หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 7 การคายนา้ ของพชื
บตั รภาพ
ภาพใบรปู สเ่ี หลยี่ มขนมเปี ยกปนู ภาพใบรปู รี ภาพใบรปู กลม
ภาพใบรปู หยกั ภาพใบเป็นเส้น ภาพใบรปู ใบโพธ์ิ
92
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 7 การคายน้าของพชื
ใบงานที่ 1.8
เรอื่ ง ใบของพืช
ให้นกั เรียนศกึ ษาลกั ษณะปากใบของพืชตามขันตอนที่ก้าหนด แลว้ บันทกึ ข้อมลู ดงั นี
1. พบั ใบพืชแลว้ ฉกี แฉลบด้านหลังใบใหไ้ ด้เยื่อบางๆ
2. วางเย่ือผิวใบลงบนแผ่นสไลด์และหยดน้า สังเกตดจู ากกล้องจุลทรรศน์
วาดภาพปากใบที่สงั เกตไดจ้ ากกล้องจลุ ทรรศน์
สรุปหน้าท่ขี องใบ
93
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชวี ติ
แผนฯ ที่ 7 การคายน้าของพืช
ใบงานท่ี 1.8 เฉลย
เรือ่ ง ใบของพชื
ให้นกั เรยี นศึกษาลักษณะปากใบของพชื ตามขันตอนทีก่ ้าหนด แล้วบนั ทกึ ขอ้ มลู ดงั นี
1. พบั ใบพชื แล้วฉกี แฉลบดา้ นหลงั ใบให้ไดเ้ ยอื่ บางๆ
2. วางเยื่อผวิ ใบลงบนแผ่นสไลดแ์ ละหยดน้า สังเกตดูจากกลอ้ งจุลทรรศน์
วาดภาพปากใบทสี่ งั เกตไดจ้ ากกลอ้ งจุลทรรศน์
(ตวั อยา่ ง)
(รปู ากใบเปดิ ) (รปู ากใบปดิ )
สรปุ หนา้ ท่ขี องใบ
1. สร้างอาหารมาใช้ในการเจรญิ เติบโตของพชื
2. หายใจ ซึ่งเป็นการแลกเปลยี่ นแก๊สทางปากใบ
3. คายนา ซง่ึ เป็นการกาจดั นาของพชื ในรูปของไอนา
94
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 7 การคายนา้ ของพชื
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผ้ทู ี่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงช่ือ .................................
( ................................ )
ตา้ แหน่ง .......
10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
ดา้ นความรู้
ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน
ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์
ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรอื พฤตกิ รรมทมี่ ีปญั หาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))
ปัญหา/อุปสรรค
95
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 8 การสรา้ งอาหารของพืช
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8
การสร้างอาหารของพืช
เวลา 2 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด
ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหน้าทีข่ องราก ลาต้น ใบ และดอก ของพืชดอกโดยใช้ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมได้
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. สังเกตและอธิบายเก่ยี วกบั กระบวนการสรา้ งอาหารของพชื ได้ (K)
2. ปฏิบตั ิกรรมการทดลองเพอื่ ตรวจสอบว่าพืชสะสมอาหารประเภทแป้งได้ (P)
3. ใหค้ วามร่วมมอื ในการทากจิ กรรมตลอดเวลา (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่ิน
ใบพืช ทาหนา้ ที่สร้างอาหาร อาหารท่พี ชื สร้าง พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา
ข้นึ คือน้าตาล ซ่ึงจะถูกสะสมไว้ในรปู แป้ง
4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ใบเป็นโครงสร้างท่ีสาคัญของพืช ทาหน้าที่สร้างอาหาร และหายใจซึ่งเป็นการแลกเปล่ียนแก๊ส
เช่นเดียวกับคนและสตั ว์ ใบพืชทาหน้าที่สร้างอาหาร โดยกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง ซึ่งการสรา้ ง
อาหารของพชื จะเกิดขึ้นได้เม่ือมแี สง การสรา้ งอาหารของพืชจงึ เกดิ ขนึ้ ในเวลากลางวัน โดยพืชจะใช้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศ และคายแก๊สออกซิเจนสอู่ ากาศ อาหารท่ีพชื สร้างข้ึนมาครั้งแรกจะเป็น
นา้ ตาล แล้วจะถกู เปลยี่ นเปน็ แป้งเกบ็ สะสมไวใ้ นสว่ นตา่ งๆ ของพืช
5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินยั
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้
1) ทกั ษะการสังเกต 3. มงุ่ มั่นในการทางาน
2) ทักษะการตัง้ สมมตฐิ าน
3) ทักษะการทดสอบสมมตฐิ าน
96
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ
แผนฯ ที่ 8 การสรา้ งอาหารของพืช
4) ทกั ษะการสรุปอา้ งอิง
5) ทักษะการเชอื่ มโยง
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ช่วั โมงที่ 1
ข้ันนา
ขั้นกระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับกระบวนการสรา้ งอาหารของพชื แล้วรว่ มกันแสดงความคิดเห็นว่า
ใน การสร้างอาหารของพืชจะต้องอาศัยปัจ จัยใดบ้าง และปัจจัยเหล่าน้ัน มีความสาคัญต่อ
กระบวนการสรา้ งอาหารของพืชอยา่ งไร
2. ครสู ุ่มหมายเลขนักเรียน 3-4 คน ออกมาแสดงความคิดเห็นที่หน้าช้นั เรียน ครูและเพ่ือนคนอน่ื ๆ
ชว่ ยกนั เสนอแนะเพมิ่ เตมิ จากนนั้ ครูใหค้ าชมเชยหรอื มอบของรางวัลเพื่อเปน็ การเสริมแรง
3. ครูให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ ว่า นกั เรยี นคิดว่า ปัจจยั ทีส่ าคญั ที่สุดในการสร้าง
อาหารของพืชคืออะไร
(แนวตอบ : พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
ขั้นสอน
ขั้นสารวจค้นหา (Explore)
1. ครูนาใบพืชท่ีมีสีสันแตกต่างกันมาให้นักเรียนร่วมกันสังเกต เช่น ใบต้นโกสน ใบต้นคริสต์มาส
ใบต้นบอนสี เปน็ ต้น
2. ครแู บ่งกลุ่มให้นักเรียนกลุ่มละ 3-4 คน ให้มีความสามารถคละกนั (เก่ง-ค่อนขา้ งเก่ง-ปานกลาง-
อ่อน) จากนน้ั ใหแ้ ต่ละกลุม่ ร่วมกันศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง การสร้างอาหารของพืช จากแหลง่ การเรียนรู้
ตา่ งๆ เช่นหนังสือเรียน หอ้ งสมดุ อนิ เทอร์เนต็ เป็นต้น
97
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 8 การสรา้ งอาหารของพชื
3. ครูซักถามนักเรียนว่า สีของใบเกี่ยวข้องกับการสร้างอาหารของพืชหรือไม่ และคอลโรฟิลล์มี
ความสาคัญต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงอย่างไร จากน้นั ใหน้ ักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเพ่ือหา
ข้อสรุป
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
4. ครนู าแผนภูมกิ ระบวนการสรา้ งอาหารของพชื มาให้นกั เรยี นดู และให้นักเรียนร่วมกนั อภิปรายเพื่อ
เป็นการเสริมเพมิ่ เตมิ ความเข้าใจเก่ยี วกับกระบวนการสร้างอาหารของพชื
5. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า การสร้างอาหารของพืชต่างๆ มีผลต่อ
สภาพแวดลอ้ มอย่างไร
6. ครสู ุม่ นักเรยี น 3-5 กลุม่ ออกมาแสดงความคิดเห็นหนา้ ชน้ั เรียน แลว้ ให้เพื่อนกลุ่มอืน่ ชว่ ยกันแสดง
ความคิดเหน็ เพิ่มเติมในส่วนท่ีแตกต่าง
7. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเป็นการช่วยลดปริมาณแก๊ส
คารบ์ อนไดออกไซด์ และเปน็ การชว่ ยเพ่ิมแก๊สออกซิเจนในอากาศ
ช่ัวโมงที่ 2
ขัน้ สารวจคน้ หา (Explore) (ต่อ)
8. ครูสนทนากับนักเรยี นว่า จากท่นี กั เรียนได้ศึกษาการสร้างอาหารของพืชแลว้ นกั เรียนคิดว่า ใบพืช
สามารถสร้างอาหารประเภทใด และสะสมไว้ในรูปแบบใด
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
9. ครูกาหนดปัญหาให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากชั่วโมงที่ 1) ร่วมกันสืบค้นข้อมลู ว่า ใบสรา้ งอาหาร
ประเภทใด
10. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันตั้งสมมติฐานหลายๆ ข้อ แล้วเลือกสมมติฐานท่ีอาจเปน็ ไปได้มา
ดาเนนิ การศึกษา โดยบันทึกลงในสมุดประจาตวั นักเรียน หรอื ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม
1 หนา้ 38
ตวั อย่างสมมติฐาน : ถา้ นาใบไม้มาต้มจนสารสีเขียวหมดไป แล้วทดสอบด้วยการหยด
สารละลายไอโอดีนไป ใบไมจ้ ะเปลย่ี นเป็นสนี าเงนิ เข้มแสดงวา่ ใบพชื มีหนา้ ที่สร้างอาหาร
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
11. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาขั้นตอนการทากิจกรรมท่ี 3 เร่ือง พืชสร้างอาหาร จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 42-43 แลว้ ร่วมกนั วางแผนและจดั เตรยี มอุปกรณ์ในการทากิจกรรม
12. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทาการกิจกรรมตามข้ันตอนแล้วบันทึกผลการทากจิ กรรมลงในสมุดประจาตัว
