The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

Keywords: สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ ัน

ของพวกอธิศทู รเปน็ จำ� มากกว่าคาดหวงั เสยี อีก ความหวงั ของ ดร.เอ็มเบ็ดการ์ กค็ ือ
อยากเหน็ พระพทุ ธศาสนากลบั มารงุ่ เรอื งในประเทศอนิ เดยี อกี เขาปราถนาอยากได้
พระภกิ ษทุ มี่ คี วามรู้ ความสามารถมาทำ� หนา้ ทเี่ ผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา อยากมนี กั บวช
มางานทางดา้ นสงั คมสงเคราะหด์ ว้ ย เหมอื นกบั นกั บวชศาสนาครสิ คท์ ท่ี ำ� หนา้ ทสี่ อน
ศาสนาและสังคมสงเคราะหใ์ นขณะนั้น
เขากล่าวอยู่เสมอว่าก่อนพระพุทธศาสนาจะอุบัติข้ึน สังคมอินเดียเต็มไป
ดว้ ยความ อยตุ ธิ รรม คนในวรรณพราหมณแ์ ละวรรณะกษตั รยิ ด์ ถู กู เหยยี ดหยามพวก
ศูทรและอธิศูทร พอพระพทุ ธศาสนาอบุ ัติขึ้นพระพทุ ธองคท์ รงสอนเวไนยสัตว์ให้ค�ำ
นึกถึงความเสมทอภาคและความยุติธรรม พระพุทธเจ้าทรงคัดค้านระบบวรรณะ
อย่างรุนแรง มุ่งให้พุทธบริษัทมีความเสมอภาค สร้างสังคมสงฆ์ให้เป็นรูปแบบการ
เออ้ื อาทรซงึ่ กนั และกนั เหน็ อกเหน็ ใจกนั ทอ้ ยทที อ้ ยอาศยั กนั พระพทุ ธศาสนาสอน
ให้พิจารณาถึงความเป็นอนิจจังของสัพพสิ่งในโลก พระพุทธศาสนาสอนให้บุคคล
รู้จักการก�ำจัดทุกข์ วิธีการก�ำจัดความทุกข์ในพระพุทธศาสนาก็คืออย่าติดหรือลุ่ม
หลงอยกู่ บั ทรพั ยส์ มบตั ภิ ายนอก พระพทุ ธเจา้ จงึ สอนใหพ้ ระสงฆม์ สี มบตั เิ พยี งบรขิ าร
ได้เฉพาะเทา่ ที่จำ� เปน็ เท่านน้ั ถ้าพระภกิ ษรุ ูปใดได้อดเิ รกลาภมา กใ็ หเ้ อาไปเกบ็ ไว้ที่
กองกลาง ซงึ่ เรียกวา่ เอาเขา้ เปน็ ของสงฆ์ ถา้ ภิกษรุ ูปใดมคี วามจ�ำเปน็ เกิดข้นึ กใ็ ห้ไป
ขอรับได้จากกองกลางน้ัน เม่ือเป็นเช่นนี้พระภิกษุสงฆ์ก็จะไม่มีความแตกต่างกันใน
ดา้ นวัตถุ ค�ำว่า จน และคำ� วา่ รวย ก็จะไม่มใี นวงการสงฆใ์ นเรอ่ื งของอดริ กลาภท่ี
กลา่ วมาแลว้ น้ันพระพทุ ธเจา้ กไ็ มไ่ ดบ้ ังคบั กล่าวคือให้ท�ำดว้ ยความสมัครใจ จะเหน็
วา่ พระพุทธเจ้าทรงคำ� นึงถึงจติ ใจของบคุ คลเป็นส�ำคัญ
ดว้ ยเหตนุ ี้ ดร.เอม็ เบด็ การจ์ งึ ตอ้ งเหน็ ความเสมอภาคของคนในสงั คมอนิ เดยี
เมื่อสังคมอินเดียยังไม่มีความเสมอภาค มีการดูถูกความเป็นมนุษย์เพียงแค่การเกิด
จากฐานะตา่ งกนั เทา่ นนั้ แตค่ วามเปน็ มนษุ ยน์ น้ั ไมไ่ ดม้ คี วามตา่ งกนั สตปิ ญั ญาสามารถ
พฒั นาได้ ฐานะทางสงั คมกส็ ามารถพฒั นาได้ ถา้ คนในสงั คมใหโ้ อกาสซงึ่ กนั และกนั น้ี
เปน็ เหตผุ ลที่ ดร.เอม็ เบด็ การต์ อ้ งนำ� พาชาวอธศิ ทู รมานบั ถอื พระพทุ ธศาสนา จนกลาย
มาเปน็ ขบวนการพระพทุ ธศาสนาเพื่อสังคมในยคุ ใหม่จนถึงทกุ วนั น้ี

l 41 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จุบัน

ดาไล ลามะ

๑. บทนำ�

“ถ้าคุณปรารถนาจะอุทศิ ตนเพอื่ งานด้านมนุษยธรรมในฐานะชาวพทุ ธคน
หน่ึง คุณก�ำลังท�ำสิ่งที่ดี จงตรวจสอบว่าเจตนาของคุณบริสุทธ์ิอย่างแท้จริงหรือไม่
แต่การกระท�ำทางสังคมจะต้องไม่เป็นรูปแบบหน่ึงของศาสนา ถ้าไม่ได้เป็นไปด้วย
ความรกั และความเมตตา และถา้ กระทำ� ไมป่ ลีกวเิ วกอยูใ่ นพระพุทธองค์
นคี่ อื สาเหตทุ ว่ี า่ ทำ� ไมคณุ ควรอทุ ศิ สว่ นหน่งึ ของเวลาเพอ่ื การฝกึ ฝนและทำ�
สมาธิเพอ่ื พจิ ารณาถึงการเปล่ยี นแปลงความทุกขแ์ ละอ่ืนๆ”
สถานภาพและบทบาทของทะไลลามะตลอดจนสถาบันสงฆข์ องทเิ บต จงึ
มีส่วนอย่างส�ำคัญในการก�ำหนดสถานะของชนเผ่าทิเบต ดินแดนทิเบต และความ
สมั พนั ธก์ บั ประเทศเพอ่ื นบา้ น ทะไลลามะทรงอยใู่ นฐานะผนู้ ำ� ทง้ั ทางฝา่ ยศาสนจกั ร
และทางฝา่ ยอาณาจักรในดินแดนทเิ บตมาเป็นเวลาช้านาน
ทะไลลามะองค์ปัจจุบันล้ีภัยการเมืองไปอยู่ อินเดียต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๒
ชาวทเิ บตทง้ั ภายนอกและภายในของทเิ บต กย็ งั คงยอมรบั ฐานะการเปน็ ผนู้ ำ� ทง้ั ทาง
ธรรมและทางโลก ชาวทเิ บตมีความเชอื่ กนั ว่า องคด์ าไลลามะเปน็ อวตาร (reincar-
nation) ของพระอวโลกเิ ตศวรโพธิสัตว์ ซ่งึ ชาวทิเบตเรียกว่า เชนรีซี (Chen-re-zi)
ความเชื่อในเรื่องการอวตารนั้นผิดจากความเช่ือในเร่ืองการเวียนว่ายตายเกิด
(rebirth) ชาวทิเบตเช่ือว่าเชนรีซีอวตารมาเกิดในร่างของดาไลลามะ เพ่ือช่วยชาว
ทเิ บตและชาวโลกใหพ้ น้ ไปจากความทกุ ข์ ดาไลลามะจงึ เปน็ ผทู้ บี่ รสิ ทุ ธไิ์ มม่ กี เิ ลสใดๆ
แต่ท่ีทรงกลับมาเกิดใหม่ครั้งแล้วคร้ังเล่าในร่างของดาไลลามะองค์ต่อๆ มา ก็ด้วย
ความเมตตากรุณาประสงค์จะขนสรรพสัตว์ท้ังหลายให้ข้ามพ้นไปจากทะเลแห่ง
วัฏสงสาร ตามคติความเชื่อของพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ส่วนความเช่ือเรื่องเวียน
วา่ ยตายเกดิ นนั้ เปน็ เรอ่ื งของปถุ ชุ นทยี่ งั มกี เิ ลสอยู่ จงึ ยงั ตอ้ งกลบั มาเกดิ ใหมเ่ พอ่ื เสวย
วบิ ากกรรมตอ่ ไปจนกวา่ จะพน้ ทกุ ข์ จงึ จะไมต่ อ้ งกลบั มาเกดิ ใหมอ่ กี อนั เปน็ ความเชอื่
สามัญของชาวพุทธโดยทว่ั ไป

l 42 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

ปัจจุบันองคด์ าไล ลามะได้ลดบทบาททางด้านการเมืองของตนเอง ตงั้ แต่
ปี ๒๕๕๔ เปน็ ตน้ มา และมอบหมายใหเ้ ปน็ หนา้ ทขี่ องผนู้ ำ� รฐั บาลพลดั ถน่ิ ถงึ อยา่ งไร
ก็ตามท่านก็ยังคงสถานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวธิเบต ท้ังที่อยู่ต่างแดนและใน
แผ่นดินเกิด และยังคงเปน็ สญั ลักษณข์ องการต่อสเู่ พอื่ อธิปไตยของคนทวั่ โลก


๒. ประวัติองค์ดาไล ลามะ องค์ ๑๔ (องค์ปัจจบุ ัน)

ประสูติเม่อื วนั ท่ี ๖ ก.ค. ค.ศ.๑๙๓๕ (พ.ศ. ๒๔๗๘) ท่ี “ตักเซอร์” หม่บู า้ น
เล็ก ๆ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของธิเบต และทรงถูกค้นพบ ด้วยวิธีการ ตาม
ประเพณขี องธเิ บต เมอ่ื อายไุ ด้ ๒ พรรษา กวา่ วา่ เปน็ องคท์ ะไลลามะองคท์ ่ี ๑๓ กลบั
ชาติมาประสตู ิ
พระองคท์ รงขน้ึ ครองราชย์ เป็นผนู้ ำ� ประเทศธิเบต เมอื่ วันที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ์
ค.ศ. ๑๙๔๐ (พ.ศ. ๒๔๘๓)18
การศึกษา
เร่ิมเข้ารับการศึกษาเม่ือชนมายุได้ ๖ พรรษา ทรงสอบมหาวิทยาลัยเมื่อ
ทรงพรรษาได้ ๒๔ และเมือ่ อายไุ ด้ ๒๕ พรรษา ทรงจบปรญิ ญาเอก ทางปรัชญาของ
ธเิ บต ชื่อ เกเช ลารามปา ทรงได้รบั ต�ำแหนง่ และอ�ำนาจทางการเมืองอย่างสมบูรณ์
เปน็ ผู้น�ำประมุขของชาติ เดือนพฤศจกิ ายน ค.ศ. ๑๙๕๐
ทะไลลามะ หรอื ทะไล ลามะ คอื พระสงฆ์ ผเู้ ปน็ ผนู้ ำ� สงู สดุ ของชาวธเิ บต
ฐานะทางบา้ นเมือง เทา่ กบั ต�ำแหนง่ ในเมืองไทยเรา คือ พระเจา้ แผ่นดิน
ฐานะทางศาสนา เทา่ กบั ตำ� แหนง่ ในเมอื งไทยเรา คอื ตำ� แหนง่ สมเดจ็ พระ
สงั ฆราช

๓. ค�ำสอนสำ� คญั ขององค์ดาไล ลามะ

ความสุขเป็นส่ิงท่ีมนุษย์ทุกคนปรารถนา แต่การได้มาซึ่งความสุขของ
แตล่ ะคนอาจเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั กไ็ ด้ บางคนสามารถหาความสขุ กนั ไดง้ า่ ยๆ จาก
ชีวิตประจำ� วนั แต่บางคนมีวตั ถุส่งิ ของและผูค้ นรอบข้างมากมายกย็ ังหาความสุขไม่

18 สนธธิ รรม, ความกรุณาในหัวใจองคท์ ะไลลามะ, (กรุงเทพมหานคร: ส�ำนกั พิมพแ์ สงดาว, ๒๕๕๕), ๑๒๓.

l 43 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

เจอ การได้มาซึ่งความสขุ จงึ เปน็ ศิลปะอยา่ งหนึ่ง หรอื เป็นทักษะอย่างหนึง่ ทคี่ วรจะ
สร้างให้เกิดขน้ึ ในตัวเรา เพราะถ้าหากเรามีทกั ษะน้อี ยู่ประจ�ำตัว ยอ่ มสามารถทำ� ให้
พบกับความสุขได้ง่ายๆ ทกุ ทท่ี กุ เวลา ไมว่ า่ จะอย่ใู นฐานะหรืออย่ใู นสถานการณ์เชน่
ใดกต็ าม
การสรา้ งความพอใจจากภายใน ความพอใจจากภายในใจของเรานน้ั เปน็
ท่ีมาของความสุขท่ีส�ำคัญ การไม่รู้จักพอเป็นมาของความทุกข์ต่างๆ นานา ความ
ตอ้ งการภายในมนษุ ยน์ นั้ ยากที่จะเตมิ ให้เต็มได้ ย่ิงหาได้มากเท่าไรก็ย่งิ อยากได้เพม่ิ
มากข้นึ ไปเรื่อยๆ เชน่ ในตอนแรกที่เราอยากมรี ถ เราพยายามแสวงหาเงินมาซอ้ื รถ
เม่ือเราสามารถซ้ือได้แล้ว เราก็อยากได้รถคันใหม่ท่ีดีกว่าขึ้นไปอีก เป็นอย่างน้ีอยู่
เรอ่ื ยไปชวี ติ ของคนเราจงึ มกั ไมร่ จู้ กั พอและการทไี่ มร่ จู้ กั พอนเ้ี องทเี่ ปน็ ทม่ี าของความ
ทกุ ข์ทง้ั หลาย
คณุ คา่ ของความเมตตากรณุ าสงิ่ สำ� คญั อยา่ งหนง่ึ ของการมชี วี ติ อยใู่ นความ
เปน็ มนษุ ยก์ ค็ อื ความเมตตากรณุ าหากโลกนปี้ ราศจากความเมตตากรณุ าทกุ คนกค็ ง
เข่นฆ่าซง่ึ กันและกัน โลกก็คงจะรอ้ นเป็นไฟอยา่ งไม่ตอ้ งสงสัย
ความเมตตากรุณาจึงเปรียบเสมือนเป็นน้�ำท่ีจะคอยดับไฟท่ีคุกรุ่นอยู่ใน
หวั ใจของมนุษย์ใหส้ งบเยน็ ลง และย่งิ สามารถสรา้ งความเมตตากรณุ าใหเ้ กิดขึ้น ใน
ใจของมนุษย์ได้มากเท่าใด โลกของเราก็จะย่ิงสงบร่มเย็นมากข้ึนเท่าน้ัน ความเอื้อ
อาทรตอ่ กนั กจ็ ะมมี ากขน้ึ แตป่ ญั หากม็ อี ยวู่ า่ ทำ� อยา่ งไรจงึ จะปลกู ความเมตตากรณุ า
นีใ้ ห้เกดิ ขนึ้ ในจิตใจได้
การเผชญิ หนา้ กบั ความทกุ ข์ ความทกุ ขเ์ ปน็ สง่ิ ทม่ี นษุ ยท์ กุ คนไมป่ รารถนา
แตเ่ ปน็ สงิ่ ทเี่ ราหลกี เลยี่ งไมไ่ ดค้ งไมม่ ใี ครในโลกนที้ เี่ กดิ มาแลว้ ไมเ่ คยไดเ้ ผชญิ กบั ความ
ทกุ ข์ ไมว่ ่าคนคนนน้ั จะเป็นยาจกหรือเปน็ มหาเศรษฐี ก็ลว้ นแตต่ อ้ งเคยมีความทกุ ข์
ดว้ ยกันทง้ั ส้นิ ความโชคร้ายจงึ ไมไ่ ด้เกิดขนึ้ กบั คนใดคนหนงึ่ เพยี งคนเดยี ว เปน็ ส่ิงที่
ทกุ คนตา่ งตอ้ งประสบเจออยเู่ รอ่ื ยไปตราบเทา่ ทย่ี งั มลี มหายใจ ความเขา้ ใจอยา่ งแจม่
แจ้งน้ีถึงแม้ว่ามันอาจจะไม่สามารถช่วยขจัดความทุกข์ให้หมดส้ินไปได้ แต่หากใคร
ตระหนักร้อู ยา่ งนก้ี ็จะช่วยลดความทกุ ข์ที่มีอยใู่ หน้ อ้ ยลงอยา่ งมากเลยทีเดียว

