The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

Keywords: สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบัน

สารัตถขบวนการพุทธใหม่โลกปัจจุบนั

สรุปว่าความประทับใจท่ีได้ไปแสวงบุญตามรอยพุทธบาทเป็นคร้ังแรกใน
ชีวิต ได้เห็นสถานที่ที่เกี่ยวพระพุทธเจ้า ท�ำให้รู้ว่าระยะทางเพ่ือการเผยแผ่ศาสนา
ขององคส์ มเดจ็ สมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไกลมากแคไ่ หน ขนาดนงั่ รถยงั ใชเ้ วลา ๗- ๘ ชว่ั โมง
และสุดท้ายน้ีกระผมขอขอบคุณไปยัง พระอาจารย์จ�ำประจ�ำรายวิชที่ให้โอกาสใน
การสัมมนานอกสถานเชน่ น้ีนีเ้ ปน็ สง่ิ ทีป่ ระทับใจอยา่ งยงิ่

l 91 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

พระอุทิพย์ ปญฺญาทโี ป

อนาคารกิ ธรรมปาละ กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอนิ เดยี :
รปู แบบการแผยแผพ่ ระพทุ ะศาสนา
๑. เป็นผู้จุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ท�ำให้ชาว
อนิ เดยี ซง่ึ แทนทจ่ี ะลมื เลอื นพระพทุ ธศาสนาจนหมดสน้ิ แลว้ หนั กลบั มาแนวทางแหง่
อรยิ มรรคแหง่ พระพทุ ธศาสนาอกี ครั้ง
๒. ท่านได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเก่ียวกับพระพุทธสาสนาไว้
มากมายตามสถานที่ตา่ งๆ ทเี่ ป็นทีร่ �ำลกึ ถงึ พระพุทธองค์เช่น วัดมูลคนั ธกฎุ ี ใกล้ๆ
กบั สถานทีแ่ สดงปฐมเทศนา ทสี่ ารนาท
๓. ท่านได้จุดประกายริเร่ิมให้ชาวพุทธ และชาวอินเดียหันมาเอาใจใส่
และดูแลฟนื้ ฟพู ระพทุ ธสถาน และสถานทีส่ �ำคญั ของพระพทุ ธองค์ โดยเฉพาะพทุ ธ
คยา แมใ้ นสมยั ของทา่ นอาจจะยงั ไมท่ ำ� ใหพ้ ทุ ธคยาคนื สกู่ รรมสทิ ธขิ์ องชาวพทุ ธและ
อยใู่ นการดแู ลคมุ้ ครองของชาวพทุ ธไดแ้ ตต่ อ่ มาการกระทำ� ของทา่ นกเ็ ปน็ กระแสผลกั
ดันสังคม ชาวอินเดียนักปราชญ์หลายท่านก็ได้แสดงความเห็นควรว่าพุทธคยาเป็น
สทิ ธข์ิ องชาวพทุ ธอยา่ งแนน่ อน ตอ่ มาในเดอื นเมษายนปี ๒๔๙๙ รฐั บาลแหง่ รฐั พหิ าร
ได้ผ่านราชบัญญัติวิหารพุทธคยา ซึ่งให้ส่วนหน่ึงอยู่ในการดูแลของชาวพุทธ โดยมี
กรรมการชาวพทุ ธ๔ทา่ นชาวฮินดู ๔ ทา่ นและผูว้ ่าราชการ จังหวดั คยาเป็นประธาน

