพระพทุ ธศาสนา ดว้ ยเหตุ
นตี้ วั ทา่ นจงึ มคี วามผกู พนั กบั พระพทุ ธศาสนา จนกลายมาเปน็ ผเู้ รยี กรอ้ งพระพทุ ธศา
นากบั มาใหช้ าวพทุ ธและชาวโลก ทา่ นมคี วามมงุ่ มนั่ ในการทจี่ ะฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนา
ดว้ ยแรงศรทั ธา ดว้ ยการสรา้ งไมตรจี ิตกับคนท้ังโลก การสร้างไมตรีในครง้ั ยงิ่ ใหญ่นี้
ก็เพื่อจะรักษาพระพุทธศาสนาให้ต้ังหลักปักฐานในมาตุภูมิให้คนอินเดีย เพราะ
พระพทุ ธศาสนาเคยเปน็ ทเี่ คารพบชู าและกราบไหวข้ องคนอนิ เดยี มาแตส่ มยั โบราณ
แต่กับถูกท�ำรายด้วยน้�ำมือของคนอินเดียเอง ส่ิงเหล่าคงท�ำให้ท่านธรรม ปาละผู้มี
ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเกิดความเศร้าใจ ย่ิงเห็นการกระท�ำที่ไร้เยื่อใยหรือการก
ระท�ำท่ีน่าเศร้าใจก็คือ การน�ำสิ่งท่ีผู้คนเคยเคารพบูชา เช่น น�ำพระพุทธรูปใช้เป็น
ฐานรองรับบันไดที่ท่าตักน้�ำของพวกมหันต์ ความอดสูและระทมใจท่ีเห็นเช่นน้ัน
จึงเป็นประเด็นที่ส�ำคัญท่ีท�ำให้ท่านต้องต่อสู่เพ่ือชาวพุทธท่ีไม่มีปากเสียงใดๆ ใน
ประเทศอนิ เดยี
ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั ทา่ นยังเหน็ สภาพของวหิ ารพทุ ธคยาที่เต็มไปดว้ ยแผ่นสลกั มี
ความงามของวหิ ารพทุ ธคยาไดถ้ กู ชาวนาในหมบู่ า้ นรอบๆ วหิ ารพทุ ธคยานำ� แผน่ สลกั
น้ันมาท�ำเป็นข้ันบันไดของพวกเขา บางช้ินส่วนก็อยู่ใต้กองขยะด้านตะวันออกของ
วังมหันต์ บางส่วนติดอยู่กับผนังด้านตะวันออกของสวนมะม่วงริมแม่น้�ำและรั้วเสา
หนิ พระเจา้ อโศกซง่ึ เปน็ สงิ่ ทมี่ คี า่ สงู สดุ ของอนิ เดยี ซง่ึ ลอ้ มวหิ าร แตป่ จั จบุ นั กลายเปน็
สว่ นหนงึ่ ของหอ้ งครวั พวกมหนั ตส์ งิ่ เหลา่ นก้ี เ็ ปน็ ประเดน็ ทส่ี ำ� คญั เชน่ กนั ทที่ ำ� ใหท้ า่ น
ต้องเสนอตัวเพ่ือกรอบกู้เกียรติคุณของพระพุทธศาสนาให้ประจักรแก่ชาวโลก
อีกครง้ั หนึง่

๖. ผลกระทบต่อสงั คม

ทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละ รัตนบรุ ษุ แหง่ ศรลี ังกา ผ้เู ต็มเปีย่ มไปดว้ ยมหา
ปณิธานอันยิง่ ใหญ่ อุทิศชวี ติ ทงั้ ชวี ิตเพ่ือเรยี กร้องสิทธิ์อันชอบธรรมกลบั คนื มาส่ชู าว
พุทธ ด้วยการจัดต้ังองค์กรต่อสู้เคลื่อนไหวสร้างผลงานทางพระพุทธศาสนาให้แพร่

