The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TAN RUNNING, 2021-07-21 03:53:57

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ฯ ป.4 เทอม1

ilovepdf_merged

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ฯป.4-1

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวิชาวิทยาศาสตร์
ระดบั ชันประถมศกึ ษาปที 4

ภาคเรยี นที 1

นางสาวจตุพร สวุ รรณประเสรฐิ
ครผู ู้สอน

โรงเรยี นวัดนราภิรมย์

สํานักงานเขตพืนทีการศึกษานครปฐม เขต 2
สาํ นักงานการศกึ ษาขันพืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาพ้นื ฐาน

วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1

ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัด
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ผเู้ รียบเรียง
นางกสุ ุมาลย์ ตลึงจติ ร
นางสาวอภญิ ญา อนิ ไร่ขงิ

ผูต้ รวจ
ดร. รกั ซอ้ น รัตนว์ ิจติ ตเ์ วช
นางจติ ติมา ไทรแกว้ ดวง

บรรณาธกิ าร
นายวนั เฉลมิ กล่ินศรีสขุ

สงวนลขิ สิทธิต์ ามพระราชบัญญัติ

คานา

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กล่มุ สาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
เพื่อใหส้ ถานศึกษานาไปใชเ้ ป็นกรอบทศิ ทางในการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนการจัดการเรียน
การสอนและจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีความรู้ความสามารถ และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ตามเป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสาเรจ็ ตามเจตนารมณข์ องการปฏริ ปู การศึกษา ดังนั้น ขั้นตอน
การนาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏบิ ตั จิ ริงในช้ันเรียนของครูผสู้ อน จึงจัดเป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาผ้เู รียน

บรษิ ัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั ได้จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 เล่ม 1 ขนึ้ เพอ่ื ใหค้ รูผูส้ อนใช้เปน็ แนวทางวางแผนจัดการเรยี นรแู้ ก่ผูเ้ รียน โดยจัดทา
เป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ
(Backward Design) ตลอดจนเนน้ กจิ กรรมแบบ Active Learning อันจะชว่ ยให้ผปู้ กครองและหน่วยงานที่
เกยี่ วข้องกับการประเมินคณุ ภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรูแ้ ละคุณภาพของผเู้ รียนท่ีมหี ลักฐาน
ตรวจสอบผลการเรยี นรอู้ ย่างเปน็ ระบบ

ผูส้ อนสามารถนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็นแนวทางวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียน รู้
ประกอบการใช้หนังสอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เลม่ 1 ที่ทางบริษทั จัดพมิ พ์
จาหน่าย โดยทงั้ น้ีการออกแบบการเรยี นรู้ (Instructional Design) ได้ดาเนินการตามกระบวนการ ดังน้ี

1 หลกั การจัดการเรยี นรอู้ งิ มาตรฐาน

หนว่ ยการเรยี นร้แู ตล่ ะหน่วยจะกาหนดผลการเรยี นรู้ไว้เปน็ เปา้ หมายในการจัดการเรยี นการสอน ผู้สอน
จะต้องศกึ ษาและวิเคราะห์รายละเอียดของผลการเรียนรู้ทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เก่ยี วกับเร่ืองอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบตั ิอะไรได้บา้ ง และผลการเรยี นรู้ทีเ่ กิดขึ้นกับผเู้ รยี นจะนาไปสู่
การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ดา้ นใดแกผ่ ู้เรียน

ผลการเรยี นรู้ ผู้เรยี นรอู้ ะไร

นาไปสู่ ผเู้ รียนทำอะไรได้

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

2 หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของผลการเรียนรู้และได้กาหนดเปา้ หมายการจดั การเรียนการสอน
เรียบรอ้ ยแลว้ จงึ กาหนดขอบขา่ ยสาระการเรียนรแู้ ละแนวทางการจดั การเรียนการสอนให้ผเู้ รียนลงมือปฏบิ ัติ
ตามข้นั ตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีออกแบบไวจ้ นบรรลุผลการเรียนรู้ทุกขอ้

ผลการเรยี นรู้ เปา้ หมาย หลกั การจดั การเรยี นรู้
การเรยี นรู้
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น และการพัฒนา เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
คุณภาพ สนองควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบุคคล
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เนน้ พฒั นำกำรทำงสมอง
ของผูเ้ รยี น ของผูเ้ รียน กระตนุ้ กำรคดิ
เนน้ ควำมรคู้ คู่ ุณธรรม

3 หลักการบรู ณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้

เม่ือผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว
จึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ ท่จี ะฝึกฝนใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ บรรลุผลตาม
ผลการเรยี นรู้ โดยเลอื กใช้กระบวนการเรยี นรทู้ ี่สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ทเี่ ปน็ เป้าหมายในหน่วยนั้นๆ เช่น
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จรงิ กระบวนการพฒั นาลกั ษณะ
นิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวน การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจ ารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ
กระบวนการเรียนรู้ท่ีมอบหมายให้ผเู้ รียนลงมือปฏบิ ัติน้ันจะต้องนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญ และ
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี นตามสาระการเรยี นรทู้ ่กี าหนดไวใ้ นแต่ละหน่วยการเรียนรู้

4 หลักการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแตล่ ะหน่วย ผ้สู อนตอ้ งกาหนดขนั้ ตอนและ
วธิ ปี ฏบิ ัตใิ ห้ชัดเจน โดยเน้นใหผ้ เู้ รยี นได้ลงมอื ฝึกฝนและฝกึ ปฏบิ ัตมิ ากที่สดุ ตามแนวคดิ และวธิ กี ารสาคัญ คอื

1) กำรเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการทางสติปญั ญา ทผี่ ู้เรียนทกุ คนต้องใชส้ มองในการคิดและทาความเข้าใจ
ในส่ิงต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏบิ ัติ ทดลองค้นควา้ จนสามารถสรุปเปน็ ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง และ
สามารถนาเสนอผลงาน แสดงองคค์ วามรู้ทเ่ี กิดข้นึ ในแต่ละหน่วยการเรียนร้ไู ด้

2) กำรสอน เป็นการเลอื กวธิ ีการหรือกิจกรรมทเี่ หมาะสมกบั การเรียนรู้ในหนว่ ยนัน้ ๆ และทส่ี าคัญคือ
ต้องเป็นวธิ ีการทสี่ อดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผ้สู อนจงึ ต้องเลือกใชว้ ิธกี ารสอน เทคนิคการสอน และ
รปู แบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้อยา่ งราบร่ืนจน
บรรลตุ ัวช้วี ัดทกุ ขอ้

3) รูปแบบกำรสอน ควรเป็นวิธกี ารและขน้ั ตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรอื กระตนุ้ ให้ผู้เรียนสามารถคิด
อยา่ งเปน็ ระบบ เช่น รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es) รปู แบบการสอนโดยใช้การคิด
แบบโยนิโสมนสิการ รปู แบบการสอนแบบ CIPPA Model รปู แบบการเรียนการสอนตามวฏั จกั รการ
เรียนรแู้ บบ 4MAT รูปแบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมือ เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT

4) วธิ ีกำรสอน ควรเลอื กใช้วธิ กี ารสอนทีส่ อดคลอ้ งกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และ
สภาพปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรยี นสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดับ
ผลสัมฤทธ์ทิ ี่สูง เช่น วิธกี ารสอนแบบบรรยาย การสาธติ การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การ
แสดงบทบาท สมมติ การใชก้ รณีตัวอยา่ ง การใช้สถานการณจ์ าลอง การใช้ศูนย์การเรยี น การใช้
บทเรยี นแบบโปรแกรม เป็นตน้

5) เทคนคิ กำรสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคลอ้ งกับวธิ ีการสอน และชว่ ยให้ผู้เรยี นเข้าใจ
เน้ือหาในบทเรียนได้งา่ ยขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใจและจงู ใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัตกิ จิ กรรมการ
เรียนรู้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ เช่น เทคนคิ การใชผ้ งั กราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่า
นิทาน การเลน่ เกมเทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระต้นุ ความคิด การใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ี
นา่ สนใจ เป็นต้น

6) สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน ควรเลอื กใช้สือ่ หลากหลายกระตนุ้ ความสนใจ และทาความกระจา่ งให้เนือ้ หา
สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ และเป็นเครอื่ งมือชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนร้บู รรลุตัวชี้วัดอย่าง
ราบรน่ื เชน่ สอ่ื ส่งิ พิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD
Visualizer เป็นตน้ ควรเตรียมส่อื ให้ครอบคลมุ ทงั้ สือ่ การสอนของครูและสอ่ื การเรียนรู้ของผู้เรยี น

5 หลกั การจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบย้อนกลับตรวจสอบ

เมือ่ ผู้สอนวางแผนออกแบบการจดั การเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรยี นการสอนไวเ้ รียบร้อยแล้ว
จงึ นาเทคนคิ วธิ ีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และสือ่ การเรยี นรไู้ ปลงมือจดั การเรยี นการสอน ซึ่งจะนา
ผเู้ รียนไปสู่การสร้างช้ินงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคญั ตามธรรมชาตวิ ิชา
รวมทง้ั คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ให้บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั ท่ีเป็นเป้าหมายของหนว่ ยการ
เรียนรู้ ตามลาดับข้ันตอนการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ดงั น้ี

จากเป้าหมายและ เปา้ หมายการเรียนรูข้ องหนว่ ย
หลักฐาน คดิ ย้อนกลับ หลักฐานชน้ิ งาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรยี นร้ขู องหนว่ ย
สจู่ ดุ เริ่มตน้
ของกิจกรรมการเรียนรู้ 4 กจิ กรรม คาถามชวนคิด

แสดงผลการเรยี นรขู้ องหนว่ ย

3 กิจกรรม คาถามชวนคิด จากกจิ กรรมการเรียนรู้
2 กิจกรรม คาถามชวนคิด ทีละขน้ั บันได
1 กิจกรรม คาถามชวนคดิ สู่หลกั ฐานและ

เป้าหมายการเรยี นรู้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทมี่ ีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว
จะต้องฝึกฝนกระบวนการคิดทุกขน้ั ตอน โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถามกระตุ้นความคดิ และใช้ระดับคาถามให้
สัมพันธ์กับเนื้อหากา รเรียนรู้ ต้ังแต่ร ะดับความรู้ ความจ า ความเข้าใจ การน าไปใช้ การวิเคราะห์
การประเมินค่า และการสรา้ งสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจบทเรียนอยา่ งลึกซง้ึ แล้ว ยงั เป็น
การเตรียมความพร้อมเพ่อื สอบ O-NET ซึ่งเปน็ การทดสอบระดับชาติทีเ่ นน้ กระบวนการคิดระดบั วิเคราะห์ดว้ ย
และในแต่ละแผนการเรียนรู้จึงมีการระบุคาถามเพือ่ กระตนุ้ ความคิดของผูเ้ รียนไวด้ ้วยทุกกิจกรรม ผู้เรยี นจะได้
ฝกึ ฝนวิธีการทาข้อสอบ O-NET ควบคไู่ ปกับการปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามผลการเรยี นรู้ที่สาคัญ

ทงั้ นี้การออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนในแตล่ ะหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการ
ประเมินผลด้านความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
ตามผลการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางฯ
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 พร้อมท้งั ออกแบบเคร่อื งมือการวัดและประเมนิ ผล ตลอดจนแบบ
บันทกึ ผลการเรยี นรู้ดา้ นตา่ งๆ ไว้ครบถว้ น สอดคล้องกับมาตรฐานดา้ นคุณภาพผู้เรียน เชน่ แบบบนั ทกึ ผลด้าน
การคิดวเิ คราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู ร
เป็นต้น ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และใชป้ ระกอบการจัดทารายงานการประเมิน
ตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมน่ั ใจอย่างย่ิงวา่ การนาแผนการจัดการเรียนรู้เลม่ น้ไี ปเปน็ แนวทาง
จัดการเรยี นการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนให้สงู ข้ึนตามมาตรฐานการศึกษาและ
การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ

คณะผูจ้ ดั ทา

สารบญัคณะผู้จดั ทา

สรปุ หลักสตู รฯ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ หนา้
ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางวิทยาศาสตร์ พิเศษ 1-3
คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.4 พเิ ศษ 4-6
โครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 พิเศษ 7
Pedagogy พิเศษ 8-10
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 พิเศษ 11
พเิ ศษ 12-14
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ิต
บทที่ 1 กลุ่มสง่ิ มีชีวติ 1
บทท่ี 2 หนา้ ท่ขี องสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช 20-68
69-115
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง 116
บทท่ี 1 แรงโน้มถว่ งของโลก 131-154
บทที่ 2 ตวั กลางของแสง 155-163

สรุปหลักสตู รฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ *

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กาหนดสาระการเรียนรู้ 4 สาระ ไดแ้ ก่ สาระที่ 1
วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ และสาระที่ 4
เทคโนโลยี รวมทั้งยงั มีสาระเพม่ิ เติมอกี 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟสิ ิกส์ และสาระโลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ

องคป์ ระกอบของหลักสูตร ท้งั ในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวดั และประเมนิ ผล
การเรียนรู้นน้ั มคี วามสาคัญอยา่ งยิ่งในการวางรากฐานการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ของผเู้ รียนในแต่ละระดับชั้นให้มี
ความต่อเน่ืองเช่ือมโยงกันตั้งแต่ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จนถงึ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 สาหรบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ได้กาหนดตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางที่ผเู้ รียนจาเป็นต้องเรียนเป็นพ้ืนฐาน เพ่ือให้
สามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการดารงชีวิตหรือศกึ ษาต่อได้ โดยจดั เรียงลาดบั ความยากงา่ ยของเนื้อหาในแต่ละช้ัน
ให้มกี ารเชือ่ มโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา
ความคดิ ทั้งความคิดเป็นเหตเุ ป็นผล คดิ สรา้ งสรรค์ คิดวิเคราะหว์ จิ ารณ์ มีทกั ษะที่สาคัญทง้ั ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้ แก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ ตัดสนิ ใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้

มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและ
เชือ่ มโยงกนั ภายในสาระการเรียนรเู้ ดียวกัน และระหว่างสาระการเรยี นร้ใู นกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตลอดจนการเชื่อมโยงเนอ้ื หาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์กบั คณิตศาสตรด์ ้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรบั ปรุงเพ่ือให้มี
ความทันสมัยตอ่ การเปลีย่ นแปลง และความเจรญิ กา้ วหนา้ ของวทิ ยาการต่าง ๆ ทดั เทยี มกบั นานาชาติ

