The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yimma.yo, 2022-06-03 11:24:04

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

๔๖

เบาทส่ี ดุ กลางวัน กลางคืน ก่อน หลัง เช้า บ่าย

เย็น เมื่อวานน้ี วันนี้ พรุ่งนี้ ท่ีไหน ข้างไหน

ข้างบน ข้างลา่ ง ข้างหน้า ข้างหลัง ระหว่าง ข้าง

ซ้าย ข้างขวา ใกล้ ไกล ทรงกลม ทรงส่ีเหล่ียม

มมุ ฉาก ทรงกระบอก กรวย วงกลม รูปสี่เหลี่ยม

รูปสามเหล่ยี ม

(๑๖) การอธิบาย - สารวจเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันและสนทนา

เช่ือมโยงสาเหตุและผลที่ เก่ียวกับสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นเช่น กินอาหาร
เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือ แล้วไม่แปรงจะทกให้ฟันผุ ถ้าตากฝนอาจจะทา
ให้เป็นหวัด การท้ิงขยะไม่ถูกท่ีจะทาให้บริเวณ
การกระทา นัน้ สกปรก

- สังเกต สารวจ หรือทดลองอย่างง่ายเกี่ยวกับ

ส่ิงต่างๆรอบตัว แล้วอธิบายสาเหตุและผลที่

เกดิ ขน้ึ เชน่ ลองใส่นา้ ตาลลงไปในน้าสังเกตแล้ว

บอกได้ว่าน้าตาลสามารถละลายในน้าได้ ฟัง

และเปรยี บเทยี บเสยี งของสิ่งตา่ งๆแลว้ บอกได้ว่า

ส่ิงของที่แตกต่างกันทาให้เกิดเสียงต่างกันทอด

ไข่แล้วสังเกตการเปล่ียนแปลงแล้วบอกได้ว่า

ความร้อนทาให้ไข่สุกรับประทานได้ เล่นโยน

หรือเตะลูกบอลโดยออกแรงแตกต่างกันแล้ว

บอกไดว้ ่าถา้ ออกแรงมากลูกบอลจะไปไกล

(๑๗) การคาดเดาหรือ - สนทนาระหว่างฟังนทิ านหรือเร่ืองเล่าเพ่ือคาด

การคาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะ เดาเหตุการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึนพร้อมบอกเหตุผล
ก่อนทจ่ี ะฟงั เนือ้ เรือ่ งตอ่ ไป
เกดิ ข้นึ อยา่ งมเี หตุผล -คาดคะเนหรือตั้งสมมิติฐานก่อนทดลอง เช่น

ค า ด ค ะ เ น ว่ า วั ต ถุ ใ ด จ ะ จ ม น้ า ห รื อ ล อ ย น้ า

คาดคะเนว่าสัตว์ท่ีสนใจน่าจะกินอาหารชนิดใด

คาดคะเนว่าถ้าออกแรงในการผลักรถของเล่น

ด้วยแรงที่แตกต่างกันจะทาให้รถของเล่นมีการ

เคล่ือนท่ีเปน็ อยา่ งไร

(๑๘) การมีส่วนร่วมใน -บอกส่ิงที่สังเกตพบหรืออธิบายข้อค้นพบจาก

การ ลงความเห็น จาก การสังเกต สารวจ หรือทาการทดลองอย่างง่าย
เก่ียวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น สนทนาและสรุป
ข้อมูลอยา่ งมเี หตผุ ล เก่ียวกบั สว่ นประกอบของไข่ท่ีได้จากการสังเกต

ไข่ของจริง สนทนาและอธิบายเก่ียวกับรสชาติ

และสว่ นประกอบของอาหารทไ่ี ด้จากการสังเกต

และชมิ อาหารของจรงิ

สังเกตอากาศแต่ละวัน สนทนาเกี่ยวกับสภาพ

๔๗

อากาศในแต่ละวัน สารวจต้นไม้ในบริเวณ
โรงเรยี น สนทนาและสรปุ ชนดิ ของต้นไมท้ ี่พบใน
บรเิ วณโรงเรยี น

-สารวจแบบรูปของส่ิงต่างๆ รอบตัว สนทนา
และบอกลักษณะของแบบรูปท่ีพบ จัดกลุ่ม

สิ่งของแล้วสนทนาเกยี่ วกับการจดั กลุ่มสิ่งของว่า
เป็นกลุ่มได้อยา่ งไรบ้างโดยใช้อะไรเป็นเกณฑ์

(๑๙) การตัดสินใจและมี -ตัดสินและเลือกวิธีแก้ปัญหาในระหว่างเล่น

ส่วนร่วมในกระบวนการ หรอื ในชวี ิตประจาวัน หรอื ทากิจกรรม เช่น เล่น

แกป้ ัญหา เกมการศึกษาต่างๆ แก้ปัญหาในการเล่นกับ

เพื่อน แก้ปัญหาในการแบ่งของเล่นให้เพียงพอ

กับจานวนของเพื่อนในกลุ่ม แก้ปัญหาจัดวาง

หรือเก็บสิ่งของให้เป็นระเบียบ ร่วมกับครูและ

เพ่ือน วางแผนและลงมือแก้ปัญหาเกี่ยวกับการ

กาจัดหรือลดปริมาณขยะหรือ เศษวัสดุเหลือใช้

ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ข อ ง ห รื อ ท า ชิ้ น ง า น ใ ห้ ไ ด้ ต า ม

เงือ่ นไข

๑.๔.๓ จินตนาการ (๑) การรับรู้ และแสดง -สังเกต สัมผัส ทดลอง เล่นอิสระกับส่ือ วัสดุ

แ ล ะ ค ว า ม คิ ด ความคิด ความรู้สึกผ่าน และของเล่น บอกหรือเล่าเรื่องถ่ายทอด

สร้างสรรค์ สื่อ วัสดุ ของเล่น และ ความคิดความรู้สึกที่ได้จากสังเกต สัมผัส

ชนิ้ งาน ทดลอง หรอื เลน่ อสิ ระกบั สิง่ ต่างๆเหล่านั้น เช่น

ต่อบล็อกเป็นรปู ต่างๆ ประดษิ ฐ์ส่งิ ของตา่ งๆ

-บอกหรอื เลา่ เรื่องถ่ายถอดความคิดความรู้สึกท่ี
ได้จากการต่อบล็อกหรือประดิษฐ์สิ่งของต่างๆ
ทากิจกรรมศิลปะในลักษณะต่างๆ บอกหรือเล่า
เรอื่ งถ่ายทอดความคิดความรู้สกึ จากช้ินงาน

(๒) การแสดงความคิด เล่าเร่ืองต่อกันคนละประโยคอย่างสัมพันธ์กัน

สร้างสรรค์ผ่านภาษา วาดภาพและเล่าเร่ืองต่อเน่ือง และปริศนาคา

ท่าทาง การเคล่ือนไหว ทาย แสดงท่าทางเคล่ือนไหวอย่างอิสระ

และศิลปะ ประกอบการเล่านิทาน การเล่าเรื่อง การร้อง

เพลง รวมทั้งเพลงบรรเลงเคล่ือนไหวประกอบ

๔๘

ส่ือหรือวัสดุอ่ืนที่เหมาะสม ต่อบล็อกเป็นรูป
ต่างๆ ประดิษฐ์ส่ิงของต่างๆ อย่างอิสระที่แสดง
ถึงความแปลกใหม่

(๓) การสร้างสรรค์ ระบายสีสร้างภาพ ตัดฉีกปะ ประดิษฐ์ หรือป้ัน

ช้ิน ง าน โดยใช้รู ปร่ าง โดยใชร้ ปู ต่างๆ รูปทรงต่างๆ จากวัสดุท่ีแตกต่าง

รู ป ท ร ง จ า ก วั ส ดุ ที่ กัน ท้ังวัสดุท้องถิ่น วัสดุธรรมชาติ และวัสดุ

หลากหลาย เหลอื ใช้

๑.๔.๔ เจตคติที่ดีต่อ (๑)การสารวจส่ิงต่างๆ สารวจ สังเกตและบันทึกส่ิงต่างๆท่ีทั้งพบใน

การเรียนรู้และการ และแหลง่ เรยี นรรู้ อบตวั ห้องเรียนและนอกห้องเรียนเช่น สารวจส่ิงของ

แสดงหาความรู้ เคร่ื อ ง ให้ ใน ห้อ ง ส าร ว จ ขอ ง เล่ น ใ น มุ ม

ประสบการณ์ สารวจหนังสือในมุมหนังสือ

สารวจเครื่องเล่นในสนาม สารวจขนมและ

อาหารที่ขายในโรงเรียน สารวจส่ิงมีชีวิตและไม่

มีชีวิตในโรงเรียน สารวจยานพาหนะ ไปทัศน

ศึก ษ าต ามส ถา น ท่ี ต่าง ๆ เช่ น ส ว น สัต ว์

สวนสาธารณะ ตลาด พิพิธภัณฑ์ และแหล่ง

เรียนร้อู น่ื ๆ

(๒)การตั้งคาถามในเร่ือง -ตั้งคาถามจากนิทานที่ฟังหรือเร่ืองท่ีสนใจ เช่น

ทีส่ นใจ ชอบตัวละครใดมากที่สุด ฉาก ลาดับเหตูการณ์
ปัญหาและวธิ ีแกไ้ ข

-ตั้งคาถามจากส่ิงที่พบจากการสังเกต การ
สารวจ หรือการทากิจกรรมต่างๆ เช่น การ
สังเกตส่ิงต่างๆรอบตัว การไปทัศนศึกษา การ

ทาอาหาร การเลย้ี งสัตว์การปลกู พชื การทดลอง
อย่างง่ายๆ การสนทนากับวิทยากร ภูมิปัญญา

ท้องถนิ่ หรอื ผปู้ กครอง

(๓)การสบื เสาะหาความรู้ ระบุหรือเลือกคาถามท่ีสามารถหาคาตอบได้

เพื่อหาคาตอบของข้อ ร่วมกับครูและเพื่อนในการวางแผนและลงมือ

สงสัยต่างๆ สารวจตรวจสอบ เก็บรวบรวม และบันทึกข้อมูล

ด้วยวิธีการต่างๆ ลงความเห็นจากข้อมูลเพ่ือ

อธบิ ายสิง่ ทพ่ี บ และนาเสนอ ส่ือสารส่งิ ที่พบเพ่ือ

ตอบคาถามทตี่ ัง้ เอาไว้

๔๙

(๔) การมีส่วนร่วมใน -รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เช่น สังเกตโดย

การรวบรวมข้อมูลและ ใช้ประสาทสัมผัสหรือใช้เครื่องมืออย่างง่ายเช่น
นาเสนอข้อมูลจากการ แวน่ ขยาย เครื่องช่ังสองแขนอย่างง่าย อุปกรณ์
ในการวัดความยาวหรือตวง สารวจ จาแนก
สบื เสาะ เปรียบเทียบ ทาการทดลองอย่างง่ายๆ สืบค้น

หา คว า มรู้ ใน รู ปแ บ บ ขอ้ มูล สอบถามผู้รู้ และบันทึกข้อมูลด้วยวิธีการ
ต่างๆ และแผนภูมิอย่าง ต่างๆเช่น วาดภาพ ทาสัญลักษณ์ ถ่ายภาพ นา
ตัวอย่างของจริงมาตดิ ลงในกระดาษ
งา่ ย -นาเสนอข้อมูลด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น พูกบอก

เลา่ หรอื อธิบายประกอบภาพวาดหรือภาพถ่ายท่ี

บันทึกไว้ แสดงบทบาทสมมต เช่น บทบาท

สมมตแสดงทา่ ทางเลยี นแบบพฤตกิ รรมสัตว์ที่ไป

สังเกตพบ ทาแบบจาลอง เช่น แบบลองของ

สตั วห์ รือพืชท่สี ังเกตพบ ร่วมกับครูและเพ่ือนใน

การทาแผนผัง ผังความคิด แผนภูมิอย่างง่าย

เช่น แผนภูมิรูปภาพแสดงชนิดและจานวนของ

ยานพาหนะที่สารวจไดใ้ นบริเวณโรงเรยี น

๒. สาระทค่ี วรเรียนรู้
สาระทค่ี วรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นามาเป็นสื่อในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิด

หลังจากนาสาระการเรียนรู้น้ันๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจุดหมายที่กาหนดไว้ท้ังน้ี ไม่เน้น
การท่องจาเนื้อหา ผู้สอนสามารถกาหนดรายละเอียดข้ึนเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และความ
สนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สาคัญ ทั้งนี้อาจยืดหยุ่นเน้ือหาได้ โดยคานึงถึง
ประสบการณ์และสิ่งแวดลอ้ มในชีวิตจรงิ ของเด็ก ดังนี้

๒.๑ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็ เด็กควรเรียนรเู้ กย่ี วกบั ช่อื นามสกุล รูปร่างหน้าตา อวัยวะต่างๆ
วิธีรักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ การรักษาความ
ปลอดภัยของตนเอง รวมท้ังการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัยการรู้จักประวัติความเป็นมาของตนเองและ
ครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น
การร้จู กั แสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การกากับตนเอง การเล่นและทาส่ิง
ต่างๆด้วยตนเองตามลาพงั หรือกับผอู้ ่ืน การตระหนักร้เู ก่ียวกบั ตนเอง ความภาคภมู ิใจในตนเอง การสะท้อน
การรบั รอู้ ารมณแ์ ละความรสู้ ึกของตนเองและผอู้ ืน่ การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม
การแสดงมารยาทท่ีดี การมีคณุ ธรรม จริยธรรม เม่อื เดก็ มีโอกาสเรยี นรแู้ ล้วควรเกดิ แนวคิด เช่น

❖ ฉนั มีชือ่ ต้งั แต่เกดิ ฉันมีเสยี ง รปู รา่ งหน้าตาไม่เหมือนใคร ฉันภูมิใจที่เป็นตัวฉันเองเป็น
คนไทยท่ีดี มีมารยาท มวี ินยั รจู้ ักแบ่งปันทาส่งิ ต่างๆ ด้วยตนเอง เชน่ แต่งตัว แปรงฟัน
รบั ประทานอาหาร ฯลฯ

❖ ฉันมีอวัยวะต่างๆ เชน่ ตา หู จมูก ปาก ขา มือ ผม นิ้วมือ น้ิวเท้า ฯลฯ และฉันรู้จักวิธี
รกั ษารา่ งกายให้สะอาด ปลอดภยั มีสุขภาพดี

❖ ฉันใช้ตา หู จมกู ลิ้น และผวิ กาย ช่วยในการรบั รูส้ ่งิ ตา่ งๆ จงึ ควรดแู ลรกั ษาให้ปลอดภยั

๕๐

❖ ฉนั ต้องการอากาศ น้า และอาหาร เพือ่ การดารงชีวิต ฉันจึงต้องรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์ ออกกาลังกาย และพักผอ่ นให้เพยี งพอ เพอ่ื ให้รา่ งกายแข็งแรงเจริญเติบโต

❖ ฉันตระหนักร้เู กย่ี วกับตนเองวา่ ฉันสามารถเคลอ่ื นไหวโดยควบคมุ ร่างกายไปในทิศทาง
ระดับ และพ้นื ทตี่ ่างๆ ร่างกายของฉนั อาจมีเปลย่ี นแปลงเมอื่ ฉนั รู้สึกไม่สบาย

❖ ฉนั เรียนร้ขู ้อตกลงต่างๆ รู้จักระมัดระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืนเม่ือ
ทางาน เล่นคนเดียว และเล่นกบั ผอู้ ืน่

❖ ฉนั อาจร้สู กึ ดใี จ เสยี ใจ โกรธ เหน่ือย หรอื อนื่ ๆท่ีฉันเรียนรูท้ ่จี ะแสดงความรู้สึกในทางที่
ดีและเหมาะสม เม่ือฉันแสดงความคิดเห็นหรือทาสิ่งต่างๆ ด้วยความคิดของตนเอง
แสดงวา่ ฉนั มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ ของฉนั เป็นสง่ิ สาคัญ แต่คนอ่ืนก็มีความคิดท่ี
ดเี หมือนฉันเชน่ กนั

๒.๒ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั บคุ คลและสถานท่ีแวดลอ้ มเด็ก เดก็ ควรเรียนร้เู ก่ียวกับครอบครวั
สถานศกึ ษา ชมุ ชน บุคคลตา่ งๆ ที่เด็กต้องเก่ียวข้องหรือใกล้ชิด และมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน สถานที่
สาคัญ วันสาคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สาคัญของชาติไทย
และการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถ่ินและความเป็นไทย หรือแหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นอื่นๆ เมื่อ
เด็กมโี อกาสเรียนรูแ้ ล้วควรเกิดแนวคิด เชน่

❖ ทุกคนในครอบครัวของฉันเป็นบุคคลสาคัญ ต้องการที่อยู่อาศัย อาหาร เส้ือผ้า และยา
รกั ษาโรค รวมทง้ั ต้องการความรกั ความเอื้ออาทร ช่วยดูแลซึ่งกันและกัน ช่วยกันทางาน
และปฏิบัติตามข้อตกลงภายในครอบครัว ฉันต้องเคารพเช่ือฟังพ่อแม่และผู้ใหญ่ใน
ครอบครัว ปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามกาลเทศะ ครอบครัวของฉันมีวันสาคัญต่างๆ เช่น วัน
เกิดของบุคคลในครอบครวั วนั ทาบญุ บา้ น ฉนั ภมู ิใจในครอบครวั ของฉัน

❖ สถานศกึ ษาของฉนั มีชื่อ เป็นสถานท่ีท่ีเด็กๆ มาทากิจกรรมร่วมกัน และทาให้ได้เรียนรู้สิ่ง
ต่างๆ มากมาย สถานศึกษาของฉันมีคนอยู่ร่วมกันหลายคน ทุกคนมีหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ ช่วยกนั รักษาความสะอาด และทรพั ย์สมบัติของสถานศึกษา ครูรัก
ฉันและเอาใจใส่ดูแลเด็กทุกคน เวลาทากิจกรรม ฉันและเพ่ือนจะช่วยกันคิด ช่วยกันทา
รับฟงั ความคิดเห็น และรบั รคู้ วามรสู้ ึกซงึ่ กันและกัน

❖ ท้องถ่นิ ของฉนั มีสถานที่ บุคคล แหล่งวิทยากร แหล่งเรียนรู้ต่างๆที่สาคัญคนในท้องถิ่นท่ี
ฉันอาศัยอยู่ มีอาชีพท่ีหลากหลาย เช่น ครู แพทย์ ทหาร ตารวจ ชาวนา ชาวสวน พ่อค้า
แม่คา้ ท้องถ่ินของฉนั มีวนั สาคญั ของตนเอง สิง่ จะมกี ารปฏิบัตกิ จิ กรรมท่ีแตกต่างกันไป

