The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yimma.yo, 2022-06-03 11:24:04

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

หลักสูตรปฐมวัย-ปีการศึกษา-๒๕๖๕

๑๔๖

แบบประเมนิ คณุ ภาพของแผนการจัดประสบการณ์

คาชี้แจง โปรดแสดงความคิดเหน็ ในแต่ละประเด็นว่ามคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั ใด โดยใช้เครอ่ื งหมาย ✓

ลงในชอ่ ง ทต่ี รงกับความคิดเห็นของทา่ น ซ่ึงมี 3 ระดับ คอื เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง และเหมาะสม

นอ้ ย เพือ่ เปน็ แนวทางในการปรับปรงุ แผนการจดั ประสบการณ์ต่อไป

ท่ี รายการประเมิน ระดบั ความคดิ เหน็
32 1

1 การกาหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณ์

1.1หนว่ ยมาจากการวิเคราะหส์ าระการเรียนร้หู รือหนว่ ยรายปีในหลักสตู ร

สถานศกึ ษาปฐมวัย

1.2 หน่วยทีก่ าหนดมคี วามเหมาะสมกับวัยและพฒั นาการเด็ก

1.3 หน่วยหรือสาระการเรยี นร้ตู รงตามความตอ้ งการและความสนใจของเดก็

2 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

2.1 จุดประสงค์เปน็ เชงิ พฤติกรรม (วดั และประเมินได)้

2.2 จุดประสงค์สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ตัวบ่งชี้

สภาพท่พี งึ ประสงค์

2.3 จดุ ประสงค์ไมม่ ากเกินไป สามารถนาไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง

3 สาระการเรยี นรู้

3.1 ประสบการณส์ าคญั ครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ด้าน

3.2 สาระที่ควรเรยี นรู้ สมั พันธ์กบั หนว่ ยการจัดประสบการณ์ มีความยากง่าย

เหมาะสมกับวยั

4 การเขียนแผนการจัดประสบการณ์

4.1 เขียนมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบง่ ชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ มีความสมั พันธก์ ันทุกองคป์ ระกอบ

4.2 ออกแบบกิจกรรมทง้ั สปั ดาหไ์ ว้ล่วงหนา้ ท้งั กิจกรรมหลัก 6 กจิ กรรม

4.3 กจิ กรรมมคี วามหลากหลาย และมีความสอดคล้องกันเพื่อบรรลุ

จุดประสงค์การเรียนรู้

5 บนั ทกึ หลังการจดั ประสบการณ์

5.1 การบันทกึ ท้งั ในเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

5.2 ออกแบบแบบบันทึกโดยสามารถบนั ทกึ พฤติกรรม ความยากง่าย ความ

เหมาะสมของสือ่ ระยะเวลา ฯลฯ ตามจุดประสงค์ได้

6 สอ่ื การสอน

6.1 สื่อสอดคล้องกับเน้อื หาและวยั ของเด็ก

6.2 สอ่ื สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม

6.3 สอ่ื เรา้ ความสนใจของเดก็

6.4 เด็กมีส่วนรว่ มในการใชส้ ่ือ

7 การวัดและประเมนิ ผล

7.1 สอดคลอ้ งกบั เนื้อหาและการจัดกิจกรรม

๑๔๗

ท่ี รายการประเมิน ระดบั ความคดิ เหน็
32 1
7.2 สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
7.3 ใช้เครอื่ งมือ และวิธกี ารวดั ประเมนิ ไดเ้ หมาะสม

สรุปคะแนน (จานวนขอ้ X ระดบั คะแนน)
รวมคะแนน (คะแนนเต็ม 60 คะแนน)

เกณฑ์การแปลความหมายให้คะแนน

ช่วงคะแนน ความหมาย
50 - 60 แผนการจดั ประสบการณ์มีความเหมาะสมสามารถนาไปใช้สอนได้

มีคณุ ภาพอยูใ่ นระดับดี
40 - 49 แผนการจัดประสบการณ์ตอ้ งปรบั ปรุงในบางประเด็นจงึ จะสามารถนาไปใช้สอนได้

มีคุณภาพอยู่ในระดบั พอใช้

0 - 39 แผนการจดั ประสบการณไ์ มม่ คี วามเหมาะสม ให้ปรับปรงุ แก้ไขแตล่ ะประเด็น
มีคุณภาพอยู่ในระดบั ควรปรับปรงุ

ลงชอ่ื ...........................................................ผปู้ ระเมนิ แผนการจดั ประสบการณ์
(...........................................................)

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ / สภาพท่ีพึง แบบฟอร์มการเขียนแผ
ประสงค์ ตวั อยา่

มฐ.1 ตบช.1.2 ตบช.1.3 (๑.๑) หนว่ ยการจัดประสบการณ
1.2.4 ออกกาลังกายเป็นเวลา
1.3.1 เล่นและทากิจกรรมอยา่ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ปลอดภัยด้วยตนเอง
มฐ.2 ตบช.2.1 1. ออกกาลังกายเป็นเวลา
2.1.1 เดินต่อเท้าไปขา้ งหน้าเป็น 2. เลน่ และทากิจกรรมอย่างปลอดภยั
เส้นตรงได้โดยไม่ต้องกางแขน ด้วยตนเอง
มฐ.3 ตบช.3.2 3. รวู้ ิธีป้องกนั ตนเองจากโรคทเ่ี กิดในฤดู
3.2.1 กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอยา่ ง ฝนได้
เหมาะสมบางสถานการณ์ 4. เดนิ ทรงตวั ด้วยรองเท้าส้นสูงได้
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและ 5. กล้าพดู กล้าแสดงออกอยา่ ง
ความสามารถของตนเอง เหมาะสม
มฐ.4 ตบช.4.1 6. แสดงความพอใจในผลงานและ
4.1.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออก ความสามารถของตนเอง
ผา่ นงานศลิ ปะ 7. สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน
4.1.2 สนใจ มีความสุข และแสดงออก งานศิลปะ
ผา่ นเสียงเพลง ดนตรี 8. สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา่ น
4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดง เสยี งเพลง ดนตรี
ท่าทาง /เคล่ือนไหวประกอบเพลง 9. สนใจ มีความสขุ และแสดงท่าทาง
เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และ
ดนตรี

๑๔๘

ผนการจดั ประสบการณ์

างที่ ๑

ณ์ ช้ันอนุบาลปีท่ี 2 หน่วย ฤดฝู น

สาระการเรยี นรู้

ประสบการณส์ าคัญ สาระทค่ี วรเรียนรู้

ดา้ นร่างกาย 1. การเกดิ ฝน

1. การเคล่ือนไหวอยกู่ ับที่ - วฏั จกั รการเกิดฝน

2. การเคลือ่ นไหวเคล่ือนท่ี 2. สตั วท์ พี่ บในฤดูฝน

3. การเคลื่อนไหวพรอ้ มวสั ดุอปุ กรณ์ - กบ

4. การเล่นเครือ่ งเล่นสัมผัส และการ - องึ่ อ่าง ฯลฯ

สร้างจากแท่งไม้ บล็อก 3. โรคท่เี กิดในฤดูฝน

5. การเขียนภาพและการเลน่ กับสี - ไมส่ บาย

6. การปน้ั - มไี ข้ น้ามูก ฯลฯ

7. การประดษิ ฐ์ส่ิงต่าง ๆ ดว้ ยเศษวัสดุ 4. ประโยชนแ์ ละโทษของฝน

8. การฉกี - ต้นไมเ้ จรญิ เติบโตและสดช่นื

9. การปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามัย สุขนิสัย - นา้ ท่วม ดินทลาย

ที่ดีในกจิ วัตรประจาวัน 5. การปฏิบัตติ นในฤดฝู น

10. การปฏบิ ัติตนให้ปลอดภยั ในกิจวัตร - ไมอ่ อกไปเลน่ นา้ ฝน

ประจาวัน - ใชร้ ม่ หรือเสื้อกนั ฝน เม่ืออยนู่ อก

11. การเคล่ือนไหวข้ามสิ่งกีดขวาง บา้ น

ด้านอารมณ์ จิตใจ

1. การฟังเพลง การร้องเพลง และการ

แสดงปฏิกิริยาโตต้ อบเสียงดนตรี

2. การเคลือ่ นไหวตามเสียงเพลง,ดนตรี

มาตรฐาน / ตัวบง่ ช้ี / สภาพทพ่ี ึง จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ประสงค์

จงั หวะ และดนตรี

มฐ.8 ตบช.8.3
8.3.2 ปฏบิ ตั ิตนเป็นผนู้ าผู้ตามไดด้ ้วย 10. ปฏบิ ัตติ นเป็นผนู้ าผ้ตู ามได้ด้วย
ตนเอง ตนเอง
11. ฟังและพดู โต้ตอบเกย่ี วกับการเกิด
มฐ.9 ตบช.9.1
9.1.1 ฟังผอู้ ื่นพดู จนจบ และสนทนา ฝนได้
12. ฟังและพูดโตต้ อบเกี่ยวกับสัตวท์ พ่ี บ
โต้ตอบสอดคล้องกบั เร่ืองทฟี่ ัง
ในฤดฝู น
9.1.2 เล่าเร่อื งเปน็ ประโยคอยา่ ง
13. เล่าประสบการณ์ของตนเอง
ตอ่ เนอื่ ง
เกี่ยวกับประโยชน์และโทษของฝนเป็น
มฐ.10 ตบช.10.1
10.1.1 บอกลักษณะและสว่ นประกอบ ประโยคอย่างตอ่ เนื่อง
ของสง่ิ ต่าง ๆ จากการสงั เกตโดยใช้ 14. นาภาพช้ินส่วนเล็กมาต่อให้เป็น
ภาพทส่ี มบูรณไ์ ด้
ประสาทสัมผสั
10.1.2 จบั คแู่ ละเปรียบเทยี บความ 15. จบั ค่ภู าพภาพส่ิงของท่สี มั พนั ธ์กนั
แตกตา่ งหรือความเหมอื นของสง่ิ ตา่ ง ๆ ได้
โดยใช้ลกั ษณะที่สงั เกตพบเพียงลักษณะ 16. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหวา่ ง
เดยี ว ร่มกบั เสือ้ กันฝนในการปอ้ งกันการฝน
10.1.3 จาแนกและจดั กลุ่มสงิ่ ตา่ งๆ ตกได้
โดยใช้อยา่ งนอ้ ยหนงึ่ ลกั ษณะเป็นเกณฑ์ 17. นาภาพทีซ่ อ่ นอยู่ในภาพหลักมาจดั

๑๔๙

สาระการเรียนรู้ สาระที่ควรเรยี นรู้

ประสบการณส์ าคัญ

3. การทากิจกรรมศิลปะต่าง ๆ
4. การสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม
5. การเลน่ อสิ ระ
6. การเล่นรายบุคคล กล่มุ ย่อย กลมุ่
ใหญ่
7. การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์

