The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yimma.yo, 2022-06-03 11:24:04

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

๙๖

๖. การเรยี นร้จู งั หวะ
๗. ความเพลดิ เพลนิ สนกุ สนาน
๘. การฝกึ ความจา
๙. การแสดงออก
๑๐. เน้อื หาของหนว่ ยการสอน
รูปแบบการเคลือ่ นไหว
๑. การเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน เป็นกิจกรรมที่ต้องฝึกทุกคร้ังก่อนที่จะเริ่มฝึกกิจกรรมอื่นๆต่อไป
ลักษณะการจัดกิจกรรมมีจุดเน้นในเรื่องจังหวะและการเคลื่อนไหวหรือท่าทางอย่างอิสระ การเคล่ือนไหว
ตามธรรมชาติของเดก็ มี ๒ ประเภท ไดแ้ ก่

๑.๑ การเคลื่อนไหวอยู่กับท่ี เช่น ปรบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา ชันเข่า ขยับมือและแขน มือ
และนวิ้ มอื เทา้ และปลายเทา้

๑.๒ การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ เช่น คลาน คืบ เดิน ว่ิง กระโดด ควบม้า ก้าวกระโดด
เขยง่ กา้ วชดิ

๒. การเคลอื่ นไหวท่สี มั พนั ธ์กับเนอ้ื หา เปน็ กจิ กรรมที่จดั ใหเ้ ด็กได้เคลอื่ นไหวร่างกายโดยเน้นการ
ทบทวนเรื่องทไี่ ดร้ ับรจู้ ากกจิ กรรมอื่นและนามาสมั พนั ธ์กับสาระการเรยี นรู้ หรือเร่อื งอ่ืนๆทเี่ ดก็ สนใจ เชน่

๒.๑ การเคลื่อนไหวเลียนแบบ เป็นการเคลื่อนไหวเลียนแบบส่ิงต่างๆรอบตัว เช่น การ
เลียนแบบท่าทางสัตว์ การเลียนแบบท่าทางคน การเลียนแบบเครื่องยนต์กลไกและเครื่องเล่น การเลียบ
แบบปรากฏการธรรมชาติ

๒.๒ การเคลื่อนไหวตามบทเพลง เป็นการเคลื่อนไหวหรือทาท่าทางประกอบเพลง เช่น
เพลงไก่ เพลงข้ามถนน เพลงสวสั ดี

๒.๓ การทาท่าทางกายบริหารประกอบเพลงหรือคาคล้องจอง เป็นการเคล่ือนแบบกาย
บรหิ าร อาจจะมที า่ ทางไมส่ มั พันธก์ ับเนอื้ หาของเพลงหรือคาคล้องจอง เช่น เพลงกามือแบบมือ เพลงออก
กาลงั คาคล้องจองฝนตกพราพรา

๒.๔ การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์ เป็นการเคลื่อนไหวที่ให้เด็กคิดสร้างสรรค์ท่าทางข้ึนเอง
หรืออาจใช้คาถามหรอื คาสัง่ หรอื ใชอ้ ปุ กรณ์ประกอบ เชน่ ห่างหวาย แถบผา้ ริบบ้ิน ถุงทราย

๒.๕ การเคล่อื นไหวหรอื การแสดงทา่ ทางตามคาบรรยายทค่ี รูเล่า หรือเรือ่ งราว หรอื นทิ าน
๒.๖ การเคลื่อนไหวหรอื การแสดงท่าทางตามคาส่ัง เป็นการเคลื่อนไหวหรือทาท่าทางตาม
คาส่ังของครู เชน่ การจดั กลุ่มตามจานวน การทาทา่ ทางตามคาสั่ง
๒.๗ การเคลื่อนไหวหรือการแสดงท่าทางตามข้อตกลง เป็นการเคลื่อนไหวหรือทาท่าทาง
ตามขอ้ ตกลงทไี่ ด้ตกลงไวก้ อ่ นเร่มิ กิจกรรม
๒.๘ การเคล่อื นไหวหรือการแสดงทา่ ทางเป็นผูน้ า ผูต้ าม เป็นการคดิ ท่าทางการเคล่ือนไหว
อยา่ งสรา้ งสรรคข์ องเด็กเองแลว้ ให้เพ่ือนปฏิบตั ิตาม
จากขอบข่ายของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะข้างต้น ผู้สอนควรตระหนักถึงลักษณะของ
การเคลื่อนไหวโดยการใช้ส่วนต่างๆของร่างกายให้ประสาทสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ ด้วยการเคล่ือนไหว
ลักษณะช้า เร็ว นุ่มนวล ทาท่าทางขึงขัง ร่าเริง มีความสุข หรือโศกเศร้า เสียใจ และการเคลื่อนไหวใน
ทิศทางทแี่ ตกตา่ งกนั เพอ่ื เป็นการฝึกให้เด็กได้เคลื่อนไหวท่ีอิสระโดยใช้บริเวณที่อยู่รอบๆตัวเด็ก ได้แก่ การ
เคลือ่ นไหวไปขา้ งหนา้ และขา้ งหลงั ไปขา้ งซ้ายและข้างขวา เคล่ือนตวั ขึน้ และลง หรือหมุนไปรอบตัว โดยให้
มรี ะดับของการเคลอ่ื นไหวสงู กลาง และต่า ในบรเิ วณพนื้ ทีท่ ่ีเด็กต้องการเคลื่อนไหว

๙๗

สอ่ื กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ
๑.เครอื่ งเคาะจงั หวะ เชน่ ฉ่งิ เหลก็ สามเหลย่ี ม กรับ รามะนา กลอง
๒. อปุ กรณ์ประกอบการเคล่ือนไหว เชน่ หนังสอื พิมพ์ ริบบ้ิน แถบผ้า ห่วงหวาย ห่วงพลาสติก
ฮูลาฮูบ ถุงทราย
แนวการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ
1. เรม่ิ จากการทากิจกรรมเคล่ือนไหวพ้นื ฐาน เพื่อเป็นการเตรียม โดยการแตะสมั ผัสส่วนตา่ งๆ
ของรา่ งกาย สารวจการใชส้ ว่ นต่างๆของรา่ งกายในการเคล่อื นไหว
2. อธิบายหรือสร้างข้อตกลงร่วมกนั ในการกาหนดสัญญาณ การใชเ้ ครือ่ งใหจ้ งั หวะ และการ
กาหนดจังหวะ เช่น ข้อตกลงเกย่ี วกับสญั ญาณและจงั หวะ จะใชเ้ คร่อื งเคาะจงั หวะเปน็ การกาหนดจังหวะให้
สมา่ เสมอและชดั เจน อาจจะกาหนดด้ังนี้

๒.๑ ให้จงั หวะ ๑ คร้งั สม่าเสมอ แสดงว่า ให้เดก็ เดินหรอื เคล่ือนไหวไปเรือ่ ยๆตามจังหวะ
๒.๒ ใหจ้ งั หวะ ๒ คร้ังตดิ กัน แสดงว่า ให้เด็กหยุดการเคลื่อนไหว โดยเด็กจะต้องหยุดน่ิงจริงๆ
หากกาลังอยูใ่ นทา่ ใด ก็ต้องหยดุ นง่ิ ในท่าน้ัน จะเคลอื่ นไหวหรือเปล่ยี นทา่ ไมไ่ ด้
๒.๓ ใหจ้ งั หวะรัว แสดงว่า ให้เด็กเคล่ือนไหวอย่างเร็ว หรือเคลื่อนที่เร็วขึ้นแต่ไม่ใช่การวิ่งและ
สง่ เสียงดัง บางกจิ กรรมอาจจะหมายถงึ การเปลีย่ นตาแหน่ง การทาตามคาสั่ง หรือขอ้ ตกลง
๓. ให้เด็กเคล่ือนไหวอย่างอิสระตามความคิด หรือจินตนาการของตนเอง โดยใช้ส่วนต่างๆของ
ร่างกายให้มากท่ีสุด ในขณะเดียวกันต้องคานึงถึงองค์ประกอบพ้ืนฐานในการเคลื่อนไหว ได้แก่ การมช้
ร่างกายตนเอง การใชพ้ ื้นท่ี การเคลอ่ื นไหวอยา่ งมีอิสระ มรี ะดับและทศิ ทาง
๔. ให้เด็กทดลองปฏบิ ัตแิ ละปฏิบัติซา้ เพ่อื ให้เด็กไดเ้ คล่อื นไหวหลากหลายรูปแบบ
๕. หลงั จากปฏบิ ตั กิ จิ กรรมให้เด็กได้พักผ่อนตามอัธยาศัย โดยให้เด็กนั่งกับพ้ืนห้อง ผู้สอนเปิดเพลง
เบาๆ
ข้อเสนอแนะ
1. ควรเริ่มกิจกรรมการเคลอื่ นไหวทเ่ี ปน็ อิสระ และมวี ธิ กี ารทไ่ี มย่ ุ่งยากมากนัก เช่น ใหเ้ ดก็
ไดก้ ระจายอยู่ภายในห้องหรือบรเิ วณทฝี่ ึก และให้เคลื่อนไหวไปตามธรรมชาตขิ องเด็ก
2. ควรให้เด็กไดแ้ สดงออกด้วยตนเองอยา่ งอิสระและเป็นไปตามความนึกคิดของเดก็ เองครไู มค่ วร
ช้ีแนะ
3. ควรเปิดโอกาสให้เด็กคิดหาวธิ ีเคลอ่ื นไหว ท้งั ที่ต้องเคล่อื นท่ีและไม่ตอ้ งเคลื่อนทเ่ี ป็นรายบคุ คล
เป็นคูเ่ ปน็ กลมุ่ ตามลาดับและกลุ่มไมค่ วรเกิน ๕-๖ คน
4. ควรใช้สิง่ ของทห่ี าไดง้ ่าย เชน่ ของเลน่ กระดาษ หนงั สือพมิ พ์ เศษผา้ เชอื ก ท่อนไม้
ประกอบการเคลื่อนไหวและการให้จังหวะ
5. ควรกาหนดจังหวะและสัญญาณนัดหมายในการเคล่อื นไหวต่างๆหรอื เปล่ียนท่าหรอื หยดุ ให้
เด็กทราบเมอ่ื ทากจิ กรรมทุกคร้ัง เช่น เมอื่ ใหจ้ ังหวะ ๑ จังหวะ ใหเ้ ดก็ ทาท่า ๑ ทา่ ฯลฯ
6. ควรสรา้ งบรรยากาศอย่างอสิ ระ ช่วยใหเ้ ดก็ ร้สู ึกอบอุ่น เพลิดเพลิน และร้สู ึกสบายและ
สนกุ สนาน
7. ควรจัดให้มรี ูปแบบของการเคล่ือนไหวท่ีหลากหลาย เพ่ือช่วยใหเ้ ดก็ สนใจมากข้นึ
8. กรณเี ดก็ ไมเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม ครูไมค่ วรใชว้ ิธีบังคบั ควรใหเ้ วลาและโนม้ นา้ วให้เด็กสนใจเขา้ รว่ ม
กจิ กรรมดว้ ยความสมัครใจ
๙. หลังจากเด็กได้ทากิจกรรมแล้ว ต้องให้เด็กได้พักและผ่อนคลายอริยาบถ โดยเปิดเพลงจังหวะ

๙๘

ชา้ ๆเบาๆ
๑๐. การจัดกิจกรรมควรจัดตามตารางกิจวัตประจาวัน และควรจัดให้เป็นที่น่าสนใจ เกิดความ

สนุกสนาน
๒. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์/กจิ กรรมในวงกลม
กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการ

เรียนรู้ มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การสังเกต การคิดแก้ปัญหา การใช้เหตุผล โดยการฝึกปฏิบัติ
ร่วมกนั และการทางานเป็นกล่มุ ทั้งกลมุ่ ย่อยและกล่มุ ใหญ่ เพ่อื ให้เกิดควานคิดรวบยอดเก่ยี วเร่ืองท่ีได้เรียนรู้
สอดคล้องกับจุดประสงค์ดงั นี้

จดุ ประสงค์
๑. เพ่อื ให้เดก็ เข้าใจเนอ้ื หาและเรือ่ งราวในหนว่ ยการจดั ประสบการณ์
๒. เพื่อฝกึ การใช้ภาษาในการฟงั พดู และการถา่ ยทอดเรือ่ งราว
๓. เพ่อื ฝกึ มารยาทในการฟัง การพดู
๔. เพอ่ื ฝึกความมรี ะเบยี บวินัย
๕. เพื่อใหเ้ ดก็ เรียนรผู้ ่านการสังเกต เปรียบเทยี บ
๖. เพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการคิดรวบยอด การคดิ แก้ปัญหาและตัดสนิ ใจ
๗. เพ่ือสง่ เสรมิ การเรียนรูว้ ธิ ีแสวงหาความรู้ เกดิ การเรยี นรจู้ ากการคน้ พบด้วยตนเอง
๘. เพ่ือฝึกให้กล้าแสดงความคิดเห็น ร่วมแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและยอมรับฟังความ
คดิ เห็นของผ้อู น่ื
๙. เพื่อฝึกให้มลี กั ษณะนิสัยใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น
๑๐. เพื่อฝกึ ลักษณะนิสัยใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม
ขอบขา่ ยสาระของกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์/กจิ กรรมวงกลม

สาระทีค่ วรเรียนรู้ สาระในส่วนน้กี าหนดเฉพาะหัวข้อไม่มีรายละเอียด ทั้งน้ีเพื่อประสงค์จะให้
ผสู้ อนสามารถกาหนดรายละเอียดขน้ึ เองให้สอดคลอ้ งกับวยั ความตอ้ งการ ความสนใจของเด็ก อาจยืดหยุ่น
ได้โดยคานึงถึงประสบการณ์ และส่ิงแวดล้อมในชีวิตจริงของเด็ก ผู้สอนสามารถนาสาระท่ีควรเรียนรู้มา
บูรณาการจดั ประสบการณต์ ่างๆใหง้ า่ ยต่อการเรียนรู้ ทั้งน้ีมิได้ประสงค์ให้เด็กท่องจาเน้ือหา แต่ต้องการให้
เดก็ เกิดแนวคดิ หลงั จากนาสาระการเรยี นรูน้ น้ั ๆมาจดั ประสบการณ์ให้เด็กเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่กาหนด
ไว้ นอกจากนี้สาระที่ควรเรียนรู้ยังใช้เป็นแนวทางช่วยผู้สอนกาหนดรายละเอียดและความยากง่ายของ
เนือ้ หาใหเ้ หมาะสมกับพฒั นาการของเด็ก สาระท่ีควรเรียนรู้ประกอบด้วยเร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราว
เก่ียวกับบคุ คลและสถานทแี่ วดล้อมเดก็ ธรรมชาตริ อบตวั และส่งิ ต่างๆรอบตัวเด็ก ดงั น้เี รื่องราวเก่ียวกับตัว
เดก็ เดก็ ควรเรยี นรเู้ กย่ี วกับชื่อ นามสกลุ รูปร่างหน้าตา อวยั วะต่างๆ วิธรี ะวงั รกั ษารา่ งกายให้สะอาดและมี
สุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ การรักษาความปลอดภัยของตนเอง รวมทั้งการ
ปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่างปลอดภัย การรู้จักประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว การปฏิบัติตนเป็น
สมาชกิ ท่ดี ีของครอบครวั และโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน การรู้จักแสดงความคิดเห็นของ
ตนเองและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผ้อู น่ื การกากับตนเอง การเล่นและทาส่ิงต่างๆด้วยตนเองตามลาพังหรือ
กับอื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทท่ีดี การมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม

๑. เร่อื งราวเกีย่ วกบั บคุ คลและสถานท่ีแวดล้อมเดก็ เด็กควรเรียนรูเ้ กีย่ วกับครอบครัว
สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลต่างๆที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือใกล้ชิดหรือมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน

๙๙

สถานท่ีสาคญั วันสาคัญ อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวฒั นธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สาคัญของชาติ
ไทย และการปฏิบตั ิตามวฒั นธรรมในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย หรอื แหลง่ เรียนรจู้ ากภูมิปญั ญาท้องถ่นิ อืน่ ๆ

๒. ธรรมชาตริ อบตวั เดก็ ควรเรยี นร้เู ก่ียวกับช่ือ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ยี นแปลงและ
ความสมั พันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจรการเรียนรู้เกี่ยวกับดิน น้า ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ
แรงและพลังงานในชีวิตประจาวันที่แวดล้อมเด็ก รวมทั้งการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและการรักษาสาธารณ
สมบตั ิ

๓. ส่งิ ต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการใช้ภาษาเพื่อส่ือความหมายในชีวิตประจาวัน
ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง
ปริมาตร น้าหนกั จานวน ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆรอบตัว เวลา เงิน
ประโยชน์การใชง้ าน และการเลือกใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการส่ือสาร
ตา่ งๆ ท่ีใชอ้ ย่ใู นชวี ติ ประจาวนั อยา่ งประหยดั ปลอดภยั และรักษาสง่ิ แวดล้อม

สอ่ื กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม
1. สือ่ ของจริงทอี่ ยใู่ กลต้ ัวและส่อื จากธรรมชาติหรือวสั ดุท้องถิ่น เชน่ ตน้ ไม้ ใบไม้ เปลอื กหอย

เสอ้ื ผา้
2. สอ่ื ที่จาลองขึ้น เช่น ตน้ ไม้ ตุ๊กตาสัตว์
3. สอ่ื ประเภทภาพ เช่น ภาพพลิก ภาพโปสเตอร์ หนงั สือภาพ
4. ส่อื เทคโนโลยี เช่น เคร่อื งบนั ทึกเสยี ง เคร่อื งขยายเสยี ง โทรศัพท์ แมเ่ หล็ก แว่นขยาย

เครอ่ื งชง่ั กล้องถา่ ยรูปดิจติ อล
5. สอ่ื แหล่งเรยี นรู้ เช่น แหลง่ เรยี นรภู้ ายในและนอกสถานศึกษา เชน่ แปลงเกษตร สวนผกั

สมนุ ไพร ร้านคา้ สวนสัตว์ แหล่งประกอบการในทอ้ งถ่ิน
แนวการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์-กจิ กรรมในวงกลม
การจัดกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม จัดไดห้ ลายวิธี ได้แก่

1. การสนทนาหรือการอภปิ ราย เปน็ การพูดคยุ ซักถามระหว่างเด็กกับครู หรือเด็กกบั เดก็ เป็น
การส่งเสริมพัฒนาการทางงภาษาด้านการพูดและการฟัง โดยการกาหนดประเด็นในการสนทนาหรือ
อภปิ รายเด็กจะได้แสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ครูหรือผู้สอนเปิดโอกาสให้เด็ก
ซักถาม โดยใช้คาถามกระตุ้นหรือเล่าประสบการณ์ที่แปลกใหม่ นาเสนอปัญหาท่ีท้าทายความคิด การ
ยกตัวอย่าง การใช้ส่ือประกอบการสนทนาหรือการอภิปรายควรใช้ส่ือของจริง ของจาลอง รูปภาพ หรือ
สถานการณ์จาลอง

2. การเลา่ นิทานและการอ่านนทิ าน เปน็ กจิ กรรมทค่ี รหู รอื ผู้สอนเล่าหรอื อ่านเรอื่ งราวจากนทิ าน
โดยการใช้น้าเสียงประกอบการเล่าแตกต่างตามบุคลิกของตัวละคร ซ่ึงครูหรือผู้สอนควนเลือกสาระของ
นิทานใหเ้ หมาะสมกบั วัย สื่อท่ใี ชอ้ าจเป็นหนังสือนิทาน หนังสือ แผ่นภาพ หุ่นมือ หุ่นน้ิวมือ หรือการแสดง
ท่าทางประกอบการเล่าเร่ือง โดยครใู ชค้ าถามเพอ่ื กระตุ้นการเรียนรู้ เชน่ ในนิทานเรื่องน้มี ตี วั ละครอะไรบ้าง
เหตุการณ์ในนิทานเร่ืองนี้เกิดข้ึนที่ไหน เวลาใด หรือ ลาดับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในนิทาน นิทานเร่ืองนี้มี
ปัญหาอะไรบา้ ง และเด็กๆชอบเหตุการณ์ใดในนทิ านเรื่องน้มี ากที่สุด

๓. การสาธิต เป็นกจิ กรรมทีเ่ ดก็ ไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณต์ รง โดยแสดงหรือทาสิง่ ทตี่ อ้ งการให้
เด็กไดส้ งั เกตและเรียนรู้ตามขั้นตอนของกิจกรรมนั้นๆ และเด็กได้อภิปรายและร่วมกันสรุปการเรียนรู้ การ
สาธติ ในบางคร้ังอาจใหเ้ ดก็ อาสาสมคั รเป็นผสู้ าธิตร่วมกบั ครหู รือผสู้ อน เพื่อนาไปสู่การปฏบิ ตั จิ รงิ ด้วยตนเอง

๑๐๐

เช่น การเพาะเมลด็ การประกอบอาหาร การเปา่ ลกู โปง่ การเลน่ เกมการศกึ ษา
๔. การทดลอง/การปฏิบัติ เป็นกจิ กรรมท่ีจดั ให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง จากการลงมือปฏบิ ตั ิ

ทดลอง การติดแก้ปญั หา มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะคณิตศาสตร์ ทักษะภาษา ส่งเสริมให้
เด็กเกิดข้อสงสัย สืบค้นคาตอบด้วยตนเอง ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างง่าย สรุปผลการทดลอง
อภปิ รายผลการทดลอง และสรุปการเรียนรู้ โยกจิ กรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ง่ายๆ เช่น การเล้ียงหนอน
ผเี สื้อ การปลกู พืช ฝกึ การสังเกตการณ์ไหลของน้า

๕. การประกอบอาหาร เป็นกจิ กรรมที่จดั ให้เด็กได้เรียนรูผ้ า่ นการทดลองโดยเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กได้
ลงมือทดลองและปฏิบัติด้วยตนเองเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของผัก เนื้อสัตว์ ผลไม้ด้วยวิธการต่างๆ เช่น
ต้ม น่ึง ผัด ทอด หรือการรับประทานสด เด็กจะได้รับประสบการณ์จากการสังเกตการเปล่ียนแปลงของ
อาหาร การรับรู้รสชาติและกลิ่นของอาหาร ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสและการทางานร่ วมกัน เช่นการ
ทาอาหารจากไข่

๖. การเพาะปลูก เป็นกจิ กรรมทีเ่ น้นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ซึง่ เดก็ จะได้
เรียนรู้การบูรณาการจะทาให้เด็กได้รีบประสบการณ์โดยทาความเข้าใจความต้องการของส่ิงมีชีวิตในโลก
และช่วยให้เดก็ เขา้ ใจความคิดรวบยอดเกีย่ วกบั ส่ิงทีอ่ ยูร่ อบตวั โดยการสงั เกต เปรียบเทียบ และการคิดอย่าง
มีเหตผุ ล ซง่ึ เปน็ การเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กไดค้ น้ พบและเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

๗. การศึกษานอกสถานที่ เป็นการจดั กจิ กรรมทศั นศกึ ษาท่ีให้เด็กไดเ้ รยี นรู้สภาพความเป็นจริงนอก
ห้องเรียน จากแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา หรือแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น ห้องสมุด สวนสมุนไพร วัด
ไปรษณีย์ พพิ ธิ ภัณฑ์ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์เรียนรู้แก่เด็ก โดยครูและเด็กร่วมกันวางแผนศึกษา
สง่ิ ท่ีต้องการเรียนรู้ การเดนิ ทาง และสรปุ ผลการเรียนรทู้ ่ีไดจ้ ากการไปศึกษานอกสถานที่

๘. การเล่นบทบาทสมมติ เป็นกิจกรรมให้เด็กสมมติตนเองเป็นตัวละคร และแสดงบทบาทต่างๆ
ตามเน้ือเรื่องในนิทาน เร่อื งราวหรอื สถานการณ์ตา่ งๆโดยใช้ความรู้สึกในการแสดง เพอ่ื ให้เด็กเขา้ ใจเร่อื งราว
ความรสู้ ึกและพฤตกิ รรมของตนเองและผู้อื่นๆควรใช้สื่อประกอบการเล่นสมมติ เช่น หุ่นสวมศีรษะ ที่คาด
ศรี ษะรูปคนและสตั ว์รูปแบบตา่ งๆ เคร่อื งแตง่ กาย และอุปกรณข์ องจริงชนิดตา่ งๆ

๙. การรอ้ งเพลงทอ่ งคาคลอ้ งจอง เป็นกิจกรรมทีจ่ ัดให้เดก็ ได้เรียนรูเ้ กย่ี วกับภาษา จังหวะ และการ
แสดงทา่ ทางใหส้ มั พันธ์กบั เนื้อหาของเพลงหรือคาคล้องจอง ครูหรือผู้สอนควรเลือกให้เหมาะสมกับวัยของ
เด็ก