l 92 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบนั

วัตถปุ ระสงคข์ องสมาคมมหาโพธิ
๑. เพอื่ สรา้ งวดั พระพทุ ธศาสนาและกอ่ ตงั้ พทุ ธวทิ ยาลยั กบั สง่ คณะพระ
ภิกษซุ งึ่ เปน็ ผูแ้ ทนของประเทศพระพทุ ธศาสนา คอื จนี ญ่ปี ุน่ ไทย เขมร พม่า
ลังกา จิตตะกองเนปาล ธิเบต และอารกนั ไปประจ�ำอยู่ ณ พุทธคยา
๒. เพอ่ื จดั พมิ พว์ รรณคดพี ระพทุ ธศาสนาขน้ึ ในภาองั กฤษและภาษาทอ้ ง
ถิน่ ของอินเดยี
ประทับใจคณะอาจารย์ผู้ให้ความรู้หลากหลายท่าน แต่ท่านท่ีให้ความ
บนั เทงิ และสาระความรจู้ ากพระไตรปฎิ กนนั้ คงเปน็ ทา่ น ดร. ทอง ทำ� ใหไ้ มห่ ลบั และ
มคี วามใฝ่รู้ตลอดเวลาประทบั ใจในสถานทตี่ า่ งๆตามประวัตศิ าสตร์พระพทุ ธศาสนา
ท�ำให้ทราบขอ้ เท็จจรงิ หลายอยา่ ง เชน่ จริงๆแล้วบา้ นของเศรษฐอี นาถบณิ ฑกิ ะอยู่
ใกลก้ บั องคลุ มี าร แมน่ ำ�้ เนรญั ชรามคี วามกวา้ งมาก มหาลยั นาลนั ทามขี นาดใหญ ่ ซง่ึ
ท�ำให้ทราบว่าท�ำไมชาวมุสลิมเติร์ก จึงใช้เวลาในการเผาท�ำลายหลายเดือนประทับ
ใจในสวนลุมพินีวันซ่ึงเป็นที่ประสูติของพระพุทธเจ้า ซ่ึงอยู่ใกล้กับเทือกเขาหิมาลัย
ได้สมั ผสั อากาศเยน็ แมอ้ ยใู่ นชว่ งของเดือนมนี าคม

l 93 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

นายกิตติ ภูผา

อนาคาริกธรรมปาละกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย:
รปู แบบของการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
๑. เป็นผู้จุดประกายการศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ท�ำให้ชาว
อนิ เดยี ซ่ึงแทบจะลมื เลอื นพระพทุ ธศาสนา จนหมดสนิ้ แล้วหันกลับมาแนวทางแหง่
อรยิ มรรคแห่งพระพุทธองค์อีกคร้ัง
๒. ท่านได้สร้างอนุสรณ์สถาน ปูชนียสถานเก่ียวกับพระพุทธศาสนาไว้
มากมาย ตามสถานท่ีตา่ งๆ ท่เี ป็นที่ระลึกถึง พระพุทธองค์ เชน่ วดั มลู คนั ธกุฎวิหาร
ใกล้ ๆ กับสถานท่ีแสดงปฐมเทศนา ที่สารนาถ
๓. ทา่ นไดเ้ ปน็ ผจู้ ดุ ประกายรเิ รมิ่ ใหช้ าวพทุ ธ และชาวอนิ เดยี หนั มาเอาใจ
ใสแ่ ละฟน้ื ฟพู ทุ ธสถาน ทสี่ ำ� คญั ของพระพทุ ธองค์ โดยเฉพาะพทุ ธคยาแมใ้ นสมยั ของ
ท่าน อาจจะยังไม่ท�ำให้พุทธคยา คืนสู่กรรมสิทธิ์ของชาวพุทธและอยู่ในการดูแล
คุ้มครอง ของชาวพุทธได้ แต่ต่อมาการกระท�ำของท่านก็เป็นกระแสผลักดันสังคม
ชาวอินเดยี หลายฝ่าย นักปราชญ์หลายท่านกไ็ ดแ้ สดงความเห็นควรวา่ พทุ ธคยาเปน็
สิทธิ์ของชาวพุทธอย่างแน่นอน ต่อมาในเดือนเมษายน ปี ๒๔๙๙ รัฐบาล แห่งรัฐ
พิหาร ได้ผ่านพระราชบัญญัติวิหารพุทธคยาซึ่งให้ส่วนหน่ึง อยู่ในการดูแลของชาว
พุทธ โดยมีกรรมการชาวพุทธ ๔ ทา่ น ชาวฮนิ ดู ๔ทา่ น โดยมีผู้วา่ ราชการจงั หวัดค
ยาเปน็ ประธาน

l 94 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จุบนั

วัตถุประสงค์ของสมาคมมหาโพธิ
๑. เพอ่ื สรา้ งวดั พระพทุ ธศาสนาและกอ่ ตง้ั พทุ ธวทิ ยาลยั กบั สง่ คณะพระ
ภกิ ษซุ ง่ึ เป็นผู้แทนของประเทศพระพุทธศาสนา คือ จนี ญ่ีป่นุ ไทย เขมร พม่า ลงั กา
จิตตะกองเนปาล ธเิ บต และอารกัน ไปประจ�ำอยู่ ณ พทุ ธคยา
๒. เพอื่ จดั พมิ พว์ รรณคดีพระพทุ ธศาสนาขึ้นในภาษาองั กฤษ และภาษา
ทอ้ งถิน่ ของอนิ เดยี
องค์ความรู้ท่เี กดิ ขน้ึ จากการเดินท: หนงั สอื หลายๆเลม่ ทท่ี ำ� การศกึ ษานนั้
ไมเ่ ทยี บเทา่ กับการไปศึกษาสถานทีจ่ รงิ ดว้ ยตนเอง