8. การเล่นนอกหอ้ งเรียน
9. การทางานศลิ ปะ
10. การเล่นบทบาทสมมติ
ด้านสังคม
1. การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชิกท่ีดีของ
ห้องเรียน
2. การให้ความรว่ มมอื ในการปฏิบัติ
กจิ กรรมตา่ งๆ
3. การเลน่ หรือทากจิ กรรมร่วมกบั กลมุ่
เพอื่ น
4. การร่วมสนทนาและแลกเปล่ยี น
ความคดิ เหน็
ดา้ นสติปัญญา
1. การพูดกบั ผู้อ่นื เก่ยี วกับประสบการณ์
องตนเองหรอื พูดเล่าเรื่องราวเกย่ี วกับ
ตนเอง
2. การพูดอธบิ ายเกีย่ วกับส่ิงของ
เหตุการณ์และความสมั พันธ์ของส่งิ

มาตรฐาน / ตัวบง่ ช้ี / สภาพทพ่ี ึง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ประสงค์

10.1.4 เรียงลาดับส่ิงของและเหตุการณ์ เข้าคกู่ นั ได้

อย่างนอ้ ย 4 ลาดับ 18. จดั หมวดหมู่ภาพกบั สญั ลักษณไ์ ด้

19. เรียงลาดบั ภาพเหตุการณ์การเกิด

ฝนได้

มฐ.11 ตบช.11.1 ตบช.11.2 20. สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อสอื่ สาร
11.1.1 สรา้ งผลงานศลิ ปะเพ่อื สือ่ สาร ความคิด ความรู้สึกของตนเอง
21. เคลือ่ นไหวท่าทางเพอ่ื สอ่ื สาร
ความคิด ความรสู้ กึ ของตนเอง โดยมี ความคดิ ความรสู้ กึ ของตนเองอยา่ ง
การดัดแปลงและแปลกใหม่จากเดมิ หลากหลายหรอื แปลกใหม่

หรอื มรี ายละเอยี ดเพม่ิ ขึน้
11.2.1 เคล่อื นไหวทา่ ทางเพอ่ื ส่อื สาร
ความคิด ความร้สู ึกของตนเองอยา่ ง

หลากหลายหรือแปลกใหม่

๑๕๐

สาระการเรียนรู้ สาระทค่ี วรเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคัญ

ต่างๆ
3. การช่ัง ตวง วัดสิ่งตา่ ง ๆ โดยใช้
เคร่อื งมือและหน่วยทไ่ี ม่ใชม่ าตรฐาน
4. การจบั คู่ การเปรียบเทียบและการ
เรียงลาดบั สิง่ ต่าง ๆ ตามลักษณะ ความ
ยาว/ความสูง นา้ หนัก ปรมิ าตร
6. การรับรูแ้ ละแสดงความคิด
ความร้สู ึกผา่ นสือ่ วัสดุ ของเล่นและ
ช้ินงาน
7. การแสดงความคดิ สร้างสรรคผ์ ่าน
ภาษา ท่าทาง การเคลอื่ นไหวและศิลปะ
8. การตอ่ ของชิน้ เลก็ เตมิ ในช้นิ ใหญใ่ ห้
สมบรู ณแ์ ละการแยกช้นิ ส่วน

9. การฟงั เพลง นิทาน คาคลอ้ งจอง บท
รอ้ ยกรอง หรอื เรอ่ื งราวต่าง ๆ
10. การบอกและเรยี งลาดบั กิจกรรม
หรือเหตุการณต์ ามช่วงเวลา

(๑.๒) แผนการจัดประสบการณ์รายสัปดาห์ ส

วนั ที่ เคล่ือนไหวและ เสริมประสบการณ์ ศิลปะสร้าง

จังหวะ

1 - การเคลอ่ื นไหวตาม เรื่อง การเกดิ ฝน - วาดภาพสีเทีย

คาสั่ง - วัฏจักรการเกิดฝน - วาดภาพสนี า้

- พมิ พ์น้ิวมอื เป

2 - การแสดงท่าทาง เรอื่ ง สัตวท์ ี่พบในฤดูฝน - วาดภาพสีเทยี

เปน็ ผู้นาผ้ตู าม - กบ - วาดภาพสนี า้

- องึ่ อ่าง ฯลฯ - ปั้นดนิ น้ามนั

3 - การเคลอ่ื นไหว เรอ่ื ง โรคท่ีเกดิ ในฤดูฝน - วาดภาพสีเทยี

ประกอบเพลง - ไม่สบาย - วาดภาพสีนา้

- มไี ข้ นา้ มกู ฯลฯ - ประดษิ ฐ์ร่ม

4 - การแสดงท่าทาง เรือ่ ง ประโยชน์และโทษของฝน - วาดภาพสีเทีย

เปน็ ผนู้ าผตู้ าม - ต้นไมเ้ จริญเติบโตและสดช่นื - วาดภาพสีนา้

- น้าทว่ ม ดินทลาย - ปนั้ ดินน้ามัน

5 - การเคลอ่ื นไหวตาม เรื่อง การปฏบิ ัติตนในฤดฝู น - วาดภาพสีเทีย

ข้อตกลง - ไมอ่ อกไปเล่นนา้ ฝน - วาดภาพสีนา้

- ใช้ร่มหรอื เสอ้ื กันฝน เมอ่ื อยู่ - ประดษิ ฐต์ ๊กุ ต

นอกบ้าน

๑๕๑

สัปดาหท์ ่ี........... หน่วย ฤดูฝน ช้นั อนุบาลปีท่ี 2 เกมการศกึ ษา
กิจกรรม
งสรรค์ การเล่นตามมมุ การเลน่ กลางแจง้

ยน - มุมบลอ็ ก - เล่นอสิ ระ - เกมเรียงลาดบั ภาพ
ป็นเมด็ ฝน - มมุ นทิ าน เหตุการณก์ ารเกิดฝน
ยน -มมุ พลาสติกสร้างสรรค์ - กายบริหาร
- เกมภาพตดั ตอ่ เดก็
ยน - มุมบล็อก - แข่งเดนิ รองเทา้ กางรม่
- มุมนทิ าน สน้ สูง
ยน -มมุ พลาสตกิ สร้างสรรค์ - กายบรหิ าร - เกมจบั ค่ภู าพสิง่ ของ
ทสี่ ัมพนั ธ์กนั
ยน - มมุ บลอ็ ก - เล่นอิสระ
ตาไลฝ่ น - มุมนิทาน - เกมจดั หมวดหมู่
-มมุ พลาสติกสรา้ งสรรค์ ภาพกบั สัญลักษณ์

- มมุ บล็อก - เกมซ่อนภาพ
- มุมนิทาน
-มมุ พลาสตกิ สรา้ งสรรค์

- มมุ บล็อก
- มุมนิทาน
-มุมพลาสติกสรา้ งสรรค์

(๑.๓) แผนการจัดประสบการณ์รายวัน สัปดาห์ที่ ........... วนั

สาระการเรยี นรู้

จุดประสงค์การเรยี นรู้ ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควร

เรยี นรู้

กิจกรรมเคลอื่ นไหวและ 1. การฟังเพลง การร้อง - การ 1. กิจกรร

จังหวะ เพลง และการแสดง เคลอ่ื นไหวตาม ทัว่

1. สนใจ มีความสุข และ ปฏิกิริยาโต้ตอบ คาสง่ั บริเวณ อย

ทา่ ทางเคลือ่ นไหว เสียงดนตรี ยนิ

ประกอบเพลง จังหวะ 2. การแสดงความคิด สญั ญาณ “

และดนตรี สรา้ งสรรค์ผ่านการ 2. เดก็ เคล

2. เคล่ือนไหวท่าทางเพอ่ื เคลื่อนไหว เม่อื ไดย้ นิ ส

สอ่ื สารความคิด ตบมอื 20

ความรูส้ กึ ของตนเอง 20 ก้าว

20 ไปดว้ ย

3. ใหป้ ฏิบ

กิจกรรมเสรมิ 1. การฟงั เพลง นทิ าน คา - การเกิดฝน ขนั้ นา

ประสบการณ์ คล้องจอง บทร้อยกรอง 1. เด็กและ

1. ฟังและพดู โต้ตอบ หรือเร่อื งราวตา่ ง ๆ ขน้ั สอน

เก่ยี วกับการเกิดฝนได้ 2. การพดู อธิบายเกี่ยวกับ 2. สนทนา

สงิ่ ของ เหตุการณ์ และ 3. เด็กฟังน

ความสัมพนั ธ์ของสิง่ ต่าง ๆ การเกดิ ฝน

4. เดก็ และ

ธรรมชาติเ

คาถาม ดัง

- ฝนเกิด

๑๕๒

นท่ี ...................................... หน่วย ฤดูฝน ชั้นอนุบาลปีที่ 2

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื การประเมินผล

รมพ้ืนฐาน ใหเ้ ดก็ เคลอ่ื นไหวร่างกายไป 1. กลอง 1. สังเกตการแสดง

ความสนใจ ความสุข

ย่างอิสระตามสัญญาณที่ครเู คาะ เมอ่ื ได้ และทา่ ทางเคลอ่ื นไหว

ประกอบเพลง จังหวะ

“หยดุ ” ใหห้ ยุดในท่านนั้ ทนั ที และดนตรี

ล่ือนไหวรา่ งกายตามจงั หวะทค่ี รเู คาะ 2. สงั เกตพฤตกิ รรม

สัญญาณหยดุ ใหป้ ฏบิ ัติตามคาสงั่ เช่น เคลอ่ื นไหวทา่ ทางเพอ่ื

0 ครงั้ กระโดดตบ 20 ครั้ง เดินเป็ด สื่อสารความคดิ

ผงกหวั 20 ครง้ั พรอ้ มกบั นับ 1 - ความรู้สกึ ของตนเอง

ย อย่างหลากหลายหรอื

บตั ิตามคาสง่ั หลาย ๆ คร้งั แปลกใหม่

1. เพลง ฝน 1. สังเกตพฤตกิ รรม

ะครรู ่วมกนั รอ้ งเพลง “ฝนตก” ตก การฟังและพดู โตต้ อบ

2. นิทาน เรอ่ื ง เก่ียวกับการเกิดฝน

าเก่ียวกบั เนื้อหาของเพลง เมฆ

นิทานเร่ืองเมฆและสนทนาเกยี่ วกับ 3. ภาพการ

น เกดิ ฝน

ะครสู นทนาเกีย่ วกับปรากฏการณ์ตาม

เม่ือเกดิ ฝนโดยใชภ้ าพประกอบ และใช้

งนี้

ดขึน้ จากแหลง่ นา้ ใดบ้าง

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคัญ สาระที่ควร
เรยี นรู้

- เด็ก ๆ
ขน้ั สรปุ
5. เด็กและ

กจิ กรรมศลิ ปะ 1. การเลน่ เครอื่ งเล่น - วาดภาพสี 1. เดก็ และ
2. ครูแนะ
สร้างสรรคแ์ ละกิจกรรม สมั ผัส และการสรา้ งสิ่ง เทียน - วาด
2.1 วา
การเล่นตามมุม ตา่ ง ๆ จากแท่งไม้ บล็อก ภาพสนี ้า 2.2 วา
2.3 พมิ
1. กล้าพูด กล้า 2. การเขยี นภาพและการ - พิมพน์ ้ิวมือ 3. เดก็ เลือ
ตามความส
แสดงออกอย่าง เลน่ กบั สี เป็นเม็ดฝน เขยี นบรรย
4. เดก็ เลือ
เหมาะสม 3. การพิมพภ์ าพ และการเลน่ สนใจ โดย
4.1 ให
2. แสดงความพอใจใน 4. การทากิจกรรมศลิ ปะ ตามมมุ 4.2 ให
4.3 ให
ผลงานและ ตา่ งๆ ประสบการณ์ 5. เมอื่ หม
เกบ็ ของ
ความสามารถของตนเอง 5. การพูดอธบิ ายเกยี่ วกับ 6. เด็ก 4 -
เพ่ือนถามห
3. สนใจ มีความสุขและ สิ่งของ เหตกุ ารณ์ และ
1. เดก็ อบอ
แสดงออกผา่ นงานศิลปะ ความสัมพันธข์ องส่งิ ตา่ ง ๆ ตวั