❖ ฉันเป็นคนไทย ฉันภูมิใจในความเป็นไทยท่ีมีวันสาคัญ ของชาติ ศาสนา และ
พระมหากษตั ริย์ มภี าษา วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ และท้องถ่ินหลาย
อยา่ ง ฉันและเพือ่ นนบั ถือศาสนา หรือมีความเชื่อท่ีเหมือนกันหรือแตกต่างกันได้ ศาสนา
ทกุ ศาสนาสอนให้ทุกคนเปน็ คนดี

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง
และความสมั พนั ธ์ของมนุษย์ สตั ว์ พืช ตลอดจนการรจู้ ักเก่ยี วกับดิน น้า ทอ้ งฟา้ สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ
แรงและพลังงานในชีวิตประจาวันท่ีแวดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมดูและการรักษาสาธารณ
สมบัติ เม่ือเด็กมโี อกาสเรยี นร้แู ล้วควรเกิดแนวคดิ เชน่

❖ ธรรมชาตริ อบตวั ฉนั มที ั้งส่ิงมีชวี ติ และไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตต้องการอากาศ แสงแดด น้าและ
อาหารเพ่ือเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตสามารถปรับตัวให้เข้ากับลักษณะลมฟ้าอากาศในแต่ละ

๕๑

วันหรอื ฤดู และยงั ตอ้ งพง่ึ พออาศยั ซง่ึ กนั และกนั สาหรับส่ิงไมม่ ชี วี ติ เช่น น้า หิน ดินทราย
มรี ูปร่าง รปู ทรง ลักษณะ สีตา่ งๆ และมปี ระโยชน์
❖ ลกั ษณะลมฟ้าอากาศรอบตัวแตล่ ะวนั อาจเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันได้ บางคร้ังฉันคาดคะเน
ลักษณะลมฟ้าอากาศได้จากส่ิงต่างๆ รอบตัว เช่น เมฆ ท้องฟ้า ลม ในเวลากลางวันเป็น
ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนดวงอาทิตย์ตก คนส่วนใหญ่จะตื่นและทางานส่วนฉันไป
โรงเรยี นหรือเลน่ กลางวนั และกลางคนื มลี กั ษณะแตกตา่ งกนั เชน่ ทอ้ งฟ้าในเวลากลางวัน
เป็นสีฟ้า ในเวลากลางคืนเป็นสีดา กลางวันมีแสงสว่าง แต่กลางคืนมืด อากาศเวลา
กลางวนั รอ้ นกว่าเวลากลางคืน
❖ เม่ือฉันออกแรงกระทาต่อส่ิงของด้วยวิธีต่างๆ เช่น ผลัก ดึง บีบ ทุบ ตี เป่า เขย่า ดีด
สง่ิ ของจะมกี ารเปล่ียนแปลงรปู ร่าง การเคลอ่ื นท่ี และเกิดเสียงแบบต่างๆ
❖ แสง และไฟฟา้ ได้มาจากแหลง่ พลังงาน เช่น ดวงอาทติ ย์ ลม นา้ เช้ือเพลิง แสงช่วยให้เรา
มองเห็นเมือ่ มีสิ่งตา่ งๆ ไปบงั แสงจะเกดิ เงา ไฟฟา้ ทาใหส้ ่ิงของเคร่ืองใช้บางอย่างทางานได้
ช่วยอานวยความสะดวกในชีวิตประจาวัน การนาพลังงานมาใช้ทาให้แหล่งพลังงาน
บางอยา่ งมปี ริมาณลดลง เราจงึ ใช้พลังงานอยา่ งประหยดั
❖ สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติรอบตัวฉัน เช่น สัตว์ พืช น้า ดิน หิน ทราย สภาพของลมฟ้า
อากาศ เป็นส่ิงจาเป็นสาหรับชีวิตต้องได้รับการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
รอบๆตวั ฉัน เช่น สิ่งของเครื่องใช้ บ้านอย่อู าศัย ถนนหนทาง สวนสาธารณะ สถานที่ต่างๆ
เป็นส่ิงที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันทุกคนรวมท้ังฉันช่วยกันอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและรักษาสา
ธารณสมบัตโิ ดยไม่ทาลายและบารงุ รักษาให้ดขี ้นึ ได้

๒.๔ สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายใน
ชีวิตประจาวันความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด
รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้าหนัก จานวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
รอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม
เทคโนโลยีและการส่ือสารต่างๆ ท่ีใช้อยู่ในชีวิตประจาวัน อย่างประหยัด ปลอดภัย และรักษาส่ิงแวดล้อม
ทงั้ นี้ เมือ่ เดก็ มโี อกาสเรียนร้แู ล้ว เดก็ ควรเกดิ แนวคิด เชน่

❖ ฉันใชภ้ าษาทัง้ ฟงั พดู อา่ น เขยี น เพอ่ื การส่อื ความหมายในชวี ิตประจาวันฉันติดตอส่ือสาร
กับบคุ คลตา่ งๆได้หลายวธิ ี เช่น โดยการไปมาหาสู่ โทรศัพท์ จดหมาย หรือเครื่องใช้ท่ีใช้ใน
การติดต่อสอื่ สารตา่ งๆและฉนั ทราบข่าวความเคล่อื นไหวต่างๆรอบตัวด้วยการสนทนา ฟัง
วิทยุ ดูโทรทัศน์ และอ่านหนังสือ หนังสือเป็นส่ือในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความร้สู ึกไปยงั ผู้อ่าน ถ้าฉนั ชอบอ่านหนังสือฉันก็จะมีความรู้ความคิดมากขึ้น ฉันสามารถ
รวบรวมข้อมูลง่ายๆนามาถ่านทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้โดยนาเสนอด้วยรูปภาพ สัญลักษณ์
แผนผงั ผังความคิด แผนภมู ิ

❖ ส่ิงต่างๆรอบตัวฉันส่วนใหญ่มีสี ยกเว้นกระจกใส พลาสติกใส สีมีอยู่ทุกหนทุกแห่งท่ีฉัน
สามารถเห็นตามดอกไม้ เสื้อผ้า อาหาร รถยนต์ และอื่นๆ สีที่ฉันเห็นมีชื่อเรียกต่างๆกัน
เช่น แดง เหลือง น้าเงิน สีแต่ละสีทาให้เกิดความรู้สึกต่างกัน สีบางสีสามารถใช้เป็น
สัญญาณหรือสัญลักษณ์สอ่ื สารกันได้

❖ ส่ิงต่างๆรอบตัวฉันมีชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส วัสดุ รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้าหนักและ

๕๒

ส่วนประกอบต่างๆกัน สามารถจาแนกประเภทตามชนิด ขนาด สี พื้นผิว วัสดุ รูปร่าง
รูปทรง หรอื ประโยชนใ์ นการใชง้ าน
❖ ฉันสามารถสังเกตเห็นการเปล่ียนแปลงของส่ิงต่างๆรอบตัว เช่น การเจริญเติบโตของ
มนษุ ย์ สตั วห์ รอื พชื การเปลย่ี นแปลงของสภาพของลมฟา้ อากาศ การเปล่ียนแปลงของส่ิง
ต่างๆ จากการทดลองอย่างง่ายๆหรือการประกอบอาหาร และฉันสามารถเห็น
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัว เช่น การนาสิ่งต่างๆมาใช้ประโยชน์ ความสัมพันธ์
ระหวา่ งการกระทาบางอย่างกับผลท่ีเกดิ ขึน้ เชน่ ถ้ารับประทานอาหารแลว้ ไมแ่ ปรงฟันฟัน
จะผุ ถา้ ใสน่ า้ ตาลลงไปในน้าแล้วนา้ ตาลจะละลาย ถ้าปล่อยส่ิงของจากท่ีสูงแล้วสิ่งของจะ
ตกลงมา
❖ การนับสิ่งตา่ งๆทาใหฉ้ ันรูจ้ านวนสิง่ ของ และจานวนนับนั้นเพม่ิ หรือลดลงได้ ฉนั รวู้ ่าส่ิงของ
แตล่ ะชิ้นนับได้เพยี งคร้ังเดียว ไมน่ บั ซา้ และเสยี งสุดท้ายทีน่ บั เปน็ ตวั บอกปริมาณ
❖ ฉันเปรียบเทียบและเรียงลาดับสิ่งของต่างๆตามลักษณะ รูปร่าง รูปทรง จานวน ขนาด
น้าหนักปริมาตร สิ่งที่ช่วยในการสังเกต เช่น แว่นขยาย ส่ิงที่ช่วยในการ ช่ัง ตวง วัด มี
หลายอยา่ ง เช่น เครือ่ งช่ังสองแขนอยา่ งงา่ ย ถ้วย ช้อน เชือก วัสดุส่ิงของอ่ืนๆท่ีฉันอาจใช้
คาดคะเนหรอื กะประมาณ
❖ ฉนั ใช้คาที่เกี่ยวกบั เวลาในชีวิตประจาวนั เช่น กลางวัน กลางคืน ก่อน หลัง เช้า บ่าย เย็น
เม่อื วานนี้ วันนี้ พรุ่งนี้
❖ ฉันใชเ้ งนิ เหรยี ญและธนบัตรในการซ้อื ขนมและอาหาร ตัวเลขที่อยู่บนเหรียญและธนบัตร
จะบอกคา่ ของเงิน
❖ ฉันใช้ตัวเลขในชีวิตประจาวัน เช่น วันที่ ช้ันเรียน อายุ บ้านเลขท่ี นาฬิกา หรือเบอร์
โทรศพั ท์ และใช้ตัวเลขในการบอกปริมาณของสิง่ ต่างๆและแสดงอันดบั ที่
❖ สิง่ ของเคร่ืองใช้มีหลายชนิดและหลายประเภท เช่น เครื่องใชใ้ นการทาสวนเพาะปลูก การ
ก่อสร้าง เคร่ืองใชภ้ ายในบ้าน เราใช้ส่ิงของเคร่ืองใช้ต่างๆช่วยอานวยความสะดวกในการ
ทางาน ขณะเดียวกันก็ต้องระมัดระวังในการใช้งาน เพราะอาจเกิดอันตรายและความ
เสียหายได้ถ้าใช้ผิดวิธีหรือใช้ผิดประเภท เมื่อใช้แล้วควรทาความสะอาดและเก็บเข้าท่ีให้
เรียบรอ้ ย เราควรใชส้ ่งิ ของเครื่องใชอ้ ยา่ งประหยดั และรกั ษาสง่ิ แวดล้อม
❖ ฉนั เดินทางจากทหี่ น่งึ ไปยังอกี ท่ีหน่ึงได้ดว้ ยการเดินหรือใช้ยานพาหนะ พาหนะบางอย่างที่
ฉันเคลื่อนที่ไดโ้ ดยการใชเ้ ครอ่ื งยนต์ ลม ไฟฟ้า หรือคนเป็นผทู้ าให้เคลอื่ นที่ คนเราเดินทาง
หรือขนส่งได้ท้ังทางบก ทางน้า ทางอากาศ พาหนะที่ใช้เดินทาง เช่น รถยนต์ รถเมล์
รถไฟ เคร่ืองบิน เรือ ผู้ขับข่ีจะต้องได้รับใบอนุญาตขับขี่ และทาตามกฎจราจรเพ่ือความ
ปลอดภัยของบุคคล และฉันจะต้องเดินบนทางเท้า ข้ามถนนตรงทางม้าลาย สะพานลอย
หรือตรงทม่ี ีสญั ญาณไฟ เพือ่ ความปลอดภัยและต้องระมดั ระวงั เวลาขา้ ม

๗. การวเิ คราะหส์ าระการเรียนรรู้ ายปี
๗.๑ การวิเคราะหส์ าระการเรยี นรรู้ ายปี ชว่ งอายุ ๔ – ๕ ปี
๑.พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเตบิ โตตามวัยเด็กมีสุขนิสยั ทด่ี ี

๕๓

สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี
ช้นั อนุบาลปีที่ ๒ (๔ – ๕ ปี)
ตัวบง่ ชี้ ประสบการณ์ สาระที่ควรเรียนรู้

๑.๑ มีน้าหนักและ สาคัญ
ส่วนสงู ตามเกณฑ์
๑.การปฏิบัติตน ๑ .ก า ร ป ฏิ บั ติ
๑ .๒ มี สุ ข ภ า พ
อนามยั สุขนิสัยท่ดี ี ตามสุขอ น ามั ย กิจวตั รประจาวนั

สุ ข นิ สั ย ที่ ดี ใ น - การเปลย่ี นแปลง

กิจวตั รประจาวนั ของรา่ งกาย

๑.การปฏิบัติตน สงิ่ ต่างๆรอบตัว

ตามสุขอ น ามั ย ๑ .ก า ร ป ฏิ บั ติ

สุ ข นิ สั ย ท่ี ดี ใ น กิจวัตรประจาวนั

กจิ วตั รประจาวนั - สุขนิสัยท่ีดีใน

๒. การประกอบ การรับประทาน

อาหารไทย อาหาร

๑.การปฏิบัติตน ๑ .ก า ร ป ฏิ บั ติ

ตามสุขอ น ามั ย กจิ วัตรประจาวัน

สุ ข นิ สั ย ท่ี ดี ใ น - การทาความ

กิจวตั รประจาวนั สะอาดร่างกาย

๒. การช่วยเหลือ

ตนเองในการ

ปฏิบัติกิ จกวัตร

ประจาวัน

๓. การปฏิบัติตน

ให้ ปล อ ด ภัย ใ น

กิจวตั รประจาวนั

๔. การฟังนิทาน

เ ร่ื อ ง ร า ว

เ ห ตุ ก า ร ณ์

เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร

ป้ อ ง กั น แ ล ะ

รั ก ษ า ค ว า ม

ปลอดภยั

๑.การปฏิบัติตน ๑ .ก า ร ป ฏิ บั ติ
ตามสุขอ น ามั ย กิจวตั รประจาวนั
สุ ข นิ สั ย ท่ี ดี ใ น -ก า ร ท า ค ว า ม
กิจวตั รประจาวัน สะอาดร่างกาย
๒. การช่วยเหลือ

๕๔

ตนเองในการ
ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร
ประจาวนั
๓. การปฏิบัติตน
ให้ ปล อ ด ภัย ใ น
กิจวตั รประจาวัน
๔. การฟังนิทาน
เ ร่ื อ ง ร า ว
เ ห ตุ ก า ร ณ์
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร
ป้ อ ง กั น แ ล ะ
รั ก ษ า ค ว า ม
ปลอดภยั
- การปฏิบัติตน - การพักผอ่ น
ตามสุขอ น ามั ย
สุ ข นิ สั ย ท่ี ดี ใ น
กิจวัตรประจาวัน
๑. การเล่นอิสระ -ก า ร อ อ ก ก า ลั ง
๒. การเคลอื่ นไหว กาย
ข้ามสงิ่ กีดขวาง -ก า ร เ ล่ น ใ น
๓. การเล่นเคร่ือง ห้องเรยี นและนอก
เ ล่ น อ ย่ า ง หอ้ งเรียน
ปลอดภยั
๔. การละเล่น
พน้ื บ้านไทย
๕. การเล่นนอก
ห้องเรียน
๖. การเล่นเคร่ือง
เ ล่ น ส น า ม อ ย่ า ง
อสิ ระ

๕๕

๑.๓ รักษาความ ๑.การปฏิบัติตน - การเล่นและ
ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ให้ ปล อ ด ภัย ใ น ทางานดว้ ยตนเอง
ตนเองและผู้อื่น กจิ วัตรประจาวัน

๒. การฟังนิทาน
เ ร่ื อ ง ร า ว

เ ห ตุ ก า ร ณ์
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร
ป้องกันและรักษา

ความปลอดภัย
๓ .ก า ร เ ล่ น

บ ท บ า ท ส ม มุ ติ
เหตกุ ารณ์ต่างๆ
๔. การพูดกับ

ผู้ อ่ื น เ กี่ ย ว กั บ
ประสบการณ์ของ

ตน เ อ ง ห รื อ พู ด
เรื่องราวเกี่ยวกับ
ตนเอง

๕. การเล่นเครื่อง
เ ล่ น อ ย่ า ง

ปลอดภัย
๖. การเล่นและ
ท า ง า น ร่ ว ม กั บ

ผ้อู ืน่

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนือ้ ใหญ่และกล้ามเนอ้ื เลก็ แขง็ แรงใชไ้ ดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่วและประสานสัมพนั ธก์ นั

ตวั บ่งชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี

ชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๒ ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้

(๔ – ๕ ป)ี

๒.๑ เคลื่อนไหว -เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็น ๑. การเคลื่อนไหวอยู่ ๑. การเคล่ือนไหว

ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง เส้นตรงได้โดยไม่ต้องกาง กับท่ี รา่ งกายในลักษณะ

ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว แขน ๒. การเคล่ือนไหว ต่าง ๆ

ประสานสัมพันธ์ -กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้ เคล่อื นท่ี ๒. การใชม้ ือทาส่งิ

และทรงตวั ได้ โดยไมเ่ สียการทรงตวั ๓. การเคล่ือนไหว ต่าง ๆ
-ว่งิ หลบหลกี ส่ิงกดี ขวางได้ พร้อมอุปกรณ์
-โยนรับลูกบอลได้ด้วยมือ ๔. การเคลื่อนไหวท่ีใช้
ก า ร ป ร ะ ส า น สั ม พั น ธ์
ท้งั สองขา้ ง
ของกล้ามเน้ือใหญ่ใน

๕๖

การขว้าง การจับ การ

โยน การเตะ

๕. การเล่นเคร่ืองเล่น

สนามอยา่ งอิสระ

๖. การเคล่ือนไหวข้าม

สิ่งกีดขวาง

๗. การเคล่ือนไหวโดย

ควบคุมตน เองไปใน

ทิศทางระดบั และพืน้ ท่ี

๒ .๒ ใ ช้ มื อ -ต า -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตาม ๑. การเล่นเคร่ืองเล่น - การใช้มือทาส่ิงต่าง

ประสานสัมพันธ์ แนวเสน้ ตรงได้ สัมผัส และการสร้างสิ่ง ๆ

กนั -เขียนรูปส่ีเหล่ียมตามแบบ ต่างๆจากแท่งไมบ้ ลอ็ ก
๒.การเขียนภาพและ
ไดอ้ ยา่ งมีมมุ ชัดเจน
-รอ้ ยวสั ดุท่ีมีรูขนาดเส้นผา่ น การเล่นกบั สี
ศนู ย์ กลาง ๐.๕ ซม.ได้ ๓. การประดิษฐ์ส่ิง
ต่างๆด้วยเศษวัสดุ

๔. การหยิบจับ การใช้

กรรไกร การฉีก การตัด

การปะ การร้อยวัสดุ

๒.พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจิตดแี ละมีความสขุ

ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี

ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ าคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้

(๔ – ๕ ปี)

๓ .๑ แ สดงอ อ ก -แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ ๑. การพูดสะท้อน ๑. อ าร มณ์และ