l 95 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลความพึงพอใจในการกิจกรรมเสริมรายวิชา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปจั จบุ นั

ตอนท่ี ๑ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ผวู้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู เบอ้ื งตน้ ของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ท่ตี อบแบบสอบถามเปน็ พระนสิ ิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ชัน้ ปีท่ี ๑ สาขา
วชิ าพระพทุ ธศาสนา วทิ ยาเขตขอนแก่น จำ� นวน ๒๒ รปู /คนดงั ตารางที่ ๑

ตารางที่ ๑ จำ� นวนและรอ้ ยละขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ข้อมูลทั่วไป จำ� นวน(รปู ) รอ้ ยละ
๑. สถานภาพ    
๑.๑ พระนิสิต/นสิ ติ
๑.๓ บคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ๒๒.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๑.๔ อื่น ๆ ๐ ๐
๐ ๐
รวม
๒๒.๐๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๑ พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ พระนสิ ติ และนสิ ติ
หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า พระพทุ ธศาสนา โดยพระนสิ ติ คดิ คดิ เปน็
ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ และนสิ ติ คดิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐

ตอนที่ ๒ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจในกจิ กรรมเสรมิ
ให้พระนิสิตได้ศึกษาวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันโดยภาพรวมและราย
ด้านดงั ตารางท่ี ๒

l 96 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จบุ นั

ตารางที่ ๒ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสริมให้พระนิสิตได้ศึกษาวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันโดย
ภาพรวมและรายดา้ น

ด้านที่ ความพงึ พอใจในการกิจกรรม ระดบั ความพึงพอใจ
เสรมิ X S.D. แปลผล อันดบั ที่

๑ ด้านความรู้ เนื้อหาการจัดการ ๔.๓๓ ๐.๕๑ มาก ๓
โครงการ

๒ ด้านวิทยากรบรรยาย ๔.๕๖ ๐.๕๕ มาก ๒
-
๓ ดา้ นการบรหิ ารโครงการ ๔.๔๐ ๐.๕๗ มาก

รวม ๔.๔๓ ๐.๕๔ มาก

จากตารางท่ี ๒ พบว่า ความพึงพอใจในกิจกรรมเสรมิ ใหพ้ ระนสิ ิตได้ศึกษา

วิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = ๔.๔๓)

เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ทุกด้าน โดยเรียงล�ำดับตามค่า

เฉลยี่ จากมากไปหาน้อย คอื ด้านวทิ ยากรบรรยาย ( X = ๔.๕๖) รองลงมาคอื ดา้ น
การบริหารโครงการ ( X = ๔.๔๐) และด้านความรู้ เนอื้ หาการจัดการโครงการ ( X

= ๔.๓๓) ตามล�ำดบั


l 97 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ ัน

ตารางท่ี ๓ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสริมให้พระนิสิตได้ศึกษาวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันด้าน
ความรู้ เนื้อหาการจัดการโครงการโดยภาพรวมและรายขอ้

ด้าน ด้านวทิ ยากรบรรยาย ระดับความพึงพอใจ
ท่ี
X S.D. แปล อนั ดับ
ผล ที่

๑ ความรู้กอ่ นเดนิ ทางศกึ ษาดูงาน ๓.๕๙ ๑.๑๘ มาก ๖

๒ ความรู้หลังการศึกษาดูงาน ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๓

๓ ความเข้าในเนื้อหาการบรรยาย ๔.๕๕ ๐.๗๓ มาก ๒
ระหวา่ งการเดนิ ทาง

๔ เน้ือหาบรรยายตรงกับวัตถุประสงค์ ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๑
ของการศึกษาดงู าน

๕ สามารถน�ำความรู้ที่ได้ในการอบรมไป ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๕
ประยกุ ต์ใช้ในการท�ำงานได้จรงิ