l 44 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ นั

การสร้างความเปล่ียนแปลงที่ดีงามความเปลี่ยนแปลงเป็นกฎธรรมชาติ
อยา่ งหนงึ่ ทเี่ ราไมส่ ามารถทจี่ ะหลกี เลย่ี งได้ แตก่ ารเปลยี่ นแปลงในชวี ติ ของเราจะเปน็
ไปในทางใดน้นั ข้นึ อยู่กับการกระท�ำของเราเอง หากเราพบเจอปัญหา หรือเจอคนท่ี
ไมท่ ด่ี ี เรามมี มุ มองในแงล่ บ จติ ของเรากจ็ ะเลย่ี นไปสกู่ ารมคี วามทกุ ขใ์ นทนั ที ในขณะ
เดยี วกนั หากเรามมี มุ มองในแงบ่ วก จติ ของเรากจ็ ะเปลยี่ นไปในทางทด่ี งี าม การขจดั
พฤตกิ รรมและภาวะจิตในทางลบจงึ เปน็ การนำ� ไปส่กู ารบรรลุบรมสขุ ของชวี ติ
วิธีการจัดการกับความโกรธและความเกลยี ด
อารมณ์ความโกรธความเกลียดเป็นอารมณ์ด้านลบท่ีคอยเผาใจเราให้
เป็นทุกข์อยู่ตลอดเวลา ย่ิงใครมีอารมณ์เช่นนี้อยู่ในตัวก็ยิ่งมีความทุกข์มากเท่าน้ัน
อารมณเ์ หลา่ นย้ี งั ทำ� ใหค้ วามคดิ ของเราไมป่ ลอดโปรง่ รสู้ กึ อดึ อดั ไมส่ บายใจ ตลอดจน
เป็นบ่อนท�ำลายความสัมพันธ์ส่วนตัวของเราด้วย การศึกษาวิจัยส่วนใหญ่ยังพบอีก
วา่ อารมณเ์ กลยี ดเปน็ ตน้ เหตสุ ำ� คญั ของโรครา้ ยและการเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั ผทู้ ตี่ อ้ งการ
ความสงบเย็นใหก้ ับชีวิตจึงต้องจัดการกบั ความโกรธของเกลียดน้ใี หห้ มดไป
วธิ กี ารจะชว่ ยกำ� จดั ความโกรธเกลยี ดนน้ั เรม่ิ ตน้ เราตอ้ งสำ� รวจตรวจสอบ
ธรรมชาติอารมณ์อันเปน็ พิษภัยน้ี ตระหนักถงึ มันอย่างชัดเจนว่ามนั เปน็ อันตรายตอ่
ตวั เราทงั้ สุขภาพกายและสขุ ภาพใจ รวมถึงความสมั พนั ธท์ เ่ี รามีต่อผูอ้ ืน่ ด้วย เมอ่ื เรา
ตระหนกั เห็นชัดแลว้ ก็จะมีความเพยี รท่จี ะจัดการกบั มันตอ่ ไป
ท่านดาไลลามะได้สอนไว้ว่า อารมณ์ทางลบหรืออารมณ์ที่คอยบีบค้ันให้
เราเป็นทุกข์น้ันมีอยู่มากมายหลายชนิด ยกตัวอย่างเช่น ความหย่ิงจองหอง ความ
อหังการ ความอจิ ฉารษิ ยา ความปรารถนา ความใคร่ การมจี ิตคบั แคบ ความโกรธ
เกลยี ด เปน็ ตน้ แตใ่ นจำ� นวนอารมณท์ างลบนถ้ี อื วา่ ความเกลยี ดและความโกรธเปน็
สงิ่ เลวรา้ ยทสี่ ดุ เพราะเปน็ อปุ สรรคใหญท่ คี่ อยกน้ั ขวางการพฒั นาความเมตตากรณุ า
และการทำ� ประโยชนใ์ หแ้ กผ่ อู้ น่ื นอกจากนน้ั อารมณน์ ย้ี งั ทำ� ลายคณุ ธรรมและความ
สงบสุขของจิตใจอกี ดว้ ย
ความโกรธเม่ือเกดิ ขึ้นมันย่อมน�ำไปสคู่ วามคดิ ร้าย ความเกลยี ด และการก
ระทำ� ทไ่ี มด่ ตี า่ งๆ กจ็ ะตามมาอกี มากมาย อารมณใ์ นแงล่ บทฝี่ งั อยใู่ นจติ ใจของเรานนั้
มันเป็นเสมือนยาพิษที่คอยกัดกร่อนจิตใจของเราให้เป็นทุกข์อยู่ร่�ำไป เราจึงควรหา

l 45 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ ัน

ทางก�ำจัดมันให้หมดไป หรือท�ำให้มันไม่มีอ�ำนาจที่จะครอบง�ำจิตใจของเราได้อีก
ตอ่ ไป

๔. บทวเิ คราะห์องความรู้

ประเทศทิเบตเป็นประเทศที่มีลัทธิศาสนาเป็นของตนเองเป็นเวลานานมา
แลว้ กอ่ นทพ่ี ระพทุ ธศาสนาจะเขา้ ไปสธู่ เิ บต ลทั ธศิ าสนาทเ่ี กา่ แกข่ องธเิ บตกค็ อื ลทั ธิ
โบน (Bonism)19 ลัทธนิ ี้มลี ักษณะความเช่อื คอื บูชาสวรรค์ วิญญาณ ภเู ขา แม่นำ้�
ตน้ ไม้ และมีความเชื่อลักษณะทางธรรมชาติอน่ื ๆ ในยคุ โบราณลัทธโิ บนเอามนุษย์
และสตั วบ์ ชู ายญั ทกุ วนั นกี้ ย็ งั คงทำ� พธิ สี งั เวยแกด่ วงวญิ ญาณ เคารพนบั ถอื ธรรมชาติ
ตามลัทธทิ ี่ตนเองเคยปฏบิ ตั ิมา
ลทั ธโิ บนไดด้ ำ� เนนิ สบื ตอ่ เรอ่ื ยมาเปน็ เวลาชา้ นานหลายศตวรรษ จนกระทงั่
พระธรรมค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าได้รับการยอมรับในประเทศธิเบต แต่ลัทธิโบ
นก็ยังคงประพฤติปฏิบัติมากระท่ังจนทุกวันน้ี และได้ร่วมมือกับพระพุทธศาสนา
กลายเปน็ พระพทุ ธศาสนาแบบธิเบต กเ็ พอ่ื เป็นการด�ำรงรักษาวฒั นธรรมอนั เก่าแก่
ของธเิ บต
พทุ ธศาสนาไดค้ วามรงุ่ เรอื งในดนิ แดนธเิ บตซง่ึ มเี อกลกั ษณเ์ ฉพาะ ตอ่ มาใน
ยุคหลังพระพุทธศาสนาแบบธิเบตได้มีการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกาย
มหายานทั้งจากอินเดียและจีนซ่ึงได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของ
อินเดีย จนเกิดเปน็ นิกายวัชรยานขึน้ ประชาชนใฝธ่ รรมะ ชอบเดินทางไปแสวงบญุ
ตามพุทธสถาน ซ่ึงปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เม่ือตกอยู่ในการปกครองของ
จีนวัดนับพนั แหง่ ทว่ั นครลาซา เหลือไม่ถงึ หน่ึงร้อยแหง่ ในปัจจุบัน จนแทบไมเ่ หลอื
ความเจริญรงุ่ เรืองในอดีต
ปัจจุบันผู้น�ำชาวทิเบตคือ องคด์ าไลลามะองค์ท่ี ๑๔ (LhamoDhondup)
เมื่อกองก�ำลังจีนบุกยึดทิเบตน้ันท่านดาไลลามะได้หลบหนีลี้ภัยข้ามภูเขาหิมาลัย
เขา้ ไปในอินเดยี ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ ๑๔ วัน รัฐบาลอนิ เดียอนุญาตใหด้ าไลลา
มะและชาวทิเบตพลัดถ่ินอาศัยอยู่ในอินเดียได้ เป็นท่ีน่าสังเกตว่าในท่ีประชุมของ

19 The path of the Buddha by Kenneth W. Morgan, printed in India at ShriJainendra Press p. ๒๓๗

l 46 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบัน

องคก์ ารสหประชาชาตมิ กี ารพดู ถงึ กรณผี ลู้ ภี้ ยั ชาวทเิ บตนอ้ ยครง้ั มากและอนิ เดยี กไ็ ม่
ไดม้ กี ารพูดถงึ ปญั หาผู้อพยพชาวทเิ บตเลย
ประเทศทิเบตได้เปิดต้อนรับการท่องเท่ียวนี้ก็เป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ทิเบต
ต้องการให้นักท่องเท่ียวที่เข้าไปรับรู้และเห็นความเป็นไปของชาวทิเบตให้เป็นที่
ประจกั ษแ์ กช่ าวโลกไดร้ บั รวู้ า่ จนี ไดท้ ำ� อะไรกบั ชาวทเิ บตบา้ ง ในขณะเดยี วกนั ดาไลลา
มะองคท์ ี่ ๑๔ ผนู้ ำ� ผลดั ถน่ิ ของทเิ บตกอ็ อกเดนิ สายแสดงปาฐกถา เคลอื่ นไหวทางการ
เมอื งเพอ่ื หาการสนบั สนนุ จากภายนอกประเทศ ดาไลลามะนำ� ทเิ บตใหก้ ลายเปน็ จดุ
สนใจของชาวโลกท่านพยายามท�ำทุกวิถีทางที่จะปลดปล่อยทิเบตจากจีนให้ได้ จุด
ประสงค์ของดาไลลามะคือต้องการให้นานาชาติกดดันจีนให้หันมาเจรจาเร่ือง
สนั ตภิ าพในทเิ บต แตจ่ นี ไมย่ อมเจรจาดว้ ยทง้ั ยงั ไมย่ อมรบั แผนสนั ตภิ าพของดาไลลา
มะ เป็นการปิดทางทีด่ าไลลามะจะใช้เปน็ ทางเรียกรอ้ งอสิ รภาพให้ทเิ บต ดว้ ยความ
พยายามในการตอ่ สเู้ รยี กรอ้ งใหจ้ นี คนื อสิ รภาพใหท้ เิ บตดว้ ยสนั ตวิ ธิ ที ำ� ใหท้ า่ นดาไลลา
มะองคท์ ี่ ๑๔ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมือ่ ปี ค.ศ. ๑๙๘๙
ปัจจุบันน้ีชาวท่ีทิเบตมีสิทธิเสรีภาพในด้านศาสนาในระดับหนึ่ง แต่ไม่มี
ว่ีแววว่าสถานการณ์ในทิเบตจะดีข้ึนไปกว่าเดิมมากนัก จีนปิดปากสนิทเร่ืองแผน
สันติภาพท่ีดาไลลามะพยายามรุกเร้าและจีนยังคงส่งชาวจีนเข้าไปในทิเบตอย่างต่อ
เนื่องพร้อมกับการเปลี่ยนวิถีชีวิตของชาวทิเบตให้เข้าสู่วังวนของอุตสาหกรรมสมัย
ใหมม่ ากขึ้น มกี ารส่งเสรมิ การลงทุนในทิเบตใหช้ าวตา่ งชาตเิ ขา้ ไปลงทุนในด้านการ
ศึกษา จีนส่งเสริมการเรียนภาษาแมนดารินและสนับสนุนผู้รู้ภาษาแมนดารินให้มี
ต�ำแหน่งสูงและมคี วามก้าวหนา้ ในการทำ� งาน

๕. ผลกระทบต่อสงั คม

๑. การประกาศลดบทบาททางการเมืองขององค์ดาไล ลามะท�ำให้
ประชาชนชาวธิเบตตอ้ งอย่ใู นสถานการณท์ ต่ี อ้ งสร้างความสามคั คีในชาติให้มาก
๒. องคด์ าไล ลามะ ยงั คงเปน็ สญั ญาลกั ของการตอ่ สเู้ พอื่ อธปิ ไตยและยงั
เปน็ ทีศ่ ูนย์รวมจติ ใจของชาวธิเบตท้งั ที่อยูต่ ่างแดนและในแผ่นดนิ เกดิ

l 47 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบัน

๑. การวจิ ารณค์ วามเชอื่ และการปฏิบัตศิ าสนาในสังคมธเิ บต
๒. การอธบิ ายธรรมบางเรอ่ื งใหม่
๓. มกี ารการศกึ ษาเชงิ เปรยี บเทยี บพระพทุ ธศาสนาเถรวาทและมหายาน

สรปุ ทา้ ยบท

ศาสนาพุทธในดินแดนแหง่ ทเิ บตมีเอกลักษณ์เฉพาะคอื เป็นการผสมผสาน
ระหวา่ งพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานทง้ั จากอนิ เดยี และจนี ทงั้ หมดนไ้ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจาก
พุทธศานานิกายตนั ตระของอนิ เดียจนเกิดเปน็ นกิ ายวัชรยานขน้ึ ถึงแมจ้ ะเป็นนิกาย
ตนั ตระประชาชนกใ็ ฝ่ธรรมะ เมอ่ื มงี านบุญ ประชาชนจะเดนิ ทางไปแสวงบุญแมจ้ ะ
ไกลสกั เพยี งใดกต็ าม ปจั จบุ นั กม็ ใี หเ้ หน็ อยมู่ ากมาย แตเ่ มอื่ ตกอยใู่ นการปกครองของ
จีนวัดนับพนั แหง่ ท่วั นครลาซา เหลือไม่ถึงหนง่ึ ร้อยแห่งในปจั จบุ นั จนแทบไมเ่ หลอื
ความเจริญรุง่ เรอื งในอดีต
พระพทุ ธศาสนาในทเิ บตมนี กิ ายใหญๆ่ ๔ นกิ าย คอื นกิ ายหมวกแดง นกิ าย
หมวกขาว นิกายหมวกด�ำ นิกายหมวกเหลือง นกิ ายหมวกเหลืองคอื ผนู้ �ำในปจั จุบนั
คอื ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ดาไล ลามะหรอื ทะไล ลามะ ซงึ่ เปน็ ผนู้ ำ� ทางจติ วญิ ญาณของทเิ บต
องค์ดาไล ลามะมักจะกล่าว่าเตือนกับอนุชนคนรุ่นหลังว่า ถ้าคุณปรารถนาจะอุทิศ
ตนเพอ่ื งานดา้ นมนษุ ยธรรมในฐานะชาวพทุ ธคนหนง่ึ คณุ กำ� ลงั ทำ� สง่ิ ทดี่ ี จงตรวจสอบ
วา่ เจตนาของคุณบริสุทธิ์อยา่ งแทจ้ รงิ หรอื ไม่ แต่การกระท�ำทางสังคมจะต้องไม่เปน็
รปู แบบหนง่ึ ของศาสนา ถา้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปดว้ ยความรกั และความเมตตา และถา้ กระทำ�
ไมป่ ลกี วเิ วกอยใู่ นพระพทุ ธองคน์ คี่ อื สาเหตทุ ว่ี า่ ทำ� ไมคณุ ควรอทุ ศิ สว่ นหนงึ่ ของเวลา
เพื่อการฝึกฝนและท�ำสมาธิเพอ่ื พจิ ารณาถงึ การเปล่ียนแปลงความทุกขแ์ ละอืน่ ๆ
ตามหลักการของศาสนาพุทธ แม้เราจะต้องพยายามอย่างถึงที่สุดที่จะช่วยบรรเทา
ความทุกข์ทรมานของผู้อ่ืน ท้ังที่ในความเป็นจริงไม่มีใครสามารถหนีความทุกข์ที่
ตนเองกอ่ นจากการกระทำ� ของตนเองได้ กลา่ วอกี นยั หนง่ึ คอื คนเราเปน็ ทกุ ขจ์ ากการก
ระทำ� ของตนเองได้ (กรรม) และผลของการกระทำ� คอื สง่ิ ทไ่ี มอ่ าจหลกี หนไี ด้ ถา้ กำ� ลงั
จะตอ้ งตายในทป่ี ราศจากความสะดวกสบายทางกาย หรอื โดยไมม่ คี นดแู ลความทกุ ข์

l 48 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ นั

จะรุ่นแรงย่ิงข้ึน เมื่อไม่มีคนดูแลเขาในตอนน้ี เขาก็จะต้องทนกับความทุกข์ในร่าง
ปจั จบุ ัน20
ผ้ชู ายบางคนอย่ตู ามลำ� พงั ทั้งที่ปรารถนาเหลอื เกนิ ท่ีจะพบผู้หญิงสกั คน ผู้
หญงิ บางคนตอ้ งการอยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะไดพ้ บผชู้ ายสนั คนในชวี ติ แตไ่ มอ่ าจทำ� ความฝนั ให้
เปน็ จรงิ บางทป่ี ญั หาของพวกเขาอาจจะมาจากความจรงิ ทว่ี า่ พวกเขาคดิ ถงึ แตต่ นเอง
มากเกนิ ไป และเรยี กรอ้ งจากคนอน่ื มากเกนิ ไป ถา้ พวกเขายอมรบั ความคดิ เหน็ ทตี่ รง
ข้ามบ้าง และเริ่มเปิดใจให้ผู้อื่นไปพร้อมๆ กับใส่ใจในปัญหาของตนเองให้น้อยลง
พวกเขาอาจจะดึงการตอบสนองทางบวกจากคนอืน่ ๆ ได้21 เปน็ วจนะขององค์ดาไล
ลามะ ทไี่ ดน้ ำ� หลกั การหรอื หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนามาอธบิ ายหรอื ตคี วามเกยี่ ว
กบั ความทกุ วา่ มนษุ ยท์ กุ ผคู้ นตา่ งกก็ ลวั ความทกุ ขท์ รมานเชน่ เดยี วกนั และมนษุ ยท์ กุ
ผู้คนก็ต่างแสวงหาความสุข ทุกผู้คนมีสิทธ์ิเสมอกันท่ีจะมีความสุขและไม่เป็นทุกข์
เหมือนกัน ดังนั้นจงร่วมกันใส่ใจต่อผู้อ่ืนด้วยความเต็มใจ ไม่ว่าคนผู้น้ันจะเป็นมิตร
หรือศัตรู เพราะน่ีคือพื้นฐานของความเมตตาท่ีแท้จริงเพ่ือให้เข้าง่ายส�ำหรับในยุค
ใหม่

20 สมลักษณ์ สว่างโรจน,์ 365 ดาไล ลามะ วัจนะจากใจ, (กรงุ เทพมหานคร: แสงดาว, 2553),หน้า 119
21 อ้างแลว้ หน้า, 75.

l 49 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จุบัน

สัตยา นารายนั โกเอ็นก้า (S.N. Goenka)

๑. บทน�ำ

“....แต่ละศาสนา จะปล่อยให้ทุกคนมคี วามสุขกับพิธกี รรม และประเพณี
ของพวกเขา แต่พวกเขาก็ไม่ควรหลงลืมแก่นที่อยู่ภายใน ถ้าเขาเหล่าน้ีละเลยแก่น
สารภายในและยังคงบอกว่า “ฉันเป็นศาสนิกชนเพราะว่าฉันท�ำพิธีกรรมมาตลอด
เชน่ น้ีแล้วกเ็ ทา่ กับว่า เขาก�ำลงั หลอกลวงตัวเอง และหลอกคนอ่ืนๆ”
การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวทาง ท่านอาจารย์โกเอ็นการ์ถือว่า
เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ทิ มี่ คี วามเหมาะสมกบั สงั คมในปจั จบุ นั เปน็ แนวทางทท่ี ำ� ให้
ทกุ คนในทกุ ศาสนาๆ สามารถเขา้ มาปฏบิ ตั ไิ ด้ การปฏบิ ตั ทิ ม่ี รี ปู แบบไรเ้ ขตเขตจำ� กดั
ดา้ นศาสนา เน้นการปฏบิ ตั ทิ ่มี รี ปู แบบทเ่ี ปน็ สากลในเชงิ สญั ลกั ษณ์ สร้างแรงศรทั ธา
ใหเ้ กดิ กบั บคุ คลทีม่ ีความสนใจ แนวทางการปฏบิ ัติของทา่ น สัตยา นารายนั โกเอน็
การ์จึงเป็นท่ีนิยมในปัจจุบัน อีกท้ังแนวทางในการบรรยายมีลักษณะเข้าใจง่าย
สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้จริง ด้วยเหตุนี้ รูปแบบในการปฏิบัติ
ของทา่ น สตั ยา นารายัน โกเอ็นการ์ จึงเป็นที่นิยมของคนทกุ ชาตแิ ละทุกศาสนา