l 31 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

กระจอนกระจายไปสู่มหาภารตะชนได้ร่วมรับรู้และสนับสนุนข้อคิดเห็นในอันที่จะ
ผลกิ ฟน้ื พทุ ธธรรมกลบั มาสผู่ นื แผน่ ดนิ มาตภุ มู ิ ตลอดชวี ติ ทต่ี รากตรำ� ไมย่ น่ ยอ่ ทอ้ ตอ่
อปุ สรรคใดๆ ถวายชวี ติ เพอื่ งานพระศาสนาตราบสนิ้ วาระสดุ ทา้ ยของทา่ น ทา่ นเปน็
บคุ คลแบบอยา่ งท่โี ลกตอ้ งจารกึ ไว้ อนั อนุชนรุ่นหลงั ควรศกึ ษาและชาวพทุ ธควรรบั
รถู้ งึ คณุ ปู การทท่ี า่ นมตี อ่ พระพทุ ธศาสนาไมค่ วรเลยทจี่ ะหลงลมื หรอื เลอื นหายไปจาก
ความทรงจ�ำ
ท่านสามารถเปิดแนวคิดของคนอินเดียให้รับเสรีภาพทางความคิดใหม่ๆ
ที่ก�ำลังเผยกระจายอยู่ในขณะน้ัน จนสร้างความกดดันให้กับรัฐบาลอินเดียจนให้
สญั ญาไวว้ ่าถ้าสรา้ งสมาคมวหิ ารใหญท่ ี่กัลกัตต้า และท่สี ารนาถ เมืองพาราณสแี ล้ว
เสร็จ จะยอมยกพระบรมธาตุท่ีรัฐบาลรักษาไว้ให้แก่สมาคมสมาคมรับสร้างวิหารท่ี
กัลกัตต้าเป็นเงิน ๕๐,๐๐๐ รูปี ผลสุดท้ายก็สร้างเสร็จและได้ต้ังชื่อว่า ศรีธรรมะ
ราชิกะเจดีย์วิหาร น้ีเป็นอีกสวนหนึ่งท่ีท่านธรรมปาลได้สร้างคุณูปการในพระพุทธ
ศาสนา

สรุปท้ายบท

ท่านอนาคาริก ธรรมปาละ เป็นบุคคลธรรมดา ที่เกิดในตระกูลชาวพุทธ
ลงั กา แตท่ า่ นไดท้ �ำคณุ ประโยชนแ์ กพ่ ระพุทธศาสนาที่อินเดีย และทีล่ ังกามากมาย
ท่านเป็นผู้ที่จุดประกายให้ชาวอินเดียได้หันกลับมามองถึงสิ่งท่ีชาวอินเดียลืมเลือน
ไป กค็ อื พระพทุ ธศาสนา ทา่ นเปน็ ผทู้ ำ� ใหพ้ ระพทุ ธศาสนากลบั มายงั มาตภุ มู ิ ถนิ่ เกดิ
ของตนเองอีกคร้ัง ท่านธรรมปาละ เป็นอมตบุคคลและเป็นรัตนบุรุษผู้หนึ่งที่
พทุ ธศาสนกิ ชนพงึ จดจำ� และระลกึ ถงึ ทา่ น ชาวพทุ ธควรตระหนกั ถงึ แนวทางของทา่ น
แล้วน�ำมาเป็นแบบด�ำเนินชีวิต ท่านธรรมปาละได้อุทิศท้ังแรงกายและแรงใจ เพ่ือ
เชดิ ชู เพอ่ื รกั ษา เพอื่ เผยแผพ่ ระพทุ ธธรรมของพระพทุ ธองค์ จนกระทงั่ วาระสดุ ทา้ ย
แหง่ ชีวิต
การมุ่งมั่นท�ำงานเพื่อพระพุทธศาสนาและมนุษยชาติของท่านอนาคาริก
ธรรมปาละเปน็ สง่ิ ทีค่ วรสรรเสรญิ ทา่ นได้พยามยามท�ำงานเพอื่ น�ำพระพทุ ธศาสนา
มาสู่อินเดียจนส�ำเร็จ รวมตลอดถึงเป็นผู้ร่วมเรียกร้องให้พุทธคยา ได้กลับมาอยู่ใน

l 32 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

ความดูแลของชาวพุทธจนเป็นเป็นผลส�ำเร็จ หัวสิงห์บนยอดเขาอโศก ณ จุดแสดง
ปฐมเทศนา เป็นที่เลื่องลือถึงความเป็นศิลปะชั้นเย่ียม และความหมายของการ
ประกาศพระธรรมได้กึกก้องไปท่ัวทุกสารทิศ ปัจจุบันรัฐบาลอินเดียเก็บรักษาไว้ใน
พิพิธภัณฑ์ และใช้เป็นตราประจ�ำชาติ ธรรมจักรที่ฐานก็ปรากฎอยู่ในธงชาติของ
อนิ เดยี ด้วยเช่นกนั
การยึดม่ันนับถือพระพุทธศาสนา ตลอดชีวิตของท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อ
พระพทุ ธศาสนา โดยทง้ั การเผยแผ่ การกอ่ ตั้งสถาบันทางพุทธศาสนา สถาบนั การ
ศึกษาพระพุทธศาสนา เป็นต้นนอกจากน้ีท่านธรรมปาละ เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูง
ตอ่ การฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาในอนิ เดยี ประโยชนท์ ที่ า่ นฝากไวใ้ นพระพทุ ธศาสนาพอ
สรปุ ได้ดังน้ี
เปน็ ผจู้ ดุ ประกายการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาในอนิ เดยี ทำ� ใหช้ าวอนิ เดยี ซง่ึ
แทบจะลมื เลอื นพระพทุ ธศาสนา จนหมดสน้ิ แลว้ หนั กลบั มาแนวทางแหง่ อรยิ มรรค
แห่งพระพทุ ธองค์อกี ครัง้