ทางอารมณ์อย่าง ตามสถานการณ์ ความรู้สึกของตนเอง ความรสู้ ึก

เหมาะสม และผูอ้ ่ืน - การแสดงออกทาง

๒. การเล่นบทบาท อารมณ์ท่ีเหมาะสมกับ

สมมุติ สถานการณต์ า่ ง ๆ

๓. การเคลอื่ นไหวตาม - ความต้องการทาง

เสียงเพลง ดนตรี ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ก า ร

๔. การร้องเพลง ตอบสนอง

๕. การทางานศิลปะ - ความต้องการทาง

จติ ใจและการตอบสนอง

๓.๒ มีความรู้สึกท่ี -กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอย่าง - การพูดแสดงความ

ดีต่อตนเองและ เหมาะสมบางสถานการณ์ คิดเห็น

๕๗

ผอู้ นื่ -แสดงความพอใจในผลงาน - การประสบ
และความสามารถของ ความสาเร็จใน สิ่ง
ตนเอง ตา่ งๆ ท่ที า

มาตรฐานท่ี ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

ตัวบง่ ช้ี สภาพที่พงึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี

ชนั้ อนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณ์สาคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้

(๔ – ๕ ป)ี

๔ .๑ ส น ใ จ แ ล ะ มี -สนใจและมีความสุขและ ๑. การทากิจกรรม - การทากิจกรรม

ค ว า ม สุ ข แ ล ะ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ศลิ ปะตา่ งๆ ศลิ ปะสร้างสรรค์

แสดงออกผ่านงาน ๒. การสร้างสรรค์สิ่ง

ศิลปะ ดนตรีและ สวยงาม

การเคลอื่ นไหว ๓. การรับรู้และแสดง

ความคิด ความรู้สึก

ผ่านส่ือ วัสดุ ของเล่น

และช้ินงาน

๔. การปฏิบัติกิจกรรม

ต่ า ง ๆ ต า ม

ความสามารถของ

ตนเอง

-สน ใจ มีความสุขและ ๑. การฟังเพลง การ - การฟงั การร้องเพลง

แสดงออกผ่านเสียงเพลง ร้องเพลง และการ

ดนตรี แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ

เสยี งดนตรี

๒. การเล่นเคร่ือง

ดนตรีประกอบจงั หวะ

๔. การปฏิบัติกิจกรรม

ต่ า ง ๆ ต า ม

ความสามารถของ

ตนเอง

-สน ใจ มีความสุขและ ๑. การฟังเพลง การ - การแสดงท่าทาง

แสดงท่าทาง/เคล่ือนไหว ร้องเพลง และการ เคล่ือนไหวประกอบ

ประกอบเพลง จังหวะและ แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เ พ ล ง จั ง ห ว ะ แ ล ะ

ดนตรี เสยี งดนตรี ดนตรี

๒. การเคลื่อนไหวตาม

เสียงเพลง ดนตรี

๔. การปฏิบัติกิจกรรม

ต่ า ง ๆ ต า ม

๕๘

ความสามารถของ

ตนเอง

๕. การเล่นเครื่อง

ดนตรีประกอบจงั หวะ

มาตรฐานท่ี ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและมจี ติ ใจท่ดี งี าม

ตัวบ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี

ชน้ั อนุบาลปีที่ ๒ ประสบการณส์ าคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้

(๔ – ๕ ปี)

๕.๑ ซ่ือสัตย์ - ขออนุญาตหรือรอคอย ๑. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ ส่ิงตา่ งๆรอบตัวเดก็

สุจรติ เมื่อต้องการสิ่งของของ ดขี องหอ้ งเรียน ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม

ผอู้ ่ืนเมอ่ื มีผ้ชู แ้ี นะ ๒. การฟังนิทานเก่ียวกับ - ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ

คุณธรรม จริยธรรม - ความเกรงใจ

๓. การร่วมสนทนาและ ๒. การเคารพสิทธิของ

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตนเองและผู้อ่นื

เชิงจริยธรรม

๔. เล่นบทบาทสมมุติ

๕. การเล่นและทางาน

ร่วมกับผู้อืน่

๖. การปฏิบัติตนตามหลัก

ศาสนาที่นบั ถือ

๕.๒ มีความ -แสดงความรกั เพื่อนและมี ๑. การฟังนิทานเกี่ยวกับ ๑. คุณธรรมจริยธรรม

เมตตา กรุณา เมตตาสตั วเ์ ล้ยี ง คุณธรรม จรยิ ธรรม - ความเมตตากรุณา

มี น้ า ใ จ แ ล ะ ๒. เล่นบทบาทสมมุติ

ช่ ว ย เ ห ลื อ ๓. การเลีย้ งสตั ว์

แบง่ ปนั

-ช่วยเหลือและแบ่งปัน ๑. การฟังนิทานเกี่ยวกับ ๑. คณุ ธรรมจริยธรรม

ผู้อ่ืนได้เมอ่ื มผี ู้ชีแ้ นะ คุณธรรม จริยธรรม - ความมีน้าใจ ช่วยเหลือ

๒. เล่นบทบาทสมมุติ แบง่ ปัน

๓. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ี - ความกตญั ญู

ดีของห้องเรียน

๔. การเล่นรายบุคคล กลุ่ม

ย่อย และกล่มุ ใหญ่

๕. การเล่นตามมุม

ประสบการณ์/มุมเล่นต่างๆ

๕.๓ มี -แสดงสีหน้าหรือท่าทาง ๑. การเล่นและทางาน ๑. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

ความเหน็ อก รับรคู้ วามรสู้ ึกผู้อนื่ รว่ มกับผ้อู ื่น - ความเห็นอกเห็นใจ

เหน็ ใจผ้อู นื่ ๒. การเลน่ บทบาทสมมุติ ผูอ้ ่นื

๓. การแสดงความยินดีเม่ือ

๕๙

ผู้อ่ืนมีความสุข เห็นใจเม่ือ

ผู้อ่ืนเศร้าหรือเสียใจและ

การช่วยเหลือปลอบโยน

เมื่อผู้อ่นื ไดร้ ับบาดเจ็บ

๕.๔ มีความ -ทางานท่ีได้รับมอบหมาย ๑. การทากิจกรรมศิลปะ ๑. คุณธรรมจริยธรรม

รับผิดชอบ จนสาเร็จเมอ่ื มผี ู้ช้ีแนะ ตา่ งๆ - ความรบั ผดิ ชอบ

๒. การดูแลห้องเรียน - ความอดทน มุ่งม่ัน

รว่ มกัน - ความเพยี ร

๓. ก าร มีส่ว นร่ ว ม

รั บ ผิด ชอ บ ดู แล รั ก ษ า

สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและ

ภายนอกหอ้ งเรียน

๔. การร่วมกาหนด

ขอ้ ตกลงของห้องเรยี น

๓.พฒั นาการดา้ นสังคม

มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชวี ิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตวั บ่งช้ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี

ช้ันอนบุ าลปที ี่ ๒ ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

(๔ – ๕ ปี)

๖.๑ ช่วยเหลือ - แต่งตวั ดว้ ยตนเอง ๑. การช่วยเหลือตนเอง ๑. การช่วยเหลือตนเอง

ตน เอ งใ นกา ร -รับประทานอาหารด้วย ในกจิ วัตรประจาวัน ๒. มารยาทในการ
ปฏิบัติกิจวัตร ตนเอง ๒. การให้ความร่วมมือใน รับประทานอาหาร

ประจาวัน การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ

- ใช้ห้องน้าห้องส้วมด้วย ๓. การปฏิบัติกิจกรรม
ตนเอง ต่างๆตามความสามารถ
ของตนเอง

๖.๒ มีวินัยใ น -เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ ๑. การร่วมกาหนด ๑. การเล่นและการเก็บ

ตนอง ดว้ ยตนเอง ข้อตกลงของหอ้ งเรยี น สง่ิ ของ

-เ ข้ า แ ถ ว ต า ม ล า ดั บ ๒. การปฏิบัติตนเป็น ๑. ก าร ร อ คอ ย

ก่อนหลังได้ดว้ ยตนเอง สมาชิกท่ดี ีของหอ้ งเรียน ตามลาดบั ก่อนหลัง
๓. การให้ความร่วมมือใน ๒. การเขา้ แถว
การปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่างๆ

๔. การดูแลห้องเรียน

รว่ มกนั

๖.๓ ป ระหยัด -ใช้สิ่งของเคร่ืองใช้อย่าง ๑. การปฏิบัติตนตาม ๑. การเลือกใช้ส่ิงของ

และพอเพยี ง ประหยัดและพอเพียงเม่ือ แนวทางหลักปรัชญาของ เครอื่ งใชอ้ ยา่ งประหยัด

มผี ชู้ แ้ี นะ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

๖๐

๒. การใช้วัสดุและสงิ่
ของเครอ่ื งใช้อยา่ งค้มุ ค่า

มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเป็นไทย

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี

ตัวบง่ ชี้ ช้ันอนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรียนรู้

(๔ – ๕ ปี)

๗.๑ ดูแลรักษา -มีส่วนร่วมในการดูแล ๑. การมีส่วนร่วมในการ ๑. สิ่งแวดล้อมใน

ธ รร มชา ติแ ล ะ รั ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้ง โรงเรียนและการดูแล

สิ่งแวดลอ้ ม ส่ิงแวดลอ้ มเมอ่ื มผี ชู้ แ้ี นะ ภายใน และ ภายน อ ก รกั ษา

ห้องเรียน ๒. ส่ิงแวดล้อมตาม

๒.การสนทนาข่าวและ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ก า ร

เหตุ ก าร ณ์ท่ี เกี่ ย ว กั บ อนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม

ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ๓. การรักษาสาธารณ

สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ น สมบตั ใิ นหอ้ งเรียน

ชวี ิตประจาวัน

๓. การเพาะปลูกและ

ดแู ลตน้ ไม้

๔. การอธิบายเช่ือมโยง

สาเหตแุ ละผลท่ีเกดิ ข้ึนใน

เ ห ตุ ก า ร ณ์ ห รื อ ก า ร

กระทา

๕. การตัดสินใจและมี

ส่วนร่วมในกระบวนการ

แก้ปญั หา

-ท้งิ ขยะได้ถูกท่ี ๑. การคัดแยก การจัด ๑. ขยะและการคัดแยก

กลุ่มและจาแนกสิ่งต่างๆ ขยะ

ตามลักษณะและรูปร่าง ๒. การดูแลรักษา

รูปทรง สิ่งแวดล้อม

๒. การใชว้ ัสดแุ ละส่ิงของ

เคร่ืองใชอ้ ยา่ งค้มุ คา่

๓. การทางานศิลปะที่นา

วัสดุหรือสิ่งของเครื่องใช้

ทีใ่ ชแ้ ล้วมาใชซ้ า้ หรือแปร

รปู แลว้ นากลบั มาใช้ใหม่

๔. การสร้างสรรคช์ ้ินงาน

โดยใช้รูปร่างรูปทรงจาก

๖๑

วสั ดทุ ่ีหลากหลาย

๕. การปฏิบัติตนเป็น

สมาชกิ ทดี่ ีของหอ้ งเรยี น

๗.๒ มีมารยาท -ปฏิบัติตนตามมารยาท ๑. การปฏิบัติตนตาม ๑. การปฏิบัติตนตาม

ตามวัฒนธรรม ไทยได้ด้วยตนเอง วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง มารยาทและวัฒนธรรม

ไทยและรักความ ถ่ินที่อาศัยและประเพณี ไทย

เปน็ ไทย ไทย - การแสดงความเคารพ

๒. การเล่นบทบาทสมมุติ

การปฏิบัติตนในความ

เปน็ คนไทย

-กล่าวคาขอบคุณและขอ ๑. การปฏิบัติตนตาม ๑. การปฏิบัติตนตาม

โทษด้วยตนเอง วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง มารยาทและวัฒนธรรม

ถ่ินที่อาศัยและประเพณี ไทย

ไทย - การพูดสภุ าพ

๒. การเล่นบทบาทสมมุติ - การกล่าวคาขอบคุณ

การปฏิบัติตนในความ และขอโทษ

เป็นไทย

๓. การพูดสะท้อน

ความร้สู กึ ของตนเองและ

ผอู้ นื่

-หยุดเมื่อได้ยินเพลงชาติ ๑. การปฏิบัติตนตาม - การแสดงออกท่ี

ไทยและเพลงสรรเสริญ วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ

พระบารมี ถิ่นท่ีอาศัยและประเพณี สถานการณ์

ไทย

๒. การเลน่ บทบาทสมมุติ

การปฏิบัติตนในความ

เป็นไทย

๓. การร่วมกิจกรรมวัน

สาคัญ

มาตรฐานท่ี ๘ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ

ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

สภาพที่พงึ ประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี

ตัวบง่ ช้ี ช้นั อนบุ าลปีที่ ๒ ประสบการณ์สาคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้

(๔ – ๕ ปี)

๘.๑ ยอมรบั ความ -เล่ น แ ละ ทา กิจ ก ร ร ม ๑.การเล่นและทางาน - การเล่นและการทา

เหมือนและความ ร่วมกบั กลมุ่ เดก็ ท่แี ตกต่าง ร่วมกับผอู้ ่ืน กิจกรรมรว่ มกับผู้อน่ื

แตกต่างระหว่าง ไปจากตน ๒. การเล่นพ้ืนบ้านของ - การเล่นและทา

๖๒

บคุ คล ไทย กจิ กรรมกลุ่มใหญ่

๓. การศึกษานอก

สถานที่ - การปฏิบัติตาม

๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์ -เล่นหรือทางานร่วมกับ ๔. การเล่นและทา วัฒนธรรมท้องถ่ินและ
กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม ความเปน็ ไทย
ท่ีดีกับผู้อ่ืน เพื่อนเปน็ กลุ่ม
เพ่ือน

-ยิ้ ม ห รื อ ทั ก ท า ย ห รื อ ๕. การทาศิลปะแบบ
พู ด คุ ย กั บ ผู้ ใ ห ญ่ แ ล ะ ร่วมมือ

บุ ค ค ล ที่ คุ้ น เ ค ย ไ ด้ ด้ ว ย ๖. การร่วมสนทนาและ
ตนเอง แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น

๗. การเล่นรายบุคคล

กลุ่มยอ่ ยและกลมุ่ ใหญ่

๘ .๓ ป ฏิ บั ติ ต น -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลง ๑. การร่วมกาหนด - การปฏิบัติตาม

เบื้องต้นในการ และปฏิบัติตามข้อตกลง ข้อตกลงของห้องเรยี น กฎระเบยี บและข้อตกลง

เป็น สมา ชิก ที่ ดี เมอื่ มผี ู้ช้แี นะ ๒ .ก าร ปฏิบัติตน เป็น

ของสงั คม -ปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ สมาชิกท่ีดขี องหอ้ งเรยี น - ผูน้ าผู้ตาม

ตามทีด่ ไี ด้ดว้ ยตนเอง ๓. การให้ความร่วมมือ
ในการปฏิบัติกิจกรรม
-ประนีประนอมแก้ไ ข ตา่ งๆ
- การแสดงออกทาง
ปัญหาโดยปราศจากการ ๔. การร่วมกิจกรรมวัน อารมณ์และความรู้สึก
ใ ช้ ค ว า ม รุ น แ ร ง เ ม่ื อ มี ผู้
ช้ีแนะ สาคญั อยา่ งเหมาะสม
๕. การมีส่วนร่วมในการ

เลือกวิธีการแกป้ ญั หา

๖. การมีส่วนร่วมในการ

แก้ปัญหาความขดั แย้ง

๔. ด้านสติปญั ญา

มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกับวัย

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี

ตวั บง่ ช้ี ชัน้ อนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้

(๔ – ๕ ปี)

๙.๑ ส น ทน า -ฟังผู้อ่ืนพูดจนจบและ ๑. การฟังเสียงต่างๆใน มารยาทในการฟงั

โตต้ อบและเล่า สนทนาโต้ตอบสอดคล้อง สงิ่ แวดลอ้ ม - การรับฟงั

เ ร่ื อ ง ใ ห้ ผู้ อื่ น กับเรอื่ งทฟ่ี ัง ๒. การฟังและปฏิบัติตาม

เขา้ ใจ คาแนะนา

๓. การฟังเพลง นิทาน คา

คล้องจอง บทร้อยกรอง

หรอื เร่อื งราวตา่ งๆ

๖๓

๔. การเล่นเกมทางภาษา

-เล่าเร่ืองเป็นประโยค ๑. การพูดแสดงความคิด - การเล่าเร่ืองราวหรือ

อย่างต่อเนอื่ ง ค ว า ม รู้ สึ ก แ ล ะ ค ว า ม นทิ าน

ตอ้ งการ

๒. การพูดเกี่ยวกับ

ประสบการณ์ของตนเอง

หรือพูดเรื่องราวเกี่ยวกับ

ตนเอง

๓. การพูดอธิบายเก่ียวกับ

ส่ิงของ เหตุการณ์ และ

ความสมั พนั ธข์ องสิง่ ต่างๆ

๔. การพูดอย่างสร้างสรรค์

ในการเล่นและการกระทา

ต่างๆ

๕. การรอจังหวะที่

เหมาะสมในการพดู

๖. การพูดเรียงลาดับเพื่อ

ใช้ในการส่ือสาร

๗. การเลน่ เกมทางภาษา

๙ .๒ อ่ า น -อา่ นภาพ สัญลักษณ์ คา ๑. การอ่านหนังสือภาพ - ก าร อ่า น ภา พ

เขียนภาพ และ พร้อมทั้งชี้ หรือกวาดตา นิทานหลากหลายประเภท/ สัญลกั ษณ์ นทิ าน

สญั ลกั ษณ์ได้ มองข้อความตามบรรทดั รปู แบบ

๒. การอ่านอย่างอิสระตาม

ลาพัง การอา่ นร่วมกัน การ

อา่ นโดยมผี ้ชู ้แี นะ

๓. การเห็นแบบอย่างของ

การอา่ นที่ถูกต้อง

๔. การสังเกตทิศทางการ

อ่านตัว อัก ษร คา และ

ข้อความ

๕. การอ่านและชี้ข้อความ

โดยกวาดสายตาตาม

บรรทดั จากซ้ายไปขวา จาก

บนลงลา่ ง

๖. การสังเกตตัวอักษรใน

ช่อื ของตน หรอื คาคุน้ เคย

๗. การสังเกตตัวอักษรท่ี

ประกอบเป็นคาผ่านการ

๖๔

-เขยี นคล้ายตวั อกั ษร อ่านหรอื เขยี นของผ้ใู หญ่
๘. การคาดเดาคา วลี หรือ
ประโยคท่ีมีโครงสร้างซ้าๆ
กันจากนิทาน เพลง คา
คลอ้ งจอง

๙. การเล่นเกมทางภาษา
๑๐. การเหน็ แบบอย่างของ
การเขยี นท่ถี กู ต้อง

๑. การเขียนร่วมกันตาม - การใชม้ อื ทาสิง่ ตา่ ง ๆ
โอกาส และการเขียนอสิ ระ - การเขียนภาพ
๒. การเขียนคาท่ีมี สัญลักษณ์ ตัวอักษร
ความหมายกับตัวเด็ก/คา
คุ้นเคย
๓. การคิดสะกดคาและ
เขียนเพื่อส่ือความหมาย
ด้วยตนเองอยา่ งอสิ ระ
๔. การเลน่ เกมทางภาษา

มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดทเี่ ป็นพ้ืนฐานในการเรยี นรู้

สภาพท่ีพึงประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี

ตัวบ่งชี้ ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๒ ประสบการณส์ าคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้

(๔ – ๕ ปี)

๑ ๐ .๑ มี -บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ๑. การสังเกตลักษณะ ๑. การคดิ

ความสามารถ ส่วนประกอบของสิ่งของ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ก า ร - ประสาทสัมผัส

ในการคิดรวบ ต่างๆจากการสังเกตโดย เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ - การสังเกต

ยอด ใช้ประสาทสมั ผัส ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ ๒. การเปล่ียนแปลง

โดยใช้ประสาทสัมผัสอย่าง และความสัมพันธ์ของ

เหมาะสม สง่ิ ตา่ งๆรอบตวั

๒. การสังเกตส่ิงต่างๆแลละ

สถานท่จี ากมมุ มองทตี่ ่างกนั

๓. การเล่นกับสื่อต่างๆที่

เป็นทรงกลม ทรงสี่เหล่ียม

มมุ ฉาก ทรงกระบอก กรวย

๔. การใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กบั เหตุการณ์ใน

ชวี ิตประจาวนั

-จับคู่และเปรียบเทียบ ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม ๑. การคดิ

ความแตกต่างหรือความ และการจาแนกสิง่ ต่างๆตาม - การจบั คู่

๖๕

เหมือนของส่งิ ต่างๆโดยใช้ ลักษณะและรูปรา่ ง รูปทรง - การเปรียบเทียบความ

ลักษณะท่ีสังเกตพบเพียง ๒. การต่อของช้นิ เล็กเติมใน เหมือนความต่าง

ลกั ษณะเดียว ชน้ิ ใหญ่ให้สมบูรณ์ และการ

แยกช้ินสว่ น

๓ . ก า ร จั บ คู่ ก า ร

เ ป รี ย บ เ ที ย บ แ ล ะ ก า ร

เ รี ย ง ล า ดั บ ส่ิ ง ต่ า ง ๆ ต า ม

ลักษณะความยาว/ความสูง

นา้ หนัก ปริมาตร

๔. การใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตรก์ ับเหตกุ ารณ์ใน

ชีวติ ประจาวนั

-จาแนกและจัดกลุ่มส่ิง ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม ๑. การคดิ

ต่างๆโดยใช้อย่างน้อย และการจาแนกสง่ิ ตา่ งๆตาม - การจาแนก

หน่งึ ลักษณะเปน็ เกณฑ์ ลกั ษณะและรูปร่าง รูปทรง - การจัดกลุ่ม สิ่งของ

๒. การทาซ้า การต่อเติม หน่งึ ลักษณะ

และการสร้างแบบรูป

๓. การรวมและการแยกสิ่ง

ตา่ งๆ

๔. การใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตรก์ บั เหตกุ ารณ์ใน

ชีวติ ประจาวนั

-เรียงลาดับสิ่งของหรือ ๑. การนับและแสดงจานวน ๑. การคดิ

เหตุการณ์อย่างน้อย ๔ ข อ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น - การเรียงลาดับ

ลาดบั ชีวติ ประจาวนั เหตกุ ารณ์ ๔ ลาดับ

๒. การเปรียบเทียบและ - จานวนและตัวเลข

เรียงลาดับจานวนของสิ่ง

ต่าง ๆ

๓. การบอกและแสดง

อนั ดบั ทข่ี องส่ิงต่าง ๆ

๔. การบอกและเรียงลาดับ

กจิ กรรมหรือเหตุการณ์ตาม

ช่วงหรอื เวลา

๕. การใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ใน

ชีวติ ประจาวนั

๖. การบอกและแสดง

ตาแ หน่ ง ทิศ ทา ง แล ะ

๖๖

ระยะทางของส่ิงต่างด้วย

การกระทา ภาพวาด

ภาพถ่าย และรูปภาพ

๑ ๐ .๒ มี -ร ะ บุสาเหตุหรื อผล ท่ี ๑. การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆ ๑. การแสดงความ

ความสามารถ เกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือ โดยใช้เคร่อื งมือและหน่วยท่ี คิดเหน็

ในการคิดเชิง การกระทาเมอ่ื มผี ชู้ แ้ี นะ ไมใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน - การชง่ั

เหตผุ ล ๒. การอธิบายเชื่อมโยง - การตวง

สาเหตุและผลท่ีเกิดขึ้นใน - การวัด

เหตกุ ารณ์หรอื การกระทา

- คาดเดา หรือคาดคะเน ๑. การคาดเดาหรือการ -การหาความสัมพันธ์

ส่ิงที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมี คาดคะเนส่งิ ท่ีอาจจะเกิดข้ึน และแสดงความคดิ เหน็

ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ล ง อย่างมเี หตผุ ล

ความเหน็ จากขอ้ มูล ๒. การมีส่วนร่วมในการลง

ความเห็นจากข้อมูลอย่างมี

เหตผุ ล

๑ ๐ .๓ มี -ตัดสินใจในเร่ืองง่ายๆ ๑. การตัดสินใจและมีส่วน ๑. การตัดสินใจสิ่งต่างๆ

ความสามารถ แ ล ะ เ ร่ิ ม เ รี ย น รู้ ผ ล ท่ี ร่ ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ดว้ ยตนเอง

ใ น ก า ร คิ ด เกิดข้ึน แกป้ ัญหา

แก้ปัญหาและ ๒. การอธิบายเช่ือมโยง

ตัดสนิ ใจ สาเหตุและผลท่ีเกิดขึ้นใน

เหตกุ ารณ์หรอื การกระทา

-ร ะ บุ ปั ญ ห า แ ล ะ ๑. การตัดสินใจและมีส่วน ๑. การแก้ปัญหาด้วย

แก้ปัญหาโดยลองผิดลอง ร่ ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ตนเอง

ถูก แกป้ ัญหา

๒. การคาดเดาหรือการ

คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกิดข้ึน

อย่างมีเหตุผล

๓. การมีส่วนร่วมในการลง

ความเห็นจากข้อมูลอย่างมี

เหตผุ ล

๖๗

มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

สภาพท่ีพงึ ประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี

ตวั บง่ ช้ี ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๒ ประสบการณส์ าคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้
(๔ – ๕ ป)ี

๑๑.๑ เลน่ / -สร้างผลงานศิลปะเพ่ือ ๑. การสังเกตลักษณะ การทางานศิลปะ

ทางานศิลปะ สื่ อ ส า ร ค ว า ม คิ ด ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ก า ร - วิธีการใช้เครื่องมือ

ตาจนิ ตนาการ ความรู้สึกของตนเองโดย เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง แ ล ะ เครือ่ งใช้ในการทางาน

และความคดิ มีการดัดแปลงและแปลก ความสมั พันธข์ องสง่ิ ต่างๆโดย ศิลปะอย่างถูกวิธีและ

สรา้ งสรรค์ ใ ห ม่ จ า ก เ ดิ ม ห รื อ มี ใ ช้ ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส อ ย่ า ง ปลอดภยั

รายละเอยี ดเพมิ่ ขน้ึ เหมาะสม

๒. การสังเกตส่ิงต่างๆแลละ

สถานทีจ่ ากมมุ มองที่ต่างกัน

๓. การเล่นกับสื่อต่างๆท่ีเป็น

ทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ทรงกระบอก ทรงกรวย

๔. การ ใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ใน

ชวี ิตประจาวนั

๑๑.๒ แสดง -เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อ ๑. การเคล่ือนไหวอย่กู ับที่ ๑. การเคล่ือนไหว

ทา่ ทาง/ ส่ื อ ส า ร ค ว า ม คิ ด ๒. การเคลือ่ นไหวเคลื่อนที่ ร่ าง ก าย ใน ทิศทา ง

เคลอื่ นไหวตาม ความรสู้ กึ ของตนเอง ๓. การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุ ระดบั และพนื้ ท่ตี า่ งๆ

จนิ ตนาการ อย่างหลากหลายหรือ อุปกรณ์ ๒. การแสดงท่าทาง

อย่าง แปลกใหม่ ๔. การแสดงความคิด อย่างอสิ ระ

สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง

การเคลอ่ื นไหวและศิลปะ

๕. การเคลอ่ื นไหวโดยควบคุม

ตนเองไปในทิศทาง ระดับ

และพื้นท่ี

๖. การเคล่ือนไหวตาม

เสียงเพลง/ดนตรี

๗. การฟงั เพลง การร้องเพลง

แ ล ะ ก า ร แ ส ด ง ป ฏิ กิ ริ ย า

โต้ตอบเสยี งดนตรี

๖๘

มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกบั วัย

สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี

ตัวบ่งชี้ ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๒ ประสบการณ์ สาระท่ีควรเรยี นรู้

(๔ – ๕ ปี) สาคญั

๑๒.๑ มีเจต -ส น ใ จ ซั ก ถ า ม ๑. การสารวจส่ิง - ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับการใช้

ค ติ ท่ี ดี ต่ อ เก่ียวกับสัญลักษณ์ ต่างๆ และแหล่ง หนังสอื และตัวหนังสือ

การเรยี นรู้ หรือตัวหนังสือท่ีพบ เรียนรู้รอบตัว

เหน็ ๒. การตง้ั คาถามใน

เรื่องที่สนใจ

-กระตือรือร้นในการ ๑. การให้ความ ๑.การแสดงออกทางอารมณ์

เข้ารว่ มกิจกรรม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร และความรู้สกึ อย่างเหมาะสม

ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ๒. ความสนใจในการทา

ตา่ งๆ กจิ กรรม

๒. การตง้ั คาถามใน

เร่อื งทส่ี นใจ

๓. การมีส่วนร่วม

ในการรวบรวม

ข้อมูลและนาเสนอ

ข้อมูลจากการสืบ

เสาะหาความรู้ใน

รูปแบบต่างๆและ

แผนภมู อิ ยา่ งงา่ ย

๑ ๒ .๒ มี -ค้นหาคาตอบของ ๑. การสารวจส่ิง - การเรียนรู้ท่ีจะเล่นและทาสิ่ง

ความสามาร ข้อสงสัยต่างๆ ตาม ต่างๆ และแหล่ง ต่างๆ

ถ ใ น ก า ร วิธีการของตนเอง เรียนรรู้ อบตวั

แสวงหา ๒. การต้งั คาถามใน

ความรู้ เรื่องทส่ี นใจ

๓. การสืบเสาะหา

ค ว า ม รู้ เ พื่ อ ค้ น ห า

ค า ต อ บ ข อ ง ข้ อ

สงสยั ตา่ งๆ

๔. การมีส่วนร่วม

ในการรวบรวม

ข้อมูลและนาเสนอ

ข้อมูลจากการสืบ

เสาะหาความรู้ใน

๖๙

รูปแบบต่างๆและ
แผนภมู ิอยา่ งงา่ ย

-ใช้ประโยคคาถามว่า ๑. การตง้ั คาถามใน - การสนใจซักถามคาถามเพ่ือ

“ทไ่ี หน” “ทาไม” ใน เร่ืองทสี่ นใจ ค้นหาคาตอบ

การค้นหาคาตอบ ๒. การสืบเสาะหา

ค ว า ม รู้ เ พ่ื อ ค้ น ห า

ค า ต อ บ ข อ ง ข้ อ

สงสยั ตา่ งๆ

๗.๒ การวเิ คราะหส์ าระการเรยี นรู้รายปี ชว่ งอายุ ๕ – ๖ ปี

๑.พฒั นาการด้านรา่ งกาย
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเตบิ โตตามวัยเด็กมีสุขนิสยั ทด่ี ี

สภาพท่ีพึงประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี

ตัวบง่ ชี้ ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๓ ประสบการณ์สาคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้

(๕-๖ป)ี

๑ .๑ มี -น้าหนักและส่วนสูง ๑.การปฏบิ ัตติ นตามสุขอนามัย ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร

น้าหนักและ ตามเกณฑ์ของกร ม สุขนิสัยทด่ี ใี นกิจวัตรประจาวนั ประจาวัน

ส่วนสูงตาม อนามยั - การเจริญเติบโตของ

เกณฑ์ ร่างกาย

๑ .๒ มี -รบั ประทานอาหารที่มี ๑.การปฏิบตั ติ นตามสขุ อนามัย ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร

สุ ข ภ า พ ประโยชนไ์ ด้หลายชนิด สุขนิสัยท่ีดีในกจิ วัตรประจาวนั ประจาวนั

อนามัย สุข และดื่มน้าสะอาดได้ ๒. การประกอบอาหารไทย ๑. อาหารที่มีประโยชน์

นิสัยท่ดี ี ด้วยตนเอง และไม่มีประโยชน์

๒. อาหารหลกั ๕ หมู่

๓. การมีเจตคติท่ีดีต่อการ

รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ท่ี มี

ประโยชน์

-ล้ า ง มื อ ก่ อ น ๑.การปฏิบัติตนตามสุขอนามยั ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร

รับประทานอาหารและ สุขนิสยั ที่ดใี นกจิ วัตรประจาวนั ประจาวนั

หลังจากใช้ห้องน้าห้อง ๒. การช่วยเหลือตนเองในการ ๑. อวัยวะต่างๆของ

ส้วมดว้ ยตนเอง ปฏบิ ัติกจิ กวตั รประจาวัน ร่างกายและการรักษา

๓. การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ความปลอดภยั

๗๐

ในกิจวัตรประจาวัน ๒. วิธีรักษาร่างกายให้

๔. การฟังนิทาน เรื่องราว สะอาดและมีสุขอนามัยที่

เหตุการณ์เกี่ยวกับการป้องกัน ดี

และรักษาความปลอดภยั

-ล้างหน้าและแปรงฟัน ๑.การปฏิบตั ิตนตามสุขอนามยั ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร

ถูกวิธีหลังรับประทาน สุ ข นิ สั ย ท่ี ดี ใ น กิ จ วั ต ร ประจาวัน

อาหารด้วยตนเอง ประจาวนั ๑. อวัยวะต่างๆของ

๒. การช่วยเหลือตนเองในการ ร่างกายและการรักษา

ปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจาวัน ความปลอดภัย

๓. การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ๒. วิธีรักษาร่างกายให้

ในกิจวัตรประจาวนั สะอาดและมีสุขอนามัยที่

๔. การฟังนิทาน เรื่องราว ดี

เหตุการณ์เกี่ยวกับการป้องกัน

และรักษาความปลอดภัย

-นอนพักผ่อนเปน็ เวลา - การปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามัย -ประโยชน์ของการนอน

สุขนสิ ยั ทดี่ ีในกจิ วัตรประจาวัน หลบั พกั ผ่อน

-ออกกาลังกายเป็น ๑. การเล่นอสิ ระ ๑. ประโยชน์ของการออก

เวลา ๒. การเคลื่อนไหวข้ามส่ิงกีด กาลงั กาย

ขวาง ๒. การเล่นเครื่องเล่น

๓. การเล่นเคร่ืองเล่นอย่าง สนามอย่างถกู วธิ ี

ปลอดภัย

๔. การละเลน่ พื้นบ้านไทย

๕. การเลน่ นอกหอ้ งเรียน

๖. การเล่นเคร่ืองเล่นสนาม

อย่างอสิ ระ

๑.๓ รักษ า -เล่นและทากิจกรรม ๑.การปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภัยใน ๑. การรักษาความ

ค ว า ม ร่วมกับผู้อื่นด้วยความ กิจวัตรประจาวัน ปลอดภัยของตนเองและ

ป ล อ ด ภั ย ร ะ มั ด ร ะ วั ง อ ย่ า ง ๒. การฟังนิทาน เร่ืองราว การปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่าง

ของตนเอง ปลอดภยั เหตุการณ์เก่ียวกับการป้องกัน ปลอดภัยในชีวิตประจาวัน

และผอู้ ื่น และรักษาความปลอดภยั ๒. การปฏิบัติตนอย่าง

๓. การเล่นบทบาทสมมุติ เหมาะสมเมือ่ เจ็บปว่ ย

เหตกุ ารณต์ ่างๆ ๓. การระวังภัยจากคน

๔. การพูดกับผู้อื่นเก่ียวกับ แปลกหน้าและอุบัติภัย

ประสบการณ์ของตนเองหรือ ต่างๆ

พดู เรื่องราวเกีย่ วกับตนเอง

๕. การเล่นเครื่องเล่นอย่าง

ปลอดภยั

๗๑

๖. การเล่นและทางานร่วมกับ
ผอู้ นื่

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอ้ื ใหญ่และกลา้ มเนอ้ื เลก็ แข็งแรงใชไ้ ด้อย่างคลอ่ งแคลว่ และประสานสมั พันธ์กนั

ตวั บง่ ชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี

ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๓ ประสบการณส์ าคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้

(๕-๖ป)ี

๒ .๑ เ ค ล่ื อ น ไ ห ว -เดนิ ต่อเท้าถอยหลังเป็น ๑. การเคลื่อนไหวอยู่ ๑. การออกกาลังกาย

ร่ า ง ก า ย อ ย่ า ง เ ส้ น ต ร ง ไ ด้ อ ย่ า ง กบั ที่ ๒. การเคลื่อนไหว

ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว คล่องแคล่ว ๒. การเคลื่อนไหว รา่ งกาย

ประสาน สัมพัน ธ์ -กระโดดขาเดียว ไป เคล่อื นที่
และทรงตัวได้ ข้างหนา้ ได้อย่างต่อเนื่อง ๓. การเคล่ือนไหว
โดยไมเ่ สยี การทรงตวั พร้อมอปุ กรณ์
-ว่ิงหลบหลีกสิ่งกีดขวาง ๔. การเคล่ือนไหวที่ใช้
ได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ การประสานสัมพันธ์
-โ ย น รั บ ลู ก บ อ ล ที่ ของกล้ามเน้ือใหญ่ใน
กระดอนข้ึนจากพื้นโดย การขว้าง การจับ การ
ใช้มือทั้ง ๒ ขา้ งได้ โยน การเตะ
๕. การเล่นเคร่ืองเล่น

สนามอย่างอิสระ

๖. การเคลื่อนไหวข้าม

สิ่งกดี ขวาง

๗. การเคล่ือนไหวโดย

คว บคุมตนเอง ไปใน

ทิศทาง ร ะ ดับ แล ะ

พ้ืนที่

๒ .๒ ใ ช้ มื อ -ต า -ใช้กรรไกรตัดกระดาษ ๑. การเล่นเคร่ืองเล่น ๑. การเล่นและการ
ประสานสมั พันธ์กัน ตามแนวเส้นโคง้ ได้ สัมผัส และการสร้างสิ่ง ทางานร่วมกับผู้อื่น

-เขยี นรูปสามเหล่ียมตาม ต่างๆจากแทง่ ไมบ้ ลอ็ ก ๒. การทางานศลิ ปะ
แบบไดอ้ ยา่ งมีมมุ ชดั เจน ๒.การเขียนภาพและ
-ร้อยวัสดุท่ีมีรูขนาดเส้น การเล่นกับสี
ผ่านศนู ย์กลาง๐.๒๕ ซม. ๓. การประดิษฐ์ส่ิง
ได้ ตา่ งๆด้วยเศษวสั ดุ