4. สรา้ งผลงานศิลปะ 6. การเลน่ ตามมุม

เพอ่ื สอ่ื สารความคิด ประสบการณ์

ความรสู้ ึกของตนเอง

กิจกรรมการเล่น 1. การเล่นอิสระ - ขอ้ ตกลง
กลางแจง้ 2. การปฏิบตั ิตนให้ ในการเล่นน้า

๑๕๓

กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมนิ ผล

ๆ รู้สกึ อย่างไร ขณะท่ไี ดย้ นิ เสียงฝน

ะครูรว่ มกนั สรปุ เก่ยี วกับการเกดิ ฝน

ะครรู ่วมกันรอ้ งเพลง “เสยี งฝน” 1. สเี ทยี น 1. สงั เกตพฤตกิ รรม

ะนากจิ กรรมสร้างสรรคป์ ระกอบดว้ ย 2. สีนา้ การกล้าพูด กล้า

าดภาพสีเทียน 3. ก้านกลว้ ย แสดงออกในการเลา่

าดภาพสีน้า 4. กระดาษ เร่อื งเพือ่ นาเสนอ

มพน์ ้ิวมือเป็นเมด็ ฝน A4 ผลงาน

อกทากิจกรรมสร้างสรรค์ 2 กจิ กรรม 5. พูก่ ัน 2. สังเกตพฤติกรรม

สนใจ เมอ่ื ทาผลงานเสรจ็ ใหน้ ามาให้ครู 6. แผ่นรองกนั การแสดงความพอใจ

ยายภาพหรือผลงาน เปื้อน ในผลงานของตนเอง

อกเลน่ ตามมุมประสบการณ์ตามความ 7. ภาชนะใส่ 3. สังเกตพฤติกรรม

ยมีลาดับการเลน่ ดังนี้ ของ ขณะทางานศลิ ปะ

ห้เด็กวางแผนการเล่น 8. ของเล่น 4. สงั เกตพฤติกรรม

หเ้ ด็กเล่นตามแผนท่ีวางไว้ ตามมมุ ขณะทางานศลิ ปะ

หเ้ ดก็ ได้ทบทวนการเลน่ ของตนเอง ประสบการณ์

มดเวลา ครใู ห้สญั ญาณใหเ้ ดก็ ชว่ ยกนั 9. เพลง เสียง

ฝน

- 5 คน นาผลงานออกมานาเสนอให้

หรอื แสดงความคิดเห็น

อุ่นรา่ งกายด้วยการสะบัดมอื ยอ่ ตวั ยืด 1. ภาชนะใส่ 1. สังเกตพฤติกรรม

น้า การเลน่ อยา่ งปลอดภัย

สาระการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระท่คี วร

1. เล่นและทากิจกรรม เรยี นรู้
อยา่ งปลอดภัยด้วย
ตนเอง ปลอดภัยในกิจวัตร เล่นทราย เลน่ 2. ครูทบท
เล่นอสิ ระอ
ประจาวัน อสิ ระ 3. ให้เดก็ เ

3. การเลน่ นอกห้องเรียน ความปลอ
4. ใหส้ ัญญ
4.การชง่ั ตวง วดั ส่ิงต่าง ๆ
และพาเดก็
โดยใช้เคร่อื งมือและหนว่ ย

ทไ่ี มใ่ ช่มาตรฐาน

5. การเล่นหรอื ทากจิ กรรม

รว่ มกบั กลุ่มเพ่อื น

สาระการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วร

กจิ กรรมเกมการศึกษา เรียนรู้
1. เรยี งลาดบั ภาพ
เหตกุ ารณก์ ารเกิดฝนได้ 1. การบอกและ - การเรยี งลาดบั 1. ครูแนะ
ภาพเหตกุ
เรยี งลาดับกจิ กรรมหรือ เหตกุ ารณ์ 2. แบ่งเด
แนะนาไป
เหตุการณ์ตามชว่ งเวลา
ชดุ เดมิ
3. ร่วมกัน
กจิ กรรมเ

๑๕๔

กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื การประเมินผล

ทวนข้อตกลงในการเล่นนา้ เลน่ ทราย 2. กะบะทราย
อยา่ งปลอดภยั 3. อปุ กรณ์
เลอื กเลน่ อยา่ งอสิ ระ โดยครูคอยดูแล ประกอบการ

อดภัยของเด็ก เล่นนา้ เล่น
ญาณหยุดเลน่ เด็กชว่ ยกนั เกบ็ อปุ กรณ์ ทราย

กไปทาความสะอาดรา่ งกาย

กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การประเมนิ ผล

ะนาและสาธติ วิธกี ารเลน่ เกมเรียงลาดบั 1. เกม 1. สงั เกตการเล่นเกม
การณก์ ารเกดิ ฝน
ดก็ เปน็ 4 กลุ่ม ให้เด็ก 1 กล่มุ รับเกมที่ เรียงลาดบั ภาพ การศึกษา
ปเล่นและกลมุ่ อ่ืน ๆ เล่นเกมการศึกษา เหตุการณ์การ
เกิดฝน
นสรุปและเก็บส่ิงของเขา้ ทเ่ี มือ่ ทา
เสร็จแล้ว 2. เกมท่ีเคย
เลน่ มาแล้ว

(๑.๔) บนั ทกึ หลังการจัดประสบการณ์ สัปดา

คาช้แี จง ทาเคร่ืองหมาย เม่อื พบพฤติกรรมตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หรอื ทาเครือ่ งหมา

บนั ทกึ ผลการจัดกิจกรรม (อาทิ ความยากง่ายของกจิ กรรมทก่ี าหนด ความเหมาะสมของส่อื ระย

เลขที่ ชอ่ื

ดา้ นรา่ งกาย ด้าน

อารมณ์

และ

จิตใจ

๑.ปฏิบั ิตตนอ ่ยางปลอดภัยเมื่อฝนตกไ ้ด
๒.รับลูกบอล ่ีทกระดอน ้ึขนจาก ื้พนไ ้ด
๓.ใช้กรรไกร ัตดกระดาษตามแนวเ ้สนโค้ง
ไ ้ด
๔. กล้า ูพด กล้าแสดงออกอ ่ยางเหมาะสม
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
และผู้อ่ืน
๖.ร่วม ิกจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบ

๑ เด็กชายนพคณุ ขมุ ทอง
๒ เด็กชายสหรฐั พรมเกตจุ นั ทร์
๓ เด็กชายศุภณฐั โคตรคา
๔ เดก็ ชายธนพล มีผล
๕ เดก็ ชายณฐั พันธ์ เจริญสขุ
๖ เดก็ ชายจกั รภพ ใจแก้ว
๗ เด็กชายพงษพัช คุม้ ใจดี
๘ เดก็ ชายนัธทวฒั น์ ชนะกุล
๙ เด็กชายภัทรศกรณ์ หอมเกษร
๑๐ เดก็ ชายนฤบดินทร์ พรมดง

เพลงและดนตรีอยา่ งมีความสขุ ดา้ นสงั คม พฒั นาการ ยะเวลาในการจัดกจิ กรรม การตอบสนองของเดก็ ต่อกิจกรรม ลกั ษณะการเรยี นรู้ของเด็ก) าย – เมอื่ ไม่พบพฤติกรรมตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ าห์ที่ ............... หนว่ ย ฤดูฝน ชั้นอนุบาลปีท่ี 2

๗.ยืนตรง และร่วมร้องเพลงสรรเสริญ ดา้ นสตปิ ัญญา
พระบารมี
๘.ทางานร่วมมือกับเพือ่ นในการประดษิ ฐ์ ๑๕๕
เครือ่ งบินฝนหลวงได้

๙.อธบิ ายเช่อื มโยงเหตุและผลท่ีเกิดขนึ้
ตามวัฏจักรของน้าได้

๑๐.ระบปุ ัญหา สร้างทางเลอื ก และเลอื ก
วิธีแกป้ ัญหา เมอื่ ไม่มอี ุปกรณก์ นั ฝนได้

๑๑.สร้างผลงานศลิ ปะเพอื่ ส่ือความคิด
ความรู้สกึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง
และแปลกใหม่จากเดมิ และมรี ายละเอียด
เพิ่มขึน้

๑๒.คน้ หาคาตอบเกย่ี วกบั โรค
ไข้เลอื ดออก และการปอ้ งกันได้

๑๓.ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เมอื่ ไหร่”หรือ
“อย่างไร” ในการค้นหาคาตอบ

หมายเหตุ

เลขที่ ช่อื

ด้านร่างกาย ดา้ น
อารมณ์
และ
จติ ใจ

๑.ปฏิบั ิตตนอ ่ยางปลอดภัยเมื่อฝนตกไ ้ด
๒.รับลูกบอล ่ีทกระดอน ้ึขนจาก ื้พนไ ้ด
๓.ใช้กรรไกร ัตดกระดาษตามแนวเ ้สนโค้ง
ไ ้ด
๔. กล้า ูพด กล้าแสดงออกอ ่ยางเหมาะสม
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
และผู้อ่ืน
๖.ร่วม ิกจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบ

๑๑ เดก็ ชายยศพล สภุ าสอน
๑๒ เด็กหญิงศริ าพร เงินประเสรฐิ
๑๓ เด็กหญิงมารุติ ทองสงิ ห์
๑๔ เดก็ หญิงพิชชานนั ท์ ทองสิงห์
๑๕ เดก็ หญิงศรดุ า เปรยี่ มไธสง
๑๖ เด็กหญงิ มนตรา สังขน์ า้ มนต์
๑๗ เด็กหญงิ สุณิตา ตานสงู
๑๘ เด็กหญิงอลิสา สาลกิ า
๑๙ เด็กหญงิ นภัสมล กรดิ รมั ย์
๒๐ เด็กหญงิ กวนิ ตา ตุ้มไธสง

เพลงและดนตรอี ยา่ งมคี วามสขุ พัฒนาการ
ดา้ นสังคม
๗.ยืนตรง และร่วมรอ้ งเพลงสรรเสริญ
พระบารมี ด้านสติปญั ญา
๘.ทางานร่วมมอื กบั เพอ่ื นในการประดษิ ฐ์
เครือ่ งบินฝนหลวงได้ ๑๕๖
หมายเหตุ
๙.อธบิ ายเช่ือมโยงเหตุและผลท่ีเกิดขนึ้
ตามวัฏจักรของนา้ ได้

๑๐.ระบปุ ญั หา สรา้ งทางเลอื ก และเลอื ก
วิธีแกป้ ัญหา เมอ่ื ไมม่ ีอุปกรณก์ นั ฝนได้

๑๑.สร้างผลงานศิลปะเพอื่ ส่ือความคิด
ความรู้สกึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง
และแปลกใหมจ่ ากเดมิ และมรี ายละเอียด
เพิ่มขึน้