l 33 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบนั

ดร. เอม็ เบด็ การ์

๑. ความน�ำ

“ดกู รภกิ ษทุ ั้งหลาย พวกเธอมาจากตระกูลตา่ งๆ กนั ย่อมมีความเสมอกัน
เมอื่ มาสธู่ รรมวนิ ยั นแ้ี ลว้ เหมอื นมหาสมทุ ร ยอ่ มเปน็ ทรี่ วมของนำ้� ทไ่ี หลมาจากแมน่ ำ�้
และทะเลตา่ งๆ เมอื่ มาสมู่ หาสมทุ รแลว้ กไ็ มส่ ามารถจะแยกไดว้ า่ นำ้� สว่ นไหนมาจาก
ทีใ่ ด”
พทุ ธศาสนาถอื กำ� เนดิ และเคยยงิ่ ใหญใ่ นชมพทู วปี แตก่ ลบั สญู สลายไปจาก
ดนิ แดนมาตภุ มู ไิ ปเกือบส้ินในภายหลัง จนเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๐ (ตรงกบั พ.ศ. ๒๔๙๙
ของไทย) (ในอินเดยี เปน็ ปี ๒๕๐๐ อินเดียนบั พทุ ธศักราชเรว็ กวา่ ไทย ๑ ปี เช่นเดยี ว
กับพม่า และลังกา)ได้มีชาวอินเดียวรรณะต�่ำประมาณ ๕ แสนคน ประกาศตนมา
นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ด้วยการนำ� ของ ดร.เอ็มเบ็ดก้าร์ (Dr. Babasaheb Bhimra-
oRamji Ambedkar) จงึ ไดม้ ชี าวพทุ ธเกดิ ขนึ้ ในอนิ เดยี อกี ครงั้ เรยี กวา่ กลมุ่ ชาวพทุ ธ
ใหม่ (New Buddhist) มมี ากทส่ี ดุ ในเมอื งนาคปรู ์ ตอนกลางของอนิ เดยี จากนน้ั กไ็ ด้
มีชาวอินเดียวรรณะต�่ำได้หันมานับถือพระพุทธศาสนาอย่างต่อเน่ือง และได้มีการ
ประกาศตนเปน็ ชาวพทุ ธอยหู่ ลายเมือง เชน่ เมอื งนาคปรู ,์ เมืองคยา, เมืองเดลี ฯลฯ
ปัจจุบันมีชาวอนิ เดยี ท่หี ันมานับถือพระพทุ ธศาสนาประมาณ ๒๐ ลา้ นคน ทงั้ นี้ ยัง
ไม่ได้นับรวมชาวพุทธท่ีอพยพมาจากทิเบตในสมัยที่ถูกจีนรุกราน ซึ่งได้กระจายอยู่
ในเมืองตา่ งๆ ของอนิ เดยี

๑. ประวตั ิของ ดร. เอ็มเบดการ์

ดร.เอ็มเบ็ดก้าร์เกิดวนั ที่ ๑๔ เมษายน ๒๔๓๔ ที่หมู่บา้ นอมั พาวดี อำ� เภอ
รัตนคีรี รฐั มหาราษฏร(์ บอมเบย)์ ประเทศอินเดยี เปน็ บตุ รชายคนสุดท้อง คนที่ ๑๔
ของ รามจิ สกั ปาล และนางพมิ มาไบ สักปาล12

12 วริ ัช ถิรพันธุเ์ มธ,ี ดร.อมั เบ็ดก้ารร์ ตั นบุรษุ สลมั , (กรงุ เทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓), หน้า ๑๙.

l 34 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

๑.๑ การศึกษา
ประถม ณ หมบู่ า้ นดาโปลี
มัธยมศึกษา ณ เอลฟินสตน้ั ไฮสคูล (Elphiston High School)
ปริญญาตรี ณ มหาวทิ ยาลยั บอมเบย์
ปรญิ ญาโท ณ มหาวทิ ยาลยั โคลมั เบีย สหรัฐอเมรกิ า
ปรญิ ญาเอก ณ มหาวทิ ยาลัยโคลมั เบยี สหรัฐอเมรกิ า