๖ ความเหมาะสมของเอกสารประกอบ ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๔
การอบรม

รวม ๔.๓๓ ๐.๕๑ มาก -

จากตารางที่ ๓ พบว่า ความพึงพอใจในกิจกรรมเสรมิ ให้พระนสิ ติ ได้ศึกษา
วิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน ด้านความรู้ เน้ือหาการจัดการโครงการโดย

ภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก ( X = ๔.๓๓) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า

อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยเรียงล�ำดับตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ เน้ือหา

บรรยายตรงกับวตั ถุประสงคข์ องการศึกษาดงู าน ( X = ๔.๖๔) รองลงมาคอื ความ
เข้าในเน้ือหาการบรรยายระหว่างการเดินทาง ( X = ๔.๕๕) และความรู้หลังการ
ศกึ ษาดงู าน ( X = ๓.๘๒) ตามล�ำดบั ส่วนขอ้ ท่ีมีระดบั ค่าเฉลีย่ ต�ำ่ สดุ คือ ความรกู้ อ่ น

l 98 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ ัน

เดนิ ทางศกึ ษาดูงาน ( X = ๓.๕๙)

ตารางที่ ๔ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสรมิ ใหพ้ ระนสิ ติ ไดศ้ กึ ษาวชิ าขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั ดา้ น
วิทยากรบรรยายโดยภาพรวมและรายขอ้

ด้าน ดา้ นการบริหารโครงการ ระดับความพึงพอใจ
ท่ี
X S.D. แปลผล อันดับ
ที่

๑ การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ ๔.๕๐ ๐.๘๐ มาก ๖

๒ ความรอบรู้ ความเชี่ยวชาญ ใน ๔.๔๕ ๐.๘๕ มาก ๕
เน้อื หารายวชิ า และสถานที่

๓ เทคนิควิธีการบรรยายโดยรวม ๔.๕๙ ๐.๕๐ มาก ๔

๔ การอธิบายและการยกตัวอย่าง ๔.๕๙ ๐.๖๖ มาก ๓
ประกอบ ชัดเจน

๕ เปิดโอกาสให้ซักถาม และการตอบ ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๒
ค�ำถามตรงประเดน็

๖ ความชัดเจน ตรงประเดน็ ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๑

รวม ๔.๕๖ ๐.๕๕ มาก -

จากตารางที่ ๔ พบว่า ความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมให้พระนิสิตไดศ้ กึ ษา
วชิ าขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั ดา้ นวทิ ยากรบรรยายโดยภาพรวมและรายขอ้

อยู่ในระดบั มาก ( X = ๔.๕๖) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า อยใู่ นระดับมากทกุ

ข้อ โดยเรียงล�ำดับตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ ความชัดเจน ตรงประเด็น

( X = ๔.๖๔) รองลงมาคอื เปิดโอกาสให้ซกั ถาม และการตอบคำ� ถามตรงประเด็น
( X = ๔.๖๔) และการอธิบายและการยกตัวอย่างประกอบ ชัดเจน ( X = ๔.๕๙)

l 99 l

สารัตถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปัจจุบัน

ตามลำ� ดับสว่ นขอ้ ทม่ี รี ะดบั คา่ เฉลีย่ ตำ่� สุดคอื ความรอบรู้ ความเช่ยี วชาญ ในเน้ือหา

รายวชิ า และสถานท่ี ( X = ๔.๔๕)

ตารางท่ี ๕ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสรมิ ใหพ้ ระนสิ ติ ไดศ้ กึ ษาวชิ าขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั ดา้ น
การบริหารโครงการโดยภาพรวมและรายขอ้

ด้าน ความพงึ พอใจในการกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ
ท่ี เสริม
X S.D. แปล อนั ดบั
ผล ท่ี

๑ ความเหมาะสมของสถานทท่ี เี่ ดนิ ทาง ๔.๓๖ ๐.๘๔ มาก ๕
แต่ละแห่ง

๒ การประชาสัมพนั ธ์โครงการ ๔.๕๐ ๐.๘๐ มาก ๒

๓ ความเหมาะสมของระยะเวลาในการ ๔.๓๒ ๐.๘๓ มาก ๖
จดั โครงการ

๔ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกวัสดุอุปกรณ์ ๔.๓๒ ๐.๕๖ มาก ๗
โสตทศั นศกึ ษา