นักเรยี นหรือในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หน้า 38 โดยครูดแู ลนักเรียนอย่างใกลช้ ิดตลอดระยะเวลาท่ี
ปฏิบัติกจิ กรรม
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )
98
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 8 การสรา้ งอาหารของพืช
ขั้นอธิบายความรู้ (Explain)
1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาผลการทากิจกรรมท่ี 3 มาวิเคราะหแ์ ละตรวจสอบความถกู ต้อง แลว้ อภิปราย
ร่วมกนั ภายในกลุ่ม เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปท่ีถกู ต้อง
2. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรมที่ 3 หน้าช้ันเรียน
3. ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรุปความรู้ทไี่ ด้จากการทา กจิ กรรมท่ี 3 จนได้ข้อสรปุ ว่า ใบพืชทาหนา้ ท่ี
สร้างอาหาร อาหารที่พืชสร้างขึนมาครงั แรกเป็นนาตาล แล้วจะเปลี่ยนเป็นแปง้ เม่ือทดสอบดว้ ย
สารละลายไอโอดนี จึงเปล่ยี นเปน็ สนี าเงนิ เข้ม
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
ข้ันสรุป
ข้ันขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูให้นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิดวา่ บริเวณใดของใบท่ีมีแปง้ สะสมอยู่ แล้วให้นกั เรียน
ช่วยกนั ตอบคาถาม
(แนวตอบ : บริเวณที่มสี ีเขยี ว)
2. ครูให้นักเรียนดูแผนภาพกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช แลว้ สนทนากับนักเรียนว่า
กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื มีความสาคัญอย่างไรบา้ ง
3. นักเรียนจับกลุ่มเดมิ แล้วรว่ มกันศกึ ษาความรเู้ รื่อง กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง จากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 45 หรือจากแหลง่ การเรียนร้อู ื่นๆ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นตน้
4. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันอภปิ รายเก่ยี วกับความสาคัญของกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง
ของพืชว่า มีประโยชนต์ อ่ การดารงชีวิตของมนุษยอ์ ย่างไร
5. ครูขออาสาสมคั รนักเรียนแตล่ ะกลุม่ ออกมานาเสนอผลการอภิปรายทหี่ นา้ ชั้นเรียน
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
6. ครูมอบหมายให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มทารายงาน เรือ่ ง ปัจจยั ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช แล้วให้นามาส่งในช่ัวโมงถดั ไป โดยให้ครอบคลุมประเดน็ ตามทกี่ าหนด
ดังนี้
1) การอธิบายปัจจยั ท่ีจาเป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื
2) การอธิบายกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
7. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละคนทากจิ กรรมหนูตอบไดจ้ ากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 43 ลงในสมุด
ประจาตวั นักเรียน หรอื ทาในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 39
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
99
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 8 การสรา้ งอาหารของพชื
ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูขออาสาสมคั รตัวแทนนกั เรียน 2-4 คน ออกมาสรุปเก่ียวกับการสร้างอาหารของพืช จากนัน้ ให้
ครอู ธิบายเสริมในส่วนท่ีบกพร่อง
2. ครปู ระเมินผลนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าช้นั เรียน
3. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมท่ี 3 เรื่อง พชื สร้างอาหาร ในสมุดประจาตัวนักเรียน หรือใน
แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 38
4. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนูตอบได้ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรอื ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
หน้า 39
5. ครูตรวจสอบรายงาน เรอื่ ง ปัจจยั ที่มีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตและการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื
7. การวัดและประเมนิ ผล
รายการวดั วธิ กี าร เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
7.1 ประเมนิ ระหว่าง
การจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้
1) ผลบันทกึ การทา - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรอื - สมุดประจาตัว หรอื - ร้อยละ 60
กิจกรรมที่ 3 แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 38 ป.4 เลม่ 1 หนา้ 38
2) รายงาน - ตรวจรายงาน - รายงาน - รอ้ ยละ 60
ผ่านเกณฑ์
รายการวดั วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
3) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมุดประจาตวั หรือ
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ - สมดุ ประจาตัว หรือ - รอ้ ยละ 60
4) การนาเสนอผล ป.4 เลม่ 1 หน้า 39
การทากจิ กรรม - ประเมนิ การนาเสนอ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์
ผลการทากจิ กรรม
5) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม ป.4 เลม่ 1 หนา้ 39
การทางาน การทางานรายบุคคล
รายบุคคล - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2
6) พฤติกรรม นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์
- สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
100
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 8 การสร้างอาหารของพชื
การทางานกลุม่ การทางานกล่มุ การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
7) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มั่น คณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์ ในการทางาน อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
8. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้
8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
3) วัสดุ-อุปกรณก์ ารทดลองในกิจกรรมท่ี 3 เชน่ น้าแปง้ มัน จานหลุม หลอดทดลอง เป็นต้น
4) ใบพชื สีต่างๆ เช่น ใบต้นโกสน ใบตน้ คริสตม์ าส ใบตน้ บอนสี เปน็ ตน้
5) แผนภมู ิกระบวนการสร้างอาหารของพืช
6) แผนภาพกระบวนการสร้างอาหารของพืช
7) สมดุ ประจาตวั นกั เรยี น
8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) หอ้ งสมดุ
3) อินเทอรเ์ นต็
101
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ
แผนฯ ที่ 8 การสร้างอาหารของพืช
แผนภูมกิ ระบวนการสรา้ งอาหารของพชื
กระบวนการสรา้ งอาหารของพชื
1. พืชดูดแกส๊ 2. พชื ดูดน้าผ่านรากเข้าสู่ 3. คลอโรฟิลล์ในใบพชื เป็น
คารบ์ อนไดออกไซด์จาก ใบและส่วนต่างๆ ของพืช ตวั ดูดกลืนแสง เขา้ มาใช้
เป็นแหล่งพลังงาน
อากาศสู่ใบทางปากใบ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ น้า คลอโรฟลิ ล์ และแสงอาทติ ย์
กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง
น้าตาล แก๊สออกซิเจน น้า
- เลยี้ งส่วนตา่ งๆ ของลาตน้ - คายออกสู่บรรยากาศทาง - คายออกทางปากใบ
- สว่ นทเ่ี หลือพชื เก็บสะสม ปากใบ ช่วยทาใหอ้ ากาศ ชว่ ยทาใหอ้ ากาศชมุ่ ชน้ื
ไวใ้ นส่วนต่างๆ ในรปู ของ บริสุทธิ์
แป้ง
102
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 8 การสร้างอาหารของพชื
แผนภาพกระบวนการสรา้ งอาหารของพืช
คลอโรฟิลลด์ ดู กลนื แสง
นา้ นา้ ออกซิเจน คารบ์ อนไดออกไซด์
การหายใจ การสงั เคราะหด์ ้วยแสง
ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์
คารบ์ อนไดออกไซด์ ออกซิเจน
นา้ นา้
แผนภาพการสรา้ งอาหารของพชื
103
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 8 การสร้างอาหารของพชื
9. ความเหน็ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมาย
ขอ้ เสนอแนะ
ลงชอื่ .................................
( ................................ )
ตาแหน่ง .......