๒. ประวตั ิ
๒. ประวตั สิ ตั ยา นารายนั โกเอน็ กา้ (S.N. Goenka)

ก�ำเนดิ ในประเทศพม่า ในครอบครัวนักธรุ กิจ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๗ ทา่ นได้
ประกอบธรุ กิจจนประสบความส�ำเร็จ มีช่ือเสียงมากต้ังแต่ยังอยู่ในวยั หนุม่ ทง้ั ได้รับ
เลอื กใหเ้ ปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชนชาวอนิ เดยี ในพมา่ รวมทง้ั เปน็ ประธานองคก์ รตา่ งๆ เชน่ หอ
การคา้ มารว์ ารแี หง่ พม่า และสมาคมพาณชิ ยแ์ ละอตุ สาหกรรมแหง่ ร่างกุ้ง
๒.๑ ชวี ิตปฐมวยั
ทา่ นอาจารยส์ ตั ยา นารายนั โกเอน็ กา้ (S.N. Goenka)เกดิ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๔
ในครอบครวั นกั ธรุ กจิ ชาวอนิ เดยี ในประเทศพมา่ และกลายเปน็ นกั ธรุ กจิ ทมี่ ชี อื่ เสยี ง
และประสบความสำ� เรจ็ ตัง้ แต่ยงั อยใู่ นวัยหนุม่

l 50 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ นั

๓. คำ� บรรยายธรรมของสตั ยา นารายัน โกเอน็ กา้ (S.N. Goenka)

ท่านอาจารย์ สตั ยา นารายัน โกเอ็นก้า (S.N. Goenka) วปิ ัสสนาจารย์ชื่อ
ดังของโลกชาวอินเดีย ผู้วางรากฐานการฝึกอบรมวิปัสสนากรรมฐานอย่างม่ันคงมี
สานุศิษย์อยู่ทั่วโลกท่านเป็นวิปัสสนาจารย์และเป็นผู้เผยแผ่คำ� สอนของพระบรม
ศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นผู้ก่อต้ังและเป็นประธาน สถาบันวิจัยวิปัสสนาแห่ง
ประเทศอนิ เดยี เพอื่ ปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานตามแนวทางของสมเดจ็ พระสมั มาสมั
พุทธเจ้าตามทไี่ ด้บันทกึ ไวใ้ นพระไตรปิฏก
ปัจจุบันท่านเป็นวิปัสสนาจารย์ส�ำคัญผู้หนึ่งท่ีสอนวิปัสสนากรรมฐานใน
พระพุทธศาสนาเถรวาท นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ริเร่ิมน�ำพระไตรปิฏกฉบับฉัฏฐ
สังคายนา ซ่ึงเป็นการท�ำสังคายนาครั้งล่าสุดของโลก มาบันทึกไว้บนแผ่นซีดีรอม
พรอ้ มดว้ ยคมั ภีร์บรวิ ารต่างๆ รวมกวา่ ๒๐๐ เล่ม และไดจ้ ัดพิมพพ์ ระไตรปิฎก ฉบบั
ฉัฏฐสังคายนา ด้วยอักษรเทวนาครี เพ่ือน�ำพระพุทธศาสนากลับไปประดิษฐานใน
ประเทศอนิ เดยี อกี ครง้ั หนงึ่ ดว้ ย และเพอ่ื มอบเปน็ ธรรมทานเผยแผไ่ ปทว่ั โลกสว่ นคำ�
สอนท่สี ำ� คัญๆ ทีไ่ ดน้ �ำมาอธบิ ายดงั ต่อไปน้ี
การอธบิ ายในเรอ่ื งการการใชเ้ วลาใหเ้ ปน็ ประโยชนน์ น้ั ทา่ นไดก้ ลา่ ววา่ “สง่ิ
ใดท่ีหมดไปแล้ว ส่ิงท่ีส�ำคัญกว่าส�ำหรับเรา คือ ส่ิงท่ียังอยู่ ผู้ที่เฉลียวฉลาดและมี
ปญั ญายอ่ มรจู้ กั ใชเ้ วลาของตนทม่ี อี ยใู่ หด้ ที ส่ี ดุ และใหเ้ กดิ ประโยชนม์ าทสี่ ดุ โดยไมม่ วั
ไปค�ำนึงถึงสิ่งท่ีผ่านพันไปแล้ว”
ท่านได้กล่าวสิ่งเป็นแรงบันดาลใจให้ด�ำเนินการด้านวิปัสสนากรรมฐานว่า
ข้าพเจ้ามีความเช่ือว่ามั่นมากข้ึนทุกทีว่าพลังเมตตาของท่านนั่นเองท่ีให้ข้าพเจ้าเต็ม
ไปดว้ ยความยนั ดาลใจและเกิดพลงั ท่จี ะรับใชม้ วลมนษุ ยชาต2ิ 2
“ผู้คนโดยทั้งไปมักกล่าวกันว่า มนุษย์ที่โชคดี เม่ือตายแล้วจะได้ไปเกิดใน
สรวงสวรรค์ แตพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ กลบั ตรสั วา่ เทวดาในสรวงสวรรคท์ จ่ี ตุ แิ ลว้ ไดม้ า
ปฏิสนธิเป็นมนุษย์นน้ั โชคดียง่ิ กว่า”
แนวทางการสอนที่ท่านได้ยึดเป็นแนวทางคือหลักสติปัฏฐาน ๔ ท่าน
อาจารยโ์ กเอน็ กา้ ไดอ้ ธบิ ายวา่ :บคุ คลพงึ เจรญิ สตใิ หเ้ ปน็ สงิ่ รรู้ ะลกึ อยเู่ สมอ ดงั คำ� สอน

22 คำ� กล่าวของทา่ นอาจารย์โอเอน็ ก้ารถ์ งึ ทา่ นอาจารย์อบู าขิ่น

l 51 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

ท่วี า่ สตปิ ัฏฐาน ๔ นี้ อนั พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผูร้ ู้ ผูเ้ ห็น เปน็ อรหันตสัมมาสัมพุทธ
เจา้ พระองคน์ น้ั ทรงบัญญัติดีแล้วเพื่อบรรลุกศุ ล สติปัฏฐาน ๔ กล่าวคือ
(๑) ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั นี้ พจิ ารณากายในกาย เปน็ ภายใน มคี วามเพยี ร
มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ กำ� จดั อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกอยู่ เมอ่ื ภกิ ษพุ จิ ารณากายในกาย
เปน็ ภายในอยู่ ย่อมตง้ั จติ ไวโ้ ดยชอบ ผอ่ งใสโดยชอบในกายานปุ สั สนานั้น เธอตั้งจิต
ไว้โดยชอบในกายานุปัสสนาน้นั แลว้ ยงั ญาณทัสสนะใหเ้ กิดในกายอน่ื ในภายนอก
(๒) ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเป็นภายในมีความเพียร มี
สัมปชัญญะ มีสติก�ำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่ เมื่อภิกษุพิจารณาเวทนาใน
เวทนาเป็นภายในอยู่ ย่อมตั้งจิตไว้โดยชอบ ผ่องใสโดยชอบในเวทนานุปัสสนาน้ัน
เธอตั้งจิตไว้โดยชอบ ผ่องใสโดยชอบในเวทนานุปัสสนาน้ันแล้ว ยังญาณทัสสนะให้
เกดิ ในเวทนาอ่นื ภายนอก
(๓) ภกิ ษุพจิ ารณาจติ ในจติ เปน็ ภายใน มคี วามเพยี ร มสี มั ปชัญญะ มีสติ
ก�ำจดั อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกอยู่ เมอื่ ภกิ ษพุ ิจารณาจติ ในจิตเป็นภายในอยู่ ยอ่ ม
ต้ังจิตไว้โดยชอบ ย่อมผ่องใสโดยชอบในจิตตานุปัสสนานั้น เธอต้ังจิตไว้โดยชอบ
ผอ่ งใสโดยชอบในจติ ตานปุ สั สนานน้ั แลว้ ยงั ญาณทสั สนะใหเ้ กดิ ในจติ อนื่ ในภายนอก
(๔) ภกิ ษพุ จิ ารณาธรรมในธรรมเปน็ ภายใน มคี วามเพยี ร มสี มั ปชญั ญะ มี
สติก�ำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกอยู่ เม่ือภิกษุพิจารณาธรรมในธรรมเป็นภายใน
อยู่ ยอ่ มตงั้ จติ ไวโ้ ดยชอบ ผอ่ งใสโดยชอบในธมั มานปุ สั สนานนั้ . เธอตง้ั จติ ไวโ้ ดยชอบ
ผ่องใสโดยชอบในธัมมานุปัสสนานั้นแล้ว ยังญาณทัสสนะให้เกิดในธรรมอื่นใน
ภายนอก สติปัฏฐาน ๔ อย่างน้ีแล อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ผู้เห็น เป็นอรหันต
สมั มาสมั พุทธเจา้ พระองคน์ ั้นทรงบญั ญัตแิ ลว้ เพ่อื บรรลคุ ณุ ๑จะอย่างไรก็ตาม การ
สอนสติปัฏฐาน ๔ ตามแนวทางของโคเอน็ กา้ มีวธิ ีการสอนซึง่ ไดใ้ ช้ต้นแบบมาจาก
พระไตรปิฎกเป็นสำ� คัญ แต่ได้ปรับค�ำพูดให้เหมาะสมแก่ผู้ปฏิบัติและฟังแล้วเป็นที่
เขา้ ใจงา่ ยโดยไดค้ งสาระเนอื้ หาเดมิ อนั เปน็ พทุ ธพจนไ์ ว้ แลว้ อธบิ ายนำ� เปน็ ตอนๆ ไป
เพ่ือเป็นการใช้การส่ือสารทางภาษาให้สอดคลอ้ งกับปัจจบุ นั มากย่งิ ขน้ึ ตัวอย่างเช่น
เมื่อผู้ปฏิบัติได้ปฏิบัติกายานุปัสสนาด้วยการสังเกตร่างกาย ท่านปฏิบัติเวทนานุปัส
สนาดว้ ยการสังเกตเวทนาหรือความรู้สกึ ทเ่ี กิดขึน้ บนรา่ งกาย ทา่ นปฏบิ ัตจิ ิตตานุปัส

l 52 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

สนาด้วยการสังเกตดูจิต และท่านปฏิบัติธัมมานุปัสสนาด้วยการสังเกตสิ่งท่ีเกิดข้ึน
ในจติ การปฏิบตั ิครบทัง้ ๔ อยา่ งน้ี จงึ จะเปน็ การปฏิบัติสตปิ ฎั ฐานอยา่ งสมบรู ณ์ ซงึ่
ก็หมายถึงการปฏิบัติวิปัสสนาอย่างสมบูรณ์นั่นเอง ในการปฏิบัตินั้น พระพุทธองค์
ตรัสไว้ว่า กาเยกายานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โล
เกอะภิชฌาโทมะนัสสัง ค�ำว่า อาตาปี แปลว่าการบ�ำเพ็ญตบะหมายถึงการปฏิบัติ
อย่างจริงจงั ด้วยความเพียรอันแรงกล้า เปน็ ทนี่ ่าเสียดายวา่ คำ� ว่า ตบะ หรอื คำ� ว่า
อาตาปี นัน้ เราเขา้ ใจผิดกนั มามาก แม้แต่ในสมยั พทุ ธกาล จนกระทงั่ บดั น้กี ็ยงั มคี น
เขา้ ใจผดิ กนั อยู่ เมอื่ พดู ถงึ ตบะ กเ็ ขา้ ใจกนั วา่ คอื การทรมานรา่ งกายดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ
แทจ้ ริงแล้ว ตบะ คอื การปฏบิ ัตอิ ยา่ งเอาจรงิ เอาจัง อยา่ งต้งั อกตั้งใจ ด้วยจิตทตี่ ่นื
ตวั และเอาใจใสด่ ว้ ยจติ ทเ่ี ปน็ อเุ บกขา ผปู้ ฏบิ ตั จิ งึ จะไดร้ บั ผลสงู สดุ มฉิ ะนน้ั การปฏบิ ตั ิ
ก็จะเป็นเพียงการท�ำพิธีกรรม ซ่ึงไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย ค�ำว่า อาตาปี ของ
พระพุทธเจ้าจึงหมายถงึ การปฏิบัติอย่างจรงิ จงั ปฏิบัติด้วยความพากเพียรอย่างแรง
กล้า สมั ปะชาโน สะติมา คำ� ว่า สะติมา แปลว่ามีสตริ ะลกึ ร้อู ยูท่ ุกขณะ แต่การมีสติ
เพยี งอยา่ งเดยี วไมส่ ามารถชว่ ยใหเ้ ราพน้ ทกุ ขไ์ ด้ เราจะตอ้ งมสี ตพิ รอ้ มดว้ ยสมั ปชญั ญะ
การปฏบิ ัตวิ ปิ ัสสนาของเราจึงจะสมบูรณ์
การสอนของโคเอ็นก้าเป็นการสอนแบบง่ายๆและเข้าใจง่าย ผู้ปฏิบัติไม่
สบั สน เนื่องจากขนั้ ตอนต่างๆ อันเปน็ พิธีกรรมถูกแยกออกจากการปฏิบตั ิอย่างส้ิน
เชงิ คอื ขณะปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนา ไมต่ อ้ งประกอบพธิ กี รรมใดๆ อนั จะเปน็ เหตใุ หผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิ
เสียเวลาแม้แต่ขั้นตอนเดียว เช่น ไม่ต้องไหว้พระไม่ต้องรับศีล ไม่ต้องสมาทาน
กรรมฐานจากพระวิปัสสนาจารย์ เพราะเป็นการปฏิบัติด้วยตนเอง มีข้อจ�ำกัดที่จะ
ตอ้ งเปน็ กตกิ ารว่ มกนั เชน่ หา้ มพดู คยุ กนั ขณะปฏบิ ตั ใิ น ๙ วนั แรกของหลกั สตู ร ราย
ละเอียดของหลักสูตร ๑๐ วันทใ่ี ชอ้ บรม แบ่งออกเป็น ๒ ภาคหรอื ๒ ระยะ คอื ๑)
ระยะท่ี ๑ การเจรญิ สมถะกรรมฐาน (วันท่ี ๑ -๓ ) ให้เจริญอานาปานสติ ฝึกกำ� หนด
รลู้ มหายใจเขา้ และออก แตไ่ มต่ อ้ งบรกิ รรมหรอื ทอ่ งบน่ คำ� ใดๆ ทง้ั สนิ้ กำ� หนดรอู้ ยา่ ง
เดยี ว,
ระยะที่ ๒ การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน (จากวันที่ ๔ ถึงวันที่ ๑๐ ของ
หลกั สตู ร) เลกิ ฝกึ สมถะกรรมฐานแลว้ หนั ไปเจรญิ วปิ สั สนากรรมฐานแทน ตา่ งๆของ

l 53 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ ัน

ร่างกายตลอดท่ัวร่างอย่างเป็นระบบ โดยเลื่อนจากศีรษะ ค่อยๆ เล่ือนไปถึงปลาย
เทา้ โดยพจิ ารณาพนื้ ทแี่ ตล่ ะครง้ั ประมาณ ๒ – ๓ ตารางนว้ิ ไปตามลำ� ดบั ไมก่ ระโดด
ไปมาตามอำ� นาจกเิ ลส ตอ่ มาใหพ้ จิ ารณาความรสู้ กึ บนพน้ื ผวิ ของรา่ งกาย เพราะตาม
ผิวของเราในขณะปฏิบตั ิมักเกิดความรู้สกึ ตลอดเวลา เช่น คนั ขนลกุ ขนชนั ตัวอุน่
ตัวเย็น ตัวหนัก ตวั เบา จกั จี้ เป็นเหน็บ ปวดเม่อื ยหลังจากนั้น กใ็ หพ้ จิ ารณาความ
รสู้ กึ เข้าไปในรา่ งกาย เชน่ ร้สู กึ ถงึ ความสัน่ สะเทอื นอนั ละเอียดอ่อน อันเกดิ จากการ
เกดิ ดับ ของธาตุ ๔ (ดิน นำ้� ลม ไฟ ) ทง้ั น้ี ผลของการปฏิบตั ติ ามแนวทางน้ี คือ
ทำ� ใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมทางจติ ทเ่ี คยนกึ คดิ ปรงุ แตง่ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ทง้ั ดแี ละ
ไม่ดี มาเปน็ การกำ� หนดรูเ้ ท่าทนั ต่ออารมณ์ของจติ ทเ่ี ขา้ มากระทบทางอายตนะของ
ตนเอง แลว้ สามารถทจี่ ะตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั จติ ไมใ่ หห้ ลงใหลเพลดิ เพลนิ ไปในอารมณ์
ทเ่ี ขา้ มานน้ั จนกระทง่ั จติ เปน็ อสิ ระมคี วามปลอดโปรง่ โลง่ เยน็ ภายใน และสามารถท่ี
จะสกดั กัน้ ยับย้ัง นิวรณธ์ รรมต่างๆ ไมม่ ารบกวนจิตใจการาสอนของท่านยงั เป็นการ
ประยกุ ต์หลักธรรมหรือคำ� พดู ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสมแกย่ ุคปัจจบุ นั
การฝกึ จติ คอื ใหม้ สี ตติ ามดพู ฤตกิ รรมของจติ ดเู ฉยๆ ดแู ลว้ ดอู กี ใหด้ อู ยา่ ง
นั้น อยา่ ปรุงแต่ง ใหพ้ ทุ ธะภาวะมลี ักษณะเปน็ สัพพัญญู คอื รูเ้ ท่าทนั อาการของใจ
ทงั้ หมด จนสนิ้ สงสยั อบุ ายแสวงหาตวั ดคู อื ใหร้ สู้ กึ ตวั รอู้ ยกู่ บั ลมหาย หรอื อริ ยิ าบถ
การเคล่ือนไหวของอวยั วะในรา่ งกายส่วนใดสว่ นหนึง่ กไ็ ด้เปน็ การบอ่ เพาะตัวรู้ หรอื
ปลูกฝังพืชพันธุ์โพธิจิตและเอาความรู้สึกตัวมารู้ใจหรือดูใจ รู้อยู่อย่างนั้นจนกว่าว่า
มนั จะรแู้ จง้