๑๐. การเล่นเกม เป็นกิจกรรมที่นาเกมการเรียนรู้เพ่ือฝึกทักษะการคิด การแก้ปัญหา และการ
ทางานเป็นกลมุ่ เกมทีน่ ามาเล่นไมค่ วรเน้นการแข่งขัน

๑๑. การแสดงละคร เป็นกิจกรรมท่ีเด็กจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการลาดับเรื่องราว การเรียงลาดับ
เหตกุ ารณ์ หรือเร่อื งราวจากนิทาน การใชภ้ าษาในการสอ่ื สารของตัวละคร เพื่อใหเ้ ด็กได้เรียนรู้และทาความ
เข้าใจบุคลิก ลักษณะของตัวละครที่เด็กสวมบทบาท สื่อที่ใช้ เช่น ชุดการแสดงที่สอดคล้องกับบทบาทท่ี
ไดร้ ับ บทสนทนาท่ีเด็กใช้ฝกึ สนทนาประกอบการแสดง

๑๒. การใช้สถานการณ์จาลอง เป็นกิจกรรมที่เด็กได้เรียนรู้แนวทางการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ใน
สถานการณ์ที่ครูหรือผู้สอนกาหนด เพื่อให้เด็กได้ฝึกการแก้ปัญหา เช่น น้าท่วม โรคระบาด พบคนแปลก
หน้า

ขอ้ เสนอแนะ
๑. การจัดกิจกรรมควรให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้าและมีโอกาสค้นพบ
ตวั เองใหม้ ากทสี่ ุด

๑๐๑

๒. ผู้สอนควรยอมรับความคิดเห็นที่หลากหลายของเด็กและให้โอกาสเด็กได้ฝึกคิดและแสดงความ
คิดเห็น ฝกึ ตงั้ สงั เกต

๓. การจดั กจิ กรรมเชิญวิทยากรมาใหค้ วามรู้เพมิ่ เติม เพ่อื ชว่ ยให้เด็กสนใจและสนุกสนานยงิ่ ข้ึน
๔. ในท่ีเด็กทากิจกรรม หรือหลังจากทากิจกรรมเสร็จแล้ว ผู้สอนควรใช้คาถามปลายเปิดที่ชวนให้
เด็กคดิ หลกี เลี่ยงการคาถามท่ีมีคาตอบ “ใช่” “ไม่ใช่” หรือมีคาถามให้เด็กเลือกและผู้สอนควรให้เวลากับ
เดก็ คดิ คาตอบ
๕. ช่วงระยะเวลาทจี่ ดั กจิ กรรมสามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม โดยคานึงถึงความสนใจของ
เด็กและความเหมาะสมของกิจกรรมน้ันๆ เช่น กิจกรรมการศึกษานอกสถานท่ี การประกอบอาหาร การ
ปลกู พชื อาจใช้เวลานานกว่าทก่ี าหนดไว้
๖. ควนสรุปส่ิงต่างๆที่ได้เรียนรู้ให้เด็กเข้าใจ ซ่ึงครูหรือผู้สอน อาจใช้คาถาม เพลง คาคล้องจอง
เกมการเรยี นรู้ แผนภูมิ แผนผังกราฟฟิก ฯลฯ เพื่อนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั

๓. กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
กิจกรรมสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาการกระบวนการคิด การรับรู้เกี่ยวกับความงาม และ
ส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์และจินตนาการ โยใช้
กจิ กรรมศลิ ปะหรือกจิ กรรมอ่ืนที่เหมาะสมกบั พัฒนาการของเด็กแต่ละวยั และสอดคล้องกบั จุดประสงคด์ ังนี้
จดุ ประสงค์

๑. เพื่อพฒั นากล้ามเน้ือมือ และตาให้ประสานสมั พนั ธ์กัน
๒. เพ่ือใหเ้ ดก็ เกดิ ความเพลดิ เพลิน ชนื่ ชมในสง่ิ ทีส่ วยงาม
๓. เพ่อื สง่ เสริมการปรับตวั ในการทางานร่วมกับผูอ้ ื่น
๔. เพ่อื สง่ เสรมิ การแสดงออกและความมั่นใจในตนเอง
๕. เพอ่ื ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และทักษะทางสงั คม
๖. เพือ่ ส่งเสริมทกั ษะทางภาษา
๗. เพื่อฝึกทกั ษะการสงั เกต และการแกป้ ญั หา
๘. เพื่อส่งเสริมความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ และจนิ ตนาการ
ขอบขา่ ยการจดั กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
การจัดกิจกรรมสรา้ งสรรค์ ประกอบดว้ ย
๑. การวาดภาพและการระบายสี เช่น การวาดภาพดว้ ยสีเทียน หรอื สไี ม้ การวาดภาพด้วยสนี า้
๒. การเลน่ กบั สีนา้ เชน่ การหยดสี การเทสี การเป่าสี ละเลงสดี ้วยนว้ิ มือ
๓. การพิมพภ์ าพ เชน่ การพิมพ์ภาพดว้ ยพชื การพิมพ์ภาพด้วยวสั ดุตา่ งๆ
๔. การปน้ั เช่น การปั้นดินเหนียว การป้ันแปง้ ปนั้ การป้ันดินน้ามัน การปนั้ แป้งขนมปัง
๕. การพับ ฉีก ตดั ปะ เช่น การพับใบตอง การฉีกกระดาษเส้น การตดั ภาพต่างๆ
๖. การประติดวัสดุ
๗. การประดิษฐ์ เชน่ การประดิษฐ์เศษวสั ดุ การรอ้ ย การสาน
สื่อกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์
๑. การวามดภาพและระบายสี

๑.๑ สีเทียนแท่งใหญ่ สีไม้ สชี อลก์ สีนา้
๑.๒ พูก่ นั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒)

๑๐๒

๑.๓ กระดาษ
๑.๔ เสือ้ คลุม หรือผ้ากนั เปอ้ื น
๒. การเลน่ กับสี
๒.๑ การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี ้า
๒.๒ การหยดสี มกี ระดาษ หลอดกาแฟ พ่กู นั สนี ้า
๒.๓ การพบั สี มี กระดาษ สีน้า พู่กนั
๒.๔ การเทสี มี กระดาษ สีนา้
๒.๕ การละเลงสี มี กระดาษ สีนา้ แปง้ เปยี ก
๓. การพมิ พ์ภาพ
๓.๑ แมพ่ มิ พต์ า่ งๆจากของจรงิ เช่น น้ิวมอื ใบไม้ กา้ นกล้วย
๓.๒ แมพ่ มิ พจ์ ากวัสดุอืน่ ๆ เชอื ก เสน้ ด้าย ตรายาง
๓.๓ กระดาษ ผา้ เชด็ มอื สโี ปสเตอร์ (สีน้า สีฝ่นุ ) ฯลฯ)
๔. การป้ัน เช่น ดินน้ามนั ดนิ เหนียว แป้งโดว์ แผน่ รองป้นั แม่พิมพ์รปู ตา่ งๆ ไมน้ วดแป้ง
๕. การพับ ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวัสดุอ่ืนๆที่จะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก
ปลายมน กาวนา้ หรอื แปง้ เปยี ก ผ้าเช็ดมือ
๖. การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุต่างๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผ้า เศษไหม
กาว กรรไกร สี ผา้ เช็ดมือ
๗. การรอ้ ย เชน่ ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย
๘. การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว
แนวการจัดกจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์
๑. เตรียมจัดโตะ๊ และอปุ กรณใ์ ห้พร้อม และเพียงพอกอ่ นทากจิ กรรม โดยจัดไว้หลายๆกิจกรรมและ
อยา่ งนอ้ ย ๓-๕ กจิ กรรม เพอ่ื ให้เด็กมีอสิ ระในการเลือกทากิจกรรมทีส่ นใจ
๒. ควรสร้างข้อตกลงในการทากิจกรรม เพือ่ ฝกึ ใหเ้ ดก็ มีวนิ ยั ในการอย่รู ว่ มกัน
๓. การจดั ให้เดก็ ทากจิ กรรม ควรให้เด็กเลือกทากิจกรรมอย่างมีระเบียบ และทยอยเข้ากิจกรรมโย
จัดโตะ๊ ละ ๕-๖ คน
๔.การเปล่ียนแปลงและหมุนเวียนทากิจกรรม ต้องสร้างข้อตกลงกับเด็กให้ชัดเจน เช่น หาก
กิจกรรมใดมีเพ่ือครบจานวนทก่ี าหนดแล้ว ให้คอยจนกวา่ จะมที ่วี ่าง หรือใหท้ ากิจกรรมอน่ื กอ่ น
๕. กิจกรรมใดเปน็ กจิ กรรมใหม่ หรือการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ใหม่ ครูจะต้องอธิบายวิธีการทา วิธีการใช้
วธิ ีการทาความสะอาด และการเกบ็ ของเขา้ ท่ี
๖. เม่ือทางานเสร็จหรือหมดเวลา ควรเตือนให้เด็กเก็บวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเคร่ืองใช้เข้าที่และ
ช่วยกันดูแลห้องใหส้ ะอาด
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรจัดการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ให้เดก็ ทาทุกวัน วนั ละ ๓-๕ กิจกรรม และให้เด็กเลือก
ทาอย่างน้อย ๑-๒ กิจกรรมตามความสนใจ ควรเน้นกระบวนการทางศิลปะของเด็กและไม่เน้นให้เด็กทา
เหมือนกนั ท้งั หอ้ ง
๒. การจัดเตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ ควรพยายามหาวัสดุทอ้ งถิน่ มาใช้ก่อนเปน็ อันดับแรก
๓. กอ่ นใหเ้ ด็กทากิจกรรม ต้องอธิบายวิธีการใช้วัสดุท่ีถูกต้องให้เด็กทราบพร้อมท้ังสาธิตให้เด็กดู
จนเขา้ ใจ เชน่ การใชพ้ กู่ นั หรอื กาว จะต้องปาดพู่กันหรือกาวนั้นกับขอบพยัญชนะที่ใส่ เพื่อไม่ให้กาวหรือสี

๑๐๓

ไหลเลอะเทอะ
๔. ควรให้เด็กทากจิ กรรมอสิ ระ หรอื เปน็ กล่มุ ย่อย เพอื่ ฝกึ การวางแผนและการทางานร่วมกับผูอ้ ่ืน
๕. ควรแสดงความสนใจ และชน่ื ชมผลงานของเดก็ ทกุ คน และนาผลงานของเด็กทุกคนหมุนเวียน

จดั แสดงทปี่ า้ ยนเิ ทศ
๖. หากพบว่าเด็กคนใดสนใจทากิจกรรมเดียวทุกคร้ัง ควรชักชวนให้เปลี่ยนทากิจกรรมอื่นบ้าง

เพราะกิจกรรมสร้างสรรค์แต่ละประเภทพัฒนาเด็กแต่ละด้านแตกต่างกัน และเมื่อเด็กทาตามท่ีแนะนาได้
ควรให้แรงเสรมิ ทางบวกทุกคร้งั

๗. เม่ือเด็กทางานเสร็จ ควรให้เล่าเรอ่ื งเกยี่ วกับสิ่งท่ีทาหรือวาดภาพ โดยเขียนด้วยตัวบรรจงและ
ให้เดก็ เหน็ ลีลามอื ในการเขียนท่ีถกู ต้อง

๘. เกบ็ ผลงานชิน้ ทีแ่ สดงความก้าวหนา้ ของเด็กเปน็ รายบุคคลเพ่อื เป็นข้อมูลสังเกตพัฒนาการของ
เดก็

๔. กิจกรรมการเลน่ ตามมุม
กิจกรรมการเล่นตามมุม เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมเล่น หรือมุม
ประสบการณ์ หรือกาหนดเป็นพืน้ ท่เี ล่นท่จี ดั ไว้ในห้องเรียน ซึ่งพื้นที่หรือมุมต่างๆเหล่านี้ เด็กมีโอกาสเลือก
เลน่ ไดอ้ ยา่ งเสรตี ามความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้งเป็นรายบุคคลและกลุ่มย่อย เด็กอาจจะเลือก
ทากิจกรรมทีค่ รจู ัดเสรมิ ขน้ึ เชน่ เกมการศึกษา เคร่ืองเล่นสมั ผสั โยจดั ใหส้ อดคล้องกบั จุดประสงค์
จุดประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก และการประสานสัมพันธ์
ระหวา่ งมอื กับตา

๒. เพื่อส่งเสริมให้รู้จักปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่น มีวินัยเชิงบวก รู้จักการรอคอย
เออ้ื เฟ้ือเผ่ือแผ่ และให้อภัย

๓. เพอื่ สง่ เสริมใหเ้ ด็กมีโอกาสปฏสิ มั พันธ์กบั เพอื่ น ครู และส่ิงแวดล้อม
๔. เพื่อสง่ เสรมิ พฒั นาการทางภาษา
๕. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้เดก็ มีนิสัยรักการอา่ น
๖. เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กเกิดการเรยี นรดู้ ้วยตนเองจากการสารวจ การสงั เกต และการทดลอง
๗. เพ่ือส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์และจนิ ตนาการ
๘. เพื่อส่งเสริมการคดิ แก้ปญั หา การคดิ อยา่ งมเี หตผุ ลเหมาะสมกบั วยั
๙. เพือ่ ส่งเสรมิ ให้เด็กฝึกคิด วางแผน และตัดสนิ ใจการทากจิ กรรม
๑๐ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้มีทักษะพ้นื ฐานทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์
๑๑. เพอื่ ฝึกการทางานรว่ มกัน ความรบั ผิดชอบ และระเบียบวนิ ัย
ขอบข่ายของการจดั กิจกรรมการเลน่ ตามมุม
๑. เปดิ โอกาสให้เด็กเลือกทาศลิ ปะสรา้ งสรรค์และเล่นตามมุมเล่นในช่วงเวลาเดียวกันอย่าง
อิสระ
๒. การจัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ ควรจัดอย่างน้อย ๓-๕ มุม ดังตัวอย่างมุมเล่นหรือ
มมุ ประสบการณ์

๒.๑ มุมบลอ็ ก เปน็ มุมทสี่ ง่ เสรมิ ให้เด็กเรียนรเู้ ก่ียวกับมติ สิ มั พนั ธ์เกยี่ วการสรา้ ง
๒.๒ มุมหนังสือ เป็นมุมที่เด็กเรียนรู้ เก่ียวกับภาษา จากการฟัง การพูด การอ่าน การ

๑๐๔

เล่านทิ าน หรือการยืม-คนื หนังสอื
๒.๓ มุมวิทยาศาสตร์หรือมุมธรรมชาติศึกษา เป็นมุมท่ีเด็กได้เรียนรู้ธรรมชาติรอบตัว

ผา่ นการเลน่ ทดลองอย่างงา่ ย
๒.๔ มุมเคร่ืองเล่นสัมผัส เป็นมุมที่เด็กได้ฝึกประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา การ

สรา้ งสรรค์ เชน่ การรอ้ ย การสานการต่อเข้า การถอดออก ฯลฯ
๒.๕ มุมบทบาทสมมติ เป็นมุมท่เี ด็กไดเ้ รียนรูเ้ กยี่ วกับบทบาทของแต่ละอาชีพหรือแต่ละ

หน้าท่ที ี่เด็กเลยี นแบบบทบาท
ส่อื กิจกรรมการเล่นตามมุม
๑. มมุ บทบาทสมมติ อาจจดั เปน็ มุมเลน่ ต่างๆ เช่น
๑.๑ มุมบ้าน
๑) ของเล่นเคร่ืองใช้ในครัวขนาดเล็ก หรือของจาลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้า

เขยี ง มดี พลาสติก หม้อ จาน ช้อน ถว้ ยชาม กะละมัง
๒) เครอ่ื งเลน่ ตกุ๊ ตา เสอ้ื ผา้ ตุ๊กตา เปลเดก็ ต๊กุ ตา
๓) เคร่ืองแต่งบ้านจาลอง เช่น ชุดรับแขก โต๊ะเคร่ืองแป้ง หมอนอิง หวี ตลับแป้ง

กระจกขนาดเหน็ เต็มตัว
๔) เครื่องแต่งกายบุคคลอาชีพต่างๆท่ีใช้แล้ว เช่น ชุดเครื่องแบบทหาร ตารวจ ชุด

เสื้อผา้ ผใู้ หญช่ ายและหญิง รองเท้ากระเปา๋ ถอื ที่ไม่ใช้แลว้
๕) โทรศัพท์ เตารีดจาลอง ทร่ี ีดผา้ จาลอง
๖) ภาพถา่ ยและรายการอาหาร

๑.๒ มุมหมอ
๑) เคร่ืองเล่นจาลองแบบเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การรักษาผู้ป่วย เช่น หูฟัง เส้ือ

คลุมหมอ
๒) อปุ กรณส์ าหรบั การเรียนแบบบันทกึ ขอ้ มลู ผปู้ ว่ ย เช่น กระดาษ ดนิ สอ
๓) เครื่องช่งั น้าหนัก วดั สว่ นสงู

๑.๓ มมุ ร้านค้า
๑) กล่องหรือขวดผลติ ภณั ฑ์ตา่ งๆที่ใชแ้ ลว้
๒) ผลไม้จาลอง ผกั จาลอง
๓) อุปกรณป์ ระกอบการเล่น เช่น เคร่ืองคิดเลข ลูกคดิ ธนบัตรจาลอง
๔) ปา้ ยชื่อร้าน
๕) ปา้ ยชื่อผลไม้ ผกั จาลอง

๒. มุมบล็อก
๒.๑. ไม้บล็อกหรือแท่งไม้ท่ีมีขนาดและรูปทรงต่างๆกัน เช่น บล็อกตัว บล็อกโต๊ะ จานวน

ตง้ั แต่ ๑๐๐ ช้ินข้นึ ไป
๒.๒. ของเลน่ จาลอง เช่น รถยนต์ เครอื่ งบิน รถไฟ คน สัตว์ ต้นไม้
๒.๓. ภาพถา่ ยตา่ งๆ
๒.๔. ทีจ่ ัดเก็บไมบ้ ล็อกหรือแท่งไมอ้ าจเปน็ ช้ัน ลังไมห้ รือพลาสตกิ แยกตามรูปทรง ขนาด

๓. มุมหนงั ส่ือ
๓.๑.หนังสือภาพนิทาน หนงั สือภาพทม่ี ีคาและประโยคสนั้ ๆพรอ้ มภาพ

๑๐๕

๓.๒. ชัน้ หรอื ทีว่ างหนงั สือ
๓.๓. อปุ กรณต์ ่างๆทใ่ี ชส้ ร้างบรรยากาศการอ่าน เช่น เสอื่ พรม หมอน
๓.๔. สมดุ เซ็นยมื หนงั สอื กลับบา้ น
๓.๕. อุปกรณส์ าหรับการเขยี น
๓.๖. อุปกรณเ์ สริม เช่น เคร่อื งเสยี ง แผน่ นิทานพรอ้ มหนงั สือนิทาน หฟู งั
๔. มุมวิทยาศาสตร์ หรอื มุมธรรมชาติศึกษา
๔.๑ วสั ดตุ า่ งๆจากธรรมชาติ เชน่ เมล็ดพชื ต่างๆ เปลอื กหอย ดิน หิน แร่ ฯลฯ
๔.๒ เครื่องมือเครื่องใช้ในการสารวจ สังเกต ทดลอง เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก เข็มทิศ
เคร่อื งช่ัง
แนวการจดั กิจกรรมเลน่ ตามมมุ
๑. แนะนามมุ เลน่ ใหม่ เสนอแนะวธิ ีใช้ การเล่นของเล่นบางชนิด
๒. เดก็ และครูรว่ มกันสร้างขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั การเลน่
๓. ครูเปิดโอกาสใหเ้ ด็กคิด วางแผน ตดั สินใจเลอื กเล่นอย่างอิสระ เลือกทากิจกรรมที่จัดข้ึน
ตามความสนใจของเด็กแตล่ ะคน
๔. ขณะเดก็ เลน่ /ทางาน ครอู าจช้แี นะ หรือมีส่วนรว่ มในการเลน่ กบั เดก็ ได้
๕. เด็กต้องการความชว่ ยเหลอื และคอยสงั เกตพฤติกรรมการเล่นของเด็กพร้อมทั้งจดบันทึก
พฤติกรรมที่นา่ สนใจ
๖. เตอื นให้เด็กทราบล่วงหน้ากอ่ นหมดเวลาเลน่ ประมาณ ๓-๕ นาที
๗. ใหเ้ ดก็ เกบ็ ของเลน่ เข้าท่ีให้เรยี บร้อยทกุ ครัง้ เม่ือเสรจ็ สิ้นกจิ กรรม
ขอ้ เสนอแนะ
๑. ขณะเด็กเลน่ ครตู อ้ งสังเกตความสนใจในการเลน่ ของเด็ก หากพบว่ามุมใด เด็กส่วนใหญ่
ไม่สนใจท่ีจะเล่นควรเปล่ียนหรือจัดส่ือในมุมเล่นใหม่ เช่น มุมบ้าน อาจดัดแปลงหรือเพิ่มเติม หรือ
เปลย่ี นเป็นมมุ รา้ นคา้ มุมเสริมสวย มุมหมอ ฯลฯ
๒. หากมุมใดมจี านวนเด็กในมุมมากเกินไปควรเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กเลอื กเล่นมมุ ใหม่
๓. หากเด็กเลือกมุมเล่นมุมเดียวเป็นระยะเวลานาน ควรชักชวนให้เด็กเลือกมุมอ่ืนๆด้วย
เพ่ือให้เด็กมปี ระสบการณเ์ รียนรใู้ นดา้ นอนื่ ๆด้วย
๔. การจัดส่ือหรือเครื่องเล่นในแต่ละมุม ควรมีการทาความสะอาด หรือสับเปล่ียนหรือ
เพิ่มเติมเป็นระยะโยคานงึ ถึงลาดับขั้นการเรียนรู้ เพ่ือใหเ้ ด็กเกิดการเรียนร้ทู ี่หลากหลาย

๕. กิจกรรมการเลน่ กลางแจง้

กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียน เพ่ือ
เคลอื่ นไหวร่างกายออกกาลงั และแสดงออกอย่างอิสระ โดยยดึ ความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละ
คนเปน็ หลักโยจดั ให้สอดคล้องกบั จุดประสงค์ ดังน้ี

จดุ ประสงค์
๑. เพอื่ พฒั นากล้ามเนือ้ ใหญ่ กล้ามเนือ้ เลก็ และการประสานสมั พันธร์ ะหว่างอวัยวะต่างๆ
๒. เพอ่ื สง่ เสริมใหม้ รี ่างกายแขง็ แรง สุขภาพดี
๓. เพอ่ื สง่ เริมให้เกดิ ความสนุกสนาน ผอ่ นคลายความเครียด

๑๐๖

๔. เพอ่ื ปรับตวั เลน่ และทางานร่วมกบั ผ้อู น่ื
๕. เพ่ือเรียนรูก้ ารระมัดระวงั รักษาความปลอดภัยทั้งของตนเองและของผูอ้ ื่น
๖. เพื่อฝึกการตดั สินใจ และแก้ไขปัญหาดว้ ยตนเอง
๗. เพ่อื สง่ เสรมิ ใหม้ ีความอยากรอู้ ยากเหน็ สิ่งต่างๆที่แวดล้อมรอบตวั
๘. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตา่ งๆ เชน่ การสงั เกต การเปรียบเทยี บ จาแนก ฯลฯ
ขอบข่ายของกิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง
ลกั ษณะกจิ กรรมการเลน่ กลางแจ้งที่ครูควรจดั ใหเ้ ด็กเลน่ ไดแ้ ก่
๑. การเลน่ เครื่องเล่นสนาม

เคร่ืองเล่นสนาม หมายถึง เครื่องเล่นที่อาจเป็นปีนป่าย หมุน ซึ่งทาออกมาในรูปแบบ
ต่างๆเ

