หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 3 มวลกับการเปลี่ยนแปลงการเคล่อื นทขี่ องวตั ถุ
ขัน้ สอน
ขนั้ สารวจคน้ หา (Explore)
1. ครนู าบตั รภาพชิงชา้ ท่มี ีขนาดเล็กกับขนาดใหญ่ติดไวบ้ นกระดาน จากนน้ั ให้นักเรยี นช่วยกนั สังเกต
ความแตกตา่ งของชิงช้า จากนั้นตั้งคาถามว่า ชิงช้าที่มมี วลมากกวา่ จะมีการเปลีย่ นแปลงการ
เคลอื่ นทไี่ ด้งา่ ยกวา่ ช่ิงช้าทมี่ มี วลน้อยกว่าหรือไม่ อยา่ งไร แลว้ ให้นกั เรียนแสดงความคดิ เห็นร่วมกัน
2. ครูช้ีแจงว่า นักเรยี นสามารถหาคาตอบได้จากการทากิจกรรมท่ี 3 เรอื่ ง มวลของวัตถุกับการ
เปล่ียนแปลงการเคลอื่ นที่ หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 63-64
3. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยคละตามความสามารถ (เก่ง-ค่อนข้างเกง่ -ปานกลาง-
อ่อน) จากนน้ั ให้สมาชิกทุกคนในกล่มุ ช่วยกันศึกษาวธิ ีการทากจิ กรรมที่ 3 เร่ือง มวลของวัตถุกับ
การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 63-64 จากนนั้ ลงมอื ทากจิ กรรม
ดังน้ี
1) เตมิ น้าใสข่ วดพลาสติกใบท่ี 1 ใหเ้ ต็มขวด และเติมน้าใส่ขวดพลาสตกิ ใบท่ี 2 ครงึ่ ขวด แล้ว
ปิดฝาขวด จากนนั้ ใช้เชือกขนาดเท่ากนั มดั ทีป่ ากขวดทง้ั สองใบ
2) แต่ละกล่มุ ชว่ ยกนั คาดคะเนว่า ถ้านาปลายเชือกที่มดั ปากขวดทั้ง 2 ใบ ไปผูกกับคานไม้ที่
พาดระหว่างโต๊ะ 2 ตัว แลว้ แกว่งขวดท้ัง 2 ใบ ไปมาดว้ ยแรงทีเ่ ท่ากนั 1 รอบ ขวดใบใดจะ
เคลอ่ื นทกี่ อ่ น และขวดใบใดจะหยุดเคลอ่ื นท่ีก่อน
3) สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันทากิจกรรมเพ่ือตรวจสอบผลการคาดคะเน โดยทดลองกับ
ขวดใบที่ 1 และขวดใบที่ 2 ตามลาดับ จากนั้นให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มบันทึกผลลงใน
สมดุ ประจาตวั นักเรียน หรอื ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 64
4) แต่ละกลุ่มใช้เครอื่ งชง่ั สปริงแบบตั้งชั่งมวลของขวดทงั้ 2 ใบ จากนั้นอ่านค่าท่ีได้ แล้วให้
ตัวแทนของแต่ละกลุ่มบนั ทกึ ผล
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการท้างานกลุ่ม)
ช่ัวโมงท่ี 2
ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain)
1. แต่ละกลุ่มช่วยกันเปรยี บเทียบมวลและเวลาในการเคล่อื นที่ของขวดทั้งสองใบ จากน้ันช่วยกัน
รวบรวมขอ้ มลู และสรุปผลการทดลอง แล้วให้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนของกลุ่มออกมานาเสนอผลการ
ทากิจกรรม
2. นักเรียนร่วมกนั อภิปรายผลการทากจิ กรรมจนได้ขอ้ สรุปว่า ขวดที่มีนา้ เต็มขวดมมี วลมากกว่าขวดที่
มนี ้าอยู่ครง่ึ ขวด จึงทา้ ใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ไี ดย้ ากกวา่ และช้ากว่า และเม่ือขวดน้านั้น
150
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 3 มวลกบั การเปล่ียนแปลงการเคลือ่ นทขี่ องวตั ถุ
เคลือ่ นที่ไปแล้วจะท้าให้หยุดการเคล่อื นที่ไดย้ ากกว่าขวดที่มีน้าอยู่ครึง่ ขวด แสดงว่า มวลของวัตถุมี
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลือ่ นที่ของวัตถุ โดยวตั ถุท่ีมีมวลมากจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีได้
ยากกวา่ วัตถทุ ี่มมี วลนอ้ ย จึงเกิดเปน็ การตา้ นการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ
ขน้ั สรุป
ข้นั ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละคนทากจิ กรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 64 ลงในสมุด
ประจาตัวนกั เรยี นหรือทาในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 65
2. ครูใหน้ ักเรียนศกึ ษาขอ้ มูลจากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 65 จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกล่มุ ทา
กจิ กรรมเพ่อื ขยายความเข้าใจเก่ียวกับความสมั พันธ์ระหว่างมวลของวตั ถุกบั การเปล่ียนแปลงการ
เคลื่อนที่ โดยใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มทากจิ กรรม ดงั นี้
ทดลองเคลอื่ นย้ายเพ่ือนที่มมี วลมากทีส่ ุด (อ้วน) กบั เพื่อนท่ีมีมวลน้อยทส่ี ุด (ผอม)
ทดลองเคลือ่ นย้ายโต๊ะเรียนกบั เคลอ่ื นย้ายเก้าอี้