๑๒.คน้ หาคาตอบเกยี่ วกบั โรค
ไข้เลอื ดออก และการปอ้ งกันได้

๑๓.ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เมอื่ ไหร่”หรือ
“อย่างไร” ในการคน้ หาคาตอบ

เลขที่ ชอ่ื

ดา้ นร่างกาย ด้าน
อารมณ์

และ
จติ ใจ

๑.ปฏิบั ิตตนอ ่ยางปลอดภัยเ ืม่อฝนตกไ ้ด
๒.รับลูกบอล ่ีทกระดอน ้ึขนจาก ื้พนไ ้ด
๓.ใช้กรรไกร ัตดกระดาษตามแนวเ ้สนโค้ง
ไ ้ด
๔. กล้า ูพด กล้าแสดงออกอ ่ยางเหมาะสม
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
และผู้อ่ืน
๖.ร่วมกิจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบ

๒๑ เดก็ หญิงวิภาดา คาทา
๒๒ เด็กหญงิ ประภสั สรา แบงขุนทด
๒๓ เด็กหญงิ ภษู ณิศา ออ่ นแย้ม
๒๔ เดก็ หญงิ ปาริชาติ บวั ฮมบรุ า

หมายเหตุ ครสู งั เกตพฤตกิ รรมเด็กรายบคุ คล จดบันทกึ สรุปเป็นรายสปั ดาห์ และระบุระด

ระดับ ๓ ดี ระดบั ๒ ปานกลาง

ดบั คณุ ภาพเป็น ๓ ระดับ คอื เพลงและดนตรีอยา่ งมีความสขุ พัฒนาการ
ระดบั ๑ ควรส่งเสรมิ ด้านสงั คม
๗.ยืนตรง และร่วมร้องเพลงสรรเสริญ
ลงช่ือ.........................................................ผบู้ นั ทกึ พระบารมี ด้านสติปญั ญา
ครปู ระจาช้ัน ๘.ทางานร่วมมือกับเพือ่ นในการประดษิ ฐ์
เครือ่ งบินฝนหลวงได้ ๑๕๗

๙.อธบิ ายเช่อื มโยงเหตุและผลท่ีเกิดขนึ้
ตามวัฏจักรของน้าได้

๑๐.ระบปุ ัญหา สร้างทางเลอื ก และเลอื ก
วิธีแกป้ ัญหา เมอื่ ไม่มอี ุปกรณก์ นั ฝนได้

๑๑.สร้างผลงานศลิ ปะเพอื่ สอื่ ความคิด
ความรสู้ กึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง
และแปลกใหม่จากเดมิ และมรี ายละเอียด
เพิ่มขึน้

๑๒.คน้ หาคาตอบเกย่ี วกบั โรค
ไข้เลอื ดออก และการปอ้ งกันได้

๑๓.ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เมอื่ ไหร่”หรือ
“อย่างไร” ในการค้นหาคาตอบ

หมายเหตุ

ตัวอยา่
(๒.๑) หนว่ ยการจัดประสบการณ์

มาตรฐาน / ตวั บง่ ช้ี / สภาพทีพ่ ึง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ประสงค์
1. ออกกาลังกายเปน็ เวลา ด
มฐ.1 ตบช.1.2 ตบช.1.3 2. เล่นและปฏบิ ัติตอ่ ผู้อ่นื อยา่ ง
1.2.4 ออกกาลังกายเป็นเวลา 1
1.3.1 เล่น ทากิจกรรมและปฏิบัตติ ่อ ปลอดภยั
ผอู้ ่ืนอย่างปลอดภัย 3. วงิ่ หลบหลกี ส่ิงกีดขวางได้อย่าง 2
มฐ.2 ตบช.2.1
2.1.3 ว่ิงหลบหลีกสง่ิ กีดขวางได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ 3
คล่องแคลว่ 4. กลา้ พดู กล้าแสดงออกอย่าง
มฐ.3 ตบช.3.2 เหมาะสมตามสถานการณ์ 4
3.2.1 กล้าพดู กล้าแสดงออกอย่าง
เหมาะสมตามสถานการณ์ 5. แสดงความพอใจในผลงานและ ส
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและ ความสามารถของตนเองและผ้อู ื่น
ความสามารถของตนเองและผอู้ ่ืน 5
มฐ.4 ตบช.4.1 6. สนใจ มคี วามสุขและแสดงออกผา่ น
4.1.1 สนใจ มีความสุข และแสดงออก งานศลิ ปะ 6
ผ่านงานศิลปะ 7. สนใจ มีความสุข และแสดงทา่ ทาง
4.1.3 สนใจ มีความสุข และแสดง 7
ทา่ ทาง /เคล่อื นไหวประกอบเพลง เคลอื่ นไหวประกอบเพลง จังหวะ และ
จงั หวะ และดนตรี ดนตรี 8

9



1



1



1



2



๑๕๘

างที่ ๒

ช้ันอนบุ าลปที ี่ 3 หน่วย “ฤดฝู น”

สาระการเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้

ด้านร่างกาย 1. การเกดิ ฝน

1. การเคลื่อนไหวอยู่กบั ท่ี - นา้ ในแหลง่ น้าระเหยลอยข้ึนไป

2. การเคลอ่ื นไหวเคล่ือนท่ี รวมตวั เป็นก้อนเมฆและกลั่นตวั เปน็ ฝน

3. การเคลื่อนไหวพรอ้ มวัสดุอุปกรณ์ 2. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในฤดูฝน

4. การเล่นเครอ่ื งเลน่ สัมผัส และการ - ฟ้าร้อง

สรา้ งสง่ิ ตา่ งๆ จากแท่งไม้ บลอ็ ก - ฟ้าแลบ

5. การเขยี นภาพและการเล่นกบั สี - ฟา้ ผา่

6. การป้ัน - รงุ้ กินนา้

7. การประดิษฐส์ ง่ิ ต่าง ๆ ดว้ ยเศษวัสดุ 3. สัตว์ท่ีพบมากในฤดูฝน

8. การฉีก - กบ

9. การปฏิบัติตนตามสขุ อนามยั สุขนิสยั - องึ่ อ่าง

ทด่ี ใี นกจิ วัตรประจาวนั - งู ฯลฯ

10. การปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยในกิจวัตร 4. ประโยชน์ / โทษของฝน

ประจาวนั - ต้นไมเ้ จรญิ เตบิ โต มนี า้ ไว้ใช้ใน

11. การเคลื่อนไหวข้ามสง่ิ กดี ขวาง ชีวิตประจาวัน

ด้านอารมณ์ จิตใจ - นา้ ทว่ ม เป็นหวดั

1. การฟงั เพลง การร้องเพลง และการ 5. การปฏิบัติตนในฤดูฝน

แสดงปฏกิ ริ ิยาโตต้ อบเสียงดนตรี - ใชร้ ่ม เส้อื กันฝนเม่อื ต้องตากฝน

2. การเคลื่อนไหวตามเสยี งเพลง / - ระวังอุบตั ิเหตุ

ดนตรี

มาตรฐาน / ตัวบ่งช้ี / สภาพทีพ่ งึ จุดประสงค์การเรยี นรู้
ประสงค์

3

4

5

6



7

มฐ.8 ตบช.8.2 8
8.2.1 เลน่ หรือทางานร่วมมอื กับเพื่อน 8. วาดภาพการป้องกันน้าท่วมร่วมมือ 9
กบั เพือ่ นอย่างมเี ป้าหมาย
อยา่ งมีเปา้ หมาย ด
9. ฟังและพูดโตต้ อบเก่ยี วกบั สัตว์ทพ่ี บ 1
มฐ.9 ตบช.9.1
9.1.1 ฟังผอู้ ่ืนพดู จนจบและสนทนา ในฤดูฝนได้

โตต้ อบอย่างต่อเน่อื งเช่ือมโยงกบั เรือ่ งท่ี 10. เล่าเป็นเรอ่ื งราวต่อเน่อื งเกี่ยวกบั 2
การปฏิบตั ิตนในฤดูฝนได้
ฟงั ก
9.1.2 เล่าเป็นเร่ืองราวตอ่ เนือ่ งได้ 11. นาภาพชนิ้ ส่วนเล็กตอ่ ให้เป็นภาพท่ี 3
มฐ.10 ตบช.10.1 ตบช.10.2 ตบช. สมบูรณไ์ ด้
12. จับคูภ่ าพทสี่ มั พันธก์ นั ได้ เ

10.2 4

10.1.1 บอกลกั ษณะส่วนประกอบการ 13. จด้ หมวดหมู่ความเขม้ ของสีได้ ค
เปลย่ี นแปลงหรือความสมั พันธ์ของส่งิ 14. จัดหมวดหมู่ภาพกับสญั ลกั ษณ์ได้ 5
ต่าง ๆ จากการสงั เกตโดยใช้ประสาท 15. เรยี งลาดับภาพเหตุการณก์ ารเกดิ ด
สัมผสั ฝนได้ 1
10.1.2 จับคู่และเปรยี บเทยี บความ 16. อธิบายเชื่อมโยงเหตแุ ละผลที่ อ
แตกต่างและความเหมอื นของสง่ิ ตา่ ง ๆ เกิดขึ้นตามวฏั จกั รของน้าได้

โดยใชล้ กั ษณะทสี่ งั เกตพบสองลกั ษณะ 17. คาดคะเนสงิ่ ท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ จาก 2
ขน้ึ ไป การทดลองรุง้ กนิ น้า และมีส่วนรว่ มใน เ

๑๕๙

สาระการเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้

ประสบการณส์ าคญั

3. การทากจิ กรรมศิลปะต่าง ๆ
4. การสรา้ งสรรคส์ ิ่งสวยงาม
5. การเลน่ อิสระ
6. การเล่นรายบุคคล กลุม่ ย่อย กลมุ่
ใหญ่
7. การเลน่ ตามมุมประสบการณ์

8. การเล่นนอกห้องเรียน
9. การทางานศิลปะ
ดา้ นสังคม
1. การปฏบิ ัติตนเป็นสมาชกิ ท่ีดีของ
หอ้ งเรยี น
2. การใหค้ วามร่วมมอื ในการปฏิบตั ิ
กิจกรรมตา่ งๆ
3. การเลน่ หรอื ทากจิ กรรมรว่ มกับกลุ่ม
เพ่ือน
4. การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยน
ความคดิ เห็น
5. การทาศิลปะแบบร่วมมอื
ดา้ นสติปญั ญา
1. การพดู กับผู้อื่นเก่ียวกับประสบการณ์
องตนเองหรือพูดเลา่ เรอ่ื งราวเก่ียวกับ
ตนเอง
2. การพูดอธบิ ายเกีย่ วกบั ส่ิงของ
เหตุการณแ์ ละความสมั พันธ์ของส่ิงตา่ ง

มาตรฐาน / ตัวบง่ ชี้ / สภาพท่พี งึ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ประสงค์

10.1.3 จาแนกและจดั กลมุ่ ส่ิงต่างๆ การลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมี ๆ

โดยใช้ต้งั แต่สองลักษณะข้ึนไปเปน็ เหตผุ ล 3

เกณฑ์ เ

10.1.4 เรียงลาดบั ส่ิงของและ 4

เหตกุ ารณอ์ ย่างน้อย 5 ลาดับ เ

10.2.1 อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลท่ี
5
เกิดขึ้นในเหตกุ ารณ์หรอื การกระทาด้วย