10. บันทึกผลหลังการสอน
ดา้ นความรู้
ด้านสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์
ดา้ นอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมทมี่ ปี ัญหาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))
ปัญหา/อุปสรรค
แนวทางการแก้ไข
104
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 9 ส่วนประกอบของดอก
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9
สว่ นประกอบของดอก
เวลา 3 ชัว่ โมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหน้าทข่ี องราก ลาตน้ ใบ และดอก ของพชื ดอกโดยใช้ขอ้ มูลที่รวบรวมได้
2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. สังเกต ระบุ และบรรยายส่วนประกอบและหนา้ ท่ขี องส่วนประกอบของดอกได้ (K)
2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพอ่ื สงั เกตสว่ นประกอบของดอกได้ตามขัน้ ตอนได้ (P)
3. มีความสนใจและกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นรู้ (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น
ดอกของพืช ทาหน้าท่ีสืบพันธุ์ ดอกของพืช พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ซง่ึ แต่ละส่วนจะทาหน้าที่
แตกตา่ งกัน
4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ดอกของพืชทาหน้าท่ีสืบพันธ์ุ ดอกของพืชโดยทั่วไปประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ได้แก่ กลีบเล้ียง
กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ซ่ึงแต่ละส่วนประกอบของดอก จะทาหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ัย
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้
1) ทักษะการสังเกต 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
2) ทกั ษะการสารวจคน้ หา
3) ทักษะการระบุ
4) ทกั ษะการใหเ้ หตุผล
104
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่งิ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
5) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงท่ี 1
ข้ันนา
ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. ครูให้นาตัวอย่างดอกไม้ 2 ชนิดมาให้นักเรียนดู (เชน่ ดอกกุหลาบและดอกชบา) แล้วให้ร่วมกัน
อภิปรายว่า ดอกไม้ท้ัง 2 ดอกนี้ มีสว่ นประกอบเหมอื นกันหรือแตกตา่ งกนั อย่างไรบ้าง
(แนวตอบ : ขึน้ อยู่กบั ตวั อย่างดอกไม้ท่คี รนู ามาเป็นตัวอย่าง)
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
2. ครูอธบิ ายให้นักเรยี นฟังว่า พืชในโลกนี้มมี ากมายหลายชนดิ พืชบางชนิดมดี อก พชื บางชนิดไม่มี
ดอก พืชดอกจะอาศัยดอกในการสืบพันธุ์ ซึ่งตอ้ งอาศัยส่วนประกอบของดอกทาหนา้ ท่ีเกย่ี วข้องกับ
การสืบพนั ธ์ุ
ข้นั สอน
ขน้ั สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกันศกึ ษาบตั รภาพสว่ นประกอบของดอกไม้ชนิดต่างๆ ทคี่ รแู จกให้ จากนน้ั ครถู าม
คาถามเพอ่ื กระต้นุ ความคิดนกั เรียน ดงั น้ี
1) ดอกไมท้ ุกชนดิ มีส่วนประกอบครบทงั้ 4 สว่ นหรือไม่
(แนวตอบ : ข้นึ อยู่กับตวั อย่างของดอกไม้ทอี่ ย่ใู นบตั รภาพ)
2) ส่วนประกอบใดของดอกไมท้ ี่ทาหน้าทีใ่ นการสืบพนั ธ์ุ
(แนวตอบ : เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี )
105
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
3) ดอกไม้ทีม่ ีลักษณะของส่วนประกอบแต่ละส่วนแตกต่างกัน เชน่ มีลักษณะเกสรเพศผู้
และเกสรเพศเมียต่างกัน มสี ีของกลีบดอกไม่เหมือนกัน จะใช้ดอกในการสืบพันธ์ุได้
เหมือนกันหรอื ไม่ อย่างไร
(แนวตอบ : ได้เหมือนกัน เพราะดอกไมแ้ ตล่ ะดอกจะใชเ้ กสรเพศผู้และเกสรเพศเมียท่ี
อย่ภู ายในดอกในการสืบพนั ธ์ุ)
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
2. ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มแบบคละความสามารถ (เก่ง-คอ่ นขา้ งเก่ง-ปานกลาง-ออ่ น) กลุ่มละ 4 คน
จากนั้นครูแจ้งว่าจะให้นักเรียนได้ทากจิ กรรมการสารวจ และสังเกตส่วนประกอบของดอกไม้ใน
กจิ กรรมท่ี 4 เรื่อง ส่วนประกอบของ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 46 โดยครู
แจง้ จุดประสงคข์ องการทากจิ กรรมให้นกั เรยี นทราบก่อนทากจิ กรรม
3. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกันทากิจกรรมท่ี 4 เรื่อง ส่วนประกอบของ โดยปฏิบัตกิ จิ กรรม ดงั นี้
1) ให้ร่วมกนั ศกึ ษาขัน้ ตอนการทากิจกรรมจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 46 อย่าง
ละเอียด หากมีข้อสงสยั ใหส้ อบถามครู
2) ร่วมกนั กาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานในการทากิจกรรม แล้วบนั ทึกผลลงในแบบฝกึ หัด
วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 41
3) ร่วมกนั ทากิจกรรมตามขัน้ ตอนให้ครบถ้วนและถูกตอ้ งทกุ ขัน้ ตอน จากนน้ั บนั ทึกผล
4) แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั สรุปผลการทากิจกรรมภายในกลมุ่ และบันทกึ ผล
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม)
ช่วั โมงที่ 2
ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain)
1. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับหน้าท่ีและสว่ นประกอบของดอกจากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ หน้า 47 หรือครูอาจเปิด PPT เร่ือง ส่วนประกอบของดอก ให้นกั เรียนดู จากน้ันนา
ให้ช่วยกันรวบรวมข้อมูลเพื่อนาไปอภิปร ายและสรุปร วมกับผลกา รทากิจ กรรมที่ 4 เรื่อง
ส่วนประกอบของดอก
2. ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชน้ั เรียน
3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการสารวจดอกไม้ของเพื่อนกลมุ่ อ่ืนๆ ทไ่ี ม่ซ้ากบั กลุ่มของตนเอง ลงใน
สมุดประจาตัวนักเรียน
4. ครใู ห้นกั เรียนร่วมกันสรปุ ว่า มดี อกไมท้ ี่นามาทากจิ กรรมก่ีชนิด อะไรบ้าง จากนน้ั ใหน้ าข้อมูลการ
ทากจิ กรรมมาอภิปรายและสรปุ ร่วมกัน ดงั นี้
1) มดี อกไม้ทีม่ ีสว่ นประกอบครบทง้ั 4 ส่วนหรือไม่ เปน็ ดอกอะไรบ้าง
106
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
2) มีดอกไม้ทีม่ เี กสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศเมียอยู่ในดอกดียวกนั หรอื ไม่ เปน็ ดอกอะไรบา้ ง
3) มีดอกไมท้ ีม่ ีเกสรเพศผูห้ รือเกสรเพศเมยี เพยี งอย่างเดยี วหรอื ไม่ เปน็ ดอกอะไรบา้ ง
(แนวตอบ : ขึ้นอยูก่ ับผลการทากจิ กรรม ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
ขั้นสรุป
ขน้ั ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาแผนผังความคดิ การจาแนกดอกของพืชโดยใช้เกณฑ์ต่างๆ จาก
ใบความรทู้ ่ี 1.1 เร่ือง การจาแนกดอกของพชื ที่ครแู จกให้ แล้วให้ช่วยกนั จาแนกดอกของพืชที่
นามาทากจิ กรรม โดยจดั ทาเป็นแผนผงั หรือแผนภาพลงในกระดาษแข็ง
2. แต่ละกลมุ่ มสง่ ตัวแทนนาเสนอผลการจาแนกดอกของพชื โดยครูสุ่มเลือกตัวแทนแต่ละกล่มุ ให้
ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียนดว้ ยวธิ ีการจับสลากเลือกลาดับกลุ่ม จากนั้นแตล่ ะกลุ่มเปรยี บเทียบ
ข้อมลู ของกลุ่มตนเองและกลุ่มอ่ืนๆ
3. ครถู ามคาถามนักเรยี นเพื่อขยายความร้วู ่า ถา้ นักเรียนไม่จาแนกดอกของพืชโดยใช้สว่ นประกอบ
ของดอก หรือเกสรในดอกเป็นเกณฑ์ จะสามารถจาแนกดอกของพืช โดยใชเ้ กณฑ์ใดได้อีกบ้าง
4. ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนแสดงความคิดเห็นและตอบคาถามไดอ้ ย่างอิสระ จากนัน้ ครคู อยอธิบายเสริม
และสรุปเพมิ่ เตมิ
(แนวตอบ : เชน่ จานวนกลบี ดอก สขี องดอก ขนาดของดอก กลิ่นของดอก เป็นตน้ )
5. ครูให้นกั เรียนแต่ละคนตดิ ภาพดอกไม้ท่ีตนเองชอบคนละ 1 ชนิด ลงในกระดาษแขง็ แล้วลากเส้น
ชบ้ี อกส่วนประกอบประกอบของดอกไม้ จากนน้ั จัดประกวดผลงานภายในชัน้ เรยี น โดยใหส้ มาชิก
ภายในห้องโหวตเพ่อื ให้คะแนนผลงาน หากนักเรียนคนใดได้รบั คะแนนมากที่สุดถือเป็นผลงานที่
ชนะเลศิ ซึง่ ครอู าจใหร้ างวัลหรอื คาเชยเพือ่ เป็นการเสริมแรงในการทากิจกรรม)
6. ครูให้นกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของดอกจนได้ข้อสรุปวา่ ดอกของพืชทา
หนา้ ท่ีสบื พนั ธ์ุ ดอกของพืชโดยท่ัวไปประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ไดแ้ ก่ กลบี เลีย้ ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้