ทดลองเคลือ่ นย้ายโตะ๊ เรียนกบั เคลอื่ นย้ายกระเปา๋ นกั เรียน
ทดลองเคล่ือนยา้ ยกระเป๋านักเรียนกับสมุด
3. หลงั จากทากจิ กรรมครูให้แต่ละกล่มุ รว่ มกันอภิปรายว่า วัตถุที่มีมวลมากกบั วตั ถทุ ่ีมวลนอ้ ย ส่ิงใด
เคลอ่ื นทีห่ รือเคลื่อนย้ายได้งา่ ยและสะดวกท่ีสดุ เพราะอะไร จากนั้นให้แต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนนาผล
การอภปิ รายหน้าชน้ั เรยี นเพอ่ื สรปุ ร่วมกนั กกับเพ่ือนกลมุ่ อน่ื ๆ
4. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมใหน้ กั เรยี นเข้าใจว่า
วัตถุทีม่ ีมวลมาก จะมีน้าหนกั มาก จึงเปลีย่ นแปลงการเคลือ่ นท่ีได้ยากกว่าวัตถุทมี่ ีมวล
นอ้ ย
วัตถุที่มีมวลน้อย จะมีนา้ หนักกวา่ จึงเปลี่ยนแปลงการเคลอื่ นที่ได้งา่ ยกว่าวัตถุท่มี ีมวล
มาก
5. ครูสนทนากับนกั เรียนเพอื่ ทบทวนความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับเน้อื หาที่ได้เรยี นผ่านมาจากหน่วยการ
เรียนรู้ที่ 2 บทท่ี 1 แรงโนม้ ถว่ งของโลก โดยสุ่มเรียกชอ่ื นกั เรียนให้ออกมาเลา่ ว่าตนเองไดร้ ับความรู้
อะไรบ้าง
6. ใหน้ ักเรยี นเขยี นสรุปความรู้เกี่ยวกบั เรื่องทีไ่ ดเ้ รียนมาจากบทท่ี 1 ในรูปแบบต่างๆ เชน่ แผนผัง
ความคิด แผนภาพ เป็นต้น ลงในสมดุ ประจาตัวนักเรียนหรอื อาจทากิจกรรมสรุปความรูป้ ระจาบท
ที่ 1 ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 66
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทา้ งานรายบุคคล)
151
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 3 มวลกบั การเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนทข่ี องวตั ถุ
ชัว่ โมงที่ 3
ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ตอ่ )
7. ให้นักเรียนทากจิ กรรมฝึกทักษะบทที่ 1 จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 66-67 ขอ้ 1-4 ลงใน
สมุดประจาตวั นักเรียน หรือทาในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 67-69
8. ให้นักเรยี นแตล่ ะคนทากจิ กรรมท้าทายการคดิ ขัน้ สูง จากแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 70
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการท้างานรายบุคคล)
9. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน จากน้ันศึกษากิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานจากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ หน้า 67 แลว้ ให้ปฏิบัติกิจกรรมโดยมีข้นั ตอน ดังน้ี
1) ชว่ ยกนั ออกแบบและสร้างกล่องกนั กระแทกเพ่ือปอ้ งกนั ของตกหลน่ จากทีส่ ูง
2) กาหนดใหใ้ ชว้ สั ดุเหลอื ใช้ 2-3 ชนดิ เท่าน้นั เพือ่ มาสร้างผลงาน
3) นาเสนอแนวคดิ ของผลงานและทดสอบผลงานหนา้ ช้ันเรียน
4) ปรบั ปรุงแกไ้ ขผลงาน เพ่ือนาไปจัดแสดงในวนั วิชาการของโรงเรยี น
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทา้ งานกลมุ่ )
ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ให้นักเรยี นดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 65 จากน้ันถามนักเรียน
เป็นรายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
นักเรียนหลงั จากการเรียน หากนักเรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ควรปรับปรุง ให้
ครูทบทวนบทเรียนหรือหากิจกรรมอ่นื ซอ่ มเสรมิ เพือ่ ใหน้ ักเรียนมีความรู้ความใจในบทเรียนมากข้นึ
2. ครูประเมินผลนกั เรยี น โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชนั้ เรยี น
3. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 3 เรอื่ ง มวลของวัตถกุ ับการเปลี่ยนแปลงการเคล่อื นที่ ในสมุด
ประจาตัวนกั เรยี น หรือในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 64
4. ครตู รวจสอบผลการทากจิ กรรมหนูตอบไดใ้ นสมุดประจาตัวนกั เรยี นหรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์
หน้า 65
5. ครตู รวจผลการสรุปความรู้เกี่ยวกับมวลของวัตถุกับการเปลี่ยน แปลงการเคล่ือนท่ีจากสมุด
ประจาตัวนกั เรียนหรอื ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 66