๒. การฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนา

ดร.อมั เบด็ การไ์ ดก้ ระทำ� สงิ่ ซง่ึ มคี ณุ ปู การมากตอ่ พระพทุ ธศาสนาในประเทศ
อนิ เดียคือ การเป็นผู้นำ� ชาวพุทธศทู รกว่า ๕ แสนคน ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ
ซ่ึง ดร.อัมเบ็ดการ์สนใจพระพุทธศาสนามานานแล้ว โดยเฉพาะจากการได้อ่าน
หนังสือพระประวัติของพระพุทธเจ้า ซึ่งเขียนโดยพระธัมมานันทะ โกสัมพี ชื่อว่า
“ภควาน บดุ ดา” (พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ) ท่านไดศ้ กึ ษาแลว้ วา่ พระพุทธศาสนาเป็น
ศาสนาทีไ่ มม่ ขี อ้ รงั เกียจในเรื่องวรรณะ ไมป่ ิดก้ันการศกึ ษาพระธรรม ให้ความเสมอ
ภาค และภราดรภาพ แกค่ นทกุ ชน้ั ในจติ ใจของ ดร.อมั เบด็ การ์ เปน็ ชาวพทุ ธอยกู่ อ่ น
แล้ว แต่ท่านตั้งใจจะท�ำให้เป็นรูปเป็นร่างยิ่งขึ้นก็คือ การปฏิญาณตนเป็นชาวพุทธ
พรอ้ มกบั พี่น้องชาวอธิศทู ร ในงานฉลองพุทธชยนั ติ (Buddhajayanti)
ดร.อัมเบ็ดการ์ ได้กล่าวสดุดีพระพุทธศาสนา โดยเขียนหนังสือเผยแผ่
พระพทุ ธธรรมหลายเลม่ เชน่ “พทุ ธธรรม” (Buddha and His Dhamma) “ลกั ษณะ
พิเศษของพระพทุ ธศาสนา” (The Essential of Buddhism) และคำ� ปาฐกถาอืน่ ๆ
ทีไ่ ดร้ ับการตพี มิ พ์ภายหลัง เชน่ “การทพี่ ระพุทธศาสนาหมดไปจากอินเดีย” (The
down fall of Buddhism in india) เป็นต้น
กอ่ นหนา้ ทจ่ี ะมงี านฉลองพทุ ธชยนั ตี เปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ อนิ เดยี ในขณะนนั้
มีชาวพุทธอยู่แทบจะเรียกได้ว่าเป็น อัพโภหารกิ คือน้อยจนเรียกไมไ่ ด้ว่ามี แตเ่ หตุ
ใดจงึ มงี านฉลองนขี้ น้ึ คำ� ตอบนน้ี า่ จะอยทู่ ี่ ทา่ นยวาหร์ าลเนรหู ์ ซง่ึ ไดก้ ลา่ วคำ� ปราศรยั
ไว้ในที่ประชุมโลกสภา (รัฐสภาของอินเดีย) เร่ืองการจัดงานฉลองพุทธชยันตี ว่า
“พระพทุ ธเจ้า เปน็ บตุ รท่ปี ราดเปรือ่ งย่งิ ใหญแ่ ละรอบร้ทู สี่ ดุ ของอินเดยี ในโลกน้ีซ่ึง

l 35 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

เต็มไปด้วยความวุ่นวาย เคียดแค้น และรุนแรง ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าส่องแสง
เหมอื นดวงอาทิตยท์ ีร่ ุ่งโรจน์ ไม่มคี นอินเดียคนใดท่จี ะนำ� เกียรตยิ ศ เกยี รติภมู ิ กลบั
มาสอู่ นิ เดยี ไดเ้ ทา่ กบั พระพทุ ธองค์ หากเราไมจ่ ดั งานฉลองทา่ นผนู้ แ้ี ลว้ เราจะไปฉลอง
วันส�ำคัญของใคร
ในงานฉลองพทุ ธชยนั ตนิ น้ั รฐั บาลอนิ เดยี ไดจ้ ดั สรรงบประมาณการจดั งาน
ฉลองตลอด ๑ ปีเต็ม โดยวนเวียนฉลองกันไปตามรัฐต่างๆ รัฐบาลได้อนุมัติงบ
ประมาณ อยา่ งเชน่ ทำ� การตดั ถนนเขา้ สพู่ ทุ ธสงั เวชนยี สถานตา่ งๆใหด้ ขี น้ึ สรา้ งธรรม
ศาลา อ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้มาร่วมงานพุทธชยันตีจากประเทศต่างๆ จัดพิมพ์
หนงั สือสดดุ พี ระพทุ ธศาสนา จัดท�ำหนงั สอื วชิ าการพระพุทธศาสนา โดยนกั ปราชญ์
หลายท่านเขียนขึ้น ประธานาธิบดีราธกฤษนัน เขียนค�ำน�ำสดุดีพุทธคุณ ให้ชื่อว่า
“2500 years of Buddhism” (๒๕๐๐ ปีแห่งพระพทุ ธศาสนา) ทว่ั ทง้ั อนิ เดีย ก้อง
ไปด้วยเสียง พุทธงั สรณงั คจั ฉาม1ิ 3