๑) เครือ่ งเล่นสาหรบั ปนี ปา่ ย หรอื ตาข่ายสาหรับปนี เล่น
๒) เคร่ืองเล่นสาหรับโยกหรอื ไกว เช่น มา้ ไม้ ชงิ ชา้ ม้าน่ังโยก ไม้กระดก
๓) เครื่องเลน่ สาหรับหมุน เชน่ ม้าหมุน พวงมาลัยรถสาหรับหมุนเลน่
๔) ราวโหนขนาดเลก็ สาหรับเดก็
๕) ต้นไม้สาหรับเดนิ ทรงตัว หรอื ไม้กระดานแผ่นเดียว
๖) เครือ่ งเล่นประเภทล้อเล่อื น เชน่ รถสามลอ้ รถลากจูง
๒. การเลน่ ทราย
ทรายเป็นส่ิงที่เด็กๆชอบเล่น ท้ังทรายแห้ง ทรายเปียก นามาก่อเป็นรูปต่างๆได้และ
สามารถนาวัสดุอื่นมาประกอบการเล่นตกแตง่ ได้ เชน่ ก่ิงไม้ ดอกไม้ เปลือกหอย พมิ พข์ นม ท่ตี ักทราย
ปกติบ่อทรายจะอยู่กลางแจ้ง โยอาจจัดให้อยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้หรือสร้างหลังคาทา
ขอบกน้ั เพอื่ มใิ ห้ทรายกระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมน้าให้ชื้นเพื่อเด็กจะได้ก่อเล่น นอกจากน้ี ควรมี
วิธการปดิ กัน้ มิใหส้ ัตวเ์ ล้ียงลงไปทาความสกปรกในบา่ ทรายได้
๓. การเล่นนา้
เด็กท่ัวไปชอบเล่นนา้ มาก การเลน่ น้านอกจากสร้างความพอใจและคลายความเครียด
ให้เด็กไดแ้ ล้วยงั ทาให้เด็กเกิดการเรยี นรู้อีกดว้ ย เช่น เรียนรู้ทักษะการสงั เกต จาแนกเปรียบเทยี บปรมิ าตร
อปุ กรณท์ ี่ใสน่ า้ อาจเปน็ ถงั ท่สี ร้างข้ึนโดยเฉพาะหรืออ่างน้าวางบนขาต้ังที่มั่นคง ความ
สงู พอทเ่ี ดก็ จะยืนได้พอดี และควรมีผ้าพลาสติกกันเส้ือผา้ เปยี กให้เด็กใช้คลุมระหว่างเลน่
๔. การเลน่ สมมติในบ้านตุ๊กตาหรือบ้านจาลอง
เป็นบ้านจาลองสาหรับให้เด็กเล่น จาลองจากบ้านจริงๆอาจทาด้วยเศษวัสดุประเภท
ผ้าใบ กระสอบป่าน ของจริงทีไ่ ม่ใชแ้ ล้ว เช่น หม้อ เตา ชาม อ่าง เตารีด เคร่ืองครัว ตุ๊กตาสมมติเป็นบุคคล
ในครอบครัว เส้ือผ้าผใู้ หญท่ ่ไี มใ่ ช้แลว้ สาหรับผลัดเปล่ียน มีการตกแต่งบริเวณใกล้เคียงให้เหมือนบ้านจริงๆ
บางครง้ั อาจจัดเป็นร้านขายของ สถานท่ีทางานต่างๆเพ่ือให้เดก็ เล่นสมมตตามจินตนาการของเดก็ เอง
๕. การเล่นในมุมช่างไม้
เด็กต้องการออกแรงเคาะ ตอก กิจกรรมการเล่นในมุมช่างไม้นี้จะช่วยในการพัฒนา
กล้ามเนอื้ ใหแ้ ข็งแรง ชว่ ยฝึกการใชม้ ือและการประสานสัมพันธร์ ะหว่างมอื กับตา นอกจากนี้ยังฝึกให้รักงาน
และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์อกี ด้วย
๖. การเลน่ เกมการละเล่น
กิจกรรมการเล่นเกมการละเล่นท่ีจัดให้เด็กเล่น เช่น เกมการละเล่นของไทย เกม

๑๐๗

การละเล่นของท้องถนิ่ เช่น มอญซ่อนผ้า รีรีขา้ วสาร แม่งู โพงพาง ฯลฯ การละเล่นเหล่าน้ี ต้องใช้บริเวณท่ี
กว้าง การเลน่ อาจเลน่ เป็นกลมุ่ เลก็ /กลุม่ ใหญ่กไ็ ด้ ก่อนเล่นครูอธบิ ายกติกาและสาธิตให้เด็กเข้าใจ ไม่ควรนา
เกมการละเลน่ ที่มกี ตกิ าย่งุ ยากและเน้นการแข่งขันแพ้ชนะ มาจัดกิจกรรมให้กับเด็กวัยน้ี เพราะเด็กจะเกิด
ความเครียดและสรา้ งความร้สู ึกท่ีไม่ดตี ่อตนเอง

ส่อื กจิ กรรมการเล่นกลางแจง้
๑. การเลน่ เครอ่ื งเล่นสนาม
เครอ่ื งเล่นสนาม หมายถึง เครื่องเล่นท่ีเด็กอาจปีนป่าย หมุน ซ่ึงทาออกมาในรูปแบบต่างๆ

เช่น
๑.๑ เครื่องเลน่ สาหรับปีนปา่ ย หรือตาขา่ ยสาหรับปนี เล่น
๑.๒ เครอ่ื งเลน่ สาหรับโยกหรือไกว เชน่ มา้ ไม้ ชงิ ช้า ม้านัง่ โยก ไมก้ ระดก
๑.๓ เคร่อื งเล่นสาหรบั หมุน เช่น มา้ หมุน พวงมาลยั รถสาหรับหมนุ เลน่
๑.๔ ราวโหนขนาดเล็กสาหรบั เดก็
๑.๕ ต้นไมส้ าหรับเดินทรงตวั หรอื ไม้กระดานแผ่นเดียว
๑.๖ เครือ่ งเล่นประเภทลอ้ เลื่อน เชน่ รถสามล้อ รถลากจูง

๒. การเลน่ ทราย
ทรายเป็นสิ่งที่เด็กๆชอบเล่น ทั้งทรายแห้ง ทรายเปียก นามาก่อเป็นรูปต่างๆได้และ

สามารถนาวัสดอุ ืน่ มาประกอบการเลน่ ตกแตง่ ได้ เชน่ กงิ่ ไม้ ดอกไม้ เปลอื กหอย พมิ พ์ขนม ทต่ี ักทราย
ปกติบ่อทรายจะอยู่กลางแจ้ง โยอาจจัดให้อยู่ใต้ร่มเงาของต้นไม้หรือสร้างหลังคาทา

ขอบกน้ั เพอ่ื มใิ ห้ทรายกระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมน้าให้ช้ืนเพ่ือเด็กจะได้ก่อเล่น นอกจากนี้ ควรมี
วธิ การปดิ ก้ันมใิ หส้ ัตว์เลีย้ งลงไปทาความสกปรกในบ่าทรายได้

๓. การเลน่ น้า
เด็กทั่วไปชอบเลน่ นา้ มาก การเลน่ นา้ นอกจากสร้างความพอใจและคลายความเครียด

ใหเ้ ด็กได้แลว้ ยงั ทาให้เด็กเกดิ การเรยี นรอู้ ีกดว้ ย เช่น เรยี นร้ทู กั ษะการสงั เกต จาแนกเปรยี บเทียบปริมาตร
อปุ กรณท์ ใี่ สน่ ้าอาจเป็นถังท่สี ร้างขนึ้ โดยเฉพาะหรืออ่างน้าวางบนขาตั้งท่ีม่ันคง ความ

สงู พอที่เดก็ จะยนื ได้พอดี และควรมผี ้าพลาสตกิ กันเสอื้ ผา้ เปยี กใหเ้ ด็กใช้คลมุ ระหวา่ งเล่น
๔. การเลน่ สมมติในบา้ นต๊กุ ตาหรือบา้ นจาลอง
เป็นบ้านจาลองสาหรับให้เด็กเล่น จาลองจากบ้านจริงๆอาจทาด้วยเศษวัสดุประเภท

ผา้ ใบ กระสอบป่าน ของจรงิ ที่ไม่ใชแ้ ลว้ เช่น หม้อ เตา ชาม อ่าง เตารีด เครื่องครัว ตุ๊กตาสมมติเป็นบุคคล
ในครอบครัว เสื้อผา้ ผูใ้ หญ่ท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ สาหรับผลัดเปลี่ยน มีการตกแต่งบริเวณใกล้เคียงให้เหมือนบ้านจริงๆ
บางคร้ังอาจจดั เปน็ ร้านขายของ สถานทีท่ างานตา่ งๆเพอ่ื ใหเ้ ด็กเลน่ สมมตตามจนิ ตนาการของเดก็ เอง

๕ การเล่นในมุมชา่ งไม้
เด็กต้องการออกแรงเคาะ ตอก กิจกรรมการเล่นในมุมช่างไม้น้ีจะช่วยในการพัฒนา

กลา้ มเนือ้ ใหแ้ ขง็ แรง ช่วยฝกึ การใชม้ ือและการประสานสัมพนั ธ์ระหว่างมอื กับตา นอกจากนี้ยังฝึกให้รักงาน
และสง่ เสรมิ ความคิดสร้างสรรค์อีกดว้ ย

๖. การเลน่ เกมการละเล่น
กิจกรรมการเล่นเกมการละเล่นท่ีจัดให้เด็กเล่น เช่น เกมการละเล่นของไทย เกม

การละเล่นของทอ้ งถิน่ เชน่ มอญซอ่ นผา้ รีรขี า้ วสาร แม่งู โพงพาง ฯลฯ การละเล่นเหล่านี้ ต้องใช้บริเวณท่ี

๑๐๘

กว้าง การเลน่ อาจเลน่ เป็นกลุม่ เล็ก/กลุม่ ใหญก่ ็ได้ กอ่ นเลน่ ครูอธบิ ายกตกิ าและสาธิตให้เด็กเข้าใจ ไม่ควรนา
เกมการละเล่นทม่ี ีกติกายงุ่ ยากและเน้นการแข่งขันแพ้ชนะ มาจัดกิจกรรมให้กับเด็กวัยนี้ เพราะเด็กจะเกิด
ความเครียดและสรา้ งความรู้สกึ ท่ไี ม่ดีตอ่ ตนเอง

แนวการจัดกจิ กรรม
๑. เดก็ และครูร่วมกนั สรา้ งขอ้ ตกลง
๒. จัดเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณป์ ระกอบการเล่นให้พรอ้ ม
๓. สาธติ การเล่นเคร่อื งสนามบางชนดิ
๔. ใหเ้ ดก็ เลือกเล่นอิสระตามความสนใจและใหเ้ วลาเล่นนานพอควร
๕ ครูควรจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย (ไม่ควรจัดกิจกรรมพลศึกษา) เช่น การเล่นน้า เล่น
ทราย เล่นบ้านตุ๊กตา เล่นในมุมช่างไม้ เล่นบล็อกลวง เคร่ืองเล่นสนาม เกมการละเล่น เล่นอุปกรณ์กีฬา
สาหรบั เด็ก เลน่ เครื่องเล่นประเภทลอ้ เลอ่ื น เลน่ ของเลน่ พนื้ บา้ น (เดนิ กะลา ฯลฯ)
๖. ขณะเดก็ เลน่ ครคู วรดแู ลความปลอดภัยและสงั เกตพฤติกรรมการเล่น การอยรู่ ว่ มกันกับเพ่ือ
ของเด็กอยา่ งใกล้ชิด
๗. เมื่อหมดเวลาควรให้เด็กเก็บของใชห้ รือของเล่นใหเ้ รียบรอ้ ย
๘. ใหเ้ ดก็ ทาความสะอาดร่างกายและดูแลเคร่ืองแตง่ กายใหเ้ รียบรอ้ ยหลงั เล่น
ขอ้ เสนอแนะ
๑. หมน่ั ตรวจตราเคร่ืองเล่นสนามและอุปกรณ์ประกอบให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและใช้การ
ได้ดอี ยู่เสมอ
๒. ใหโ้ อกาสเด็กเลือกเลน่ กลางแจง้ อยา่ งอิสระทุกวัน อย่างน้อยวนั ละ ๓๐ นาที
๓. ขณะเด็กเลน่ กลางแจง้ ครูต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อระมัดระวังความปลอดภัยในการ
เล่น หากพบวา่ เดก็ แสดงอารมณเ์ หนอื่ ย ออ่ นล้า ควรใหเ้ ด็กหยดุ
๔. ไม่ควรนากจิ กรรมพลศึกษาสาหรบั เด็กประถมศึกษามาใช้สอนกับเด็กระดับปฐมวัยเพราะ
ยังไมเ่ หมาะสมกับวยั
๕. หลังจากเลิกกิจกรรมกลางแจง้ ควรให้เด็กได้พักผ่อนหรือน่ังพัก ไม่ควรให้เด็กรับประทาน
อาหารกลาวงวันหรอื ด่ืมนมทันที เพราะอาจทาใหเ้ ด็กอาเจียน เกิดอาการจกุ แน่นได้

๖. เกมการศึกษา
เกมการศึกษา (Didactic games) เป็นเกมท่ีช่วยพัฒนาสติปัญญาช่วยส่งเสริมให้เด็กเกิดการ

เรียนรู้เป็นพ้ืนฐานการศึกษา มีเกณฑ์กติกาง่ายๆเด็กสามารถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้ ช่วยให้เด็ก
สังเกต คิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกับสี รูปร่าง จานวน ประเภท และความสัมพันธ์
เกี่ยวกบั พื้นที่ ระยะ เกทการศึกษาทเี่ หมาะสมจะช่วยฝึกทักษะความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสตปิ ัญญาสาหรบั เดก็ วยั ๓-๖ ปี มจี ดุ ประสงค์ ดงั นี้

จดุ ประสงค์
๑. เพือ่ ฝกึ ทักษะการสังเกต จาแนก และเปรยี บเทยี บ
๒. เพอ่ื ฝึกการแยกประเภท การจัดหมวดหมู่
๓. เพ่ือสง่ เสรมิ การคดิ หาเหตุผล และตัดสนิ ใจแกป้ ัญหา
๔. เพื่อส่งเสรมิ ให้เดก็ เกดิ ความคิดรวบยอดเกีย่ วกับส่งิ ทไี่ ดร้ ู้
๕. เพื่อส่งเสริมการประสานสมั พันธ์ระหว่างมือกบั ตา

๑๐๙

๖. เพ่ือปลกู ฝงั คุณธรรมและจริยธรรมตา่ งๆ เชน่ ความรับผิดชอบ ความเอือ้ เฟอ้ื เผือ่ แผ่
ปะเภทของเกมการศึกษา
๑. เกมจับคู่ เช่น จับคภู่ าพเหมือน จับคู่ภาพกบั เงา จับคู่ภาพท่ีซอ่ นอยู่ในภาพหลัก จับคู่ภาพที่
มคี วามสัมพนั ธก์ ัน จบั คภู่ าพสัมพนั ธแ์ บบตรงกนั ข้าม จบั คูภ่ าพที่สมมาตร จับคูภ่ าพแบบอนกุ รม ฯลฯ
๒. เกมตอ่ ภาพให้สมบูรณ์ (Jigsaws)หรือภาพตดั ตอ่
๓. เกมวางภาพตอ่ ปลาย(โดมโิ น)
๔. เกมเรียงลาดบั
๕. เกมการจดั หมวดหมู่
๖. เกมการศึกษารายละเอยี ดของภาพ (ลอตโต้)
๗. เกมจับคแู่ บบตารางสมั พนั ธ์ (เมตรกิ เกม)
๘. เกมพื้นฐานการบวก
๙. เกมหาความสัมพันธต์ ามลาดับทีก่ าหนด
ส่อื เกมการศึกษา
๑. เกมจับคู่

เพ่ือให้เด็กได้ฝึกสังเกตสิ่งที่เหมือนกันหรือต่างกันซึ่งอาจเป็นการเปรียบเทียบภาพต่างๆ
แล้วจัดเป็นค่ๆู ตามจดุ มงุ่ หมายของเกมแต่ละชดุ เกมประเภทจับค่นู ส้ี ามารถแบ่งได้หลายอยา่ ง ดงั น้ี

๑.๑ เกมจับคู่ภาพทเ่ี หมอื นกนั หรือส่งิ ของเดยี วกัน
๑.๒ เกมจับคภู่ าพส่งิ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ ัน
๑.๓ เกมจบั คู่ภาพชิน้ สว่ นทห่ี ายไป
๑.๔ เกมจบั คภู้ าพทส่ี มมาตรกนั
๑.๕ เกมจับคู่ภาพทีส่ ัมพันธก์ นั แบบอปุ มาอุปมยั
๒. เกมภาพตดั ต่อ
๒.๑ ภาพตดั ตอ่ ทส่ี ัมพนั ธ์กบั หนว่ ยการเรียนต่างๆ เช่น ผลไม้ ผกั
๒.๒ ภาพตดั ต่อแบบมติ ิสมั พันธ์
๓. เกมจัดหมวดหมู่
๓.๑ ภาพสงิ่ ตา่ งๆนามาจดั เป็นพวกๆ
๓.๒ ภาพเกีย่ วกับประเภทของใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
๓.๓ ภาพจัดหมวดหมู่ตามรูปร่าง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต
๔. เกมภาพต่อปลาย (โดมิโน)
๔.๑ โดมิโนภาพเหมอื น
๔.๒ โดมโิ นสมั พนั ธ์
๕. เกมเรียงลาดบั
๕.๑ เรียงลาดับภาพเหตกุ ารณต์ ่อเนื่อง
๕.๒ เรียงลาดบั ขนาด
๖. เกมศกึ ษารายละเอยี ดของภาพ (ลอตโต)
๗. เกมจบั ค่แู บบตารามสมั พันธ์ (เมตริกเกม)
๘. เกมพืน้ ฐานการบวก
แนวการจดั กจิ รรมเกมการศกึ ษา

๑๑๐

๑. แนะนากจิ กรรมใหม่
๒. สาธิต/อธบิ าย วธิ เี ล่นเกมอยา่ งมีขนั้ ตอนตามประเภทของเกม
๓. ให้เด็กหมนุ เวียนเข้ามาเล่นเป็นกล่มุ หรอื รายบุคคล
๔. ขณะท่เี ด็กเล่นเกมครูเป็นเพียงผู้แนะนา
๕. เม่ือเด็กเล่นเกมแต่ละชุดเสร็จเรียบร้อย ควรให้เด็กตรวจสอบความถูกต้องด้วยตนเอง
หรอื รว่ มกนั ตรวจกบั เพ่อื น หรือครูเป็นผชู้ ว่ ยตรวจ
๖. ให้เดก็ นาเกมท่เี ล่นแลว้ เก็บใส่กลอ่ ง เขา้ ที่ให้เรยี บรอ้ ยทุกครงั้ ก่อนเริม่ เกมชุดอ่นื
ข้อเสนอแนะ
๑. การจดั ประสบการณ์เกมการศกึ ษาในระยะแรก ควรเริ่มสอนโยใช้ของจริง เช่น การจับคู่
กระป๋องแปง้ ท่เี หมอื นกัน หรือการเรียงลาดบั กระป๋องแปง้ ตามลาดบั สงู -ต่า
๒. การเล่นเกมในแต่ละวัน อาจจดั ใหเ้ ลน่ ทัง้ เกมชดุ ใหม่และเกมชุดเก่า
๓. ครูอาจให้เด็กหมุนเวียนเข้ามาเล่นเกมกับครูทีละกลุ่ม หรือสอนทั้งช้ันตามความ
เหมาะสม
๔. ครอู าจใหเ้ ด็กท่เี ล่นได้แลว้ มาช่วยแนะนากตกิ าการเลน่ ในบางโอกาสได้
๕. การเลน่ เกมการศกึ ษา นอกจากใชเ้ วลาในชว่ งกิจกรรมเกมการศึกษาตามตารางกิจกรรม
ประจาวันแลว้ อาจใหเ้ ด็กเลอื กเล่นอิสระในชว่ งเวลากจิ กรรมการเล่นตามมุมได้
๖. การเก็บเกมทีเ่ ล่นแล้ว อาจเก็บใส่กล่องเล็กๆหรือใส่ถุงพลาสติกหรือใช้ยางรัดแยกแต่ละ
เกม แลว้ จดั ใสก่ ล่องใหญร่ วมไว้เปน็ ชุด

๑๑. การจดั สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื และแหล่งเรียนรู้
การจดั สภาพแวดลอ้ ม
การจัดสภาพแวดล้อมสาหรับเด็กปฐมวัย มีความสาคัญอย่างย่ิงเพราะมีผลต่อการเสริมสร้าง

พฒั นาการของเด็กทกุ ด้านอันได้แก่ พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ช่วยให้เด็ก
ได้รับประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ในการเข้าสังคม และอยู่
ร่วมกับบุคลอน่ื ซงึ่ จะเป็นพน้ื ฐานในการใช้ชีวิตต่อไปในสังคม ช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดความอยากรู้อยากเห็น
ค้นคว้า ทดลอง สังเกต คิดหาเหตุผล และแก้ปัญหา ซึ่งเป็นพื้นฐานของกระบวนการคิดของเด็กต่อไปใน
อนาคต สิ่งแวดล้อมท่ีได้รับการวางแผนเป็นอย่างดีจะเปิดโอกาสให้เด็กได้พัฒนาความรู้สึกของความเป็น
อิสระ การเปน็ ตวั ของตัวเองและประสบความสาเร็จ ขณะเดียวกนั เด็กก็ไดเ้ รียนรู้ขอบเขตความสามารถของ
ตนเองอีกดว้ ย

ดังน้ัน การจดั เตรยี มสภาพแวดล้อมท้งั ภายในและภายนอกชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม ถือเป็นส่วน
สาคัญทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับพฤตกิ รรมและการเรียนรู้ของเด็ก สิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนการ
สอนทีจ่ ะช่วยใหค้ รูบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายที่ต้ังไว้ ดงั นั้นสถานศกึ ษาจึงมีความจาเป็นที่จะต้องวาง
แผนการจัดสภาพแวดล้อมอย่างเหมาะสมกับสภาพและความต้องการของหลักสูตร เพื่อส่งผลให้บรรลุ
จดุ หมายในการพัฒนาเดก็

การจัดสภาพแวดล้อมจะตอ้ งคานึงถงึ ส่งิ ต่อไปน้ี
1. ความสะอาด ความปลอดภยั

๑๑๑

2. ความมอี สิ ระอยา่ งมขี อบเขตมรการเล่น
3. ความสะดวกในการทากิจกรรม
4. ความพรอ้ มของสถานที่ เชน่ หอ้ งเรยี น ห้องน้า สนามเดก็ เลน่ ฯลฯ
5. ความเพยี งพอ เหมาะสมในเรื่องขนาด นา้ หนกั จานวน สขี องส่อื และเครอื่ งเลน่
6. บรรยากาศในการเรียนรู้ การจดั ทีเ่ ลน่ และมมุ ประสบการณต์ า่ งๆ