๓. ปณิธานชีวติ ในการเปิดสอนวิปัสสนากรรมฐาน

ทา่ น อาจารยส์ ตั ยา นารายัน โกเอ็นก้า (S.N. Goenka) ไดใ้ ห้คำ� แนะนำ�
เกย่ี วกบั วธิ กี ารปฏบิ ตั ไิ วว้ า่ วปิ สั สนาเปน็ วธิ กี ารปฏบิ ตั กิ รรมฐานทเี่ กา่ แกท่ สี่ ดุ วธิ หี นงึ่
ของอนิ เดยี ซง่ึ ไดส้ าบสญู ไปจากมนษุ ยชาตมิ าเปน็ เวลานาน แตก่ ไ็ ดก้ ลบั มาคน้ พบอกี
ครงั้ โดยองค์สมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า เม่อื กว่า ๒๕๐๐ ปีมาแล้ว วิปสั สนาหมาย
ถึง “การมองดูสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง” อันเป็นกระบวนการในการท�ำจิตให้
บรสิ ทุ ธโ์ิ ดยการเฝา้ ดตู นเอง เราจะเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการเฝา้ สงั เกตดลู มหายใจตามธรรมชาติ

l 54 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ ัน

เพื่อท�ำให้จิตมีสมาธิ เมื่อมีสติท่ีม่ันคงเราก็จะก้าวไปสู่การเฝ้าสังเกตถึงการ
เปลยี่ นแปลงตามธรรมชาตขิ องกายและจติ ซงึ่ จะทำ� ใหไ้ ดพ้ บกบั สจั ธรรมทเ่ี ปน็ สากล
คอื ไดเ้ หน็ ความไมเ่ ทยี่ ง (อนจิ จงั ) ความทกุ ข์ (ทกุ ขงั ) และความไมม่ ตี วั ตน (อนตั ตา)
การทไี่ ดร้ เู้ หน็ ถงึ สภาพธรรมตามความเปน็ จรงิ เหลา่ นจี้ ากประสบการณข์ องทา่ นเอง
โดยตรง จึงเปน็ วิธกี ารในการช�ำระจิตให้บริสทุ ธ์ิ ธรรมะเปน็ เรื่องสากล มไี วส้ �ำหรบั
แก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เป็นสากล มิได้ผูกขาดเฉพาะศาสนาใดศาสนาหน่ึงหรือลัทธิใด
ลัทธิหนงึ่ ดว้ ยเหตนุ ค้ี นทุกคนจงึ สามารถจะปฏิบตั ิได้อยา่ งเสรี โดยไม่มีขอ้ ขดั แย้งใน
เรอื่ งของเชอื้ ชาติ ชนั้ วรรณะ หรอื ศาสนา ทง้ั ในซกี โลกตะวนั ออกและตะวนั ตกทว่ั ทกุ
ทวปี ในทท่ี กุ สถาน ในกาลทกุ เมอ่ื และจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ทกุ ๆ คนโดยทวั่ ถงึ กนั พน้ื
ฐานในการปฏบิ ตั ิ วปิ สั สนา คือ “ศีล” ศลี จะเปน็ พ้ืนฐานในการพฒั นาสมาธิ และ
กระบวนการท�ำจติ ให้บรสิ ทุ ธ์นิ นั้ จะเกิดข้ึนจากปญั ญา คอื “การรู้แจง้ เห็นจริง”
ชวี ติ คอื การเดนิ ทางทตี่ อ้ งเรยี นรอู้ ยา่ งไมม่ วี นั สนิ้ สดุ แตล่ ะวนั คนเรากา้ วไป
บนเสน้ ทางทเ่ี ลอื กเดนิ และเลอื กทจี่ ะเปน็ โดยไมม่ ใี ครรวู้ า่ ทางขา้ งหนา้ จะเปน็ ยงั ไง คง
ไมม่ ใี ครอยากใหม้ นั ผดิ พลาด มแี ตอ่ ยากใหห้ นทางนนั้ สวยงามไปในแบบทตี่ นเองคดิ
บางวันคนเราก้าวเดินอย่างรวดเร็วจนแทบจะวิ่งด้วยความเชื่อม่ันบางวันใจดวงเดิม
ของคนเรามนั กลบั ฝอ่ แทบจะหยดุ นง่ิ หมดแรง ไมเ่ ขา้ ใจกบั หลายๆ สง่ิ ทไี่ มไ่ ดค้ าดคดิ
เอาไวบ้ างวนั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งเดนิ ใหช้ า้ ลงสกั นดิ เพอ่ื จะไดม้ เี วลาคดิ ทบทวน หรอื ชน่ื ชม
ทวิ ทศั นข์ า้ งทางบา้ งจนบางทกี ม็ ารตู้ วั วา่ เราอาจจะไปผดิ ทางดว้ ยซำ้� หรอื สงสยั วา่ ตวั
เองก�ำลังหลงทางอยู่หรือเปล่าแต่มันไม่ได้หมายความว่าเราจะไม่ได้เจอกับทางออก
เพราะอยา่ งนอ้ ยเรากไ็ ดล้ องไปในทๆี่ เราไมเ่ คยไป หรอื เราอาจจะกำ� ลงั ไปในทท่ี ไ่ี กล
กว่าเดิมก็ได้หากชีวิตคือการเดินทางจริงๆ เมื่อมีเริ่มต้นก็ต้องมีจุดหมายปลายทาง
และมีทางออกให้กับทกุ เสน้ ทางเสมอ ใหเ้ วลากับหนทาง แล้วมนั จะพาเราไปเจอกับ
เร่ืองใหม่ๆแม้บางคร้ัง หนทางจะพาคนเราย้อนกลับมา เจอเร่ืองเดิมๆ อย่างหนีไม่
พ้นคนเราอาจจะต้องหัวเราะและร้องไห้ไปอีกซักก่ีคร้ัง ก็ไม่เป็นไรหรอกเพราะทุก
ขณะท่ีผ่านไปเป็นการให้บทเรียนให้กับพวกเขาเพิ่มขึ้น และจดจำ� ความรู้และความ
สึกจากประสบการณท์ ่ไี ดเ้ กิดขึ้นกบั ตวั เองให้มากขนึ้

l 55 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบัน

๓. บทวิเคราะห์องค์ความรู้

จากพารากราฟทห่ี นงึ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การทท่ี า่ นใหแ้ งค่ ดิ ในการสอนอยา่ ง
นกี้ เ็ พราะสถานการณใ์ นการเผยแผศ่ าสนาในขณะนน้ั มนั มคี วามหลอกแหลมทจี่ ะเกดิ
อนั ตรายกไ็ ด้ เพราะทา่ นตอ้ งตอ่ สคู่ วามความคดิ นยิ มทมี่ อี ยกู่ อ่ นหนา้ นน้ั แลว้ ในขณะ
เดียวกันท่านก็มีความต้องการท่ีจะน�ำพระพุทธศาสนากับคืนมาตุภิมิหรือเผยแผ่
พระพุทธศาสนาออกส่กู วา้ งอันนี้กเ็ ป็นประเด็นทีต่ ้องคิด
สว่ นในพารากราฟที่สองนน้ั กแ็ สดงให้เห็นว่า การทจ่ี ะสอนใครสกั คนนั้น
จะตอ้ งพจิ ารณาทต่ี วั เรา เชน่ คำ� ถามทวี่ า่ หากคณุ ไมโ่ มโหแลว้ คณุ จะปกปอ้ งตวั เองได้
อย่างไร? หากเราไม่โกรธแล้วเราจะประสบความส�ำเร็จในด้านนั้นด้านนี้ได้อย่างไร
ต่อความคิดเห็นข้อน้ีท่านให้แง่คิดว่า ถ้าเป็นเช่นน้ีแล้วแสดงว่าคนส่วนใหญ่มิได้ใช้
ชวี ติ ในลกั ษณะทเ่ี ปน็ กลาง ไมล่ ำ� เอยี งแตก่ ลบั ยดึ มน่ั อยา่ งเหนยี วแนน่ คนเรามกั รสู้ กึ
วา่ ด้วยการยดึ มั่นเท่านน้ั จึงสามารถบรรลุเป้าหมาย แตเ่ มือ่ พวกเขาเข้าใจและหนั มา
ปฏบิ ัติ กจ็ ะเห็นว่าบคุ คลท่ีไมย่ ดึ ติดถือมั่นตา่ งหากทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ มากกวา่ ใน
การไปให้ถงึ เปา้ หมาย นีก่ ็เพราะสภาพจิตใจยงั สงบอย่างยงิ่ แจม่ ชัดอยา่ งย่งิ และไม่
วา่ ปญั หาใดจะเกิดขน้ึ คณุ กต็ ัดสนิ ใจไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกตอ้ งถา้ เป็นอย่างนี้
นอกจากนนั้ ทา่ นยงั ใหม้ มุ มองอกี วา่ พระพทุ ธเจา้ ไมเ่ คยสอนลทั ธหิ รอื ศาสนา
ใดๆ ในพทุ ธพจนท์ งั้ หมดรวมทง้ั อรรถกถาทง้ั หลาย ซง่ึ รวมแลว้ หลายพนั หนา้ กระดาษ
ไม่เห็นมีค�ำว่า “พุทธศาสนา” ค�ำทั้งหมดนี้ล้วนเกิดข้ึนภายหลังเม่ือค�ำสอนของ
พระองคเ์ รม่ิ ลงหลกั ปกั ฐานแลว้ ทา่ นยงั ใหข้ อ้ สงั เกตวา่ การเรยี กคำ� วา่ “พทุ ธศาสนา”
เรมิ่ แตเ่ มอ่ื ไหร่ แตท่ นั ทที ค่ี ำ� เรยี กนเี้ กดิ ขน้ึ มนั ไดล้ ดทอนคณุ คา่ คำ� สอนของพระพทุ ธ
องค์ลงไป สง่ิ เหลา่ นเ้ี คยเป็นคำ� สอนสากล แตค่ �ำเรยี กเหลา่ นี้ทำ� ให้เกิดการแบ่งแยก
เป็นลัทธินิกายศาสนา ราวกับจะบอกว่า พุทธศาสนามีไว้เพื่อชาวพุทธเพียงเท่านั้น
เชน่ เดยี วกบั ศาสนาฮนิ ดกู ม็ ไี วเ้ พอ่ื ชาวฮนิ ดู ศาสนาอสิ ลามกม็ ไี วเ้ พอื่ คนมสุ ลมิ เทา่ นนั้
แต่ธรรมะน้ันมีไว้เพื่อมนุษย์ทุกคนในข้อน้ีก็เช่นกัน เราจะเห็นได้จากหลักการสอน
ทางพระพทุ ธศาสนามกั เรยี กคำ� สอนของพระองคว์ า่ “พระธรรม” หรอื “พรหมจรรย”์
ซง่ึ ใชแ้ ทนคำ� วา่ พระพทุ ธศาสนา ประเดน็ นก้ี อ็ าจเปน็ ไดท้ ท่ี า่ นไดน้ ำ� เสนออยใู่ นขณะ
นี้ พระธรรม หรอื พรหมจรรย์ น้เี ปน็ ธรรมะสากลท่มี ไี วเ้ พ่อื มนุษยท์ ุกคน

l 56 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

๔. ผลกระทบต่อสังคม

๑. วิปัสสนากรรมฐานได้เป็นท่ีสนใจปัจจุบันของคนทุกช้ัน ทุกวรรณะ
มากขึ้น
๒. ชาวอินเดยี ไดห้ ันมาศึกษาวปิ ัสสนาในรปู แบบของท่านอาจารย์สัตยา
นารายัน โกเอ็นกา้ มากข้ึน
๓. วปิ สั สนากรรมฐานได้รบั การสนบั สนนุ จากภาคเอกชนเป็นอยา่ งดี
๔. วัฒนธรรมในการปฏิบัติธรรมแบบด้ังเดิมของชาวอินเดียได้ถูกปรับ
เพ่ือให้เข้ากับแนวคดิ ของคนร่นุ ใหมม่ ากขน้ึ


สรุปท้ายบท

หลักของการท�ำวิปัสสนาท่านสัตยา นารายัน โกเอ็นก้าย้�ำอยู่เสมอว่า
วปิ สั สนาสามารถทำ� ใหส้ ขุ ภาพจติ ดี จติ ใจสงบเยน็ วปิ สั สนาสามารถสรา้ งความความ
สมั พนั ธก์ บั สมาชกิ ในครอบครวั และสรา้ งความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั คนอน่ื ๆ ในสงั คมดว้ ย
การเริ่มต้นในการท�ำวิปัสสนาด้วยการให้ความส�ำคัญกับศีลเป็นเบื้องต้น
เพราะศลี เป็นแก่นสารภายในของบุคคลทกุ คน ด้วยเหตนุ ้ี บคุ คลไม่ควรหลงลืมแก่น
ทอ่ี ยภู่ ายใน ถา้ เขาเหลา่ นล้ี ะเลยแกน่ สารภายในและยงั คงบอกวา่ ฉนั เปน็ ศาสนกิ ชน
เพราะว่าฉันท�ำพิธีกรรมมาตลอด เช่นน้ีแล้วก็เท่ากับว่า เขาก�ำลังหลอกลวงตัวเอง
และหลอกคนอน่ื ๆ ดว้ ยสนั ตภิ าพภายในในความหมายนคี้ อื สนั ตภิ าพไมใ่ ชส่ งิ่ ทส่ี รา้ ง
จติ นาการ แตเ่ ปน็ เป็นสร้างความสงบให้เกิดขึ้นมาจากภายในอย่างแท้จรงิ การสรา้ ง
ความสัมพันธ์กบั สรรพชวี ติ ดว้ ยกิเลสประเภทต่าง ๆ ท่ีเป็นไปดว้ ยความสมานฉนั ใน
ทางทสี่ รา้ งสรรค์ก็เป็นการสร้างสันติภาพเช่นเดียวกัน ด้วยเหตนุ ี้วิปัสสนากรรมฐาน
จึงเป็นการสรา้ งสนั ตทิ เ่ี กิดข้นึ จากภายในอย่างแท้จริง

สรุป

เมอ่ื กลา่ วโดยรปู แลว้ จะเหน็ วา่ ปจั จบุ นั นข้ี บวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั
ก�ำลังเกิดข้นึ อย่างสง่าผ่าเผยในสังคมโลกปจั จุบัน ท่ีเหน็ อย่างนี้กเ็ พราะมบี ุคคลและ
องคก์ รสำ� คญั ๆ ทม่ี บี ทบาทตอ่ การเผยแผค่ ำ� สอนทางพระพทุ ธศาสนาของสำ� นกั นน้ั ๆ

l 57 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนาแนวใหม่น้ีเพื่อตอบสนองปัญหาสังคมโลกยุคใหม่
ขบวนการพทุ ธใหม่ไดต้ คี วามพทุ ธธรรมใหค้ รอบคลมุ ปัญหาใหมๆ่ ท่เี กดิ ข้ึนในสงั คม
ปัจจุบัน เพราะเหน็ ว่าการสอนแบบเดิมๆ ทเี่ นน้ การแกป้ ญั หาของปัจเจกบุคคล ไม่
เพียงพอต่อการตอบปัญหาสังคมยุคใหม่ที่เต็มไปด้วยความสลับซับซ้อนได้ การแก้
ปัญหาของปัจเจกบุคคลและสังคมสามารถด�ำเนินควบคู่กันไปได้ และดูเหมือนว่า
พระพทุ ธศาสนาแบบใหมน่ ที้ ส่ี ามารถตอบโจทยส์ งั คมปจั จบุ นั ไดจ้ งึ เปน็ ทนี่ ยิ มกนั อยู่
ปัจจุบัน

l 58 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ ัน

องค์ความรูจ้ ากการไปศกึ ษาดูงานประเทศอิน

คณะพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลง
กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

งานสัมมนา ระหว่างวันท่ี ๑๖ มีนาคม ถงึ ๒๕ มนี าคม ๒๕๕๙
ณ สมาคมมหาโพธิ พทุ ธคยา ประเทศอินเดยี

พระครวู รมงคลประยตุ สริ มิ งฺคโล ไชยราช
องคค์ วามรู้จากการไปศกึ ษาดงู านประเทศอิน