๓. กจิ กรรมส�ำคัญของ ดร.อัมเบดกา้ ร์

สว่ นในการปฏญิ าณตนเปน็ พทุ ธมามกะนน้ั ดร.อมั เบดกา้ รไ์ ดน้ ำ� ชาววรรณะ
ศทู ร ปฏิญาณตนเป็นพทุ ธมามกะทเ่ี มืองนาคปูร์ สาเหตทุ ่ีทา่ นเลือกเมืองน้ีแทนที่จะ
เป็นเมืองใหญ่ๆ อย่างบอมเบย์ หรือเดลี ท่านได้ให้เหตุผลว่า “ผู้ที่ท�ำการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาตอนแรกๆ นอกจากพระสงฆค์ อื พวกชนเผา่ นาค ซง่ึ ถกู พวกอารยัน
กดขขี่ ม่ เหง ตอ่ มาพวกนาคไดพ้ บกบั พระพทุ ธเจา้ พระองคไ์ ดท้ รงแสดงธรรมจนพวก
นาคเหล่าน้ันเล่ือมใส ปฏิญาณตนเป็นชาวพุทธและเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปท่ัว
เมอื งนาคปูร์น้ี เปน็ เมอื งทพ่ี วกนาคตัง้ หลักแหล่งอย”ู่ (คำ� กล่าวของท่านอมั เบดกา้ ร์
มมี ลู อยไุ่ มน่ อ้ ย และจะวา่ ไปแลว้ หลงั จากพระพทุ ธศาสนาเรมิ่ ถกู ทำ� ลายจากอนิ เดยี
เมอื งนาคปรู เ์ ปน็ เมอื งทม่ี ชี าวพทุ ธอาศยั อยมู่ าก และเปน็ เมอื งทม่ี ชี นชน้ั ศทู ร หรอื คน
วรรณะตำ่� อยมู่ ากอกี ดว้ ย ดงั นนั้ ศนู ยก์ ลางพทุ ธศาสนกิ ชนในอนิ เดยี ปจั จบุ นั ทเ่ี ปน็ คน
วรรณะศูทร จึงอย่ทู น่ี าคปูร)์

13 วริ ชั ถิรพนั ธ์เมธ,ี ดร.เอม็ เบ็ดก้าร์ รัฐบรุ ุษจากสลมั , (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๓),
หนา้ ๒๖๗.

l 36 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจุบัน

ในการปฏิญาณตนเป็นชาวพุทธ ๕ แสนคน เม่ือวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.
๒๕๐๐ (๒๔๙๙ ของไทย)14 นนั้ มีพระภกิ ษุอยูใ่ นพธิ รี ว่ มเป็นสกั ขีพยานด้วย ๓ รูป
คือ พระสังฆรัตนเถระ (Ven. M. Sangharatana Thera) พระสทั ธราตสิ สะเถระ
(Ven. S. Saddratissa Thera) และพระปัญญานันทะเถระ (Ven. Pannanand
Thera) ในพธิ มี กี ารประดบั ธงธรรมจกั รและสายรงุ้ อยา่ งงดงาม ในพธิ นี น้ั ผปู้ ฏญิ าณ
ตนไดก้ ล่าวค�ำปฏิญาณตนเปน็ พุทธมามกะ และ คำ� ปฏญิ ญาน ๒๒ ข้อ ของ ดร.อัม
เบดกา้ ร์ ดงั นี้
๑. ขา้ พเจา้ จะไมบ่ ูชาพระพรหม พระศิวะ พระวิษณตุ ่อไป
๒. ขา้ พเจา้ จะไมเ่ ชอ่ื วา่ พระราม พระกฤษณะ เปน็ พระเจา้ ขา้ พเจา้ จะไม่
เคารพตอ่ ไป
๓. ขา้ พเจา้ จะไมเ่ คารพบชู าเทวดาทงั้ หลายของศาสนาฮินดตู ่อไป
๔. ขา้ พเจ้าจะไมเ่ ชอื่ ลัทธอิ วตารต่อไป
๕. ขา้ พเจา้ จะไมเ่ ชอื่ วา่ พระพทุ ธเจา้ คอื อวตารของพระวษิ ณุ การเชอื่ เชน่
น้นั คือคนบา้
๖. ข้าพเจา้ จะไมท่ ำ� พธิ สี ารท และบิณฑบาตแบบฮนิ ดตู ่อไป
๗. ขา้ พเจ้าจะไมท่ ำ� สิ่งทีข่ ดั ต่อคำ� สอนของพระพุทธเจ้า
๘. ขา้ พเจ้าจะไมเ่ ชญิ พราหมณ์มาทำ� พธิ ีทกุ อยา่ งไป
๙. ข้าพเจ้าเชือ่ วา่ ทุกคนทเี่ กิดมาในโลกน้มี ศี ักดิศ์ รแี ละฐานะเสมอกัน
๑๐. ข้าพเจา้ จะต่อสเู้ พื่อความมีสิทธิเสรีภาพเสมอกนั
๑๑. ขา้ พเจ้าจะปฏิบตั มิ รรคมอี งค์ ๘ โดยครบถ้วน
๑๒. ข้าพเจา้ จะบำ� เพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ โดยครบถ้วน
๑๓. ขา้ พเจ้าจะแผ่เมตตาแก่มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ทุกจ�ำพวก
๑๔. ขา้ พเจ้าจะไม่ลกั ขโมยคนอืน่
๑๕. ข้าพเจา้ จะไม่ประพฤติผิดในกาม
๑๖. ขา้ พเจา้ จะไมพ่ ดู ปด
๑๗. ขา้ พเจา้ จะไม่ดม่ื สรุ า