๑.การจัดสภาพแวดล้อมในช้นั เรียน
ห้องเรียนสาหรับเด็กปฐมวัยควรมีขนาดใหญ่ ทั้งนี้เพราะเด็กต้องการเนื้อท่ีในการทางาน
เคลื่อนไหว และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้โดยไม่รู้สึกอึดอัด พื้นท่ีในการใช้สื่อต่างๆ สารวจ เล่นก่อสร้าง และ
แกป้ ัญหา พ้ืนที่ในการเคล่ือนไหว พื้นท่ีส่วนตัว พ้ืนท่ีสาหรับเล่นคนเดียวและเล่นกับผู้อ่ืน พ้ืนที่เก็บของใช้
ส่วนตัว และจัดแสดงผลงาน การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนควรยืดหยุ่นได้ และมีชีวิตชีวา ภายใน
หอ้ งเรียนจดั เป็นศนู ยก์ ารเรียนหรือมมุ ตา่ งๆ อาทิ มุมนิทาน มมุ บทบาทสมมติ มุมบลอ็ ก มมุ ศลิ ปะ มุมดนตรี
มมุ วทิ ยาศาสตร์ มุมคณติ ศาสตร์ เปน็ ตน้
เดก็ ปฐมวัยจะเรียนรไู้ ดด้ ีที่สุดโดยผ่านการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว ด้วยการลงมือกระทา
เด็กจึงตอ้ งการพนื้ ท่ที ่ีส่งเสริมการเรียนรู้ พื้นท่ีสาหรับผู้ใหญ่ท่ีจะร่วมเล่นและสนับสนุนความสนใจของเด็ก
การจดั แบ่งพื้นท่ภี ายในหอ้ งเรียนจะประกอบดว้ ย ๖ ส่วน ดงั น้ี
พื้นทเี่ กบ็ ของใชส้ ่วนตัวของเดก็ เชน่ ผ้ากนั เปอ้ื น แปรงสีฟัน แกว้ น้า ฯลฯ อาจจะเป็นตู้ยาวแยก
เปน็ ช่องรายบุคคล หรือช้ันวางของเปน็ ช่องๆ โดยมีช่อื เด็กติดแสดงความเปน็ เจา้ ของ
๒. พ้ืนที่กิจกรรมกลุ่มใหญ่ เชน่ กจิ กรรมฟงั นิทาน รอ้ งเพลงเคล่อื นไหว ฯลฯ ทท่ี ารว่ มกนั ท้งั ช้ัน
เรียน
๓. พื้นท่ีกจิ กรรมกลมุ่ ย่อย เชน่ กิจกรรมศิลปะร่วมมือ กิจกรรมทาหนงั สอื นิทานร่วมกนั เปน็ กลมุ่
ยอ่ ย กจิ กรรมเรยี นรู้เกี่ยวกับทกั ษะพื้นฐานทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ฯลฯ โดยสมาชกิ กลมุ่ ท่ี
เหมาะสม คอื ๔-๖ คน ท้ังนีเ้ พือ่ ครูจะได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์ได้ใกลช้ ิดและทว่ั ถึงมากข้นึ
๔. พืน้ ทสี่ าหรบั มุมเล่น ไดก้ าหนดให้มมี มุ พ้นื ฐาน ๕ มมุ ประกอบดว้ ย มมุ หนังสอื มุมบล็อก มุม
บา้ น มุมศลิ ปะ และมมุ ของเลน่ ซง่ึ หมายถึงเครื่องเลน่ สมั ผัส เกมและของเล่นบนโต๊ะ ทั้งนี้ หลักการเรียกชื่อ
มุมตา่ งๆ ด้วยภาษาท่ีเด็กเข้าใจ จะไม่ใชภ้ าษาซงึ่ เป็นนามธรรมมากๆ เชน่ มุมบทบาทสมมติ มมุ เคร่ืองเลน่
สมั ผัส นอกจากน้ี มุมเลน่ ต้องเปล่ยี นแปลงไปตามความสนใจของเด็ก เช่น เม่ือเดก็ เกดิ ความสนใจ
หลากหลายมุมบ้านก็อาจปรบั เปล่ยี นเป็นมุมร้านเสริมสวยมมุ หมอ หรอื มมุ ร้านคา้ ได้ตามบรบิ ทของสิง่ ที่เด็ก
สนใจในขณะน้นั มมุ เหล่านี้โรงเรยี นไดจ้ ัดใหม้ ีของเลน่ ไวเ้ พยี งพอต่อความตอ้ งการของเดก็ โดยมกี าร
ผลัดเปลี่ยนของเลน่ ตามมมุ ทกุ สัปดาห์ และให้เดก็ มสี ่วนรว่ มในการจดั มมุ ของเลน่ มมุ ตา่ งๆ ทโ่ี รงเรียนจดั ให้
เด็ก
๕. พื้นทเ่ี ก็บของใช้ครู เช่น หนงั สอื คู่มอื ครู เอกสารโปรแกรมส่ือการสอนสว่ นรวมของชน้ั เรียน
เชน่ วสั ดุศิลปะตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
๖. พน้ื ท่กี ารจัดแสดงผลงานและการเกบ็ ของ

- จัดให้มีทีแ่ สดงผลงานเสนอภาพเขียน หรอื งานหัตถกรรมเดก็ ๆ
- จดั ท่แี สดงใหน้ า่ สนใจและสดช่นื
- ให้เดก็ เหน็ ของแปลกๆใหม่ๆท่เี ด็กไมเ่ คยเห็น
- สง่ เสรมิ ให้เด็กๆรจู้ กั เลอื กสรรว่าจะทาอะไร จัดแสดงอะไร ฯลฯ

๑๑๒

- กระตุ้นใหเ้ กดิ ความร้อู ยากเห็น
- สอนให้ร้จู กั จดั ของเปน็ กลุ่ม และเลอื กของออกมาใช้ตามความต้องการ
- สร้างนสิ ยั ในการเก็บของใหเ้ ป็นทเ่ี ป็นทาง
* รปู แบบการจดั พ้ืนท่ี ภายในห้องเรยี น จดั ได้หลายลกั ษณะ ขน้ึ อยกู่ ับการใช้งานแต่ละประเภท

การจดั เกบ็ (Storage)
๑. สอื่ ท่เี หมือนกนั จัดเกบ็ หรอื จดั วางไว้ดว้ ยกัน
๒. ภาชนะบรรจุสอื่ ควรโปร่งใสเพ่อื ให้เด็กมองเห็นส่ิงท่ีอยภู่ ายในได้งา่ ย และควรมีมอื จบั เพ่ือให้

สะดวกในการขนย้าย
๓. การใชส้ ัญลกั ษณ์ (Labels) ควรมคี วามหมายต่อการเรียนร้ขู องเดก็ สญั ลกั ษณท์ ามาจากส่ือ

อปุ กรณ์ของจรงิ ภาพถ่ายหรือภาพสาเนาภาพวาด ภาพโครงรา่ งหรือภาพประจุด หรือบัตรคาติดค่กู ับ
สัญลกั ษณ์อยา่ งใดอย่างหนึ่ง วงจร "คน้ หา-ใช-้ เกบ็ คืน" ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ เพราะเดก็ ๆ ไดฝ้ ึกการสังเกต
เปรยี บเทยี บ จัดกลุ่ม เดก็ ได้ส่งั สมประสบการณ์สง่ เสริมความรบั ผิดชอบ รู้จกั มีน้าใจช่วยเหลือ เปน็ การ
เรียนรูท้ างสงั คม ดังน้นั ครูจงึ ควรจดั เวลา "เก็บของเลน่ " ทกุ วันอย่างเพยี งพอ มสี ัญญาณเตือนกอ่ นเวลาจะ
สน้ิ สุด ครูควรชว่ ยเด็กเก็บของเลน่ เพื่อเปน็ แบบอย่างและทาใหเ้ ด็กสนุกสนาน ครูต้องไม่ใชก้ ารเก็บของเล่น
เขา้ ที่เป็นการลงโทษเด็ก

นอกจากนี้สื่อจะต้องจัดวางไว้ในระดับสายตาเด็ก (Eye-level)เพื่อให้เด็กมองเห็นได้ชัดเจน
สามารถหยบิ ใชแ้ ละจดั เก็บไดด้ ้วยตนเองไมใ่ ช้อยู่สูงจนเป็นอันตรายเวลาเอื้อมหยิบ หรือต้องพ่ึงพาผู้ใหญ่ให้
หยบิ ใหต้ ลอดเวลา

๒. การจัดสภาพแวดลอ้ มนอกห้องเรยี น
๑. สนามเดก็ เล่น ประกอบด้วยเคร่ืองเล่นประเภทปีนป่าย ทรงตัว สนุกสนาน มีพ้ืนที่สาหรับว่ิงเล่น
เพียงพอ และไม่เกิดอันตรายต่อเดก็
๒. ท่ีพักผ่อน ได้จัดโต๊ะม้าหนิ ออ่ นไวต้ ามร่มไม้ ท่ีเพยี งพอสาหรับเดก็
๓. บริเวณธรรมชาติ มีการปลูกไมด้ อก ไมป้ ระดบั พืชผักสวนครัวตามฤดูกาล
๔. รว้ั กน้ั บรเิ วณอย่างเปน็ สดั สว่ น และเพอ่ื ความปลอดภยั

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
สื่อ เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดเรื่องราวเน้ือหาจากผู้ส่งไปยังผู้รับในการเรียนการสอน ส่ือเป็น

ตัวกลางนาความรู้จากผู้สอนสู่เด็ก ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ช่วยให้เด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรง ทาให้สิ่งที่เป็นนามธรรมเข้าใจยากกลายเป็นรูปธรรมท่ีเด็กเข้าใจง่าย เรียนรู้ได้ง่าย
รวดเร็ว เพลิดเพลนิ เกดิ การเรียนรู้และคน้ พบดว้ ยตนเอง

๑.ส่อื ประกอบการจัดกจิ กรรม
สื่อประกอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ

สติปญั ญา ควรมีสือ่ ท้งั ทีเ่ ปน็ ประเภท ๒ มิติ และ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ ส่ือที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก
สอื่ สะท้อนวัฒนธรรม สื่อที่ปลอดภัยต่อตัวเด็ก สื่อเพื่อพัฒนาเด็กในด้านต่างๆ ให้ครบทุกด้าน สื่อท่ีเอื้อให้
เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้ส่ือเร่ิมต้นจาก ส่ือของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง
และสญั ลักษณ์ ท้ังนีก้ ารใช้สื่อต้องเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจและ

๑๑๓

ความตอ้ งการของเดก็ ที่หลากหลาย ตัวอยา่ งสื่อประกอบการจดั กจิ กรรม มดี งั น้ี
กจิ กรรมเสรี / การเล่นตามมุม
๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเป็นมุมเลน่ ดังน้ี
๑.๑ มุมบ้าน

- ของเลน่ เครื่องใชใ้ นครัวขนาดเล็ก หรือของจาลอง เช่น เตา กระทะ ครก กานา้ เขียง มดี
พลาสติก หมอ้ จานช้อน ถว้ ยชาม กะละมัง

- เครอ่ื งเล่นตกุ๊ ตา เส้อื ผา้ ตกุ๊ ตา เตยี ง เปลเด็ก ต๊กุ ตา

- เครอ่ื งแต่งบ้านจาลอง เชน่ ชุดรับแขก โต๊ะเครือ่ งแปง้ หมอนอิง กระจกขนาดเห็นเตม็
ตัว หวี ตลับแปง้

- เครื่องแต่งกายบุคคลอาชีพตา่ งๆ ทใ่ี ช้แล้ว เชน่ ชุดเครื่องแบบทหาร ตารวจ ชุดเสอ้ื ผา้
ผู้ใหญช่ ายและหญิง รองเทา้ กระเป๋าถือท่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
- โทรศัพท์ เตารดี จาลอง ที่รีดผา้ จาลอง
- ภาพถ่ายและรายการอาหาร
๑.๒ มมุ หมอ
- เครอื่ งแบบเคร่ืองมอื แพทย์และอุปกรณ์การรักษาผปู้ ่วย เชน่ หูฟงั เส้อื คลุมหมอ
- อุปกรณ์สาหรบั บันทึกข้อมูลผูป้ ่วย เชน่ กระดาษ ดินสอ ฯลฯ
๑.๓ มมุ ร้านคา้
- กลอ่ งและขวดผลติ ภณั ฑ์ต่างๆ ท่ใี ชแ้ ลว้
- อปุ กรณ์ประกอบการเลน่ เช่นเคร่ืองคดิ เลข ลกู คดิ ธนบัตรจาลอง ฯลฯ
๒. มุมบลอ็ ก
- ไมบ้ ลอ็ กหรือแทง่ ไมท้ ีม่ ขี นาดรปู รา่ งต่างๆ กนั จานวนตัง้ แต่ ๕๐ ชนิ้ ขน้ึ ไป
- ของเลน่ จาลอง เช่น รถยนต์ เครือ่ งบนิ รถไฟ คน สตั ว์ ต้นไม้ ฯลฯ
๓. มมุ หนังสือ
- หนงั สือภาพนทิ าน สมดุ ภาพ หนังสอื ภาพท่มี คี าและประโยคสนั้ ๆ พร้อมภาพประกอบ
- ช้นั หรือที่วางหนังสอื
- อุปกรณต์ ่างๆท่ีใชใ้ นการสร้างบรรยากาศการอา่ น เช่น เสือ่ พรม หมอน ฯลฯ
- สมุดเซ็นยืมหนงั สือกลบั บา้ น
- อุปกรณส์ าหรับการเขยี น
- อุปกรณเ์ สริม เช่น เครื่องเลน่ เทป ตลับเทปนิทานพรอ้ มหนังสือนิทาน หูฟงั ฯลฯ
๔. มมุ วทิ ยาศาสตร์หรอื มุมธรรมชาตศิ ึกษา
- วสั ดุตา่ งๆ จากธรรมชาติ เชน่ เมลด็ พชื ต่างๆ เปลอื กหอย ดิน หิน แร่ ฯลฯ
- เครื่องมอื เครอื่ งใช้ในการสารวจ สงั เกต ทดลอง เช่น แว่นขยาย แม่เหลก็ เข็มทศิ
เคร่ืองช่งั ฯลฯ
กิจกรรมสรา้ งสรรค์ ควรมีวสั ดุ อุปกรณ์ ดังน้ี

1. การวาดภาพและระบายสี
- สเี ทียนแท่งใหญ่ สไี ม้ สีชอลก์ สนี า้
- พ่กู ันขนาดใหญ่ ( ประมาณเบอร์ ๑๒ )
- กระดาษ

๑๑๔

- เสือ้ คลุม หรอื ผา้ กันเปอ้ื น
2. การเล่นกบั สี

- การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี า้
- การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กัน สีน้า
- การพับสี มี กระดาษ สนี ้า พกู่ นั
- การเทสี มี กระดาษ สนี ้า
- การละเลงสี มี กระดาษ สีนา้ แป้งเปยี ก
3. การพมิ พ์ภาพ
- แม่พมิ พ์ตา่ งๆ จากของจริง เช่น นวิ้ มือ ใบไม้ กา้ นกล้วย ฯลฯ
- แม่พมิ พจ์ ากวสั ดอุ นื่ ๆ เชน่ เชือก เส้นด้าย ตรายาง ฯลฯ
- กระดาษ ผา้ เชด็ มอื สีโปสเตอร์ (สนี ้า สีฝนุ่ ฯลฯ)
4. การปน้ั เชน่ ดนิ นา้ มนั ดินเหนยี ว แปง้ โดว์ แผ่นรองป้นั แม่พมิ พ์รูปต่างๆ ไม้นวดแปง้ ฯลฯ
5. การพับ ฉีก ตัดปะ เชน่ กระดาษ หรอื วัสดุอนื่ ๆ ที่จะใชพ้ บั ฉีก ตัด ปะ กรรไก ขนาดเล็ก
ปลายมน กาวนา้ หรือแป้งเปียก ผา้ เช็ดมือ
6. การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดตุ า่ งๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษไหม กาว
กรรไกร สผี า้ เช็ดมอื ฯลฯ
7. การรอ้ ย เชน่ ลกู ปัด หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ
8. การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ
9. การเล่นพลาสตกิ สรา้ งสรรค์ พลาสตกิ ช้นิ เลก็ ๆ รปู ทรงต่างๆ ผูเ้ ลน่ สามารถนามาต่อเปน็ รปู แบบ
ตา่ งๆ ตามความต้องการ
10.การสร้างรูป เช่น จากกระดานปกั หมุด จากแป้นตะปูทใี่ ชห้ นงั ยางหรอื เชือกผกู ดงึ ให้เป็นรปู
ตา่ งๆ ได้

เกมการศกึ ษา ตวั อยา่ งสอ่ื ประเภทเกมการศึกษามดี งั น้ี
1. เกมจับคู่
- จับคู่รา่ งทเ่ี หมอื นกนั
- จับคภู่ าพเงา
- จบั ค่ภู าพท่ีซ่อนอย่ใู นภาพหลกั
- จบั คู่สง่ิ ทม่ี ีความสัมพนั ธ์กนั สิง่ ทใี่ ชค้ ่กู นั
- จับคภู่ าพส่วนเต็มกบั สว่ นยอ่ ย
- จบั คู่ภาพกับโครงร่าง
- จับคู่ภาพชนิ้ ส่วนทห่ี ายไป
- จับคภู่ าพท่ีเปน็ ประเภทเดียวกัน
- จับคภู่ าพทซี่ อ้ นกัน
- จบั คูภ่ าพสัมพนั ธ์แบบตรงกนั ข้าม
- จบั คภู่ าพที่สมมาตรกนั
- จับคภู่ าพแบบอุปมาอุปไมย

๑๑๕

- จบั คู่อนุกรม
1. เกมภาพตดั ต่อ

- ภาพตดั ต่อทีส่ มั พันธ์กบั หนว่ ยการเรยี นต่างๆ เชน่ ผลไม้ ผกั ฯลฯ
2. เกมจดั หมวดหมู่

- ภาพสิง่ ตา่ งๆ ทน่ี ามาจัดเปน็ พวก
- ภาพเกีย่ วกบั ประเภทของใช้ในชวี ติ ประจาวัน
- ภาพจดั หมวดหมู่ตามรูปร่างสี ขนาด รปู ทรง เรขาคณติ
3. เกมวางภาพตอ่ ปลาย (โดมโิ น)
- โดมโิ นภาพเหมือน
- โดมโิ นภาพสัมพันธเ์ กมเรียงลาดบั
- เรียงลาดับภาพเหตกุ ารณ์ตอ่ เน่อื ง
- รยี งลาดบั ขนาด
4. เกมศึกษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต)
5. เกมจบั ค่แู บบตารางสัมพันธ์ (เมตริกเกม)
6. เกมพ้นื ฐานการบวก

กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม ตัวอย่างส่อื มีดังนี้
1. สอ่ื ของจริงท่อี ยู่ใกล้ตวั และส่ือจากธรรมชาติหรอื วัสดุทอ้ งถน่ิ เชน่ ต้นไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เสื้อผ้า
2. ส่อื ท่จี าลองข้นึ เช่น ลูกโลก ตกุ๊ ตาสัตว์ ฯลฯ
3. สื่อประเภทภาพ เชน่ ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนงั สือ ภาพ ฯลฯ
4. สื่อเทคโนโลยี เชน่ วทิ ยุ เครอื่ งบนั ทกึ เสยี ง เคร่อื งขยายเสียง โทรศพั ท์ ฯลฯ

กิจกรรมกลางแจ้ง ตัวอยา่ งส่ือมีดงั นี้
1. เครอ่ื งเล่นสนาม เชน่ เคร่ืองเลน่ สาหรับปนี ปา่ ย เคร่อื งเลน่ ประเภทล้อเลือ่ น ฯลฯ
2. มีเล่นทราย มีทรายละเอยี ด เครื่องเลน่ ทราย เครอื่ งตวง ฯลฯ
3. ที่เล่นน้า มีภาชนะใส่น้าหรืออ่างน้าวางบนขาต้ังที่มั่นคง ความสูงพอที่เด็กจะยืนได้พอดี เสื้อคลุม
หรือผ้ากันเปื้อนพลาสติก อุปกรณ์เล่นน้า เช่น ถ้วยตวง ขวดต่างๆ สายยางกรวยกรอกน้า ตุ๊กตา
ยาง

กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ ตวั อย่างสอื่ มีดงั นี้
1. เครอ่ื งเคาะจงั หวะ เช่น ฉงิ่ เหล็กสามเหลี่ยม กรับ รามะนา กลอง ฯลฯ
2. อปุ กรณ์ประกอบการเคลอ่ื นไหว เชน่ หนังสือพมิ พ์ ริบบิน้ แถบผ้า หว่ ง หวาย ถงุ ทราย ฯลฯ

๒. การเลอื กสอื่ มีวิธีการเลือกสอ่ื ดงั น้ี
๑. เลือกใหต้ รงให้ตรงกับจุดมุง่ หมายและเรื่องที่สอน
๒. เลอื กให้เหมาะสมกบั วัยและความสามารถของเดก็
3. เลือกให้เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถ่นิ ทีเ่ ดก็ อยู่หรอื สถานภาพของสถานศึกษา
4. มวี ิธีการใชง้ า่ ย และนาไปใช้ได้หลายกจิ กรรม

๑๑๖

5. มีความถูกตอ้ งตามเนอื้ หาและทันสมัย
6. มคี ณุ ภาพดี เช่น ภาพชดั เจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใช้สสี ะทอ้ นแสง
7. เลือกสื่อท่เี ด็กเข้าใจง่ายในเวลาอนั ส้นั ไม่ซบั ซอ้ น
8. เลือกส่ือท่สี ามารถสัมผสั ได้
9. เลอื กสื่อเพ่ือใช้ฝกึ และส่งเสริมการคิดเป็น ทาเปน็ และกลา้ แสดงความคดิ เหน็ ด้วยความม่ันใจ

๓. การจดั ส่อื สามารถจัดหาได้หลายวธิ ดี ังน้ี
1. จัดหาโดยการขอยืมจากแหล่งต่างๆ เช่นศูนย์สื่อของสถานศึกษาของรัฐบาล หรือสถานศึกษา
เอกชน
2. จัดซ้ือส่ือและเครื่องเล่นโดยวางแผนการจัดซ้ือตามลาดับความจาเป็นเพ่ือให้สอดคล้องกับ
งบประมาณท่ที างสถานศกึ ษาสามารถจัดสรรให้และสอดคล้องกับแผนการจดั ประสบการณ์
3. ผลิตสื่อและเคร่ืองเล่นข้ึนใช้เองโดยใช้วัสดุท่ีปลอดภัยและหาง่ายเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ใน
ท้องถน่ิ น้ันๆ เชน่ กระดาษแขง็ จากลังกระดาษ รูปภาพจากแผ่นป้ายโฆษณา รูปภาพจากนิตยสาร
ตา่ งๆ เปน็ ตน้

๔. ขัน้ ตอนการดาเนนิ การผลติ ส่ือสาหรับเดก็ มดี ังนี้
1. สารวจความต้องการของการใชส้ ่อื ให้ตรงกบั จุดประสงคส์ าระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมท่จี ดั
2. วางแผนการผลิต โดยกาหนดจุดมุ่งหมายและรูปแบบของส่ือให้เหมาะสมกับวัยและ
ความสามารถของเด็กส่ือนัน้ จะตอ้ งมคี วามคงทนแขง็ แรง ประณีต และสะดวกต่อการใช้
3. ผลติ ส่อื นนั้ ตามรูปแบบที่เตรยี มไว้
4. นาสอ่ื ไปทดลองใช้หลายๆ ครงั้ เพอ่ื หาข้อดี ข้อเสีย จะได้ปรับปรงุ แก้ไขใหด้ ยี งิ่ ขนึ้
5. นาสื่อทีป่ รบั ปรุงแกไ้ ขแล้วไปใชจ้ ริง

๕.การใช้สอื่ ดาเนนิ การดงั น้ี
1. การเตรยี มพร้อมกอ่ นใชส้ ือ่ มขี ัน้ ตอนดังนี้ คือ
เตรียมตัวผูส้ อน
- ผสู้ อนจะต้องศกึ ษาจุดมุ่งหมายและวางแผนว่าจะจัดกิจกรรมอะไรบา้ ง
- เตรียมจดั หาสือ่ และศึกษาวิธกี ารใชส้ อ่ื
- จดั เตรยี มสอ่ื และวัสดุอืน่ ๆ ทีจ่ ะตอ้ งใช้ร่วมกัน
- ทดลองใชส้ ื่อกอ่ นนาไปใช้จริง
เตรยี มตวั เดก็
- ศกึ ษาความรพู้ ้นื ฐานเดิมของเด็กให้สัมพนั ธ์กับเรอ่ื งท่ีจะสอน
- เร้าความสนใจเดก็ โดยใชส้ ือ่ ประกอบการเรียนการสอน
- ใหเ้ ดก็ มีความรับผดิ ชอบ รู้จกั ใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ ไม่ใช่ทาลาย เล่นแล้วเก็บให้ถูกที่
เตรยี มสอื่ ให้พร้อมก่อนนาไปใช้
- จัดลาดบั การใช้ส่ือว่าใช้อะไรกอ่ นหรอื หลัง เพอ่ื ความสะดวกในการสอน
- ตรวจสอบและเตรยี มเคร่ืองมือใหพ้ ร้อมที่จะใชไ้ ด้ทันที
- เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณท์ ใี่ ชร้ ว่ มกบั ส่อื

๑๑๗

การนาเสนอสอื่ เพอื่ ให้บรรลุผลโดยเฉพาะในกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
- สร้างความพรอ้ มและเรา้ ความสนใจใหเ้ ดก็ กอ่ นจดั กิจกรรมทกุ ครั้ง
- ใชส้ ื่อตามลาดบั ข้ันตอนของแผนการจัดกิจกรรมท่ีกาหนดไว้
- ไม่ควรใหเ้ ดก็ เหน็ สอ่ื หลายๆชนดิ พรอ้ มๆกนั เพราะจะทาใหเ้ ด็กไมส่ นใจกิจกรรมทส่ี อน
- ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรอื ด้านหลังของส่ือที่ใช้กับเด็กพร้อมทั้งสารวจข้อบกพร่อง
ของ
- สอื่ ที่ใช้ เพ่อื นาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหด้ ขี นึ้
- เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ว่ มใชส้ ่ือ

๖. ข้อควรระวังในการใช้ส่อื การเรยี นการสอน การใช้สอ่ื ระดบั ปฐมวัยควรระวังในเรอ่ื งต่อไปนี้
1. วัสดทุ ี่ใช้ ต้องไม่มพี ิษ ไมห่ ัก และแตกงา่ ย มีพ้ืนผิวเรยี บ ไม่เปน็ เสย้ี น
2. ขนาด ไม่ควรมีขนาดใหญเ่ กินไป เพราะยากต่อการหยิบยก อาจตกลงมาเสียหายและเปน็ อนั ตราย