และเกสรเพศเมยี ซ่ึงแตล่ ะส่วนประกอบของดอกจะทาหนา้ ที่แตกต่างกัน โดยดอกของพืชบางชนิด
มสี ่วนประกอบครบทงั้ 4 ส่วน แตบ่ างชนดิ อาจมีสว่ นประกอบไมค่ รบ 4 สว่ น
7. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 46 ลงในสมุด
ประจาตวั นักเรยี น หรือทาในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 42
8. ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนนากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ 1 จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 48
ไปทาเปน็ การบ้าน โดยให้ทาลงในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรอื ให้นักเรียนทาในใบงานที่ 1.9 เร่ือง
ความแตกตา่ งของสว่ นประกอบของดอกไม้ ทค่ี รูแจกให้แลว้ นามาส่งในชว่ั โมงถดั ไป
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
107
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
ช่ัวโมงท่ี 3
ข้นั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ตอ่ )
9. ครสู นทนากับนักเรียนเพอื่ ทบทวนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนอื้ หาที่ได้เรยี นผ่านมาจากหน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1 บทที่ 2 หน้าที่ของส่วนตา่ งๆ ของพืช โดยสมุ่ เรียกชื่อนักเรียนให้ออกมาเล่าวา่ ตนเอง
ได้รบั ความรูอ้ ะไรบา้ ง
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
10. ให้นักเรยี นเขียนสรปุ ความรู้เก่ียวกบั เรื่องท่ไี ด้เรียนมาจากบทท่ี 2 ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ แผนภาพ
แผนผังความคิด เป็นต้น ลงในสมุดประจาตัวนักเรียน หรืออาจทากิจกรรมสรปุ ความรู้ประจาบทที่
2 ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หน้า 43
11. นักเรยี นทากิจกรรมฝึกทักษะบทที่ 2 จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 49-50 ข้อ 1-5 ลงในสมุด
ประจาตวั นักเรียน หรอื ทาในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 44-47
12. นักเรียนแตล่ ะคนทากจิ กรรมทา้ ทายการคิดขนั้ สูงในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า 48
13. ให้นกั เรยี นแบ่งกล่มุ กลุม่ ละ 3-4 คน จากนน้ั ศกึ ษากิจกรรมสร้างสรรคผ์ ลงานจากหนังสือเรียนหน้า
50 แล้วให้ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมโดยมขี ั้นตอน ดงั นี้
ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มไปสารวจส่วนประกอบภายในดอกของพืชต่างๆ 10 ชนิด ในบรเิ วณโรงเรียน
หรือชมุ ชน
นาข้อมูลมาจัดทาเป็นสมุดภาพ โดยวาดภาพหรือติดภาพพืช พร้อมบอกชื่อและ
สว่ นประกอบภายในดอกของพชื แตล่ ะชนิด
ตกแต่งสมุดให้สวยงาม แล้วนาไปวางไว้ที่มุมอ่านหนังสือตามจุดต่างๆ ของโรงเรียน
เพอ่ื ให้ความรู้
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
14. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง ความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ จาก
แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 50-53
15. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนของหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง ความหลากหลายของ
ส่ิงมชี ีวิต เพอ่ื ตรวจสอบความรคู้ วามเข้าใจหลงั เรียน
ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ใหน้ กั เรยี นดูตารางตรวจสอบตนเอง จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 48 จากนั้นครถู ามนักเรียน
เป็นรายบุคคลตามรายการข้อ 1-5 จากตาราง เพ่ือเป็นการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของ
108
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
นกั เรยี นหลังจากการเรียน หากนกั เรยี นคนใดตรวจสอบตนเองโดยให้อยูใ่ นเกณฑ์ทค่ี วรปรบั ปรงุ ให้
ครูทบทวนบทเรียนหรอื หากจิ กรรมอ่ืนซอ่ มเสรมิ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นมีความรู้ความใจในบทเรียนมากข้นึ
2. ครใู หน้ ักเรียนร่วมกนั ศึกษาแผนผังความคิดสรปุ สาระสาคญั ประจาหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ในหนังสือ
เรยี นวทิ ยาศาสตร์ หน้า 51 จากน้ันครูสุม่ เลอื กนกั เรียนเป็นรายบคุ คลให้บอกเลา่ ความรู้ความเข้าใจ
ท่ีได้รับจากการเรียนในหน่วยการเรยี นรู้นี้
3. ครปู ระเมินผลนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทางานกลุ่ม และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน
4. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมที่ 4 เรอ่ื ง ส่วนประกอบของดอก ในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรือใน
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 41
5. ครูตรวจสอบผลแผนผังหรือแผนภาพการจาแนกดอกของพชื ในกระดาษแขง็
6. ครูตรวจสอบผลภาพดอกไม้ทีต่ นเองชอบคนละ 1 ชนดิ ในกระดาษแขง็
7. ครูตรวจสอบผลการทากจิ กรรมหนตู อบได้ในสมดุ ประจาตวั นกั เรยี น หรือในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
หนา้ 42
8. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ที่ 1 ในสมุดประจาตัวนกั เรยี น หรอื ในใบงานท่ี
1.9
9. ครูตรวจผลการทากจิ กรรมสรุปความรู้ประจาบทที่ 2 ในสมุดประจาตวั นกั เรียน หรือในแบบฝกึ หัด
วทิ ยาศาสตร์ หน้า 43
10. ครูตรวจผลการทากิจกรรมฝึกฝนทักษะบทที่ 2 ในสมุดประจาตวั นักเรียน หรอื ในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 44-47
11. ครตู รวจผลการทากจิ กรรมท้าทายการคิดข้นั สงู ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 48
12. ครตู รวจชน้ิ งานสมุดภาพดอกของพืชและส่วนประกอบของดอก และการนาเสนอชิ้นงาน/ผลงาน
หนา้ ชน้ั เรียน
13. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต
จากแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 50-53
14. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นของหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง ความหลากหลายของ
ส่งิ มีชวี ติ
109
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
7. การวดั และประเมินผล
รายการวัด วธิ ีการ เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
- แบบประเมินชน้ิ งาน/ - ระดับคณุ ภาพ 2
7.1 การประเมนิ ชนิ้ งาน/ - ตรวจผลงานสมุดภาพดอก ผา่ นเกณฑ์
ภาระงาน
ภาระงาน (รวบยอด) ของพืชและสว่ นประกอบ
ของดอก
7.2 ประเมินระหว่าง
การจดั กิจกรรม
การเรยี นรู้
1) ผลบันทกึ การทา - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรือ - สมุดประจาตัว หรือ - ร้อยละ 60
กิจกรรมที่ 4 แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 41 ป.4 เลม่ 1 หนา้ 41
2) กิจกรรมพัฒนาการ - ตรวจสมุดประจาตวั หรือ - สมุดประจาตัว หรอื ใบ - รอ้ ยละ 60
เรยี นรทู้ ี่ 1 ใบงานท่ี 1.9 ใบงานท่ี 1.9 ผ่านเกณฑ์
3) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจาตวั หรือ - สมุดประจาตัว หรือ - รอ้ ยละ 60
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
ป.4 เลม่ 1 หนา้ 42 ป.4 เล่ม 1 หนา้ 42
4) แผนผังหรือ - ตรวจกระดาษแขง็ - กระดาษแข็ง - ร้อยละ 60
แผนภาพการ ผ่านเกณฑ์
จาแนกดอกของพชื
5) ภาพดอกไมท้ ช่ี อบ - ตรวจกระดาษแข็ง - กระดาษแขง็ - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
6) กจิ กรรมสรุปความรู้ - ตรวจสมุดประจาตวั หรือ - สมุดประจาตัว หรอื - รอ้ ยละ 60
ประจาบทที่ 2 แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
ป.4 เล่ม 1 หนา้ 43 แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์
7) กจิ กรรมฝกึ ทักษะ - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรือ
บทท่ี 2 แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน้า 43
ป.4 เล่ม 1 หน้า 44-47
8) กจิ กรรมท้าทายการ - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรอื - สมุดประจาตวั หรอื - รอ้ ยละ 60
คิดข้นั สงู แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หนา้ 48 แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์
9) การนาเสนอผลงาน/ - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลการทากจิ กรรม ผลงาน/ผลการทา ป.4 เลม่ 1 หน้า 44-47