14 วริ ชั ถริ พันธ์เมธ,ี ดร.เอ็มเบด็ กา้ ร์ รัฐบรุ ุษจากสลัม, หน้า ๒๖๗.

l 37 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

๑๘. ข้าพเจา้ จะบ�ำเพ็ญตนในทาน ศลี ภาวนา
๑๙. ข้าพเจ้าจะเลิกนับถือศาสนาฮินดู ที่ท�ำให้สังคมเลวทราม แบ่งชั้น
วรรณะ
๒๐. ข้าพเจา้ เช่ือว่าพุทธศาสนาเท่านัน้ ท่ีเป็นศาสนาที่แทจ้ รงิ
๒๑. ขา้ พเจา้ เชอ่ื วา่ การทข่ี า้ พเจา้ หนั มานบั ถอื พระพทุ ธศาสนานน้ั เปน็ การ
เกดิ ใหมท่ แี่ ทจ้ ริง
๒๒. ตั้งแต่น้ีเป็นต้นไป ข้าพเจ้าจะปฏิบัติตนตามค�ำสอนของพระพุทธ
ศาสนาอยา่ งเคร่งครัด15
หลังจากปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะแล้ว ท่านกล่าวว่า “ข้าพเจ้าเกิดมา
จากตระกลู ทนี่ บั ถอื ศาสนาฮนิ ดู แตข่ า้ พเจา้ จะขอตายในฐานะพทุ ธศาสนกิ ชน”16 คำ�
ปราศรยั ในท่ปี ระชมุ ปฏญิ าณตนเปน็ พุทธมามกะ ของ ดร.อัมเบดกา้ ร์ น้นั เป็นการ
แสดงถึงความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ต่อมาได้มีผู้พิมพ์ค�ำ
ปราศรยั นีล้ งเป็นหนังสอื เปน็ คำ� ปราศรัยทยี่ าวถงึ ๑๒๖ หนา้ ขนาด ๘ หน้ายก มี
ตอนหนง่ึ ทค่ี วรกลา่ วถงึ เชน่ “พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลาย พวกเธอมาจาก
ตระกูลต่างๆ กัน ย่อมมีความเสมอกันเมื่อมาสู่ธรรมวินัยนี้แล้ว เหมือนมหาสมุทร
ย่อมเป็นที่รวมของน�ำ้ ทไ่ี หลมาจากแมน่ ำ�้ และทะเลตา่ งๆ เมื่อมาสูม่ หาสมทุ รแลว้ ก็
ไม่สามารถจะแยกไดว้ ่าน้�ำสว่ นไหนมาจากทใี่ ด”17
“พระพทุ ธศาสนาเทา่ นนั้ ทป่ี ฏเิ สธระบบวรรณะ และคนบางคนไมม่ เี หตผุ ล
จะโจมตีพระพุทธศาสนา หรือไม่มีเหตุผลมาหักล้างค�ำสอนได้ ก็อ้างเอาอย่างหน้า
ดา้ นๆ ว่า ศาสนาพทุ ธเป็นศาสนาของพวกนอกวรรณะ”“ถ้าหากจะมีพระนามใด ท่ี
โจษขานกนั นอกประเทศอนิ เดยี ทโี่ ดง่ ดงั และกลา่ วกนั ดว้ ยความเคารพสกั การะแลว้
จะมใิ ช่พระนามของพระราม หรอื พระกฤษณะ แตจ่ ะเป็นพระนามของพระพุทธเจ้า
เทา่ นนั้ ”

15 ทเี่ มอื งมะฮาด ปจั จบุ นั มวี ทิ ยาลยั ทเ่ี ปดิ สอนทงั้ วชิ าสงั คมศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั ปรญิ ญาตรี ชอื่ วา่ วทิ ยาลยั ดร.เอม็
เบ็ดกา้ ร์ เปน็ วิทยาลยั หนงึ่ ของมหาวิทยาลัยนาปณุ า่