6. ครูตรวจผลการทากิจกรรมฝึกฝนทกั ษะบทที่ 1 ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรือในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ หนา้ 67-69
7. ครตู รวจผลการทากิจกรรมทา้ ทายการคดิ ขน้ั สงู ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 70
8. ครูตรวจชน้ิ งาน/ผลงานกล่องกนั กระแทก และการนาเสนอชิ้นงาน/ผลงาน หนา้ ชัน้ เรียน
152
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 3 มวลกับการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนทข่ี องวตั ถุ
7. การวดั และประเมินผล
รายการวดั วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ
- ระดับคุณภาพ 2
7.1 การประเมินช้นิ งาน/ - ตรวจผลงานกลอ่ งกนั - แบบประเมนิ ชิน้ งาน/
ผา่ นเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด) กระแทก ภาระงาน
- รอ้ ยละ 60
7.2 ประเมนิ ระหวา่ ง ผา่ นเกณฑ์
การจดั กจิ กรรม
การเรยี นรู้
1) ผลบันทึกการทา - ตรวจสมดุ ประจาตวั หรือ - สมุดประจาตวั หรือ
กจิ กรรมท่ี 3 แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 64 ป.4 เลม่ 1 หนา้ 64
2) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมุดประจาตวั หรอื - สมุดประจาตัว หรือ - รอ้ ยละ 60
ผ่านเกณฑ์
3) กจิ กรรมสรุปความรู้ แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ประจาบทที่ 1 - รอ้ ยละ 60
ป.4 เล่ม 1 หน้า 65 ป.4 เล่ม 1 หน้า 65 ผ่านเกณฑ์
4) กิจกรรมฝึกทักษะ
บทที่ 1 - ตรวจสมุดประจาตัว หรอื - สมดุ ประจาตวั หรือ - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
5) กิจกรรมท้าทายการ แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
คดิ ขน้ั สงู - รอ้ ยละ 60
ป.4 เล่ม 1 หน้า 66 ป.4 เล่ม 1 หนา้ 66 ผ่านเกณฑ์
6) การนาเสนอผลงาน/
ผลการทากิจกรรม - ตรวจสมุดประจาตัว หรอื - สมุดประจาตัว หรอื - ระดับคุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
7) พฤติกรรมการ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ทางานรายบคุ คล - ระดับคณุ ภาพ 2
รายการวัด ป.4 เลม่ 1 หน้า 67-69 ป.4 เล่ม 1 หนา้ 67-69 ผา่ นเกณฑ์
เกณฑก์ ารประเมิน
8) พฤตกิ รรม - ตรวจสมดุ ประจาตวั หรอื - สมดุ ประจาตัว หรอื
- ระดับคุณภาพ 2
แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
ป.4 เล่ม 1 หน้า 70 ป.4 เล่ม 1 หน้า 70
- ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการ
ผลงาน/ผลการทา นาเสนอผลงาน
กิจกรรม
- สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล
วธิ กี าร เครือ่ งมือ
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
153
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 3 มวลกับการเปลีย่ นแปลงการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุ
การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
9) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมีวินัย คณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
อนั พงึ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมัน่
ในการทางาน
8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้
8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกฯ
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกฯ
3) วัสดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกิจกรรมที่ 3 เชน่ คานไม้ นาฬกิ าจับเวลา ขวดน้าพลาสติก เปน็ ตน้
4) วัสดุ-อุปกรณ์ในการทากิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เชน่ กล่องลงั กระดาษสี เป็นต้น
5) บัตรภาพชิงชา้ ทีม่ ขี นาดเล็กและขนาดใหญ่
6) เครื่องช่งั สปริงแบบตัง้
7) สมุดประจาตัวนกั เรยี น
8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) ห้องสมดุ
3) อินเทอร์เน็ต
154
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 3 มวลกบั การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนทข่ี องวตั ถุ
9. ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย
ขอ้ เสนอแนะ
ลงชอ่ื .................................
( ................................ )
ตาแหน่ง .......