ตอ่ เด็กหรือใช้ไม่สะดวก เช่น กรรไก ขนาดใหญ่ โต๊ะ เกา้ อ้ีท่ีใหญห่ รือสงู เกินไป และไมค่ วรมีขนาดเล็กเกินไป
เด็กอาจนาอมหรอื กลนื ทาให้ติดคอหรอื ไหลลงท้องไดเ้ ล่น ลกู ปัด ลกู แก้ว ฯลฯ

3. รปู ทรง ไมเ่ ปน็ ทรงแหลม รูปทรงเหลี่ยม เปน็ สัน
4. น้าหนัก ไมค่ วรมีน้าหนกั มาก เพราะเดก็ ยกหรอื หยิบไมไ่ หว อาจจะตกลงมาเป็นอนั ตรายตอ่ ตวั เดก็
5. สื่อท่ีเปน็ อนั ตรายตอ่ ตัวเดก็ เช่นสารเคมี วตั ถุไวไฟ ฯลฯ
6. สีท่ีมีอันตรายตอ่ สายตา เช่น สีสะท้อนแสง ฯลฯ

๗. การประเมินสื่อ
ควรพิจารณาจากองคป์ ระกอบหลัก ๓ ประการคอื ผ้สู อน เด็ก และสอ่ื เพอ่ื จะได้ทราบว่าสื่อนั้น

ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด จะได้นามาปรับปรุงการผลิตและการใช้ส่ือได้ดีย่ิงขึ้น โดยใช้วิธีการ
สงั เกต ดังนี้

1. สื่อนั้นชว่ ยให้เดก็ เกดิ การเรยี นร้เู พยี งใด
2. เด็กชอบสื่อน้นั เพยี งใด
3. สอื่ นั้นชว่ ยให้การสอนตรงกับจดุ ประสงค์หรือไม่ ถกู ต้องตามสาระการเรียนรู้และทันสมัยหรอื ไม่
4. สอ่ื น้นั ชว่ ยใหเ้ ด็กสนใจมากน้อยเพยี งใด เพราะเหตใุ ด

๘. การเกบ็ รักษาและซ่อมแซมสอื่
การจดั เก็บส่ือเป็นการสง่ เสรมิ ให้เด็กฝกึ การสงั เกต การเปรยี บเทยี บ การจัดกล่มุ สง่ เสรมิ

ความรับผดิ ชอบ ความมนี ้าใจ ช่วยเหลือ ผู้สอนไม่ควรใช้การเกบ็ ส่ือเป็นการลงโทษเดก็ โดยดาเนนิ การดังนี้
1. เก็บสอ่ื ใหเ้ ปน็ ระเบียบและเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะ ประเภทของส่ือ สื่อที่เหมือนกันจัดเก็บหรือ
จัดวางไวด้ ้วยกัน
2. วางสอื่ ในระดบั สายตาของเด็ก เพอ่ื ให้เด็กหยิบใช้ จัดเก็บไดด้ ว้ ยตนเอง
3. ภาชนะทจี่ ดั เก็บสอ่ื ควรโปร่งใส เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มองเห็นสิ่งที่อยู่ภายในได้ง่ายและควรมีมือจับเพ่ือความ
สะดวกในการขนย้าย
4. ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสีท่ีเป็นสัญลักษณ์แทนหมวดหมู่ประเภทส่ือ เพ่ือเด็กจะได้

๑๑๘

เก็บเข้าที่ได้ถูกต้องการใช้สัญลักษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนรู้ของเด็ก สัญลักษณ์ควรใช้สื่อ
ของจริง ภาพถ่ายสาเนา ภาพวาด ภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบัตรคาติดคู่กับสัญลักษณ์
อย่างใดอย่างหน่งึ
5. ตรวจสอบส่ือหลงั จากท่ใี ช้แลว้ ทกุ คร้ังว่ามีสภาพสมบรู ณ์ จานวนครบถ้วนหรือไม่
6. ซอ่ มแซมสือ่ ชารดุ และทาเตมิ ส่วนที่ขาดหายไปให้ครบชุด

๙. การพฒั นาส่อื
การพัฒนาส่ือเพ่ือใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยน้ัน ก่อนอื่นควรได้สารวจข้อมูล

สภาพปัญหาตา่ ง ๆ ของส่ือทุกประเภทท่ใี ชอ้ ย่วู า่ มีอะไรบ้างท่จี ะตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อจะได้ปรับเปลี่ยนให้
เหมาะสมกับความตอ้ งการ แนวทางการพฒั นาสอื่ ควรมลี กั ษณะเฉพาะ ดงั นี้

1. ปรบั ปรงุ สือ่ ให้ทันสมัยเข้ากบั เหตุการณ์ ใชไ้ ดส้ ะดวก ไมซ่ ับซอ้ นเกนิ ไป เหมาะสมกับวยั ของเดก็
2. รกั ษาความสะอาดของสอ่ื ถ้าเปน็ วสั ดทุ ีล่ ้างนา้ ได้ เมือ่ ใช้แล้วควรได้ลา้ ง หรือปัดฝุ่นให้สะอาดเก็บไว้

เปน็ หมวดหมู่ วางเป็นระเบียบหยบิ ใชง้ า่ ย
3. ถา้ เป็นสอ่ื ท่ีผสู้ อนผลติ ขึ้นมาใชเ้ องและผ่านการทดลองใช้มาแลว้ ควรเขียนค่มู อื ประกอบการใช้
สื่อนั้น โดยบอกชอื่ สอ่ื ประโยชนแ์ ละวิธีใช้สอื่ รวมทั้งจานวนช้ินส่วนของส่ือในชุดนั้นและเก็บคู่มือไว้ในซอง
หรือถงุ พรอ้ มสอ่ื ทผ่ี ลติ
4. พฒั นาส่ือที่สรา้ งสรรค์ ใชไ้ ดเ้ อนกประสงค์ คอื เป็นได้ทั้งสื่อเสรมิ พัฒนาการและเป็นของเลน่
สนุกสนานเพลดิ เพลิน

แหล่งเรยี นรู้

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ให้ความสาคัญกับแหล่งเรียนรู้ เพราะเป็นแหล่งการศึกษาตาม
ความสนใจและความต้องการตามอัธยาศัย สามารถปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน การสืบเสาะหาความรู้ การ
แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง การสรา้ งเสรมิ ประสบการณด์ ้วยประสบการณ์ตรง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต แหลง่ เรียนรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวัยของโรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารุงวิทย์ มีดงั น้ี
๙.๑ แหลง่ เรียนร้ภู ายในสถานศกึ ษา
แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น

แหลง่ เรยี นร้ภู ายใน

ช่ือแหลง่ เรยี นรู้

1. หอ้ งปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์

2. ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์

3.หอ้ งสมุดโรงเรยี น

๔.สวนเศรษฐกิจพอเพยี ง

๕.แหล่งการเรยี นรพู้ ส่ี อนนอ้ ง

๑๑๙

แหล่งเรยี นรภู้ ายนอกโรงเรยี น

แหล่งเรยี นร้ภู ายนอก
ชือ่ แหลง่ เรยี นรู้

1. วัดบงึ บอน
2. วดั ปัญญานนั ทาราม
3. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบึงบอน
๔. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบงึ บอน
๕. พพิ ิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ
๖.พิพธิ ภัณฑ์พระรามเก้า
๗.โรงพยาบาลหนองเสือ
๘.อนสุ รณส์ ถานแหง่ ชาติ

๑๒. การประเมนิ พฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์

จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญาของเด็ก โดยถอื เปน็ กระบวนการต่อตนเอง และเป็น ส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติ
ท่ีจัดให้เด็กในแต่ละวัน ผลท่ีได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนามาจัดทาสารนิทัศน์หรือจัดทาข้อมูล
หลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ ด้วยการวบรวมผลงานสาหรับเด็กเป็นรายบุคคลที่สามารถบอก
เรือ่ งราวหรือประสบการณท์ เ่ี ดก็ ไดร้ ับวา่ เดก็ เกิดการเรียนรู้และมีความกา้ วหน้าเพียงใด ท้ังนี้ ให้นาข้อมูลผล
การประเมินพฒั นาการเด็กมาพิจารณา ปรบั ปรุงวางแผล การจดั กิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับ
การพฒั นาตามจดุ หมายของหลกั สูตรอยา่ งต่อเนื่อง การประเมนิ พัฒนาการควรยึดหลัก ดงั นี้

1. วางแผนการประเมินพฒั นาการอย่างเปน็ ระบบ
2. ประเมินพัฒนาการเดก็ ครบทุกดา้ น
3. ประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบุคคลอยา่ งสม่าเสมอต่อเนอื่ งตลอดปี
๔. ประเมินพฒั นาการตามสภาพจรงิ จากกิจกรรมประจาวันด้วยเครือ่ งมือและวธิ กี ารท่ีหลากหลาย
ไม่ควรใชแ้ บบทดสอบ
4. สรุปผลการประเมนิ จดั ทาขอ้ มูลและนาผลการประเมนิ ไปใช้พัฒนาเดก็
สาหรับวิธีการประเมินท่ีเหมาะสมและควรใช้กับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึก
พฤตกิ รรม การสนทนากับเดก็ การสมั ภาษณ์ การวเิ คราะหข์ ้อมลู จากผลงานเดก็ ทเี่ กบ็ อย่างมรี ะบบ

๑๒๐

๑. ประเภทของการประเมินพฒั นาการ
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของเด็ก ประกอบด้วย ๑) วัตถุประสงค์ (Objective) ซึ่งตาม

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมายถึง จุดหมายซึ่งเป็นมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ ตัวบ่งชี้และสภาพที่พึงประสงค์ ๒) การจัดประสบการณการเรียนรู้ (Learning) ซึ่งเป็น
กระบวนการได้มาของความรู้หรือทักษะผ่านการกระทาสิ่งต่างๆท่ีสาคัญตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
กาหนดให้หรือท่ีเรียกว่า ประสบการณ์สาคัญ ในการช่วยอธิบายให้ครูเข้าใจถึงประสบการณ์ที่เด็กปฐมวัย
ต้องทาเพ่ือเรยี นรสู้ งิ่ ตา่ งๆรอบตวั และช่วยแนะผสู้ อนในการสังเกต สนับสนนุ และวางแผนการ
จัดกิจกรรมใหเ้ ดก็ และ ๓) การประเมินผล(Evaluation) เพ่อื ตรวจสอบพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัย
ที่คาดหวังให้เด็กเกิดข้ึนบนพื้นฐานพัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุ
เรียกว่า สภาพที่พึงประสงค์ ท่ีใช้เป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการประเมินพัฒนาการเด็ก เป็นเป้าหมายและ
กรอบทิศทางในการพัฒนาคณุ ภาพเด็กทัง้ นี้ประเภทของการประเมนิ พฒั นาการ อาจแบ่งได้เป็น ๒ ลักษณะ
คอื

1) แบง่ ตามวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ
การแบง่ ตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน แบ่งได้ ๒ ประเภท ดังนี้

๑.๑) การประเมินความก้าวหน้าของเด็ก (Formative Evaluation) หรือการประเมินเพื่อพัฒนา
(Formative Assessment) หรือการประเมินเพื่อเรียน (Assessment for Learning) เป็นการประเมิน
ระหว่างการจดั ระสบการณ์ โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในระหว่าง
ทากิจกรรมประจาวัน/กิจวัตรประจาวันปกติอย่างต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลแล้ว
นามาใชใ้ นการสง่ เสริมหรือปรับปรงุ แก้ไขการเรยี นรขู้ องเดก็ และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้สอน
การประเมนิ พฒั นาการกับการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ของผูส้ อนจึงเปน็ เร่ืองท่ีสัมพนั ธก์ นั หากขาดสิ่งหนง่ึ
ส่ิงใดการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ก็ขาดประสิทธิภาพ เป็นการประเมินผลเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ควร
สง่ เสริม ผสู้ อนตอ้ งใช้วธิ ีการและเครื่องมือประเมินพัฒนาการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล การใช้แฟ้มสะสมงาน
เพื่อให้ได้ข้อสรุปของประเด็นที่กาหยด สิ่งท่ีสาคัญที่สุดในการประเมินความก้าวหน้าคือ การจัด
ประสบการณใ์ หก้ บั เด็กในลกั ษณะการเชอ่ื มโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ทาให้การเรียนรู้ของ
เดก็ เพ่ิมพนู ปรับเปลี่ยนความคดิ ความเข้าใจเดิมท่ีไมถ่ กู ตอ้ ง ตลอดจนการให้เด็กสามารถพัฒนาการเรียนรู้
ของตนเองได้

๑.๒) การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) หรือ การประเมินเพ่ือตัดสินผลพัฒนาการ
(Summative Assessment) หรือการประเมินสรุปผลของการเรียนรู้ (Assessment of Learning) เป็น
การประเมินสรุปพัฒนาการ เพ่ือตัดสินพัฒนาการของเด็กว่ามีความพร้อมตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยหรือไม่ เพ่ือเป็นการเช่ือมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑

ดงั นั้น ผู้สอนจงึ ควรใหค้ วามสาคญั กบั การประเมินความกา้ วหนา้ ของเดก็ ในระดบั หอ้ งเรียนมากกว่า
การประเมนิ เพ่อื ตัดสินผลพฒั นาการของเด็กเมือ่ สิน้ ภาคเรียนหรือส้นิ ปีการศกึ ษา

2) แบ่งตามระดบั ของการประเมิน
การแบง่ ตามระดับของการประเมนิ แบง่ ได้เป็น ๒ ประเภท
๒.๑) การประเมินพัฒนาการระดับช้ันเรียน เป็นการประเมินพัฒนาการที่อยู่ในกระบวนการจัด
ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ผสู้ อนดาเนินการเพ่อื พัฒนาเด็กและตัดสินผลการพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์

๑๒๑

จิตใจ สังคม และสติปัญญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรียนรู้(Unit) ท่ีผู้สอนจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก
ผู้สอนประเมินผลพัฒนาการตามสภาพที่พงึ ประสงคแ์ ละตัวบ่งชีท้ ีก่ าหนดเป็นเป้าหมายในแต่ละแผนการจัด

ประสบการณ์ของหน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น การสังเกต การสนทนา การสัมภาษณ์ การรวบรวม
ผลงานทแ่ี สดงออกถึงความกา้ วหนา้ แตล่ ะด้านของเด็กเป็นรายบุคคล การแสดงกริยาอาการต่างๆของเด็ก

ตลอดเวลาทีจ่ ัดประสบการณ์เรียนรู้ เพ่ือตรวจสอบและประเมินว่าเด็กบรรลุตามสภาพที่พึงประสงค์ละตัว
บ่งช้ี หรือมีแนวโน้มว่าจะบรรลุสภาพท่ีพึงประสงค์และตัวบ่งช้ีเพียงใด แล้วแก้ไขข้อบกพร่องเป็นระยะๆ
อย่างต่อเน่ือง ทั้งน้ี ผู้สอนควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการว่า เด็กมีผลอันเกิดจากการจัดประสบการณ์

การเรียนรหู้ รอื ไม่ และมากนอ้ ยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่อื รวบรวมหรอื สะสมผลการประเมินพัฒนาการ
ในกิจกรรมประจาวัน/กิจวัตรประจาวัน/หน่วยการเรียนรู้ หรืผลตามรูปแบบการประเมินพัฒนาการที่

สถานศึกษากาหนด เพ่ือนามาเป็นข้อมูลใช้ปรังปรุงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และเป็นข้อมูลในการ
สรุปผลการประเมินพฒั นาในระดับสถานศกึ ษาต่อไปอกี ด้วย

๒.๒) การประเมนิ พฒั นาการระดบั สถานศกึ ษา เป็นการตรวจสอบผลการประเมินพัฒนาการของ

เดก็ เปน็ รายบคุ คลเปน็ รายภาค/รายปี เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลเกี่ยวกบั การจดั การศกึ ษาของเด็กในระดับปฐมวัยของ
สถานศกึ ษาวา่ สง่ ผลตามการเรยี นร้ขู องเดก็ ตามเป้าหมายหรือไม่ เด็กมีสิ่งท่ีต้องการได้รับการพัฒนาในด้าน

ใด รวมทั้งสามารถนาผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็กในระดบั สถานศึกษาไปเป็นข้อมูลและสารสนเทศใน
การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั โครงการหรือวธิ ีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจนการจัด
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาและการ

รายงานผลการพัฒนาคุณภาพเด็กต่อผู้ปกครอง นาเสนอคณะกรรมการถานศึกษาขั้นพื้นฐานรับทราบ
ตลอดจนเผยแพรต่ ่อสาธรณชน ชุมชน หรือหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือหนว่ ยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ต่อไป
อนง่ึ สาหรบั การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือระดับประเทศนั้น

หากเขตพื้นท่ีการศึกษาใดมคี วามพรอ้ ม อาจมกี ารดาเนินงานในลกั ษณะของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเด็กปฐมวัย

เข้ารับการประเมินก็ได้ ท้ังนี้ การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตามหลักการการประเมิน
พฒั นาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

บทบาทหน้าทขี่ องผ้เู ก่ยี วข้องในการดาเนินงานประเมินพฒั นาการ

การดาเนินงานประเมินพัฒนาการของสถานศึกษาน้ัน ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องเข้ามามีส่วน

ร่วมในการประเมินพัฒนาการและร่วมรับผิดชอบอย่างเหมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาแต่ละขนาด

ดังน้ี

ผู้ปฏบิ ัติ บทบาทหนา้ ท่ใี นการประเมินพัฒนาการ

ผสู้ อน ๑. ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และแนวการปฏิบัติการประเมิน

พัฒนาการตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย

๒. วิเคราะห์และวางแผนการประเมินพัฒนาการท่ีสอดคล้องกับหน่วยการ

เรียนรู้/กิจกรรมประจาวัน/กจิ วตั รประจาวนั

๓. จัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรียนรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทึกผล

การประจาวัน/กิจวตั รประจาวัน

๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมินเมื่อส้ิน

ภาคเรยี นและสิ้นปกี ารศกึ ษา

๑๒๒

๕. สรุปผลการประเมินพัฒนาการระดับช้ันเรียนลงในสมุดบันทึกผลการ

ประเมนิ พัฒนาการประจาช้นั

๖. จัดทาสมดุ รายงานประจาตวั นกั เรียน

๗. เสนอผลการประเมินพัฒนาการต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษาลงนามอนุมัติ

ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ๑.กาหนดผู้รับผิดชอบงานประเมินพัฒนาการตามหลักสูตร และวางแนวทาง

ปฏิบัติการประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ตามหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย

๒. นเิ ทศ กากับ ติดตามใหก้ ารดาเนินการประเมนิ พฒั นาการให้บรรลเุ ป้าหมาย

๓. นาผลการประเมินพัฒนาการไปจัดทารายงานผลการดาเนินงานกาหนด

นโยบายและวางแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั

พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ๑. ให้ความรว่ มมือกบั ผู้สอนในการประเมินพฤติกรรมของเด็กท่ีสังเกตได้จากท่ี

บ้านเพือ่ เปน็ ข้อมูลประกอบการแปลผลทีเ่ ท่ยี งตรงของผ้สู อน

๒. รับทราบผลการประเมินของเด็กและสะท้อนให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีเป็น

ประโยชนใ์ นการสง่ เสรมิ และพัฒนาเดก็ ในปกครองของตนเอง

๓. ร่วมกบั ผ้สู อนในการจดั ประสบการณ์หรอื เปน็ วิทยากรท้องถ่นิ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ๑. ให้ความเห็นชอบและประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและแนว

ส ถ า น ศึ ก ษ า ขั้ น ปฏิบัตใิ นการประเมนิ พฒั นาการตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย

พื้นฐาน ๒. รับทราบผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็กเพือ่ การประกันคุณภาพภายใน

สานักงานเขตพื้นที่ ๑. ส่งเสริมการจัดทาเอกสารหลักฐานว่าด้วยการประเมินพัฒนาการของเด็ก

การศึกษา ปฐมวัยของสถานศึกษา

๒. ส่งเสริมให้ผู้สอนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในแนวปฏิบัติการ

ประเมินพัฒนาการตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามหลักสูตร

สถานศกึ ษาปฐมวัย ตลอดจนความเข้าใจในเทคนคิ วธิ กี ารประเมินพัฒนาการใน

รูปแบบต่างๆโดยเนน้ การประเมินตามสภาพจริง

๓. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาเคร่ืองมือพัฒนาการตามมาตรฐาน

คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยและการจัดเก็บเอกสาร

หลกั ฐานการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ

๔. ให้คาปรกึ ษา แนะนาเกีย่ วกับการประเมินพัฒนาการและการจัดทาเอกสาร

หลักฐาน

๕. จัดให้มกี ารประเมินพัฒนาการเด็กที่ดาเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือ

หนว่ ยงานตน้ สังกัดและใหค้ วามรว่ มมอื ในการประเมินพัฒนาการระดับประเทศ

แนวปฏิบตั กิ ารประเมินพัฒนาการ
การประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมท่ีสอดแทรกอยู่ในการจัดประสบการณ์ทุกขั้นตอน

โดยเริ่มตั้งแต่การประเมินพฤติกรรมของเด็กก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤติกรรมเด็กขณะ
ปฏิบตั ิกิจรรม และการประเมินพฤติกรรมเดก็ เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรม ท้ังนี้ พฤติกรรมการเรียนรู้และ
พัฒนาการด้านตา่ งๆ ของเด็กทีไ่ ด้รับการประเมนิ นนั้ ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัว
บ่งช้ี และสภาพที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่ผู้สอนวางแผนและออกแบบไว้ การ

ประเมินพัฒนาการจงึ เป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีจะช่วยให้การเรียนรู้ของเด็กบรรลุตามเป้าหมายเพ่ือนาผลการ

๑๒๓

ประเมินไปปรับปรุง พัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และใช้เป็นข้อมูลสาหรับการพัฒนาเด็กต่อไป
สถานศึกษาควรมีกระบวนการประเมินพัฒนาการและการจัดการอย่างเป็นระบบสรุปผลการประเมิน
พัฒนาการท่ีตรงตามความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมที่แท้จริงของเด็กสอดคล้องตามหลักการ
ประเมินพัฒนาการ รวมทั้งสะท้อนการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็น
ระบบและต่อเนือ่ ง แนวปฏบิ ตั กิ ารประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ของสถานศึกษา มดี ังนี้
๑. หลักการสาคัญของการดาเนินการประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
๒๕๖๐

สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาปฐมวัยควรคานึงถึงหลักสาคัญของการดาเนินงานการประเมิน
พัฒนาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ ๓-๖ ปี ดงั นี้

๑.๑ ผู้สอนเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบการประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องมีส่วน
รว่ ม

๑.๒ การประเมินพฒั นาการ มีจุดมุ่งหมายของการประเมินเพ่ือพัฒนาความก้าวหน้าของเด็กและ
สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก

๑.๓ การประเมินพัฒนาการต้องมีความสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์แตล่ ะวัยซึ่งกาหนดไวใ้ นหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั

๑.๔ การประเมินพัฒนาการเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต้อง
ดาเนินการดว้ ยเทคนคิ วธิ กี ารท่ีหลากหลาย เพอ่ื ใหส้ ามารถประเมินพฒั นาการเดก็ ได้อย่างรอบด้านสมดุลท้ัง
ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา รวมทง้ั ระดับอายุของเด็ก โดยตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความ
เทยี่ งตรง ยตุ ิธรรมและเชอ่ื ถือได้

๑.๕ การประเมินพัฒนาการพิจารณาจากพัฒนาการตามวัยของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมการ
เรียนรู้และการรว่ มกิจกรรม ควบคูไ่ ปในกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามความเหมาะสมของแต่
ละระดบั อายุ และรปู แบบการจัดการศกึ ษา และตอ้ งดาเนินการประเมนิ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๑.๖ การประเมนิ พฒั นาการตอ้ งเปิดโอกาสใหผ้ มู้ สี ว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้สะท้อนและตรวจสอบผล
การประเมนิ พฒั นาการ

๑.๗ สถานศึกษาควรจัดทาเอกสารบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในระดับชั้น
เรียนและระดับสถานศึกษา เช่น แบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุด
บันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจาชั้น เพ่ือเป็นหลักฐานการประเมินและรายงานผลพัฒนาการและ
สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน เพ่อื เปน็ การสอื่ สารขอ้ มลู การพฒั นาการเด็กระหวา่ งสถานศึกษากับบา้ น

๒. ขอบเขตของการประเมินพฒั นาการ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยเป็น

มาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ซ่ึงถือเป็นคุณภาพลักษณะที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นตัวเด็กเมื่อ
จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย คุณลักษณะท่ีระบุไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ถือเป็นส่ิงจาเป็น
สาหรับเด็กทุกคน ดังนั้น สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบในการจัด
การศึกษาเพ่ือพัฒนาเด็กให้มีคุณภาพมาตรฐานที่พึงประสงค์กาหนด ถือเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการ
ขบั เคล่อื นและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวยั แนวคดิ ดงั กล่าวอยู่บนฐานความเชื่อท่ีว่าเด็กทุกคนสามารถ
พัฒนาอยา่ งมีคุณภาพและเทา่ เทียมได้ ขอบเขตของการประเมินพฒั นาการประกอบดว้ ย

๒.๑ สิ่งทีจ่ ะประเมนิ

๑๒๔

๒.๒ วธิ แี ละเครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
๒.๓ เกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการ

๒.๑ สง่ิ ที่จะประเมนิ
การประเมินพัฒนาการสาหรับเด็กอายุ ๓-๖ ปี มีเป้าหมายสาคัญคือ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง

ประสงค์จานวน ๑๒ ข้อ ดงั น้ี
๑. พฒั นาการด้านรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสยั ทด่ี ี
มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเน้ือใหญ่และกล้ามเน้ือเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ

ประสานสมั พนั ธก์ ัน
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดแี ละมคี วามสขุ
มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจที่ดงี าม
๓. พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชีวิตและปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อย่รู ่วมกบั ผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ติ นเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน

ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๔. พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกับวัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ทเ่ี ปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้

เหมาะสมกับวัยสงิ่ ท่ีจะประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั แต่ละดา้ น มีดังน้ี
ด้านร่างกาย ประกอบด้วย การประเมินการมีน้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย สุข

นสิ ยั ท่ีดี การรจู้ กั รักษาความปลอดภยั การเคล่ือนไหวและการทรงตัว การเล่นและการออกกาลังกาย และ
การใช้มอื อยา่ งคลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธ์กัน

ด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย การประเมินความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่าง
เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อ่ืน มีความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ความ
สนใจ/ความสามารถ/และมีความสุขในการทางานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ความรับผิดชอบในการ
ทางาน ความซ่ือสัตย์สุจริตและรู้สึกถูกผิด ความเมตตากรุณา มีน้าใจและช่วยเหลือแบ่งปัน ตลอดจนการ
ประหยดั อดออม และพอเพียง

ด้านสังคม ประกอบด้วย การประเมินความมีวินัยในตนเอง การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติ
กจิ วัตรประจาวนั การระวงั ภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ที่เส่ียงอันตราย การดูแลรักษาธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม การมสี มั มาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรับความ
เหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล การมีสัมพนั ธท์ ่ีดกี ับผู้อ่ืน การปฏิบัติตนเบื้องต้นในการเป็นสมาชิก
ทีด่ ีของสงั คมในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

๑๒๕

ด้านสติปัญญา ประกอบดว้ ย การประเมนิ ความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เข้าใจ ความสามารถในการอา่ น เขยี นภาพและสัญลักษณ์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา คิดเชิงเหตุผล
คิดรวบยอด การเล่น/การทางานศิลปะ/การแสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิด
สร้างสรรคข์ องตนเอง การมีเจตคติทด่ี ตี ่อการเรยี นรแู้ ละความสามารถในการแสวงหาความรู้

๒.๒ วธิ กี ารและเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินพฒั นาการ
การประเมินพัฒนาการเด็กแต่ละคร้ังควรใช้วิธีการประเมินอย่างหลากหลายเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ี

สมบรู ณ์ทสี่ ดุ วิธกี ารท่ีเหมาะสมและนยิ มใช้ในการประเมินเด็กปฐมวัยมดี ว้ ยกนั หลายวธิ ี ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. การสังเกตและการบันทึก การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอย่างมีระบบ ได้แก่ การ

สังเกตอย่างมจุดมุ่งหมายที่แน่นอนตามแผนที่วางไว้ และอีกแบบหนึ่งคือ การสังเกตแบบไม่เป็นทางการ
เป็นการสงั เกตในขณะทเ่ี ด็กทากิจกรรมประจาวันและเกิดพฤติกรรมที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดข้ึนและผู้สอนจด
บันทึกไว้การสงั เกตเป็นวธิ กี ารท่ผี ูส้ อนใชใ้ นการศึกษาพัฒนาการของเด็ก เม่ือมีการสังเกตก็ต้องมีการบันทึก
ผู้สอนควรทราบว่าจะบันทึกอะไรการบันทึกพฤติกรรมมีความสาคัญอย่างยิ่งที่ต้องทาอย่างสม่าเสมอ
เน่อื งจากเด็กเจรญิ เตบิ โตและเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ จงึ ตอ้ งนามาบันทึกเป็นหลักฐานไว้อยา่ งชดั เจน การ
สังเกตและการบันทึกพัฒนาการเดก็ สามารถใชแ้ บบง่ายๆคือ

๑.๑ แบบบันทึกพฤติกรรม ใช้บันทึกเหตุการณ์เฉพาะอย่างโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผู้
บนั ทกึ ตอ้ งบันทกึ วนั เดอื น ปีเกิดของเด็ก และวนั เดือน ปี ท่ีทาการบันทกึ แต่ละครง้ั

๑.๒ การบันทกึ รายวัน เป็นการบันทึกเหตกุ ารณ์หรอื ประสบการณ์หรือประสบการณ์ท่ีเกิดข้ึน
ในช้นั เรียนทุกวนั ถ้าหากบันทึกในรปู แบบของการบรรยายก็มักจะเน้นเฉพาะเด็กรายท่ีต้องการศึกษา ข้อดี
ของการบนั ทึกรายวนั คอื การช้ีให้เห็นความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยกระตนุ้ ใหผ้ ู้สอนได้พิจารณา
ปัญหาของเด็กเป็นรายบุคคลช่วยให้ผู้เชียวชาญมีข้อมูลมากขึ้นสาหรับวินิจฉัยเด็กว่าสมควรจะได้รับ
คาปรกึ ษาเพื่อลดปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้อย่างถูกต้อง นอกจากน้ันยังช่วยชี้ให้เห็นข้อเสีย
ของการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

๑.๓ แบบสารวจรายการ ชว่ ยให้สามารถวเิ คราะห์เด็กแต่ละคนไดค้ อ่ นข้างละเอียด
๒. การสนทนา สามารถใชก้ ารสนทนาได้ท้งั เป็นกลุ่มหรือรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถใน
การแสดงความคิดเห็น และพัฒนาการด้านภาษาของเด็กและบันทึกผลการสนทนาลงในแบบบันทึก
พฤติกรรมหรอื บันทกึ รายวัน
๓. การสมั ภาษณ์ ด้วยวิธพี ูดคุยกบั เด็กเป็นรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดล้อมเหมาะสมเพื่อ
ไม่ให้เกิดความเครียดและวิตกกังวล ผู้สอนควรใช้คาถามที่เหมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตอบอย่าง
อิสระจะทาให้ผู้สอนสามารถประเมนิ ความสามารถทางสตปิ ญั ญาของเด็กแต่ละคนและคน้ พบศกั ยภาพในตัว
เดก็ ไดโ้ ดยบันทึกข้อมลู ลงในแบบสัมภาษณ์
การเตรียมการก่อนการสัมภาษณ์ ผสู้ อนควรปฏิบัติ ดงั นี้
- กาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการสมั ภาษณ์
- กาหนดคาพูด/คาถามท่จี ะพูดกับเดก็ ควรเป็นคาถามที่เด็กสามารถตอบโต้หลากหลาย ไม่ผิด/

ถกู
การปฏิบัตขิ ณะสมั ภาษณ์
- ผูส้ อนควรสร้างความคนุ้ เคยเปน็ กนั เอง
- ผสู้ อนควรสรา้ งสภาพแวดล้อมที่อบอ่นุ ไมเ่ ครง่ เครยี ด

๑๒๖

- ผ้สู อนควรเปดิ โอกาสเวลาใหเ้ ดก็ มีโอกาสคิดและตอบคาถามอย่างอิสระ
- ระยะเวลาสมั ภาษณไ์ มค่ วรเกนิ ๑๐-๒๐ นาที
๔. การรวบรวมผลงานที่แสดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของเด็กเป็นรายบุคคล โดย
จดั เกบ็ รวบรวมไว้ในแฟ้มผลงาน (portfolio) ซ่ึงเป็นวิธีรวบรวมและจัดระบบข้อมูลต่างๆท่ีเก่ียวกับตัวเด็ก
โดยใชเ้ คร่ืองมอื ตา่ งๆรวบรวมเอาไว้อย่างมีจุดมงุ่ หมายทชี่ ัดเจน แสดงการเปล่ียนแปลงของพัฒนาการแต่ละ
ด้าน นอกจากน้ียังรวมเครื่องมืออ่ืนๆ เช่น แบบสอบถามผู้ปกครอง แบบสังเกตพฤติกรรม แบบบันทึก
สุขภาพอนามัย ฯลฯ เอาไว้ในแฟ้มผลงาน เพ่ือผู้สอนจะได้ข้อมูลเก่ียวกับตัวเด็กอย่างชัดเจนและถูกต้อง
การเกบ็ ผลงานของเด็กจะไม่ถอื วา่ เปน็ การประเมินผลถ้างานแตล่ ะชนิ้ ถกู รวบรวมไว้โดยไมไ่ ดร้ ับการประเมิน
จากผู้สอนและไม่มีการนาผลมาปรับปรุงพัฒนาเด็กหรือปรับปรุงการสอนของผู้สอน ดังน้ันจึงเป็นแต่การ
สะสมผลงานเท่าน้ัน เชน่ แฟม้ ผลงานขดี เขียน งานศิลปะ จะเป็นเพยี งแคแ่ ฟ้มผลงานทไ่ี มม่ ีการประเมนิ แฟ้ม
ผลงานนี้จะเป็นเครื่องมือการประเมินต่อเน่ืองเม่ืองานที่สะสมแต่ละช้ินถูกใช้ในการบ่งบอกความก้าวหน้า
ความตอ้ งการของเดก็ และเป็นการเกบ็ สะสมอย่างต่อเนือ่ งทสี่ ร้างสรรค์โดยผสู้ อนและเดก็
ผู้สอนสามารถใช้แฟ้มผลงานอย่างมีคุณค่าส่ือสารกับผู้ปกครองเพราะการเก็บผลงานเด็กอย่าง
ต่อเนอื่ งและสม่าเสมอในแฟม้ ผลงานเปน็ ข้อมลู ให้ผู้ปกครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหน้าที่ลูกของตน
มเี พ่มิ ข้นึ จากผลงานชนิ้ แรกกบั ชนิ้ ต่อๆมาขอ้ มูลในแฟม้ ผลงานประกอบดว้ ย ตัวอย่างผลงานการเขียดเขียน
การอา่ น และขอ้ มูลบางประการของเด็กที่ผู้สอนเป็นผู้บันทึก เช่นจานวนเล่มของหนังสือที่เด็กอ่าน ความถี่
ของการเลอื กอ่านที่มุมหนังสอื ในชว่ งเวลาเลอื กเสรี การเปลีย่ นแปลงอารมณ์ ทัศนคติ เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้
จะสะท้อนภาพของความงอก
งามในเด็กแต่ละคนไดช้ ดั เจนกวา่ การประเมนิ โดยการใหเ้ กรด ผู้สอนจะต้องชี้แจงให้ผู้ปกครองทราบถึงท่ีมา
ของการเลอื กชิ้นงานแต่ละช้ินงานท่ีสะสมในแฟ้มผลงาน เช่น เป็นชิ้นงานที่ดีท่ีสุดในช่วงระยะเวลาที่เลือก
ชิน้ งานนั้น เป็นชน้ิ งานทแ่ี สดงความตอ่ เน่ืองของงานโครงการ ฯลฯ ผสู้ อนควรเชิญผปู้ กครองมามีส่วนร่วมใน
การคดั สรรช้นิ งานที่บรรจุลงในแฟ้มผลงานของเดก็
๕. การประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ตัวชี้ของการเจริญเติบโตในเด็กท่ีใช้ทั่วๆไป ได้แก่
น้าหนัก ส่วนสูง เส้นรอบศีรษะ ฟัน และการเจริญเติบโตของกระดูก แนวทางประเมินการเจริญเติบโต มี
ดงั น้ี
๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการช่ังน้าหนักและวัดส่วนสูงเด็กแล้วนาไปเปรียบเทียบกับ
เกณฑป์ กตใิ นกราฟแสดงนา้ หนกั ตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงใช้สาหรับติดตามการเจริญเติบโต
โดยรวม วิธีการใชก้ ราฟมขี ้นั ตอน ดังนี้
เมอ่ื ชั่งน้าหนกั เดก็ แล้ว นานา้ หนักมาจุดเครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอ่านการเจริญเติบโต
ของเดก็ โดยดูเคร่ืองหมายกากบาทว่าอยใู่ นแถบสีใด อ่านขอ้ ความบนแถบสนี นั้ ซึง่ แบ่งภาวะโภชนาการเป็น
๓ กลุ่มคือ น้าหนักท่ีอยู่ในเกณฑ์ปกติ น้าหนักมากเกนเกณฑ์ น้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ข้อควรระวังสาหรับ
ผู้ปกครองและผู้สอนคือ ควรดูแลน้าหนักเด็กอย่างให้แบ่งเบนออกจากเส้นประเมินมิเช่นน้ันเด็กมีโอกาส
นา้ หนักมากเกนิ เกณฑห์ รือนา้ หนกั น้อยกวา่ เกณฑ์ได้
ขอ้ ควรคานงึ ในการประเมินการเจรญิ เติบโตของเดก็

-เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านการเจริญเติบโต บางคนรูปร่างอ้วน บางคนช่วง
ครงึ่ หลงั ของขวบปแี รก น้าหนกั เด็กจะขึน้ ช้า เน่อื งจากหว่ งเล่นมากข้ึนและความอยากอาหารลดลงร่างใหญ่
บางคนร่างเล็ก

-ภาวะโภชนาการเป็นตวั สาคัญท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ขนาดของรูปร่าง แต่ไม่ใชส่ าเหตเุ ดยี ว

๑๒๗

-กรรมพันธ์ุ เด็กอาจมีรูปร่างเหมือนพ่อแม่คนใดคนหน่ึง ถ้าพอ่ หรอื แมเ่ ตี้ย ลูกอาจเตี้ยและ
พวกน้อี าจมนี ้าหนกั ต่ากวา่ เกณฑ์เฉลี่ยได้และมักจะเปน็ เด็กทีท่ านอาหารได้นอ้ ย

๕.๒ การตรวจสุขภาพอนามัย เป็นตัวชี้วัดคุณภาพของเด็ก โดยพิจารณาความสะอาดส่ิง
ปกตขิ อร่างกายท่ีจะส่งผลต่อการดาเนินชีวิตและการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งจะประเมินสุขภาพอนามัย ๙

รายการคอื ผมและศีรษะ หแู ละใบหู มอื และเลบ็ มือ เทา้ และเล็บเทา้ ปาก ลิ้นและฟัน จมูก ตา ผิวหนังและ
ใบหนา้ และเสอ้ื ผ้า

๒.๓ เกณฑก์ ารประเมนิ พฒั นาการ
การสรา้ งเกณฑห์ รอื พัฒนาเกณฑ์หรือกาหนดเกณฑ์การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ผู้สอน

ควรให้ความสนใจในสว่ นที่เกย่ี วขอ้ ดังน้ี
๑. การวางแผนการสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเป็นระบบ เช่น จะสังเกตเด็กคนใดบ้างในแต่ละ

วนั กาหนดพฤตกิ รรมท่ีสังเกตให้ชัดเจน จัดทาตารางกาหนดการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ผู้สอน

ต้องเลือกสรรพฤติกรรมที่ตรงกับระดบั พัฒนาการของเด็กคนนัน้ จรงิ ๆ
๒. ในกรณที ี่หอ้ งเรยี นมีนกั เรียนจานวนมาก ผสู้ อนอาจเลือกสังเกตเฉพาะเด็กที่ทาได้ดีแล้วและเด็ก

ทยี่ ังทาไม่ได้ ส่วนเด็กปานกลางให้ถือว่าทาไดไ้ ปตามกิจกรรม
๓. ผูส้ อนตอ้ งสงั เกตจากพฤตกิ รรม คาพดู การปฏิบัตติ ามข้ันตอนในระหว่างทางาน/กิจกรรม และ

คุณภาพของผลงาน/ช้ินงาน ร่องรอยท่ีนามาใช้พิจารณาตัดสินผลของการทางานหรือการปฏิบัติ

ตัวอย่างเชน่
๑) เวลาที่ใช้ในการทากิจกรรม/ทางาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชานาญจะใช้เวลามาก มีท่าทาง

อดิ ออด ไม่กลา้ ไม่เตม็ ใจทางาน
๒) ความต่อเน่ือง ถ้าเด็กยังมีการหยุดชะงัก ลังเล ทางานไม่ต่อเนื่อง แสดงว่าเด็กยังไม่

ชานาญหรือยงั ไมพ่ รอ้ ม

๓) ความสมั พันธ์ ถา้ การทางาน/ปฏิบตั ิน้ันๆมีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง ไม่ราบร่ืน ท่าทางมือ
และเทา้ ไมส่ มั พันธ์กัน แสดงว่าเดก็ ยังไมช่ านาญหรอื ยังไมพ่ ร้อม ท่าที่แสดงออกจงึ ไมส่ ง่างาม

๔) ความภูมิใจ ถ้าเด็กยังไม่ชื่นชม ก็จะทางานเพียงให้แล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว ไม่มีความ
ภูมใิ จในการทางาน ผลงานจงึ ไมป่ ระณตี

๒.๓.๑ ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการเดก็

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็กท้ังในระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษา

ควรกาหนดในทิศทางหรอื รูปแบบเดยี วกนั สถานศึกษาสามารถให้ระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการ

ของเด็กที่สะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ หรือพฤติกรรมท่ีจะ

ประเมนิ เปน็ ระบบตวั เลข เช่น ๑ หรอื ๒ หรอื ๓ หรอื เป็นระบบท่ีใช้คาสาคัญ เช่น พอใช้ ควรส่งเสริม

ตามที่สถานศกึ ษากาหนด ตวั อย่างเช่น

ระบบตัวเลข ระบบที่ใช้คาสาคญั

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรสง่ เสรมิ

๑๒๘

สถานศกึ ษาอาจกาหนดระดบั คณุ ภาพของการแสดงออกในพฤตกิ รรม เปน็ ๓ ระดับ ดงั นี้

ระดับคณุ ภาพ ระบบท่ีใชค้ าสาคัญ

๑ หรือ ควรสง่ เสริม เดก็ มีความลงั เล ไมแ่ น่ใจ ไม่ยอมปฏิบัติกิจกรรม ทั้งนี้ เนื่องจากเด็กยังไม่

พร้อม ยังม่ันใจ และกลัวไม่ปลอดภัย ผู้สอนต้องยั่วยุหรือ

แสดงให้เห็นเป็นตัวอย่างหรือต้องคอยอยู่ใกล้ๆ ค่อยๆให้เด็กทาทีละ

ข้ันตอน พร้อมต้องใหก้ าลังใจ

๒ หรือ พอใช้ เด็กแสดงได้เอง แต่ยังไม่คล่อง เด็กกล้าทามากขึ้นผู้สอนกระตุ้นน้อยลง

ผู้สอนต้องคอยแก้ไขในบางครั้ง หรือคอยให้กาลังใจให้เด็กฝึกปฏิบัติมาก

ขึ้น

๓ หรอื ดี เด็กแสดงได้อยา่ งชานาญ คล่องแคล่ว และภูมใิ จ เด็กจะแสดงได้เองโดยไม่

ตอ้ งกระตุ้น มีความสัมพนั ธ์ท่ีดี

ตวั อย่างคาอธบิ ายคุณภาพ

พัฒนาการด้านรา่ งกาย : สุขภาพอนามยั พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย : กระโดดเท้าเดียว

ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ

๑ หรือ ควรสง่ เสริม สง่ เสรมิ ความสะอาด ๑ หรอื ควรสง่ เสรมิ ทาได้แต่ไมถ่ กู ต้อง

๒ หรอื พอใช้ สะอาดพอใช้ ๒ หรือ พอใช้ ท า ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง แ ต่ ไ ม่

คล่องแคล่ว

๓ หรือ ดี สะอาด ๓ หรือ ดี ทาไดถ้ ูกตอ้ ง และคล่องแคลว่

พัฒนาการดา้ นอารมณ์ : ประหยดั

ระดบั คณุ ภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ

๑ หรอื ควรสง่ เสรมิ ใช้สง่ิ ของเครื่องใช้เกนิ ความจาเปน็

๒ หรือ พอใช้ ใช้สง่ิ ของเครอื่ งใชอ้ ย่างประหยดั เปน็ บางครัง้

๓ หรอื ดี ใช้สง่ิ ของเครอ่ื งใช้อยา่ งประหยดั ตามความจาเปน็ ทุกครั้ง

ด้านสังคม : ปฏิบัติตามข้อตกลง

ระดบั คุณภาพ คาอธบิ ายคณุ ภาพ

๑ หรือ ควรส่งเสริม ไม่ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง

๒ หรอื พอใช้ ปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลง โดยมผี ชู้ ้นี าหรอื กระตุ้น

๓ หรอื ดี ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงได้ด้วยตนเอง

พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา : เขยี นช่ือตนเองตามแบบ

ระดบั คุณภาพ คาอธิบายคณุ ภาพ

๑ หรอื ควรส่งเสริม เขียนชื่อตนเองไมไ่ ด้ หรือเขียนเปน็ สญั ลักษณท์ ่ไี ม่เปน็ ตวั อักษร

๒ หรือ พอใช้ เขียนชอ่ื ตนเองได้ มีอักษรบางตวั กลบั หวั กลบั ดา้ นหรอื สลับท่ี

๓ หรือ ดี เขียนชอ่ื เองได้ ตวั อักษรไมก่ ลับหวั ไม่กลับดา้ นไม่สลับที่

๑๒๙

๒.๓.๒ การสรุปผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ กาหนดเวลาเรยี นสาหรบั เดก็ ปฐมวัยต่อปีการศึกษา

ไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วัน สถานศึกษาจึงควรบริหารจัดการเวลาที่ได้รับน้ีให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา
เดก็ อยา่ งรอบด้านและสมดุล ผู้สอนควรมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็มศักยภาพของแด็ก เพ่ือให้การ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องตรวจสอบพฤติกรรมที่แสดงพัฒนาการของเด็ก
ต่อเน่อื งมกี ารประเมินซา้ พฤตกิ รรมน้ันๆอย่างน้อย ๑ ครั้งต่อภาคเรียน เพ่ือยืนยันความเช่ือมั่นของผลการ
ประเมนิ พฤตกิ รรมนั้นๆ และนาผลไปเปน็ ขอ้ มูลในการสรุปการประเมินสภาพที่พึงประสงค์ของเด็กในแต่ละ
สภาพทพี่ ึงประสงค์ นาไปสรปุ การประเมนิ ตวั บ่งชแ้ี ละมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ตามลาดับ

อน่ึง การสรุประดับคณุ ภาพของการประเมินพัฒนาการเด็ก วิธกี ารทางสถิติที่เหมาะสมและสะดวก
ไม่ยุ่งยากสาหรับผู้สอน คือการใช้ฐานนยิ ม (Mode) ในบางครั้งพฤติกรรม หรือสภาพท่ีพึงประสงค์หรือตัว
บง่ ชนี้ ยิ มมากวา่ ๑ ฐานนิยม ให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษา กล่าวคือ เมื่อมีระดับคุณภาพซ้ามากกว่า ๑
ระดบั สถานศึกษาอาจตัดสินสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการบนพ้ืนฐาน หลกั พัฒนาการและการเตรียมความ
พรอ้ ม หากเปน็ ภาคเรียนที่ ๑ สถานศึกษาควรเลือกตดั สินใจใช้ฐานนิยมท่ีมีระดับคุณภาพต่ากว่าเพ่ือใช้เป็น
ข้อมลู ในการพฒั นาเดก็ ใหพ้ รอ้ มมากขน้ึ หากเปน็ ภาคเรียนที่ ๒ สถานศึกษาควรเลือกตัดสินใจใช้ฐานนิยมท่ี
มรี ะดบั คุณภาพสงู กว่าเพ่ือตดั สินและการส่งตอ่ เด็กในระดับชัน้ ที่สูงขึน้