รูปแบบการเผยแผพ่ ระพทุ ะศาสนา
๑. เป็นผู้จุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ท�ำให้ชาว
อนิ เดยี ซงึ่ แทนทจี่ ะลมื เลอื นพระพทุ ธศาสนาจนหมดสนิ้ แลว้ หนั กลบั มาแนวทางแหง่
อรยิ มรรคแหง่ พระพทุ ธศาสนาอีกครงั้
๒. ท่านได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเก่ียวกับพระพุทธสาสนาไว้
มากมายตามสถานทีต่ า่ งๆ ที่เป็นท่ีร�ำลึกถงึ พระพุทธองค์เช่น วดั มูลคันธกุฎ ี ใกล้ๆ
กบั สถานท่แี สดงปฐมเทศนา ทีส่ ารนาท
๓. ท่านได้จุดประกายริเร่ิมให้ชาวพุทธ และชาวอินเดียหันมาเอาใจใส่
และดแู ลฟน้ื ฟพู ระพทุ ธสถาน และสถานทสี่ ำ� คญั ของพระพทุ ธองค ์ โดยเฉพาะพทุ ธ
คยา แมใ้ นสมยั ของทา่ นอาจจะยงั ไมท่ ำ� ใหพ้ ทุ ธคยาคนื สกู่ รรมสทิ ธข์ิ องชาวพทุ ธและ

l 59 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจบุ นั

อยใู่ นการดแู ลคมุ้ ครองของชาวพทุ ธไดแ้ ตต่ อ่ มาการกระทำ� ของทา่ นกเ็ ปน็ กระแสผลกั
ดันสังคม ชาวอินเดียนักปราชญ์หลายท่านก็ได้แสดงความเห็นควรว่าพุทธคยาเป็น
สทิ ธข์ิ องชาวพทุ ธอยา่ งแนน่ อน ตอ่ มาในเดอื นเมษายนป ี ๒๔๙๙ รฐั บาลแหง่ รฐั พหิ าร
ได้ผา่ นราชบัญญตั วิ ิหารพุทธคยา ซ่ึงให้ส่วนหนง่ึ อยใู่ นการดูแลของชาวพทุ ธ โดยมี
กรรมการชาวพทุ ธ๔ทา่ นชาวฮินด๔ู ท่านและผู้วา่ ราชการ จงั หวัดคยาเป็นประธาน
ประทบั ใจในสวนลมุ พนิ วี นั ซง่ึ เปน็ ทปี่ ระสตู ขิ องพระพทุ ธเจา้ ซงึ่ อยใู่ กลก้ บั
เทือกเขาหิมาลัยได้สัมผัสอากาศเย็นแม้อยู่ในช่วงของเดือนมีนาคม จะน�ำเอาองค์
ความรไู้ ปสอนนักเรียนตอ่ ไป และจบการบนั ทึกความประทบั ใจเพยี งเท่านี้

l 60 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

พระครปู ระทปี รตั นคณุ ธมมฺ ทีโป คำ� ผอง

อนาคาริกธรรมะปาละกบั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในอนิ เดยี
ท่านอนาคริกะ ธรรมปาละ ท่านเกิดเม่ือวันท่ี ๑๗ กันยายน ๒๔๐๗ ใน
ครอบครวั ผู้ม่ังค่ังเมอ่ื ราว พ.ศ.๒๔๓๖ บิดาชอื่ ว่า เดวิด เหววติ รเน ธรรมปาละ พุทธ
ศาสนกิ หนมุ่ ชาวสงิ หล ไดอ้ า่ นบทความทเี่ ซอร์ เอด็ วนิ อารโ์ นลด์ เขยี นไวเ้ กย่ี วกบั การ
ที่พุทธสถานที่สารนารถถูกปล่อยปะละเลย ในหนังสือพิมพ์ เทเลกราฟอนาคาริก
ธรรมปาละจงึ ตดั สนิ ใจเดินทางไปท่ีสารนารถและพุทธคยาในเดอื นมกราคม ๒๔๓๔
เพอื่ ใหเ้ หน็ ดว้ ยตาตนเอง พลนั ทอี่ นาคารกิ มาถงึ พทุ ธคยาทำ� ใหเ้ ขาตอ้ งตกตะลงึ ทเี่ หน็
สภาพสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าถูกยึดครองและอยู่ในกรรมสิทธิ์ของฮินดูนิกาย
มหันต์ รูปเคารพ และส่ิงที่เป็นตัวแทนของพระพุทธศาสนาถูกฮินดูท�ำลาย และ
จัดการตามใจชอบโดยไม่ได้ค�ำนึงถึงสิ่งที่ควรหรือไม่ควรอนาคาริกธรรมปาละจึง
ตัดสินใจท่ีจะเรียกร้องกรรมสิทธ์ิพุทธคยาคืนมาจากฮินดู ในการด�ำเนินการนี้ท่าน
ตอ้ งเดนิ ทางเพอ่ื แสวงหาความรว่ มมอื จากพระภกิ ษจุ ากหลายประเทศเชน่ ลงั กา พมา่
ไทย และญ่ีปุ่น ในที่สุดก็สามารถก่อต้ังมหาโพธิสมาคมแห่งอินเดียขึ้นในวันที่ ๓๑
พฤษภาคม ๒๔๓๔ ได้นิมนต์พระสงฆ์จากศรลี ังกา ๔ รูปจำ� พรรษาทพี่ ุทธคยาอกี ดว้ ย
ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ มหาโพธิสมาคมได้ย้ายที่ท�ำการไปที่เมืองกัลกัตตา อ
นาคารกิ ธรรมปาละไดอ้ อกวารสารมหาโพธิ เพอ่ื ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมของมหาโพธิ
สมาคมและเผยแพร่ค�ำสอนของพระพุทธศาสนาไปทั่วโลก ในปีเดียวกันน่ันเองนัก

l 61 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

วิชาการชาวอนิ เดียจึงจงึ ได้ก่อตัง้ สมาคมปาลีปกรณ์ขนึ้ ทีเ่ มอื งกัลกตั ตา เพือ่ จดั พิมพ์
ต�ำราทางพระพทุ ธศาสนาเป็นภาษาของชาวอินเดยี
ในปัจฉิมวัยท่านได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่สารนาถพาราณสี ก่อน
มรณภาพทา่ นอธษิ ฐานวา่ “ขอใหข้ า้ พเจา้ ไดต้ ายไวๆ แลว้ ขอใหเ้ กดิ มาเผยแพรธ่ รรม
ของพระพทุ ธองค์ตลอดไป” 

l 62 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ นั

พระครวู ิบลู ภทั โรภาส โอภาโส การพาศ

การสมั มนาเรอื่ งธรรมปาละ และสมั มนาเร่ือง ดร.อัมเบตการ์
อนาคารกิ ธรรมปาละเปน็ บคุ คลทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนา
ในประเทศอนิ เดีย เป็นผกู้ ่อตงั้ สมาคมมหาโพธแิ์ ละเป็นผเู้ รยี กร้องเอาพทุ ธสถานใน
อินเดยี กลับคนื มาเป็นของชาวพุทธ ตลอดระยะเวลานับต้ังแต่ป ี ๒๔๗๓ เป็นตน้ มา
ท่านได้ด�ำเนนิ การเรียกร้องท้งั ในอนิ เดยี และลังกา เรือ่ งของพทุ ธคยาก็เป็นประเด็น
ท่ีชาวอินเดียต่างให้ความสนใจ ท่านธรรมปาละได้เดินทางไปยังประเทศอื่นๆ อีก
เชน่ ประเทศสหรฐั อเมริกา เพ่อื ไปเปดิ สาขามหาโพธิสมาคมขน้ึ ท่ีนนั่ เนอื่ งจากการ
ตรากตร�ำทำ� งานอยา่ งไมห่ ยดุ หย่อน สขุ ภาพของท่านจึงไมด่ นี กั
ทา่ นธรรมปาละ เปน็ ผทู้ มี่ บี ทบาทอยา่ งสงู ตอ่ การฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาใน
อนิ เดยี ประโยชนท์ ่ีท่านไดฝ้ ากไวใ้ นพระพุทธศาสนา พอสรปุ ไดด้ งั น้ี
๑. เป็นผู้จุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ท�ำให้ชาว
อินเดียซ่ึงแทบจะลืมเลือนพระพุทธศาสนาจนหมดสิ้นแล้ว หันกลับมาหาแนวทาง
แห่งอรยิ มรรคแห่งพระพทุ ธองค์อีกครั้ง
๒. ท่านได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาไว้
มากมายตามสถานท่ีต่างๆ ท่ีเป็นท่ีระลึกถึงพระพุทธองค์ เช่น วัดมูลคันธกุฏวิหาร
ใกล้ๆกับสถานที่แสดงปฐมเทศนาที่สารนาศ
๓. ท่านได้เป็นผู้จุดประกายริเร่ิมให้ชาวพุทธและชาวอินเดียหันมาใส่ใจ
และฟื้นฟูพทุ ธสถาน

l 63 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

พระครธู รรมธรจารึก จนทฺ าโภธุรารตั น์
องค์ความรู้ทไี่ ด้จากการสมั มนาทม่ี หาโพธิ์

ท่านอนาคาริกธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด ๑๗
กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๐๗ มรณภาพ ๒๙เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖) เปน็ บคุ คลทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ
ในการฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดยี  เปน็ ผกู้ อ่ ตง้ั สมาคมมหาโพธ ิ์ และเปน็
ผเู้ รยี กร้องเอาพุทธสถานในอนิ เดียกลับคืนมาเป็นของชาวพทุ ธ
ดังที่ทา่ นธรรมปาละได้กลา่ วปราศรัยในงานเปิดสมาคมมหาโพธติ อนหน่งึ ว่า
“...หลงั จากทพ่ี ระพทุ ธศาสนาไดถ้ กู เนรเทศออกไปเปน็ เวลานานถงึ ๘๐๐ปี
ชาวพทุ ธทงั้ หลายกไ็ ดก้ ลบั คนื มา ยงั พทุ ธสถานอนั เปน็ ทร่ี กั ของตนนอ้ี กี ... เปน็ ความ
ปรารถนาของสมาคมมหาโพธิ ที่จะมอบพระธรรมค�ำสอนอันเปี่ยม ด้วย พระมหา
กรณุ าของพระพุทธองค์ ใหแ้ กป่ ระชาชนชาวอินเดียทัง้ มวล ไมเ่ ลือกชาตชิ ้นั วรรณะ
และลทั ธนิ กิ าย.. ขา้ พเจา้ มนั่ ใจ วา่ ทา่ นทงั้ หลาย จะพรอ้ มใจกนั เผยแผ่ “อารยธรรม”
(ธรรมอนั ประเสรฐิ ) ของพระตถาคตเจา้ ไปใหต้ ลอดทวั่ ท้งั อนิ เดยี ...”
‘จดุ ประสงคข์ องสมาคมมหาโพธิ ทีไ่ ด้จดั ตั้งขน้ึ ในคราวนั้น คือ
“เพอ่ื สรา้ งวดั พระพทุ ธศาสนาและกอ่ ตง้ั พทุ ธวทิ ยาลยั กบั สง่ คณะพระภกิ ษุ
ซึง่ เปน็ ผู้แทนของประเทศพระพทุ ธศาสนา คือ จีน ญี่ปนุ่ ไทย เขมร พม่า ลงั กา จิต
ตะกอง เนปาล ธิเบต และอารกนั ไปประจำ� อยู่ ณ พทุ ธคยา” เพ่อื จัดพิมพ์วรรณคดี
พระพุทธศาสนาขึน้ ในภาษาอังกฤษ และภาษาทอ้ งถ่นิ ของอนิ เดยี ”

l 64 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

พระครสู ุเมธธรรมกิจ ฐติ เมโท กุดสมบัติ
สัมมนา ที่ สมาคมมหาโพธิ

การฟนื้ ฟพู ระพทุ ธศาสนาในอินเดีย ของท่าน อนาคารกิ ธรรมะปาละการ
ศึกษาพบว่าการฟนื้ ฟพู ระพุทธศาสนาในอินเดียนั้นทา่ นได้ชักชวน ประเทศตา่ งๆ ท่ี
นับถือพระพุทธศาสนา มาช่วยฟื้นฟู แม้ว่าการฟื้นฟูจะล�ำบากยากเข็นขนาดไหน
กต็ าม ทา่ นก็ยงั ไมล่ ดความเพยี ร ท่านรูด้ อี ย่คู นในประเทศสว่ นใหญ่เป็นคนของพวก
มหนั ต ์ ทำ� ใหก้ ารตดิ ตอ่ ประสานงานใด ๆ ชอบมปี ญั หา และอปุ สรรค บางครงั้ ถงึ กบั
ไม่ยอมเจรจา ส่ิงใดๆ กับชาวพุทธ พวกเขาไม่ให้ความร่วมมือ แต่ถึงกระนั้นท่าน
ประชาชนพลเมอื งทนี่ บั ถือพุทธท่ีมีจำ� นวนนอ้ ยกพ็ ร้อมใจกันตอ่ สู้
ใน ป ี ค.ศ. ๑๘๙๓ ท่ี เมอื ง ชกิ าโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มกี ารเชญิ
ทา่ นอนาคารกิ ธรรมะปาละไปแสดงธรรม บรรยายธรรม พรอ้ มรว่ มอภปิ รายสมั มนา
เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ก็ได้รับยกย่องสรรเสริญว่า เป็นเลิศ เป็นหน่ึงในรายการ
อภปิ รายสมั มนาในครงั้ นนั้ จนมนี กั ปรชั ญา ทา่ นหนงึ่ คอื มสิ เตอร์ C.T. เสตราส ์ เกดิ
ความ ซาบซ้งึ เข้าใจในพระพทุ ธศาสนา ถงึ กับขอปฏญิ าณตนเปน็ พุทธมามกะ ท่าน
อนาคาริก ธรรมะปาละ จงึ ไดจ้ ดั ให้มีพิธีข้นึ ท่สี มาคมธีออส โซฟี่ แห่ง นครชิกาโก
ประเทศสหรัฐอเมริกา นับว่าเป็นอุบาสกคนแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาทีเดียว
พระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดยี ทไ่ี ดร้ บั การฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาอยา่ งตอ่ เนอื่ งใน
ขณะกเ็ พราะการตอ่ สู้ของท่าน

l 65 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ นั

องคค์ วามร้ใู หม่ท่ไี ด้รบั จากการศกึ ษาดงู านในครั้งนีท้ ่ีอาจลมื ไดค้ อื
วถิ ชี วี ติ ของ แตล่ ะเมอื งในอนิ เดยี เมอ่ื พจิ ารณาดู จะเหน็ วา่ อนิ เดยี เปน็
เมอื ง คนใช้หวั คือใช้หัวทนู ส่ิงของแม้แต่เวลาเกบ็ ฟนื ทางบ้านเราใช้บ่าแบก แตค่ น
อินเดีย ใชม้ ดั ฟนื วางไวบ้ นหัว แลว้ เดนิ กลับบา้ น ขนอฐิ แบกอฐิ ก็ใช้หัว เชน่ เดียวกนั
อนิ เดยี เปน็ เมอื ง ผวั เฝา้ หา้ ง คอื การคา้ ขายสง่ิ ของ ตามตลาด สว่ นมาก มแี ตพ่ อ่ บา้ น
หรอื ผชู้ ายอนิ เดยี เปน็ เมอื ง เดนิ ทาง ตอ้ งทำ� ใจ เพราะระยะทางไกล ถนนไมส่ ะดวก
หา้ มรถวงิ่ เรว็ คนเยอะการไปมาเกดิ แยง่ ชงิ ยวดยานพาหนะ ทำ� ใหแ้ ออดั ยดั เยยี ด ไม่
เว้นแม้หลังคารถ นคี่ อื ทอ่ี นิ เดยี อนิ เดีย เปน็ เมอื งววั เปน็ ใหญ่ นกั เลงโต หมายถึง
ตามหนทางในตลาด จะมวี วั นอนขวางทางสญั จรอนิ เดยี เปน็ เมอื งสดุ โอว่ รรณะ เชน่
ท่ตี ะโปธาราม มีพธิ กี ารอาบนำ้� ของคนในแต่ละวรรณะ อนิ เดยี เปน็ เมอื ง พระปาง
แกผ้ า้ เพราะอนิ เดยี มศี าสนา เชน ทางพทุ ธ เรา เรยี ก นคิ รนถ์ นาฏบตุ ร อนิ เดยี เปน็
เมอื ง ถานขา้ งถนน เขาถอื วา่ ไดผ้ ลติ ปยุ๋ บำ� รงุ ดนิ ไดป้ ระหยดั นำ้� ไดอ้ ยแู่ บบพอเพยี ง

l 66 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบัน

พระครธู รรมธรเอนก ญาณเมธี จันนาวัน

ท่านอนาคาริก ธัมมปาละกับรูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน
อินเดียจากยคุ อดีตจนถึงปจั จบุ ัน
ในชว่ งปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๐๐ ชาวอนิ เดยี เจา้ ของประเทศอนั เปน็ ถนิ่ กำ� เนดิ
ของพระพุทธศาสนา ยังคงสับสนทางความคิดเพราะอิทธิพลของฮินดูครอบง�ำคน
อนิ เดยี มายาวนานหลายพนั ปี พระพทุ ธศาสนาเกดิ ขนึ้ ในชมพทู วปี เปน็ ชว่ งระยะเวลา
ตดิ ต่อกนั ๑,๗๐๐ ปี และหายไปเปน็ ช่วงเวลาถึง ๗๐๐ ปี ไม่เหมอื นกับฮินดทู ีค่ งอยู่
ค่กู บั ชาวอนิ เดยี มาเปน็ เวลานาน
ในยคุ ของการฟน้ื ฟูพระพทุ ธศาสนาทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละ พทุ ธศาสนิ
กหนุ่มชาวสิงหลถือได้ว่าเป็นผู้มีบทบาทท่านท่ีเรียกร้องพระพุทธศาสนากับคืนสู่อิน
ดว้ ยการเรยี กรอ้ งกรรมสทิ ธพิ์ ทุ ธคยาคนื มาจากฮนิ ดู ในการดำ� เนนิ การนที้ า่ นตอ้ งเดนิ
ทางเพ่ือแสวงหาความร่วมมือจากพระภิกษุจากหลายประเทศเช่นลังกา พม่า ไทย
และญปี่ นุ่ การเรยี กรอ้ งในครงั้ นนั้ ถงึ มนั ยงั ไมป่ ระสบความสำ� เรจ็ เลยทแ่ี ตต่ อ่ มาการก
ระทำ� ของทา่ นกเ็ ปน็ กระแสผลกั ดนั สงั คม ชาวอนิ เดยี หลายฝา่ ย นกั ปราชญห์ ลายทา่ น
กไ็ ดแ้ สดงความเหน็ ควรวา่ พทุ ธคยาเปน็ สทิ ธข์ิ องชาวพทุ ธอยา่ งแนน่ อน ตอ่ มาในเดอื น
เมษายน ปี ๒๔๙๙ รัฐบาล แห่งรัฐพิหาร ไดผ้ า่ นพระราชบัญญัตวิ หิ ารพทุ ธคยา ซง่ึ
ใหส้ ว่ นหนง่ึ อยใู่ นการดแู ลของชาวพทุ ธ โดยมกี รรมการชาวพทุ ธ ๔ ทา่ น ชาวฮนิ ดู ๔
ท่าน โดยมีผู้วา่ ราชการจงั หวัดคยาเปน็ ประธาน
แต่ส่ิงปรากฏได้ชัดในขณะนั้นก็คือการก่อต้ังมหาโพธิสมาคมในประเทศ
อนิ เดียข้ึนได้ กจิ กรรมในสมาคมมหาโพธหิ ลักๆ คือ พมิ พ์วารสารเพือ่ เผยแผห่ ลักค�ำ
สอนของพระพุทธศาสนาเป็นหลัก