- สมุดประจาตวั หรอื - ร้อยละ 60
แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
ป.4 เล่ม 1 หน้า 48
- แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพ 2
นาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
110
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
กจิ กรรม
10) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
การทางานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์
การทางาน การทางานรายบุคคล
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
รายบคุ คล การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
เกณฑก์ ารประเมนิ
11) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤตกิ รรม เคร่ืองมอื
- แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
การทางานกลมุ่ การทางานกลุ่ม คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์
อนั พึงประสงค์
รายการวัด วิธกี าร - รอ้ ยละ 60
- แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์
12) คุณลักษณะ - สงั เกตความมีวนิ ยั วทิ ยาศาสตร์ ป.4
เลม่ 1 หนา้ 50-53 - รอ้ ยละ 60
อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ ม่ัน - แบบทดสอบหลงั เรยี น ผา่ นเกณฑ์
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1
ในการทางาน
7.3 การประเมินหลังเรยี น
- แบบทดสอบท้าย - ตรวจแบบฝกึ หัด
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1
หน้า 50-53
- แบบทดสอบหลงั - ตรวจแบบทดสอบ
เรียนหน่วยการ หลงั เรียนหนว่ ยการเรยี นรู้
เรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ที่ 1
ความหลากหลาย
ของสงิ่ มีชวี ติ
8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี ีวติ
3) วสั ดุ-อุปกรณ์การทดลองในกิจกรรมท่ี 4 เชน่ แวน่ ขยาย คัตเตอร์ เปน็ ตน้
4) วสั ดุ-อปุ กรณ์ในการทากิจกรรมสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เชน่ สีไม้ สมดุ กระดาษสี เป็นตน้
5) บตั รภาพดอกไม้ชนดิ ต่างๆ เชน่ ดอกชบา ดอกบวั ดอกมะเขือ ดอกพรกิ ดอกดาวเรอื ง เป็นตน้
6) ตัวอย่างดอกไม้ 2 ชนิด เชน่ ดอกกหุ ลาบ ดอกชบา เป็นตน้
7) ใบงานที่ 1.9 เร่ือง ความแตกต่างของสว่ นประกอบของดอกไม้
8) ใบความรู้ที่ 1.1 เรือ่ ง การจาแนกดอกของพืช
9) PowerPoint เรอื่ ง สว่ นประกอดของดอก
10) สมดุ ประจาตวั นกั เรยี น
111
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 9 สว่ นประกอบของดอก
11) กระดาษแข็ง
8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) ห้องสมุด
3) อนิ เทอรเ์ น็ต
112
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความหลากหลายของส่ิงมชี วี ติ
แผนฯ ท่ี 9 ส่วนประกอบของดอก
ตวั อยา่ งบตั รภาพ
113
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของสิง่ มชี วี ติ
แผนฯ ที่ 9 ส่วนประกอบของดอก
ใบความรู้ท่ี 1.1
เร่อื ง การจาแนกดอกของพชื
114
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวติ
แผนฯ ท่ี 9 ส่วนประกอบของดอก
ใบงานท่ี 1.9
เรอื่ ง ความแตกต่างของส่วนประกอบของดอกไม้
ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุม่ แลว้ ร่วมกนั ปฏิบตั ิกจิ กรรม ดงั น้ี
1) ให้แตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกันศกึ ษาภาพดอกของพืชทงั้ 3 ชนิด ที่กาหนดให้
2) สงั เกตส่วนประกอบของดอกวา่ ประกอดดว้ ยส่วนใดบ้าง และมีความความแตกตา่ งกัน
หรอื ไม่ อย่างไร
3) สบื คน้ ขอ้ มูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับดอกของพชื ท้ัง 3 ชนดิ จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ
4) ร่วมกันอภปิ รายภายในกลมุ่ ถงึ ส่งิ ทไ่ี ดจ้ ากการสังเกตและการสืบค้นขอ้ มลู
5) นาเสนอความคิดของกล่มุ หนา้ ช้นั เรียน และให้ครูช่วยสรปุ อกี ครง้ั
ดอกบัว ดอกชบา ดอกมะเขือ
ส่วนประกอบของดอกบัว ไดแ้ ก่
สว่ นประกอบของดอกชบา ได้แก่
ส่วนประกอบของดอกมะเขือ ได้แก่
ส่วนประกอบของดอกของพชื ท้ัง 3 ชนิด มคี วามแตกตา่ งกันหรือไม่ อยา่ งไร
115
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ เฉลย
แผนฯ ที่ 9 ส่วนประกอบของดอก
ใบงานที่ 1.9
เร่ือง ความแตกต่างของส่วนประกอบของดอกไม้
ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุม่ แล้วรว่ มกนั ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ดงั นี้
1) ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั ศกึ ษาภาพดอกของพืชทงั้ 3 ชนิด ท่กี าหนดให้
2) สังเกตสว่ นประกอบของดอกวา่ ประกอดด้วยสว่ นใดบ้าง และมีความความแตกต่างกัน
หรอื ไม่ อยา่ งไร
3) สบื ค้นขอ้ มูลเพม่ิ เติมเก่ียวกับดอกของพชื ทงั้ 3 ชนดิ จากแหลง่ ข้อมลู ตา่ งๆ
4) ร่วมกนั อภิปรายภายในกลมุ่ ถึงสิง่ ท่ไี ดจ้ ากการสงั เกตและการสืบค้นขอ้ มูล
5) นาเสนอความคดิ ของกลุ่มหนา้ ช้ันเรยี น และให้ครูช่วยสรปุ อีกครงั้
ดอกบวั ดอกชบา ดอกมะเขือ
ส่วนประกอบของดอกบัว ได้แก่
กลีบเลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย
ส่วนประกอบของดอกชบา ได้แก่
กลีบเลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี
สว่ นประกอบของดอกมะเขือ ได้แก่
กลบี เล้ียง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย
ส่วนประกอบของดอกของพืชทัง้ 3 ชนดิ มีความแตกตา่ งกนั หรือไม่ อยา่ งไร
ไมแ่ ตกต่างกัน เพราะดอกของพชื ท้ัง 3 ชนิด มสี ่วนประกอบของดอกครบ 4 สว่ น
เหมือนกนั ได้แก่ กลบี เลยี้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี
116
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ
แผนฯ ที่ 9 ส่วนประกอบของดอก
9. ความเหน็ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงชือ่ .................................
( ................................ )
ตาแหนง่ .......
10. บันทกึ ผลหลงั การสอน
ด้านความรู้
ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์
ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมที่มปี ญั หาของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))
ปญั หา/อุปสรรค
117
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 1 ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เวลา 4 ช่ัวโมง
ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด
ว 2.2 ป.4/1 ระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งที่มตี ่อวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์
2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. สังเกตและระบผุ ลของแรงโน้มถ่วงที่มตี อ่ วัตถุได้ (K)
2. ปฏิบตั ิการทดลองเกีย่ วกบั ผลของแรงโน้มถว่ งท่ีมตี ่อวัตถุได้ครบทุกขัน้ ตอน (P)
3. มคี วามสนใจและกระตอื รอื ร้นในการเรยี นรู้ (A)
3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา
สาระการเรียนร้แู กนกลาง
แรงโน้มถว่ งของโลกมที ศิ ทางเขา้ สู่จดุ ศูนย์กลาง
ของโลก มผี ลทาให้วัตถุตกลงสู่พื้นโลกเสมอ
4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
แรงโนม้ ถว่ งของโลกเป็นแรงดึงดดู ท่ีโลกกระทาตอ่ มวลของวตั ถุทุกชนิดท่ีอยูบ่ นโลกและที่อยู่ใกล้โลก
ซง่ึ เปน็ แรงไม่สัมผัส และมีทศิ ทางเข้าสู่จุดศูนยก์ ลางของโลก แรงโนม้ ถว่ งของโลกทาใหว้ ัตถุต่าง ๆ บนโลกมี
นา้ หนกั และตกลงส่พู ้ืนโลกเสมอ
5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ยั
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้
1) ทักษะการสังเกต 3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน
2) ทกั ษะการสรุปอา้ งองิ
3) ทกั ษะการระบุ
4) ทักษะการใหเ้ หตผุ ล
131
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 1 ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ชว่ั โมงท่ี 1
ขน้ั นา
ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครูสนทนากบั นักเรียนโดยถามนักเรยี นวา่ นกั เรียนทราบหรอื ไม่วา่ วันน้ีจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่อง
อะไร แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม จากนัน้ ครูแจ้งช่ือเรื่องที่จะเรยี นรู้ และผลการเรยี นรใู้ ห้