ตนเอง ร

10.2.2 คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึน้ 6

และมสี ว่ นร่วมในการลงความเหน็ จาก ๆ

ข้อมลู อย่างมเี หตุผล 7

10.3.2 ระบุปัญหา สร้างทางเลอื ก และ 18. ระบปุ ญั หา สร้างทางเลอื ก และ ค

เลอื กวิธีแก้ปญั หา เลือกวิธีแก้ปัญหาเมอ่ื เกิดนา้ ท่วมได้
8
มฐ.11 ตบช.11.1 ตบช.11.2 19. สร้างผลงานศิลปะเพ่อื ส่อื สาร

11.1.1 สร้างผลงานศิลปะเพือ่ สื่อสาร ความคดิ ความรสู้ ึกของตนเอง โดยมี
9
ความคิด ความรู้สกึ ของตนเอง โดยมี การดดั แปลง แปลกใหม่จากเดมิ และมี

การดัดแปลง แปลกใหม่จากเดมิ และมี รายละเอยี ดเพิ่มขึ้น ค

รายละเอียดเพิ่มขึ้น 20. เคล่อื นไหวทา่ ทางเพือ่ สอื่ สาร
1
11.2.1 เคลือ่ นไหวทา่ ทางเพือ่ ส่อื สาร ความคดิ ความร้สู ึกของตนเองอยา่ ง

ความคดิ ความรูส้ ึกของตนเองอยา่ ง หลากหลายและแปลกใหม่
1
หลากหลายและแปลกใหม่


๑๖๐

สาระการเรียนรู้ สาระที่ควรเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคญั


3. การชงั่ ตวง วัดสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยใช้
เคร่ืองมอื และหนว่ ยทไี่ ม่ใชม่ าตรฐาน
4. การจับคู่ การเปรียบเทียบและการ
เรียงลาดบั ส่ิงต่าง ๆ ตามลักษณะ ความ
ยาว/ความสูง น้าหนกั ปรมิ าตร
5. การคัดแยก การจัดกล่มุ และการ
จาแนกสิง่ ต่างๆ ตามลักษณะและรูปรา่ ง
รูปทรง
6. การนับและแสดงจานวนของสงิ่ ต่าง
ๆ ในชวี ติ ประจาวัน
7. การรบั รู้และแสดงความคิด
ความรู้สกึ ผ่านส่ือ วัสดุ ของเล่นและ
ช้นิ งาน

8. การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผา่ น
ภาษา ท่าทาง การเคลือ่ นไหวและศลิ ปะ
9. การมีส่วนรว่ มในการรวบรวมข้อมูล
และนาเสนอข้อมลู จากการสืบเสาะหา
ความรู้ในรูปแบบตา่ ง ๆ และแผนภมู ิ
อย่างง่าย
10. การบอกและเรยี งลาดับกิจกรรม
หรอื เหตุการณ์ตามช่วงเวลา
11. การอธบิ ายเชอื่ มโยงสาเหตแุ ละผล
ทเ่ี กิดขน้ึ ในเหตุการณ์หรือการกระทา

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ / สภาพทพี่ งึ จุดประสงค์การเรยี นรู้
ประสงค์

1



(๒.๒) แผนการจัดประสบการณ์รายสปั ดาห์ สัป

วนั ที่ เคลอื่ นไหวและ เสรมิ ประสบการณ์ ศิลปะสร้าง

จงั หวะ

1 - การเคลอื่ นไหวตาม เรอ่ื ง การเกดิ ฝน - วาดภาพสีเทีย

คาสง่ั - นา้ ในแหลง่ น้าระเหยลอยข้นึ - วาดภาพสนี ้า

ไป รวมตัวเปน็ กอ้ นเมฆและกลัน่ - ฉีกกระดาษรูป

ตวั เปน็ ฝน

2 - การแสดงท่าทาง เรือ่ ง ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ - วาดภาพสีเทยี

ตามคาบรรยาย ทเ่ี กดิ ขึน้ ในฤดูฝน - วาดภาพสีนา้

- ฟา้ แลบ - ระบายสีภาพส

- ฟา้ ร้อง

- ฟ้าผา่

- รุ้งกนิ นา้

3 - การแสดงท่าทาง เรือ่ ง สตั ว์ทพ่ี บมากในฤดูฝน - วาดภาพสีเทีย

ตามจนิ ตนาการ - กบ - วาดภาพสีนา้

- อ่ึงอา่ ง - กลิ้งสี

- งู ฯลฯ

4 - การแสดงท่าทาง เรอ่ื ง ประโยชนข์ องฝน - วาดภาพสีเทยี

ตามจนิ ตนาการ - ตน้ ไม้เจรญิ เติบโต - วาดภาพสนี า้

- น้าไว้ใช้ในชวี ติ ประจาวนั - ป้ันดินนา้ มนั

๑๖๑

สาระการเรยี นรู้

ประสบการณส์ าคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้

12. การตดั สินใจและมีส่วนร่วมใน

กระบวนการแกป้ ัญหา

ปดาหท์ ี.่ .......... หน่วย “ฤดูฝน” ชน้ั อนบุ าลปีท่ี 3

กิจกรรม

งสรรค์ การเลน่ ตามมมุ การเล่นกลางแจ้ง เกมการศกึ ษา

ยน - มมุ บลอ็ ก - เลน่ อิสระ - เกมเรยี งลาดับภาพ
เหตกุ ารณ์การเกิดฝน
- มมุ นิทาน

ปหยดนา้ -มมุ พลาสตกิ สรา้ งสรรค์

ยน - มมุ บล็อก - กายบริหาร - เกมจัดหมวดหมู่
ความเข้มของสี
- มุมนทิ าน

สายร้งุ -มมุ พลาสตกิ สร้างสรรค์

ยน - มุมบล็อก - การวง่ิ หลบหลกี สงิ่ - เกมจับค่ภู าพส่งิ ท่ี

- มุมนทิ าน กีดขวาง สมั พันธก์ ัน

-มุมพลาสตกิ สร้างสรรค์

ยน - มุมบลอ็ ก - กายบรหิ าร - เกมจดั หมวดหมู่

- มุมนทิ าน ภาพกับสญั ลกั ษณ์

-มมุ พลาสตกิ สร้างสรรค์

วนั ท่ี เคลื่อนไหวและ เสริมประสบการณ์ ศลิ ปะสร้าง

จังหวะ - วาดภาพสีเทีย
- วาดภาพสนี ้า
โทษของฝน - พบั กระดาษเป

- นา้ ทว่ ม

- ทาใหเ้ จ็บปว่ ย

5 - การเคลอ่ื นไหวตาม เรอื่ ง การปฏบิ ตั ิตนในฤดูฝน

ข้อตกลง - กางร่ม

- ไมต่ ากฝน ฯลฯ

กจิ กรรม การเล่นตามมุม ๑๖๒
งสรรค์
การเล่นกลางแจ้ง เกมการศึกษา

ยน - มมุ บลอ็ ก - เล่นอิสระ - เกมภาพตดั ตอ่ เด็ก
ปน็ รว่ ม กางร่ม
- มมุ นิทาน

-มมุ พลาสติกสร้างสรรค์

(๒.๓) แผนการจดั ประสบการณ์รายวนั สัปดาห์ที่ ........... วนั

สาระการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ประสบการณ์สาคญั สาระที่ควร

เรียนรู้

กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและ 1. การฟังเพลง การ - การเคล่ือนไหว 1. กจิ กรร

จังหวะ รอ้ งเพลง และการ ตามคาสงั่ ท่ัวบริเวณ

1. สนใจ มีความสุข และ แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ เมอื่ ไดย้ ินส

ทา่ ทางเคล่ือนไหว เสียงดนตรี ทนั ที

ประกอบเพลง จงั หวะและ 2. การใหค้ วามร่วมมอื 2. เด็กและ

ดนตรี ในการปฏบิ ัติกจิ กรรม 3. ใหเ้ ดก็ เ

2. เคลื่อนไหวทา่ ทางเพือ่ ตา่ ง ๆ โดยทาท่าท

สื่อสารความคดิ ความรสู้ ึก สญั ญาณห

ของตนเองอยา่ ง ต้นไม้ ฝนต

หลากหลายและแปลกใหม่ 4. ปฏบิ ัติต

กิจกรรมเสรมิ 1. การอธิบายเชือ่ มโยง - การเกดิ ฝน ข้นั นา

ประสบการณ์ สาเหตุและผลทีเ่ กดิ ขน้ึ 1. ให้เดก็ ฟ

1. อธิบายเชอื่ มโยงเหตุ ในเหตกุ ารณ์หรือการ ขั้นสอน

และผลทเ่ี กิดข้นึ ตามวัฏ กระทา 2. สนทนา

จกั รของนา้ ได้ คาถาม ดัง

- ไอน้าม

- เมือ่ ไอ

- ทาไมเ

- ถา้ ฝน

3. แบง่ กล

แกว้ ให้แต่ล

สงั เกตสง่ิ ท

๑๖๓

นท่ี ...................................... หน่วย ฤดฝู น ชนั้ อนบุ าลปีที่ 3

กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ การประเมนิ ผล

รมพืน้ ฐาน ใหเ้ ด็กเคล่ือนไหวร่างกายไป 1. เครอื่ งให้ 1. สังเกตการแสดง

ณ อยา่ งอิสระตามสัญญาณทค่ี รูเคาะ จงั หวะ ความสนใจ ความสุข

สัญญาณ “หยุด” ให้หยดุ ในท่านั้น 2. เพลง ฝนจา๋ และแสดงออกผ่าน

เสียงเพลง ดนตรี

ะครูรว่ มกันรอ้ งเพลง “ฝนจ๋า” 2. สังเกตพฤติกรรม

เคลอ่ื นไหวรา่ งกายไปในทศิ ทางตา่ ง ๆ เคลื่อนไหวทา่ ทางเพ่ือ

ทางไมซ่ า้ กันตามจังหวะ เม่ือไดย้ นิ สอ่ื สารความคิด

หยดุ ให้ทาท่าทางตามคาสัง่ เชน่ ลมพัด ความรสู้ ึกของตนเอง

ตกหลบฝน ฯลฯ อยา่ งหลากหลายและ

ตามขอ้ 2 ซ้าอีก แปลกใหม่

1. นิทานเรือ่ ง 1. สังเกตพฤตกิ รรม

ฟังนทิ านเร่อื ง “เมฆ” เมฆ การอธบิ ายเชือ่ มโยง

2. แก้วและฝา เหตุผลท่ีเกดิ ขน้ึ ตามวัฏ

ารว่ มกันถงึ เน้ือหาในนิทาน โดยใช้ แกว้ จกั รของน้า

งน้ี 3. ภาพวฏั จักร

มาจากท่ีใด มาได้อย่างไร การเกดิ ฝน

อนา้ รวมตวั กนั แล้วจะเป็นอย่างไร

เมฆจงึ ลอยไปลอยมาได้

นไม่ตกจะเป็นอยา่ งไร

ล่มุ เดก็ ออกเปน็ 4 กลมุ่ ครนู านา้ ร้อนใส่

ละกลมุ่ และปดิ ฝาแก้ว แต่ละกลุ่ม

ที่เกดิ ขน้ึ ใต้ฝาแก้ว และบนั ทึกผลการ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้