๒.๓.๓ การเลื่อนช้นั อนบุ าลและเกณฑก์ ารจบการศกึ ษาระดับปฐมวัย
เมื่อส้นิ ปีการศึกษา เดก็ จะไดร้ บั การเลื่อนช้นั โดยเดก็ ต้องได้รับการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ทัง้ ๑๒ ขอ้ ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งต่อยอดการพัฒนาให้กับเด็ก
ในระดับสูงข้ึนต่อไป และเนื่องจากการศึกษาระดับอนุบาลเป็นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีไม่นับเป็น
การศึกษาภาคบงั คบั จงึ ไม่มีการกาหนดเกณฑ์การจบช้นั อนุบาล การเทยี บโนการเรียน และเกณฑ์การเรียน
ซ้าช้ัน และหากเด็กมแี นวโนม้ ว่าจะมปี ัญหาตอ่ การเรียนรู้ในระดับท่สี ูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการ
เพื่อพิจารณาปัญหา และประสานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการให้ความช่วยเหลือ เช่น เจ้าหน้าที่
สาธารณสุขส่งเสรมิ ตาบล นักจิตวิทยา ฯลฯ เข้าร่วมดาเนินงานแก้ปญั หาได้
อย่างไรก็ตาม ทักษะที่นาไปสู่ความพร้อมในการเรียนรู้ท่ีสามารถใช้เป็นรอยเชื่อมต่อระหว่างช้ัน
อนบุ าลกบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ทีค่ วรพจิ ารณามีทักษะดงั น้ี
๑. ทกั ษะการชว่ ยเหลือตนเอง ได้แก่ ใชห้ ้องน้า ห้องส้วมได้ด้วยตนเอง แต่งกายได้เอง เก็บของเข้า
ทเ่ี มอื่ เลน่ เสร็จและชว่ ยทาความสะอาด ร้จู ักรอ้ งขอให้ช่วยเม่ือจาเปน็
๒. ทักษะการใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ ได้แก่ วงิ่ ไดอ้ ย่างราบรื่น วิ่งก้าวกระโดดได้ กระด้วยสองขาพ้นจาก
พื้น ถือจบั ขวา้ ง กระดอนลูกบอลได้
๓. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก ได้แก่ ใช้มือหยิบจับอุปกรณ์วาดภาพและเขียน วาดภาพคนมีแขน
ขา และสว่ นต่างๆของรา่ งกาย ตัดตามรอยเส้นและรปู ตา่ งๆ เขยี นตามแบบอยา่ งได้
๔. ทักษะภาษาการรู้หนังสือ ได้แก่ พูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฟังและปฏิบัติตามคาช้ีแจงงง่ายๆ ฟัง
เรอื่ งราวและคาคลอ้ งจองตา่ งๆอย่างสนใจ เข้าร่วมฟังสนทนาอภิปรายในเร่ืองต่างๆ รู้จักผลัดกันพูดโต้ตอบ
เล่าเร่ืองและทบทวนเร่ืองราวหรือประสบการณ์ต่างๆ ตามลาดับเหตุการณ์เล่าเรื่องจากหนังสือภาพอย่าง
เปน็ เหตุเป็นผล อา่ นหรอื จดจาคาบางคาทม่ี คี วามหมายตอ่ ตนเอง เขียนชือ่ ตนเองได้ เขียนคาท่ีมีความหมาย
ตอ่ ตนเอง
๕. ทักษะการคิด ได้แก่ แลกเปลี่ยนความคิดและให้เหตุผลได้ จดจาภาพและวัสดุที่เหมือนและ
ต่างกันได้ ใช้คาใหม่ๆในการแสดงความคิด ความรู้สึก ถามและตอบคาถามเก่ียวกับเรื่องที่ฟังเปรียบเทียบ

๑๓๐

จานวนของวัตถุ ๒ กลุ่ม โดยใช้คา “มากกว่า” “น้อยกว่า” “เท่ากัน” อธิบายเหตุการณ์/เวลา ตามลาดับ
อยา่ งถกู ตอ้ ง รูจ้ ักเช่ือมโยงเวลากบั กิจวัตรประจาวนั

๖. ทกั ษะทางสังคมและอารมณ์ ไดแ้ ก่ ปรับตัวตามสภาพการณ์ ใช้คาพูดเพ่ือแก้ไขข้อขัดแย้งน่ังได้
นาน ๕-๑๐ นาที เพื่อฟังเร่ืองราวหรือทากิจกรรม ทางานจนสาเร็จ ร่วมมือกับคนอ่ืนและรู้จักผลัดกันเล่น
ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เม่ือกังวลหรือต่ืนเต้น หยุดเล่นและทาในส่ิงท่ีผู้ใหญ่ต้องการให้ทาได้ ภูมิใจใน
ความสาเรจ็ ของตนเอง
๓. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการ

การรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการเปน็ การสอ่ื สารให้พ่อแม่ ผูป้ กครองไดร้ บั ทราบความกา้ วหน้า
ในการเรียนรู้ของเด็ก ซ่ึงสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินพัฒนาการ และจัดทาเอกสารรายงานให้
ผู้ปกครองทราบเปน็ ระยะๆ หรืออย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง

การรายงานผลการประเมินพัฒนาการสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพท่ีแตกต่างไปตาม
พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถึงพัฒนาการแต่ละดา้ น ที่สะทอ้ นมาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ท้ัง ๑๒ ข้อ ตาม
หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย

๓.๑ จุดมุ่งหมายการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ
๑) เพื่อให้ผู้เก่ียวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริม

และพัฒนาการเรยี นร้ขู องเดก็
๒) เพื่อให้ผู้สอนใชเ้ ป็นข้อมูลในการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
๓) เพ่ือเป็นข้อมูลสาหรับสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา และหน่วยงานต้นสังกัดใช้

ประกอบในการกาหนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
๓.๒ ข้อมลู ในการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ
๓.๒.๑ ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย เวลาเรียนแบบบันทึกการประเมิน

พัฒนาการตามหน่วยการจัดประสบการณ์ สมุดบันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจาชั้น และสมุด
รายงานประจาตวั นกั เรยี น และสารนิทัศน์ที่สะท้อนการเรียนรู้ของเด็ก เป็นข้อมูลสาหรับรายงานให้ผู้มีส่วน
เกย่ี วข้อง ได้แก่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผู้สอน และผู้ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหน้า ความสาเร็จในการ
เรียนร้ขู องเดก็ เพื่อนาไปในการวางแผนกาหนดเป้าหมายและวธิ ีการในการพัฒนาเดก็

๓.๒.๒ ขอ้ มูลระดับสถานศกึ ษา ประกอบด้วย ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อตามหลักสูตร เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจัดประสบการณ์การ
เรียนการสอนและคุณภาพของเด็ก ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และแจ้งให้ผู้ปกครอง
และผูเ้ ก่ียวข้องได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่ายนาไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเด็กให้
เกิดพัฒนาการอยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม รวมทง้ั นาไปจดั ทาเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการของผู้เรียน

๓.๒.๓ ข้อมูลระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา ได้แก่ ผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคท์ ้ัง ๑๒ ข้อ ตามหลกั สูตรเปน็ รายสถานศกึ ษา เพื่อเป็นข้อมูลที่ศึกษานิเทศก์/ผู้เก่ียวข้องใช้วางแผน
และดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา เพ่ือให้เกิดการ
ยกระดับคุณภาพเด็กและมาตรฐานการศึกษา

๓.๓ ลักษณะข้อมลู สาหรบั การรายงานผลการประเมินพัฒนาการ
การรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ สถานศึกษาสามารถเลอื กลักษณะข้อมูลสาหรับการรายงาน
ไดห้ ลายรปู แบบใหเ้ หมาะสมกับวิธีการรายงานและสอดคลอ้ งกับการใหร้ ะดับผลการประเมินพัฒนาการโดย
คานึงถึงประสิทธิภาพของการรายงานและการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ของผู้รายงานแต่ละฝ่ายลักษณ ะ

๑๓๑

ข้อมูลมรี ปู แบบ ดังน้ี

๓.๓.๑ รายงานเป็นตัวเลข หรือคาที่เป็นตัวแทนระดับคุณภาพพัฒนาการของเด็กที่เกิด

จากการประมวลผล สรุปตดั สนิ ขอ้ มลู ผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก ไดแ้ ก่

- ระดบั ผลการประเมนิ พฒั นาการมี ๓ ระดับ คือ ๓ ๒ ๑

- ผลการประเมนิ คุณภาพ “ด”ี “พอใช้” และ “ควรสง่ เสรมิ ”

๓.๓.๒ รายงานโดยใช้สถิติ เป็นรายงานจากข้อมูลท่ีเป็นตัวเลข หรือข้อความให้เป็นภาพ

แผนภูมิหรอื เสน้ พัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็กว่าดีขึ้น หรือควรได้รับการ

พฒั นาอยา่ งไร เม่ือเวลาเปลี่ยนแปลงไป

๓.๓.๓ รายงานเป็นข้อความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพที่ผู้สอนสังเกตพบ

เพื่อรายงานให้ทราบว่าผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผู้ปกครองทราบว่าเด็กมีความสามารถ มีพฤติกรรมตาม

คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ตามหลกั สตู รอย่างไร เช่น

- เด็กรบั ลูกบอลที่กระดอนจากพื้นด้วยมือท้ัง ๒ ข้างได้โดยไม่ใช้ลาตัวช่วยและลูกบอลไม่

ตกพืน้

- เด็กแสดงสีหนา้ ทา่ ทางสนใจ และมีความสขุ ขณะทางานทุกช่วงกจิ กรรม

- เด็กเล่นและทางานคนเดียวเป็นส่วนใหญ่

- เด็กจบั หนงั สอื ไม่กลบั หัว เปดิ และทาท่าทางอ่านหนังสอื และเลา่ เรือ่ งได้

๓.๔ เปา้ หมายของการรายงาน

การดาเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย บุคลากรหลายฝ่ายร่วมมือประสานงานกัน

พัฒนาเด็กทางตรงและทางอ้อม ให้มีพัฒนาการ ทักษะ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและ

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์โดยผู้มีส่วนร่วมเก่ียวข้องควรได้รับการายงานผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก

เพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการดาเนนิ งาน ดังนี้

กล่มุ เป้าหมาย การใชข้ ้อมลู

ผสู้ อน -วางแผนและดาเนนิ การปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาเดก็

-ปรบั ปรุงแก้ไขและพฒั นาการจัดการเรียนรู้

ผ้บู ริหารสถานศึกษา -ส่งเสริมพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรรู้ ะดับปฐมวัยของสถานศกึ ษา

พอ่ แม่ และผู้ปกครอง -รบั ทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก

-ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก รวมท้ังการดูแลสุขภาพ

อนามยั ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และพฤติกรรมตา่ งๆของเด็ก

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร -พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาปฐมวัยสถานศึกษา

สถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี -ยกระดบั และพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่

การศึกษา/หน่วยงานต้น การศึกษา นิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลและให้ความช่วยเหลือการ

สงั กัด พฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษาในสังกัด

๓.๕ วธิ ีการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ
การรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการใหผ้ ้เู ก่ียวข้องรบั ทราบ สามารถดาเนนิ การ ได้ดงั น้ี

๓.๕.๑ การรายงานผลการประเมินพัฒนาการในดอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อมูล

๑๓๒

จากแบบรายงาน สามารถใช้อา้ งอิง ตรวจสอบ และรับรองผลพฒั นาการของเดก็ เชน่
- แบบบนั ทกึ ผลการประเมินพฒั นาการประจาช้ัน
- แฟ้มสะสมงานของเดก็ รายบุคคล
- สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน
- สมุดบนั ทึกสุขภาพเด็ก
ฯลฯ
๓.๕.๒ การรายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ สามารถรายงานได้

หลายวิธี เช่น
- รายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยประจาปี
- วารสาร/จลุ สารของสถานศึกษา
-จดหมายสว่ นตวั
-การให้คาปรกึ ษา
-การใหพ้ บครูทปี่ รกึ ษาหรือการประชมุ เครือข่ายผ้ปู กครอง
- การให้ข้อมลู ทางอนิ เตอร์เนต็ ผา่ นเวบ็ ไซต์ของสถานศึกษา

ภารกิจของผู้สอนในการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพฒั นาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพน้ัน เกิดขึ้นใน

ห้องเรียนและระหว่างการจัดกิจกรรมประจาวันและกิจวัตรประจาวัน ผู้สอนต้องไม่แยกการประเมิน
พัฒนาการออกจากการจัดประสบการณ์ตามตารางกิจกรรมประจาวัน ควรมีลักษณะการประเมิน
พฒั นาการในชน้ั เรียน (Classroom Assessment) ซึ่งหมายถงึ กระบวนการและการสังเกต การบนั ทึกและ
รวบรวมข้อมูลจากการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน /กิจกรรมประจาวันตามสภาพจริง (Authentic
Assessment) ผู้สอนควรจัดทาข้อมูลหลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นหลักฐานแสดงให้เห็น
ร่องรอยของการเจริญเติบโตพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย แล้วนามาวิเคราะห์ ตีความ บันทึก
ขอ้ มลู ที่ได้จากการประเมนิ พฒั นาการว่าเดก็ รู้อะไร สามารถทาอะไรได้ และจะทาต่อไปอย่างไร ด้วยวิธีการ
และเคร่ืองมอื ท่ีหลากหลายท้งั ทเ่ี ปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ ท้ังนั้นการดาเนินการดังกล่าวเกิดข้ึนตลอด
ระยะเวลาของการปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวัน/กิจกรรมประจาวนั และการจัดประสบการณ์เรยี นรู้

ดังน้ัน ข้อมูลท่ีเกิดจากการประเมินที่มีคุณภาพเท่านั้น จึงสามารถนาไปใช้ประโยชน์ ตรงตาม
เปา้ หมาย ผูส้ อนจาเปน็ ต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจอย่างถ่องแทใ้ นหลกั การ แนวคิด วิธีดาเนินงานในส่วนต่างๆ
ท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตรการจัดประสบการเรียนรู้ เพื่อสามารถนาไปใช้ในการวางแผนและออกแบบการ
ประเมินพัฒนาการได้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการประเมินพัฒนาการในชั้นเรียนที่มีความถูกต้อง
ยุตธิ รรม เชอื่ ถอื ได้ มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สะท้อนผลและ
สภาพความสาเร็จเมอื่ เปรียบเทยี บกบั เป้าหมายของการดาเนินการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ทั้งในระดับนโยบาย
ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร และผูม้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งตอ่ ไป
๑. ขน้ั ตอนการประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั

การประเมนิ พัฒนาการเด็กของผู้สอนระดับปฐมวัยจะมีข้ันตอนสาคัญๆคล้ายคลึงกับการประเมิน
การศึกษาทั่วไป ขั้นตอนต่างๆอาจปรับลด หรือเพิ่มได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและ
สอดคล้องกับการจัดประสบการณ์ หรืออาจสลับลาดับก่อนหลังได้บ้าง ข้ันการประเมินพัฒนาการเด็ก
ปฐมวัย โดยสรปุ ควรมี ๖ ข้ันตอน ดังนี้

๑๓๓

ขน้ั ตอนที่ ๑ การวเิ คราะหม์ าตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ ตัว
บ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ที่สัมพันธ์กับหน่วยการจัดประสบการณ์ต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการ
ดาเนินงานการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบและครอบคลมุ ทวั่ ถงึ

ขั้นตอนท่ี ๒ การกาหนดส่ิงทจ่ี ะประเมินและวิธีการประเมิน ในขั้นตอนน้ีส่ิงท่ีผู้สอนต้องทาคือ การ
กาหนดการประเด็นการประเมิน ได้แก่ สภาพท่พี ึงประสงคใ์ นแตล่ ะวยั ของเดก็ ทเี่ กดิ จากกาจัดประสบการณ์
ในแต่ การจัดประสบการณ์ มากาหนดเป็นจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องหนว่ ยการเรียนรู้ จุดประสงค์ย่อยของ
กิจกรรมตามตารางประจาวัน ๖กิจกรรมหลัก หรือตามรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่กาหนด ผู้สอนต้อง
วางแผนและออกแบบวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับกิจกรรม บางคร้ังอาจใช้การสังเกตพฤติกรรม การ
ประเมนิ ผลงาน/ช้ินงาน การพดู คยุ หรอื สมั ภาษณเ์ ดก็ เป็นต้น ท้ังนี้วิธีการที่ผู้สอนเลือกใช้ต้องมีความหมาย
หลากหลาย หรอื มากว่า ๒ วิธีการ

ขั้นตอนที่ ๓ การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์การประเมิน ในข้ันตอนนี้ ผู้สอนจะต้องกาหนดเกณฑ์
การ ประเมนิ พัฒนาการใหส้ อดคล้องกับพฤติกรรมที่จะประเมินในข้ันตอนที่ ๒ อาจใช้แนวทางการกาหนด
เกณฑ์ที่ กล่าวมาแล้วข้างต้นในส่วนท่ี ๒ เป็นเกณฑ์การประเมินแยกส่วนของแต่ละพฤติกรรมและเกณฑ์
สรุปผลการ ประเมิน พร้อมกับจัดทาแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพท่ีพึงประสงค์ของแต่ละ
หน่วยการจดั ประสบการณน์ นั้ ๆ

ข้นั ตอนท่ี ๔ การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ผู้สอนออกแบบ/วางแผนและทาการ
สังเกต พฤติกรรมของเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม การพูดคุยหรือการสัมภาษณ์เด็ก หรือการประเมินผล
งาน/ชนิ้ งานของเดก็ อยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื รวบรวมข้อมูลพัฒนาการของเด็กให้ทั่วถึงครบทุกคน สอดคล้อง
และตรงประเดน็ การประเมนิ ทวี่ างแผนไว้ในขัน้ ตอนท่ี ๔ บันทกึ ลงในเคร่อื งมือท่ีผู้สอนพัฒนาหรือจัดเตรียม
ไว้

การบนั ทึกผลการประเมนิ พัฒนาการตามสภาพท่ีพึงประสงค์ของแต่ละหน่วยการจัดประสบการณ์
นั้น ผู้สอนเป็นผปู้ ระเมนิ เดก็ เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม อาจให้ระดับคุณภาพ ๓ หรือ ๒ หรือ ๑ หรือให้
คาสาคญั ที่เป็นคุณภาพ เช่น ดี พอใช้ และควรส่งเสริม ก็ได้ ทั้งน้ีควรเป็นระบบเดียวกันเพื่อสะดวกในการ
วเิ คราะห์ข้อมลู และแปลผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ในระยะต้นควรเป็นการประเมินเพ่ือความก้าวหน้า
ไม่ควรเปน็ การประเมินเพ่ือตัดส้ินพัฒนาการเด็ก หากผลการประเมินพบว่า เด็กอยู่ในระดับ ๑ พฤติกรรม
หนึ่งพฤติกรรมใดผู้สอนต้องทาความเข้าใจว่าเด็กคนนั้นมีพัฒนาการเร็วหรือช้า ผู้สอนจะต้องจัด
ประสบการณ์ส่งเสริมในหน่วยการจัดประสบการณ์ต่อไปอย่างไร ดังน้ัน การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการ
ประเมนิ พัฒนาการในแต่ละหน่วยการจัดประสบการณ์ของผู้สอนจึงเป็น การสะสมหรือรวบรวมข้อมูลผล
การประเมินพัฒนาการของเด็กรายบุคคล หรือรายกลุ่มน่ันเอง เมื่อผู้สอนจัดประสบการณ์ครบทุกหน่วย
การจดั ประสบการณต์ ามท่วี เิ คราะห์สาระการเรยี นรู้รายปีของแตล่ ะภาคเรียน

ข้ันตอนท่ี ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล ในขั้นตอนน้ี ผู้สอนท่ีเป็นผู้ประเมิน ควรดาเนินดาร
ดังน้ี

๑) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินพัฒนาการเมื่อส้ินสุดหน่วยการจัดประสบการณ์
ผู้สอนจะบนั ทกึ ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กลงในแบบบันทึกผลการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพท่ีพึง
ประสงคข์ องหนว่ ยการจัดประสบการณห์ น่วยที ๑ จนถงึ หน่วยสุดท้ายของภาคเรียน

๒) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินประจาภาคเรียนหรือภาคเรียนที่ ๒ เม่ือส้ินปี
การศึกษา ผู้สอนจะนาผลการประเมินพัฒนาการสะสมที่รวบรวมไว้จากทุกหน่วยการเรียนรู้สรุปลงในสมุด
บนั ทกึ ผลประเมนิ พัฒนาการประจาช้ัน และสรุปผลพฒั นาการรายดา้ นทั้งช้นั เรยี น

๑๓๔

ขนั้ ตอนที่ ๖ การสรุปรายงานผลและการนาขอ้ มูลไปใช้ เปน็ ขั้นตอนที่ผู้สอนซึ่งเป็นครูประจาชั้นจะ
สรุปผลเพ่ือตัดสินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นรายตัวบ่งช้ีรายมาตรฐานและพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เพื่อ
นาเสนอผบู้ รหิ ารสถานศึกษาอนุมัติการตัดสิน และแจ้งคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พร้อมกับครู
ประจาชัน้ จะจดั ทารายงานผลการประเมินประจาตัวนักเรียน นาขอ้ มลู ไปใชส้ รปุ ผลการประเมินคุณภาพเด็ก
ของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเมอื่ ส้ินภาคเรียนที่ ๒ หรือเมอ่ื ส้ินปีการศกึ ษา
รายละเอียดการดาเนนิ งานแตล่ ะขน้ั ตอน มดี ังน้ี

ข้นั ตอนท่ี ๑ การวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี และสภาพที่พึงประสงค์ตามหลกั สตู รสถานศึกษา โดย
นาข้อมูลจากการวิเคราะห์การเรียนรู้รายปีในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยมาตรวจสอบความถี่ของตัวบ่งช้ี
และสภาพทพ่ี ึงประสงคว์ า่ เกิดข้นึ กบั เดก็ ตามหนว่ ยการจัดประสบการณเ์ รยี นรูใ้ ดบ้าง

ขั้นตอนที่ ๑.๑ การวิเคราะห์สาระการเรยี นรรู้ ายปีของโรงเรยี น
ขั้นตอนที่ ๑.๒ ตรวจสอบความถ่ีเพื่อตรวจสอบจานวนคร้ังของตัวบ่งช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ว่า
วางแผนให้เกิดพฒั นาการในหนว่ ยการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูใ้ ดบา้ งจากหลักสูตรสถานศึกษา
ขน้ั ตอนที่ ๒ กาหนดส่ิงท่ีประเมินและวธิ ีการประเมิน โดยกาหนดสภาพท่ีพึงประสงค์ท่ีวิเคราะห์ไว้
ในข้นั ตอนท่ี ๑.๒ มากาหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นรใู้ น ๖ กิจกรรมหลัก

๒.๑ การเขียนหรอื กาหนดจุดประสงค์การเรียนของหน่วยการจัดประสบการณ์
๒.๒ การวางแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู
ข้ันตอนท่ี ๓ การสร้างเคร่ืองมือและเกณฑ์การประเมิน ผู้สอนจะต้องกาหนดเกณฑ์การประเมิน
พัฒนาการเดก็ ให้สอดคลอ้ งกบั พฤติกรรมที่จะประเมินตามแผนการจดั กจิ กรรม พร้อมทาเกณฑ์การประเมิน
และสรปุ ผลการประเมิน พรอ้ มจดั ทาแบบบนั ทึกผลหลังสอนประจาหน่วยการจดั ประสบการณ์
ขั้นตอนที่ ๔ การดาเนินการเป็นการรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนน้ี ผู้สอนท่ีทาหน้าที่เป็นผู้ประเมินโดย
การสังเกตพฤติกรรมของเด็กรายบุคคล รายกลุ่ม การพูดคุยหรือสัมภาษณ์เด็ก หรือการประเมินผลงาน
ชนิ้ งานของเดก็ อย่างเป็นระบบ ไปพร้อมๆกับกิจกรรมให้เด็ก เพ่ือรวบรวมข้อมูลพัฒนาการของเด็กทุกคน
และบันทกึ ลงแบบบนั ทึกผลหลงั สอนประจาหนว่ ยการจัดประสบการณ์ ท่ีจดั เตรียมไว้
ข้ันตอนท่ี ๕ การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลเมื่อสิ้นสุดหน่วยการจัดประสบการณ์ ผู้สอนจะ
ตรวจสอบความครบถ้วน สมบรู ณข์ องผลการประเมินในแบบบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเด็กหลัง
การจัดประสบการณ์ลงในแบบบันทึกผลหลังการจัดประสบการณ์ประจาหน่วยการจัดประสบการณ์ และ
เก็บสะสมเพื่อนาได้สรุปผลในการตัดสินพัฒนาการเด็กในภาพรวมเมื่อสิ้นปีการศึกษา โดยผู้สอนจะนาผล
การประเมินพัฒนาสะสมท่ีรวบรวมไว้ทุกหน่วยการเรียนรู้ มาสรุปลงในสมุดบันทึกผลการประเมิน
พัฒนาการประจาชั้นและสรุปผลพัฒนาการรายด้านทั้งชั้นเรียน ทั้งน้ีการสรุปผลการประเมินพัฒนาการ
ผสู้ อนควรใช้ ฐานนิยม (Mode) จึงเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับการประเมินมากท่ีสุด ตามที่กล่าวมาแล้ว
ข้างต้น
ขั้นตอนท่ี ๖ การสรปุ รายงานผลและการนาขอ้ มลู ไปใช้ ครูประจาช้ันจะสรุปผลเพ่ือพัฒนาการของ
เด็กปฐมวัยเป็นรายตัวบ่งช้ี รายมาตรฐานและพัฒนาการท้ัง๔ ด้าน และรายงานต่อผู้บริหารสถานศึกษา
อนุมัติผลการตดั สินและแจ้งคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พร้อมกับครูประจาชั้นจะจัดทารายงาน
ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กรายบุคคล รายภาค และรายปีต่อผู้ปกครองในสมุดรายงานปราตัวเด็ก
นกั เรียน