นักเรยี นทราบ
2. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพอื่ วดั ความรู้เดมิ ของนักเรียนกอ่ นเข้าส่กู ิจกรรม
3. ใหน้ ักเรยี นช่วยกนั สงั เกตภาพหน้าหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 52 แลว้ ใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเหน็ รว่ มกันว่า
ภาพน้ีเกี่ยวขอ้ งกับแรงโน้มถ่วงของโลกหรือไม่ อยา่ งไร โดยครคู อยเสรมิ ขอ้ มลู ในส่วนทีบ่ กพรอ่ ง
4. ให้นกั เรยี นเรยี นรคู้ าศัพทท์ ่เี ก่ียวข้องกับการเรยี นในบทที่ 1 แรงโน้มถว่ งของโลก จากภาพในหนังสือ
เรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 53 โดยครสู ุ่มเลือกตัวแทนหรือขออาสาสมคั รนักเรียน 1 คน ออกมาหน้า
ช้นั เรยี นเพ่อื เป็นผอู้ า่ นนา และใหเ้ พอื่ นคนอืน่ ๆ อา่ นตาม ดงั น้ี
Gravitational Force (แกรฟวเิ ท’ชนั เนลิ ฟอซ) แรงโน้มถว่ ง
Mass (แมส) มวล
Weight (เวท) น้ำหนกั
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
5. ครูถามคาถามสาคัญประจาบทจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 53 เพอ่ื กระตุ้นนกั เรยี นทกุ คน
กอ่ นเขา้ สเู่ นื้อหาว่า แรงโน้มถ่วงของโลกมผี ลต่อวัตถุอย่างไร แล้วให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความ
คดิ เห็นอยา่ งอิสระในการตอบคาถาม
(แนวตอบ : แรงโนม้ ถ่วงของโลกทาให้วตั ถมุ นี ้าหนักและตกลงสู่พน้ื โลกเสมอ)
132
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
6. ให้นกั เรียนแต่ละคนสบื ค้นกจิ กรรมในชวี ิตประจาวันที่เกีย่ วขอ้ งกับแรงโน้มถว่ งของโลกจากหนังสือ
เรียนหรือส่ืออื่น ๆ ทีค่ รเู ตรยี มไว้ให้ เชน่ หนังสอื จดุ ประกายคิด ชุด รู้วิทย์ คิดเปน็ เรื่องแรงโนม้ ถ่วง
ของโลก เป็นต้น
7. ใหน้ ักเรียนวาดภาพหรือติดภาพเก่ยี วกับกจิ กรรมท่ีเก่ียวข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลก 2-3 กิจกรรม
ลงในสมดุ ประจาตวั หรือให้นักเรียนทากิจกรรมนาสูก่ ารเรียนในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1
หน้า 54
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล)
ขน้ั สอน
ขน้ั สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูให้นกั เรยี นศึกษาขอ้ มูลและดูภาพในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 54 จากน้ันครูให้นกั เรียน
ตอบคาถามลงในสมดุ ดงั นี้
1) จากภาพตา่ งๆ ในหนังสอื เป็นเหตกุ ารณใ์ ดบา้ ง
(แนวตอบ : น้าตก คนกระโดดรม่ กระจกหลน่ แตก คนเลน่ กฬี า ฝนตก และใบไมร้ ่วง)
2) นักเรียนคิดวา่ วัตถุ สิ่งของ หรือคนในภาพจะตกลงสู่พื้นหรือไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ : ตกลงสู่พ้ืน เพราะโลกมีแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถตุ ่าง ๆ จึงทาใหว้ ัตถุ
สง่ิ ของ หรือคนตกลงสู่พ้ืนเสมอ)
3) นกั เรยี นคดิ ว่า แรงโนม้ ถว่ งเกีย่ วขอ้ งกับการใช้ชีวิตประจาวนั ของนักเรยี นอย่างไรบ้าง
(แนวตอบ : เช่น การยกสง่ิ ของท่ีมนี ้าหนักมาก ๆ ไดย้ าก การทาสิ่งของหล่นพ้ืนจะเกิด
ความเสยี หาย เปน็ ต้น)
2. ครขู ออาสาสมคั รหรือสมุ่ เลือกนักเรยี นจากเลขที่ 4-5 คน ใหอ้ อกมาตอบคาถาม จากน้ันใหน้ ักเรยี น
ทุกคนชว่ ยกนั อภิปรายคาตอบของเพ่ือน และสรุปคาตอบที่ถูกต้องร่วมกัน โดยมคี รูคอยตรวจสอบ
ความถูกต้อง
3. ครูให้คาชมเชยหรือมอบรางวัลให้ตัวแทนนักเรียนท่ีออกมาตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง เพ่อื เปน็ การ
เสรมิ แรงในการกล้าแสดงออก และให้คาชมเชยนักเรยี นทุกคนทีช่ ่วยกนั อภิปรายคาตอบจากคาถาม
ทีค่ รูตั้งไว้
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
ชว่ั โมงที่ 2
133
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
ขน้ั สารวจคน้ หา (Explore) (ตอ่ )
4. ครูให้นักเรยี นทุกคนดบู ัตรภาพใบไม้ร่วงจากต้น หรือให้ดู PPT เร่อื ง แรงโน้มถ่วงของโลก (หน้า
ใบไม้กาลังร่วงจากต้นไม้) จากนั้นถามคาถามเพ่อื กระตุ้นความคดิ นักเรียนวา่ นักเรยี นคดิ ว่า ใบไมใ้ น
ภาพจะหล่นลงสพู่ ื้นโลกหรือไม่ เพราะอะไร และใหน้ ักเรียนตอบคาถามโดยอสิ ระ ซึ่งครูยงั ไม่เฉลย
คาตอบ
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
5. ครชู ีแ้ จงให้นักเรียนฟังวา่ นกั เรยี นจะไดค้ าตอบจากการทากจิ กรรมที่ 1 เร่ือง ผลของแรงโน้มถว่ ง
6. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถ (เก่ง-ค่อนข้างเก่ง-ปานกลาง-อ่อน) ให้อยู่ในกลุ่ม
เดยี วกนั กลมุ่ ละ 3-4 คน โดยครเู ป็นผู้เลือกนกั เรยี นเข้ากลุ่ม
7. ครใู ชว้ ธิ ีการสอนแบบการทดลอง (Experiment) เข้ามาจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในชวั่ โมงน้ี
โดยครูตงั้ ประเดน็ คาถามเพ่อื กาหนดปญั หาใหน้ กั เรียนก่อนการทากิจกรรมวา่ แรงโน้มถ่วงของโลก
มผี ลต่อวัตถตุ ่าง ๆ บนโลกอยา่ งไร แลว้ ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ตั้งสมมตฐิ าน
8. ครใู ห้ความรคู้ วามเข้าใจนักเรียนก่อนทากิจกรรมว่า แรงโน้มถว่ งของโลกเป็นแรงไมส่ ัมผสั เพราะ
แรงดึงดูดของโลกสามารถดึงดดู วัตถุต่าง ๆ บนโลกและท่อี ยู่ใกล้โลกให้เข้าหาจุดศูนย์กลางของโลก
ไดโ้ ดยท่ีไม่ต้องสัมผัส
9. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ศึกษาวธิ ีการทากิจกรรมท่ี 1 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 55 จากน้ัน
ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกนั ลงมือทากจิ กรรม โดยสังเกตวัตถุตา่ ง ๆ ทน่ี ามาใช้ในการทากิจกรรม
แล้วคาดคะเนว่า เม่ือโยนวัตถุตา่ ง ๆ ข้นึ ไปในอากาศ วัตถุจะตกลงสู่พ้ืนหรือไม่ แลว้ บนั ทกึ ผลลงใน
สมดุ ประจาตวั หรือแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 56
10. ใหส้ มาชกิ ทกุ คนชว่ ยกนั ทากจิ กรรมเพ่ือตรวจสอบผลการคาดคะเน ดงั นี้
1) ขยาแผน่ กระดาษใหเ้ ปน็ ก้อน แล้วโยนข้ึนไปในอากาศ
2) สังเกตการเคลอื่ นท่ีของก้อนกระดาษและบันทกึ ผล พรอ้ มวาดภาพการเคลือ่ นทล่ี งในสมุด
หรอื แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หนา้ 56
3) ใหท้ าการทดลองซ้าโดยเปลยี่ นวัตถเุ ปน็ ใบไม้ ถุงพลาสติก และยางลบ ตามลาดบั จากนั้น
สังเกตและบนั ทกึ ผล
11. ครูคอยสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียนแต่ละกลุม่ อย่างใกล้ชดิ พร้อมกับคอยให้คาแนะนากับ
นกั เรียนท่มี ีข้อสงสัยระหว่างการทากจิ กรรม
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
ขัน้ อธิบายความรู้ (Explain) ชั่วโมงท่ี 3
134
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
1. ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพใบไม้ร่วงจากต้นไม้อีกครงั้ (บัตรภาพจากตน้ ช่ัวโมงก่อน) จากน้ันให้
นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายว่า เพราะเหตใุ ดใบไม้จึงร่วงลงสพู่ ้ืนโลก
2. ครจู ับสลากเลอื กลาดับของแตล่ ะกลุ่มให้ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม โดยให้นักเรียนกลมุ่ ท่ี
ถกู เลอื กเป็นอันดบั แรกส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลกา รทดลองทีละกล่มุ จนครบ เพ่อื ตรวจสอบ
ความร้ขู องนักเรยี นหลังการทากจิ กรรมที่ 1
3. ให้นกั เรียนทุกกลมุ่ รว่ มกนั อภิปรายผลการทาการทดลองจนได้ข้อสรปุ ว่า วตั ถุทุกชนิดจะตอ้ งตกลงสู่
พน้ื โลกเสมอ เพราะโลกมีแรงโน้มถว่ งทีก่ ระทาตอ่ วัตถุต่าง ๆ ทาใหว้ ัตถุมีนา้ หนัก เม่อื โยนวัตถขุ ้ึน
ไปในอากาศหรือปลอ่ ยวัตถจุ ากทส่ี ูง วัตถจุ ะตกลงส่พู ้ืนโลกเสมอ โดยให้ครูคอยเสนอแนะเพิ่มเตมิ ใน
ส่วนท่ีบกพร่อง
ขัน้ สรปุ
ข้นั ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาข้อมลู ลกั ษณะของแรงโน้มถว่ งของโลกจากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 56-57
2. ให้นักเรียนจับคู่กบั เพอื่ นแล้วไปเรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของแรงโนม้ ถว่ งของโลกเพม่ิ เตมิ จาก
สอ่ื ดิจิทัลจากในหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 56 โดยใช้โทรศพั ทม์ ือถือสแกน QR Code เรือ่ ง
แรงโนม้ ถว่ งของโลก
3. ให้นักเรียนนาความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาข้อมลู จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 56-57 และ