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 - ว 2.3

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 1.1 - ว 1.3 วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 - ว 3.2

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 - ว 4.2

วทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เตมิ - สาระชวี วิทยา - สาระเคมี - สาระฟิสิกส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

พิเศษ 1

1

* สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551. (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2560)

พิเศษ 2

1

พิเศษ 3

1

ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง วิทยาศาสตร์

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวติ การลาเลยี งสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธข์ อง

โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตวท์ ่ีทางานสมั พันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และ
หนา้ ที่ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชทท่ี างานสัมพันธก์ นั รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.4 1. บรรยายหน้าทขี่ องราก ลาต้น ใบ และ  สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ดอกทาหน้าที่แตกต่างกัน

ด อ ก ขอ ง พื ชด อ ก โด ยใช้ ข้ อ มู ลที่ รากทาหนา้ ที่ดดู น้าและแรธ่ าตุขึ้นไปยังลาต้น

รวบรวมได้ ลาต้นทาหน้าทล่ี าเลียงน้าต่อไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพืช

ใบทาหน้าท่ีสร้างอาหาร อาหารท่ีพืชสร้างข้ึนคือน้าตาลซึ่งจะเปล่ยี นเป็น

แป้งดอกทาหน้าที่สืบพันธุ์ ประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่

กลีบเล้ียง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซ่ึงส่วนประกอบแต่ละ

ส่วนของดอก ทาหนา้ ทแ่ี ตกต่างกัน

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การ
เปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของส่ิงมชี วี ิต
รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.4 1. จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือ น  สงิ่ มีชีวิตมีหลายชนิด สามารถจดั กลุ่มได้โดยใช้ความเหมือนและความ

และความแตกต่างของลักษณะของ แตกตา่ งของลักษณะต่าง ๆ เชน่ กลุ่มพืชสร้างอาหารเองได้ และเคลื่อนท่ี

สง่ิ มีชีวติ ออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ ดว้ ยตนเองไมไ่ ด้ กลุ่มสัตวก์ นิ ส่ิงมชี ีวิตอ่ืนเป็นอาหารและเคลือ่ นทไ่ี ด้ กลุ่มที่

และกลมุ่ ทไ่ี ม่ใชพ่ ืชและสัตว์ ไมใ่ ช่พชื และสตั ว์ เชน่ เหด็ รา จุลนิ ทรยี ์

2. จาแนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและพชื ไม่มี  การจาแนกพืช สามารถใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ในการจาแนก ไดเ้ ปน็ พืช

ดอกโดยใช้การมดี อกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ ดอกและพชื ไมม่ ดี อก

ขอ้ มลู ที่รวบรวมได้

พิเศษ 4

1

ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

3. จาแน กสัต ว์ออก เป็ นสัตว์มี กระดู ก  การจาแนกสตั ว์ สามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ในการจาแนก
สนั ห ลังและสัตว์ไม่มีกระดูก สนั หลัง ไดเ้ ป็นสตั วม์ ีกระดูกสันหลังและสตั วไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลัง
โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเปน็ เกณฑ์
โดยใช้ขอ้ มูลท่รี วบรวมได้

4. บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของ  สตั ว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้า
สตั ว์มกี ระดกู สันหลงั ในกลมุ่ ปลา กลุ่ม สะเทินบก กลุ่มสัตวเ์ ลือ้ ยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
สัตว์สะเทินน้าสะเทินบ ก กลุ่มสัต ว์ ซ่งึ แตล่ ะกลมุ่ จะมลี กั ษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้
เล้ือยค ลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัต ว์
เล้ียงลกู ด้วยน้ านม และยกตัวอย่าง
สิง่ มีชีวติ ในแตล่ ะกลมุ่

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบัติของสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึด

เหนยี่ วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย และ
การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.4 1. เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้าน  วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน วัสดทุ ี่มีความแข็งจะทน
ความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความ ต่อแรงขูดขดี วัสดุท่ีมีสภาพยืดหยุ่นจะเปล่ียนแปลงรปู ร่างเม่ือมีแรงมา
รอ้ น และการนาไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้ กระทา และกลับสภาพเดิมได้ วัสดุท่นี าความร้อนจะรอ้ นได้เร็วเม่ือไดร้ ับ
หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลอง ความร้อน และวัสดุทน่ี าไฟฟ้าได้ จะให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ดังนั้นจึง
และระบุการนาสมบัติเรื่องความแข็ง อาจนาสมบตั ิ ต่าง ๆ มาพจิ ารณาเพ่ือใช้ในกระบวนการออกแบบชิน้ งาน
สภาพยดื หยุ่น การนาความร้อน และ เพือ่ ใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน
ก าร น า ไฟ ฟ้ าขอ ง วั สดุ ไ ป ใช้ ใ น

ชีวิต ป ระ จาวั น ผ่าน ก ระ บว น การ

ออกแบบชน้ิ งาน

2. แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อ่ืนโดยการ

อภิ ป รายเกี่ ยว กั บสม บั ติทางก ายภ าพ

ของวัสดอุ ยา่ งมเี หตผุ ลจากการทดลอง

3. เป รียบ เที ยบ สม บัติ ของสสารทั้ง 3  วัสดุเป็นสสารเพราะมีมวลและต้องการท่ีอยู่ สสารมสี ถานะเป็นของแข็ง
สถานะ จากขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการสงั เกต ของเหลว หรือแก๊ส ของแข็งมีปริมาตรและรปู รา่ งคงที่ ของเหลวมีปริมาตร

มวล การต้อ งการท่ีอยู่ รูปร่างและ คงที่ แตม่ ีรูปร่างเปล่ียนไปตามภาชนะเฉพาะส่วนท่ีบรรจุของเหลว ส่วน

ปรมิ าตรของสสาร แก๊สมปี รมิ าตรและรปู ร่างเปลย่ี นไปตามภาชนะที่บรรจุ

พิเศษ 5

1

ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

4. ใช้เคร่ืองมือเพ่อื วัดมวล และปริมาตร
ของสสารทง้ั 3 สถานะ

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจาวนั ผลของแรงทก่ี ระทาตอ่ วัตถุ ลกั ษณะการเคลอ่ื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของ
วตั ถุ รวมทั้งนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.4 1. ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มตี ่อวตั ถจุ าก  แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่

หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ศนู ย์กลางโลก และเป็นแรงไมส่ ัมผัส แรงดงึ ดดู ท่ีโลกกระทากับวัตถหุ นง่ึ ๆ

2. ใช้เครอื่ งช่งั สปริงในการวัดนา้ หนักของ ทาให้วัตถุตกลงสู่พ้ืนโลก และทาให้วตั ถมุ ีนา้ หนัก วัดน้าหนักของวตั ถไุ ด้

วตั ถุ จากเคร่ืองชั่งสปรงิ น้าหนักของวัตถุข้ึนกับมวลของวัตถุ โดยวัตถุทีม่ ีมวล

มากจะมีน้าหนกั มาก วัตถุท่มี มี วลนอ้ ยจะมนี ้าหนกั น้อย

3. บรรยายม วลของวัตถุที่มี ผลต่อก าร  มวล คอื ปริมาณเนอื้ ของสารทั้งหมดท่ีประกอบกันเป็นวตั ถุ ซ่ึงมีผลต่อ
เปลย่ี นแปลงการเคลอื่ นท่ีของวัตถุจาก ความยากง่ายในการเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ วัตถุท่ีมีมวลมากจะ

หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ไดย้ ากกว่าวตั ถุท่มี ีมวลน้อย ดงั นั้น มวลของวัตถุ

นอกจากจะหมายถงึ เน้ือทั้งหมดของวัตถุนั้นแลว้ ยงั หมายถงึ การต้านการ

เปลยี่ นแปลงการเคล่ือนที่ของวตั ถุนนั้ ดว้ ย

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างสสารและ
พลังงาน พลังงานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคลน่ื ปรากฏการณท์ เี่ ก่ียวขอ้ งกบั เสียง แสง และคล่ืน
แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.4 1. จาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปรง่ ใส ตัวกลาง  เมื่อมองสิง่ ต่าง ๆ โดยมีวตั ถุต่างชนิดกันมากนั้ จะทาให้การมองเห็นส่ิง

โปร่งแสง และวัตถุทึบแสง โดยใช้ลักษณะ น้ัน ๆ ชดั เจนต่างกัน จึงจาแนกวัตถุทีม่ ากน้ั ออกเป็นตัวกลางโปรง่ ใส ซึ่ง

การมองเห็นสง่ิ ต่าง ๆ ผ่านวัตถุนั้นเป็น ทาใหม้ องเหน็ สง่ิ ต่าง ๆ ได้ชัดเจน ตวั กลางโปร่งแสงทาให้มองเห็น ส่ิง

เกณฑ์จากหลักฐานเชิงประจัก ษ์ ต่าง ๆ ได้ไมช่ ัดเจน และวตั ถุทึบแสงทาใหม้ องไม่เห็นสง่ิ ต่าง ๆ น้ัน

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบ

สรุ ิยะ รวมท้ังปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะท่สี ่งผลตอ่ สิง่ มชี วี ติ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

พิเศษ 6

1

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.4 1. อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการขนึ้ และตก  ดวงจัน ทร์เป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์โคจรรอบโลกพร้อมกั บ

ของดวงจัน ทร์ โด ยใช้หลักฐ านเชิ ง หมุนรอบตัวเอง ขณะท่ีโลกก็หมุนรอบตวั เองด้วยเช่นกัน การหมุนรอบ

ประจกั ษ์ ตัวเองของโลกจากทิศตะวันตกไปทศิ ตะวันออกในทิศทางทวนเขม็ นาฬกิ า

เม่อื มองจากขว้ั โลกเหนือ ทาให้มองเห็นดวงจนั ทร์ปรากฏข้ึนทางด้านทิศ

ตะวนั ออกและตกทางดา้ นทศิ ตะวนั ตกหมุนเวยี นเปน็ แบบรูปซ้า ๆ

2. สรา้ งแบบจาลองที่อธบิ ายแบบรูปการ  ดวงจันทร์เป็นวัตถุท่เี ปน็ ทรงกลม แตร่ ูปรา่ งของดวงจันทรท์ ี่มองเห็นหรือ

เป ล่ี ยน แป ลง รู ป ร่ าง ป ราก ฏ ขอ ง รูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์บนทอ้ งฟ้าแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละวนั โดยใน

ดวงจันทร์และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏ แต่ละวันดวงจันทร์จะมีรูปร่างปรากฏเป็นเส้ียวที่ มีขนาดเพ่ิมขึ้นอย่าง

ของดวงจันทร์ ตอ่ เน่ืองจนเต็มดวง จากน้นั รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์จะแหว่งและมี

ขนาดลดลงอย่างตอ่ เนื่องจนมองไม่เห็นดวงจันทร์ จากนนั้ รูปร่างปรากฏ

ของดวงจันทร์จะเป็นเส้ียวใหญ่ขึ้นจนเต็มดวงอีกคร้ัง การเปล่ียนแปลง

เชน่ นเ้ี ปน็ แบบรูปซา้ กันทุกเดือน

3. สร้างแบบจาลองแสดงองค์ประกอบ  ระบบสุริยะเป็ นระบบท่ี มี ด วงอ าทิ ต ย์เป็ นศู น ย์ก ลางและมี บริวาร

ขอ ง ระ บ บ สุ ริ ย ะ แ ล ะ อ ธิ บ า ย ประกอบดว้ ย ดาวเคราะห์แปดดวงและบริวาร ซง่ึ ดาวเคราะหแ์ ต่ละดวงมี

เปรียบ เทียบ คาบการโคจรของด าว ขนาดและระยะหา่ งจากดวงอาทิตยแ์ ตกต่างกนั และยังประกอบด้วยดาว

เคราะหต์ ่าง ๆ จากแบบจาลอง เคราะห์แคระ ดาวเคราะห์นอ้ ย ดาวหาง และวตั ถุขนาดเล็กอื่น ๆ โคจรอยู่

รอบดวงอาทิตย์ วัตถุขนาดเล็กอนื่ ๆ เม่ือเข้ามาในชั้นบรรยากาศเนือ่ งจาก

แรงโน้มถว่ งของโลก ทาให้เกดิ เป็นดาวตกหรอื ผพี ุง่ ไตแ้ ละอกุ กาบาต

*สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย,
2560)

คาอธิบายรายวิชา

รายวชิ าพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 80 ช่ัวโมง/ปี

ศึกษาและเรียนรู้เกย่ี วกบั การจดั กลุ่มสิ่งมีชวี ิต การจาแนกพชื เป็นพืชดอกและพชื ไม่มีดอก การจาแนก
สัตว์มกี ระดูกสนั หลังและสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลัง ลกั ษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง หน้าทีข่ อง
ส่วนต่าง ๆ ของพืช ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก การใชเ้ คร่ืองช่งั สปรงิ วัดน้าหนักของวตั ถุ มวลของวัตถทุ ่ีมีผล

พิเศษ 7

1

ตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคลอื่ นท่ีของวัตถุ การจาแนกวตั ถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบ
แสง สมบัตทิ างกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความรอ้ น และการนาไฟฟ้าของวัสดุ การนา
สมบตั ิทางกายภาพของวัสดไุ ปใช้ในชวี ิตประจาวัน สมบตั ขิ องสสารทง้ั 3 สถานะ จากขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกต
มวล การต้องการทอ่ี ยู่ รปู ร่างและปริมาตรของสสาร รวมทั้งการใช้เคร่ืองมอื เพ่ือวดั มวลและปริมาตรของสสาร
ท้ัง 3 สถานะ สร้างแบบจาลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุรยิ ะ และคาบการโคจรของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ
จากแบบจาลอง แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ สร้างแบบจาลองท่ีอธิบา ยแบบรูปการ
เปลีย่ นแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์

โดยมุ่งหวังใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ท่ีสามารถนาไปใช้อธิบาย แก้ไขปญั หา หรอื สรา้ งสรรค์พฒั นา
งานในชีวติ จริงได้ ซึ่งเน้นการเชอื่ มโยงความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการ
ทางวิศวกรรมศาสตร์ และให้มีทกั ษะสาคัญในการค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหา
ความรู้และการแกป้ ญั หาทหี่ ลากหลาย