๕ การประสานงานและอ�ำนวยความ ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๓
สะดวกของเจา้ หนา้ ท่ี

๖ ความส�ำเรจ็ โดยรวมของการ ๔.๕๕ ๐.๕๑ มาก ๑
ทศั นศึกษาครัง้ นี้

๗ ภาพรวมในการจดั โครงการ ๔.๓๖ ๐.๘๔ มาก ๔

รวม ๔.๔๐ ๐.๕๗ มาก -

l 100 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหม่โลกปจั จบุ นั

จากตารางท่ี ๕ พบว่า ความพงึ พอใจในกิจกรรมเสรมิ ใหพ้ ระนสิ ติ ได้ศึกษา
วิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน ด้านการบริหารโครงการ โดยภาพรวมและ

รายขอ้ อย่ใู นระดบั มาก ( X = ๔.๔๐) เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อยู่ในระดับ

มากทกุ ขอ้ โดยเรยี งลำ� ดบั ตามคา่ เฉลีย่ จากมากไปหาน้อย คือ ความสำ� เร็จโดยรวม

ของการทัศนศึกษาคร้ังน้ี ( X = ๔.๕๕) รองลงมาคือ การประชาสัมพันธ์โครงการ
( X = ๔.๕๐) และการประสานงานและอ�ำนวยความสะดวกของเจ้าหน้าท่ี
( X = ๔.๔๑) ตามลำ� ดบั สว่ นข้อทีม่ ีระดบั ค่าเฉล่ียตำ่� สดุ คือ สง่ิ อำ� นวยความสะดวก
วสั ดุอุปกรณ์โสตทศั นศึกษา ( X = ๔.๓๒)

ตอนที่ ๓ ขอ้ มูลความคิดเหน็ เก่ียวกับกิจกรรม
จากกลมุ่ ตวั อยา่ งทไ่ี ดต้ อบแบบสอบถามของพระนสิ ติ หลกั สตู รพทุ ธศาสตร
มหาบณั ฑติ ชนั้ ปที ๑่ี สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา วทิ ยาเขตขอนแกน่ จำ� นวน ๒๒ รปู /
คน ไดแ้ สดงความคดิ เหน็ วา่ ต้องการให้มกี ารจดั โครงการนี้อกี ในครง้ั ต่อไป

l 101 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบัน

๒. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลความพึงพอใจในการกิจกรรมเสริมให้
พระนสิ ิตได้ศกึ ษาวิชาขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปัจจุบัน

ตอนท่ี ๑ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผวู้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู เบอ้ื งตน้ ของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ทตี่ อบแบบสอบถามเปน็ พระนิสติ หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต ชนั้ ปที ่ี ๑ สาขา
วิชาพระพทุ ธศาสนา วิทยาเขตขอนแกน่ จำ� นวน ๒๒ รปู /คนดงั ตารางที่ ๑

ตารางที่ ๑ จ�ำนวนและรอ้ ยละขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ขอ้ มลู ทั่วไป จ�ำนวน(รูป) ร้อยละ
๑. สถานภาพ    
๑.๑ พระนสิ ติ /นิสิต
๑.๓ บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ๒๒.๐๐ ๑๐๐.๐๐
๑.๔ อ่ืน ๆ ๐ ๐
รวม ๐ ๐

๒๒.๐๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๑ พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ พระนสิ ติ และนสิ ติ
หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า พระพทุ ธศาสนา โดยพระนสิ ติ คดิ คดิ เปน็
ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ และนสิ ติ คดิ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐

ตอนท่ี ๒ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจในกจิ กรรมเสรมิ
ใหพ้ ระนสิ ติ ไดศ้ กึ ษาวชิ าขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั โดยภาพรวมและราย
ดา้ นดงั ตารางที่ ๒

l 102 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหมโ่ ลกปจั จุบนั

ตารางท่ี ๒ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสริมให้พระนิสิตได้ศึกษาวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันโดย
ภาพรวมและรายดา้ น

ดา้ น ความพึงพอใจในการกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ
ท่ี เสรมิ
X S.D. แปลผล อนั ดบั
ท่ี