ความรจู้ ากการสแกน QR Code เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มาอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะของแรง
โน้มถ่วงของโลก ผลของแรงโน้มถ่วงของโลกท่ีมีตอ่ วัตถุ และร่วมกันสรปุ ภายในชัน้ เรยี น โดยให้ครู
คอยอธิบายเสรมิ เพิ่มเตมิ
4. ให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบคาถามจากกิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ที่ 1 ในหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า
57 โดยใหค้ รูเป็นผู้เฉลยและอธิบายเพ่ิมเตมิ จากเหตุผลท่นี ักเรยี นช่วยกันตอบ
5. ครูแจกใบงานท่ี 2.1 เรื่อง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก ให้นกั เรยี นทกุ คนนากลบั ไปทาเป็นการบา้ น
แล้วนามาสง่ ในชั่วโมงเรียนถดั ไป
ชวั่ โมงท่ี 4
ข้ันขยายความเข้าใจ (Elaborate) (ตอ่ )
6. ครูสอบถามนักเรียนว่า แรงโน้มถ่วงของโลกมปี ระโยชน์หรอื มขี อ้ จากัดในการใช้ชีวิตประจาวันของ
เราอย่างไรบา้ ง จากน้ันขออาสาสมัครนักเรียน 8 คน โดยแบง่ ออกเป็น 2 ทมี แล้วใหแ้ ตล่ ะทีมระดม
ความคดิ และหาคาตอบเพ่อื นาไปเขียนบนกระดาน ดงั น้ี
1) ทมี ท่ี 1 ใหอ้ อกมาเขียนบนกระดานถึงประโยชนข์ องแรงโน้มถ่วงของโลก
135
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก
2) ทมี ท่ี 2 ให้ออกมาเขียนบนกระดานถงึ ข้อจากัดในการใชช้ ีวิตประจาวันจากแรงโน้มถ่วง
ของโลก
7. ครูให้นักเรยี นที่เหลอื ในหอ้ งชว่ ยกันตรวจสอบคาตอบบนกระดาน แล้วให้เสนอคาตอบเพม่ิ เตมิ ได้
8. ครูใหค้ าชมหรอื รางวัลกับท้ัง 2 ทีม และนักเรยี นท่เี สนอคาตอบเพิม่ เติม เพื่อเสริมแรงในการเรยี นรู้
9. ครใู ห้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระวา่ เพราะเหตุใด เครอื่ งบนิ ที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า
จงึ ไมต่ กลงมาตามแรงโน้มถว่ งของโลก
10. ให้นักเรียนแต่ละคนทากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 55 ลงในสมุด
ประจาตวั นักเรียนหรอื ทาในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หนา้ 57
ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูส่มุ นักเรียนตามเลขที่ 4-5 คน จากนั้นให้แตล่ ะคนอธิบายความรู้เกย่ี วกับผลของแรงโนม้ ถว่ งของ
โลกท่มี ตี ่อวตั ถุ จากน้ันใหน้ ักเรียนทงั้ หอ้ งสรุปความรรู้ ่วมกนั
2. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจกอ่ นเรียนของนักเรียน
3. ครูประเมินผลนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
พฤติกรรมการทางานกลมุ่ และจากการนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชน้ั เรยี น
4. ครูตรวจสอบการวาดภาพหรอื ตดิ ภาพเกี่ยวกับกิจกรรมทีเ่ ก่ียวข้องกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกในสมุด
ประจาตวั นกั เรยี น หรือตรวจผลการทากิจกรรมนาส่กู ารเรียนในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 54
5. ครูตรวจสอบผลการทากิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก ในสมุดประจาตวั นักเรียน
หรอื ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 56
6. ครตู รวจสอบผลการทากิจกรรมหนตู อบไดใ้ นสมุดประจาตวั นักเรียนหรอื แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์
หนา้ 57
7. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
7.1 การประเมนิ ก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ประเมินตามสภาพ
จริง
เรียน หนว่ ยการ เรียน
เรียนร้ทู ่ี 2 แรงโนม้
136
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 1 ผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก
ถว่ งของโลกและ - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรอื - สมุดประจาตวั หรือ - รอ้ ยละ 60
ตัวกลางของแสง แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
7.2 ประเมินระหว่าง ป.4 เล่ม 1 หนา้ 54 ป.4 เล่ม 1 หน้า 54
การจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรอื - สมดุ ประจาตวั หรอื - ร้อยละ 60
1) วาดภาพ/ติดภาพ แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์
แรงโน้มถว่ งของโลก ป.4 เลม่ 1 หน้า 56 แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
หรอื กจิ กรรมนาสู่
การเรยี น
2) ผลบันทึกการทา
กิจกรรมท่ี 1
ป.4 เล่ม 1 หนา้ 56
3) กจิ กรรมหนตู อบได้ - ตรวจสมดุ ประจาตัว หรอื - สมุดประจาตวั หรอื - ร้อยละ 60
แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 57 แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์
ป.4 เล่ม 1 หน้า 57
4) ระบุผลของแรง - ตรวจใบงานท่ี 2.1 - ใบงานที่ 2.1 - รอ้ ยละ 60
โน้มถ่วงของโลก
ผ่านเกณฑ์
5) การนาเสนอผล - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพ 2
การทากจิ กรรม ผลการทากจิ กรรม
นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
6) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
การทางาน การทางานรายบุคคล
รายบคุ คล การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์
- สงั เกตพฤติกรรม
7) พฤตกิ รรม การทางานกลุ่ม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
การทางานกลมุ่ การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมนิ
8) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมวี ินยั คุณลกั ษณะ - ระดบั คุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มั่น อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
ในการทางาน
8. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
137
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
8.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกฯ
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกฯ
3) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกิจกรรมที่ 1 เชน่ กระดาษ ยางลบ ใบไม้แหง้ ถงุ พลาสติก เป็นต้น
4) หนังสือจดุ ประกายคิด ชุด ร้วู ิทย์ คิดเปน็ เรอ่ื งแรงโน้มถ่วงของโลก
5) ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
6) PowerPoint เรื่อง ใบไมร้ ว่ งจากตน้
7) QR Code เร่ือง แรงโน้มถว่ งของโลก
8) สมดุ ประจาตวั นกั เรียน
9) บัตรภาพใบไม้รว่ ง
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) ห้องสมุด
3) อนิ เทอรเ์ นต็
138
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโน้มถ่วงของโลก
ใบงานท่ี 2.1
เรอ่ื ง ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นดูภาพแล้วบอกวา่ เก่ียวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกอย่างไร
1. ภาพ
เกีย่ วขอ้ งกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลกอยา่ งไร
2.
ภาพ
เกี่ยวขอ้ งกบั แรงโน้มถ่วงของโลกอย่างไร
3.
ภาพ
เกี่ยวขอ้ งกบั แรงโน้มถ่วงของโลกอยา่ งไร
139
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 1 ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
ใบงานที่ 2.1 เฉลย
เรอ่ื ง ผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลก
คาชีแ้ จง : ให้นักเรยี นดภู าพแล้วบอกวา่ เกี่ยวขอ้ งกับแรงโนม้ ถว่ งของโลกอย่างไร
1. ภาพ นา้ ตก
เกย่ี วขอ้ งกับแรงโน้มถว่ งของโลกอยา่ งไร
แรงโนม้ ถว่ งของโลกดงึ ดูดให้น้าไหลจาก
ทสี่ งู ลงสทู่ ต่ี ่า
2. ภาพ แก้วนา้ หล่นแตก
เก่ียวขอ้ งกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลกอยา่ งไร
แรงโน้มถ่วงของโลกดงึ ดูดใหส้ ิ่งของต่างๆ หล่น
ลงพ้ืนเสมอ แกว้ น้าเม่ือหล่นลงพื้นจงึ เกดิ ชารดุ
เสยี หาย
3.
ภาพ ชง่ั น้าหนักส่งิ ของ
เกีย่ วข้องกบั แรงโนม้ ถ่วงของโลกอย่างไร
140
แรงโน้มถว่ งของโลกทาใหส้ ิ่งของหรือวตั ถุต่างๆ
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 1 ผลของแรงโน้มถว่ งของโลก
9. ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรอื ผูท้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงชอ่ื .................................
( ................................ )
ตาแหนง่ .......