l 67 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

เจ้าอธิการปรีชา อนาลโย พัลวัน

อนาคารกิ ธัมมปาละกับการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศอินเดยี
อนาคาริก ธรรมปาละ (เกิด ๑๗กันยายน พ.ศ. ๒๔๐๗ มรณภาพ ๒๙
เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖) เป็นบุคคลท่ีส�ำคัญท่ีสุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาใน
ประเทศอนิ เดีย เป็นผกู้ อ่ ตั้งตง้ั สมาคมมหาโพธ์ ิ ทา่ นไดต้ ดิ ตอ่ กบั เจา้ หนา้ ทขี่ องจงั หวดั
คยาเพื่อจดุ ประสงคท์ ่จี ะฟื้นฟูพุทธคยา ไดร้ บั การชีแ้ จง ว่าพระวหิ ารมหาโพธิพร้อม
กับรายได้ท่ีเกิดข้ึนน้ันตอนนี้กลายเป็นของมหันต์ แต่ว่าด้วยความช่วยเหลือของ
รฐั บาลกอ็ าจมที างเปน็ ไปไดท้ จี่ ะขอซอื้ พระวหิ าร และบรเิ วณดงั กลา่ วจากมหนั ต์ (นา่
แปลกอยเู่ หมอื นกนั ทวี่ า่ เราตอ้ งขอซอื้ ขอมกี รรมสิทธใ์ิ นพื้นทท่ี ี่ควรจะเป็นของพวก
เราชาวพทุ ธเอง)
ทา่ นธรรมปาละได้เดินทางกลบั มายังโคลัมโบ เพื่อทจ่ี ะไปจดั ตั้งสมาคมขน้ึ
เพื่อการน�ำพุทธคยากลับคืนมาสู่ชาวพุทธ และในวันที่ ๓๑พฤษภาคม พ.ศ.
๒๔๓๔พุทธสมาคมเพื่อจุดประสงค์การกอ่ ตั้งสมาคมมหาโพธิ์
จุดประสงค์ของสมาคมมหาโพธิ ที่ได้จัดตั้งขึ้นในคราวน้ัน ก็เพ่ือสร้างวัด
พระพุทธศาสนาและก่อตั้งพุทธวิทยาลัยกับส่งคณะพระภิกษุซึ่งเป็นผู้แทนของ
ประเทศพระพทุ ธศาสนา คอื จนี ญี่ปนุ่ ไทย เขมร พม่า ลังกา จติ ตะกอง เนปาล
ธเิ บต และอารกนั ไปประจ�ำอยู่ ณ พุทธคยา” กิจกรรมของสมาคมมหาโพธิ คอื การ
จดั พมิ พว์ รรณคดพี ระพทุ ธศาสนาทงั้ เปน็ ภาษาองั กฤษ และภาษาทอ้ งถน่ิ ของอนิ เดยี
นี้เป็นช่องทางทจี่ ะสามารถเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาไดด้ ีในขณะน้นั

l 68 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ นั

ท่านได้เป็นผู้จุดประกายริเร่ิมให้ชาวพุทธ และชาวอินเดีย หันมาเอาใจใส่
และฟน้ื ฟูพุทธสถาน 
ตลอดระยะเวลานบั ตงั้ แตป่ ี ๒๔๗๓เปน็ ตน้ มา ทา่ นกไ็ ดด้ ำ� เนนิ การเรยี กรอ้ ง
ท้ังในอินเดียและลังกา เร่ืองของพุทธคยา ก็เป็นประเด็นที่ชาวอินเดียต่างให้ความ
สนใจ ทา่ นธรรมปาละไดเ้ ดนิ ทางไปยงั ประเทศอนื่ ๆ อกี เชน่  ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
เพอ่ื ไปเปดิ สาขามหาโพธสิ มาคมขนึ้ ทนี่ นั่ เนอ่ื งจากการตรากตรำ� ทำ� งานอยา่ งไมห่ ยดุ
หยอ่ น สุขภาพทา่ นจงึ ไมค่ อ่ ยดีนกั
ในปี พ.ศ ๒๔๕๘ท่านธรรมปาละได้ท�ำงานท่ีปรารถนาจะท�ำให้ส�ำเร็จมา
นานไดเ้ รียบร้อย คอื การที่จะใหม้ พี ทุ ธวหิ าร หรือวัดแห่งแรก
ในอินเดีย หลังจากพระพุทธศาสนาถูกท�ำลายไปกว่า ๗๐๐ปี ที่กัลกัตตา
และการจดทะเบยี น สมาคมมหาโพธิ เปน็ สมาคมทถ่ี ูกต้องสมบรู ณ์ดว้ ย
ท่านธรรมปาละ เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูง ต่อการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาใน
อนิ เดีย ประโยชน์ท่ีทา่ นฝากไวใ้ นพระพุทธศาสนา

l 69 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบัน

พระมหาทองสุข สเุ มโธไทยทนุ

อนาคาริก ธรรมปาละกบั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศอินเดีย
ประวัติอนาคาริก ธรรมปาละ
ประวตั ิ ทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละ เกดิ เมอื่ วนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๐๗
ท่ีเมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา เดิมมีชื่อว่า “ดอน เดวิดเววาวิตารเน” (Don
Devid Vewavitarne) ท่านได้เขา้ รว่ มสมาคมพน้ื ฟูการท�ำงานทางพระพทุ ธศาสนา
มาโดยตลอดจนถึงระดบั อดุ มศกึ ษา
ในปี พ.ศ. ๒๔๒๘ ท่านสนใจหนังสอื ช่อื “ประทปี แห่งเอเชีย” ซงึ่ เป็นจดุ
เปล่ียนผันในวิถีชีวิตของท่าน และในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ท่านได้เดินทางไปประเทศอิน
เดยี วเปน็ ครงั้ แรก ไปนมสั การพทุ ธคยาและสารนาทตอ่ มาไดก้ อ่ ตง้ั สมาคมมหาโพธทิ ี่
อินเดีย และเริ่มจัดท�ำวารสารมหาโพธิ จากกัลกัตตาซึ่งสมาคมมหาโพธิได้มีส่วนท่ี
สำ� คญั ในการก่อตั้งสภาทางศาสนาที่ชิคาโกประเทศสหรฐั อเมริกา
รปู แบบของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
๑. เป็นผู้จุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ท�ำให้ชาว
อนิ เดยี ซงึ่ แทบจะลมื เลือนพระพุทธศาสนา จนหมดส้นิ แล้วหันกลบั มาแนวทางแห่ง
อรยิ มรรคแหง่ พระพทุ ธองค์อกี ครั้ง
๒. ท่านได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาไว้
มากมาย ตามสถานทีต่ า่ งๆ ทีเ่ ป็นท่รี ะลกึ ถึง พระพุทธองค์ เชน่ วัดมูลคนั ธกุฎวหิ าร
ใกล้ ๆ กับสถานทแ่ี สดงปฐมเทศนา ทส่ี ารนาถ

l 70 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

๓. ทา่ นไดเ้ ปน็ ผจู้ ดุ ประกายรเิ รมิ่ ใหช้ าวพทุ ธ และชาวอนิ เดยี หนั มาเอาใจ
ใสแ่ ละฟน้ื ฟพู ทุ ธสถาน ทส่ี ำ� คญั ของพระพทุ ธองค์ โดยเฉพาะพทุ ธคยาแมใ้ นสมยั ของ
ท่าน อาจจะยังไม่ท�ำให้พุทธคยา คืนสู่กรรมสิทธิ์ของชาวพุทธและอยู่ในการดูแล
คุ้มครอง ของชาวพุทธได้ แต่ต่อมาการกระท�ำของท่านก็เป็นกระแสผลักดันสังคม
ชาวอนิ เดียหลายฝา่ ย นักปราชญ์หลายทา่ นก็ไดแ้ สดงความเหน็ ควรวา่ พุทธคยาเปน็
สิทธ์ิของชาวพุทธอย่างแน่นอน ต่อมาในเดือนเมษายน ปี ๒๔๙๙ รัฐบาล แห่งรัฐ
พิหาร ได้ผ่านพระราชบัญญัติวิหารพุทธคยาซึ่งให้ส่วนหนึ่ง อยู่ในการดูแลของชาว
พุทธ โดยมกี รรมการชาวพทุ ธ ๔ ท่าน ชาวฮนิ ดู ๔ทา่ น โดยมีผวู้ ่าราชการจังหวดั ค
ยาเปน็ ประธาน

l 71 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

พระสมฤทธ์ิ ฉนฺทจิตโต พนมทพิ ย์

อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศอินเดยี
ประวัตอิ นาคารกิ ธรรมปาละ
ประวตั ิ ทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละ เกดิ เมอื่ วนั ที่ ๑๗กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๐๗
ทเ่ี มอื งโคลมั โบ ประเทศศรลี งั กา เดมิ มชี อื่ วา่ “ดอน เดวดิ เววาวติ ารเน” (Don Dev-
idVewavitarne) ทา่ นไดเ้ ขา้ รว่ มสมาคมพน้ื ฟกู ารทำ� งานทางพระพทุ ธศาสนามาโดย
ตลอดจนถงึ ระดบั อดุ มศึกษา
ท่านได้เป็นผู้จุดประกายริเริ่มให้ชาวพุทธ และชาวอินเดียหันมาเอาใจใส่
และ ฟ้ืนฟูพทุ ธสถาน ทสี่ ำ� คญั ของพระพุทธองค์ โดยเฉพาะพทุ ธคยาแม้ในสมยั ของ
ท่าน อาจจะยังไม่ท�ำให้พุทธคยา คืนสู่กรรมสิทธิ์ของชาวพุทธและอยู่ในการดูแล
คุ้มครอง ของชาวพุทธได้ แต่ต่อมาการกระท�ำของท่านก็เป็นกระแสผลักดันสังคม
ชาวอินเดยี หลายฝา่ ย นักปราชญ์หลายท่านกไ็ ด้แสดงความเหน็ ควรว่าพทุ ธคยาเป็น
สิทธ์ิของชาวพุทธอย่างแน่นอน ต่อมาในเดือนเมษายน ปี ๒๔๙๙ รัฐบาล แห่งรัฐ
พิหาร ได้ผ่านพระราชบัญญัติวิหารพุทธคยาซึ่งให้ส่วนหนึ่ง อยู่ในการดูแลของชาว
พทุ ธ โดยมกี รรมการชาวพุทธ ๔ ท่าน ชาวฮินดู ๔ทา่ น โดยมผี ู้ว่าราชการจงั หวัดค
ยาเป็นประธาน
การก่อตั้งสมาคมมหาโพธิก็เพื่อจัดพิมพ์วรรณคดีพระพุทธศาสนาขึ้นใน
ภาษาองั กฤษ และภาษาทอ้ งถน่ิ ของอนิ เดยี นเี้ ปน็ รปู แบบทที่ า่ นในการฟน้ื ฟพุ ระพทุ ธ
ศาสนา

l 72 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ ัน

สิ่งท่ีประทับใจในการออกสัมมนานอกพ้ืนท่ีก็คือ ได้ประสบการจริง เห็น
สถานทจี่ รงิ และไดส้ มั ผสั กบั สง่ิ เราไมเ่ คยไดส้ มั ผสั เราเรยี นจากหนงั สอื อยา่ งเดยี วคง
ไมท่ ำ� ใหเ้ ราเขา้ ถงึ องความรไู้ ดท้ ง้ั หมด ถา้ อยากเขา้ ถงึ องคค์ วามรทู้ ง้ั หมดตอ้ งมปี ระสบ
จากภาคสนามจริงดว้ ย

l 73 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

พระถาวร มหาญาโณ

อนาคารกิ ธรรมปาละกบั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดยี
ประวตั ิอนาคารกิ ธรรมปาละเป็นผ้จู ุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนา
ในอินเดีย ท�ำให้ชาวอินเดียซ่ึงแทบจะลืมเลือนพระพุทธศาสนาจนหมดส้ินแล้ว แต่
ชาวอินเดียตอ้ งหันกลบั ฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาอีกครง้ั
ท่านได้เป็นผู้จุดประกายริเร่ิมให้ชาวพุทธ และชาวอินเดียหันมาเอาใจใส่
และฟน้ื ฟพู ทุ ธสถาน ทสี่ ำ� คญั ของพระพทุ ธองค์ โดยเฉพาะพทุ ธคยาแมว้ า่ ในสมยั ของ
ท่านอาจจะยังไม่ท�ำให้พุทธคยากับคืนสู่กรรมสิทธิ์ของชาวพุทธและอยู่ในการดูแล
คุ้มครอง ของชาวพุทธได้ แต่ต่อมาการกระท�ำของท่านก็เป็นกระแสผลักดันสังคม
ชาวอินเดียหลายฝ่าย นกั ปราชญห์ ลายทา่ นกไ็ ด้แสดงความเหน็ ว่าพุทธคยาควรเป็น
สิทธิ์ของชาวพุทธ ด้วยแรงผลักดันนี้ท�ำให้รัฐบาล แห่งรัฐพิหาร ได้ผ่านพระราช
บัญญัติวิหารพุทธคยาโดยให้ชาวพุทธเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการได้บาง
ส่วน ถึงแม้จะไม่ได้ทั้งหมดแต่ก็เป็นนิมิตที่ดีที่ท�ำให้ชาวพุทธในประเทศอินเดียได้
ชน่ื ชมในกรรมสิทธ์ิพวกเขาควร

l 74 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

พระโชติ อตพิ โล ภาษี

อนาคารกิ ธรรมปาละกับการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศอนิ เดีย
ประวัติอนาคาริก ธรรมปาละ
ประวตั ิ ทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละ เกดิ เมอ่ื วนั ที่ ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๐๗
ท่ีเมืองโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา เดิมมีช่ือว่า “ดอน เดวิดเววาวิตารเน” (Don
Devid Vewavitarne) ทา่ นได้เขา้ รว่ มสมาคมพืน้ ฟูการทำ� งานทางพระพุทธศาสนา
มาโดยตลอดจนถึงระดบั อุดมศกึ ษา
ในปี พ.ศ. ๒๔๒๘ ทา่ นสนใจหนังสอื ชอื่ “ประทปี แหง่ เอเชยี ” ซึ่งเปน็ จดุ
เปล่ยี นผนั ในวถิ ีชีวิตของทา่ น และในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ ทา่ นได้เดินทางไปประเทศอิน
เดยี วเปน็ ครงั้ แรก ไปนมสั การพทุ ธคยาและสารนาทตอ่ มาไดก้ อ่ ตง้ั สมาคมมหาโพธทิ ี่
อินเดีย และเริ่มจัดท�ำวารสารมหาโพธิ จากกัลกัตตาซ่ึงสมาคมมหาโพธิได้มีส่วนท่ี
สำ� คัญในการก่อตง้ั สภาทางศาสนาทีช่ ิคาโกประเทศสหรฐั อเมรกิ า
ปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ทา่ นไดไ้ ปนมสั การสารนาทและจดั ซอื้ ทดี่ นิ ทส่ี ารนาทตอ่ มา
ไดก้ อ่ ตงั้ สารนาทเปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา ในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ไดไ้ ดส้ ถาปนา
พทุ ธธรรมเพ่อื สันติภาพและความม่ันคง เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ทา่ นได้
ก่อตั้งมูลคันธกุฎีวิหารและเร่ิมก่อสร้างมูลคันธกุฎีวิหารและแล้วเสร็จใน ปี พ.ศ.
๒๔๗๔ ปี พ.ศ. ๒๔๗๖ท่านได้ป่วยหนักดว้ ยโรคหวั ใจล้มเหลว และส้นิ ชวี ิตลง เมื่อ

l 75 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

วนั เสาร์ท่ี๒๙เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖เวลา ๑๕.๐๐น. รวมอายไุ ด้ ๖๘ปี ๗เดอื น ๑๒วัน
รปู แบบของการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาคอื กอ่ สรา้ งสมาคมมหาโพธเิ พอ่ื จดั
พิมพว์ รรณคดีพระพทุ ธศาสนาขึ้นในภาษาอังกฤษ และภาษาท้องถน่ิ ของอินเดีย
องคค์ วามรทู้ น่ี อกเหนอื จากการสมั มนาครงั้ นคี้ อื ประทบั ใจในสถานทต่ี า่ งๆ
ตามประวตั ศิ าสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา ทำ� ใหท้ ราบขอ้ เทจ็ จรงิ หลายอยา่ ง เชน่ จรงิ ๆแลว้
บา้ นของอนาถบิณฑกิ เศรษฐนี ้นั อย่ใู กลก้ บั องคลุ มี าล แมน่ ้�ำเนรญั ชรามีความกวา้ ง
มาก มหาวทิ ยาลยั นาลนั ทานนั้ มขี นาดใหญซ่ ง่ึ ทำ� ใหท้ ราบวา่ ทำ� ไมพวกมสุ ลมิ เตริ ก์ จงึ
ใชเ้ วลาในการเผาทำ� ลายหลายเดือน