ประสบการณ์สาคญั สาระทีค่ วร
เรียนรู้

กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ 1. การเล่นเคร่อื งเลน่ - วาดภาพสี ทดลอง
4. ครูนาภ
และกิจกรรมการเล่นตาม สัมผัส และการสรา้ งสิ่ง เทียน ออกมาเรีย
ขั้นสรปุ
มุม ตา่ ง ๆ จากแทง่ ไม้ - วาดภาพสนี า้ 5. เดก็ และ

1. สนใจ มีความสุขและ บลอ็ ก - ฉกี กระดาษรูป 1. เด็กและ
2. ครูแนะ
แสดงออกผ่านงานศิลปะ 2. การเขยี นภาพและ หยดน้าและการ
2.1 วา
2. กลา้ พดู กล้าแสดงออก การเลน่ กับสี เลน่ ตามมมุ 2.2 วา
2.3 ฉีก
อย่างเหมาะสมตาม 3. การปนั้ ประสบการณ์ 3. เด็กเลือ
ตามความส
สถานการณ์ 4. การทากจิ กรรม ครูเขียนบร
4. เดก็ เลือ
3. แสดงความพอใจใน ศลิ ปะต่างๆ สนใจ โดย
4.1 ให
ผลงานและความสามารถ 5. การพดู อธิบาย 4.2 ให
4.3 ให
ของตนเองและผอู้ ่นื เก่ยี วกับส่ิงของ 5. เมือ่ หม
เกบ็ ของ
4. สรา้ งผลงานศลิ ปะเพอื่ เหตุการณ์ และ 6. เดก็ 4 -
เพือ่ นถามห
สอ่ื สารความคดิ ความรูส้ ึก ความสมั พนั ธข์ องสิง่

ของตนเอง โดยมีการ ต่าง ๆ

ดดั แปลง แปลกใหม่จาก

เดมิ และมีรายละเอียด

เพมิ่ ขึ้น

๑๖๔

กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การประเมนิ ผล

ภาพวฏั จกั รการเกดิ ฝนใหเ้ ดก็ ดู ให้เด็ก
ยงลาดับการเกิดฝน

ะครรู ่วมกนั สรุปการเกิดฝน 1. สเี ทยี น 1. สงั เกตพฤติกรรม
ะครรู ่วมกันรอ้ งเพลง “เสียงฝน”
ะนากิจกรรมสร้างสรรคป์ ระกอบด้วย 2. สีนา้ ขณะทางานศลิ ปะ
าดภาพสีเทียน 3. กระดาษสี 2. สงั เกตพฤตกิ รรม
าดภาพสีน้า 4. กระดาษ การกล้าพดู กล้า
กกระดาษรูปหยดน้า
อกทากิจกรรมสร้างสรรค์ 2 กิจกรรม A4 แสดงออกในการเลา่
สนใจ เมือ่ ทาผลงานเสรจ็ ใหน้ ามาให้ 5. พู่กนั เร่อื งเพือ่ นาเสนอ
รรยายภาพหรอื ผลงาน
อกเล่นตามมุมประสบการณต์ ามความ 6. แผน่ รองกนั ผลงาน
ยมีลาดับการเล่น ดังนี้ เป้อื น 3. สังเกตพฤติกรรม
หเ้ ดก็ วางแผนการเลน่ 7. ภาชนะใส่ การแสดงความพอใจ
หเ้ ดก็ เลน่ ตามแผนทวี่ างไว้
ห้เด็กได้ทบทวนการเลน่ ของตนเอง ของ ในผลงานของตนเอง
มดเวลา ครใู ห้สญั ญาณให้เด็กชว่ ยกนั 8. ของเล่น และผอู้ น่ื

- 5 คน นาผลงานออกมานาเสนอให้ ตามมมุ
หรือแสดงความคิดเหน็ ประสบการณ์
9. เพลง เสยี ง

ฝน

สาระการเรยี นรู้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระทค่ี วร
กิจกรรมการเล่น
กลางแจง้ เรยี นรู้
1. เล่นและปฏบิ ตั ิต่อผอู้ น่ื
อยา่ งปลอดภัย 1. การเลน่ อิสระ - ขอ้ ตกลง 1. เดก็ อบอ
ยืดตัว
กจิ กรรมเกมการศึกษา 2. การปฏบิ ัติตนให้ ในการเลน่ นา้ 2. ครทู บท
1. เรียงลาดบั ภาพ เล่นอิสระอ
เหตุการณ์การเกิดฝนได้ ปลอดภัยในกิจวตั ร เล่นทราย เล่น 3. ให้เดก็ เ
ความปลอ
ประจาวนั อสิ ระ 4. ให้สัญญ
และพาเด็ก
3. การเล่นนอก
1. ครูแนะ
ห้องเรยี น ภาพเหตุก
2. แบง่ เดก็
4. การชง่ั ตวง วดั สง่ิ แนะนาไป
ชดุ เดมิ
ตา่ ง ๆ โดยใช้เครอื่ งมอื 3. ร่วมกนั
กิจกรรมเส
และหน่วยท่ไี มใ่ ช่

มาตรฐาน

5. การเล่นหรือทา

กิจกรรมร่วมกบั กลุ่ม

เพ่ือน

1. การเรียงลาดบั - การเรยี งลาดับ

กิจกรรมหรอื เหตุการณ์ เหตุการณ์

ตามชว่ งเวลา

๑๖๕

กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ การประเมนิ ผล

อุ่นร่างกายดว้ ยการสะบดั มอื ยอ่ ตวั 1. ภาชนะใส่ 1. สงั เกตพฤติกรรม
น้า การเล่นอยา่ งปลอดภัย
ทวนข้อตกลงในการเลน่ น้า เลน่ ทราย 2. กะบะทราย
อย่างปลอดภัย
เลอื กเล่นอยา่ งอสิ ระ โดยครูคอยดแู ล 3. อุปกรณ์
อดภยั ของเดก็ ประกอบการ
ญาณหยดุ เล่น เดก็ ชว่ ยกนั เก็บอปุ กรณ์
กไปทาความสะอาดรา่ งกาย เล่นนา้ เล่น
ทราย

ะนาและสาธติ วิธกี ารเล่นเกมเรียงลาดบั 1. เกม 1. สังเกตการเล่นเกม

การณ์การเกิดฝน เรียงลาดับภาพ การศึกษา

กเป็น 4 กลมุ่ ใหเ้ ดก็ 1 กลุ่มรบั เกมท่ี เหตกุ ารณ์การ

ปเล่นและกลุ่มอื่น ๆ เลน่ เกมการศกึ ษา เกดิ ฝน

2. เกมทเ่ี คย

นสรปุ และเกบ็ สิ่งของเข้าทเ่ี มอื่ ทา เลน่ มาแลว้

สร็จแลว้

(๒.๔) บนั ทึกหลงั การจัดประสบการณ์ สัปดา

คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย เมือ่ พบพฤตกิ รรมตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ หรือ ทาเครอ่ื งหมา

บนั ทึกผลการจดั กิจกรรม (อาทิ ความยากง่ายของกิจกรรมที่กาหนด ความเหมาะสมของส่อื ระย

เลขที่ ชอื่

ด้านร่างกาย ด้าน

อารมณ์

และ

จติ ใจ

๑.ปฏิบั ิตตนอ ่ยางปลอดภัยเ ่ืมอฝนตกไ ้ด
๒.รับลูกบอล ่ีทกระดอน ้ึขนจาก ื้พนไ ้ด
๓.ใช้กรรไกร ัตดกระดาษตามแนวเส้นโค้ง
ไ ้ด
๔. กล้า ูพด กล้าแสดงออกอ ่ยางเหมาะสม
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
และผู้อ่ืน
๖.ร่วมกิจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบ

๑ เดก็ ชายนัธทวัฒน์ สาลิกา
๒ เด็กชายฐากรู กล่นั ประสิทธิ์
๓ เด็กชายปุลวชั ร ขวัญใจรัฐ
๔ เดก็ ชายธรี เทพ เทพสวัสด์ิ
๕ เด็กชายสกุ ฤษณ์ จันทร์คูณ
๖ เด็กชายปิยะ เอ้ียงทอง
๗ เดก็ ชายชยพงศ์ เครอื วัลย์
๘ เด็กชายธนวัฒน์ นารีโภชน์
๙ เดก็ ชายภรู ี สงั วรศิลป์
๑๐ เด็กชายวรชยั นวลจันทร์

เพลงและดนตรอี ยา่ งมีความสขุ ด้านสังคม พฒั นาการ ยะเวลาในการจัดกิจกรรม การตอบสนองของเดก็ ต่อกจิ กรรม ลักษณะการเรียนรขู้ องเด็ก) าย – เม่อื ไมพ่ บพฤตกิ รรมตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ าห์ท่ี ............... หน่วย ฤดูฝน ชัน้ อนุบาลปีที่ 3

๗.ยืนตรง และรว่ มรอ้ งเพลงสรรเสริญ ด้านสตปิ ญั ญา
พระบารมี
๘.ทางานร่วมมอื กบั เพอ่ื นในการประดษิ ฐ์ ๑๖๖
เครือ่ งบินฝนหลวงได้

๙.อธิบายเช่ือมโยงเหตุและผลท่ีเกิดขนึ้
ตามวัฏจักรของนา้ ได้

๑๐.ระบปุ ญั หา สรา้ งทางเลอื ก และเลอื ก
วิธีแกป้ ัญหา เมอ่ื ไม่มีอุปกรณก์ นั ฝนได้

๑๑.สร้างผลงานศิลปะเพอื่ สอื่ ความคิด
ความร้สู กึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง
และแปลกใหมจ่ ากเดมิ และมรี ายละเอียด
เพิ่มข้ึน

๑๒.คน้ หาคาตอบเกยี่ วกบั โรค
ไข้เลอื ดออก และการปอ้ งกันได้

๑๓.ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เมอื่ ไหร่”หรือ
“อย่างไร” ในการคน้ หาคาตอบ

หมายเหตุ

เลขที่ ช่ือ

ด้านรา่ งกาย ด้าน
อารมณ์
และ
จติ ใจ

๑.ปฏิบั ิตตนอ ่ยางปลอดภัยเมื่อฝนตกไ ้ด
๒.รับลูกบอล ่ีทกระดอน ้ึขนจาก ื้พนไ ้ด
๓.ใช้กรรไกร ัตดกระดาษตามแนวเ ้สนโค้ง
ไ ้ด
๔. กล้า ูพด กล้าแสดงออกอ ่ยางเหมาะสม
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
และผู้อ่ืน
๖.ร่วม ิกจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบ

๑๑ เดก็ ชายสุเนยี ง นีสเุ นียง
๑๒ เดก็ หญงิ ศุภรักษ์ ศริ เิ ลศิ สมบัติ
๑๓ เดก็ หญงิ วิไลพร เยน็ เสนาะ
๑๔ เดก็ หญงิ วนชั พร กรดุ รุณ
๑๕ เด็กหญงิ ปทิตตา แย้มผกา
๑๖ เด็กหญิงชตุ ิมณฑน์ สารโพธ์ิพนั ธ์
๑๗ เดก็ หญงิ อรวรรณ พันธ์ศุ ิริ
๑๘ เด็กหญงิ วนั ทวภิ า บ้ิงเดช

หมายเหตุ ครสู งั เกตพฤติกรรมเดก็ รายบคุ คล จดบนั ทกึ สรปุ เป็นรายสัปดาห์ และระบรุ ะด