เพ่อื ให้ผเู้ รียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ มที ักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ทุกข้นั ตอน รวมท้ัง
ส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกิดจติ วิทยาศาสตรแ์ ละมเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรยี นวิทยาศาสตร์

ตัวชว้ี ดั
ว 1.2 ป.4/1
ว 1.3 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4
ว 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4
ว 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3
ว 2.3 ป.4/1
ว 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3

รวม 16 ตัวชวี้ ัด

โครงสร้างรายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4

เวลา 80 ชว่ั โมง/ปี

ลาดับ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ ชอื่ บท มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา

พิเศษ 8

1

ที่ เรียนร้/ู (ช่ัวโมง)

1. ความหลากหลายของ บทที่ 1 ตวั ช้วี ัด สง่ิ มชี ีวิตมหี ลายชนิด โดยแตล่ ะ 15
สิง่ มีชวี ิต ความหลากหลาย ชนดิ จะมีลักษณะสาคญั บางอย่าง
ของส่ิงมชี วี ติ ว 1.3 ป.4/1 เหมือนกันหรือแตกต่างกันไป ซ่ึง 12
ว 1.3 ป.4/2 สา ม า ร ถ ใ ช้ เป็ น เ กณฑ์ ใ น กา ร จั ด 10
ว 1.3 ป.4/3 กลมุ่ ส่ิงมีชีวิตออกเปน็ กลมุ่ พชื กลุ่ม
ว 1.3 ป.4/4 สัตว์ และกล่มุ ท่ีไม่ใชพ่ ืชและสัตว์

บทท่ี 2 ว 1.2 ป.4/1 ใน การจาแนกพืชสาม ารถใช้
หนา้ ท่ีของสว่ น ลักษณะ การมี ดอกของพื ชเป็ น
ตา่ ง ๆ ของพืช เกณฑ์ และ ในการจ าแน กสัตว์
สา ม า ร ถ ใช้ กา รมี กร ะ ดู กสั น ห ลั ง
2. แรงโนม้ ถ่วงของโลกและ บทที่ 1 ว 2.2 ป.4/1 ของ สั ตว์ เป็ น เกณ ฑ์ ได้ สั ตว์ มี
กระดูกสนั หลังแบง่ ออกได้ 5 กลุ่ม
ตัวกลางของแสง แรงโน้มถว่ งของ ว 2.2 ป.4/2 ซ่งึ สัตวม์ กี ระดูกสันหลังแตล่ ะกลุ่ม
จะมีลักษณะเฉพาะท่ีสั งเกตได้
โลก ว 2.2 ป.4/3 แตกต่างกัน

พืชดอกมีสว่ นตา่ ง ๆ ท่ีสาคัญ
ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล และ
เมล็ด ซ่ึงสว่ นต่าง ๆ เหล่านี้จะทา
หนา้ ท่ีต่างกนั ไป

แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นแรง
ดึงดดู ท่โี ลกกระทาต่อมวลของวัตถุ
ทกุ ชนิดที่อยู่บนโลกและท่ีอยู่ใกล้
โลก ซ่ึงมีทิศทางเข้าสู่ศูนยก์ ลาง
ของโลก ทาให้วัตถมุ ีน้าหนักและ
ตกลง สู่พ้ืน โลก เราสาม ารถวั ด
น้าหนกั ของวัตถไุ ดโ้ ดยใช้เครือ่ งชั่ง
สปริง

มวลของวัตถุต่างๆ มผี ลตอ่ การ
เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนทขี่ องวัตถุ
วตั ถุท่ีมีมวลมากจะเปลย่ี นแปลง
การเคล่ือนท่ีได้ยากกว่าวัตถุท่ี มี
มวลนอ้ ย

พิเศษ 9

1

ลาดบั ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ช่ือบท มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา
ที่ การเรียนร้/ู (ชวั่ โมง)

2. แรงโนม้ ถว่ งของโลกและ บทท่ี 2 ตัวช้ีวดั เมือ่ มองสิง่ ต่าง ๆ โดยมีวตั ถุตา่ ง 3
ตัวกลางของแสง (ต่อ) ตัวกลางของแสง ชนดิ มาก้นั แสง จะทาใหม้ องเหน็ ส่ิง 15
ว 2.3 ป.4/1 น้ัน ๆ ชัดเจน แตกต่างกั นไป จึ ง
3. วัสดุและสสาร บทท่ี 1 จาแนกวัตถุที่นามากั้นแสงได้เป็ น
วสั ดุในชวี ติ ว 2.1 ป.4/1 ตัวกลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปร่งแสง
ประจาวัน ว 2.1 ป.4/2 และวตั ถทุ บึ แสง

วัสดุตา่ ง ๆ มสี มบัติทางกายภาพ
ท่ี สา ม า ร ถ สั ง เกตแ ละ ท ด สอบ ไ ด้
แตกต่างกนั ไป เช่น มีความแขง็ มี
สภาพยดื หยุ่น นาความรอ้ น นา
ไฟฟ้า เป็นต้น ซง่ึ เราสามารถนา
วัสดุที่ มีสมบัติทางกายภาพด้าน
ตา่ ง ๆ มาใช้ประโยชนไ์ ด้ต่างกัน

บทท่ี 2 ว 2.1 ป.4/3 สสารในชวี ติ ประจาวันมีหลาย 13
สถานะของสสาร ว 2.1 ป.4/4 ชนิด แต่ละชนิดอาจอย่ใู นสถานะ
ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ซ่ึง 6
4. ระบบสุรยิ ะและการ บทท่ี 1 ว 3.1 ป.4/3 สสารแต่ละสถานะอาจมสี มบัติบาง
ปรากฏของดวงจนั ทร์ ระบบสรุ ิยะ ประการเหมือนกันหรือต่างกัน โดย
สัง เกตไ ด้ จ ากกา รมี ม วล กา ร
ต้องการที่อยู่ การมีรูปร่างและ
ปริมาตรของสสาร ซ่งึ เราสามารถใช้
เคร่ื อง มื อใ น กา รวั ดม วลแล ะ
ปรมิ าตรของสสารได้

ระ บบสุริยะ น้ันเป็นระ บบท่ี มี
ดวงอาทิตย์เป็นศูนยก์ ลาง และมี
ดาวบริวารตา่ งๆ โคจรอยู่โดยรอบ
ประกอบด้วยดาวเคราะห์8 ดวง
รวม ท้ั งดวง จัน ท ร์ บ ริ วา ร ของ ดา ว
เคราะห์ต่าง ๆ ดาวเคราะห์แคระ
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวตั ถุ
ขนาดเล็กอืน่ ๆ โคจรอยู่รอบดวง

พิเศษ 9

1

อาทติ ย์
ดาวเคราะ ห์ที่ โคจรรอบดวง

อา ทิ ตย์ แ ต่ ละ ดวง จะ มี ขน า ดของ
ดาว ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ และ
คาบการโคจ รรอบดวงอาทิ ตย์

แตกต่างกันไป

มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา
(ชัว่ โมง)
ลาดบั ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ ช่ือบท การเรียนร/ู้
ท่ี ตัวช้วี ัด

บทที่ 2 ว 3.1 ป.4/1 ดวง จั น ทร์ โคจ รรอบโ ลก 6
การปรากฏของดวง ว 3.1 ป.4/2 พร้อมกบั หมุนรอบตวั เอง ในขณะท่ี

จนั ทร์ โลกหมุนรอบตัวเองจะทาให้เรา
มองเห็ น ดวง จัน ทร์ ปรากฏขึ้ น

ทา งด้ าน ทิ ศตะวั นออกและ ตก
ทางด้านทศิ ตะวันตก ซ่ึงหมุนเวยี น

เปน็ แบบรูปซา้ ๆ
ดวงจันทร์น้ันเป็นทรงกลม แต่

รปู ร่างของดวงจันทร์ท่ีปรากฏในแต่
ละวนั จะแตกตา่ งกนั ดวงจันทร์จะมี
รูปร่ า ง ปรา กฏ เป็ น เ สี้ ยวโ ดยจ ะ มี

ขนาดเพ่ิมขึ้นในแตล่ ะวนั จนเต็มดวง
และมีขนาดลดลงจนมองไมเ่ ห็นดวง

จนั ทร์ จากน้ันรูปร่างปรากฏของ
ดวงจนั ทร์จะเป็นเส้ยี วใหญ่ข้ึนจน

สว่างเตม็ ดวงอีกครั้ง และเกิดการ
เปล่ียนแปลงเชน่ นเ้ี ปน็ แบบรปู ซา้ ๆ

ทุกเดือน

พิเศษ 10

1

Pedagogy

สอ่ื การเรียนร้รู ายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ป.4 ผู้จดั ทาไดอ้ อกแบบการสอน (Instructional Design)
อนั เปน็ วธิ กี ารจดั การเรียนรู้และเทคนิคการสอนท่ีเปี่ยมด้วยประสทิ ธิภาพและมคี วามหลากหลายใหก้ ับผ้เู รยี น
เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถบรรลุผลสมั ฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ดั รวมถงึ สมรรถนะและคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของผู้เรียน ที่หลักสูตรกาหนดไว้ โดยครสู ามารถนาไปใช้จัดการเรียน รู้ใน ช้ันเรียน ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ซงึ่ ในรายวชิ านี้ ได้นารปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) มาใช้
ในการออกแบบการสอน ดังนี้

รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ด้วยจุดประสงคข์ องการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์
เพอื่ ชว่ ยให้ผเู้ รียนได้พัฒนาวิธีคดิ ทัง้ ความคดิ เป็นเหตุเป็นผล คิด
สรา้ งสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคญั ในการคน้ ควา้ หา
ความรู้ และมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ผจู้ ัดทาจึงได้เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model) ซ่ึงเป็นข้ันตอนการเรียนรู้ที่มุ่งให้
ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเองผ่านกระบวนการ
คิดและการลงมือทา โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น
เคร่ืองมือสา คัญเพ่ือการ พัฒน า ทักษะกร ะบวน การ ทา ง
วิทยาศาสตร์ และทักษะการเรยี นรู้แห่งศตวรรษท่ี 21

วิธีสอน (Teaching Method)

ผู้จัดทาเลือกใช้วิธสี อนที่หลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เป็นตน้ เพ่ือ
ส่งเสริมการ เรียน รู้รูปแบบการ สอนแบบสืบเสาะหา ควา มรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิด
ประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเน้นใช้วธิ ีสอนโดยใชก้ ารทดลองมากเป็นพิเศษ เน่ืองจากเป็นวิธสี อนที่มุ่ง
พัฒนาให้ผูเ้ รียนเกิดองค์ความรู้จากประสบการณ์ตรงโดย การคิดและการลงมือทาด้วยตนเอง อันจะช่วย
ให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้และเกดิ ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ท่คี งทน

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

พิเศษ 11

1

ผู้จัดทาเลือกใชเ้ ทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องทีเ่ รียน เพื่อส่งเสรมิ วิธสี อนให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น เช่น การใชค้ าถาม การเลน่ เกม เพอ่ื นชว่ ยเพื่อน เปน็ ต้น ซึ่งเทคนิคการสอนตา่ งๆ จะ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขในขณะท่ีเรียน และสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ รวมท้งั ได้พัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 อกี ด้วย

โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1

ใช้รูปแบบการสอนแบบ : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) เวลา 40 ช่วั โมง

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ชอื่ บท แผนการจัด ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 บทที่ 1 1. ทักษะการสงั เกต (ชั่วโมง)
ความหลากหลายของ ความหลากหลายของ 1. การจัดกลุ่มสิ่งมชี ีวติ 2. ทักษะการสารวจค้นหา 2
ส่งิ มีชวี ิต สิ่งมชี ีวิต 3. ทักษะการจาแนกประเภท
2. ความหลากหลายของ 4. ทกั ษะการสรุปอ้างอิง 3
พชื 5. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล
6. ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 4
3. ศกึ ษากลมุ่ พชื ดอก 1. ทักษะการสงั เกต
2. ทกั ษะการจาแนกประเภท 6
4. ความหลากหลายของ 3. ทกั ษะการสรุปอา้ งอิง
สตั ว์ 4. ทักษะการใหเ้ หตุผล
5. ทกั ษะสารวจคน้ หา
6. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู
1. ทกั ษะการสังเกต
2. ทกั ษะการจาแนกประเภท
3. ทกั ษะการเชอ่ื มโยง
4. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล
5. ทกั ษะสารวจคน้ หา
6. ทกั ษะการสารวจค้นหา
7. ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการสารวจค้นหา
3. ทักษะการรวบรวมข้อมลู
4. ทักษะการจาแนกประเภท
5. ทักษะการสรุปอ้างองิ

พิเศษ 12

1

5. หนา้ ทข่ี องสว่ นต่าง ๆ 6. ทักษะการให้เหตุผล 2
ของพชื ดอก 7. ทักษะการคิดวเิ คราะห์
1. ทกั ษะการสังเกต
2. ทักษะการสรปุ อ้างอิง
3. ทักษะการระบุ
4. ทักษะสารวจคน้ หา

พิเศษ 13

1

ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ ช่อื บท แผนการจัด ทกั ษะการคดิ เวลา
การเรียนรู้
(ช่ัวโมง)
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 บทท่ี 2 6. ศึกษาทอ่ ลาเลียงของ 1. ทักษะการสงั เกต 3
ความหลากหลายของ หน้าท่ีของส่วนตา่ ง ๆ พชื 2. ทักษะการตง้ั สมมติฐาน
สิ่งมีชวี ติ (ต่อ) ของพืช 2
3. ทกั ษะการทดสอบ
สมมตฐิ าน 2

4. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล 3
5. ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู

6. ทักษะสรปุ อ้างอิง

7. การคายนา้ ของพชื 1. ทกั ษะการสังเกต

2. ทกั ษะการตง้ั สมมติฐาน
3. ทักษะการทดสอบ

สมมติฐาน
4. ทักษะการสรุปอ้างอิง

5. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล

8. การสร้างอาหารของ 1. ทกั ษะการสังเกต

พืช 2. ทกั ษะการตง้ั สมมตฐิ าน
3 ทักษะการทดสอบ

สมมตฐิ าน
4. ทักษะการสรุปอา้ งองิ
5. ทักษะการเช่ือมโยง

9. ส่วนประกอบของดอก 1. ทกั ษะการสงั เกต
2. ทกั ษะการสารวจคน้ หา
3. ทกั ษะการระบุ

4. ทกั ษะการให้เหตผุ ล
5. ทักษะการคิดวเิ คราะห์

พิเศษ 13

1

ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ชอื่ บท แผนการจัด ทักษะการคิด เวลา
การเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 บทที่ 1 1. ทักษะการสังเกต (ชั่วโมง)
แรงโน้มถว่ งของโลก แรงโนม้ ถ่วงของโลก 1.ผลของแรงโน้มถ่วง 2. ทักษะการสรปุ อ้างอิง
และตวั กลางของแสง ของโลก 3. ทกั ษะการระบุ 4
4. ทักษะการให้เหตุผล
บทที่ 2 2. การหานา้ หนกั ของ 1. ทกั ษะการสังเกต 3
ตวั กลางของแสง วัตถุ 2. ทักษะการเปรยี บเทยี บ
3. ทกั ษะการตง้ั สมมตฐิ าน 3
3. มวลกบั การ 4. ทกั ษะการทดสอบ
เปล่ียนแปลงการ 3
เคลื่อนท่ขี องวัตถุ สมมติฐาน
1. ทกั ษะการสงั เกต
4. ตัวกลางของแสงและ 2. ทกั ษะการเปรียบเทียบ
วตั ถทุ บึ แสง 3. ทักษะการต้งั สมมตฐิ าน
4. ทกั ษะการทดสอบ

สมมติฐาน
5. ทักษะการเช่อื งโยง
1. ทักษะการสังเกต
2. ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน
3. ทักษะการทดสอบ

สมมตฐิ าน
4. ทกั ษะการจาแนกประเภท
5. ทกั ษะการสารวจค้นหา

พิเศษ 14

1

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ
แผนฯ ท่ี 1 การจดั กลุม่ สงิ่ มีชวี ติ

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1

การจดั กลมุ่ ส่ิงมชี ีวติ

เวลา 2 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั

ว 1.3 ป.4/1 จำแนกสิ่งมีชีวติ โดยใชค้ วำมเหมอื นและควำมแตกต่ำงของลักษณะของส่ิงมีชวี ิต
ออกเปน็ กลมุ่ พชื กลุม่ สัตว์ และกลุ่มทีไ่ ม่ใช่พชื และสตั ว์

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. สงั เกตและบรรยำยลกั ษณะของสิ่งมชี ีวิตแต่ละกลุ่มได้ (K)
2. เปรียบเทียบควำมเหมือนและควำมแตกต่ำงของลกั ษณะตำ่ งๆ ของส่ิงมีชีวิตแต่ละกลมุ่ ได้ (P)
3. จำแนกสิ่งมีชีวติ ออกเป็นกลมุ่ โดยใช้ควำมเหมอื นและควำมแตกต่ำงของลกั ษณะส่ิงมีชีวิตเปน็

เกณฑไ์ ด้ (P)
4. มีควำมสนใจใฝเ่ รียนร้แู ละมุง่ มนั่ ในกำรทำงำน (A)

3. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น

ใช้ควำมเหมือนและควำมแตกต่ำงของลักษณะ พิจำรณำตำมหลักสูตรของสถำนศกึ ษำ

ต่ำงๆ ของสิง่ มีชวี ติ มำจัดกล่มุ สิง่ มชี ีวิตได้

4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

สิง่ มีชวี ติ รอบตัวเรำมีหลำยชนิด ซ่ึงส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะสำคัญบำงอย่ำงเหมือนกัน และมี
ลกั ษณะสำคัญบำงอยำ่ งแตกตำ่ งกันไป โดยเรำสำมำรถใชค้ วำมเหมือนและควำมแตกตำ่ งของลกั ษณะต่ำงๆ
ของส่ิงมชี ีวิต มำจดั กลุ่มส่งิ มีชวี ติ ออกจำกกนั ได้ 3 กลมุ่ คือ กล่มุ พชื กลุม่ สตั ว์ และกลมุ่ ที่ไม่ใช่พชื และสตั ว์

5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. ควำมสำมำรถในกำรส่อื สำร 1. มวี นิ ยั

2. ควำมสำมำรถในกำรคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้

1) ทักษะกำรสงั เกต 3. มุง่ ม่ันในกำรทำงำน

2) ทักษะกำรสำรวจคน้ หำ

20

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 1 การจัดกลุม่ สงิ่ มชี วี ิต

3) ทักษะกำรรวบรวมข้อมลู
4) ทกั ษะกำรจำแนกประเภท
3. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ญั หำ
4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทกั ษะชวี ติ
5. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี

6. กจิ กรรมการเรียนรู้

 แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1

ข้นั นำ

ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทกั ทำยกับนกั เรียน แลว้ แจ้งผลกำรเรยี นรู้ทจี่ ะเรยี นในวนั น้ีใหน้ ักเรยี นทรำบ
2. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพื่อวัดควำมรู้เดิมของนกั เรียนกอ่ นเข้ำสกู่ ิจกรรม
3. ครกู ระตนุ้ ควำมสนใจของนักเรียนก่อนท่จี ะเรยี นในวันนี้ โดยนำลูกอมที่มีสีตำ่ งๆ คละกนั มำแจก
นกั เรยี นคนละ 1 เม็ด
4. ครสู มุ่ เลอื กสขี องลูกอม โดยให้นักเรยี นยกมือชูลูกอมท่ีตนเองได้รับ จำกนัน้ ครูเลือกสลี กู อมที่มี
จำนวนนักเรียนอยใู่ นสีนั้นนอ้ ยที่สดุ ออกมำหน้ำชน้ั เรยี น
5. ให้นกั เรยี นในหอ้ งสังเกตลกั ษณะตำ่ งๆ ของเพื่อนท่อี ยหู่ น้ำช้นั จำกนน้ั ตง้ั คำถำมเพื่อกระตุ้น
ควำมคิด เชน่
1) นักเรยี นสังเกตเหน็ อะไรเกี่ยวกบั เพ่ือนๆ ทอี่ ยหู่ น้ำชั้นเรยี นบำ้ ง
2) ลักษณะของเพอ่ื นที่อยหู่ นำ้ หอ้ งเป็นอยำ่ งไร มจี ดุ สงั เกตอะไรบ้ำง
(แนวตอบ : ขึ้นอยู่กับสง่ิ ทนี่ ักเรียนสังเกตเห็น เช่น มีทั้งผู้หญิงและผูช้ าย มีทง้ั ใส่แว่น
และไมใ่ สแ่ วน่ มีทงั้ ใสก่ างเกงและใส่กระโปรง มีทง้ั ผมส้ันและผมยาว เป็นต้น)
6. ครูอธิบำยเพ่ิมเติมว่ำ ส่ิงท่ีนักเรียนสังเกตเห็นและตอบมาน้ัน เป็นลักษณะภายนอกท่ีสงั เกตได้งา่ ย
ซึ่งสามารถใช้กาหนดเปน็ เกณฑ์ในการจดั กลมุ่ เพ่อื นๆ ได้
7. ครตู ัง้ คำถำมเพิ่มเติมว่ำ หำกตอ้ งกำรจัดกลุ่มหรือจำแนกเพอ่ื นหน้ำชั้นเรียนออกเปน็ กลมุ่ นกั เรยี น
จะใช้เกณฑ์ใดได้บ้ำง จำกน้นั ให้นกั เรยี นชว่ ยกันระดมควำมคดิ ในกำรตอบคำถำม
8. ครูขออำสำสมคั รนกั เรียน 2 คน กำหนดเกณฑ์ที่ใชส้ ำหรับจดั กลุ่มเพ่ือหน้ำห้องเรียนคนละ1 เกณฑ์
แลว้ เพ่อื นในห้องชว่ ยกนั ตรวจสอบว่ำสำมำรถจดั กลมุ่ เพื่อนตำมเกณฑน์ ั้นไดห้ รือไม่

21

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 1 การจัดกลมุ่ สงิ่ มชี ีวติ

9. ครใู หค้ ำชมเชยนักเรยี นทั้งห้องที่ชว่ ยกันทำกิจกรรม แลว้ มอบรำงวัลหรอื ของขวัญใหก้ ับนักเรยี น
กลุ่มตัวอย่ำงทอี่ อกมำยนื หนำ้ ช้ันเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

ข้ันสอน

ข้นั สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูให้นกั เรยี นอำ่ นสำระสำคัญและดภู ำพ หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 1 ควำมหลำกหลำยของส่ิงมชี ีวติ จำก
หนังสือเรยี นวิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนำ้ 2 จำกนน้ั ถำมนักเรียนว่ำ ภำพนี้มีส่ิงมีชีวิตอะไรบำ้ ง
นักเรยี นรูจ้ กั หรือไม่ แลว้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถำมอย่ำงอสิ ระ
(แนวตอบ : ผีเส้อื กับดอกไม้)

2. ครูให้นกั เรียนดูภำพในหนำ้ บทท่ี 1 กลมุ่ ส่ิงมชี ีวติ จำกหนังสือเรียนวิทยำศำสตร์ หนำ้ 3 แล้วถำม
คำถำมสำคัญประจำบทวำ่ นักเรียนสำมำรถใชเ้ กณฑใ์ ดในกำรจำแนกกลุ่มสิ่งมชี ีวิตไดบ้ ้ำง จำกนั้น
ให้นักเรียนช่วยกนั อธบิ ำยคำตอบ โดยครูช้ีแจงเพิ่มเตมิ ว่ำ ให้นกั เรยี นนึกถึงกิจกรรมท่ีมีกำรจัดกลุ่ม
เพื่อนหนำ้ ช้ันเรยี นท่ีผ่ำนมำ
(แนวตอบ : ลกั ษณะของสิ่งมีชวี ิต การกินอาหาร การสร้างอาหาร การย่อยสลายส่ิงมีชีวติ อ่ืนเป็น
อาหาร เป็นตน้ )

3. ครูให้นกั เรียนเรียนรคู้ ำศพั ท์ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั กำรเรียนใน บทที่ 1 โดยครเู ป็นผู้อ่ำนนำและให้นักเรียน
อำ่ นตำม ดงั น้ี

Organism (‘ออกะนิซมึ ) ส่ิงมีชีวติ
Plant (พลำน) พืช
Animal (‘แอน็ นิมัล) สตั ว์
Fungus (‘ฟงั กสั ) เห็ดรำ

4. ครูให้นกั เรยี นวำดภำพหรอื ติดภำพส่งิ มีชวี ิตตำ่ งๆ ทน่ี ักเรียนรู้จกั 5-10 ภำพ ลงในสมุดประจำตัว
แล้วจดั กลุม่ สิ่งมีชีวติ เหล่ำนน้ั โดยใช้เกณฑ์ท่ีกำหนดเอง หรอื ให้นักเรียนทำกิจกรรมนำสู่กำรเรยี นใน
แบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 2
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

5. ครูให้นักเรียนเล่นเกมผึ้งสร้ำงรัง เพื่อแบ่งกล่มุ นักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยครู
อธบิ ำยวธิ ีกำรเล่นให้นักเรยี นฟัง จำกนั้นให้นักเรยี นเล่นเกม 2-3 คร้ัง จนได้กลุ่มครบทุกคน ซง่ึ มี
วิธกี ำรเล่น ดังนี้

22

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 1 การจัดกลมุ่ สง่ิ มีชีวิต

ครูให้นักเรียนแต่ละคนคิดวำ่ ตนเองต้องกำรเป็นตัวผ้งึ หรอื ต้องกำรเปน็ รงั ผึ้ง โดยครู
จะออกคำส่ังแล้วให้นกั เรยี นวิง่ ไปรวมกลุ่มกัน ซึง่ กำหนดให้นักเรียนยืนล้อมวง คอื รงั ผง้ึ และ
นักเรยี นท่ียนื อยู่ในวง คือ ตวั ผ้ึง ทัง้ นีน้ ักเรียนคนใดที่ไมม่ ีกลมุ่ หรอื นักเรยี นกล่มุ ใดมจี ำนวนรงั ผ้ึง
หรอื จำนวนตวั ผึ้งไมค่ รบตำมจำนวนที่ครูออกคำส่ัง จะถูกลงโทษดว้ ยวิธกี ำรตำ่ ง ๆ กนั ไป เช่น
กำรเตน้ ตำมเพลง กำรร้องเพลง หรืออ่ืน ๆ ตำมควำมเหมำะสม ตวั อยำ่ งกำรออกคำสัง่ ของครู
เช่น

 มีผึง้ 2 ตัว อยู่ในรงั ผ้งึ 4 รงั
 มรี งั ผึง้ 6 รงั ลอ้ มผ้ึง 3 ตัว
 มผี ึ้งและรังผึง้ ล้อมวง 8 ตวั
6. เมอ่ื นกั เรียนแบง่ กลุ่มเรียบรอ้ ยแลว้ ครูให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษำข้อมูลและรูปภำพในหัวข้อที่ 1
กำรจดั กลุ่มสิ่งมชี วี ติ จำกหนงั สอื เรยี นวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 4

ชั่วโมงที่ 2

ขัน้ สารวจค้นหา (Explore) (ตอ่ )
7. ครูเปดิ PPT เรอื่ ง กลุ่มส่ิงมชี ีวิต ให้นักเรยี นดู จำกน้นั ถำมคำถำมกระตุน้ ควำมคดิ โดยใหน้ ักเรียนแต่
ละกลมุ่ อภิปรำยและหำคำตอบรว่ มกันวำ่ ส่งิ มีชวี ิตแต่ละกลุ่มนน้ั มลี ักษณะเหมอื นกันหรอื แตกต่ำง
กัน อยำ่ งไร
(แนวตอบ : มีลักษณะแตกต่างกันไป เชน่ บางชนิดสรา้ งอาหารได้ บางชนดิ สรา้ งอาหารไม่ได้ บาง
ชนดิ กนิ ส่งิ มชี วี ิตอน่ื เป็นอาหาร บางชนิดยอ่ ยสลายสิ่งมชี ีวติ อ่ืนได้ เปน็ ตน้ )
8. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิมที่ได้แบ่งไว้เมื่อช่วั โมงท่ีผ่ำนมำ จำกนั้นครูแจ้งว่ำจะให้นักเรียนได้ทำ
กิจกรรมกำรสำรวจและจดั กลมุ่ สง่ิ มีชีวติ ในกจิ กรรมท่ี 1 เร่อื ง กำรจัดกลมุ่ สงิ่ มีชีวติ ตอนที่ 1-2 จำก
หนงั สอื เรยี นวิทยำศำสตร์ หนำ้ 5 โดยครูแจง้ จดุ ประสงค์ของกำรทำกิจกรรมใหน้ ักเรียนทรำบกอ่ น
ทำกจิ กรรม
9. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง กำรจัดกลุ่มสิ่งมีชวี ิต ตอนที่ 1-2 โดยปฏิบัติ
กจิ กรรม ดังน้ี
1) ศึกษำข้นั ตอนกำรทำกจิ กรรมจำกหนังสือเรยี นวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 5 อยำ่ งละเอียด หำกมี
ขอ้ สงสัยให้สอบถำมครู
2) รว่ มกนั กำหนดปัญหำและต้ังสมมตฐิ ำนในกำรทำกจิ กรรม แล้วบันทกึ ผลลงในแบบฝึกหัด
วทิ ยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 4