10. บนั ทึกผลหลังการสอน
ดา้ นความรู้
ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน
ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์
ดา้ นอ่ืน ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมที่มีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))
155
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 3 มวลกบั การเปลีย่ นแปลงการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ
ปญั หา/อปุ สรรค
แนวทางการแก้ไข
156
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 4 ตวั กลางของแสงและวตั ถทุ บึ แสง
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 4
ตัวกลางของแสงและวตั ถุทบึ แสง
เวลา 3 ช่วั โมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
ว 2.3 ป.4/1 จำแนกวัตถเุ ปน็ ตัวกลำงโปร่งใส ตวั กลำงโปร่งแสง และวตั ถุทึบแสง โดยใช้
ลกั ษณะกำรมองเห็นสง่ิ ตำ่ ง ๆ ผ่ำนวตั ถุนน้ั เปน็ เกณฑ์จำกหลกั ฐำนเชิงประจักษ์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สงั เกตและอธบิ ำยกำรมองเห็นแสงผ่ำนวัตถุตำ่ งๆ ได้ (K)
2. จำแนกวัตถุที่นำมำใช้ก้นั แสงได้เป็นวตั ถุโปร่งใส วตั ถโุ ปรง่ แสง และวัตถุทึบแสง (P)
3. มีควำมรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้ำท่ที ไี่ ดร้ ับมอบหมำยและสง่ งำนตรงเวลำ (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่
เม่ือน ำวัตถุต่ำ งชนิดกัน มำกั้น แสงจะทำให้ พิจำรณำตำมหลักสูตรของสถำนศกึ ษำ
มองเหน็ สงิ่ ต่ำงๆ ผำ่ นวัตถุนั้นไดต้ ่ำงกัน จงึ จำแนกวัตถุ
ได้เป็นตวั กลำงโปร่งใส ตัวกลำงโปรง่ แสง และวัตถุทึบ
แสง
4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
เมื่อมองส่ิงตำ่ ง ๆ โดยมีวัตถตุ ่ำงชนิดกันมำกั้นแสง จะทำใหม้ องเห็นส่ิงน้ัน ๆ ชดั เจนได้แตกต่ำงกนั ไป
จงึ จำแนก วัตถทุ ่ีกนั้ แสงไดเ้ ป็นตัวกลำงโปรง่ ใส ตัวกลำงโปรง่ แสง และวตั ถุทึบแสง
ตวั กลำงของแสง คือ วตั ถุทกี่ ั้นทำงเดินของแสง แลว้ แสงสำมำรถเดินทำงผ่ำนไปได้ ส่วนวตั ถุทึบแสง
คอื วตั ถุท่ีเม่อื นำมำกัน้ แสงแลว้ มองไมเ่ ห็นแสงท่ีผ่ำนมำได้ และไม่สำมำรถมองเห็นสิง่ ที่อยู่ด้ำนหลงั วัตถุที่
นำมำกั้นแสงนัน้ ได้
5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ควำมสำมำรถในกำรส่อื สำร 1. มีวินัย
2. ควำมสำมำรถในกำรคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้
155
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง 3. ม่งุ มน่ั ในกำรทำงำน
แผนฯ ที่ 4 ตวั กลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1) ทักษะกำรสงั เกต
2) ทักษะกำรตัง้ สมมตฐิ ำน
3) ทกั ษะกำรทดสอบต้ังสมมตฐิ ำน
4) ทักษะกำรจำแนกประเภท
5) ทกั ษะกำรสำรวจค้นหำ
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
3. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ญั หำ
4. ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชีวิต
5. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี
6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ช่ัวโมงท่ี 1
ข้นั นำ
ข้ันกระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูแจง้ ชื่อเร่อื งที่จะเรียนรู้ และผลกำรเรียนรใู้ ห้นกั เรยี นทรำบ
2. ใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั สงั เกตภำพในหนงั สือเรียนวิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 68 จำกน้ันให้นักเรยี น
ร่วมกนั แสดงควำมคดิ เห็นรว่ มกันว่ำ ภำพน้เี ก่ียวขอ้ งกับกำรมองเหน็ แสงผำ่ นวตั ถุอยำ่ งไร โดยครู
คอยเสรมิ ข้อมลู ในส่วนทีบ่ กพร่อง
3. ใหน้ ักเรียนเรียนรู้คำศพั ท์ที่เก่ียวขอ้ งกับกำรเรียนในบทท่ี 2 เร่ือง ตวั กลำงของแสงจำกภำพในนี้
โดยครูสุม่ เลือกตัวแทนหรือขออำสำสมัครนักเรียน 1 คน ออกมำหน้ำชั้นเรียนเพื่อเปน็ ผู้อ่ำนนำ
และใหเ้ พอื่ นคนอ่นื ๆ อำ่ นตำม ดงั น้ี
Transparent object (แทรน็ ซ’แพรึนท ‘อ็อบเจ็คท) วตั ถุโปร่งใส
Translucent object (แทร็นส’ลูซนึ ท ‘อ็อบเจ็คท) วัตถุโปร่งแสง
Opaque object (โอ’เพค ‘อ็อบเจค็ ท) วตั ถทุ บึ แสง
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