ระดับ ๓ ดี ระดบั ๒ ปานกลาง

ดบั คณุ ภาพเปน็ ๓ ระดบั คอื เพลงและดนตรอี ยา่ งมคี วามสขุ พฒั นาการ
ระดับ ๑ ควรส่งเสริ ดา้ นสงั คม
๗.ยืนตรง และร่วมรอ้ งเพลงสรรเสริญ
ลงชือ่ .........................................................ผบู้ นั ทกึ พระบารมี ด้านสติปญั ญา
ครปู ระจาชัน้ ๘.ทางานร่วมมอื กบั เพอ่ื นในการประดษิ ฐ์
เครือ่ งบินฝนหลวงได้ ๑๖๗
หมายเหตุ
๙.อธบิ ายเช่ือมโยงเหตุและผลท่ีเกิดขนึ้
ตามวัฏจักรของนา้ ได้

๑๐.ระบปุ ญั หา สรา้ งทางเลอื ก และเลอื ก
วิธีแกป้ ัญหา เมอ่ื ไมม่ ีอุปกรณก์ นั ฝนได้

๑๑.สร้างผลงานศิลปะเพอื่ ส่ือความคิด
ความรู้สกึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง
และแปลกใหมจ่ ากเดมิ และมรี ายละเอียด
เพิ่มขึน้

๑๒.คน้ หาคาตอบเกยี่ วกบั โรค
ไข้เลอื ดออก และการปอ้ งกันได้

๑๓.ใชป้ ระโยคคาถามวา่ “เมอื่ ไหร่”หรือ
“อย่างไร” ในการคน้ หาคาตอบ

๑๖๘

แบบนเิ ทศการสอนในชั้นเรยี น ระดับปฐมวัย

โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์ ปกี ารศึกษา 256๕

ผู้รับการนิเทศ........................................................................ สอนระดบั ช้นั .....................................................

วนั ทีร่ ับการนิเทศ

ภาคเรียนที่ 1  คร้งั ท่ี 1 วนั ท.่ี ..............เดอื น................................พ.ศ......................

 ครง้ั ที่ 2 วนั ท่ี...............เดอื น................................พ.ศ......................

ภาคเรยี นท่ี 2  ครง้ั ที่ 3 วนั ท.ี่ ..............เดอื น................................พ.ศ......................

 ครั้งท่ี 4 วันท่ี...............เดือน................................พ.ศ......................

คาชแ้ี จง โปรดใสร่ ะดับคุณภาพตามเกณฑก์ ารประเมนิ

รายการ ระดบั คุณภาพ ข้อสงั เกต

4 3 2 1 (ผนู้ ิเทศบันทึกเพ่ิมเตมิ )

ตอนท่ี 1 การจดั สภาพแวดล้อม

1.1 มีการจัดแบง่ บริเวณมมุ ต่างๆในห้องเรยี นอยา่ งเป็นระบบ

สมเหตุ สมผลและมบี รรยากาศอบอนุ่ คล้ายบา้ น

1.2 บริเวณในแต่ละมุมมีพ้นื ทที่ เ่ี พียงพอ

1.3 หอ้ งเรียนมคี วามปลอดภัยและมีการบารงุ รกั ษาเป็นอย่างดี

1.4 ห้องเรียนมีมมุ ประสบการณ์อย่างน้อย 5 มมุ และ
ภายในมุมมีสือ่ ของเลน่ อยา่ งหลากหลายเพียงพอกบั จานวน
เดก็
1.5 พื้นทีจ่ ัดแสดงผลงานของเด็กปฐมวัยท่ีเกบ็ แฟ้มผลงาน
เครือ่ งใชส้ ่วนตวั ของเดก็ และครู

1.6 มกี ารจัดปา้ ยนิเทศ/มมุ ประสบการณท์ ี่สอดคล้องกับหนว่ ย
การเรยี นรูห้ รือสถานการณ์ปัจจุบนั หรือสิง่ ที่เดก็ สนใจ

ตอนที่ 2 แผนการจัดประสบการณ์

2.1 ความครบถว้ นขององค์ประกอบแผนการจดั ประสบการณ์
ในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้
2.2 ความสอดคลอ้ งของการจัดประสบการณ์กับมาตรฐาน
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์
2.3 คณุ ภาพของการออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน

๑๖๙

รายการ ระดับคุณภาพ ขอ้ สงั เกต
4 3 21 (ผูน้ ิเทศบันทึกเพมิ่ เตมิ )
ตอนท่ี 3 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขน้ั นา
3.1 มีการนาเข้าสู่เรื่องทีเ่ รยี นอยา่ งนา่ สนใจ ทาให้เด็กเกดิ
ความอยากร้อู ยากเหน็ และเกิดสมาธิ
ขั้นสอน
3.2 จัดประสบการณ์สอดคล้องกบั การทางานของสมอง
3.3 จัดประสบการณโ์ ดยบรู ณาการผา่ นการเลน่ กระตุ้นให้
เด็กทุกคนมสี ่วนรว่ มในการทากจิ กรรม

3.4 จดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ ได้เรยี นรู้ผา่ นการลงมือปฏิบตั ิ

3.5 สอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์
3.6 มีการใช้คาถามสง่ เสรมิ กระบวนการคดิ ให้แกเ่ ดก็

3.7 มีการใช้คาพูดเชิงบวก เสรมิ แรง สร้างความภาคภมู ิใจ
และความมน่ั ใจแก่ผ้เู รียน
3.8 ใชน้ า้ เสยี งไพเราะ สภุ าพ ออ่ นโยน

3.9 การใชส้ ือ่ อุปกรณ์การเรยี นรู้ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
กับกิจกรรม และหนว่ ยการเรยี นรู้
3.10 จดั ประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์

ข้ันสรปุ
3.11มีการทบทวนและสรปุ ความรู้หรอื ทกั ษะท่ีสอนเพื่อให้
ผูเ้ รยี นเขา้ ใจและแม่นยาในสิง่ ทเี่ รียนรมู้ ากขน้ึ โดยใหผ้ เู้ รียน
ชว่ ยกันสรุปบทเรียน
3.12 มีวธิ กี ารสรุป หรือประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นที่
เหมาะสม และวิธกี ารทห่ี ลากหลาย
ตอนที่ 4 การบนั ทึกหลังสอนและการประเมิน

4.1 มกี ารบนั ทกึ หลังสอนที่สะท้อนถึงปญั หา วธิ ีการแกไ้ ข
ปญั หา เพอื่ นาไปสู่การวจิ ัยการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน
4.2 มีการประเมินตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ทีก่ าหนดไว้

4.3 มวี ิธีการประเมินผลการเรียนรูด้ ว้ ยเคร่ืองมือ หรือวิธีการที่
หลากหลายเหมาะสมกับกจิ กรรมท่ีจัดประสบการณ์
4.4 มีการจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศ และการจดั ระบบดแู ล
ชว่ ยเหลอื

๑๗๐

จุดเด่น และข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

..........................................
เกณฑ์การใหร้ ะดบั คุณภาพ

ระดับ 4 หมายถึง ดมี าก

ระดับ 3 หมายถงึ ดี
ระดบั 2 หมายถึง พอใช้

ระดบั 1 หมายถงึ ควรปรับปรุง
เกณฑ์การแปลระดบั คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน 3.26-4.00 อยู่ในระดบั ดีมาก

ชว่ งคะแนน 2.51-3.25 อยใู่ นระดับดี
ชว่ งคะแนน 1.76-2.50 อยูใ่ นระดบั พอใช้

ชว่ งคะแนน 1.00-1.75 อยใู่ นระดบั ควรปรับปรุง

ตารางสรปุ ผลการประเมนิ รายด้าน

ด้านที่ ประเด็นการนิเทศ ค่าเฉลย่ี ระดับคณุ ภาพ หมายเหตุ

1 การจัดสภาพแวดล้อม

2 แผนการจัดประสบการณ์
3 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
4 การบันทกึ หลงั สอนและการประเมิน

สรปุ รวม
ระดับคุณภาพ

ลงช่อื ...........................................................ผนู้ ิเทศ
(...........................................................)

๑๗๑

แบบตรวจสอบหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ก่อนการนาหลกั สตู รไปใช้

โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วิทย์ ตาบลบงึ บอน อาเภอหนองเสอื จงั หวดั ปทมุ ธานี

สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๒

คาชี้แจง

แบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยฉบบั นี้ เปนแบบสารวจความคิดเห็นท่ีใชเปนเครื่องมือ

ในการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยกอนการนาหลักสูตรไปใช และใหผูมีสวนเกี่ยวของ

ของสถานศึกษา ทาหนาทตี่ รวจสอบ เชน ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ผูสอนระดับปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒ/ิ ผเู ช่ียวชาญ

ผูแทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผูแทนผูปกครอง และผูแทนชมุ ชน เปนตน

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของผูใ้ ห้ข้อมูล

1. เพศ  ชาย  หญิง

2. อายุ  20-40 ปี  41-50 ปี  51-60 ปี

3. สถานะ/ตาแหน่งหน้าที่

 ผูบ้ ริหารสถานศึกษา  ครปู ฐมวยั

 ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ  ผ้แู ทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา

 ผ้แู ทนผ้ปู กครอง  ผู้แทนชุมชน

 อนื่ ๆ โปรดระบุ

ตอนท่ี 2 การประเมินคณุ ภาพหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั

ท่ี รายการ ปรากฏ ไม่ ขอ้ เสนอแนะ

ปรากฎ เพมิ่ เติม

1 ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษา

1.1 แสดงแนวคิดและความเช่ือในกรจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาเด็กปฐมวัย

ชดั เจน ครบถว้ น

1.2 มีความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

1.3 มคี วามเชื่อมโยงกับความเชื่อในการจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาเด็ก

ปฐมวยั

1.4 ผ้มู ีส่วนเก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนดปรัชญาการศกึ ษา

2 วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย

2.1 มีความชัดเจนและสอดคล้องกบั ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัยของ

สถานศกึ ษา

2.2 แสดงความคาดหวังและวิธกี ารพัฒนาเด็กปฐมวัยในอนาคตได้ชดั เจน

2.3 แสดงถงึ จดุ เนน้ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ทีต่ อ้ งการของสถานศึกษา

2.4 มกี ารกาหนดเปา้ หมายทต่ี อ้ งการในเชิงปรมิ าณหรอื เชงิ คณุ ภาพ

3 จุดหมาย

3.1 มีความสอดคล้องและครอบคลมุ จดุ หมายของหลกั สูตรการศึกษา

ปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560

3.2 มคี วามสอดคลอ้ งกับปรชั ญา วิสัยทัศน์การศึกษาปฐมวัยของ

สถานศกึ ษา

๑๗๒

ที่ รายการ ปรากฏ ไม่ ข้อเสนอแนะ
เพม่ิ เติม
ปรากฎ

3.3 มีความเป็นไปไดใ้ นการนาไปสกู่ ารปฏิบัติตามจัดหมายทกี่ าหนดใน

หลักสตู ร

มาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์

4.1 นามาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสภาพทีพ่ งึ ประสงคม์ า

กาหนดในหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ครบถ้วน

4.2 มาตรฐานคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์และสภาพท่ีพงึ ประสงคม์ าจดั