23

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 1 การจัดกลุ่มสงิ่ มีชีวติ

3) รว่ มกันทำกจิ กรรมตำมขน้ั ตอนใหค้ รบถว้ นและถกู ต้องทกุ ขนั้ ตอน จำกน้ันบนั ทึกผล
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)

ขั้นอธิบายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รำยและสรุปผลจำกกำรทำกจิ กรรมภำยในกลุ่ม
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมำนำเสนอผลงำนของกลุ่มหน้ำช้ันเรยี น โดยครสู ุ่มจับสลำก
เลอื กนกั เรยี นทลี ะกลุม่
3. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มออกมำนำเสนอผลงำนหน้ำช้ันเรียน จำกน้ันรว่ มกันอภิปรำยและสรุปผลเก่ียวกับ
กำรจัดกลมุ่ ส่ิงมชี วี ิต โดยใช้ลักษณะของสงิ่ มชี ีวิตทส่ี ังเกตไดเ้ ป็นเกณฑ์
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )

ข้นั สรปุ

ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั ศึกษำข้อมลู เก่ยี วกบั ลักษณะของส่ิงมีชีวติ ในกลมุ่ ต่ำงๆ จำกหนงั สือ
เรยี นวิทยำศำสตร์ หน้ำ 6-7 แล้วครสู มุ่ เลือกตัวแทนกลมุ่ ให้สรุปเน้อื หำทีศ่ ึกษำให้เพื่อนในห้องฟัง
2. ครขู ออำสำมำสมัครนกั เรยี น 3 คน ใหย้ กตัวอย่ำงสิ่งมชี วี ติ ที่อยใู่ นแตล่ ะกลุม่ ดังน้ี
 คนท่ี 1 ให้ยกตวั อย่ำงสิ่งมีชวี ิตกลมุ่ พืช 3 ตวั อย่ำง
 คนท่ี 2 ใหย้ กตวั อยำ่ งสิ่งมีชวี ติ กลุ่มสัตว์ 3 ตวั อย่ำง
 คนที่ 2 ใหย้ กตัวอย่ำงสิง่ มชี วี ติ กลมุ่ ทไี่ ม่ใช่พืชและสัตว์ 3 ตวั อย่ำง
3. ครูอธิบำยให้นักเรยี นเขำ้ ใจเพ่ิมเติมเกย่ี วกบั ส่ิงมชี ีวติ กลุ่มที่ไมใ่ ช่พชื และสตั ว์ว่ำ รา แบคทีเรยี ไวรัส
ยสี ต์ เป็นต้น เราเรยี กรวมว่า จุลินทรีย์ ซ่งึ เป็นสิ่งมชี ีวติ ที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
เพราะมีขน าดเล็กมาก ซึ่งจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์กับเร าและเราสามารถรับปร ะทาน ได้ใน
ชวี ิตประจาวัน เช่น จลุ ินทรยี ท์ ี่อยใู่ นโยเกิร์ต คอื แบคทีเรียท่สี ามารถย่อยสลายโปรตนี ในนม ทาให้
เกิดการหมกั ของสารอาหาร จงึ ทาให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายของเราได้ เป็นตน้
4. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบไดจ้ ำกหนังสือเรยี นวิทยำศำสตร์ หนำ้ 5 ลงในสมุด
ประจำตวั นกั เรยี น หรือทำในแบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์ หนำ้ 5
5. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละคนนำกิจกรรมพฒั นำกำรเรียนร้ทู ่ี 1 จำกหนงั สือเรยี นวิทยำศำสตร์ หน้ำ 7
ไปทำเป็นกำรบ้ำน โดยให้ทำลงในสมุดประจำตัวนักเรยี น หรือให้นักเรียนทำในใบงำนท่ี 1.1 เร่ือง
จำแนกสิง่ มชี ีวติ ทีค่ รแู จกให้แลว้ นำมำสง่ ในช่ัวโมงถัดไป
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)

24

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 1 การจดั กลมุ่ สง่ิ มชี ีวติ

ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครูใหน้ ักเรียนสรุปควำมรู้จำกกำรเรียนจนได้ขอ้ สรุปร่วมกนั ว่ำ สิ่งมีชีวิตต่างๆ บนโลกมมี ากมาย

หลายชนิด ซึ่งสิ่งมีชวี ิตแต่ละชนดิ มลี ักษณะต่างๆ ท่ีแตกต่างกนั ไป นักวิทยาศาสตร์จึงใช้ลักษณะ

ความเหมือนและความแตกต่างของส่ิงมีชีวิตต่างๆ มาจัดกลุ่มส่ิงมีชีวติ ได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ

สงิ่ มชี วี ติ กลมุ่ พืช สงิ่ มชี ีวิตกล่มุ สตั ว์ และส่ิงมชี วี ติ กลมุ่ ทีไ่ มใ่ ชพ่ ืชและสัตว์

2. ครตู รวจสอบผลกำรทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพือ่ ตรวจสอบควำมเขำ้ ใจกอ่ นเรยี นของนักเรียน

3. ครปู ระเมินผลนกั เรียน โดยกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรตอบคำถำม พฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล

พฤติกรรมกำรทำงำนกลมุ่ และจำกกำรนำเสนอผลกำรทำกิจกรรมหน้ำชั้นเรยี น

4. ครตู รวจกำรวำดภำพหรอื ติดภำพส่งิ มีชีวิตตำ่ งๆ ที่นกั เรียนรู้จกั ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรอื ตรวจ

ผลกำรทำกิจกรรมนำสกู่ ำรเรยี นในแบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ หนำ้ 2

5. ครูตรวจสอบผลกำรทำกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง กำรจดั กล่มุ สิง่ มีชวี ติ ในสมุดประจำตัวนักเรียน หรือใน

แบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 4

6. ครูตรวจสอบผลกำรทำกิจกรรมหนตู อบได้ในสมุดประจำตวั นกั เรยี น หรือในแบบฝกึ หัดวิทยำศำสตร์

หนำ้ 5

7. ครตู รวจสอบผลกำรทำกิจกรรมพัฒนำกำรเรียนรทู้ ี่ 1 ในสมุดประจำตัวนักเรยี น หรอื ในใบงำนท่ี

1.1 เรื่อง จำแนกสิ่งมีชวี ิต

7. การวัดและประเมินผล

รายการวดั วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ

7.1 การประเมินก่อนเรยี น

- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมินตำม

เรียน หน่วยกำร กอ่ นเรียน สภำพจรงิ

เรยี นรทู้ ี่ 1 ควำม

หลำกหลำยของ

สง่ิ มีชวี ิต

7.2 ประเมินระหวา่ ง

การจัดกจิ กรรม
การเรยี นรู้

1) กำรจดั กลมุ่ สิ่งมชี ีวติ - ตรวจสมุดประจำตัว หรอื - สมดุ ประจำตวั หรอื - ร้อยละ 60

หรอื กิจกรรมนำสู่ แบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ แบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ ผำ่ นเกณฑ์

กำรเรยี น ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 2 ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 2

2) ผลบันทึกกำรทำ - ตรวจสมดุ ประจำตัว หรือ - สมดุ ประจำตวั หรือ - รอ้ ยละ 60

กจิ กรรมท่ี 1 แบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์ แบบฝกึ หัดวิทยำศำสตร์ ผ่ำนเกณฑ์

25

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่งิ มชี ีวติ
แผนฯ ที่ 1 การจัดกล่มุ สิง่ มชี ีวิต

3) กจิ กรรมพฒั นำกำร ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 4 ป.4 เลม่ 1 หนำ้ 4 - รอ้ ยละ 60
เรยี นรู้ที่ 1 - ตรวจสมดุ ประจำตัว หรือ - สมุดประจำตัว หรือใบ ผำ่ นเกณฑ์
ใบงำนท่ี 1.1 งำนท่ี 1.1 - รอ้ ยละ 60
4) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจำตวั - สมดุ ประจำตัว หรอื ผำ่ นเกณฑ์
แบบฝกึ หดั วทิ ยำศำสตร์ แบบฝึกหดั วทิ ยำศำสตร์
ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 5 ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 5

5) กำรนำเสนอผล - ประเมนิ กำรนำเสนอ - แบบประเมินกำร - ระดับคณุ ภำพ 2
กำรทำกจิ กรรม ผลกำรทำกิจกรรม นำเสนอผลงำน ผำ่ นเกณฑ์
- สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
6) พฤตกิ รรม กำรทำงำนรำยบุคคล กำรทำงำนรำยบคุ คล - ระดับคุณภำพ 2
กำรทำงำน ผำ่ นเกณฑ์
รำยบคุ คล - สังเกตพฤตกิ รรม
กำรทำงำนกลุม่ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภำพ 2
7) พฤตกิ รรม - สงั เกตควำมมวี ินัย กำรทำงำนกล่มุ ผำ่ นเกณฑ์
กำรทำงำนกลุ่ม ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มน่ั - แบบประเมนิ
ในกำรทำงำน คุณลักษณะ - ระดับคุณภำพ 2
8) คณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ ผ่ำนเกณฑ์
อันพงึ ประสงค์

8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้

8.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสอื เรียนวทิ ยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี 1 ควำมหลำกหลำยของสิ่งมีชีวติ
2) แบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 1 ควำมหลำกหลำยของส่ิงมชี ีวิต
3) วสั ดุ-อุปกรณก์ ำรทดลองในกิจกรรมท่ี 1 เชน่ แผนภำพกลุ่มพืช เป็นต้น
4) ใบงำนท่ี 1.1 เร่ือง จำแนกสิ่งมชี วี ติ
5) PowerPoint เร่ือง กลุ่มส่ิงมชี ีวิต
6) สมุดประจำตวั นักเรียน
7) ลกู อมสตี ่ำงๆ

8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) อนิ เทอร์เนต็

26

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ
แผนฯ ท่ี 1 การจดั กลมุ่ สง่ิ มีชวี ติ

ใบงานที่ 1.1

เรอื่ ง จาแนกสงิ่ มชี วี ติ

ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุม่ แลว้ รว่ มกันปฏิบัติกจิ กรรม ดงั นี้
1) พิจารณาลักษณะของสง่ิ มชี วี ติ ทก่ี าหนดให้ โดยใชค้ วามเหมือนและความแตกต่างเป็น
เกณฑ์
2) จาแนกสง่ิ มชี ีวิตเป็นกลุ่มพืช กลุม่ สัตว์ และกลมุ่ ทไ่ี มใ่ ช่พืชและสตั ว์
3) นาเสนอหน้าช้ันเรยี นเพอื่ อภปิ รายร่วมกนั

ชมพู่ ราดา แบคทเี รีย เสือ หญา้
หอยทาก เห็ดฟาง หนนู า มอสส์ ววั
ไสเ้ ดอื นดนิ มด ยสี ต์
พริก มะลิ

 สง่ิ มชี วี ติ กล่มุ พืช ไดแ้ ก่

 ส่งิ มีชวี ิตกลมุ่ สตั ว์ ได้แก่
 สง่ิ มชี วี ติ กลุ่มท่ีไมใ่ ช่พชื และสัตว์ ไดแ้ ก่

27

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชีวติ เฉลย
แผนฯ ที่ 1 การจดั กลมุ่ สิ่งมีชวี ติ

ใบงานท่ี 1.1

เร่ือง จาแนกสงิ่ มชี ีวติ

ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ แลว้ รว่ มกนั ปฏิบตั กิ จิ กรรม ดังน้ี
1) พิจารณาลักษณะของสิง่ มชี วี ติ ที่กาหนดให้ โดยใชค้ วามเหมอื นและความแตกตา่ งเป็น
เกณฑ์
2) จาแนกส่ิงมีชวี ติ เปน็ กลมุ่ พืช กลุ่มสตั ว์ และกล่มุ ทีไ่ มใ่ ชพ่ ืชและสัตว์
3) นาเสนอหน้าช้ันเรียนเพ่ืออภปิ รายร่วมกนั

ชมพู่ ราดา แบคทีเรีย เสือ หญ้า
หอยทาก เหด็ ฟาง หนนู า มอสส์ วัว
ไส้เดือนดิน มด ยีสต์
พรกิ มะลิ

 สิ่งมชี วี ติ กลมุ่ พืช ไดแ้ ก่
ชมพู่ พรกิ มะลิ มอสส์ หญำ้

 สง่ิ มชี วี ติ กลุ่มสตั ว์ ไดแ้ ก่
หอยทำก หนนู ำ ไสเ้ ดือนดิน เสอื ววั

 สิ่งมชี ีวติ กลมุ่ ทไ่ี ม่ใช่พชื และสตั ว์ ไดแ้ ก่
รำดำ เหด็ ฟำง มด ยสี ต์ แบคทเี รยี

28

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 1 การจัดกล่มุ ส่งิ มชี ีวติ

9. ความเหน็ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงช่อื .................................
( ................................ )

ตาแหนง่ .......