๑ ด้านความรู้ เนื้อหาการจัดการ ๔.๓๓ ๐.๕๑ มาก ๓
โครงการ

๒ ด้านวทิ ยากรบรรยาย ๔.๕๖ ๐.๕๕ มาก ๑

๓ ด้านการบริหารโครงการ ๔.๔๐ ๐.๕๗ มาก ๒

รวม ๔.๔๓ ๐.๕๔ มาก -

จากตารางท่ี ๒ พบว่า ความพงึ พอใจในกจิ กรรมเสรมิ ใหพ้ ระนิสติ ไดศ้ กึ ษา

วิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = ๔.๔๓)

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ทุกด้าน โดยเรียงล�ำดับตามค่า

เฉลย่ี จากมากไปหานอ้ ย คอื ด้านวิทยากรบรรยาย ( X = ๔.๕๖) รองลงมาคอื ด้าน
การบริหารโครงการ ( X = ๔.๔๐) และด้านความรู้ เนื้อหาการจัดการโครงการ
( X = ๔.๓๓) ตามล�ำดบั



l 103 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบัน

ตารางที่ ๓ ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสริมให้พระนิสิตได้ศึกษาวิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบันด้าน
ความรู้ เนอ้ื หาการจดั การโครงการโดยภาพรวมและรายข้อ

ดา้ น ดา้ นวิทยากรบรรยาย ระดับความพึงพอใจ
ท่ี
X S.D. แปลผล อนั ดับที่

๑ ความรู้ก่อนเดนิ ทางศึกษาดงู าน ๓.๕๙ ๑.๑๘ มาก ๖

๒ ความร้หู ลงั การศึกษาดงู าน ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก ๒

๓ ความเข้าในเนื้อหาการบรรยาย ๔.๕๕ ๐.๗๓ มาก ๑
ระหวา่ งการเดินทาง

๔ เนอื้ หาบรรยายตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก
ของการศึกษาดูงาน ๔

๕ สามารถนำ� ความรทู้ ไ่ี ดใ้ นการอบรม ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก -
ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการท�ำงานไดจ้ ริง

๖ ความเหมาะสมของเอกสาร ๔.๔๑ ๐.๖๖ มาก
ประกอบการอบรม

รวม ๔.๓๓ ๐.๕๑ มาก

จากตารางท่ี ๓ พบวา่ ความพงึ พอใจในกิจกรรมเสรมิ ใหพ้ ระนสิ ิตได้ศกึ ษา
วิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน ด้านความรู้ เนื้อหาการจัดการโครงการโดย

ภาพรวมและรายขอ้ อยู่ในระดบั มาก ( X = ๔.๓๓) เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า

อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยเรียงล�ำดับตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ เน้ือหา

บรรยายตรงกับวตั ถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน ( X = ๔.๖๔) รองลงมาคอื ความ
เข้าในเน้ือหาการบรรยายระหว่างการเดินทาง ( X = ๔.๕๕) และความรู้หลังการ
ศึกษาดงู าน ( X = ๓.๘๒) ตามลำ� ดบั ส่วนข้อท่มี รี ะดับค่าเฉลี่ยตำ่� สุดคือ ความร้กู ่อน
เดนิ ทางศึกษาดงู าน ( X = ๓.๕๙)

l 104 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

ตารางที่ ๔ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสรมิ ให้พระนิสิตไดศ้ ึกษาวิชาขบวนการพุทธใหมใ่ นโลกปัจจบุ ัน ดา้ น
วิทยากรบรรยายโดยภาพรวมและรายขอ้

ดา้ น ดา้ นการบรหิ ารโครงการ ระดบั ความพงึ พอใจ
ที่
X S.D. แปลผล อนั ดับที่

๑ การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ๔.๕๐ ๐.๘๐ มาก ๖
๒ ความรอบรู้ ความเช่ียวชาญ ใน ๔.๔๕ ๐.๘๕ มาก ๕

เนอ้ื หารายวชิ า และสถานท่ี มาก ๔
๓ เทคนคิ วิธกี ารบรรยายโดยรวม ๔.๕๙ ๐.๕๐ มาก ๓
๔ การอธิบายและการยกตัวอย่าง ๔.๕๙ ๐.๖๖
มาก ๒
ประกอบ ชัดเจน
๕ เปิดโอกาสให้ซักถาม และการ ๔.๖๔ ๐.๔๙ มาก ๑
มาก -
ตอบคำ� ถามตรงประเด็น
๖ ความชดั เจน ตรงประเด็น ๔.๖๔ ๐.๔๙