แบง่ กลุม่ อายุเดก็ และระดับช้นั เรยี นไดช้ ดั เจน ครบถว้ น

การจดั เวลาเรียน

5.1 มกี ารกาหนดเวลาเรียนตอ่ 1 ปีการศึกษาไม่นอ้ ยกวา่ 180 วนั

5.2 มกี ารกาหนดเวลาเรียนแต่ละวันไม่น้อยกวา่ 5 ชัว่ โมง

5.3 มกี ารกาหนดช่วงเวลาการจดั กิจกรรมประจาวนั เหมาะสมกบั วัยและ

ความสนใจของเดก็

สาระการเรียนร้รู ายปี

6.1 มคี วามสอดคล้องกบั มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี สภาพที่พึงประสงคแ์ ต่ละ

ชว่ งวยั

6.2 มกี ารกาหนดครอบคลุมประสบการณ์สาคัญและสาระทค่ี วรเรียนรู้
ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560

6.3 มกี ารจดั แบ่งสาระการเรยี นรู้เหมาะสมกบั ช่วงเวลาในการจดั หน่วย
ประสบการณ์

การจดั ประสบการณ์
7.1 มีการกาหนดการจัดประสบการณ์โดยใช้หลกั การบูรณาการผ่านการ
เลน่ ท่สี อดคลอ้ งกับพัฒนาการตามวัยของเดก็

7.2 มีรูปแบบการจัดประสบการณ์สอดคลอ้ งกบั ปรัชญา วิสัยทัศน์ และ
จดุ หมายของการจัดการศกึ ษาปฐมวัย

7.3 มกี ารกาหนดการจดั ประสบการณ์แตล่ ะชว่ งอายุท่เี หมาะสมกบั วัย
และความสนใจของเดก็

7.4 มีการกาหนดการจัดประสบการณ์เนน้ ให้เด็กลงมือปฏบิ ตั ิ ริเรม่ิ และมี
สว่ นรว่ มในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

7.5 มีการกาหนดการจดั ประสบการณ์ท่ีเปิดโอกาสให้เด็กมีปฏสิ ัมพันธ์กบั
บุคคล สอื่ และใชแ้ หลง่ เรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย

7.6 มีการกาหนดการจดั ประสบการณ์ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีทกั ษะชวี ติ และการ
ปฏิบตั ิตนตามแนวทางหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

7.7 มกี ารกาหนดการจดั ประสบการณ์สง่ เสรมิ พัฒนาการใหเ้ ดก็ เปน็ เด็ก
ดี มีวนิ ยั และมคี วามเปน็ ไทย

๑๗๓

ที่ รายการ ปรากฏ ไม่ ขอ้ เสนอแนะ

ปรากฎ เพม่ิ เตมิ

การจัดสภาพแวดลอ้ ม สือ่ และแหล่งเรยี นรู้

8.1 ระบุแนวการจัดสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกท่เี อ้อื ต่อการ

เรียนรขู้ องเด็ก

8.2 มสี ่อื ทหี่ ลากหลาย เหมาะสมและเพยี งพอ

8.3 มแี หล่งเรียนรูใ้ นและนอกสถานศึกษาท่สี ง่ เสริมพฒั นาการ การ

เรียนรูข้ องเดก็

การประเมินพฒั นาการ

9.1 มกี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กครอบคลมุ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพึง

ประสงค์

9.2 มกี ารประเมินพฒั นาการตามสภาพจริง

การบรหิ ารจดั การหลักสตู ร

10.1 มีความพรอ้ มดา้ นครู บคุ ลากร และขอ้ มลู สารสนเทศ

10.2 มีงบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนเพยี งพอ

10.3 มกี ารวางแผนการประเมินหลกั สูตรสถานศึกษา (กอ่ น – ระหวา่ ง –

หลงั การใช้)

10.4 มีแผนการนิเทศติดตามการนาหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยสกู่ าร

ปฏิบัติ

การเชื่อมต่อของการศึกษา

11.1 ผบู้ ริหารมีการวางแผนและสร้างความเข้าใจแก่ผสู้ อนปฐมวัย

ผสู้ อนประถมศึกษา ท่เี กีย่ วขอ้ ง พ่อแม่ ผู้ปกครองและชมุ ชน ในการสร้าง

รอยเชอื่ มต่อของหลักสูตรทัง้ สองระดับ

11.2 ครูผู้สอนปฐมวยั และประถมศึกษา มีการแลกเปล่ยี นและกาหนด

แนวทางการทางานรว่ มกนั

11.3 มแี นวทางการจัดกจิ กรรมให้เดก็ ปฐมวัยมคี วามพร้อมในการเรียน

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ของครผู สู้ อนรว่ มกันด้วยวิธกี ารท่หี ลากหลาย

11.4 มกี ารจัดเตรียมขอ้ มูลสารสนเทศของเด็กปฐมวยั รายบุคคลส่งต่อช้นั

ประถมศึกษาปที ี่ 1 เพอื่ การวางแผนพัฒนาเดก็ ร่วมกนั

ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ...........................................................ผตู้ รวจสอบ
(...........................................................)

ตาแหน่ง.............................................................
วัน/เดอื น/ปี.......................................................

๑๗๔

แบบตรวจสอบหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั หลงั การนาหลกั สูตรไปใช้
โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์ ตาบลบงึ บอน อาเภอหนองเสือ จังหวดั ปทุมธานี

สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๒

คาชแี้ จง

แบบตรวจสอบหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัยฉบบั นี้เปนแบบสารวจความคิดเหน็ ท่ีใชเปนเครือ่ งมือ
ในการตรวจสอบคุณภาพหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั หลงั การนาหลกั สูตรไปใช และใหผูมสี วนเกีย่ วของของ
สถานศึกษาทาหนาที่ตรวจสอบ เชน ผูบริหารสถานศึกษา ผูสอนระดับปฐมวัย ผูทรงคุณวฒุ ิ/ผูเช่ียวชาญ
ผแู ทนคณะกรรมการสถานศึกษา/คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น ผูแทนผูปกครอง และผูแทนชมุ ชน เปนตน

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ใหข้ อ้ มูล

1. เพศ  ชาย  หญงิ

2. อายุ  20-40 ปี  41-50 ปี  51-60 ปี

3. สถานะ/ตาแหนง่ หนา้ ที่

 ผบู้ ริหารสถานศึกษา  ครูปฐมวัย

 ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ  ผู้แทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา

 ผู้แทนผูป้ กครอง  ผแู้ ทนชมุ ชน

 อ่ืนๆ โปรดระบุ

ตอนที่ ๒ การตรวจสอบคุณภาพหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั หลงั การนาหลักสตู รไปใช

โปรดทาเครื่องหมาย ✓ ตามระดบั คณุ ภาพ และใหขอเสนอแนะเพอื่ การปรับปรงุ พฒั นา

เกณฑระดับคณุ ภาพ

ระดบั คุณภาพ ๓ ดี หมายถงึ สามารถนาหลกั สูตรไปใชไดครบถวนและเหมาะสม

ระดับคุณภาพ ๒ พอใช หมายถงึ สามารถนาหลักสูตรไปใชได แตบางประเดน็ ควรปรบั ปรุงแกไข

ระดับคุณภาพ ๑ ปรบั ปรุง หมายถึง ไมสามารถนาหลักสูตรไปใชไดเปนสวนใหญ ตองปรับปรุงแกไข

ท่ี รายการ ระดับคุณภาพ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือ
3 2 1 การปรับปรุงพฒั นา

1 ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา

๑.๑ แนวคิดและความเชอื่ ของปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษาชดั เจน

ครบถวน

๑.๒ สงเสริมพัฒนาเด็กตามจุดหมายหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช

๒๕๖๐

2 วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย

๒.๑ บรรลผุ ลปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา

๒.๒ บรรลุผลตามความคาดหวงั ในอนาคตไดช้ ดั เจน

๒.๓ สอดคลองจุดเนน อัตลักษณ เอกลกั ษณทีต่ องการของสถานศึกษา

๒.๔ บรรลุผลตามเปาหมายที่ตองการในเชิงปริมาณหรือเชิงคณุ ภาพ

3 จุดหมาย

๓.๑ มีความสอดคลองและครอบคลุมจดุ หมายของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย

พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๑๗๕

ท่ี รายการ ระดับคณุ ภาพ ขอ้ เสนอแนะเพ่ือ
3 2 1 การปรับปรงุ พัฒนา

3 3.2 มคี วามสอดคล้องกบั ปรัชญา วิสัยทศั น์การศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา

๓.๓ นาไปสูการปฏิบตั ติ ามจุดหมายทีก่ าหนดในหลกั สตู รได

4 มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค

๔.๑ นามาตรฐานคุณลักษณะท่พี งึ ประสงคและสภาพที่พงึ ประสงคไปใชได

ครบถว้ น

๔.๒ นามาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคและสภาพทพ่ี งึ ประสงคไปใชกับเด็ก

ทุกกลมุ อายุและระดับชน้ั เรยี นไดครบถวน

5 การจดั เวลาเรยี น

๕.๑ กาหนดเวลาเรยี นตอ ๑ ปการศึกษาไดความเหมาะสม

๕.๒ กาหนดเวลาเรยี นแตละวนั มคี วามเหมาะสม

๕.๓ กาหนดชวงเวลาการจดั กิจกรรมประจาวันมคี วามเหมาะสม

6 สาระการเรียนรูรายป

๖.๑ มคี วามสอดคลองกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตวั บงชี้ และสภาพ

ท่พี งึ ประสงคในแตละชวงวัย

๖.๒ ครอบคลมุ ประสบการณสาคัญและสาระทค่ี วรเรยี นรู ตามหลกั สตู ร

การศกึ ษาปฐมวัยพุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๖.๓ มีการจัดแบงสาระการเรียนรูไดเหมาะสมกบั ชวงเวลาในการจัดหนวย

ประสบการณ

7 การจัดประสบการณ

๗.๑ ใชหลักการบูรณาการผานการเลนทสี่ อดคลองกับพัฒนาการตามวยั ของเดก็

๗.๒ มคี วามสอดคลองกับปรัชญา วิสัยทศั น และจุดหมายของการจัดการศึกษา

ปฐมวยั

๗.๓ มคี วามเหมาะสมกบั วยั และความสนใจของเด็ก

๗.๔ เนนใหเด็กลงมอื ปฏิบตั ิ รเิ ริ่มและมสี วนรวมในการออกแบบกิจกรรมการ

เรียนรู้

๗.๕ เปดโอกาสใหเด็กมีปฏสิ มั พนั ธกับบุคคล สื่อและใชแหลงการเรยี นรทู ่ี

หลากหลาย

๗.๖ สงเสรมิ ใหเดก็ มีทักษะชวี ิตและมกี ารปฏบิ ัตติ นตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

๗.๗ สงเสริมการพฒั นาใหเดก็ เปนคนดี มวี ินยั และมีความเปนไทย

8 การจัดสภาพแวดลอม สื่อ และแหลงเรยี นรู

๘.๑ มีการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสภาพแวดลอมทางจิตภาพทเ่ี อือ้ ต

อการเรยี นรขู องเดก็

๘.๒ มีส่อื ทหี่ ลากหลาย เหมาะสม และเพียงพอ

๘.๓ มแี หลงเรยี นรูในและนอกสถานศึกษาเหมาะสม เพยี งพอตอการจดั กจิ กรรม


Click to View FlipBook Version