16 อริยวงั โส, ดร.อมั เบด็ ก้าร์รตั นบุรุษแหง่ ชมพทู ว,ี หน้า ๗๐.
17

l 38 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

๔. วิเคราะหอ์ งค์ความรู้

ดร.เอม็ เบด็ การเ์ ปน็ ผมู้ คี ณุ ปู การมากตอ่ พระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดยี
ท่านการเป็นผู้น�ำชาวพุทธศูทรกว่า ๕ แสนคน ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ ซ่ึง
ดร.เอม็ เบด็ การ์ สนใจพระพทุ ธศาสนามานานแลว้ โดยเฉพาะจากการไดอ้ า่ นหนงั สอื
พระประวตั ิของพระพทุ ธเจ้า ซึง่ เขยี นโดยพระธมั มานนั ทะ โกสัมพี ชื่อว่า “ภควาน
บุดดา” (พระผู้มีพระภาคเจ้า) ท่านได้ศึกษาแล้วว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่
ไมม่ ีขอ้ รงั เกียจในเร่ืองวรรณะ ไม่ปดิ กั้นการศกึ ษาพระธรรม ให้ความเสมอภาคและ
ภราดรภาพ แกค่ นทกุ ชนั้ ในจติ ใจของ ดร.เอม็ เบด็ การ์ เปน็ ชาวพทุ ธอยกู่ อ่ นแลว้ แต่
ท่านตั้งใจจะทำ� ใหเ้ ป็นรปู เป็นรา่ งย่ิงขนึ้ ก็คือ การปฏญิ าณตนเป็นชาวพทุ ธพร้อมกบั
พ่นี ้องชาวอธศิ ทู ร ในงานฉลองพทุ ธชยนั ติ (Buddhajayanti)
ดว้ ยเหตแุ หง่ การศกึ ษาของดร.เอม็ เบด็ การจ์ งึ ไดก้ ลา่ วสดดุ พี ระพทุ ธศาสนา
ว่าเป็นศาสนา จากประวัติศาสตร์เมืองเราได้ศึกษาก็จะพบว่าก่อนหน้าที่จะมีงาน
ฉลองพุทธชยนั ตี เปน็ ทีท่ ราบกันดวี า่ อนิ เดียในขณะน้นั มีชาวพทุ ธอยู่แทบจะเรยี ก
ไดว้ า่ เปน็ อพั โภหารกิ คอื นอ้ ยจนเรยี กไมไ่ ดว้ า่ มี แตเ่ หตใุ ดจงึ มงี านฉลองนข้ี น้ึ คำ� ตอบ
นี้น่าจะอยู่ท่ี ท่านยวาห์ราลเนรูห์ ซ่ึงได้กล่าวค�ำปราศรัยไว้ในที่ประชุมโลกสภา
(รฐั สภาของอนิ เดีย) เรอื่ งการจดั งานฉลองพทุ ธชยนั ตี ว่า “พระพุทธเจ้า เปน็ บุตรท่ี
ปราดเปรื่องยิ่งใหญ่และรอบรู้ท่ีสุดของอินเดีย ในโลกน้ีซึ่งเต็มไปด้วยความวุ่นวาย
เคยี ดแคน้ และรนุ แรง คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ สอ่ งแสงเหมอื นดวงอาทติ ยท์ ร่ี งุ่ โรจน์
ไมม่ คี นอนิ เดยี คนใดทจี่ ะนำ� เกยี รตยิ ศ เกยี รตภิ มู ิ กลบั มาสอู่ นิ เดยี ไดเ้ ทา่ กบั พระพทุ ธ
องค์ หากเราไมจ่ ัดงานฉลองท่านผ้นู ้แี ลว้ เราจะไปฉลองวันสำ� คญั ของใคร”
อันนี้เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจว่าท�ำไหม ดร.เอ็มเบ็ดการ์จึงกล้า
ประเชิญหน้ากับศาสนาฮินดูท่ีเป็นศาสนาหลักในประเทศอิน ด้วยการน�ำพา
ประชาชนเรอื นแสนปฏญิ าณตนเปน็ พทุ ธมามกะดเู หมอื นจะกำ� ลงั ทา้ ทายอทิ ธพิ ลของ
ศาสนาฮนิ ดใู นขณะนัน้
สาเหตุท่ีท่านเลือกเมืองน้ีแทน ท่านได้ให้เหตุผลว่า “ผู้ที่ท�ำการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาตอนแรกๆ นอกจากพระสงฆค์ ือพวกชนเผา่ นาค ซงึ่ ถูกพวกอารยัน
กดขขี่ ม่ เหง ตอ่ มาพวกนาคไดพ้ บกบั พระพทุ ธเจา้ พระองคไ์ ดท้ รงแสดงธรรมจนพวก