รวม ๔.๕๖ ๐.๕๕

จากตารางท่ี ๔ พบว่า ความพึงพอใจในกิจกรรมเสรมิ ให้พระนสิ ติ ไดศ้ ึกษา
วชิ าขบวนการพทุ ธใหมใ่ นโลกปจั จบุ นั ดา้ นวทิ ยากรบรรยายโดยภาพรวมและรายขอ้

อย่ใู นระดับมาก ( X = ๔.๕๖) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า อยูใ่ นระดบั มากทกุ

ข้อ โดยเรียงล�ำดับตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ ความชัดเจน ตรงประเด็น

( X = ๔.๖๔) รองลงมาคอื เปดิ โอกาสให้ซกั ถาม และการตอบค�ำถามตรงประเดน็
( X = =๔.๖๔) และการอธบิ ายและการยกตัวอย่างประกอบ ชดั เจน ( X = ๔.๕๙)

ตามลำ� ดับสว่ นข้อท่ีมีระดบั คา่ เฉล่ียต่ำ� สดุ คอื ความรอบรู้ ความเชี่ยวชาญ ในเนอ้ื หา

รายวิชา และสถานที่ ( X = ๔.๔๕)

l 105 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจุบัน

ตารางที่ ๕ ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในกิจกรรม
เสรมิ ใหพ้ ระนิสติ ได้ศกึ ษาวิชาขบวนการพทุ ธใหม่ในโลกปจั จุบัน ด้าน
การบริหารโครงการโดยภาพรวมและรายขอ้

ดา้ น ความพึงพอใจในการ ระดับความพงึ พอใจ
ที่ กจิ กรรมเสรมิ
X S.D. แปลผล อันดบั ท่ี

๑ ความเหมาะสมของสถานท่ีท่ี ๔.๓๖ ๐.๘๔ มาก ๕
เดินทางแตล่ ะแหง่
มาก ๒
๒ การประชาสัมพันธ์โครงการ ๔.๕๐ ๐.๘๐ มาก ๖
๓ ความเหมาะสมของระยะเวลา ๔.๓๒ ๐.๘๓
มาก ๗
ในการจัดโครงการ
๔ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกวัสดุ ๔.๓๒ ๐.๕๖ มาก ๓

อปุ กรณโ์ สตทศั นศกึ ษา มาก ๑
๕ การประสานงานและอ�ำนวย ๔.๔๑ ๐.๖๖
มาก ๔
ความสะดวกของเจ้าหนา้ ท่ี มาก -
๖ ความส�ำเร็จโดยรวมของการ ๔.๕๕ ๐.๕๑

ทศั นศกึ ษาครั้งนี้
๗ ภาพรวมในการจดั โครงการ ๔.๓๖ ๐.๘๔

รวม ๔.๔๐ ๐.๕๗

จากตารางท่ี ๕ พบวา่ ความพงึ พอใจในกิจกรรมเสริมให้พระนิสิตไดศ้ กึ ษา
วิชาขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน ด้านการบริหารโครงการ โดยภาพรวมและ

รายข้ออยูใ่ นระดบั มาก ( X = ๔.๔๐) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ อยใู่ นระดบั

มากทกุ ขอ้ โดยเรียงล�ำดบั ตามค่าเฉล่ียจากมากไปหานอ้ ย คือ ความสำ� เร็จโดยรวม

ของการทศั นศึกษาคร้งั น้ี ( X = ๔.๕๕) รองลงมาคือ การประชาสมั พนั ธ์โครงการ (

l 106 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

X = ๔.๕๐) และการประสานงานและอ�ำนวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ ( X =

๔.๔๑) ตามล�ำดับส่วนข้อท่ีมีระดับค่าเฉลี่ยต่�ำสุดคือ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกวัสดุ

อปุ กรณโ์ สตทัศนศึกษา ( X = ๔.๓๒)

ตอนท่ี ๓ ขอ้ มลู ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั กิจกรรม
จากกลมุ่ ตวั อยา่ งทไี่ ดต้ อบแบบสอบถามของพระนสิ ติ หลกั สตู รพทุ ธศาสตร
มหาบณั ฑติ ชน้ั ปที ๑่ี สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา วทิ ยาเขตขอนแกน่ จำ� นวน ๒๒ รปู /
คน ไดแ้ สดงความคิดเห็นวา่ ต้องการให้มกี ารจัดโครงการนอี้ ีกในครง้ั ต่อไป

l 107 l

สารตั ถขบวนการพุทธใหมโ่ ลกปจั จุบัน

แบบความพึงพอใจในกจิ กรรมเสริมการเรียนการสอนวชิ าขบวนการพุทธใหม่
ในโลกปจั จบุ ันของนสิ ติ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘
-------------------------------------------