๔. การหยิบจับ การใช้
กรรไกร การฉีก การตัด
การปะ การรอ้ ยวัสดุ

๗๒

๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ

มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจติ ดแี ละมีความสุข

ตัวบ่งช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี

ชนั้ อนบุ าลปที ่ี ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้

๓.๑ แสดงออกทาง -แสดงอารมณ์ ความรู้สึก ๑. การพูดสะท้อน - การแสดงทาง

อ า ร ม ณ์ อ ย่ า ง ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ความรู้สึกของตนเอง อารมณแ์ ละความรู้สึก

เหมาะสม ส ถ า น ก า ร ณ์ อ ย่ า ง และผูอ้ นื่ อย่างเหมาะสมกั บ

เหมาะสม ๒. การเล่นบทบาท สถานการณ์

๓.๒ มีความรู้สึกที่ดี -กล้าพูดกล้าแสดงออก สมมตุ ิ - การรู้จักแสดงความ

ตอ่ ตนเองและผ้อู ่นื อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ต า ม ๓. การเคล่ือนไหว คดิ เหน็ อย่างเหมาะสม

สถานการณ์ ตามเสียงเพลง ดนตรี กบั สถานการณ์

-แ ส ด ง ค ว า ม พ อ ใ จ ใ น ๔. การร้องเพลง - ก าร ปร ะ สบ
ผลงานและความสามารถ ๕. การทางานศลิ ปะ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น สิ่ ง

ของตนเองและผอู้ นื่ ต่างๆทีท่ าดว้ ยตนเอง

มาตรฐานท่ี ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว

สภาพที่พึงประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี

ตัวบ่งชี้ ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้
(๕-๖ป)ี

๔ .๑ ส น ใ จ แ ล ะ มี -สนใจและมีความสุขและ ๑. การทากิจกรรม - การทากิจกรรม

ค ว า ม สุ ข แ ล ะ แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ศิลปะตา่ งๆ ศลิ ปะสร้างสรรค์

แ ส ด ง อ อ ก ผ่ า น ง า น ๒. การสร้างสรรค์ส่ิง

ศิลปะ ดนตรีและการ สวยงาม

เคล่อื นไหว ๓. การรับรู้และแสดง

ความคิด ความรู้สึก

ผ่านส่ือ วัสดุ ของเล่น

และช้ินงาน

๔. การปฏิบัติกิจกรรม

ต่ า ง ๆ ต า ม

ความสามารถของ

ตนเอง

-สนใจ มีความสุขและ ๑. การฟังเพลง การ - การฟงั การร้องเพลง

แสดงออกผ่านเสียงเพลง ร้องเพลง และการ

ดนตรี แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ

เสยี งดนตรี

๒. การเล่นเครื่อง

ดนตรีประกอบจังหวะ

๗๓

๔. การปฏิบัติกิจกรรม

ต่ า ง ๆ ต า ม

ความสามารถของ

ตนเอง

-สนใจ มีความสุขและ ๑. การฟังเพลง การ - การแสดงท่าทาง

แสดงท่าทาง/เคลื่อนไหว ร้องเพลง และการ เคล่ือนไหวประกอบ

ประกอบเพลง จังหวะ แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เ พ ล ง จั ง ห ว ะ แ ล ะ

และ ดนตรี เสียงดนตรี ดนตรี

๒. การเคล่ือนไหวตาม

เสียงเพลง ดนตรี

๔. การปฏิบัติกิจกรรม

ต่ า ง ๆ ต า ม

ความสามารถของ

ตนเอง

๕. การเล่นเครื่อง

ดนตรีประกอบจงั หวะ

มาตรฐานที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจิตใจทีด่ งี าม

สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี

ตัวบง่ ช้ี ชัน้ อนบุ าลปที ี่ ๓ ประสบการณ์สาคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้
(๕-๖ปี)

๕.๑ ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต - ขออนญุ าตหรือรอคอย ๑. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ี ๑.คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

เม่ือต้องการส่ิงของของ ดีของห้องเรียน - ความซื่อสัตย์

ผู้อน่ื ดว้ ยตนเอง ๒. การฟังนิทานเกี่ยวกับ สุจริต

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม - ความเกรงใจ

๓. การร่วมสนทนาและ ๒. การเคารพสิทธิ

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของตนเองและผูอ้ น่ื

เชิงจรยิ ธรรม

๔. เล่นบทบาทสมมตุ ิ

๕. การเล่นและทางาน

ร่วมกับผู้อ่ืน

๖. การปฏิบัติตนตามหลัก

ศาสนาทน่ี ับถอื

๕.๒ มีความเมตตา -แสดงความรักเพื่อน ๑. การฟังนิทานเกี่ยวกับ ๑.คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

กรุณา มีน้าใจและ และมีเมตตาสัตว์เล้ยี ง คุณธรรม จรยิ ธรรม - ความเมตตากรณุ า

ช่วยเหลือแบง่ ปัน ๒. เล่นบทบาทสมมตุ ิ - ความมีน้าใจ

๓. การเล้ียงสตั ว์ เอื้อเฟ้อื เผ่อื แผ่

๗๔

-ช่วยเหลือและแบ่งปัน ๑. การฟังนิทานเก่ียวกับ ๑.คณุ ธรรมจริยธรรม

ผูอ้ ่นื ไดด้ ้วยตนเอง คุณธรรม จรยิ ธรรม - ความมีน้าใจ

๒. เล่นบทบาทสมมตุ ิ ช่วยเหลอื แบง่ ปนั

๓. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ - ความกตัญญู

ดขี องหอ้ งเรยี น - ความมีน้าใจ

๔. การเล่นรายบุคคล กลุ่ม เอือ้ เฟื้อเผือ่ แผ่

ยอ่ ย และกลุ่มใหญ่

๕. การเล่นตามมุม

ปร ะ สบก า ร ณ์ /มุมเล่ น

ตา่ งๆ

๕.๓ มีความเห็นอก -แสดงสีหน้าหรือท่าทาง ๑. การเล่นและทางาน ๑.คณุ ธรรมจริยธรรม

เหน็ ใจผู้อน่ื รบั รู้ความรสู้ ึกผู้อ่ืนอย่าง รว่ มกับผ้อู ่นื - ความเหน็ อกเห็นใจ

ส อ ด ค ล้ อ ง ก บ ๒. การเล่นบทบาทสมมุติ ผอู้ ื่น

สถานการณ์ ๓. การแสดงความยินดี - ความมีน้าใจ

เม่ือผู้อ่ืนมีความสุข เห็นใจ เอื้อเฟือ้ เผอื่ แผ่

เม่ือผู้อ่ืนเศร้าหรือเสียใจ

แ ล ะ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ

ปลอบโยนเม่ือผู้อื่นได้รับ

บาดเจ็บ

๕ .๔ มี ค ว า ม -ท า ง า น ที่ ไ ด้ รั บ ๑. การทากิจกรรมศิลปะ ๑. คุณธ ร ร ม

รบั ผดิ ชอบ มอบหมายจนสาเร็จด้วย ตา่ งๆ จริยธรรม

ตนเอง ๒. การดูแลห้องเรียน - ความรับผิดชอบ

รว่ มกัน - ความอดทน มุ่งม่นั

๓. การมีส่วนร่ว ม - ความเพียร

รับผิดชอ บ ดูแลรั ก ษา

สิ่งแวดล้อมท้ังภายในและ

ภายนอกหอ้ งเรยี น

๔. การร่วมกาหนด

ขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี น

๓.พฒั นาการด้านสังคม

มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สภาพท่ีพงึ ประสงค์ สาระการเรยี นร้รู ายปี

ตวั บ่งชี้ ชัน้ อนุบาลปที ี่ ๓ ประสบการณส์ าคญั สาระที่ควรเรียนรู้
(๕-๖ป)ี

๖.๑ ช่วยเ หลือ - แต่งตัวด้วยตนเองได้ ๑. การช่วยเหลือตนเอง ๑ .ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ

ต น เ อ ง ใ น ก า ร อย่างคลอ่ งแคล่ว ในกจิ วัตรประจาวนั ตนเอง

ป ฏิ บั ติ กิ จ วั ต ร - รับประทานอาหารด้วย ๒. การให้ความร่วมมือ ๒ .ม า ร ย า ท ใ น ก า ร

๗๕

ประจาวัน ตนเองอยา่ งถกู วิธี ในการปฏิบัติกิจกรรม รบั ประทานอาหาร

ต่างๆ

- ใช้และทาความสะอาด ๓. การปฏิบัติกิจกรรม

หลังใช้ห้องน้าห้องส้วม ตา่ งๆตามความสามารถ

ดว้ ยตนเอง ของตนเอง

๖.๒ มีวินัยในตน -เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ ๑. การร่วมกาหนด ๑. การเล่นและการ

อง อ ย่ า ง เ รี ย บ ร้ อ ย ด้ ว ย ขอ้ ตกลงของห้องเรยี น เก็บส่งิ ของอยา่ งถูกวิธี

ตนเอง ๒. การปฏิบัติตนเป็น

-เ ข้ า แ ถ ว ต า ม ล า ดั บ สมาชิกท่ดี ขี องหอ้ งเรยี น ๑. การรอคอย

ก่อนหลงั ไดด้ ว้ ยตนเอง ๓. การให้ความร่วมมือ ตามลาดบั ก่อนหลัง

ในการปฏิบัติกิจกรรม ๒. การเข้าแถว

ตา่ งๆ

๔. การดูแลห้องเรียน

รว่ มกนั

๖ .๓ ป ร ะ ห ยั ด -ใช้ส่ิงของเครื่องใช้อย่าง ๑. การปฏิบัติตนตาม - การเลือกใช้สิ่งของ

และพอเพียง ประหยัดและพอเพียง แนวทางหลักปรัชญา เคร่ืองใช้ น้า ไฟอย่าง

ดว้ ยตนเอง ของเศรษฐกจิ พอเพียง ประหยัด

๒. การใชว้ ัสดแุ ละสิ่ง

ของเครือ่ งใชอ้ ย่างคุ้มค่า

มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย

สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี

ตัวบง่ ช้ี ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรเรียนรู้

(๕-๖ป)ี

๗.๑ ดูแลรักษา -มีส่วนร่วมในการ ๑. การมีส่วนร่วมใน ๑. สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ธรรมชาติและ ดูแลรักษาธรรมชาติ ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า และการดแู ลรกั ษา

ส่ิงแวดลอ้ ม และส่งิ แวดล้อมดว้ ย ส่ิงแวดล้อมทั้งภายใน ๒. ส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติ

ตนเอง แ ล ะ ภ า ย น อ ก และการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม

ห้องเรียน ๓. การรักษาสาธารณสมบัติ

๒.การสนทนาข่าวและ ในห้องเรียน

เหตุการณ์ท่ีเก่ียวกับ

ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ

ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ น

ชวี ิตประจาวนั

๓. การเพาะปลูกและ

ดแู ลต้นไม้

๔. การอธิบาย

เชื่อมโยงสาเหตุและ

๗๖

ผ ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น

เ ห ตุ ก า ร ณ์ ห รื อ ก า ร

กระทา

๕. การตัดสินใจและมี

ส่ ว น ร่ ว ม ใ น

กระบวนการแก้ปญั หา

-ท้งิ ขยะได้ถกู ท่ี ๑. การคัดแยก การ ๑. ขยะและการคดั แยกขยะ

จัดกลุ่มและจาแนกส่ิง ๒ . ก า ร ดูแ ล รั ก ษ า

ต่างๆตามลักษณะและ สงิ่ แวดลอ้ ม

รูปร่าง รปู ทรง

๒. การใช้วัสดุและ

สิ่งของเคร่ืองใช้อย่าง

ค้มุ ค่า

๓. การทางานศิลปะท่ี

น า วั ส ดุ ห รื อ ส่ิ ง ข อ ง

เครื่องใชท้ ่ีใชแ้ ล้วมาใช้

ซ้าหรือแปรรูปแล้วนา

กลบั มาใช้ใหม่

๔. การสร้างสรรค์

ชิ้นงานโดยใช้รูปร่าง

รู ป ท ร ง จ า ก วั ส ดุ ที่

หลากหลาย

๕. การปฏิบัติตนเป็น

ส ม า ชิ ก ท่ี ดี ข อ ง

ห้องเรียน

๗.๒ มีมารยาท -ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม ๑. การปฏิบัติตนตาม ๑. การปฏิบัติตนตาม

ตามวัฒนธรรม ม า ร ย า ท ไ ท ย ไ ด้ วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง มารยาทและวฒั นธรรมไทย

ไ ท ย แ ล ะ รั ก ตามกาลเทศะ ถิ่ น ท่ี อ า ศั ย แ ล ะ - การแสดงความเคารพ

ความเป็นไทย ประเพณไี ทย -การพูดสภุ าพ

๒. การเล่นบทบาท - การกล่าวคาขอบคุณและ

สมมุตกิ ารปฏิบตั ติ นใน ขอโทษ

ความเปน็ คนไทย

-กล่าวคาขอบคุณ ๑. การปฏิบัติตนตาม ๑. การปฏิบัติตนตาม

แล ะ ขอ โ ทษ ด้ ว ย วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง มารยาทและวัฒนธรรมไทย

ตนเอง ถ่ิ น ท่ี อ า ศั ย แ ล ะ - การพูดสุภาพ

ประเพณีไทย - การกล่าวคาขอบคุณและ

๒. การเล่นบทบาท ขอโทษ

สมมุติการปฏิบตั ติ นใน

๗๗

ความเปน็ ไทย

๓. การพูดสะท้อน

ความรู้สึกของตนเอง

และผู้อืน่

-ยืน ตรง และ ร่ ว ม ๑. การปฏิบัติตนตาม ๑. วันสาคัญของชาติ

ร้องเพลงชาติไทย วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ศาสนา พระมหากษตั ริย์

และเพลงสรรเสริญ ถ่ิ น ท่ี อ า ศั ย แ ล ะ ๒. สัญลกั ษณ์สาคัญของชาติ

พระมารมี ประเพณีไทย ไทย

๒. การเล่นบทบาท ๓. การแสดงความจงรักภัคดี

สมมุติการปฏิบตั ติ นใน ต่ อ ช า ติ ศ า ส น า

ความเปน็ ไทย พระมหากษตั ริย์

๓. การร่วมกิจกรรม

วนั สาคัญ

มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมในระบอบ

ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี

ตัวบ่งช้ี ช้ันอนบุ าลปีที่ ๓ ประสบการณส์ าคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้

(๕-๖ปี)

๘.๑ ยอมรับความ -เล่นและทากิจกรรม ๑ .ก า ร เล่ น แ ล ะ ท า ง า น ๑. การเล่นและการทา

เหมือนและความ ร่วมกับเด็กท่ีแตกต่างไป ร่วมกบั ผ้อู ื่น กจิ กรรมรว่ มกับผู้อืน่

แตกต่างระหว่าง จากตน ๒. การเลน่ พนื้ บา้ นของไทย ๒. การปฏิบัติตาม

บุคคล ๓. การศกึ ษานอกสถานท่ี วัฒนธรรมทอ้ งถิ่นและ

๘.๒ มีปฏิสัมพันธ์ -เล่นหรือทางานร่วมกับ ๔. การเล่นและทากิจกรรม ความเปน็ ไทย

ท่ีดกี บั ผู้อน่ื เพื่อนอยา่ งมีเป้าหมาย รว่ มกบั กล่มุ เพือ่ น
๕. การทาศิลปะแบบ

-ย้ิมหรื อทักทายหรื อ รว่ มมือ
พู ด คุย กับ ผู้ใ หญ่ แล ะ ๖. การร่วมสนทนาและ
บุ ค ค ล ที่ คุ้ น เ ค ย ไ ด้ แลกเปลย่ี นความคิดเหน็
เ ห ม า ะ ส ม กั บ ๗. การเล่นรายบุคคล กลุ่ม
ยอ่ ยและกล่มุ ใหญ่
สถานการณ์

๘ .๓ ป ฏิ บั ติ ต น -มสี ว่ นรว่ มสร้างข้อตกลง ๑. การร่วมกาหนด ๑. การปฏิบัติตาม

เบ้ืองตน้ ในการเป็น และปฏิบัติตามข้อตกลง ขอ้ ตกลงของห้องเรียน ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ

ส ม า ชิ ก ท่ี ดี ข อ ง ด้วยตนเอง ๒.การปฏิบัติตนเป็นสมาชิก ข้อตกลง

สังคม -ปฏิบัติตนเป็นผู้นาและ ทด่ี ีของหอ้ งเรียน - ผู้นาผู้ตาม

ผู้ตามได้เหมาะสมกับ ๓. การให้ความร่วมมือใน ๒. การแสดงออกทาง
การปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ อารมณ์และความรู้สึก
สถานการณ์

๗๘

-ประนีประนอมแก้ไข ๔. การร่วมกิจกรรมวัน อยา่ งเหมาะสม

ปญั หาโดยปราศจากการ สาคญั ๓. การแสดงมารยาท

ใ ช้ ค ว า ม รุ น แ ร ง ด้ ว ย ๕. การมีส่วนร่วมในการ ทด่ี ี

ตนเอง เลอื กวิธีการแกป้ ญั หา

๖. การมีส่วนร่วมในการ

แกป้ ัญหาความขดั แย้ง

๔. ด้านสตปิ ัญญา

มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอื่ สารไดเ้ หมาะสมกับวัย

สภาพที่พึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี

ตวั บ่งช้ี ชนั้ อนบุ าลปีท่ี ๓ (๕-๖ ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้

ป)ี

๙ .๑ ส น ท น า -ฟังผู้อื่นพูดจนจบและ ๑. การฟังเสียงต่างๆใน มารยาทในการฟัง

โต้ตอ บ และเ ล่า สนทน าโต้ตอบอย่าง สิ่งแวดล้อม - การรับฟัง

เรือ่ งให้ผูอ้ นื่ เขา้ ใจ ต่อเน่ืองเชื่อมโยงกับ ๒. การฟังและปฏิบัติตาม - การสนทนาเชื่อมโยง

เรื่องท่ฟี ัง คาแนะนา สิ่งตา่ งๆ

๓. การฟังเพลง นิทาน คา

คล้องจอง บทร้อยกรอง

หรือเร่ืองราวต่างๆ

๔. การเลน่ เกมทางภาษา

-เ ล่ า เ ป็ น เ ร่ื อ ง ร า ว ๑. การพูดแสดงความคิด ๑. การใชภ้ าษาในการ

ตอ่ เน่อื งได้ ค ว า ม รู้ สึ ก แ ล ะ ค ว า ม ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น