l 76 l

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

พระอนนท์อคฺคปญโฺ ญ

อนาคาริก ธรรมปาละกบั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดีย
ในปี พ.ศ. ๒๔๒๘ ท่านอนาคารกิ ธรรมปาละสนใจหนังสือชอื่ “ประทีปแหง่ เอเชีย”
ซ่ึงเขยี นโดยเซอร์ เอ็ดวินอารโ์ นลด์ซึ่งเป็นจุดเปลีย่ นผนั ในวถิ ีชีวิตของทา่ น และในปี
พ.ศ. ๒๔๓๔ ทา่ นไดเ้ ดินทางไปประเทศอินเดียวเป็นคร้งั แรก ไปนมสั การพทุ ธคยา
และสารนาทตอ่ มาได้ก่อตง้ั สมาคมมหาโพธิท่ีอินเดยี และเริ่มจดั ท�ำวารสารมหาโพธิ
จากกลั กตั ตาซงึ่ สมาคมมหาโพธไิ ดม้ สี ว่ นทสี่ ำ� คญั ในการกอ่ ตงั้ สภาทางศาสนาทช่ี คิ าโก
ประเทศสหรัฐอเมรกิ าปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ทา่ นได้ไปนมัสการสารนาทและจดั ซื้อทีด่ ินที่
สารนาทตอ่ มาไดก้ อ่ ตงั้ สารนาทเปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา ในปี พ.ศ. ๒๔๖๐
ไดไ้ ด้สถาปนาพทุ ธธรรมเพือ่ สนั ติภาพและความมน่ั คง เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ปี พ.ศ.
๒๔๗๐ ทา่ นไดก้ อ่ ตง้ั มลู คนั ธกฎุ วี หิ ารและเรมิ่ กอ่ สรา้ งมลู คนั ธกฎุ วี หิ ารและแลว้ เสรจ็
ใน ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ท่านได้ป่วยหนักด้วยโรคหัวใจลม้ เหลว และสน้ิ
ชวี ิตลง เม่ือวนั เสาร์ที๒่ ๙เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖เวลา ๑๕.๐๐ น. รวมอายุได้ ๖๘ ปี
๗ เดือน ๑๒ วนั จึงแสดงให้เหน็ ว่าท่านเปน็ ผู้จุดประกายการศึกษาพระพทุ ธศาสนา
ในอินเดยี ท�ำใหช้ าวอนิ เดียซึ่งแทบจะลืมเลือนพระพุทธศาสนา จนหมดสน้ิ แลว้ หนั
กลับมาแนวทางแหง่ อรยิ มรรคแห่งพระพุทธองค์อกี ครัง้
องคค์ วามรทู้ เ่ี กดิ ข้นึ นอกจากการสมั มนาคร้งั นี้
ประทบั ใจพทุ ธคยา และการตอ่ สขู้ องอนาคารกิ ธรรมะปาละ เมอ่ื ไดเ้ ขา้ ถงึ
บริเวณเจดียพ์ ทุ ธคยาแล้ว รสู้ กึ เหมอื นวา่ กำ� ลังไดเ้ ขา้ เฝ้าพระพุทธเจ้า ท�ำใหม้ คี วาม

l 77 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจบุ ัน

ปีติ เหมือนเป็นครั้งหน่ึงในชีวิตท่ีได้เข้าเฝ้าพระองค์ท่าน ซึ่งผมก็ชราภาพมากแล้ว
รวมท้งั มีโรคประจำ� ตัว แต่กพ็ ยายามเดินทางร่วมกบั คณะจนไดเ้ ขา้ เฝ้าพระองค์ทา่ น
ผมมีความตื้นตันใจมาก จนไม่สามารถจะบรรยายออกมาได้แต่มันมีความสุขอัดอ้ัน
ขังแน่นอยู่ในใจ ได้ไปสักการะสถานท่ีส�ำคัญทางประวัติศาสตร์หลายแห่งซ่ึงใน
อนาคตผมไมท่ ราบว่าชีวิตนจ้ี ะไดไ้ ปอีกครัง้ หรือไม่

l 78 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

พระมหากอ้ งไพร สาคโร เกตุสาคร

อนาคารกิ ธมั ปาละกบั การเผยแพร่พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
การฟื้นฟูพระพุทธศาสนาท่ีเป็นระบบเริ่มต้นข้ึนเม่ือท่านอนาคาริก ธรรม
ปาละ พทุ ธศาสนกิ หน่มุ ชาวสงิ หล ได้อ่านบทความทเ่ี ซอร์ เอด็ วนิ อารโ์ นลด์ เขยี นไว้
เก่ียวกับการท่ีพุทธสถานท่ีสารนารถถูกปล่อยปะละเลย ในหนังสือพิมพ์ เทเลกรา
ฟอนาคาริกธรรมปาละจึงตัดสินใจเดินทางไปที่สารนารถและพุทธคยาในเดือน
มกราคม ๒๔๓๔ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ด้วยตาตนเอง พลนั ที่อนาคารกิ มาถงึ พทุ ธคยาทำ� ให้เขา
ต้องตกตะลึงท่ีเห็นสภาพสถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าถูกยึดครองและอยู่ใน
กรรมสทิ ธข์ิ องฮนิ ดนู กิ ายมหนั ต์ รปู เคารพ และสงิ่ ทเี่ ปน็ ตวั แทนของพระพทุ ธศาสนา
ถกู ฮนิ ดทู ำ� ลาย และจดั การตามใจชอบโดยไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ สง่ิ ทค่ี วรหรอื ไมค่ วร อนาคา
ริกธรรมปาละจึงตัดสินใจที่จะเรียกร้องกรรมสิทธ์ิพุทธคยาคืนมาจากฮินดู ในการ
ด�ำเนินการนี้ท่านต้องเดินทางเพ่ือแสวงหาความร่วมมือจากพระภิกษุจากหลาย
ประเทศเชน่ ลงั กา พมา่ ไทย และญ่ีปนุ่ ในทสี่ ดุ กส็ ามารถกอ่ ตง้ั มหาโพธิสมาคมแหง่
อินเดียขนึ้ ในวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๔๓๔ ได้นมิ นตพ์ ระสงฆจ์ ากศรลี ังกา ๔ รูปจ�ำ
พรรษาที่พทุ ธคยา
วันที่ ๓๑ ตลุ าคม ๒๔๓๔ อนาคารกิ ธรรมปาละยังได้ดำ� เนนิ การเพ่ือจดั
ประชุมพระพุทธศาสนานานาชาติขึ้น โดยมีตัวแทนจากศรีลังกา จีน ญี่ปุ่น และ
เบงกอล เข้าร่วมประชุม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางในการฟื้นฟูพระพุทธ
ศาสนาขน้ึ ทอ่ี นิ เดยี ดินแดนอนั เป็นถน่ิ ก�ำเนดิ ของพระพุทธศาสนา

l 79 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ มหาโพธิสมาคมได้ย้ายที่ท�ำการไปที่เมืองกัลกัตตา อ
นาคารกิ ธรรมปาละไดอ้ อกวารสารมหาโพธิ เพอ่ื ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมของมหาโพธิ
สมาคมและเผยแพร่ค�ำสอนของพระพุทธศาสนาไปท่ัวโลก ในปีเดียวกันน่ันเองนัก
วชิ าการชาวอินเดียจึงจึงไดก้ อ่ ต้งั สมาคมปาลีปกรณ์ขน้ึ ท่ีเมืองกัลกัตตา เพ่ือจดั พิมพ์
ต�ำราทางพระพุทธศาสนาเป็นภาษาของชาวอินเดีย ในการพิมพ์หนังสือเพ่ือให้ชาว
อินเดยี อา่ นจึงต้องพมิ พ์เปน็ หลายภาษาทีส่ �ำคญั ๆคอื ภาษาฮินดี ภาษาเบงกลี ภาษา
พราหมี เปน็ ตน้ โดยผทู้ รี่ ่วมก่อตัง้ ประกอบดว้ ย ราเชนทราลาล มติ รา,หราประสาท
ศาสตร,ี สรตั จนั ทราทสั และสาธติ จนั ทรา วทิ ยาภสู าน ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๓๖ ธรรมปา
ละได้เข้าร่วมประชุมในเมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา และได้พบสุภาพสตรีผู้เลื่อมใส
พระพุทธศาสนาท่านหน่ึงคือนางแมร่ี ฟอสเตอร์ ซ่ึงต่อมาได้กลายเป็นผู้อุปถัมภ์
พระพทุ ธศาสนาโดยบรจิ าคเงินใหส้ มาคมเป็นจ�ำนวนมาก

l 80 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

พระวรี ศกั ด์ิ อธิปญโฺ ญ ประเสรฐิ สงั ข์

การสมั มนาเรอื่ งอนาคารกิ ธรรมะปาละกบั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาใน
อินเดยี
ท่านธรรมะปาละ ที่เรียกร้องพุทธคยาคืนจากชาวฮินดูให้แก่ชาวพุทธ ซึ่ง
เมอ่ื กอ่ นนพี้ ทุ ธคยาไดถ้ กู ครอบครองโดยพรามหม์ หนั ต์ รวมทง้ั ทดี่ นิ บรเิ วรรอบๆพทุ ธ
คยาท้ังหมดท่านธรรมะปาละต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการเรียกร้องพุทธค
ยากบั คืนมาจากพวกมหันต์จนสำ� เรจ็ แต่ผลประโยชนก์ ย็ งั ตกเป็นของมหันต์ ตอ่ มาก
ลุ่มชาวพุทธในพุทธคยาได้เรียกร้องสิทธิในการดูแลพุทธคยาไปยังศาลอินเดีย จน
ส�ำเร็จและได้มติว่าแบ่งอัตตราการดูแลพุทธคยาเป็น ๔:๔:๑ คือในสมัยที่ท่านยังมี
ชวี ติ อยู่ ความพยายามในการโอนพทุ ธคยาจากมหนั ตใ์ หเ้ ปน็ ของชาวพทุ ธยงั ไมส่ ำ� เรจ็
จนได้เอกราช ท่านเนหร์ ูและรัฐบาลของท่าน จึงร่างกฏหมายโอนพุทธคยาเปน็ ของ
รัฐบาล แลว้ แต่งตงั้ คณะกรรมการ ๘ ท่านเปน็ ผบู้ ริหาร โดยเปน็ ฝา่ ยฮินดู ๔ และ
พุทธ ๔ ส่วน ประธานเป็นนายอ�ำเภอเมอื งคยา แมจ้ ะไมส่ ามารถทำ� ให้ชาวพทุ ธเปน็
ผู้บริหารทัง้ หมด แตก่ ็นับว่าเปน็ ประโยชน์อยา่ งยงิ่ ต่อชาวพุทธทั่วโลก  แตก่ ฎหมาย
ของรฐั พหิ ารนายอำ� เภอจะตอ้ งเปน็ ชาวฮนิ ดเู ทา่ นนั้ ซง่ึ กเ็ ทา่ กบั วา่ รายไดต้ า่ งๆทไ่ี ดร้ บั
จากชาวพทุ ธทมี่ าทำ� บญุ ทพี่ ทุ ธคยาโดยเฉพาะตรู้ บั บรจิ าคหนา้ พระพทุ ธเมตตายงั ตก
เปน็ ของฮนิ ดแู ละชาวฮนิ ดไู ดร้ ายไดด้ งั กลา่ วนไี้ ปสรา้ งและบรู ณะวดั ของฮนิ ดเู ปน็ สว่ น
ใหญ่ แตท่ งั้ นกี้ ท็ ำ� ใหพ้ ทุ ธคยานนั้ ไดร้ บั การดแู ลรกั ษาดขี น้ึ มาตามลำ� ดบั แตอ่ าจยงั ไม่
เตม็ รอ้ ยเหมือนกับทีช่ าวพทุ ธดแู ลเอง

l 81 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ ัน

พระมหาสมหวงั ยโสธโร นามขยัน

อนาคารกิ ธรรมปาละ (AnagarikaDhammapala) เปน็ บุคคลทสี่ ำ� คัญ
ทสี่ ดุ ในการฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ เดยี เปน็ ผกู้ อ่ ตงั้ สมาคมมหาโพธิ์ เมอื
งกลั กตั ตา ประเทศอนิ เดยี และเปน็ ผเู้ รยี กรอ้ งเอาพทุ ธสถานในอนิ เดยี กลบั คนื มาเปน็
ของชาวพทุ ธทา่ นไดอ้ ทุ ศิ ชวี ติ ถวายตอ่ พระพทุ ธองคใ์ นการฟน้ื ฟพู ทุ ธศาสนาทอี่ นิ เดยี
ทา่ นไดก้ อ่ ตง้ั สมาคมมหาโพธิ์ ขนึ้ ทโ่ี คลมั โบ หลงั จากนน้ั ทา่ นกไ็ ดส้ ง่ สมณทตู มาทพ่ี ทุ ธ
คยา แตธ่ รรมทตู ทงั้ ๔ กลบั ถกู มหนั ตท์ ยี่ ดึ ครองพทุ ธคยารงั แกจนบางรปู บาดเจบ็ และ
บางทา่ นมรณภาพ ทา่ นตอ้ งเดนิ ทางกลบั อนิ เดยี อกี แลว้ รณรงคเ์ พอ่ื ใหพ้ ทุ ธคยากลบั
เปน็ ของชาวพทุ ธเชน่ เดมิ ทา่ นเดนิ ทางไปพทุ ธคยาและกโ็ ดนมหนั ตห์ า้ มเขา้ พทุ ธคยา
แต่ท่านก็ยามที่เข้าไปในเขตพุทธคยาจนท่ีสุดถูกท�ำร้ายจนเรื่องขึ้นศาล สุดท้ายศาล
ชั้นต้นช้ีขาดให้ชาวพุทธชนะ แต่มหันต์ไม่ยอมจึงฟ้องฎีกา ศาลฎีกา กลับให้มหันต์
ชนะ จึง’ทำ� ให้มหันต์ยดึ คืนอกี คร้งั หนึ่ง ดงั น้นั ทา่ นและพระสงฆ์จึงโดนขับออกจาก
พทุ ธคยา แม้วา่ จะแพแ้ ต่ทา่ นก็ไม่ยอมแพ้ ยงั รณรงค์แจกจ่ายบรรยายเขียนหนงั สอื
แจกจ่ายให้ชาวอินเดียท่วั ไปอ่าน ทำ� ให้ชาวอนิ เดียคนส�ำคญั ทั้งคานธีราธากฤษณนั
(อดีตประธานาธิบดีคนที่สองของอินเดยี ) ท่านรพินทรนาถ ฐากูร เหน็ ใจแล้วกล่าว
สนับสนุนท่านธรรมปาละ ท�ำให้พวกมหันต์เสียงอ่อนลง ต่อมาท่านเดินทางไป
สหรฐั อเมรกิ า เพอ่ื รณรงคแ์ ละบรรยายธรรมและทำ� ใหน้ างแมร่ี อี ฟอสเตอรท์ ฮ่ี าวาย
เลอื่ มใส ศรทั ธา และไดย้ อมตนเปน็ พทุ ธมามกะ และบรจิ าคหนงึ่ ลา้ นรปู แี กท่ า่ นธรรม
ปาละ ตอ่ มาทา่ นธรรมปาละได้กอ่ ตง้ั สมาคมมหาโพธ์เิ พือ่ เปน็ ช่องทางในการเผยแผ่
พระพทุ ธศาสนาในอินเดยี

l 82 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบนั

พระประพล อตพิ โล โพธ์ิเศษ

การสมั มนาเรือ่ งธรรมปาละและสมั มนาเร่ืองดร.อมั เบตการ์ 
อนาคาริก ธรรมปาละ  (เกิด ๑๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๐๗ มรณภาพ ๒๙
เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖) เป็นบุคคลที่ส�ำคัญท่ีสุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาใน
ประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธ์ิ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานใน
อนิ เดยี กลับคนื มาเป็นของชาวพุทธ
ท่านเกิดในครอบครัวผู้ม่ังค่ัง บิดาช่ือว่า เดวิด เหววิตรเน เม่ือได้อ่าน
หนงั สอื เรอื่ งประทปี แหง่ เอเชยี ของทา่ นเซอร ์ เอดวนิ ด์ อาโนลด ์ กเ็ กดิ ความซาบซงึ้ มี
ความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึง
ออกเดนิ ทางสอู่ นิ เดีย เม่อื ไดเ้ ห็นเจดยี ์พทุ ธคยาที่ช�ำรุดทรดุ โทรมถูกทอดท้งิ และอยู่
ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นน้ัน จึง
ท�ำการอธษิ ฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์วา่ จะถวายชวี ติ เปน็ พุทธบูชา เพื่อฟน้ื ฟูพุทธ
ศาสนา ในอนิ เดยี และนำ� พุทธคยากลบั คนื มาเปน็ สมบตั ขิ องชาวพทุ ธทว่ั โลกใหไ้ ด้
ตลอดระยะเวลานบั ตงั้ แตป่ ี ๒๔๗๓เปน็ ตน้ มา ทา่ นกไ็ ดด้ ำ� เนนิ การเรยี กรอ้ ง
ท้ังในอินเดียและลังกา เร่ืองของพุทธคยา ก็เป็นประเด็นที่ชาวอินเดียต่างให้ความ
สนใจ ทา่ นธรรมปาละไดเ้ ดนิ ทางไปยงั ประเทศอน่ื ๆ อกี เชน่  ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
เพอ่ื ไปเปดิ สาขามหาโพธสิ มาคมขนึ้ ทน่ี นั่ เนอื่ งจากการตรากตรำ� ทำ� งานอยา่ งไมห่ ยดุ
หยอ่ น สุขภาพท่านจึงไม่ค่อยดีนัก
ในปี พ.ศ ๒๔๕๘ท่านธรรมปาละได้ท�ำงานที่ปรารถนาจะท�ำให้ส�ำเร็จมา
นานได้เรียบร้อย คือการท่ีจะให้มีพุทธวิหาร หรือวัดแห่งแรกในอินเดีย หลังจาก

l 83 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

พระพทุ ธศาสนาถกู ทำ� ลายไปกว่า ๗๐๐ปี ทก่ี ลั กัตตา และการจดทะเบียน สมาคม
มหาโพธิ เปน็ สมาคมทีถ่ ูกตอ้ งสมบูรณ์ดว้ ย
ท่านธรรมปาละ เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูง ต่อการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาใน
อนิ เดีย ประโยชนท์ ที่ ่านฝากไวใ้ นพระพุทธศาสนา