10. บนั ทึกผลหลังการสอน

 ดำ้ นควำมรู้

 ด้ำนสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

 ด้ำนคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

 ดำ้ นควำมสำมำรถทำงวทิ ยำศำสตร์

 ดำ้ นอนื่ ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมท่มี ีปัญหำของนักเรยี นเป็นรำยบคุ คล (ถ้ำม)ี )

 ปญั หำ/อุปสรรค

29

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพืช

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 2

ความหลากหลายของพชื

เวลา 3 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด

ว 1.3 ป.4/2 จำแนกพชื ออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใชก้ ำรมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้
ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. สังเกตและอธิบำยลกั ษณะภำยนอกของพชื ชนิดตำ่ งๆ ได้ (K)
2. จำแนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและพืชไม่มดี อก โดยใช้กำรมีดอกเป็นเกณฑ์ได้ (P)
3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพอื่ จำแนกพืชชนดิ ต่ำงๆ ออกเป็นกลุม่ ได้ครบถว้ นทุกข้นั ตอน (P)
4. มคี วำมสนใจและกระตือรอื รน้ ในกำรเรียนรู้ (A)

3. สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถน่ิ

ใช้กำรมีดอกเปน็ เกณฑ์ในกำรจำแนกพชื ออกเป็น พิจำรณำตำมหลกั สตู รของสถำนศกึ ษำ

พืชดอกและพชื ไมม่ ดี อก

4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

ส่ิงมชี ีวติ ต่ำงๆ ในโลกถกู จำแนกออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อง่ำยต่อกำรศึกษำ โดยสิง่ มชี ีวิตที่มีลกั ษณะ
สำคัญร่วมกันจะถูกจำแนกเอำไวใ้ นกลุ่มเดียวกัน ซ่ึงในกำรจำแนกพืช เรำสำมำรถใช้ลักษณะภำยนอกของ
พชื ที่สังเกตได้มำเป็นเกณฑ์ในกำรจำแนกพชื ออกเปน็ กลมุ่ เชน่ ใช้กำรมีดอก มำจำแนกพืชได้เปน็ พชื มีดอก
และพชื ไม่มีดอก เปน็ ต้น

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. ควำมสำมำรถในกำรสอ่ื สำร 1. มีวนิ ัย

2. ควำมสำมำรถในกำรคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้

1) ทกั ษะกำรสังเกต 3. มงุ่ ม่ันในกำรทำงำน

2) ทกั ษะกำรสำรวจค้นหำ

30

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวติ
แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพืช

3) ทักษะกำรรวบรวมขอ้ มูล
4) ทกั ษะกำรจำแนกประเภท
3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปญั หำ
4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต
5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี

6. กิจกรรมการเรยี นรู้

 แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ชัว่ โมงท่ี 1

ข้นั นำ

ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูเตรยี มตวั อย่ำงต้นพืชมำอยำ่ งน้อย 2 ชนดิ (เช่น มอสส์ มะเขอื เทศ) มำวำงไวห้ นำ้ ชัน้ เรียนเพื่อให้
นกั เรียนสงั เกต แลว้ ให้รว่ มกนั แสดงควำมคดิ เหน็ เก่ยี วกับลกั ษณะภำยนอกของพืชที่สังเกตได้
2. ครถู ำมคำถำมนกั เรยี นเพ่อื กระต้นุ ควำมคดิ โดยให้นกั เรียนตอบคำถำมได้อย่ำงอิสระ ดงั น้ี
1) พชื ทง้ั 2 ชนดิ มีลักษณะภำยนอกแตกต่ำงกันหรือไม่ อยำ่ งไร
(แนวตอบ : ต่างกนั เชน่ ใบมีลักษณะต่างกนั ตน้ หนึ่งมดี อก อีกตน้ หนงึ่ ไมม่ ดี อก เปน็ ต้น)
2) นักเรียนคิดว่ำ พืชตัวอย่ำงต้นใดเป็นพืชดอก และพืชตัวอยำ่ งต้นใดเป็นพืชไม่มีดอก
สงั เกตได้จำกสิ่งใด
(แนวตอบ : มะเขือเทศเป็นพชื มดี อก ส่วนมอสส์ เป็นพืชไม่มีดอก)
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
3. ครอู ธิบำยให้นกั เรียนฟังวำ่ ถ้าสงั เกตรอบๆ ตัวเราจะพบว่า พืชมมี ากมายหลายชนดิ พืชบางชนิดมี
ลาต้นสงู ใหญ่ พืชบางชนิดมีลาต้นขนาดเลก็ พชื บางชนดิ มดี อก พืชบางชนดิ ไม่มีดอก จะเหน็ ได้ว่า
พชื แต่ละชนิดมลี ักษณะบางอย่างแตกต่างกัน และอาจมลี กั ษณะบางอย่างเหมอื นกัน ดังนั้น เพอื่ ให้
งา่ ยต่อการศึกษาเก่ียวกบั การดารงชวี ติ ของพืช นักวิทยาศาสตร์จงึ มีการแยกประเภทออกเป็น 2
ประเภท ไดแ้ ก่ พืชดอก และพืชไม่มีดอก
4. ครแู จ้งชือ่ เร่ืองท่ีจะเรียนรู้ในวนั น้ีและจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทรำบ

ขน้ั สอน

ขัน้ สารวจค้นหา (Explore)

31

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 2 ความหลากหลายของพืช

1. ครใู หน้ ักเรียนอ่ำนข้อมลู และดูรูปภำพจำกหนงั สอื เรยี นวทิ ยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 8 ในหวั ขอ้ ท่ี
2 ควำมหลำกหลำยของพชื จำกน้นั ครสู ุม่ นักเรียนตำมลำดับเลขท่ี 2-3 คน ใหต้ อบคำถำม ดังน้ี
1) นกั เรียนรูจ้ ักพชื ท่อี ย่ใู นรปู ภำพหรอื ไม่
(แนวตอบ : ขนึ้ อยกู่ ับคาตอบของนักเรียน ใหอ้ ยู่กับดุลยพินจิ ของครูผู้สอน)
2) นักเรยี นคิดว่ำ พชื ในภำพชนิดใดเป็นพชื ดอก และพืชในภำพชนดิ ใดเปน็ พืชไม่มีดอก
(แนวตอบ : กุหลาบ บวั และมะระ เปน็ พืชดอก สว่ น เฟริ ์นขา้ หลวง และมอสส์ เปน็ พชื
ไม่มดี อก)
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)

2. ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุม่ ตำมควำมสมคั รใจ กลุ่มละ 4 คน แล้วให้ต้ังชอ่ื กลุ่มเปน็ ชอื่ ต้นพืชท่กี ลุ่มชอบ
หรือสนใจ

3. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั เขียนชื่อพืชมีดอกและพชื ไมม่ ดี อกลงในกระดำษของกลุ่มให้ไดม้ ำกท่สี ดุ โดยให้
ครจู ับเวลำ 5 นำที หำกหมดเวลำใหค้ รูส่งสัญญำณเพ่อื ใหท้ ุกกลุ่มหยุดเขียน จำกนัน้ ให้แตล่ ะกลุ่ม
ช่วยกันตรวจสอบวำ่ กลุ่มใดเขยี นไดถ้ กู ต้องมำกท่ีสดุ จะเป็นผู้ชนะ
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ )

4. ครมู อบรำงวัลหรอื ของขวญั แก่กลุ่มท่ชี นะ เพอื่ เป็นกำรเสรมิ แรงในกำรทำกิจกรรม
5. ครูถำมคำถำมนักเรียน แลว้ ใหช้ ่วยกันตอบคำถำมได้อยำ่ งอสิ ระ ดังนี้

1) พืชดอก และพชื ไมม่ ดี อก มโี ครงสร้ำงภำยนอกแตกตำ่ งกันหรอื ไม่ อย่ำงไร
(แนวตอบ : ต่างกนั พืชมีดอกประกอบด้วย ราก ลาต้น ใบ และดอก สว่ นพชื ไมม่ ีดอก
ประกอบด้วย ราก ลาตน้ และใบ แตจ่ ะไม่มีดอกตลอดชวี ติ )

2) พืชมดี อกจะเริม่ มีดอกเมื่อใด
(แนวตอบ : เมอื่ พชื ดอกเจรญิ เตบิ โตเต็มทีแ่ ล้ว จะออกดอกเพ่อื ใช้ในการสบื พันธ์ุ)

6. ครูใหน้ ักเรียนจับกลมุ่ เดิมจำกชวั่ โมงท่ผี ำ่ นมำแลว้ จำกนั้นให้สมำชิกแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมท่ี 2 เร่อื ง
กำรจดั กลุ่มพืช ตอนที่ 1 โดยปฏิบตั ิ ดงั นี้
1) ศึกษำขั้นตอนกำรทำกิจกรรมท่ี 2 เร่ืองกำรจัดกลุ่มพืช ตอนท่ี 1 จำกหนังสอื เรียน
วทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 9 อยำ่ งละเอยี ด หำกมขี อ้ สงสัยใหส้ อบถำมครู
2) แตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนรับบัตรภำพตน้ พืชชนิดตำ่ งๆ จำกครู กลมุ่ ละ 1 ชุด ชุดละ 8-10 ใบ
(บตั รภำพพืชมดี อก เช่น กุหลำบ ทำนตะวัน กล้วยไม้ เป็นต้น และบัตรภำพพืชไม่มดี อก
เช่น มอสส์ เฟริ น์ ผกั กูด เป็นต้น)
3) แต่ละกลมุ่ รว่ มกันตัง้ สมมติฐำนกอ่ นกำรทำกิจกรรมเกย่ี วกับกำรจดั กลุม่ พชื
4) ร่วมกันสังเกตบัตรภำพพชื นิดต่ำงๆ จำกน้ันช่วยกันจัดกลุ่มพืชโดยใช้ลักษณะภำยนอก
ของพชื เป็นเกณฑ์ แล้วบันทกึ ผลลงในแบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 8
5) รว่ มกนั อภปิ รำยและสรุปผลกำรทำกิจกรรม จำกน้นั นำขอ้ มลู กำรจำแนกพืชมำจดั ทำเป็น
แผนผงั แผนภำพ หรืออ่นื ๆ ลงในกระดำษแข็งแผน่ ใหญ่ เพอื่ นำเสนอขอ้ มลู หนำ้ ช้นั เรียน

32

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 2 ความหลากหลายของพชื

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)

ช่วั โมงท่ี 2

ขั้นสารวจคน้ หา (Explore) (ตอ่ )
1. ครูชวนนักเรยี นสนทนำเพื่อทบทวนกำรทำกจิ กรรมจำกชว่ั โมงทีผ่ ่ำนมำว่ำ พืชบำงชนิดมีรำก ลำต้น
ใบ และดอก เหมือนกันจัดเป็นกลุ่มพืชดอก ส่วนพืชบำงชนิดท่ีมีรำก ลำต้น ใบ แต่ไม่มีดอก
เหมอื นกนั จัดเปน็ กลุ่มพชื ไมม่ ดี อก
2. ครูขออำสำสมัครนกั เรียน 2 คน โดยคนหนึง่ ใหย้ กตัวอยำ่ งพืชดอก 3 ชนิด และอกี คนให้ยกตวั อย่ำง
พืชไม่มีดอก 3 ชนิด แล้วให้นักเรยี นทั้งห้องช่วยกับตรวจสอบว่ำถกู ต้องหรือไม่ จำกนนั้ ครใู ห้คำชม
เพื่อเป็นกำลงั ใจ
3. ครใู หน้ ักเรียนจับกลุม่ เดิมจำกช่วั โมงทีผ่ ่ำนมำ จำกน้นั ให้สมำชิกแตล่ ะกลมุ่ ทำกจิ กรรมท่ี 2 เรอ่ื ง
กำรจดั กลุม่ พชื ตอนท่ี 2 โดยปฏบิ ตั ิ ดังนี้
1) ศกึ ษำขั้นตอนกำรทำกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื ง กำรจัดกลุ่มพืช ตอนท่ี 2 จำกหนังสือเรียน
วทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 10 อยำ่ งละเอียด หำกมีข้อสงสัยใหส้ อบถำมครู
2) แต่ละกลุ่มร่วมกันกำหนดปัญหำและต้ังสมมตฐิ ำนล่วงหน้ำก่อนกำรทำกิจกรรม แล้ว
บนั ทึกลงในแบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 9
3) ร่วมกันสังเกตลกั ษณะภำยนอกของต้นพชื 2 ชนิด ทค่ี รูเตรยี มมำให้ ไดแ้ ก่ ตน้ พรกิ และ
ต้นเฟิร์น จำกนัน้ บนั ทกึ ผลลงในแบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ หน้ำ 9
4) สบื คน้ ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ จำกแหล่งกำรเรียนรู้ต่ำงๆ เกีย่ วกบั พืชทง้ั 2 ชนิดนี้ แล้วเปรียบเทยี บ
ควำมแตกตำ่ ง จำกนัน้ รว่ มกนั อภปิ รำยและสรุปผลกำรทำกจิ กรรมภำยในกลุ่ม
4. ครูเปิด PPT เร่อื ง ควำมหลำกหลำยของพชื ให้นักเรียนดู จำกน้ันใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ ศกึ ษำข้อมูล
เก่ยี วกับพืชดอกและพืชไมม่ ีดอกเพ่ิมเตมิ จำกหนังสือเรียนวิทยำศำสตร์ หนำ้ 11-12 เพ่ือใช้เป็น
ขอ้ มูลในกำรนำมำสรปุ ร่วมกับผลกำรทำกจิ กรรมท่ี 2 ตอนท่ี 1-2 โดยครูคอยอธบิ ำยและตอบ
คำถำมให้กับนักเรียนทม่ี ีข้อสงสยั อยำ่ งใกล้ชิด
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )

ข้นั อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครูใชว้ ิธีกำรสุ่มวนั เกิดของนกั เรยี น เพ่ือเลอื กตัวแทนกลมุ่ นักเรียนให้ออกมำนำเสนอผลงำนหน้ำช้ัน
จนครบทุกกลมุ่ จำกนน้ั รว่ มกนั สรุปผลกำรทำกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กำรจัดกลุ่มพชื ดงั น้ี
1) ใหต้ ัวแทนของแตล่ ะกลุ่มออกมำนำเสนอแผนผัง แผนภำพ หรือตำรำง ท่ีไดจ้ ำกกำรทำ
กิจกรรมท่ี 2 เรื่องกำรจัดกล่มุ พชื ตอนท่ี 1 จำกนนั้ ให้ร่วมกนั อภปิ รำยผลกำรจัดกลุ่มพชื

33

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 2 ความหลากหลายของพชื

2) ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมำนำเสนอผลกำรทำกิจกรรมท่ี 2 เรือ่ งกำรจัดกลุ่มพืช
ตอนท่ี 2 จำกน้ันให้นักเรยี นร่วมกันอภิปรำยผลกำรสังเกตควำมแตกต่ำงของลกั ษณะ
ภำยนอกของพืชดอกและพชื ไม่มดี อก

2. ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั อภปิ รำยผลกำรทำกจิ กรรมจนได้ข้อสรปุ วำ่ พชื บางชนิดมีโครงสร้างส่วนต่างๆ
ภายนอกท่ีสาคัญ ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ และดอก เหมอื นกัน จึงจดั เป็นกลมุ่ พืชดอก ส่วนพืชบาง
ชนิดท่มี ีมโี ครงสรา้ งส่วนตา่ งๆ ภายนอกท่ีสาคัญ ได้แก่ ราก ลาตน้ และใบ แต่ไม่มีดอกตลอดการ
ดารงชีวติ เหมือนกนั จดั เป็นกลุม่ พชื ไม่มดี อก

ช่ัวโมงที่ 3

ข้นั สรปุ

ขัน้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครูถำมคำถำมท้ำทำยกำรคดิ ขัน้ สูง จำกหนงั สือเรยี นวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 12 แล้วให้นักเรียนชว่ ยกัน
นำควำมรูท้ ไี่ ดจ้ ำกกำรศกึ ษำและทำกจิ กรรมมำตอบคำถำม ดังน้ี
 พืชดอก เป็นพืชท่ีมีดอกสำหรบั ใชใ้ นกำรสบื พันธุ์ นักเรียนคดิ วำ่ พชื ดอกสำมำรถสืบพันธ์ุ
หรือขยำยพันธ์ดุ ว้ ยวธิ กี ำรอืน่ หรอื ไม่ อยำ่ งไร
(แนวตอบ : ขน้ึ อย่กู ับดุลยพนิ จิ ของครผู สู้ อน ยกตัวอย่างเชน่ พชื ดอกสามารถขยายพันธุ์
ด้วยวธิ อี น่ื ได้ เช่น การปกั ชา การติดตา การทาบกิง่ การตอนกง่ิ การเสยี บยอด เปน็ ตน้ )
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล
2. ครูชบู ัตรภำพข้ำวโพดและบัตรภำพไผ่ จำกน้ันให้นักเรยี นช่วยกันอภิปรำยวำ่ พืชท้ัง 2 ชนดิ น้ีมี
ลักษณะโครงสร้ำงภำยนอกเหมือนกนั หรอื แตกตำ่ งกัน อย่ำงไร
3. หำกนักเรียนไมท่ รำบคำตอบ ครอู ำจให้ชว่ ยกนั สืบค้นข้อมลู เพิ่มเตมิ จำกแหลง่ กำรเรยี นรู้ตำ่ งๆ เช่น
หนงั สอื เรยี น ห้องสมุด อินเทอร์เนต็ เปน็ ตน้ โดยมคี รูคอยแนะนำเพ่ิมเตมิ ในส่วนทบี่ กพรอ่ ง
4. ครขู ออำสำสมัครนกั เรยี น 3-4 คน ให้ออกมำอธบิ ำยคำตอบที่สบื ค้นได้หนำ้ ชั้นเรยี น โดยมคี รูคอย
ตรวจสอบควำมถูกต้องของคำตอบ
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
5. ให้นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบได้จำกหนังสือเรียนวิทยำศำสตร์ หน้ำ 10 ลงในสมุด
ประจำตัวนกั เรียน หรอื ทำในแบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์ หนำ้ 10
6. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนนำกิจกรรมพัฒนำกำรเรยี นรู้ที่ 2 จำกหนังสือเรียนวิทยำศำสตร์ หน้ำ 12
ไปทำเปน็ กำรบ้ำน โดยให้ทำลงใสสมดุ ประจำตัวนักเรียน หรอื ให้นักเรียนทำในใบงำนท่ี 1.2 เร่อื ง
จำแนกพชื ดอกและพชื ไม่มีดอก ทค่ี รแู จกให้ แลว้ นำมำส่งในชั่วโมงถดั ไป

34

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 2 ความหลากหลายของพชื

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)

ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครสู มุ่ นกั เรยี นตำมเลขท่ี 4-5 คน จำกนน้ั ให้แตล่ ะคนอธิบำยควำมรเู้ ก่ียวกับควำมหลำกหลำยของ
พชื กำรจัดกล่มุ พชื ดอก จำกน้นั ให้นักเรยี นท้งั หอ้ งสรุปควำมรู้ร่วมกนั
2. ครูประเมินผลนักเรยี น โดยกำรสังเกตพฤติกรรมกำรตอบคำถำม พฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
พฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม และจำกกำรนำเสนอผลกำรทำกิจกรรมหนำ้ ชน้ั เรยี น
3. ครตู รวจสอบผลกำรทำกิจกรรมที่ 2 เร่ือง กำรจดั กล่มุ สงิ่ มีชวี ิต ในสมุดประจำตัวนกั เรียน หรอื ใน
แบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ หน้ำ 8-9
4. ครูตรวจสอบผลกำรทำกิจกรรมหนตู อบได้ในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน หรอื แบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์
หน้ำ 10
5. ครตู รวจสอบผลกำรทำกิจกรรมพัฒนำกำรเรียนรู้ท่ี 2 ในสมุดประจำตัวนักเรยี น หรอื ในใบงำนท่ี
1.2 เรื่อง จำแนกพืชดอกและพชื ไม่มีดอก

7. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ

7.1 ประเมินระหว่าง

การจัดกจิ กรรม

การเรยี นรู้

1) ผลบันทกึ กำรทำ - ตรวจสมดุ ประจำตัว หรอื - สมดุ ประจำตัว หรือ - รอ้ ยละ 60

กิจกรรมที่ 2 แบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ แบบฝกึ หัดวิทยำศำสตร์ ผ่ำนเกณฑ์

ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 8-9 ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 8-9

2) กิจกรรมพัฒนำกำร - ตรวจสมุดประจำตวั หรอื - สมดุ ประจำตัว หรอื ใบ - รอ้ ยละ 60

เรียนรทู้ ี่ 2 ใบงำนที่ 1.2 งำนท่ี 1.2 ผ่ำนเกณฑ์

รายการวดั วธิ ีการ เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
3) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจำตวั หรอื
แบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ - สมุดประจำตวั หรือ - รอ้ ยละ 60
ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 10
แบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ ผำ่ นเกณฑ์

ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 10

4) กำรนำเสนอผล - ประเมินกำรนำเสนอ - แบบประเมนิ กำร - ระดับคณุ ภำพ 2
กำรทำกิจกรรม ผลกำรทำกจิ กรรม นำเสนอผลงำน ผ่ำนเกณฑ์

35

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพืช

5) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภำพ 2
กำรทำงำน กำรทำงำนรำยบุคคล กำรทำงำนรำยบคุ คล ผำ่ นเกณฑ์
รำยบคุ คล
- สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภำพ 2
6) พฤติกรรม กำรทำงำนกลุม่ กำรทำงำนกลุม่ ผ่ำนเกณฑ์
กำรทำงำนกลุ่ม - แบบประเมนิ
คณุ ลกั ษณะ - ระดับคณุ ภำพ 2
7) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตควำมมวี ินยั อันพึงประสงค์ ผ่ำนเกณฑ์
อนั พงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมนั่
ในกำรทำงำน

8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้

8.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนงั สอื เรียนวิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 ควำมหลำกหลำยของสิง่ มีชวี ติ
2) แบบฝึกหดั วทิ ยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี 1 ควำมหลำกหลำยของสง่ิ มชี ีวติ
3) วัสดุ-อุปกรณก์ ำรทดลองในกิจกรรมท่ี 2 เชน่ บัตรภำพพืชมีดอกและพชื ไมม่ ีดอก เปน็ ต้น
4) ตน้ พชื ตวั อย่ำง ไดแ้ ก่ ต้นพริก ตน้ เฟริ ์น ต้นมอสส์ และตน้ มะเขอื เทศ
5) PowerPoint เร่ือง ควำมหลำกหลำยของพชื
6) ใบงำนที่ 1.2 เร่อื ง จำแนกพชื ดอกและพืชไมม่ ีดอก
7) บัตรภำพพืช (ตน้ ข้ำวโพด และต้นไผ่)
8) กระดำษแขง็ แผน่ ใหญ่
9) สมุดประจำตวั นกั เรยี น

8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องเรียน
2) หอ้ งสมดุ
3) อินเทอรเ์ นต็

บตั รภาพ ตน้ ขา้ วโพด 

36

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ
แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพชื

บตั รภาพ ตน้ ไผ่ 

37

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ
แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพชื

ใบงานที่ 1.2

เรอ่ื ง จาแนกพืชดอกและพืชไมม่ ีดอก
ใหด้ ูภาพแล้วบอกชอ่ื พชื จากนัน้ จาแนกว่าพืชใดเปน็ พชื มีดอก พืชใดเปน็ พชื ไมม่ ดี อก

 พชื มีดอก ได้แก่

 พืชไมม่ ดี อก ไดแ้ ก่

38

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 2 ความหลากหลายของพืช

ใบงานที่ 1.2 เฉลย

เรื่อง จาแนกพืชดอกและพชื ไม่มีดอก

ให้ดูภาพแลว้ บอกชอื่ พชื จากน้นั จาแนกวา่ พชื ใดเป็นพชื มีดอก พชื ใดเป็นพชื ไม่มดี อก

 พืชมีดอก ได้แก่
กลว้ ยไม้ ตะบองเพชร ทำนตะวัน ชบำ

 พืชไมม่ ีดอก ได้แก่
มอสส์ เฟิรน์

39

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ
แผนฯ ที่ 2 ความหลากหลายของพืช

9. ความเห็นของผูบ้ ริหารสถานศึกษาหรือผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชอ่ื .................................
( ................................ )

ตาแหนง่ .......

10. บันทึกผลหลงั การสอน

 ด้ำนควำมรู้

 ด้ำนสมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

 ดำ้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

 ด้ำนควำมสำมำรถทำงวทิ ยำศำสตร์

 ด้ำนอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หำของนักเรยี นเปน็ รำยบุคคล (ถำ้ มี))

 ปญั หำ/อุปสรรค

 แนวทำงกำรแกไ้ ข

40

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 3 ศกึ ษากลุม่ พชื ดอก

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 3

ศึกษากลุ่มพืชดอก

เวลา 4 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั

ว 1.3 ป.4/2 จำแนกพืชออกเป็นพชื ดอกและพืชไม่มีดอกโดยใชก้ ำรมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้
ขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. สงั เกตและอธบิ ำยลักษณะภำยนอกของพืชดอกได้ (K)
2. จำแนกพืชดอกเปน็ พชื ใบเลย้ี งเดยี่ วและพชื ใบเลยี้ งคู่ โดยใช้ลกั ษณะภำยนอกของพชื เปน็ เกณฑ์ (P)
3. ปฏิบัติกจิ กรรมเพื่อเปรยี บเทียบลักษณะภำยนอกของพืชดอกแต่ละชนดิ ไดค้ รบทกุ ข้ันตอน (P)
4. มีควำมสนใจในกำรเรยี นรู้และมคี วำมรบั ผดิ ชอบต่องำนทีไ่ ดร้ บั มอบหมำย (A)

3. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ

พืชดอกจำแนกไดเ้ ป็นพืชใบเลี้ยงเด่ียวและพืชใบ พิจำรณำตำมหลักสตู รของสถำนศกึ ษำ

เลยี้ งคู่

4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

พืชดอก เปน็ พชื ที่มีส่วนสำคญั ไดแ้ ก่ รำก ลำต้น ใบ ดอก ผลและเมลด็ เม่ือพืชดอกเจริญเติบโตเต็มท่ี
แล้วจะผลิตดอกเพอื่ ใช้สำหรับกำรสบื พันธุ์ หำกจัดกล่มุ พืชดอกโดยใช้ลกั ษณะภำยนอกเป็นเกณฑ์ จะแบ่ง
ได้เป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ คือพชื ใบเลี้ยงเดย่ี ว และพืชใบเล้ยี งคู่ โดยพืชดอกทั้ง 2 กลุ่มน้ี จะมีลักษณะโครงสร้ำง
สว่ นตำ่ งๆ แตกตำ่ งกนั ไป

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร 1. มวี นิ ัย

2. ควำมสำมำรถในกำรคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้

1) ทกั ษะกำรสังเกต 3. มงุ่ มน่ั ในกำรทำงำน

2) ทักษะกำรสำรวจคน้ หำ

40

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 3 ศกึ ษากลุ่มพืชดอก

3) ทักษะกำรรวบรวมข้อมูล
4) ทักษะกำรจำแนกประเภท
3. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ญั หำ
4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต
5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี

6. กจิ กรรมการเรียนรู้

 แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ชวั่ โมงท่ี 1-2

ขัน้ นำ

ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูกลำ่ วทักทำยนักเรยี น จำกน้ันสนทนำกับนักเรยี นเพอ่ื ทบทวนควำมรู้เดมิ เก่ยี วกับพืชดอกและพืช
ไมม่ ดี อกที่ได้เรยี นผำ่ นมำจำกช่ัวโมงกอ่ น
2. ครูติดบตั รภำพต้นขำ้ วโพดและต้นทำนตะวนั ไวท้ กี่ ระดำน จำกน้ันต้ังประเดน็ คำถำมถำมนักเรยี นว่ำ
นกั เรียนรจู้ ักตน้ ขำ้ วโพดกบั ตน้ ทำนตะวันหรอื ไม่
(แนวตอบ : รู้จกั /ไมร่ ูจ้ ัก)
3. ครูถำมต่อว่ำ นักเรียนคิดว่ำพืช 2 ชนิดน้ี มีลักษณะภำยนอกเหมือนกันหรือแตกตำ่ งกันหรือไม่
อยำ่ งไร โดยครูให้นกั เรียนตอบคำถำมอย่ำงอสิ ระโดยและยังไมเ่ ฉลยคำตอบ
(แนวตอบ : ขึน้ อย่กู บั คำตอบของนักเรยี น ให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครผู ้สู อน)
4. ครแู จง้ ช่ือเรื่องท่ีจะเรยี นรู้ในวนั นี้และผลกำรเรยี นรู้ให้นักเรียนทรำบ