ต้องการ ชีวิตประจาวัน ความรู้

๒. การพูดเกี่ยวกับ พ้นื ฐานเกย่ี วกบั การใช้

ประสบการณ์ของตนเอง หนังสอื และตัวหนังสือ

หรือพูดเร่ืองราวเก่ียวกับ

ตนเอง

๓. การพูดอธิบายเก่ียวกับ

สิ่งของ เหตุการณ์ และ

ความสมั พันธข์ องส่ิงตา่ งๆ

๔. การพูดอย่างสร้างสรรค์

ในการเล่นและการกระทา

ตา่ งๆ

๕. การรอจังหวะที่

เหมาะสมในการพูด

๖. การพูดเรยี งลาดับเพ่ือใช้

ในการสอ่ื สาร

๗. การเลน่ เกมทางภาษา

๗๙

๙.๒ อ่าน เขียน -อ่านภาพ สัญลักษณ์ ๑. การอ่านหนังสือภาพ ๑. การใชภ้ าษาในการ

ภ า พ แ ล ะ คา ด้วยการช้ี หรือกวาด นทิ านหลากหลายประเภท/ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น

สัญลักษณไ์ ด้ ตามองจุดเริ่มต้นและจุด รูปแบบ ชีวิตประจาวัน ความรู้

จบของขอ้ ความ ๒. การอ่านอย่างอิสระตาม พนื้ ฐานเกี่ยวกับการใช้

ลาพงั การอ่านร่วมกัน การ หนังสือและตัวหนังสือ

อ่านโดยมีผู้ชแี้ นะ - การอ่านภาพ

๓. การเห็นแบบอย่างของ สัญลกั ษณ์ นทิ าน

การอ่านทถ่ี กู ตอ้ ง

๔. การสังเกตทิศทางการ

อ่าน ตัว อัก ษร คา และ

ขอ้ ความ

๕. การอ่านและชี้ข้อความ

โดยกวาดสายตาตาม

บรรทดั จากซา้ ยไปขวา จาก

บนลงล่าง

๖. การสังเกตตัวอักษรใน

ช่อื ของตน หรือคาคุน้ เคย

๗. การสังเกตตัวอักษรท่ี

ประกอบเป็นคาผ่านการ

อา่ นหรือเขยี นของผใู้ หญ่

๘. การคาดเดาคา วลี หรือ

ประโยคที่มีโครงสร้างซ้าๆ

กันจากนิทาน เพลง คา

คล้องจอง

๙. การเล่นเกมทางภาษา

๑๐. การเห็นแบบอย่างของ

การเขยี นท่ถี กู ต้อง

-เขียน ช่ือของ ตนเอ ง ๑. การเขียนร่วมกันตาม ๑. การใช้ภาษาในการ

ตามแบบ โอกาส และการเขยี นอสิ ระ ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น

เขียนข้อความด้วยวิธีที่ ๒. การเขียนคาท่ีมี ชีวิตประจาวัน ความรู้

คิดข้นึ เอง ความหมายกับตัวเด็ก/คา พืน้ ฐานเก่ยี วกับการใช้

คุน้ เคย หนงั สือและตวั หนังสือ

๓. การคิดสะกดคาและ - การเขียนภาพ

เขียนเพื่อสื่อความหมาย สัญลักษณ์ ตัวอักษร

ด้วยตนเองอย่างอสิ ระ ชื่อ- สกุลของตนเอง

๔. การเลน่ เกมทางภาษา

๘๐

มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่เี ป็นพ้นื ฐานในการเรยี นรู้

สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี

ตัวบง่ ช้ี ชัน้ อนุบาลปีที่ ๓ ประสบการณ์สาคัญ สาระท่ีควรเรยี นรู้

(๕-๖ป)ี

๑ ๐ .๑ มี -บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ ๑. การสังเกตลักษณะ ๑. การคิด

ควา มสา มารถใ น ส่วน ปร ะกอบ การ ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ก า ร - ประสาทสมั ผสั

การคดิ รวบยอด เปล่ียน แปลง หรื อ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ - การสงั เกต

ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ความสัมพนั ธ์ของส่ิงต่างๆโดย ๒ . การ

สิ่งของต่างๆจากการ ใ ช้ ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส อ ย่ า ง เปลี่ยนแปลงและ

สังเกตโดยใช้ประสาท เหมาะสม ความสมั พนั ธ์ของสงิ่

สัมผสั ๒. การสังเกตส่ิงต่างๆแลละ ตา่ งๆรอบตัว

สถานทจ่ี ากมมุ มองที่ต่างกัน

๓. การเล่นกับส่ือต่างๆท่ีเป็น

ทรงกลม ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก

ทรงกระบอก ทรงกรวย

๔. ก ารใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ใน

ชีวิตประจาวัน

-จับค่แู ละเปรียบเทียบ ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม ๑. การคดิ

ความแตกต่างหรื อ และการจาแนกส่ิงต่างๆตาม - การจับคู่

ความเหมือนของส่ิง ลักษณะและรูปรา่ ง รูปทรง - การเปรียบเทียบ

ต่างๆโดยใช้ลักษณะท่ี ๒. การต่อของช้ินเล็กเติมใน ลกั ษณะต่างๆ

สังเกตพบสองลักษณะ ช้ินใหญ่ให้สมบูรณ์ และการ

ข้ึนไป แยกช้ินส่วน

๓. การจับคู่ การเปรียบเทียบ

และการเรียงลาดับสิ่งต่างๆ

ตามลักษณะความยาว/ความ

สงู นา้ หนกั ปริมาตร

๔. ก ารใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ใน

ชีวติ ประจาวัน

-จาแนกและจดั กล่มุ ส่ิง ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม ๑. การคิด

ต่างๆโดยใช้ต้ังแต่สอง และการจาแนกส่ิงต่างๆตาม - การจาแนกส่ิงของ

ลัก ษณ ะ ข้ึ น ไ ปเ ป็ น ลกั ษณะและรูปรา่ ง รปู ทรง ต้ังแต่ ๒ลักษณะ

เกณฑ์ ๒. การทาซ้า การตอ่ เตมิ และ - การจดั กล่มุ

การสร้างแบบรปู

๓. การรวมและการแยกส่ิง

ตา่ งๆ

๘๑

๔. ก ารใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ใน

ชีวติ ประจาวนั

-เรียงลาดบั สิง่ ของหรอื ๑. การนับและแสดงจานวน ๑. การคิด

เหตุการณ์อย่างน้อย ของสงิ่ ตา่ งๆในชีวิตประจาวนั - การเรียงลาดับ

๕ ลาดับ ๒. การเปรียบเทียบและ อยา่ งน้อย ๕ ลาดับ

เรียงลาดับจานวนของส่ิงต่าง - จานวนและตวั เลข



๓. การบอกและแสดงอันดับ

ทข่ี องสิง่ ต่าง ๆ

๔. การบอกและเรียงลาดับ

กิจกรรมหรือเหตุการณ์ตาม

ชว่ งหรอื เวลา

๕. ก ารใช้ภาษาทาง

คณิตศาสตร์กับเหตุการณ์ใน

ชวี ติ ประจาวนั

๖. การบอกและแสดง

ต า แ ห น่ ง ทิ ศ ท า ง แ ล ะ

ระยะทางของสิ่งต่างด้วยการ

กระทา ภาพวาด ภาพถ่าย

และรูปภาพ

๑ ๐ .๒ มี -อ ธิ บ า ย เ ช่ื อ ม โ ย ง ๑. การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆ ๑. การแสดงความ

ควา มสา มารถใ น สาเหตแุ ละผลท่เี กดิ ข้ึน โดยใช้เคร่ืองมือและหน่วยที่ คดิ เหน็

การคดิ เชงิ เหตุผล ในเหตุการณ์หรือการ ไมใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน - การชั่ง

กระทาด้วยตนเอง ๒. การอธิบายเชื่อมโยง - การตวง

สาเหตุและผลที่เกิดข้ึนใน - การวดั

เหตุการณห์ รอื การกระทา ๒. การเช่ือมโยงส่ิง

ต่ า ง ๆ ใ น

ชีวิตประจาวนั

-คาดคะเนสิ่งที่อาจจะ ๑. การคาดเดาหรือการ -ก า ร ห า

เกดิ ขึ้น และมีส่วนร่วม คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น ความสัมพันธ์อย่าง

ในการลงความเห็น อย่างมีเหตผุ ล มเี หตผุ ล

จ า ก ข้ อ มู ล อ ย่ า ง มี ๒. การมีส่วนร่วมในการลง

เหตผุ ล ความเห็นจากข้อมูลอย่างมี

เหตุผล

๘๒

๑ ๐ .๓ มี -ตดั สนิ ใจในเร่ืองง่ายๆ ๑. การตัดสินใจและมีส่วน ๑. การตัดสินใจส่ิง

ควา มสา มารถใ น แ ล ะ ย อ ม รั บ ผ ล ท่ี รว่ มในกระบวนการแก้ปัญหา ตา่ งๆดว้ ยตนเอง

กา รคิ ด แ ก้ ปัญ ห า เกดิ ขนึ้ ๒. การอธิบายเช่ือมโยง

และตัดสนิ ใจ ส า เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น

เหตุการณ์หรือการกระทา

-ร ะ บุ ปั ญ ห า ส ร้ า ง ๑. การตัดสินใจและมีส่วน ๑. การแก้ปัญหา

ทางเลือกและเลือกวิธี รว่ มในกระบวนการแก้ปญั หา ด้วยตนเองอย่าง

แกป้ ญั หา ๒. การคาดเดาหรือการ มนั่ ใจ

คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกิดขึ้น

อยา่ งมเี หตุผล

๓. การมีส่วนร่วมในการลง

ความเห็นจากข้อมูลอย่างมี

เหตุผล

มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์

สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี

ตัวบง่ ชี้ ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๓ ประสบการณส์ าคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้
(๕-๖ป)ี

๑๑.๑ เล่น/ทางาน -สร้างผลงานศิลปะ ๑. การแสดงความคิด ๑.การทางานศิลปะท่ี

ศิ ล ป ะ ต า ม เพ่ือส่ือสารความคิด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ่ า น ภ า ษ า แปลกใหม่

จิ น ต น า ก า ร แ ล ะ ความรู้สึกของตนเอง ท่าทาง การเคลื่อนไหว ๒. วิธีการใช้เคร่ืองมือ

ความคิดสรา้ งสรรค์ โดยมีก ารดัดแปลง และศิลปะ เครือ่ งใชใ้ นการทางาน

และแปลกใหม่จาก ๒. การเขียนภาพและการ ศิลปะอย่างถูกวิธีและ

เดิมและมีรายละเอียด เลน่ กบั สี ปลอดภยั เช่นกรรไกร

เพม่ิ ขนึ้ ๓. การปนั้

๔. การประดิษฐ์ส่ิงต่างๆ

ด้วยเศษวัสดุ

๕. การทางานศิลปะที่นา

วัสดุหรือสิ่งของเคร่ืองใช้ท่ี

ใช้แล้วมาใช้ซ้าหรือแปรรูป

แล้วนากลับมาใช้ใหม่

๖. การหยิบจับ การใช้

กรรไกร การฉีก การตัด

การปะและการรอ้ ยวัสดุ

๗ .ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด

ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ่ า น ภ า ษ า

ท่าทาง การเคลื่อนไหว

และศลิ ปะ

๘๓

๘. การทางานศิลปะ

๙. การสร้างสรรค์ชิ้นงาน

โดยใช้รูปร่าง รูปทรง จาก

วัสดทุ ีห่ ลากหลาย

๑๐. การรับรู้และแสดง

ความคิด ความรู้สึกผ่านสื่อ

วัสดุ ของเล่น และช้นิ งาน

๑๑.๒ แสดงท่าทาง/ -เคลื่อนไหวท่าทาง ๑. การเคลอ่ื นไหวอยู่กับท่ี ๑. การเคล่ือนไหว

เ ค ล่ื อ น ไ ห ว ต า ม เพ่ือสื่อสารความคิด ๒. การเคลื่อนไหวเคลอื่ นที่ ร่ า ง ก าย ใน ทิศ ทา ง

จินตนาการอ ย่า ง ความร้สู กึ ของตนเอง ๓. การเคลื่อนไหวพร้อม ระดับและพื้นท่ีตา่ งๆ

สร้างสรรค์ อย่างหลากหลายและ วัสดุอุปกรณ์ ๒. การแสดงท่าทาง

แปลกใหม่ ๔. การแสดงความคิด ตา่ งๆตามความคิดของ

ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ่ า น ภ า ษ า ตนเอง

ท่าทาง การเคลื่อนไหวและ

ศลิ ปะ

๕. การเคลื่อนไหวโดย

ควบคุมตนเองไปในทิศทาง

ระดบั และพน้ื ที่

๖. การเคล่ือนไหวตาม

เสยี งเพลง/ดนตรี

๗. การฟังเพลง การร้อง

เพลงและการแสดง

ปฏิกริ ยิ าโตต้ อบเสียงดนตรี

มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวยั

ตัวบง่ ชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี

ชนั้ อนุบาลปที ่ี ๓ ประสบการณ์สาคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้

(๕-๖ป)ี

๑๒.๑ มีเจตคติท่ีดี -หยิบหนังสือมาอ่าน ๑. การสารวจสิง่ ต่างๆ และ ๑. ความรู้พ้ืนฐาน

ตอ่ การเรียนรู้ และเขียนส่ือความคิด แหลง่ เรียนรู้รอบตัว เก่ยี วกับการใช้หนังสือ

ดว้ ยตนเองเป็นประจา ๒. การต้ังคาถามในเร่ืองที่ และตัวหนังสืออย่าง

อยา่ งต่อเน่อื ง สนใจ อสิ ระ

-กระตือรือร้นในการ ๑. การให้ความร่วมมือใน ๑. การแสดงออกทาง

ร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้น การปฏิบัตกิ จิ กรรมต่างๆ อารมณ์และความรู้สึก

จนจบ ๒. การต้ังคาถามในเรื่องที่ อย่างเหมาะสม

สนใจ ๒. ความสนใจในการ

๓. การมีส่วนร่วมในการ ทากิจกรรม

รวบรวมข้อมูลและนาเสนอ

๘๔

ข้อมูลจากการสืบเสาะหา

ความรใู้ นรูปแบบต่างๆและ

แผนภูมิอยา่ งงา่ ย

๑ ๒ .๒ มี -ค้นหาคาตอบของข้อ ๑. การสารวจส่ิงต่างๆ และ - การเรียนรู้ที่จะเล่น

ควา มสา มารถใ น ส ง สั ย ต่ า ง ๆ ต า ม แหลง่ เรยี นรูร้ อบตัว และทาสิ่งต่างๆอย่าง

การแสวงหาความรู้ วิธีการท่ีหลากหลาย ๒. การตั้งคาถามในเรื่องที่ หลากหลายดว้ ยตนเอง

ดว้ ยตนเอง สนใจ

๓. การสืบเสาะหาความรู้

เพื่อค้นหาคาตอบของข้อ

สงสัยต่างๆ

๔. การมีส่วนร่วมในการ

รวบรวมขอ้ มูลและนาเสนอ

ข้อมูลจากการสืบเสาะหา

ความรู้ในรูปแบบต่างๆและ

แผนภูมอิ ยา่ งง่าย

-ใช้ประโยคคาถามว่า ๑. การตั้งคาถามในเรื่องท่ี - การสนใจซักถาม

“เมอ่ื ไร” อยา่ งไร” ใน สนใจ ค า ถ า ม เ พื่ อ ค้ น ห า

การค้นหาคาตอบ ๒. การสืบเสาะหาความรู้ คาตอบด้วยตนเอง

เพ่ือค้นหาคาตอบของข้อ

สงสัยต่างๆ

๘.ขอบขา่ ยเวลาเรียน และสาระการเรยี นรรู้ ายปี
โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ได้วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ

เปา้ หมาย สาระการเรยี นร้ขู องหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ และสอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน และทอ้ งถิ่น โดยจัดหน่วยการเรยี นรูใ้ ห้เหมาะสมกับเดก็ แตล่ ะชว่ งอายุ ดงั น้ี

ระดับช้นั อนุบาลปีท่ี ๒ (๔ - ๕ ปี )

สาระการเรียนรู้ รายละเอียดสาระการเรียนรู้ เวลา / หมายเหตุ
( หน่วยการเรยี น ) สปั ดาห์

๑ เรื่องราวเก่ียวกับตวั เด็ก หน่วยร่างกายของฉนั ๔
หนว่ ยปลอดภัยไว้กอ่ น ๑

หน่วยบ้านของฉนั ๑
หนว่ ยกินดี อย่ดู ี มสี ุข ๑

๒ บุ ค ค ล แ ล ะ ส ถ า น ท่ี หนว่ ยโรงเรียนของฉัน ๑๔

แวดลอ้ มเดก็ หน่วยครอบครวั ของฉัน ๑

หน่วยอาชีพในฝัน

๘๕

๓ ธรรมชาตริ อบตวั หนว่ ยชมุ ชนของเรา ๑
หนว่ ยหนนู ้อยมารยาทงาม ๑
หนว่ ยวนั เด็ก/วันครู ๑
หน่วยอาสาฬหบูชา/วันเขา้ พรรษา ๑
หนว่ ยตลาดแสนสนุก ๑
หน่วยวนั ข้นึ ปีใหม่ ๑
หน่วยวันลอยกระทง ๑
หน่วยวันแม่ ๑
หน่วยการละเลน่ เดก็ ไทย ๑
หน่วยวันพอ่ ๑
หนว่ ยตามรอยเท้าพอ่ อย่างพอเพียง ๑

หนว่ ยดอกไม้แสนสวย ๑
หนว่ ยตน้ ไม้มีชีวิต ๑
หนว่ ยสัตวโ์ ลกน่ารกั ๑
หนว่ ยกลางวนั กลางคืน ๑
หนว่ ยปทุมถ่ินบวั หลวง ๑
หน่วยเมอื งรวงข้าว ๑
หน่วยฤดฝู น ๑
หน่วยฉันรักฤดูหนาว ๑
หน่วยโลกสวยดว้ ยมือเรา ๑

๔ สิง่ ต่างๆ รอบตัวเด็ก หน่วยผกั สดสะอาด ๑๓
หน่วยผลไมแ้ สนอรอ่ ย ๑

หน่วยเดนิ ทางแสนสนุก ๑
หนว่ ยการสอ่ื สาร ๑
หน่วยคณิตคดิ สนุก ๑

หน่วยวิทยาศาสตร์นา่ รู้ ๑
หน่วยงานบ้าน ๑

หนว่ ยสีสนั แสนสนุก
หน่วยหนังสอื ทร่ี ัก

๘๖

ระดบั ช้นั อนบุ าลปที ่ี ๓ (๕ – ๖ ปี )

สาระการเรียนรู้ รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ เวลา / หมายเหตุ
( หนว่ ยการเรยี น ) สัปดาห์