4. ครูถำมคำถำมสำคัญประจำบทเพ่ือกระตุ้นนกั เรียนก่อนเขำ้ สเู่ นื้อหำว่ำ เราใชป้ ระโยชนจ์ ากตัวกลาง
ของแสงอย่างไรบา้ ง แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนแสดงควำมคิดเห็นอยำ่ งอิสระ
(แนวตอบ : เชน่ ใช้ทากระจกหนา้ ต่างเพอื่ ใหม้ องเห็นส่ิงตา่ งๆ นอกบา้ นไดช้ ดั เจน หรอื ทากาแพง
156
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 4 ตวั กลางของแสงและวัตถทุ ึบแสง
บ้านเพอื่ ปอ้ งกันแสงเขา้ มา เป็นตน้ )
5. ให้นักเรียนเขยี นกำรใชป้ ระโยชนจ์ ำกตัวกลำงของแสงในบำ้ นของตนเองมำ 5 ข้อ โดยทำลงในสมุด
ประจำตัวนักเรยี น หรือให้ทำกิจกรรมนำสู่กำรเรยี นในแบบฝกึ หัดวิทยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 72
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
ขนั้ สอน
ขนั้ สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูนำผ้ำเช็ดหน้ำมำ 1 ผืน จำกนั้นกำงผ้ำเช็ดหนำ้ ให้นักเรียนดแู ละบอกนักเรียนให้คำดเดำว่ำ หำก
ครูใช้ไฟฉำยส่องผำ้ เชด็ หนำ้ ผืนน้ี แสงจะสำมำรถเคลื่อนทีผ่ ่ำนทะลผุ ้ำได้หรอื ไม่ เพรำะอะไร แล้วให้
นักเรยี นร่วมกันแสดงควำมคดิ เห็นอย่ำงอสิ ระ
(แนวตอบ : คาตอบขึน้ อยกู่ ันดิ และความหนาของผา้ ที่ครนู ามาใช้)
2. ครใู ห้นักเรียนศึกษำข้อมูลและสังเกตภำพจำกหนงั สือเรียนหนำ้ น้ี จำกนั้นครสู ุ่มถำมนักเรยี น 4-5
คน ว่ำ วตั ถใุ นภำพใดบ้ำงเปน็ ตัวกลำงของแสงและวัตถใุ ดเป็นวัตถุทึบแสง
3. ครูถำมคำถำมนกั เรียนว่ำ ตัวกลางของแสงแตกต่างจากวตั ถุทึบแสงอย่างไร จำกน้ันจบั สลำกเลือก
นกั เรียนให้ออกมำตอบคำถำม 2-3 คน
(แนวตอบ : ตัวกลางของแสง คอื วตั ถุทก่ี ั้นทางเดินของแสง แลว้ แสงสามารถเดนิ ทางผ่านไปได้
ส่วนวัตถุทึบแสง คือ วัตถุที่เมื่อนามาก้ันแสง แล้วมองไม่เห็นแสงท่ีผ่านมาได้ และไม่สามารถ
มองเหน็ ส่งิ ท่อี ยู่ด้านหลังวตั ถทุ ่นี ามากนั้ แสงนั้น)
4. ครใู ห้คำชมเชยหรือรำงวลั เพื่อเป็นกำรเสรมิ แรงนักเรยี นที่ตอบคำถำมได้ถกู ตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
5. ครูให้นกั เรยี นเล่นเกมหอยแบง่ ฝำเพ่ือแบ่งกลุ่มนกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ละ 4 คน โดยครอู ธบิ ำยวิธีกำร
เลน่ ใหน้ กั เรียนฟงั จำกน้ันใหน้ ักเรยี นเล่นเกม 2-3 ครง้ั จนไดก้ ลุ่มครบทุกคน
วิธีการเลม่ เกม “หอยแบ่งฝา”
ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละคนคิดวำ่ ตนเองตอ้ งกำรเปน็ ตัวหอย หรือต้องกำรเป็นฝำหอย โดยครจู ะ
ออกคำส่ังแลว้ ให้นกั เรียนว่งิ ไปรวมกลุม่ กัน ซ่ึงกำหนดให้ นักเรียนทีย่ นื ล้อมวง คือ ฝำหอย และ
นกั เรียนทอี่ ยู่ในวง คือ ตัวหอย ทั้งน้ีนกั เรยี นคนใดที่ไมม่ กี ลุ่ม หรือนกั เรยี นกลุ่มใดมจี ำนวนฝำ
หอย หรือจำนวนตัวหอยไม่ครบตำมจำนวนที่ครอู อกคำส่ัง จะถูกนำออกมำทำกิจกรรมพิเศษ
ดว้ ยวิธีกำรตำ่ งๆ เช่น กำรเตน้ ตำมเพ1ล57ง กำรร้องเพลง หรืออน่ื ๆ ตำมควำมเหมำะสม ตัวอย่ำง
กำรออกคำสงั่ ของครู เช่น
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 4 ตัวกลางของแสงและวตั ถทุ บึ แสง
6. ครชู ้ีแจงว่ำ ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษำข้ันตอนและวิธกี ำรทำกิจกรรมที่ 1 เรอื่ ง ตัวกลำงของแสง
จำกหนังสือเรยี นหน้ำ 70-71 จำกน้ันให้แต่ละกลุ่มไปเตรียมอุปกรณใ์ หค้ รบถ้วน แล้วใหช้ ่วยกัน
ปฏิบัติกิจกรรมจนครบทุกขั้นตอน โดยให้บันทึกผลกำรทำกิจกรรมลงในสมุดหรือในแบบฝึกหัด
วทิ ยำศำสตร์ หนำ้ 75
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )
ช่วั โมงท่ี 2
ขนั้ อธิบายความรู้ (Explain)
1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมำนำเสนอผลกำรทำกจิ กรรม โดยใหเ้ พื่อนกลุ่มอ่ืนๆ ซักถำม
ขอ้ สงสัย และใหค้ รคู อยอธบิ ำยเพ่ิมเติมในสว่ นทีบ่ กพรอ่ ง
2. นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รำยของกำรทำกิจกรรมจนสรุปให้ได้ว่ำ ตวั กลางของแสง คือ วัตถุชนิดต่างๆ ท่ี
นามากั้นทางเดินของแสง แลว้ แสงสามารถเดินทางผ่านไปได้มากหรือได้บางส่วนเช่น กระจกฝ้า
กระจกใส เป็นต้น สว่ นวัตถุทึบแสง คือ วัตถุชนดิ ต่างๆ ท่ีนามากั้นแสงแล้วมองไมเ่ หน็ แสงท่ีผา่ นมา