๑๓. การบรหิ ารจดั การหลักสูตร

๑๓๕

การนาหลักสูตรปฐมวัยไปใช้ให้มีประสิทธิภาพตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ผู้ที่เก่ียวข้องกับการ
บรหิ ารจัดการหลกั สูตรของสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ครผู ูส้ อน ผู้ปกครอง และชุมชน ควรมีบทบาท
ดงั น้ี

๑.ผบู้ ริหารสถานศึกษา
๑.๑ ศกึ ษาทาความเข้าใจหลกั สตู ร และมวี สิ ัยทัศนด์ า้ นการจดั การศึกษาปฐมวยั
๑.๒ คัดเลอื กครผู ู้สอนท่ีเหมาะสม โดยควรมคี ณุ สมบตั ิ ดังนี้

- มีวุฒิการศึกษาด้านอนุบาล, ปฐมวัย หรือผ่านการอบรมเก่ียวกับการจัดการศึกษา
ปฐมวยั

- มคี วามรักเด็ก จิตใจดี มอี ารมณข์ นั และใจเย็น ให้ความเปน็ กนั เองกบั เดก็ อย่างเสมอภาค
- มบี ุคลิกความเป็นครู เข้าใจธรรมชาติของเดก็
- พดู จาสุภาพเรยี บรอ้ ย ชดั เจนเป็นแบบอย่างได้
- มคี วามเปน็ ระเบยี บ สะอาด และรู้จักประหยดั
- มคี วามอดทน ขยัน ซอ่ื สัตยใ์ นการปฏิบัตงิ านและการปฏิบตั ติ อ่ เด็ก
- มอี ารมณร์ ่วมกบั เด็ก ร้จู กั รบั ฟงั พิจารณาเรอ่ื งราวปญั หาต่างๆของเดก็ และตัดสินปัญหา
ตา่ งๆ อยา่ งมเี หตุผลและเปน็ ธรรม
- มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทสี่ มบูรณ์
๑.๓ ส่งเสรมิ การจดั บริการทางการศึกษาให้เด็กเข้าเรียนอย่างท่ัวถึงและเสมอภาคและปฏิบัติการ
รบั เด็กตามเกณฑ์ทีก่ าหนด
๑.๔ สง่ เสรมิ ใหค้ รผู สู้ อน ใหม้ คี วามรกู้ า้ วหน้าอยู่เสมอ
๑.๕ จัดให้มขี อ้ มูลสารสนเทศเกยี่ วกับเดก็ รายบุคคล
๑.๖ นิเทศ ติดตาม กากบั การใชห้ ลกั สตู รและประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ

๒. บทบาทครผู สู้ อนปฐมวัย
๒.๑ จัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กที่เด็กกาหนดข้ึนด้วยตนเอง และครูผู้สอนกับเด็ก
ร่วมกนั กาหนด โดยเสรมิ สร้างพัฒนาการของเด็กให้ครบทุกด้าน
๒.๒ ส่งเสริมให้เด็กใชข้ ้อมลู แวดล้อม ศกั ยภาพตวั ของเดก็ และหลักทางวิชาการผลิตกระทา หรือ
หาคาตอบในส่งิ ทเี่ ดก็ เรียนร้อู ยา่ งมเี หตุผล
๒.๓ กระตุ้นใหเ้ ดก็ รว่ มคิด แก้ปญั หา ค้นควา้ หาคาตอบด้วยตนเอง ด้วยวิธีการศึกษาที่นาไปสู่การ
ใฝร่ ู้และพฒั นาตนเอง
๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศการเรียนทีส่ รา้ งเสริมใหเ้ ดก็ ทากิจกรรมได้เต็มศักยภาพ
และความแตกตา่ งของเดก็ แต่ละคน
๒.๕ สอดแทรกการอบรมดา้ นจรยิ ธรรมและคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ในการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม
ต่างๆ อย่างสมา่ เสมอ
๒.๖ ใช้กจิ กรรมการเลน่ เปน็ ส่ือการเรียนรสู้ าหรับเด็กใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
๒.๗ ใชป้ ฏิสมั พันธท์ ่ีดรี ะหวา่ งครแู ละเดก็ ในการดาเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ
๒.๘ จัดการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับสภาพจริง และนาผลการประเมินมาปรับปรุง
พัฒนาคณุ ภาพเด็กอย่างเต็มศักยภาพ

๑๓๖

๒.๙ ฝกึ ให้เด็กช่วยเหลอื ตนเองในชวี ิตประจาวัน
๒.๑๐ ฝกึ ใหเ้ ด็กมีความเช่อื ม่ัน ภมู ิใจในตวั เองและกลา้ แสดงออก
๒.๑๑ ฝึกการเรียนรู้หน้าที่ ความมีวนิ ัย และการมีนิสัยทด่ี ี
๒.๑๒ จาแนกพฤติกรรมเดก็ เพอ่ื หาแนวทางสง่ เสริม หรือแก้ปญั หารายบุคคล
๒.๑๓ ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน บ้าน และชุมชน เพ่ือให้เด็กได้พัฒนาตามศักยภาพ
และมีคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
๒.๑๔ ใช้เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชนในการเสริมสรา้ งการเรยี นรใู้ ห้แกเ่ ด็ก
๒.๑๕ จัดทาวจิ ัยในช้นั เรียน เพ่ือนามาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร / กระบวนการเรียนรู้และพัฒนา
สอ่ื การเรียนรู้
๒.๑๖ พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีคุณลักษณะของผู้ใฝ่รู้ และทันต่อข่าวสาร
เหตุการณเ์ สมอ
๒.๑๗ ทาหน้าที่วางแผนกาหนดหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการ
ประเมินผลการเรยี นรู้
๒.๑๘ จดั ทาแผนการจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสาคญั ใหเ้ ดก็ มอี ิสระในการเรยี นรู้

๓. บทบาทของพ่อแม่ ผ้ปู กครองเดก็ ปฐมวยั
๓.๑ มีส่วนร่วมในการกาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษาและใหค้ วามเหน็ ชอบ กาหนดแผนการเรียนรู้
ของเด็กรว่ มกบั ครผู ูส้ อนและเดก็
๓.๒ ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา และกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กตาม
ศกั ยภาพ
๓.๓ เปน็ เครอื ข่ายการเรยี นรู้ จดั บรรยากาศในบา้ นใหเ้ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
๓.๔ สนบั สนุนทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษาตามความเหมาะสมและจาเปน็
๓.๕ อบรมเล้ยี งดู เอาใจใส่ให้ความรัก ความอบอุน่ ส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการดา้ นตา่ งๆของ
เดก็
๓.๖ ป้องกันและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ตลอดจนส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์
โดยประสานความรว่ มมอื กับครูผู้สอน
๓.๗ เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีทง้ั ในด้านการปฏิบัติตนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และมีคุณธรรมนาไปสู่
การพฒั นาให้เป็นสถาบนั แหง่ การเรยี นรู้
๓.๘ มีส่วนรวมในการประเมินผลการเรยี นรู้ของเดก็ และประเมินผลการจัดการของสถานศกึ ษา

๔. บทบาทของชุมชน
๔.๑ มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคม /
ชมรมผูป้ กครอง
๔.๒ มีสว่ นรว่ มในการจดั ทาแผนพฒั นาสถานศกึ ษา
๔.๓ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เครือข่ายการเรียนรู้ให้เด็กได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ จาก
สถานการณ์จรงิ
๔.๔ ให้การสนบั สนุนการจดั กิจกรรมการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษา
๔.๕ ส่งเสริมให้มีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาการของ

๑๓๗

ชุมชน
๔.๖ มีส่วนร่วมในการตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ทาหน้าท่ี

เสนอแนะในการพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
๔.๗ สง่ เสรมิ สถานศึกษาด้านวทิ ยากรภายนอกและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เพอื่ เสรมิ สร้างและพัฒนาเด็ก

ทกุ ดา้ น รวมท้ังสืบสานจารีตประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่

๑๔. การเชือ่ มต่อของการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑

บทบาทของบคุ ลากรท่เี ก่ยี วข้อง

๑. ผู้บริหารสถานศึกษา

๑.๑ จัดประชุมผู้สอนระดับปฐมวัยและระดับช้ันประถมศึกษา ร่วมกันพัฒนารอยเชื่อมต่อของ

หลกั สตู รทงั้ สองระดับให้เปน็ แนวปฏิบัติของสถานศึกษา เพื่อผู้สอนท้ังสองระดับ จะได้เตรียม การสอนให้

สอดคลอ้ งกับเดก็ ในวัยนี้

๑.๒ จัดเอกสารด้านหลักสูตร และเอกสารทางวิชาการของท้ังสองระดับ มาไว้ให้ผู้สอนและ

บคุ ลากรอนื่ ๆ ไดศ้ ึกษา ทาความเข้าใจ อย่างสะดวกและเพียงพอ

๑.๓ จดั กิจกรรมให้ผู้สอนทัง้ สองระดบั มีโอกาสแลกเปลี่ยน เผยแพรค่ วามร้ใู หม่ ๆ

ทีไ่ ด้รับจากการอบรม ดูงาน

๑.๔ จัดเอกสารเผยแพร่ ตลอดจนกิจกรรมสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ระหว่างสถานศึกษา

ผู้ปกครอง และชุมชนอย่างสม่าเสมอ

๑.๕ จดั ปฐมนิเทศผู้ปกครอง ๒ ครั้ง คือ ก่อนเด็กเข้าเรียนช้ันอนุบาลปีที่ ๑ และก่อนท่ีเด็กจะ

เลื่อนขึ้นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ เพื่อให้ผู้ปกครองเข้าใจการศึกษาท้ังสองระดับ และให้ความร่วมมือ

ชว่ ยเหลอื เดก็ ให้สามารถปรับตัวเข้ากบั สภาพแวดล้อมใหมไ่ ด้ดีขน้ึ

๑.๑.๑ ดา้ นทกั ษะพ้นื ฐานทางภาษา ตัวอย่างการวเิ คราะห์การเชอื่ มโยง

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑

มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสื่อสารได้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เหมาะสมกบั วยั สาระท่ี ๑ การอา่ น

ตัวบ่งชี้ที่ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและ มาตรฐาน ท ๑.๑

เล่าเรอื่ งใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ความคิด เพ่ือนาไปตัดสินใจ

สภาพที่พงึ ประสงค์ แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ิตและมีนิสัยรกั การอา่ น

๙.๑.๑ ฟัง ผู้อ่ืนพูดจนจบและ ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี ป.๑

ส น ท น า โ ต้ ต อ บ อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง 1. อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจองและข้อความส้ันๆ

เช่อื มโยงกับเร่ืองทีฟ่ ัง 2. บอกความหมายของคาและขอ้ ความที่อ่าน

๙.๑.๒ เลา่ เรอ่ื งราวทีต่ ่อเนือ่ ง 3. ตอบคาถามเกยี่ วกับเรือ่ งท่ีอา่ น

ตัวบ่งชี้ท่ี ๙.๒ อ่าน เขียน ภาพและ 4. เลา่ เรอ่ื งยอ่ จากเรอ่ื งท่อี า่ น

สัญลักษณไ์ ด้ 5. คาดคะเนจากเร่อื งท่อี ่าน

สภาพที่พงึ ประสงค์ 6. อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ และ

๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คา นาเสนอเรอื่ งที่อ่าน

ด้ว ยก ารชี้หรื อวาดตามอง ตาม 7. บอกความหมายของเคร่ืองหมาย หรือสัญลักษณ์ท่ีมัก

จุดเรม่ิ ตน้ และจดุ จบของขอ้ ความ พบเห็นในชีวติ ประจาวนั

๑๓๘

๙.๒.๒ เขียนชื่อของตนเองตาม 8. มมี ารยาทในการอ่าน
แบบเขียนขอ้ ความดว้ ยวธิ ีทค่ี ิดเอง สาระที่ ๒ การเขยี น

มาตรฐาน ๒.๑
ใช้กระบวนการเขียนสื่อสารเขียนเรียงความ ย่อความและ
เขียนเร่ืองราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงาน ข้อมูลสารสนเทศ
และรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ตัวชีว้ ัดชัน้ ปี ป.๑

1. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด
2. เขยี นส่อื สารด้วยคาและประโยคง่ายๆ
3. มมี ารยาทในการเขยี น
สาระที่ ๓ การฟัง การดูและการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ
และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง
อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวช้วี ัดชัน้ ปี ป.๑
1. ฟังคาแนะนา คาส่งั ง่ายๆและปฏบิ ตั ิตาม
2. ตอบคาถามและเล่าเรื่องท่ีฟังและดูทั้งท่ีเป็นความรู้

และความบันเทิง

3. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟัง
และดู

4. พดู สอื่ สารไดต้ ามวัตถุประสงค์
5. มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด

๑.๑.๒ ดา้ นคณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

(สาหรับเดก็ อายุ ๓ – ๖) กลุม่ สาระการเรียนรู้ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้

คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถใน สาระท่ี ๑ จานวนและพืช ส า ร ะที่ ๑ วิท ย า ศา ส ต ร์

การคดิ ทเี่ ป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ คณติ ชวี ภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๑ มีความสามารถใน มาตรฐาน ค ๒.๒ มาตรฐาน ว ๑.๑

การคดิ รวบยอด ป.๑/๑ จาแนกรูปสามเหล่ียม ตัวช้ีวัดชน้ั ปี

สภาพท่ีพึงประสงค์ รูปส่ีเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรง ป.๑/๑ ระบุพืชและสัตว์ท่ี

๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ ส่วนประกอบ ส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม อาศัยอยู่บริเวณต่างๆที่ได้จาก

การเปล่ียนแปลงหรือความสัมพันธ์ ทรงกระบอก และกรวย การสารวจ

๑๓๙

ของส่ิงต่างๆ จากการสังเกตโดยใช้ มาตรฐาน ค.๑.๑ ป.๑/๒ บอกสภาพแวดล้อมที่

ประสาทสัมผัส ป.๑/๓ เรียงลาดับจานวนนับ เหมาะสมในบริเวณที่พืชและ

๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบและ ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ตัง้ แต่ ๓ สตั ว์อาศยั อยู่ทบ่ี ริเวณทีส่ ารวจ

ความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ ถงึ ๕ จานวน มาตรฐาน ว ๒.๑

ลักษณะเด็กที่สังเกตพบ ๒ ลักษณะ ป.๑/๒ ระบชุ นิดของวสั ดุ และ

ข้ึนไป จัดกลุ่มวัสดตุ ามสมบตั ทิ ี่สังเกต

๑๐.๑.๓ จาแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ ได้

โดยใช้ตั้งแต่ ๒ ลักษณะ ข้ึนไปเป็น มาตรฐาน ว ๓.๑

เกณฑ์ ป.๑/๒ อธบิ ายสาเหตุท่ีมองไม่

๑๐.๑.๔ เรียงลาดับส่ิงของและ เห็นดาวส่วน ใหญ่ในเวลา

เหตุการณอ์ ย่างนอ้ ง ๕ ลาดบั ก ล า ง วั น จ า ก ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง

ตัวบ่งช้ีท่ี ๑๐.๒ มีความสามารถใน ประจกั ษ์

การคิดเชงิ เหตุผล มาตรฐาน ว ๘.๒

สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ป.๑/๑ แก้ปัญหาอย่างง่ายโย

๑๐.๒.๑ อธบิ ายเชอ่ื มโยงสาเหตุและ ใช้การลองผิดลองถูก การ

ผลที่เกิดข้ึนในเหตุการณ์หรือการ เปรียบเทียบ

กระทา ป.๑/๒ แสดงลาดับข้ันตอน

ตัวบ่งช้ีท่ี ๑๐.๓ มีความสามารถใน การทางานหรือการแก้ปัญหา

การคิดแก้ปญั หาและตดั สนิ ใจ อ ย่ า ง ง่ า ย โ ด ย ใ ช้ ภ า พ

สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สัญลักษณ์ หรอื ขอ้ ความ

๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและ

ยอมรบั ผลท่ีเกิดข้ึน

๑๐.๓.๒ ระบุปัญหา สร้างทางเลือก ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้

และเลอื กวธิ แี กป้ ญั หา วิทยาศาสตร์คุณภาพผู้เรียน

มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการ เมอ่ื จบชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

เรียนรู้และมีความสามารถในการ - แสดงความกระตือรือร้น

แสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วัย สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีความคิด

ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๒.๑ มีเจตคติท่ีดีต่อการ สร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองท่ีจะ

เรยี นรู้ ศึกษาตามที่กาหนดให้หรือ

๑๒.๑.๒ กระตือรือร้นในการร่วม ตามความสนใจ มีส่วนร่วมใน

กิจกรรมต้ังแตต่ ้นจนจบ การแสดงความคิดเห็นและ

ตัวบ่งช้ีที่ ๑๒.๒ มีความสามารถใน ยอมรับฟังความคิดเห็นของ

การแสวงหาความรู้ ผอู้ ่ืน

๑๒.๒.๑ ค้นหาคาตอบข้อสงสยั ตา่ งๆ - ตระหนักถึงประโยชน์ของ

โดยใช้วธิ ีการหลากหลายดว้ ยตนเอง การใช้ความรแู้ ละกระบวนการ

ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ก า ร

ดารงชีวิต ศึกษาหาความรู้

เพิ่มเติม ทาโครงงานหรือ

๑๔๐

ชิ้นงานท่ีกาหนดให้หรือตาม
ความสนใจ

๒. ครผู ้สู อนระดับปฐมวัย
๒.๑ ผู้สอนระดับชั้นอนุบาลปีท่ี ๒ เก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับตัวเด็กเป็นรายบุคคล ส่งต่อให้
ผู้สอนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ เพ่ือเป็นข้อมูลในการช่วยเหลือเด็กให้ปรับตัวเข้ากับการเรียนรู้ใหม่
ต่อไป
๒.๒ พดู คยุ กับเด็กถึงประสบการณ์ดี ๆ ทเ่ี ด็กจะไดพ้ บและเรียนรู้ในช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑
๒.๓ จัดให้เด็กได้มีโอกาสทาความรู้จักกับผู้สอน และบรรยากาศของห้องเรียนในระดับช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
๓. ผ้สู อนระดับประถมศกึ ษา
๓.๑ จดั กิจกรรมให้เดก็ และผปู้ กครอง มโี อกาสไดท้ าความรูจ้ ัก ค้นุ เคยกับผสู้ อนและ
ห้องเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ก่อนเปดิ ภาคเรียน
๓.๒ จัดสภาพห้องเรียนใหใ้ กล้เคียงกับหอ้ งเรยี นระดบั ปฐมวัย
๓.๓ จดั กิจกรรมสร้างข้อตกลงทเ่ี กดิ จากเดก็ ร่วมกันเกี่ยวกบั การปฏิบัติตน
๓.๔ เผยแพรข่ า่ วสารดา้ นพฒั นาการ และสร้างความสัมพันธ์ทด่ี กี ับเดก็ ผ้ปู กครอง

๔. ผูป้ กครอง
๔.๑ ร่วมกิจกรรมท่ที างสถานศกึ ษาจัดขึ้นอย่างสม่าเสมอ
๔.๒ ดูแล เอาใจใสผ่ ู้เรยี นอยา่ งใกลช้ ดิ ใหค้ วามร่วมมือกบั ผู้สอนในการสง่ เสริมพัฒนาการผเู้ รยี น
เพ่ือเดก็ จะได้ปรับตัวได้เร็วย่งิ ข้ึน

๑๔๑

บรรณานกุ รม

สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, กระทรวงศึกษาธกิ าร.(๒๕๖๐). หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐. กรุงเทพมหานคร: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, กระทรวงศึกษาธิการ.(เอกสารอัดสาเนา ๒๕๖๐). คูม่ ือ
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐.

๑๔๒

ภาคผนวก

๑๔๓

คาสั่งโรงเรยี นนกิ รราษฎร์บารงุ วิทย์

ท่ี ๕๑ / ๒๕๖๕
เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรยี นนิกรราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์

พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

------------------------------------------------------------------------------
ด้วย กระทรวงศกึ ษาธิการมคี าส่ัง ที่ สพฐ.๑๒๒๓ /๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เร่ือง ให้

ใชห้ ลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพื่อให้การจัดการศึกษาปฐมวัยที่ต้องพัฒนาเด็กตั้งแต่แรก
เกดิ – ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ
และความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิต ให้พัฒนาเด็ก

ปฐมวัยไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง
ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ และโดยอาศัยอานาจความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ กระทรวงศึกษาธิการจึงให้ใช้หลักสูตร
พุทธศักราช ๒๕๖๐ แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒๕๔๖ เพ่ือให้สถานศึกษาหรือสถานบันพัฒนาเด็ก

ปฐมวัยทกุ สงั กดั นาหลกั สูตรไปใช้โดยให้ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมกบั เดก็ และสภาพท้องถนิ่
ดังน้ัน เพ่ือให้การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียน นิกรราษฎร์บารุงวิทย์

พทุ ธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ดาเนินไปด้วยความเรียนร้อยและมี
ประสทิ ธิภาพสูงสดุ จึงแต่งตงั้ คณะกรรมการ ดังนี้

๑.คณะกรรมการท่ีปรึกษา ประกอบด้วย

๑. นายจานง ออ่ นแยม้ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

๒. นางสาวณัฎฐิพร วงษไ์ ทย ผูอ้ านวยการโรงเรยี น

หน้าท่ี ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะแนวทาง หรือวินจิ ฉยั ส่งั การเพ่ือใหก้ ารจัดทาหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวยั เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย บรรลผุ ลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงคอ์ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

๒.คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร และวชิ าการ ประกอบด้วย

๑. นางสาวณัฎฐพิ ร วงษ์ไทย ผู้อานวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นางสาวกิ่งรัก เยาวภกั ด์ิ หัวหน้าฝ่ายงานวิชาการ กรรมการ

และครสู อน ป.๑

๓. นางสาวกนั ต์กมล สุวภาพภทั รพร ครูปฐมวัย กรรมการ

๔. นางสาวกมลวรรณ ปลอดโปรง่ ครูปฐมวัย กรรมการและเลขานุการ

หน้าท่ี ดังน้ี

๑. ศึกษาทาความเข้าใจเอกสารที่เกี่ยวข้องได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ คู่มอื หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารอน่ื ท่เี กย่ี วขอ้ ง

๒. รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัจจุบัน ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น นโยบาย

จดุ เน้น วิสัยทัศน์ อตั ลักษณ์และเอกลักษณข์ องโรงเรียน ตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี น

๑๔๔

๓. ดาเนินการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ พุทธศักราช
๒๕๖๕ ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไดเ้ สรจ็ สมบูรณ์ครบองค์ประกอบ โดยปรับปรุงให้
เหมาะสมกับเดก็ และสภาพท้องถน่ิ

๔. ดาเนนิ การตรวจสอบคณุ ภาพหลักสตู ร ปรับปรงุ คณุ ภาพหลักสูตร เสนอขอความเห็นชอบ
ใหใ้ ช้หลกั สตู รตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานของโรงเรียน

๕. จัดทาหลักสตู รสถานศึกษาระดบั ปฐมวัย ให้เปน็ รปู เล่มท่สี มบูรณ์

ท้ังนี้ ตัง้ แตว่ ันท่ี ๑๒ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

สงั่ ณ วนั ที่ ๑๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(นางสาวณฎั ฐพิ ร วงษ์ไทย)
ผู้อานวยการโรงเรียนนกิ รราษฎร์บารงุ วทิ ย์

๑๔๕


Click to View FlipBook Version