ข้นั สอน

ข้ันสารวจค้นหา (Explore)
1. ครูใชเ้ ทคนคิ คูค่ ิดส่สี หำยในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 4 คน
ให้มีควำมสำมำรถคละกัน (เกง่ -คอ่ นข้ำงเก่ง-ปำนกลำง-อ่อน)
2. ให้สมำชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกันกำหนดปัญหำและต้ังสมมติฐำนก่อนกำรทำกิจกรรมน จำกนั้นให้
สมำชกิ แต่ละคนของกลมุ่ ไปทำกจิ กรรมที่ 3 เรื่อง กำรจดั กลมุ่ พืชดอก ตอนท่ี 1 จำกหนังสอื เรยี น
วทิ ยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 13-14 จำกนั้นบนั ทึกลงในแบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้ำ
13

41

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 3 ศึกษากลุม่ พืชดอก

3. เมื่อนกั เรียนแตล่ ะคนทำกจิ กรรมเสร็จแล้ว ครูให้นกั เรียนจบั คู่กับเพือ่ นท่ีอยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน จำกนั้น
นำคำตอบท่ีได้จำกกำรทำกิจกรรมท่ี 3 เรื่อง กำรจัดกลุ่มพืชดอก ตอนที่ 1 มำผลัดกนั อธิบำยข้อมูล
หรอื คำตอบทไี่ ด้จำกกำรทำกิจกรรม

4. ให้นกั เรียนทงั้ 2 คู่ กลับมำรวมกลมุ่ 4 คนเหมือนเดิม จำกนั้นรว่ มกนั อธบิ ำยคำตอบของตนเองให้
เพอ่ื นในกลมุ่ ฟัง แล้วสรปุ ผลรว่ มกนั
(หมำยเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกล่มุ )

ขนั้ อธบิ ายความรู้ (Explain)
ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมำนำเสนอผลกำรทำกจิ กรรมท่ี 3 เรอ่ื ง กำรจดั กลุ่มพืชดอก ตอน

ท่ี 1 ทีละกลุ่ม แล้วร่วมกนั อภิปรำยจนได้ข้อสรุปว่ำ ต้นข้ำวโพดและตน้ ทำนตะวันเป็นพชื ดอกที่
โครงสร้ำงสว่ นต่ำงๆ ภำยนอกมลี ักษณะแตกตำ่ งกนั ซ่ึงสงั เกตได้จำก ลกั ษณะของรำก ลำตน้ และ
ใบ ดงั นัน้ โครงสรำ้ งสว่ นตำ่ งๆ ภำยนอกของพชื ดอกแตล่ ะชนดิ มีลักษณะแตกต่ำงกัน

ข้ันสรปุ

ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ครแู บ่งครง่ึ บนกระดำน แล้วเขียนชื่อตน้ ข้ำวโพดไว้ฝั่งซำ้ ย เขยี นชื่อต้นทำนตะวันไวฝ้ ัง่ ขวำ จำกน้ัน
แบ่งนักเรยี นออกเป็น 2 ฝ่ำย ฝ่ำยหนง่ึ คอื ทีมต้นขำ้ วโพด อกี ฝ่ำยหน่งึ คือทมี ตน้ ทำนตะวนั
2. ใหน้ ักเรยี นท้ัง 2 ฝ่ำยผลดั กันออกมำเขยี นชื่อพชื ชนดิ อ่นื ๆ ที่มีลกั ษณะภำยนอกเหมอื นต้นพืชทเ่ี ป็น
ชือ่ ฝำ่ ยของตน้ โดยใหเ้ วลำ 5 นำที
3. เม่ือหมดเวลำให้ครูตรวจสอบควำมถกู ตอ้ งบนกระดำน จำกนน้ั สรุปผลและใหค้ ำชมเชยแก่นักเรยี น
ฝำ่ ยทชี่ นะ
(หมำยเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบคุ คล)

ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ควำมร้เู กย่ี วกับลักษณะภำยนอกของพืชดอก
2. ครปู ระเมินผลนกั เรยี น โดยกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรตอบคำถำม พฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล
พฤติกรรมกำรทำงำนกล่มุ และจำกกำรนำเสนอผลกำรทำกจิ กรรมหน้ำชนั้ เรยี น

42

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 3 ศึกษากลมุ่ พชื ดอก

3. ครตู รวจสอบผลกำรทำกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กำรจดั กลุ่มพืชดอก ตอนที่ 1 ในสมุดประจำตวั นักเรียน
หรอื ในแบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ หน้ำ 13

ช่ัวโมงที่ 3
ขัน้ นำ

ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครชู วนนักเรียนสนทนำเกี่ยวกบั พชื ใบเลี้ยงเดยี่ วและพืชใบเล้ียงคูว่ ่ำ นักเรียนรจู้ กั หรือไม่
(แนวตอบ : ร้จู กั /ไม่รจู้ กั )
2. ครูนำตัวอย่ำงใบของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบของพืชใบเล้ียงคู่อย่ำงละ 2-3 ชนิด มำให้นักเรียนดู
แลว้ ให้ชว่ ยกนั สังเกต
3. ครูขออำสำสมัครหรือสมุ่ ตัวแทนของชั้นเรียน 2-3 คน ให้ออกมำเขียนช่ือและชนิดของใบพืชท่ี
สังเกตบนกระดำน โดยครยู งั ไมเ่ ฉลยคำตอบ
4. ครูถำมนักเรยี นว่ำ นักเรียนทรำบได้อยำ่ งไรว่ำ ใบพืชชนิดใดเป็นพืชใบเลย้ี งเด่ียว และใบใดเปน็ พืช
ใบเลี้ยงคู่
(แนวตอบ : เช่น สังเกตไดจ้ ำกเสน้ ใบ เน่อื งจำกใบของพืชใบเล้ยี งเดี่ยว มีเสน้ ใบเรยี งขนำน ใบของ
พชื ใบเลย้ี งคู่มเี ส้นใบเป็นรำ่ งแห)

ข้ันสอน

ข้ันสารวจคน้ หา (Explore)
1. ครูเปิด PPT เร่อื ง พชื ใบเลี้ยงเดย่ี วและพืชใบเล้ียงคู่ ให้นักเรยี นดู จำกนนั้ ครใู ห้นักเรียนจับกล่มุ เดิม
จำกชว่ั โมงท่แี ล้ว
2. ครูให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษำและปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ 3 เร่ือง กำรจัดกล่มุ พืชดอก ตอนที่ 2
จำกหนังสอื เรียนวิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนำ้ 14 จำกนั้นให้สมำชิกแต่ละกลมุ่ กำหนดปญั หำและ
ตงั้ สมมติฐำนกอ่ นกำรทำกจิ กรรมร่วมกนั แล้วให้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดังน้ี
1) สำรวจพืชดอกชนดิ ตำ่ งๆ ภำยในบรเิ วณโรงเรยี นหรอื บ้ำน มำ 8-10 ชนิด
2) ชว่ ยกนั สังเกตรำก ลำต้น และใบ ของพืชแต่ละชนิดท่ีสำรวจมำ แล้วบันทึกผลลงใน
แบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 14
3) นำข้อมูลท่ีรวบรวมได้มำอภิปรำยและสรปุ ร่วมกัน จำกนั้นชว่ ยกันกำหนดเกณฑ์ท่ีใชใ้ น
กำรจำแนกชนิดพืชว่ำ เปน็ พืชดอกประเภทใบเลย้ี งเดยี่ ว หรือพชื ใบเลี้ยงคู่
(หมำยเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลุ่ม)

43

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 3 ศึกษากลุม่ พชื ดอก

ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain)
1. ใหน้ ักเรียนจบั คู่กบั เพื่อนท่ีอยู่ในกลมุ่ เดียวกนั จำกน้ันนำคำตอบท่ีได้จำกกำรทำกจิ กรร มที่ 3 เรื่อง
กำรจัดกลุ่มพชื ดอก ตอนท่ี 2 แลว้ ผลดั กนั อธบิ ำยคำตอบ
2. ใหน้ ักเรียน 2 คู่ กลบั มำรวมกลุ่ม 4 คนเหมือนเดิม จำกน้ันอธบิ ำยคำตอบของตนเองใหเ้ พอ่ื นใน
กลุ่มฟัง จำกน้ันสรปุ คำตอบร่วมกัน
3. ครูสุ่มเลอื กตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มใหอ้ อกมำนำเสนอผลกำรทำกิจกรรม โดยวิธีกำรจับสลำก
หมำยเลข จำกนั้นตัวแทนของแตล่ ะกลมุ่ ออกมำนำเสนอผลกำรทำกิจกรรมจนครบทกุ กล่มุ
นักเรยี นทุกกลุ่มรว่ มกันอภปิ รำยจนไดข้ ้อสรปุ ว่ำ เรำสำมำรถใช้ลักษณะของรำก ลำต้น และใบของ
พชื ดอกชนดิ ต่ำงๆ เป็นเกณฑ์ร่วมกันเพอื่ ใช้ในกำรจัดกลุ่มพืชดอก ซง่ึ แบ่งพืชดอกได้เป็น 2 กลุม่ คือ
กลุม่ พชื ใบเล้ยี งเด่ียว และกลุ่มพชื ใบเลย้ี งคู่
(หมำยเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลุ่ม)

ช่ัวโมงท่ี 4
ขั้นสรุป

ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ให้นกั เรยี นแต่ละคนศึกษำข้อมูลเกีย่ วกบั พืชใบเล้ยี งเด่ียวและพชื ใบเล้ียงคู่เพ่มิ เติมจำกหนังสอื เรียน
วทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 15-16
2. ครสู ่มุ เลือกนักเรียน 4-5 คน จำกลำดับเลขท่ี จำกนัน้ ให้นักเรยี นแต่ละคนบอกชือ่ พืชคนละ 1 ชนิด
และอธิบำยวำ่ เป็นพืชใบเล้ยี งเด่ียวหรือพชื ใบเล้ียงคู่ เพรำะเหตุใด
(แนวตอบ : ข้นึ อย่กู ับคำตอบของนกั เรียน ให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน)
3. ครชู ูบัตรภำพพชื ดอกทีละใบ แลว้ ใหน้ ักเรยี นผลัดกนั ตอบว่ำ เปน็ พชื ใบเล้ยี งเดีย่ วหรือพชื ใบเล้ยี งคู่
4. ให้นักเรยี นยกตัวอย่ำงพืช 1 ชนิด ท่ีชอบหรือสนใจ โดยให้วำดภำพและระบำยสลี งในสมดุ ประจำตัว
นักเรียน พร้อมบอกว่ำพืชชนิดนั้นชื่ออะไร และจดั เป็นพืชประเภทใด (พชื ใบเล้ียงเด่ียวหรอื พืชใบ
เลยี้ งคู่) หรือครใู หน้ ักเรียนทำใบงำนท่ี 1.3 เรอื่ ง พชื ใบเล้ยี งเดย่ี วและพืชใบเลยี้ งคทู่ ี่ฉนั ชอบ
5. ครูให้นักเรยี นแต่ละคนทำกิจกรรมหนูตอบได้จำกหนังสือเรียนวิทยำศำสตร์ หน้ำ 14 ลงในสมุด
ประจำตัวนักเรียนหรอื ทำในแบบฝกึ หดั วทิ ยำศำสตร์ หนำ้ 15

ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูให้นกั เรียนชว่ ยกันสรุปเก่ยี วกับกำรจัดกลุ่มพชื ดอก (พืชใบเลย้ี งเดีย่ วและพชื ใบเลยี้ งคู่) จำกน้ันให้
ครูอธบิ ำยเสรมิ เพิม่ เติมในส่วนทบี่ กพร่อง

44

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 3 ศึกษากลมุ่ พชื ดอก

2. ครูประเมินผลนักเรยี น โดยกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรตอบคำถำม พฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
พฤตกิ รรมกำรทำงำนกลมุ่ และจำกกำรนำเสนอผลกำรทำกจิ กรรมหนำ้ ชน้ั เรียน

3. ครตู รวจสอบผลกำรทำกจิ กรรมที่ 3 เรอ่ื ง กำรจัดกลุ่มพืชดอก ในสมดุ ประจำตวั นักเรียน หรือใน
แบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ หน้ำ 13-14

4. ครตู รวจสอบผลกำรทำกจิ กรรมหนตู อบได้ในสมุดประจำตวั นกั เรียน หรอื ในแบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์
หน้ำ 15

5. ครูตรวจสอบผลกำรยกตัวอย่ำงพืชดอกที่นกั เรยี นชอบในสมดุ ประจำตวั นกั เรียนหรือในใบงำนที่ 1.3
เร่ือง พชื ใบเลย้ี งเดยี่ วและพืชใบเล้ียงคทู่ ่ีฉันชอบ

7. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วธิ ีการ เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน

7.1 ประเมินระหว่าง

การจดั กิจกรรม

การเรียนรู้

1) ผลบันทกึ กำรทำ - ตรวจสมดุ ประจำตวั หรอื - สมุดประจำตวั หรอื - รอ้ ยละ 60

กิจกรรมที่ 3 แบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ แบบฝึกหดั วทิ ยำศำสตร์ ผำ่ นเกณฑ์

ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 13-14 ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 13-14

2) พชื ใบเลีย้ งเดีย่ วและ - ตรวจสมุดประจำตวั หรอื - สมุดประจำตัว หรอื - รอ้ ยละ 60

พืชใบเลยี้ งคู่ท่ีชอบ ใบงำนที่ 1.3 ใบงำนท่ี 1.3 ผ่ำนเกณฑ์

3) กิจกรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจำตัว - สมดุ ประจำตัว หรอื - ร้อยละ 60

แบบฝกึ หดั วทิ ยำศำสตร์ แบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ ผ่ำนเกณฑ์

ป.4 เลม่ 1 หนำ้ 15 ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 15

4) กำรนำเสนอผล - ประเมินกำรนำเสนอ - แบบประเมนิ กำร - ระดับคณุ ภำพ 2

กำรทำกจิ กรรม ผลกำรทำกิจกรรม นำเสนอผลงำน ผ่ำนเกณฑ์

5) พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภำพ 2

กำรทำงำน กำรทำงำนรำยบคุ คล กำรทำงำนรำยบคุ คล ผ่ำนเกณฑ์

รำยบุคคล

รายการวดั วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
6) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภำพ 2
กำรทำงำนกลุ่ม กำรทำงำนกลมุ่
กำรทำงำนกลมุ่ - สงั เกตควำมมีวนิ ัย - แบบประเมนิ ผ่ำนเกณฑ์
7) คณุ ลกั ษณะ - ระดับคุณภำพ 2

45


Click to View FlipBook Version