ได้ และทาให้ไม่สามารถมองเห็นสิ่งที่อยู่ ด้านหลังวตั ถทุ ีน่ ามากน้ั แสงนั้น เช่น แผน่ กระเบ้ือง สมุด
กลอ่ งลงั เปน็ ตน้
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
ขนั้ สรปุ
ขั้นขยายความเข้าใจ (Elaborate)
158
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 4 ตัวกลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง
1. ครูให้นักเรียนชว่ ยกันศึกษำเนอื้ หำจำกหนังสอื เรียนหน้ำ 72-73 และ PPT เรอื่ ง ตัวกลำงของแสง
จำกน้นั รว่ มกนั สรุปควำมร้เู พ่อื เชื่อมโยงกบั ผลกำรทำกิจกรรมที่ 1
2. ให้นักเรียนทำกิจกรรมหนูตอบไดจ้ ำกหนังสือเรยี น หน้ำ 71 ลงในสมุดประจำตัวนักเรียนหรือทำใน
แบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ หนำ้ 76
3. ครูขยำยควำมเข้ำใจของนกั เรียนเพิ่มเติม โดยนำน้ำทบ่ี รรจุอยูใ่ นภำชนะต่ำงๆ ได้แก่ ขวดพลำสติก
ใส ขวดพลำสตกิ ขุ่น และถว้ ยกระเบื้อง มำให้นักเรียนทุกคนได้สังเกตหน้ำช้นั เรียน แลว้ ต้ังคำถำม
ดังนี้
1) นักเรยี นสำมำรถมองเหน็ น้ำผำ่ นภำชนะใดไดช้ ดั เจนทส่ี ดุ เพรำะอะไร
(แนวตอบ : ขวดน้าพลาสตกิ ใส เพราะขวดมีความโปรง่ ใส จงึ สามารถมองเห็นน้าที่บรรจุ
ในขวดไดช้ ัดเจน)
2) กำรมองเห็นน้ำที่บรรจุอยู่ในภำชนะเก่ียวขอ้ งกับกำรเดนิ ทำงของแสงผ่ำนภำชนะหรือไม่
อย่ำงไร
(แนวตอบ : เกีย่ วข้อง เพราะแสงสามารถเดนิ ทางผ่านภาชนะโปร่งใสที่บรรจุนา้ ได้ จงึ ทา
ใหเ้ รามองเห็นน้าที่บรรจใุ นภาชนะได้ชัดเจน)
4. นักเรียนรว่ มกนั แสดงควำมคดิ เหน็ และตอบคำถำมท่คี รูตั้งไว้
5. ครูสมุ่ เรียกนกั เรียนทีละคนเพ่อื ใหย้ กตัวอยำ่ งวัตถทุ เ่ี ป็นตัวกลำงโปร่งใส ตัวกลำงโปรง่ แสง หรอื วัตถุ
ทึบแสงมำคนละ 1 ตวั อยำ่ ง โดยต้องไม่ซ้ำกับตวั อย่ำงทอี่ ยู่ในหนังสือเรยี นหน้ำนี้
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)
ชว่ั โมงที่ 3
ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) (ตอ่ )
6. ครสู นทนำกับนักเรยี นเพอื่ ทบทวนควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเน้ือหำที่ได้เรียนผ่ำนมำจำกหน่วยกำร
เรยี นรูท้ ่ี 2 บทท่ี 2 ตัวกลำงของแสง โดยสุม่ เรียกชอ่ื นักเรียนให้ออกมำเลำ่ ว่ำตนเองได้รับควำมรู้
อะไรบ้ำง
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
159
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 4 ตัวกลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง
7. ให้นักเรยี นเขยี นสรุปควำมรู้เก่ียวกับเร่ืองท่ีไดเ้ รียนมำจำกบทท่ี 2 ในรูปแบบต่ำงๆ เชน่ แผนผัง
ควำมคิด แผนภำพ เป็นต้น ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน หรอื อำจทำกจิ กรรมสรปุ ควำมรู้ประจำบท
ท่ี 2 ในแบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ หนำ้ 77
8. ให้นักเรียนทำกจิ กรรมฝึกทักษะบทที่ 2 จำกหนังสือเรียน หน้ำ 74 ข้อ 1-3 ลงในสมดุ ประจำตัว
นักเรยี นหรือทำในแบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ หนำ้ 78-79
9. ให้นกั เรียนแตล่ ะคนทำกจิ กรรมทำ้ ทำยกำรคดิ ขน้ั สูงจำกแบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์ หนำ้ 80
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
10. ให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน จำกน้ันศกึ ษำกิจกรรมสร้ำงสรรค์ผลงำนจำกหนังสือเรยี นหน้ำ
74 แล้วใหป้ ฏบิ ตั กิ ิจกรรมโดยมขี น้ั ตอน ดงั น้ี
สำรวจวัตถุภำยในโงเรียน 20 ชนิด
นำข้อมูลทไี่ ด้จำกกำรสำรวจมำจัดทำเป็นสมดุ ภำพ โดยให้ติดภำพหรือวำดภำพวัตถุเพ่ือ
จำแนกวัตถุเป็น วัตถุโปรง่ ใส วตั ถโุ ปรง่ แสง และวตั ถุทึบแสง
ตกแตง่ ใหส้ วยงำม แล้วนำเสนอหน้ำชั้นเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ )
11. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบทำ้ ยหน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลำงของแสง
จำกแบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 82-85
12. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นของหน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 2 เรอื่ ง แรงโน้มถ่วงของโลกและ