l 84 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

พระสรุ เชษฐ์ อตุ ตฺ โม

อนาคาริกธรรมะปาละกบั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในอนิ เดยี
ในวันท่ี ๑๘ มีนาคมในช่วงเช้าได้มีการสัมมนาทางวิชาการของนิสิตพุทธ
ศาสตร์มหาบัณฑิตในหัวข้อที่ว่า อนาคาริกธรรมะปาละกับการเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาในอนิ เดยี ซง่ึ มพี ระภกิ ษชุ าวบงั กลาเทศทจ่ี ำ� พรรษาทส่ี มาคมมหาโพธเิ์ ปน็ ผใู้ ห้
ความรไู้ ด้เล่าเกย่ี วกับอนาคาริกธรรมะปาละว่า
ท่านอนาคาริก ธรรมปาลได้มีบทบาทในการฟื้นฟูพุทธศาสนาในประเทศ
อินเดียจากการเดินทางของท่านที่พุทธคยาแล้วได้เห็นสภาพพุทธคยาท่ีถูกทอดท้ิง
อีกทั้งตกเป็นของชาวมหันต์ด้วย ด้วยเหตุน้ีท่านจึงท�ำการอธิษฐานต่อต้นพระ
ศรีมหาโพธ์ิว่า จะถวายชิวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและน�ำ
พทุ ธคยากลบั คนื มาเป็นสมบตั ิของชาวพุทธท่ัวโลกใหไ้ ด้ 
การฟน้ื ฟขู องทา่ นมหี ลายวธิ กี าร เชน่ ทางออกนอกประเทศเพอ่ื หาสว่ นรว่ ม
ในการเรียกร้องพุทธคยาคืนให้กับชาวพุทธที่ประเทศอินเดีย ก่อต้ังสมาคมโพธิเพื่อ
จดั ทำ� วารสารเกย่ี วกบั คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้ ซงึ่ นามของสมามหาโพธกิ ารตงั้ สมาคม
มหาโพธปัจจบุ นั ได้เกดิ ขึ้นท่อี ินเดียหลายแหง่  
ในปัจฉิมวัยท่านไดอ้ ุปสมบทเปน็ พระภิกษุณ ปา่ อิสปิ ตนมฤคทายวัน สาร
นาถพาราณสี กอ่ นมรณภาพทา่ นอธษิ ฐานว่า “ขอใหข้ ้าพเจา้ ได้ตายไวๆ แลว้ ขอให้
เกดิ มาเผยแพร่ธรรมของพระพทุ ธองคต์ ลอดไป”  และมรณภาพ ณ ท่ีนั้น เมอ่ื วนั ท่ี
๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๖ รวมอายุ ๖๙ ปี ๗ เดอื น ๑๓ วัน

l 85 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ ัน

คุณธรรมท่ีเป็นแบบอย่าง
การยึดมั่นนับถือพระพุทธศาสนา ตลอดชีวิตของท่านได้อุทิศชีวิตเพ่ือ
พระพทุ ธศาสนา โดยทง้ั การเผยแผ่ การกอ่ ตงั้ สถาบนั ทางพุทธศาสนา สถาบนั การ
ศึกษาพระพุทธศาสนา เป็นต้นนอกจากน้ีท่านธรรมปาละ เป็นผู้มีบทบาทอย่างสูง
ต่อการฟืน้ ฟพู ระพุทธศาสนาในอินเดีย
ทา่ นมคี วามมงุ่ มน่ั ทำ� งานเพอื่ พระพทุ ธศาสนาและมนษุ ยชาติ จะเหน็ ไดจ้ าก
ประวัติว่า ท่านอนาคาริก ธรรมปาละ เป็นผู้ที่เร่ิมต้นท่ีส�ำคัญในประวัติศาสตร์
พระพุทธศาสนายุคใหม่ และท่านได้พยามยามท�ำงานเพ่ือน�ำพระพุทธศาสนามาสู่
อนิ เดยี จนส�ำเรจ็ รวมตลอดถงึ เป็นผู้รว่ มเรียกรอ้ งให้พุทธคยา ได้กลับมาอยู่ในความ
ดูแลของชาวพุทธจนเป็นเป็นผลส�ำเร็จ หัวสิงห์บนยอดเขาอโศก ณ จุดแสดง
ปฐมเทศนา เป็นที่เลื่องลือถึงความเป็นศิลปะช้ันเยี่ยม และความหมายของการ
ประกาศพระธรรมได้กึกก้องไปท่ัวทุกสารทิศ ปัจจุบันรัฐบาลอินเดียเก็บรักษาไว้ใน
พิพิธภัณฑ์ และใช้เป็นตราประจ�ำชาติ ธรรมจักรท่ีฐานก็ปรากฏอยู่ในธงชาติของ
อนิ เดียดว้ ยเช่นกนั


l 86 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบนั

พระกฤษณพล ปญฺญาธโร อ่มิ โอษฐ์

อนาคาริกธัมมปาละกบั การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศอินเดีย
การก่อตง้ั สมาคมมหาโพธ์ิ
ท่านได้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของจังหวัดคยาเพื่อจุดประสงค์ท่ีจะฟื้นฟูพุทธ
คยา ได้รับการช้แี จง วา่ พระวหิ ารมหาโพธพิ ร้อมกบั รายได้ท่ีเกดิ ขน้ึ นน้ั ตอนนก้ี ลาย
เปน็ ของมหนั ต์ แตว่ า่ ดว้ ยความชว่ ยเหลอื ของรฐั บาลกอ็ าจมที างเปน็ ไปไดท้ จี่ ะขอซอื้
พระวหิ าร และบรเิ วณดงั กลา่ วจากมหนั ต์ (นา่ แปลกอยเู่ หมอื นกนั ทว่ี า่ เราตอ้ งขอซอื้
ขอมีกรรมสทิ ธ์ิในพื้นทที่ ีค่ วรจะเป็นของพวกเราชาวพุทธเอง)
ท่านอนาคาริกธรรมปาละได้กลับไปยังพุทธคยา พร้อมกับพระภิกษุลังกา
อีก ๔ รูป ที่พร้อมจะมาร่วมดว้ ยกบั ทา่ น และทา่ นได้ขอตดิ ตอ่ กับมหนั ต์ อยา่ งยาก
ลำ� บาก จนกระทง่ั พวกมหนั ต์ ซง่ึ ขณะนน้ั เปน็ ยคุ ของ เหมนารยนั คี มหนั ต์ ยอมตกลง
ใหเ้ ชา่ ทแ่ี ปลงเลก็ ๆ สว่ นหนงึ่ ในพทุ ธคยา เพอื่ ทำ� เปน็ ทพี่ กั ตอ่ มาในเดอื นตลุ าคม พ.ศ.
๒๔๓๔ทา่ นธมั มปาละไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ ชาวพทุ ธระหวา่ งชาตขิ น้ึ ทพี่ ทุ ธคยา โดย
มีผู้แทนชาวพุทธจากลังกา จีน ญ่ีปุ่น และจิตตะกอง เข้าร่วมประชุม ซ่ึงได้มีการ
ประชมุ กนั ในวนั ที่ ๓๑ของเดอื นตลุ าคม ผแู้ ทนจากญปี่ นุ่ กลา่ ววา่ ชาวพทุ ธญปี่ นุ่ ยนิ ดี
ที่จะสละทรัพย์ เพื่อขอซ้ือพุทธคยาคืนจากมหันต์ ค�ำกล่าวน้ีเป็นที่อนุโมทนาในที่
ประชมุ อยา่ งมาก ทา่ นธมั มปาละไดใ้ หม้ กี ารประดบั ธงชาตญิ ป่ี นุ่ ไวข้ า้ งๆ ธงพระพทุ ธ
ศาสนา เพอื่ เปน็ เกยี รตแิ กช่ าวพทุ ธญปี่ นุ่ แตก่ ลบั ไมเ่ ปน็ ผลดี อยา่ งทค่ี ดิ เมอ่ื ขา้ หลวง
เบงกอล เดินทางมา ถดั จากวนั ทมี่ กี ารประชุม เพือ่ จะมาเยีย่ มชมพทุ ธคยา แตเ่ ม่ือ

l 87 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบัน

เห็นธงชาติญ่ีปุ่น ก็เกิดระแวงข้ึนมาทันที เพราะขณะน้ันอินเดีย และอังกฤษที่
ปกครองอนิ เดยี ยงั วติ กกบั ทา่ ทที างการเมอื งของญปี่ นุ่ อยู่ ทำ� ใหข้ า้ หลวงเบงกอล เดนิ
ทางกลับทันที และปฏิเสธท่ีจะพบกับผู้แทนชาวพุทธอย่างไม่มีข้อแม้ และยังบอก
ผ่านเจ้าหน้าที่ ไปยังท่านธัมมปาละอีกว่า พุทธคยาเป็นของมหันต์ รัฐบาลจึงไม่
ประสงคจ์ ะไปยงุ่ เกย่ี วใดๆกบั เรอ่ื งนี้ ในการทช่ี าวพทุ ธ ไดเ้ รยี กรอ้ งนน้ั สรปุ วา่ หนทาง
ทจ่ี ะไดพ้ ุทธคยาคืนมาเป็นของชาวพทุ ธ กก็ ลับมืดมนไปอีก
หลังจากนั้น ในปี พ.ศ.๒๔๓๕สมาคมมหาโพธิ กไ็ ดย้ า้ ยจากโคลัมโบมาอยู่
ท่กี ัลกัตตา ทอ่ี ินเดยี และได้ออกวารสารสมาคมมหาโพธิ (Mahabodhi Review)
ซงึ่ ยังคงอยู่จนปจั จบุ นั น้ี ถึง ๑๑๑ ปี แลว้ และเป็นวารสารท่ีโดง่ ดงั ในท้ังตะวันออก
และตะวนั ตก ในชว่ งแรกๆ วา่ กนั วา่ ทา่ นธรรมปาละและทมี งานตอ้ งอดมอ้ื กนิ มอ้ื เพอ่ื
น�ำเงินไปซื้อแสตมป์มาส่งหนังสือนี้เป็นบทบาทหน่ึงท่ีท่านทุ่มเทให้กับการฟื้นฟู
พระพุทธศาสนาท่นี ่ายกสรรเสริญ
นอกน้ีท่านยังได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเก่ียวกับพระพุทธศาสนา
ไวม้ ากมาย ตามสถานทต่ี า่ งๆ เชน่  วดั มลู คนั ธกฎุ วหิ าร เปน็ ตน้  ใกลๆ้ กบั สถานทแี่ สดง
ปฐมเทศนา ที่สารนาถท่านได้เป็นผู้จุดประกายริเริ่มให้ชาวพุทธและชาวอินเดียหัน
มาเอาใจใส่และฟื้นฟูพุทธสถาน การฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในอินเดียครั้งน้ันได้สร้าง
ประโยชน์กับชาวพุทธทว่ั โลกและชาวอนิ เดียท่ีไมม่ ีวนั ทจี่ ะลมื เลอื นได้

l 88 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบัน

พระสุนทร ธรี ปญโญ

สัมมนาทม่ี หาโพธ์ิทา่ นอนาคารกิ ธรรมปาละกบั การเผยแผพ่ ทุ ธศาสนา
ศาสนาในอินเดีย
ทา่ นอนาครกิ ะ ธรรมปาละ เปน็ บคุ คลทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการฟน้ื ฟพู ทุ ธศาสนา
ในอินเดียท่านอนาคาริก ธรรมปาละ เป็นบุคคลธรรมดา ท่ีเกิดในตระกูลชาวพุทธ
ลังกาถือศีลแปดแต่ท่านได้ท�ำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาที่อินเดีย ท่านเป็นผู้
ทีจ่ ุดประกายอะไรหลายๆอย่าง ใหช้ าวอนิ เดีย หันกลบั มามองถงึ สงิ่ ท่ชี าวอินเดยี ลมื
เลอื นไปแลว้ ใหก้ ลบั มาคอู่ นิ เดยี อกี ครง้ั ใหพ้ ระพทุ ธศาสนา กลบั มายงั มาตภุ มู ิ ถนิ่ เกดิ
ของตนเองอีก ท่านธรรมปาละเป็นอมตบุคคล และเป็นรัตนบุรุษผู้หน่ึง ที่
พุทธศาสนิกชน พึงจดจ�ำและระลึกถึงท่าน น�ำเอาแนวทางของท่าน มาเป็น แบบ
ดำ� เนนิ ชวี ติ ทา่ นธรรมปาละไดอ้ ทุ ศิ กาย ใจ เพอื่ เชดิ ชู เพอ่ื รกั ษาเพอื่ เผยแผพ่ ระพทุ ธ
ธรรมของพระพุทธองค์ จนกระท่ังวาระสุดท้ายแห่งชีวิตมีความคิดอยากอุทิศชีวิต
ถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาท่ีอินเดียจึงออกเดินทางสู่อินเดียเมื่อ
ได้เห็นเจดีย์พุทธคยาท่ีช�ำรุดทรุดโทรมถูกทอดท้ิงและอยู่ในความครอบครองของ
มหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ท่ีได้พบเห็นเช่นน้ันจึงท�ำการอธิษฐานต่อต้นพระ
ศรมี หาโพธวิ์ า่ จะถวายชวี ติ เปน็ พทุ ธบชู าเพอ่ื ฟน้ื ฟพู ทุ ธศาสนาในอนิ เดยี และนำ� พทุ ธ
คยากลบั คนื มาเปน็ สมบตั ขิ องชาวพทุ ธทวั่ โลกใหไ้ ด ้ จากนนั้ จงึ เดนิ ทางกลบั ลงั กาและ

l 89 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบัน

กอ่ ต้ัง สมาคมมหาโพธิ ขึน้ ที่โคลัมโบหลังจากนั้นท่านกไ็ ดส้ ่งสมณะทูตมาท่พี ุทธคยา
แต่ธรรมทูตทั้ง ๔ กลับถูกมหันตท์ ีย่ ดึ ครองพุทธคยา รงั แกโดยถูกลกู ศิษย์ของมหันต์
ขว้างก้อนหินใส่จนได้รับบาดเจ็บแต่ท่านดื้อแพ่งจนท่ีสุดถูกท�ำร้ายจนเรื่องข้ึนศาล
สุดทา้ ยศาลชั้นตน้ ช้ีขาดให้ชาวพทุ ธชนะ แต่มหนั ต์ไม่ยอมจงึ ฟอ้ งฎีกา ศาลฎีกากลบั
ให้มหันต์ชนะจึงท�ำให้มหันต์ยึดคืนอีกครั้งหน่ึง ดังนั้นท่านและพระสงฆ์จึงโดนขับ
ออกจากพุทธคยาแม้ว่าจะแพ้แต่ท่านก็ไม่ยอมแพ้ยังรณรงค์แจกจ่ายบรรยายเขียน
หนังสือแจกจ่ายให้ชาวอินเดียทั่วไปอ่านท�ำให้ชาวอินเดียคนส�ำคัญ ท้ังคานธีร
าธกฤษณนั (อดตี ประธานาธบิ ดคี นแรกของอนิ เดยี ) ทา่ นรพนิ ทนาถ ฐากรู เหน็ ใจแลว้
กลา่ วสนบั สนนุ ทา่ นธรรมปาละ ทำ� ใหพ้ วกมหนั ตเ์ สยี งออ่ นลงแตท่ า่ นอนาครกิ ะ ธรรม
ปาละ ก็ลงมือสรา้ ง เพอื่ ศาสนา สตู้ ายเพอ่ื ศาสนา   ในสมยั ทที่ า่ นยงั มชี ีวิตอยู่ความ
พยายามในการโอนพทุ ธคยาจากมหนั ตใ์ หเ้ ปน็ ของชาวพทุ ธยงั ไมส่ ำ� เรจ็ จนไดเ้ อกราช
ทา่ นเนหร์ แู ละรฐั บาลของทา่ นจงึ รา่ งกฏหมายโอนพทุ ธคยาเปน็ ของรฐั บาล แลว้ แตง่
ตง้ั คณะกรรมการ ๘ ท่านเป็นผูบ้ ริหาร โดยเป็นฝ่ายฮนิ ดู ๔ และพทุ ธ ๔ แม้จะไม่
สามารถทำ� ใหช้ าวพทุ ธเปน็ ผบู้ รหิ ารทง้ั หมด แตก่ น็ บั วา่ เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตอ่ ชาว
พทุ ธทัว่ โลก  เมื่อท่านอนาคริกะ ธรรมปาละ ไดอ้ ายคุ รบ ๒๒ ปี ทา่ นไดอ้ ุปสมบท
เปน็ พระภกิ ษทุ ส่ี ารนาถพาราณสี กอ่ นมรณภาพทา่ นอธษิ ฐานวา่ ขอใหข้ า้ พเจา้ ไดต้ าย
ไวๆ แลว้ ขอใหเ้ กดิ มาเผยแพรธ่ รรมของพระพทุ ธองคต์ ลอดไป ทา่ นอนาคารกิ ธรรม
ปาละเป็นผู้ท่ีเร่ิมต้นที่ส�ำคัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนายุคใหม่และท่านได้
พยามยามทำ� งานเพอ่ื นำ� พระพทุ ธศาสนามาสอู่ นิ เดยี จนสำ� เรจ็ รวมตลอดถงึ เปน็ ผรู้ ว่ ม
เรียกร้องให้พุทธคยาได้กลับมาอยู่ในความดูแลของชาวพุทธจนเป็นเป็นผลส�ำเร็จ
ชวี ติ ของท่านไดอ้ ุทศิ ชีวิตเพ่อื พระพุทธศาสนา โดยทง้ั การเผยแผ่ การก่อตง้ั สถาบนั
ทางพทุ ธศาสนา สถาบนั การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา ทา่ นธรรมปาละ เปน็ ผมู้ บี ทบาท
อย่างสงู ตอ่ การฟนื้ ฟพู ระพุทธศาสนาในอนิ เดยี ท่านไดส้ ร้างอนุสรณ์สถานปูชณยี
สถานเก่ียวกับพระพุทธศาสนาไว้มากมาย ตามสถานที่ต่าง ๆที่เป็นท่ีระลึกถึง
พระพทุ ธองค์ เชน่ วัดมูลคันธกฎุ วหิ าร ใกล้ ๆกบั สถานทแ่ี สดงปฐมเทศนา ทสี่ ารนาถ
และมรณภาพ ณ ทีน่ ั้น พ.ศ. ๒๔๗๖ รวมอายุ ๖๙ ปี

l 90 l


Click to View FlipBook Version