l 39 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

นาคเหลา่ นน้ั เลอ่ื มใสแลว้ ปฏญิ าณตนเปน็ ชาวพทุ ธและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาไปทวั่
เมอื งนาคปรู น์ ้ี เปน็ เมอื งทพ่ี วกนาคตง้ั หลกั แหลง่ อย”ู่ นเี้ ปน็ เหตผุ ลหนง่ึ ทา่ นเลอื กเมอื ง
นาคปูรน์ ้ี หรืออีกประเด็นหนงึ่ เมืองนาคปรู ์เปน็ เมอื งที่มชี าวพทุ ธอาศัยอยู่มาก และ
เปน็ เมอื งทมี่ ชี นชน้ั ศทู ร หรอื คนวรรณะตำ่� อยมู่ าก ดงั นน้ั จงึ เหมาะทจ่ี ะเปน็ ศนู ยก์ ลาง
พทุ ธศาสนิกชนในอนิ เดียในขณะนนั้
การปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะในคร้ังน้ันท่านกล่าวว่า “ข้าพเจ้าเกิดมา
จากตระกลู ที่นบั ถอื ศาสนาฮนิ ดู แต่ข้าพเจา้ จะขอตายในฐานะพุทธศาสนิกชน” คำ�
ปราศรัยในทปี่ ระชมุ ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ ของ ดร.เอม็ เบด็ การ์ น้ัน เปน็ การ
แสดงถงึ ความเขา้ ใจอยา่ งถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนา ดงั ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงตรสั
ว่า ดูกรภิกษุทัง้ หลาย พวกเธอมาจากตระกลู ตา่ งๆ กนั ยอ่ มมีความเสมอกนั เมอ่ื มา
สู่ธรรมวินัยนี้แล้ว เหมือนมหาสมุทร ย่อมเป็นที่รวมของน�้ำที่ไหลมาจากแม่น้�ำและ
ทะเลตา่ งๆ เมอื่ มาสมู่ หาสมทุ รแลว้ กไ็ มส่ ามารถจะแยกไดว้ า่ นำ้� สว่ นไหนมาจากทใี่ ด
ดว้ ยแหง่ พทุ ธพจนน์ ี้ ดร.เอม็ เบด็ การจ์ งึ มงุ มน่ั เพอื่ ทจี่ ะนำ� ชาวพทุ ธทถ่ี กู กดขใ่ี หห้ นั มา
นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเพราะเหน็ ความสำ� คญั ของการใหส้ ทิ ธแิ ลเสรภี าพทพ่ี ระพทุ ธ
องค์วางไว้กบั มนุษยชาตินเ้ี อง

สรปุ ทา้ ยบท

ดร.เอ็มเบ็ดการ์ ผู้เกิดมาจากสังคมอันต�่ำต้อย ต่อสู้เพื่อตัวเอง สังคมและ
เพอื่ ประเทศชาตอิ นั เปน็ สวนรวม ตง้ั แตเ่ กดิ จนถงึ วนิ าทสี ดุ ทา้ ยของชวี ติ ถงึ แมเ้ ขาจะ
จากไปแต่ชาวพทุ ธในประเทศอินเดยี ยังมีความเช่อื ว่า วิญญาณของ ดร.เอม็ เบ็ดการ์
ยงั ไม่ไปไหน คงจะอยู่กับพวกเขา คอยชว่ ยพวกเขาเพราะ ดร.เอม็ เบ็ดการไ์ ม่เคยทง้ิ
คนจน ไมเ่ คยลมื คนยาก ชว่ ยเหลือพวกเขาอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น พวกเขาจงึ อา้ งเอา
เป็นสรณะโดยสวดว่า พมิ พงั (ชือ่ ของเอม็ เบด็ การ์) สรณังคัจฉามิ อยจู่ นทกุ วนั นี้
อุดมการณ์ทางด้านพระพุทธศาสนา ดร.เอ็มเบ็ดการ์ได้น�ำพาพวกอธิศูทร
ทำ� พธิ ปี ฏญิ าณตนเปน็ ชาวพทุ ธ โดยการชกั ชวนเทา่ นนั้ เขาไมไ่ ดบ้ งั คบั ใหค้ นเหลา่ นน้ั
ต้องปฏิบัตติ ามเพียงแต่ใหเ้ หตผุ ลวา่ ท�ำไมจึงต้องท�ำเทา่ นั้น แต่สงิ่ ท่ปี รากฏใหก้ บั คน
อนิ เดยี ตอ้ งตระหนกั ในครงั้ นน้ั กค็ อื คลนื่ มหาชนทเี่ ขา้ รวมพธิ ปี ฏญิ าณตนเปน็ ชาวพทุ ธ

l 40 l


Click to View FlipBook Version