ตัวกลำงของแสง เพื่อตรวจสอบควำมรูค้ วำมเขำ้ ใจหลังเรียน
ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ใหน้ กั เรียนดูตำรำงตรวจสอบตนเอง จำกหนงั สือเรียนวทิ ยำศำสตร์ หนำ้ 73 จำกน้นั ครูถำมนกั เรยี น
เป็นรำยบุคคลตำมรำยกำรข้อ 1-5 จำกตำรำง เพื่อเป็นกำรตรวจสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของ
นกั เรยี นหลังจำกกำรเรยี น หำกนกั เรียนคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยู่ในเกณฑ์ท่คี วรปรบั ปรุง ให้
ครทู บทวนบทเรยี นหรอื หำกจิ กรรมอืน่ ซอ่ มเสรมิ เพ่อื ใหน้ ักเรียนมคี วำมรู้ควำมใจในบทเรียนมำกขึ้น
2. ครูให้นักเรยี นร่วมกนั ศึกษำแผนผังควำมคิดสรปุ สำระสำคญั ประจำหน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ 2 ในหนังสือ
เรยี น หนำ้ 75 จำกนั้นครสู ุ่มเลอื กนักเรยี นเป็นรำยบคุ คลให้บอกเล่ำควำมร้คู วำมเข้ำใจที่ได้รบั จำก
กำรเรียนในหน่วยกำรเรยี นรนู้ ้ี
3. ครูประเมินผลนกั เรียน โดยกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรตอบคำถำม พฤติกรรมกำรทำงำนรำยบุคคล
พฤติกรรมกำรทำงำนกลุม่ และจำกกำรนำเสนอผลกำรทำกจิ กรรมหน้ำชน้ั เรียน
4. ครตู รวจสอบผลกำรเขียนกำรใชป้ ระโยชน์จำกตัวกลำงของแสงในบำ้ นของตนเอง ในสมดุ ประจำตัว
นกั เรยี น หรือตรวจสอบผลกำรทำกจิ กรรมนำสูก่ ำรเรยี นในแบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ หน้ำ 72
160
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 4 ตัวกลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง
5. ครูตรวจสอบผลกำรทำกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง ตวั กลำงของแสง ในสมดุ ประจำตัวนักเรียนหรือใน
แบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์ หน้ำ 75
6. ครตู รวจสอบผลกำรทำกจิ กรรมหนูตอบได้ในสมุดประจำตัวนักเรยี น หรอื ในแบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์
หน้ำ 76
7. ครตู รวจผลกำรทำกจิ กรรมสรุปควำมรู้ประจำบทที่ 2 ในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน หรือในแบบฝึกหัด
วิทยำศำสตร์ หน้ำ 77
8. ครูตรวจผลกำรทำกิจกรรมฝึกฝนทักษะบทท่ี 2 ในสมุดประจำตวั นักเรียน หรือในแบบฝึกหัด
วิทยำศำสตร์ หนำ้ 78-79
9. ครูตรวจผลกำรทำกิจกรรมทำ้ ทำยกำรคดิ ข้นั สงู ในแบบฝกึ หัดวิทยำศำสตร์ หน้ำ 80
10. ครูตรวจช้ินงำนสมุดภำพจำแนกวัตถุโปร่งใส วตั ถุโปรง่ แสง และวัตถุทึบแสง และกำรนำเสนอ
ชน้ิ งำน/ผลงำน หนำ้ ช้นั เรยี น
11. ครูตรวจสอบผลกำรทำแบบทดสอบทำ้ ยหนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 1 เร่อื ง ควำมหลำกหลำยของสิ่งมีชีวิต
จำกแบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ หน้ำ 82-85
12. ครตู รวจสอบผลกำรทำแบบทดสอบหลงั เรยี นของหนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง แรงโน้มถว่ งของโลก
และตวั กลำงของแสง
7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน
- แบบประเมนิ ชิน้ งำน/ - ระดบั คณุ ภำพ 2
7.1 การประเมินชิน้ งาน/ - ตรวจผลงำนสมุดภำพ ผ่ำนเกณฑ์
ภำระงำน
ภาระงาน (รวบยอด) จำแนกวตั ถุ - ร้อยละ 60
- สมดุ ประจำตวั หรอื ผำ่ นเกณฑ์
7.2 ประเมนิ ระหว่าง แบบฝกึ หัดวิทยำศำสตร์
ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 72 - รอ้ ยละ 60
การจดั กจิ กรรม ผำ่ นเกณฑ์
- สมุดประจำตัว หรอื
การเรียนรู้ แบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์ - ร้อยละ 60
ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 75 ผ่ำนเกณฑ์
1) กำรใช้ประโยชนจ์ ำก - ตรวจสมุดประจำตัวหรือ - สมดุ ประจำตวั หรือ
แบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์
ตัวกลำงของแสง แบบฝกึ หดั วทิ ยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 76
หรอื กิจกรรมนำสู่ ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 72
กำรเรยี น
2) ผลบนั ทกึ กำรทำ - ตรวจสมุดประจำตัวหรอื
กจิ กรรมที่ 1 แบบฝกึ หดั วทิ ยำศำสตร์
ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 75
3) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมดุ ประจำตัวหรอื