คำ� ชีแ้ จง แบบสอบถามฉบับนี้มที ัง้ สน้ิ ๓ ตอน ไดแ้ ก่
ตอนท่ี ๑ สถานภาพท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจในการกิจกรรมเสรมิ
ตอนที่ ๓ ข้อมูลความคิดเห็นเกยี่ วกับกิจกรรม
ตอนที่ ๑ สถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม กรุณาท�ำเครื่องหมาย
ü ลงใน ¨ ท่ีตรงกับความจริง
๑. เพศ
¨ บรรพชิต ¨ คฤหสั ถช์ าย ¨ คฤหสั ถห์ ญิง
๒. สถานภาพ
¨ นสิ ิตภาคปกติ
¨ นสิ ติ ภาคสมทบ
๓. ชนั้ ปี
¨ ชัน้ ปีที่ ๑
¨ ช้นั ปีที่ ๒
๔. จำ� นวนรายวิชาท่เี รยี นในปกี ารศกึ ษาน ้ี ……………………รายวิชา

l 108 l

สารตั ถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปจั จบุ ัน

ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจในกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนวิชาขบวนการพุทธ
ใหม่ในโลกปัจจุบนั กรณุ าท�ำเคร่อื งหมาย ü ลงในช่องทต่ี รงกับระดบั
ความพึงพอใจของทา่ น

รายละเอยี ด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ไม่
สามารถ
นอ้ ย น้อย ปาน ดี ดี ประเมนิ
มาก กลาง มาก
ได้

ความพงึ พอใจในการกจิ กรรมเสรมิ

๑. ดา้ นความรู้ เนื้อหาการจัดการโครงการ

๒. ด้านวิทยากรบรรยาย

๓. ดา้ นการบริหารโครงการ

ด้านวทิ ยากรบรรยาย

๑. ความรู้ก่อนเดินทางศกึ ษาดูงาน

๒. ความรู้หลงั การศึกษาดูงาน

๓. ความเขา้ ในเนอ้ื หาการบรรยายระหวา่ งการเดนิ ทาง

๔. เน้ือหาบรรยายตรงกับวัตถุประสงค์ของการ
ศึกษาดูงาน

๕. สามารถน�ำความรู้ที่ได้ในการอบรมไปประยุกต์
ใชใ้ นการทำ� งานไดจ้ รงิ

๖. ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการอบรม

ดา้ นการบริหารโครงการ

๑. การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้

๒. ความรอบรู้ ความเชี่ยวชาญ ในเนื้อหารายวิชา
และสถานท่ี

๓. เทคนิควิธีการบรรยายโดยรวม

๔. การอธบิ ายและการยกตวั อยา่ งประกอบ ชดั เจน

๕. เปดิ โอกาสใหซ้ กั ถาม และการตอบคำ� ถามตรงประเดน็

๖. ความชัดเจน ตรงประเด็น

l 109 l

สารัตถขบวนการพทุ ธใหม่โลกปัจจบุ นั

รายละเอียด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ไม่
สามารถ
นอ้ ย นอ้ ย ปาน ดี ดี ประเมนิ
มาก กลาง มาก
ได้

ความพงึ พอใจในการกิจกรรมเสริม

๑. ความเหมาะสมของสถานท่ที ี่เดินทางแต่ละแห่ง

๒. การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการ

๓. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจดั โครงการ

๔. ส่งิ อำ� นวยความสะดวกวสั ดุอปุ กรณโ์ สตทศั นศึกษา

๕. การประสานงานและอำ� นวยความสะดวกของเจา้
หนา้ ที่

๖. ความสำ� เร็จโดยรวมของการทศั นศกึ ษาคร้ังนี้

๗. ภาพรวมในการจัดโครงการ

ตอนท่ี ๓ ข้อมลู ความคดิ เห็นเกย่ี วกับกิจกรรม
ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ (ถ้ามี)......................................................................................
..................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................

ขอบคณุ ทกุ ท่านท่กี รณุ าตอบแบบสอบถาม

l 110 l


Click to View FlipBook Version