๑ เรอ่ื งราวเก่ียวกับตัวเด็ก หนว่ ยรา่ งกายของฉนั ๔
หนว่ ยปลอดภยั ไว้ก่อน ๑

หน่วยหนา้ ท่พี ลเมือง ๑
หนว่ ยฉลาดกนิ ฉลาดใช้ ๑

๒ บุ ค ค ล แ ล ะ ส ถ า น ท่ี หนว่ ยโรงเรยี นของฉัน ๑๔

แวดลอ้ มเดก็ หนว่ ยครอบครวั ของฉนั ๑

หน่วยอาชีพในฝนั ๑

หนว่ ยชมุ ชนของเรา

หน่วยหนูนอ้ ยมารยาทงาม ๑

หน่วยหนูนอ้ ยรักความเป็นไทย

หน่วยตลาดแสนสนุก ๑

หน่วยอาสาฬหบูชา/วันเข้าพรรษา ๑

หน่วยวนั เด็ก/วันครู ๑

หนว่ ยวนั ข้ึนปใี หม่ ๑

หนว่ ยวันลอยกระทง

หนว่ ยวันแม่

หนว่ ยวนั พ่อ

หน่วยตามรอยเท้าพอ่ อย่างพอเพียง

๓ ธรรมชาติรอบตัว หน่วยตน้ ไม้มชี ีวติ ๙
หนว่ ยสัตวโ์ ลกน่ารกั

หนว่ ยกลางวนั กลางคนื ๑
หนว่ ยปทุมถนิ่ บัวหลวง
หน่วยเมืองรวงข้าว ๑

หนว่ ยฤดฝู น ๑
หนว่ ยฉนั รักฤดหู นาว

หน่วยดิน หนิ ทรายนา่ รู้ ๑
หนว่ ยหนนู ้อยนกั อนรุ กั ษ์



๘๗

๔ ส่งิ ต่างๆ รอบตัวเดก็ หน่วยผกั ผลไม้สดสะอาด ๑๓
หนว่ ยคมนาคม ๑

หน่วยเทคโนโลยีเพ่อื การสอ่ื สาร
หน่วยคณิตคดิ สนุก ๑

หนว่ ยวิทยาศาสตรน์ า่ รู้
หน่วยของเลน่ ของใช้ ๑
หน่วยหนนู อ้ ยก้าวไกลสู่อาเซยี น ๑

หน่วยยาเสพติดใหโ้ ทษ
หนว่ ยหนงั สือท่ีรกั ๑


๙. การจดั หน่วยการเรียนรู้รายปี
โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ได้กาหนดการจัดหน่วยการเรียนรู้รายปี โดยเรียงลาดับตาม

ความสาคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ที่เด็กควรรู้ก่อนและหลัง บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริต และสะเต็มศึกษา

คานงึ ถงึ วนั สาคญั ทางประเพณแี ละศาสนา วนั สาคญั ของชาติ และความเหมาะสมของเด็กในแต่ละระดับชั้น
ดงั นี้

ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕

หน่วยการจดั ประสบการณ์ บรู ณาการหนว่ ยการ
เรียนรูส้ อดคลอ้ งกบั
สปั ดา วนั เดอื นปี
หท์ ่ี จุดเน้น
ชนั อนุบาลปที ่ี ชันอนบุ าลปที ี่ ๓
๑ 17 – 20 พ.ค.65 ๒ -
๒ 23 – 27 พ.ค.65 ปฐมนิเทศ -
๓ 30 พ.ค. – 2 มิ.ย. 65 ปฐมนิเทศ โรงเรยี นของเรา -
๔ 6 – 10 ม.ิ ย. 65 โรงเรียนของเรา ต้านทจุ รติ
ตัวเรา (หน่วยท่ี 1,2)
๕ 13 – 17 ม.ิ ย. 65 ตวั เรา หนูทาได้ -
๖ 20 - 24 มิ.ย. 65 หนทู าได้ -

๗ 27 ม.ิ ย. – 1 ก.ค.65 ครอบครวั มสี ขุ ครอบครัวมสี ขุ -
๘ 4 – 8 ก.ค.65 อาหารดีมีประโยขน์ สาระท้องถ่ิน
อาหารดีมี
ประโยขน์ ฝน
ขา้ ว
ฝน

ขา้ ว

๘๘

๙ 11 - 15 ก.ค.65 ปลอดภัยไว้กอ่ น ปลอดภยั ไว้ก่อน -

๑๐ 18 – 22 ก.ค.65 รักเมอื งไทย รักเมืองไทย สาระทอ้ งถิ่น

๑๑ 25 – 27 ก.ค.65 วนั เฉลิมพระ วันเฉลิมพระ -

ชนมพรรษา ชนมพรรษา

๑๒ 1 – 5 ส.ค.65 ของเล่นของใช้ ของเลน่ ของใช้ STEM Education

๑๓ 8 – 11 ส.ค.65 วันแม่ วนั แม่ -

๑๔ 15 - 19 ส.ค.65 วทิ ยาศาสตร์น่ารู้ วทิ ยาศาสตร์แสน บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์

สนกุ น้อย

๑๕ 22 - 26 ส.ค.65 ชมุ ชนของเรา ชมุ ชนของเรา สาระทอ้ งถ่ิน

๑๖ 29 ส.ค. – 2 ก.ย. 65 ตน้ ไมท้ ่รี กั ต้นไมท้ ี่รกั บา้ นนกั วิทยาศาสตร์
นอ้ ย

๑๗ 5 – 9 ก.ย. 65 ดนิ หนิ ทราย ดิน หนิ ทราย บา้ นนักวทิ ยาศาสตร์

น้อย

๑๘ 12 - 16 ก.ย. 65 สัตว์น่ารกั สัตวน์ า่ รัก -

๑๙ 19 – 23 ก.ย. 65 การคมนาคม การคมนาคม STEM Education

๒๐ 26 – 30 ก.ย. 65 หนนู ้อยมารยาท เดก็ ดีมมี ารยาท ตา้ นทจุ ริต (หนว่ ยที่ 4)
ดี

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

สัปดา วนั เดือนปี หน่วยการจดั ประสบการณ์ บูรณาการหน่วยการ
หท์ ่ี ชันอนุบาลปที ่ี ๒ ชนั อนบุ าลปีที่ ๓ เรียนรู้สอดคลอ้ งกบั

จดุ เนน้

๒๑ 1 – 4 พ.ย.65 รอบรู้ปลอดภยั รอบรู้ปลอดภยั

๒๒ 7 – 11 พ.ย.65 ลอยกระทง ลอยกระทง -

๒๓ 14 – 18พ.ย.65 กลางวนั - กลางคืน กลางวนั - กลางคืน -

๒๔ 21 – 25 พ.ย.65 คา่ นิยมไทย คา่ นยิ มไทย -

๒๕ 28 พ.ย. – 2 ธ.ค. วนั ชาติ วันชาติ -

65

๒๖ 6 – 9 ธ.ค. 65 เศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง ต้านทจุ รติ (หนว่ ยที่ 3)

๒๗ 13 – 16 ธ.ค. 65 เทคโนโลยแี ละการ เทคโนโลยีและการ บ้านนกั วทิ ยาศาสตร์

ส่ือสาร สื่อสาร น้อย

๒๘ 19 – 23 ธ.ค. 65 สนุกกบั ตวั เลข สนุกกับตัวเลข -

๒๙ 26 – 30 ธ.ค. 65 วันขนึ้ ปใี หม่ วนั ขน้ึ ปีใหม่ -

๓๐ 2 – 6 ม.ค. 6๖ ขนาด รูปรา่ ง รูปทรง ขนาด รปู รา่ ง รปู ทรง STEM Education

๘๙

๓๑ 9 – 13 ม.ค. 6๖ วนั เดก็ วันครู วนั เดก็ วันครู -
๓๒ 16 – 20 ม.ค. 6๖ ฤดูหนาว ฤดหู นาว -
๓๓ 23 – 27 ม.ค. 6๖ เสยี งรอบตวั เสียงรอบตัว บ้านนักวทิ ยาศาสตร์
น้อย
๓๔ 30 ม.ค. – โลกสวยดว้ ยสีสัน โลกสวยด้วยสีสนั -
3 ก.พ.6๖
แรงและพลังงานใน แรงและพลังงานใน บา้ นนกั วิทยาศาสตร์
๓๕ 6 – 10 ก.พ.6๖ ชีวติ ประจาวนั ชีวิตประจาวัน น้อย
โครงงาน โครงงาน
๓๖ 13 – 17 ก.พ.6๖ วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ บ้านนกั วิทยาศาสตร์
โครงงาน โครงงาน นอ้ ย
๓๗ 20 – 24 ก.พ.6๖ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
รกั การอ่าน รกั การอ่าน บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์
๓๘ 27 ก.พ. – นอ้ ย
3 ม.ี ค.6๖ ปริมาณ น้าหนัก ปริมาณ นา้ หนัก -

๓๙ 6 – 10 มี.ค.6๖ ฤดรู อ้ น ฤดรู อ้ น บ้านนกั วทิ ยาศาสตร์
นอ้ ย
๔๐ 13 – 17 มี.ค.6๖ -

๑๐. การจัดประสบการณ์
๑๐.๑ แนวคิด/นวตั กรรมท่ีนามาใช้ในการจดั ประสบการณ์

การจดั ประสบการณส์ าหรบั เดก็ ปฐมวัย จะไม่จัดเป็นรายวิชา แต่จัดในรูปของกิจกรรมบูรณาการ
ผ่านการเล่น เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ ได้พัฒนาท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ

สังคม และสติปัญญา กิจกรรมท่ีจัดให้เด็กในแต่ละวัน อาจใช้ชื่อเรียกกิจกรรมแตกต่างกันไปในแต่ละ
โรงเรียน แต่ทั้งนี้ประสบการณ์ที่จัดจะต้องครอบคลุมประสบการณ์สาคัญท่ีกาหนดในหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย และควรยืดหยนุ่ ใหม้ ีสาระการเรยี นร้ทู ่ีเดก็ สนใจ และสาระการเรียนรู้ที่ผู้สอนกาหนด เมื่อเด็กได้รับ

ประสบการณ์สาคัญและทากิจกรรมในแต่ละหัวเร่ืองแล้ว เด็กควรจะเกิดแนวคิดตามท่ีได้เสนอแนะใน
หลกั สตู ร

สาหรบั การนาแนวคดิ จากนวตั กรรมตา่ ง ๆ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ ผู้สอนต้องทาความเข้าใจ
นวัตกรรมนนั้ ๆ แต่ละนวตั กรรมจะมจี ุดเด่นของตนเอง แต่โดยภาพรวมแล้ว นวัตกรรมส่วนใหญ่จะยึดเด็ก
เป็นสาคัญ การลงมือปฏิบัติจริงด้วยตัวเด็กจะเป็นหัวใจสาคัญในแต่ละนวัตกรรม นวัตกรรมที่เข้ามามี

บทบาทในการจดั การศึกษาระดับปฐมวยั โรงเรยี นนิกรราษฎรบ์ ารุงวิทย์ มีดงั น้ี

แนวคิด/นวัตกรรม การนามาใช้ปฏิบตั ิ/บรู ณาการเพื่อพัฒนาเด็ก

๑. การสอนตามแนวคิดไฮสโคป - ใช้ในการกิจกรรมเสรี ให้เด็กใช้กระบวนการ Plan-Do-

(HighScope) Review ในการทากิจกรรมตามความสนใจ โดยมีการ

วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน และการนาเสนอผลงาน

- ใช้ในการวางแผนจัดห้องเรียน จัดสื่อ มุมประสบการณ์

๙๐

และพ้ืนท่ีในห้องเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ตามแนวคิด

ไฮสโคป

๒. สะเต็มศึกษา - เป็นรูปแบบการจัดการศึกษาที่บูรณาการกลุ่มสาระและ

ทักษะกระบวนการของทั้ง 4 สาระ อันได้แก่ วิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยนา

ลักษณะธรรมชาติของแต่ ละสาระวิชาและกระบวนการ

จัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนมาผสมผสานกันเพื่อให้ผู้เรียนได้

เกิดการเรยี นร้แู ละพัฒนาทกั ษะท่สี าคัญแลจาเปน็

๓. หลักสตู รต้านทุจริต - การเรยี นการสอนหลักสตู รต้านทุจริต เพ่ือปลูกฝังจิตสานึก

ในการแยกแยะประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิต

พอเพียง และสร้างพฤติกรรมที่ไม่ยอมรับและไม่ทนต่อการ

ทจุ ริต

๔.บ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย - เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีหาคาตอบให้กับคาถาม

และการอธบิ ายปรากฏการณต์ ่างๆ ได้มาด้วยการคน้ หาอย่าง

มีระบบและมเี ปา้ หมาย

๑. การสอนตามแนวคดิ ไฮสโคป (HighScope)

ทฤษฏกี ารเรยี นรู้ของเด็กมีแนวคิดหลากหลายแบบ “ไฮสโคป” สพฐ.ได้จัดให้มีห้องเรียนนาร่องท่ัว

ประเทศในโรงเรียนอนุบาลประจาอาเภอและประจาจังหวัดในปีการศึกษาน้ี (ปี ๒๕๖๒)

ทฤษฏนี ้รี เิ ริม่ โดย ดร.เดวิด ไวคารท์ ร่วมกบั นกั วิชาการทาการวิจัยศึกษาเปรียบเทียบเด็กปฐมวัย ๓

กลุ่ม ซึ่งเรยี นรู้ตามแนวทางที่แตกต่างกันคือ กลุ่มท่ีครูสอนโดยตรง กลุ่มที่อยู่ในเนอร์สเซอรี่แบบเดิม และ

กล่มุ ไฮสโคป ตดิ ตามตั้งแต่เลก็ จนถึงอายุ ๒๙ ปี ผลวิจยั แสดงให้เห็นว่า เด็กกลุ่มท่ีเรียนด้วยแนวไฮสโคปนั้น

พบปญั หาพฤติกรรมทางสังคมและอารมณ์น้อยกว่า # กลุ่มแรก เป็นผลพิสูจน์ว่าการศึกษาตามแนวทางน้ี

ช่วยป้องกนั อาชญากรรม เพมิ่ พูนความสาเร็จท้งั การศึกษาและการดาเนินชวี ติ ได้

หัวใจของไฮสโคปเน้นให้เด็กเรียนรู้แบบลงมือทาผ่านการเล่น ด้วยสื่อและกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับ

พัฒนาการ เพ่ือให้เด็กมีประสบการณ์ตรงกับคน ส่ิงของ เหตุการณ์ และความคิด ส่งเสริมให้รู้จักคิด

วเิ คราะหไ์ ด้และคิดสร้างสรรคเ์ ปน็ สามารถแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ อยา่ งกระตือรือร้น โดยครูจะเป็นผู้สนับสนุนให้

เดก็ เกิดกระบวนการ วางแผน – ลงมอื ทา – และทบทวน (Plan – Do - Review)

หัวใจของไฮสโคป ประกอบด้วยกระบวนการ ๓ กระบวนการ อันไดแ้ ก่

๑. การวางแผน (Plan) เป็นการให้เด็กกาหนดแนวทางการปฏิบัติ หรือการดาเนินงานตามงานท่ี

ได้รับมอบหมายหรือตามสิ่งท่ีตัวเองสนใจ โดยคุณครูจะต้องเปิดโอกาสให้เด็กสนทนากับครู หรือสนทนา

ระหว่างเพือ่ นดว้ ยกนั เพ่ือวางแผนการทางานอยา่ งเหมาะสม ว่าจะทาอะไร อยา่ งไร การวางแผนกิจกรรมน้ี

เด็กต้องมีโอกาสเลือกและตัดสินใจ ซึ่งอาจจะบันทึกด้วยภาพหรือสัญลักษณ์ประจาตัวเด็กหรือบอกให้ครู

ช่วยบันทึกก็ได้ ซึ่งกระบวนการน้ีจะช่วยส่งเสริมความรู้สึกเชื่อม่ันในตนเองของเด็กและความรู้สึกในการ

ควบคมุ ตนเอง ทาให้เด็กสนใจในกิจกรรมที่ตนเองได้วางแผนไว้

๒. การปฏิบัติ (Do) คอื การให้เดก็ ลงมือทากิจกรรมตามแผนท่วี างไว้อย่างอิสระตามเวลาท่ีกาหนด

โดยเน้นให้เด็กได้ช่วยกันคิด ทดลองและแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีจุดมุ่งหมาย ได้เรียนรู้ตามประสบการณ์

ค้นพบความคิดใหม่ๆ โดยคุณครูจะทาหน้าท่ีเป็นผู้ช้ีแนะและให้คาแนะนา มากกว่าจะลงไปจัดการด้วย

ตัวเอง

๙๑

๓. การทบทวน (Review) คอื กระบวนการท่ีใหเ้ ด็กสะท้อนผลงานของตัวเองท่ีได้ลงมือทาผ่านการ
พูดคุยหรือแสดงผลต่างๆ เพ่ือทบทวนว่าตนเองน้ันได้ปฏิบัติงานตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่ มีการ
เปลี่ยนแปลงอยา่ งไร โดยมีจุดม่งุ หมายเพือ่ ใหเ้ ด็กได้เชอื่ มโยงแผนการปฏิบัติงานกับผลงานที่ทา รวมถึงการ
เลา่ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ ที่ได้ลงมอื ทาดว้ ยตนเอง

วงล้อแหง่ การเรียนรู้ของไฮสโคปคือ เมื่อเด็กได้ “เรียนรู้แบบลงมือทา” เด็กจึงจะสร้างองค์ความรู้
ได้ ตง้ั แต่การมีสว่ นเลือกและตัดสนิ ใจส่งิ ต่าง ๆ เอง วธิ นี ้ีเดก็ จะเกดิ การเรยี นร้มู ากกว่าการเป็นฝ่ายรับ การมี
“ปฏิสัมพันธก์ บั ผอู้ ืน่ ” ท้งั กับครแู ละเพ่ือน ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ระหว่างกัน จึงมีโอกาสแก้ปัญหาต่าง ๆ
“การจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้” ให้เด็กมีส่ือให้เล่นอิสระ หลากหลายและเพียงพอ การมี “กิจวัตร
ประจาวัน” จะทาให้เด็กได้พบประสบการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันอย่างเป็นธรรมชาติ เพราะ
ประสบการณ์เปน็ ส่วนหน่ึงของความรู้ทีเ่ ด็กจะไดร้ ับเมอื่ ผ่านการมปี ฏสิ ัมพันธ์กับสง่ิ ตา่ ง ๆ น่ันเอง จากนัน้ จะ
เป็นข้ันตอนของคณุ ครทู ี่เป็นผู้ทา “การประเมิน” พฒั นาการเด็ก

๒. สะเตม็ ศึกษา
เป็นรปู แบบการจดั การศึกษาทีบ่ ูรณาการกลุ่มสาระและทักษะกระบวนการของท้ัง 4 สาระ อันได้

แกวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยนาลักษณะธรรมชาติของแต่ ละสาระ
วิชาและกระบวนการจดั การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนมาผสมผสานกันเพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และพัฒนา
ทกั ษะที่สาคัญแลจาเป็น
ความสาคญั ของการจดั การเรียนรู้แบบสะเตม็ ระดับการศกึ ษาปฐมวัย

การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มระดับการศึกษาปฐมวัยผ่านการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Active
Learning) มี ความสาคญั ตอ่ การพัฒนาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ในดา้ นตา่ งๆดังนี้