แบบฝกึ หดั วทิ ยำศำสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 76
161
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 4 ตวั กลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง
4) กิจกรรมสรุปควำมรู้ - ตรวจสมุดประจำตวั หรอื - สมุดประจำตวั หรอื - รอ้ ยละ 60
แบบฝกึ หัดวทิ ยำศำสตร์ ผ่ำนเกณฑ์
ประจำบทท่ี 2 แบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้ำ 77
เกณฑ์การประเมนิ
ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 77 เครื่องมือ - รอ้ ยละ 60
- สมุดประจำตัว หรือ ผ่ำนเกณฑ์
รายการวัด วธิ ีการ แบบฝึกหดั วิทยำศำสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้ำ 78-79 - รอ้ ยละ 60
5) กิจกรรมฝึกทกั ษะ - ตรวจสมุดประจำตัว ผ่ำนเกณฑ์
- สมุดประจำตัว หรือ
บทที่ 2 หรือแบบฝึกหดั แบบฝึกหัดวิทยำศำสตร์ - ระดับคุณภำพ 2
ป.4 เล่ม 1 หนำ้ 80 ผำ่ นเกณฑ์
วิทยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1
- แบบกำรนำเสนอ - ระดบั คุณภำพ 2
หนำ้ 78-79 ผลงำน/ผลกำรทำ ผ่ำนเกณฑ์
กจิ กรรม - ระดับคณุ ภำพ 2
6) กจิ กรรมทำ้ ทำยกำร - ตรวจสมดุ ประจำตวั - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ่ำนเกณฑ์
กำรทำงำนรำยบคุ คล - ระดับคณุ ภำพ 2
คดิ ขั้นสูง หรอื แบบฝึกหัด - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผำ่ นเกณฑ์
กำรทำงำนกล่มุ
วิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1 - แบบประเมนิ - รอ้ ยละ 60
คุณลกั ษณะ ผ่ำนเกณฑ์
หน้ำ 80 อันพึงประสงค์
- รอ้ ยละ 60
7) กำรนำเสนอผลงำน/ - ประเมินกำรนำเสนอ - แบบฝึกหัดวทิ ยำศำสตร์ ผำ่ นเกณฑ์
ป.4 เลม่ 1 หนำ้ 82-85
ผลกำรทำกิจกรรม ผลงำน/ผลกำรทำ
- แบบทดสอบหลังเรียน
กิจกรรม หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2
8) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม
กำรทำงำนรำยบุคคล กำรทำงำนรำยบุคคล
9) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม
กำรทำงำนกลุ่ม กำรทำงำนกลุ่ม
10) คณุ ลักษณะ - สงั เกตควำมมีวินัย
อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมั่น
ในกำรทำงำน
7.3 การประเมนิ หลังเรยี น
- แบบทดสอบทำ้ ย - ตรวจแบบฝกึ หัด
หนว่ ยกำรเรียนร้ทู ี่ 2 วิทยำศำสตร์ ป.4 เลม่ 1
หนำ้ 82-85
- แบบทดสอบหลงั - ตรวจแบบทดสอบ
เรยี น หนว่ ยกำร หลังเรยี นหน่วยกำร
เรยี นรทู้ ่ี 2 แรงโนม้ เรยี นรทู้ ่ี 2
ถว่ งของโลกและ
ตัวกลำงของแสง
162
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 4 ตัวกลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง
8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนังสือเรียนวทิ ยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกฯ
2) แบบฝกึ หดั วิทยำศำสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี 2 แรงโน้มถว่ งของโลกฯ
3) วัสดุ-อุปกรณ์กำรทดลองในกิจกรรมที่ 1 เช่น ไฟฉำย แผ่นไม้ แก้วพลำสติกใส เปน็ ต้น
4) วสั ดุ-อุปกรณ์ในกำรทำกจิ กรรมสรำ้ งสรรค์ผลงำน เชน่ สีไม้ สมดุ กระดำษสี เปน็ ตน้
5) ภำชนะใส่บรรจุนำ้ ได้แก่ ขวดพลำสตกิ ข่นุ ขวดพลำสติกใส และถว้ ยกระเบ้อื ง
6) PowerPoint เร่ือง ตวั กลำงของแสง
7) ผ้ำเชด็ หน้ำ 1 ผนื
8) สมุดประจำตวั นักเรยี น
8.2 แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) อินเทอรเ์ นต็
163
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 4 ตวั กลางของแสงและวัตถทุ บึ แสง
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ไ่ี ด้รับมอบหมาย
ขอ้ เสนอแนะ
ลงช่ือ .................................
( ................................ )
ตาแหนง่ .......
10. บนั ทึกผลหลงั การสอน
ดำ้ นควำมรู้
ด้ำนสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
ดำ้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์
164
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 4 ตัวกลางของแสงและวตั ถทุ ึบแสง
ดำ้ นควำมสำมำรถทำงวทิ ยำศำสตร์
ด้ำนอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมที่มีปญั หำของนักเรียนเป็นรำยบุคคล (ถำ้ ม)ี )
ปญั หำ/อุปสรรค
แนวทำงกำรแกไ้ ข
165