1. พัฒนาทักษะท่ีจาเป็นต่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ทักษะการคิด ทักษะทาง
คณิต ศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการสื่อสาร ทักษะการ
คิด วเิ คราะห์ ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยแี ละทกั ษะทางสังคม

2. ส่งเสริมการทากิจกรรมแบบบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรมศาสตร์ซงึ่ เปน็ พ้นื ฐานในการสรา้ งความร้ดู ้วยตนเองในหวั ข้อเรื่องท่ีเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่
เพ่อื พัฒนากาลงั คนของประเทศตง้ั แต่ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย

3. กระบวนการเรียนรู้เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เป็นหัวข้อเร่ืองในชีวิตจริงของเด็ก
สอดคล้องกับปรัชญา และแนวคิดทางการศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยตั้งคาถาม สืบค้นโดยใช้
ความสามารถในการสงั เกต ช่วยเด็กคิดเกยี่ วกับกระบวนการในการทางานของตน

4. สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยมีส่วนรว่ มในกระบวนการเรียนรู้มากทสี่ ุด การจดั กิจกรรมเป็นการทางาน แบบ
ร่วมมือผ่านลักษณะกิจกรรมที่หลากหลาย ฝึกความมีวินัยและสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมใน
กระบวนการทางานแบบร่วมมือ

5. จดั บรรยากาศในชนั้ เรยี นสง่ เสริมการกลา้ แสดงออก การแลกเปลีย่ นความคิดเหน็
6. ส่งเสริมให้เด็กรักและเห็นคุณค่าของการเรียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ
คณติ ศาสตร์
๓. หลักสตู รตา้ นทจุ ริต
๑. หลกั การจดั ประสบการณ์

๙๒

๑.๑ จดั ประสบการณก์ ารเลน่ และการเรยี นรูห้ ลากหลายลกั ษณะ เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง และสอดคล้องกบั การทางานของสมอง

๑.๒ เน้นเด็กเป็นสาคัญ สนองความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบท
ของสงั คมที่เดก็ อาศยั อยู่

๑.๓ จดั ให้เดก็ ไดร้ บั การพฒั นาโดยใหค้ วามสาคญั ทง้ั กบั กระบวนการเรียนรแู้ ละผลผลิตการเรยี นรู้
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งขอการจัด
ประสบการณ์ พรอ้ มทง้ั นาผลการประเมนิ มาพฒั นาเด็กอย่างต่อเนอ่ื ง
๑.๕ ใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชน มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเด็ก
๒. แนวการจดั ประสบการณ์
๒.๑ จดั ประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทางานของสมองท่ีเหมาะสมกับ
อายุ วฒุ ิภาวะและระดบั พัฒนาการ เพอื่ ให้เด็กทุกคนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของเด็ก โดยเด็กได้ลงมือกระทา เรียนรู้
ผา่ นประสาทสัมผัสท้งั ห้า ไดเ้ คลื่อนไหว สารวจ เล่น สังเกต สบื คน้ ทดลอง และคดิ แกป้ ัญหาด้วยตนเอง
๒.๓ จัดประสบการณใ์ นรปู แบบบรู ณาการ โดยบูรณาการทง้ั กิจกรรมทกั ษะและสาระการเรียนรู้
๒.๔ จดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ ได้ริเริ่มคิด วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทา และนาเสนอความคิดโดย
ผสู้ อนเป็นผู้สนบั สนุน อานวยความสะดวก และเรียนรูร้ ่วมกับเดก็
๒.๕ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอ่ืน กับผู้ใหญ่ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ
เรียนรูใ้ นบรรยากาศทอ่ี บอุ่น มคี วามสุข และเรียนรู้การทากจิ กรรมแบบรว่ มมือในลกั ษณะตา่ ง ๆ กนั
๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และอยู่ในวิถีชีวิต
ของเดก็
๒.๗ จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ลักษะนิสัยท่ีดีและทักษะการใช้ชีวิตประจาวัน ตลอดจนสอดแทรก
คณุ ธรรม จริยธรรม ให้เปน็ ส่วนหนึ่งของการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง
๒.๘ จดั ประสบการณท์ ัง้ ในลักษณะท่มี ีการวางแผนไว้ล่วงหน้า และประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสภาพ
จรงิ โดยไม่ไดค้ าดการณ์ไว้
๒.๙ จดั สารนทิ ศั นด์ ว้ ยการรวบรวมข้อมลู เกีย่ วกบั พฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล
นาขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ ับมาไตรต่ รอง และใชเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาการเด็กและการวจิ ยั ในช้นั เรียน
๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ ท้ังการ
วางแผน การสนับสนนุ สื่อการสอน การเขา้ รว่ มกินกรรม และการประเมนิ ผลพัฒนาการ
๔.บา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย
เป็นรูปแบบการจัดการศึกษาในกระบวนการสืบเสาะ การหาคาตอบให้กับคาถาม และการอธิบาย
ปรากฏการณ์ต่างๆ ได้มาด้วยการค้นหาอย่างมีระบบ และมีเป้าหมาย มีการต้ังคาถามเป็นพื้นฐาน และใช้
เป็นจุดเร่ิมต้นของคาถาม และการสังเกตด้วยความสงสัย โดยตระหนักถึงพฤติกรรมของตัวเด็กและการ
ดาเนินการอย่างเป็นระบบ

๓. การจดั กจิ กรรมประจาวนั
๓.๑ หลกั การจัดกจิ กรรมประจาวัน
กาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแต่ละวันและ

ยดื หยุ่นได้ตามความตอ้ งการและความสนใจของเดก็ เชน่ เดก็ ๔ - ๕ ขวบ มีความสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๒

๙๓

- ๑๕ นาที
๓.๑.๑ กิจกรรมท่ีต้องใช้ความคิด ท้ังในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเน่ืองนาน

เกินกว่า ๒๐ นาที
๓.๑.๒ กิจกรรมท่ีมีการวางแผนโดยครู เพ่ือช่วยให้เด็กเกิดทักษะหรือความคิดรวบยอดใน

เรอ่ื งใดเร่ืองหนง่ึ ตามท่ีกาหนดไว้ในหลกั สูตร ซ่ึงครตู ้องวางแผนกจิ กรรมลว่ งหนา้ ใน ๑ กิจกรรม เวลาที่ใช้ใน
แตล่ ะวนั สาหรับเด็กอายุ ๓ ปี ประมาณ ๔๕ นาที และเด็ก ๔ – ๕ ปี ประมาณ ๖๐ นาที ครูต้องพิจารณา
วา่ เด็กมีช่วงสนใจส้นั จะต้องจดั แบ่งเวลาหลายชว่ งใหเ้ หมาะกับเด็ก

๓.๑.๓ กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เพ่ือช่วยให้เด็กรู้จักเลือกตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา
คดิ สรา้ งสรรค์ เช่น การเล่นตามมมุ การเลน่ กลางแจง้ ฯลฯ ใชเ้ วลาประมาณ ๔๐ - ๖๐ นาที

๓.๑.๔ กจิ กรรมควรมคี วามสมดลุ ระหวา่ งกิจกรรมในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น กิจกรรมท่ี
ใชก้ ล้ามเน้อื ใหญแ่ ละกล้ามเน้ือเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้
ริเรมิ่ และผู้สอนเปน็ ผรู้ เิ ริ่ม กิจกรรมท่ีใช้กาลังและไม่ใช้กาลัง จัดให้ครบทุกประเภท ทั้งนี้กิจกรรมที่ต้องออก
กาลงั กาย ควรจัดสลบั กับกิจกรรมทไ่ี มต่ ้องออกกาลังมากนกั เพอื่ เด็กจะไดไ้ ม่เหน่อื ยเกนิ ไป

๓.๒ ขอบข่ายของกจิ กรรมประจาวัน การเลอื กจัดกิจกรรมในแตล่ ะวันต้องให้ครอบคลมุ ส่ิงตอ่ ไปนี้
๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเน้ือใหญ่ เพ่ือให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเน้ือใหญ่

การเคลื่อนไหว และความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่างๆ จึงควรจัดกิจกรรมโดยให้เด็กได้เล่นอิสระ
กลางแจง้ เล่นเครือ่ งเลน่ สนาม เคล่ือนไหวร่างกายตามจงั หวะดนตรี

๓.๒.๒ การพัฒนากลา้ มเน้ือเลก็ เพือ่ ใหเ้ ด็กได้พฒั นาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็ก การ
ประสานสมั พนั ธ์ระหว่างมือและตา จึงควรจดั กิจกรรมโดยให้เด็กได้เลน่ เคร่อื งเล่นสัมผัส เล่นเกมต่อภาพ ฝึก
ช่วยเหลอื ตนเองในการแต่งกาย หยิบจับช้อนส้อม ใช้อุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พู่กัน ดินเหนียว
ฯลฯ

๓.๒.๓ การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือให้เด็กมีความรู้สึก
มารดีต่อตนเองและผู้อื่น มีความเช่ือมั่น กล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ประหยัด มี
ความเมตตากรุณา เอื้อเฟือ้ แบ่งปัน มีมารยาทและการปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่นับถือ จึง
ควรจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ผา่ นการเล่น ใหเ้ ด็กไดต้ ัดสินใจเลอื ก ได้รบั การตอบสนองความต้องการ ได้ฝึกปฏิบัติ
โดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดเวลาทโ่ี อกาสเอือ้ อานวย

๓.๒.๔ การพัฒนาสงั คมนิสัย เพ่ือให้เด็กมลี ักษณะนิสยั ท่ีดี แสดงออกอย่างเหมาะสม และ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทากิจวัตรประจาวัน มีนิสัยรักการทางาน รู้จัก
ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืน จึงควรจัดให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอ
เชน่ รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับขบั ถา่ ย ทาความสะอาดรา่ งกาย เล่นและทางานรว่ มกับผ้อู ื่น

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความคิดรวบยอด สังเกต จาแนก
เปรียบเทียบจัดหมวดหมู่ เรียงลาดับเหตุการณ์ แก้ปัญหา จึงควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้สนทนาอภิปราย
แลกเปล่ียนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทดลอง ศึกษานอก
สถานท่ี ประกอบอาหาร หรือจัดให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษาท่ีเหมาะสมกับวัยอย่างหลากหลาย ฝึกการ
แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั และในการทากจิ กรรมท้ังทเ่ี ป็นรายบุคคลและรายกล่มุ

๓.๒.๖ การพฒั นาภาษา เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาสื่อสาร ถ่ายทอดความรู้ ความนึก
คดิ ความรู้ความเข้าใจในสง่ิ ตา่ งๆ ที่เด็กมปี ระสบการณ์ จึงควรจดั กิจกรรมทางภาษาให้มีความหลากหลายใน

๙๔

สภาพแวดล้อมทเี่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ มงุ่ ปลูกฝงั ให้เดก็ รักการอา่ นและบุคลากรท่ีแวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างที่
ดีในการใช้ภาษา ทงั้ น้ีตอ้ งคานงึ ถึงหลักการจดั กิจกรรมทางภาษาทเ่ี หมาะสมกับเดก็ เป็นสาคัญ

๓.๒.๗ การส่งเสริมจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่ือให้เด็กได้พัฒนาความคิดริเริ่ม
สรา้ งสรรค์ ไดถ้ ่ายทอดอารมณค์ วามรสู้ กึ และความเหน็ ความสวยงามของส่ิงต่าง ๆ รอบตัว โดยใช้กิจกรรม

ศลิ ปะและดนตรเี ปน็ สื่อ ใช้การเคล่ือนไหวและจังหวะตามจนิ ตนาการ ให้ประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ อย่างอิสระตาม
ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ของเด็ก เลน่ บทบาทสมมุติในมมุ เลน่ ต่างๆ เล่นน้า เล่นทราย เล่นกอ่ สรา้ ง

๓.๓ รูปแบบการจัดกิจกรรมประจาวัน การจัดตารางกิจกรรมประจาวัน สามารถจัดได้หลาย

รูปแบบท้ังนี้ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในการนาไปใช้ของแต่ละสถานศึกษาและชุมชน ที่สาคัญผู้สอนต้อง
คานึงถึงการจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน ตอบสนองความต้องการความสนใจ และความ

แตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก สาหรับโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ได้จัดทาตารางกิจกรรมประจาวัน
ดงั น้ี

ตารางกิจกรรมประจาวัน กจิ กรรม
เวลา รับเด็ก
กิจกรรมหนา้ เสาธง/ตรวจสุขภาพ
๐๗.๐๐ – ๐๗.๔๐ น. กจิ กรรมเสริมทักษะภาษาอังกฤษ
๐๗.๔๐ - ๐๘.๐๐ น. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ (๒๐ นาที)
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ (๓๐ นาที)
๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ (๓๐ นาที)
๐๙.๒๐ - ๐๙.๕๐ น. กจิ กรรมเล่นตามมุม (๓๐ นาที)
๐๙.๕๐ - ๑๐.๒๐ น. กจิ กรรมกลางแจ้ง (๓๐ นาที)
๑๐.๒๐ - ๑๐.๕๐ น. ล้างมอื เตรยี มตัวรบั ประทานอาหาร
๑๐.๕๐ – ๑๑.๒๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน / แปรงฟัน
๑๑.๒๐ - ๑๑.๓๐ น. นอนพกั ผ่อน
๑๑.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. เก็บทน่ี อน ล้างหน้า เขา้ ห้องนา้
๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. ด่ืมนม
๑๔.๑๐ - ๑๔.๒๐ น. เกมการศึกษา (๒๐ นาที)
๑๔.๒๐ – ๑๔.๓๐ น. เตรยี มตัวกลบั บา้ น
๑๔.๓๐ - ๑๔.๕๐ น.
๑๔.๕๐ - ๑๕.๓๐ น.

* ตารางกิจกรรมสามารถยดื หยุ่นได้ตามความเหมาะสมในแตล่ ะห้องเรียน

เวลาในตารางกิจกรรมซึง่ ควรได้รับการวางแผนเป็นอย่างดีจากครูคือเวลาท่ีเด็กเปลี่ยนจากการทา

กจิ กรรมอยา่ งหนึง่ ไปทากิจกรรมตอ่ ไป หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนึง่ ว่า รอยเชอ่ื มต่อระหว่างกจิ กรรม ในช่วงเวลา
ดงั กล่าวเด็กจาเปน็ ต้องมีผู้ใหญ่คอยใหค้ าแนะนาและช่วยเหลือ ทั้งน้ีเพื่อป้องกันความสับสนวุ่นวายอันอาจ

เกดิ ขนึ้ ได้
การวางแผนเพื่อเตรียมเด็กสาหรบั รอยเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งกจิ กรรมมดี งั น้ี
๑. การบอกเด็กล่วงหน้า (advance notice) ในการเปล่ียนกิจกรรมทุกคร้ัง ครูจาเป็นต้องบอก

๙๕

เด็กล่วงหน้า ท้ังน้ีเนื่องจากการให้เด็กเปล่ียนกิจกรรมอย่างกะทันหัน และทันทีทันใดอาจส่งผลให้เด็กเกิด
การต่อต้านได้

๒. การให้สัญญาณท่ีคุ้นเคย (familiar cues) เช่น เพลง “เก็บของเล่น” หรือเสียงสัญญาณที่
คุ้นเคย เป็นต้น เพราะจะช่วยให้เด็กทาพฤติกรรมที่เคยชินการปฏิบัติตามกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอ
จะชว่ ยให้เดก็ ทราบถงึ สงิ่ ทตี่ ้องทาในแตล่ ะวนั

๓. การมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบแก่เด็ก จะช่วยให้กิจกรรมท่ีเด็กต้องทาในระหว่างการ
เปลย่ี นกจิ กรรมมคี วามหมายมากขน้ึ เชน่ มอบหมายใหเ้ ด็กดแู ลเพอ่ื นในระหว่างการเกบ็ ของเลน่ เปน็ ตน้

๔. การลดความวุ่นวาย (chaos) ครูอาจใช้เพลง หรือการกาหนดเง่ือนไขเพ่ือให้เด็กแยกย้ายกัน
ไปทากิจกรรมใหม่ทีละกลุ่มเล็กๆ อาทิ ครูอาจกาหนดว่าให้เด็กท่ีผูกโบไปทากิจกรรมก่อน หรือเด็กท่ีไว้ผม
สน้ั ไปทากิจกรรม เป็นตน้

๓.๔ แนวทางการจดั กจิ กรรมประจาวัน
การจัดกิจกรรมประจาวัน ครูสามารถนาไปปรับใช้ได้ หรือนานวัตกรรมต่างๆมาปรับใช้ในการจัด

กิจกรรมประจาวนั ให้เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา โดยมแี นวทางในการจัดกิจกรรมและการ
ใช้ส่อื ดังน้ี

๑. กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ
การเคล่อื นไหวและจังหวะ เปน็ กิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้เคลือ่ นไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระ
ตามจงั หวะ โดยใชเ้ สยี งเพลง คาคลอ้ งจอง เครือ่ งเคาะจังหวะ และอุปกรณ์อ่ืนๆมาประกอบการเคลื่อนไหว
ซึง่ จงั หวะและเคร่ืองดนตรีประกอบ ได้แก่ การปรบมือ การร้องเพลง การเคาะไม้ กรุ่งกร่ิง รามะนา กลอง
กรับ เพ่ือส่งเสริมให้เด็กพัฒนากล้ามเน้ือใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เกิด
จินตนาการ ความคดิ สร้างสรรค์ และสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ ดังน้ี
จุดประสงค์
๑. เพือ่ พัฒนาอวยั วะทกุ สว่ นใหม้ ีความสมั พันธก์ นั อยา่ งดใี นการเคลอื่ นไหว
๒. เพื่อฝึกทักษะภาษา ฝึกฟังคาสงั่ และข้อตกลง
๓. เพื่อฝึกให้เกดิ ทักษะในการฟงั ดนตรี หรือจังหวะตา่ งๆ
๔. เพือ่ ใหเ้ กดิ ความทราบซ่ึงและสนุ ทรียภาพ
๕. เพื่อฝกึ ความจาและสรา้ งเสริมประสบการณ์
๖. เพอ่ื ฝึกความเป็นผ้นู าและผ้ตู ามทดี่ ี
๗. เพอ่ื พัฒนาด้านสังคม การปรบั ตัวและความรว่ มมือในกล่มุ
๘. เพอ่ื ให้โอกาสเด็กได้แสดงออก มคี วามเชื่อมั่นในตนเอง และความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์
๙. เพื่อใหเ้ กดิ ความสนกุ สนาน ผอ่ นคลายความตงึ เครยี ดท้ังรา่ งกายและจิตใจ
ขอบขา่ ยของการจดั กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ
๑. การเคลื่อนไหวรา่ งกาย
๒. การฟังสญั ญาณและการปฏิบัติตามขอ้ ตกลง
๓. การฝกึ การเป็นผูน้ าและผ้ตู ามท่ดี ี
๔. การฝึกจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
๕. ความมีระเบยี บวินัย


Click to View FlipBook Version