10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
ด้านความรู้
ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
141
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 1 ผลของแรงโนม้ ถว่ งของโลก
ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์
ด้านอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถา้ มี))
ปญั หา/อุปสรรค
แนวทางการแกไ้ ข
142
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 2 การหานา้ หนักของวตั ถุ
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เวลา 3 ช่ัวโมง
การหาน้าหนักของวัตถุ
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวดั
ว 2.2 ป.4/1 ระบุผลของแรงโนม้ ถว่ งท่ีมตี ่อวัตถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
ป.4/2 ใชเ้ คร่ืองชัง่ สปรงิ ในการวดั นา้ หนักของวตั ถุ
2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. สงั เกตและระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งที่มตี ่อวัตถุได้ (K)
2. สงั เกตและอธิบายการวดั นา้ หนกั ของวตั ถโุ ดยใชเ้ คร่ืองชัง่ สปริงได้ (K)
3. ใช้เครื่องชง่ั สปรงิ วัดน้าหนักของวตั ถตุ ่างๆ ได้ (P)
4. ใหค้ วามร่วมมอื ในการท้ากิจกรรมกลุ่ม (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่
แรงโนม้ ถ่วงของโลกทา้ ให้วตั ถุต่างๆ มีนา้ หนัก ซ่งึ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
สามารถวัดน้าหนักของวัตถุได้โดยใช้เคร่อื งชั่งสปรงิ
4. สาระส้าคญั /ความคดิ รวบยอด
แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงดึงดูดของโลกทกี่ ระท้าต่อมวลของวัตถุต่างๆ จึง ทา้ ให้วัตถเุ หล่านันมี
น้าหนัก ทีต่ ้าแหนง่ เดยี วกันบนโลก ถ้าวตั ถใุ ดมมี วลน้อย แรงดงึ ดูดของโลกทกี่ ระทา้ ตอ่ วตั ถนุ ันจะมคี ่านอ้ ย
วตั ถุจงึ มีน้าหนักน้อย ถ้าวัตถุใดมีมวลมาก แรงดงึ ดูดของโลกท่ีกระท้าต่อวัตถุนันจะมีค่ามาก วัตถจุ ึงมี
นา้ หนกั มาก ซง่ึ เราสามารถวดั น้าหนักของวตั ถตุ า่ งๆ ได้โดยใช้เครือ่ งช่ังสปรงิ
5. สมรรถนะสา้ คัญของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะส้าคัญของผูเ้ รยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
141
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 2 การหาน้าหนกั ของวตั ถุ
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ัย
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้
1) ทกั ษะการสังเกต 3. มุ่งมั่นในการทา้ งาน
2) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ
3) ทกั ษะการตงั สมมตฐิ าน
4) ทกั ษะการทดสอบสมมติฐาน
3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ชวั่ โมงที่ 1
ขันน้า
ขนั กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครสู นทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกบั เร่ืองผลของแรงโน้มถ่วงทไี่ ด้เรียนจากชั่วโมงท่ีผ่านมา จากนันครูแจ้ง
ชอ่ื เรอื่ งและผลการเรียนรู้ทีจ่ ะเรียนในวันนใี ห้นักเรยี นทราบ
2. ครูสมุ่ นักเรียนตามลา้ ดับเลขที่มา 1 คน ให้ออกมาหน้าชันเรยี น แล้วให้นักเรียนท่ีเหลอื ในห้อง
รว่ มกันคาดคะเนว่า เพ่อื นท่ีอย่หู นา้ ห้องกับตนเองมีน้าหนกั เทา่ กันหรอื ไม่ จากนันครูใหน้ ักเรียน
บอกนา้ หนกั ของตัวเองทลี ะคน
3. ครูถามค้าถามเพอื่ กระตนุ้ ความคิดของนักเรยี นต่อว่า นักเรียนคดิ ว่า วัตถุต่างๆ ท่ีเราพบเห็นใน
ชวี ิตประจ้าวนั มนี า้ หนกั เทา่ กนั หรอื ไม่ เพราะเหตุใด จากนนั ให้นักเรยี นแต่ละคนตอบคา้ ถามอย่าง
อสิ ระ
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล)
ขันสอน
ขนั สา้ รวจค้นหา (Explore)
1. ครถู ามคา้ ถามกระตุ้นนกั เรยี น ดังนี
1) นกั เรยี นสามารถทราบนา้ หนกั ของตนเองไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ : ชง่ั นาหนกั โดยใชเ้ ครอ่ื งชง่ั นาหนัก)
142
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 2 การหาน้าหนกั ของวัตถุ
2) เครอ่ื งมอื ใดทใ่ี ชใ้ นการหาน้าหนักของวตั ถตุ ่างๆ
(แนวตอบ : เครอ่ื งชัง่ )
2. ครูชีแจงใหน้ กั เรยี นฟงั ว่า นกั เรียนจะไดเ้ รยี นรูก้ ารวดั น้าหนกั ของวตั ถตุ ่างๆ จากการท้ากิจกรรมท่ี 2
เรือ่ ง แรงดงึ ดดู ของโลกกบั นา้ หนักของวตั ถุ ในตอนท่ี 1 และตอนที่ 2 จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์
ป.4 เลม่ 1 หน้า 58-59
3. ครใู หน้ ักเรียนแบ่งกลุ่มกล่มุ ละ 4 คน โดยครูใช้วิธีการจบั สลากหมายเลขกลมุ่ กลุ่มที่ 1-10 หาก
นกั เรียนคนใดจับสลากได้หมายเลขใดก็ใหไ้ ปอยู่ที่กลมุ่ นนั จากนนั ครใู หน้ ักเรียนแต่ละคนเขา้ กลุ่ม
ของตนเอง
4. ครใู ชว้ ิธีการสอนโดยการลงมอื ปฏบิ ัติ (Practice) เขา้ มาจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในชว่ั โมงนี
โดยครกู า้ หนดจุดม่งุ หมายและข้อปฏบิ ตั ใิ นการท้ากิจกรรมให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ ทราบ ดังนี
1) ให้สมาชิกทุกคนในกลุม่ ช่วยกันศึกษาวิธกี ารท้ากจิ กรรมท่ี 2 เรือ่ ง แรงดงึ ดูดของโลกกับ
น้าหนกั ของวัตถุ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 58-59
2) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทา้ กจิ กรรมให้ครบถว้ น จากนันให้รว่ มกันก้าหนดปัญหาและ
ตังสมมติฐานในการท้ากิจกรรม แลว้ บันทกึ ผลลงในสมดุ ประจ้าตัวนักเรยี นหรอื บันทึกใน
แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หนา้ 60
3) ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ และท้าความเข้าใจเกยี่ วกับวิธกี ารท้ากจิ กรรมท่ีถกู ต้องตามทไ่ี ด้
ศกึ ษา
5. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกล่มุ สังเกตเคร่ืองชง่ั สปริงแบบแขวนและตัวเลขบนเครื่องชงั่ แล้ววาดภาพลงใน
ในสมุดประจ้าตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 60 จากนันร่วมกันแสดงความ
คิดเหน็ เกี่ยวกบั วิธีการใชง้ านเครื่องชั่งสปรงิ ภายในกลุ่ม
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
6. ครูใหค้ วามรเู้ พ่ิมเติมกอ่ นท้ากจิ กรรมกับนักเรียนว่า แรงดงึ ดดู ของโลกจะกระทาต่อมวลของวัตถุ
ต่างๆ จึงทาให้วัตถุมีนาหนกั ซ่ึงการวดั นาหนักของวัตถตุ ่างๆ บนโลก สามารถทาได้โดยใช้เคร่ืองชั่ง
สปรงิ
7. ครูให้สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มชว่ ยกนั สังเกตวัตถุที่ใช้ในการท้ากิจกรรม แล้วช่วยกนั คาดคะเนวา่ วัตถุ
เหล่านันมีนา้ หนักเท่าใด และบนั ทกึ ผลในสมุดประจ้าตัวนักเรยี นหรอื ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์
หนา้ 60 ตอนท่ี 1
8. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ช่วยกนั ท้ากจิ กรรมเพ่อื ตรวจสอบผลการคาดคะเน ดังนี
1) สังเกตตัวเลขบนเครือ่ งชงั่ สปริงแบบแขวน จากนนั น้าถ่านไฟฉายใส่ถงุ พลาสติกแลว้ แขวน
กบั ตะขอของเครื่องชงั่ สปรงิ
2) สังเกตตวั เลขบนเครือ่ งช่งั อีกครัง แล้วบนั ทึกค่าทอี่ า่ นได้ (ทา้ ซา้ อกี 2 ครัง แลว้ หาคา่ เฉลี่ย)
3) ท้ากิจกรรมซ้าโดยเปลย่ี นวัตถเุ ป็นดินน้ามัน ถงุ ทราย และกอ้ นหนิ ตามล้าดบั แล้วบันทึก
ผลลงในสมุดประจ้าตวั นักเรยี นหรอื ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ หนา้ 60 ตอนที่ 1
143
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 2 การหานา้ หนักของวตั ถุ
4) รว่ มกันสรปุ ผลการทา้ กิจกรรมภายในกลมุ่
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ )
ชัว่ โมงท่ี 2
ขันส้ารวจค้นหา (ต่อ) (Explore)
9. ครูสนทนากับนกั เรียนเพื่อทบทวนเกย่ี วกบั การใช้เครอ่ื งชั่งสปรงิ แบบแขวนวัดน้าหนกั ของวตั ถุจาก
ช่ัวโมงท่ผี า่ นมา
10. ครูใหน้ กั เรยี นจับกล่มุ เดิมแล้วท้ากิจกรรมท่ี 2 เรอ่ื ง แรงดงึ ดูดของโลกกับน้าหนักของวตั ถุ ตอนที่ 2
ต่อ โดยให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสงั เกตเคร่อื งชั่งสปริงแบบตังและตวั เลขบนเครอื่ งช่ัง แล้ววาดภาพลง
ในสมุดประจ้าตัวนกั เรยี นหรือแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ หน้า 61 จากนันร่วมกนั แสดงความคิดเห็น
เกย่ี วกับวธิ ีการใชง้ านเครอ่ื งช่ังสปรงิ ภายในกลุ่ม
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )
11. ครูให้สมาชิกทกุ คนในกลุ่มชว่ ยกันสังเกตวัตถทุ ใ่ี ช้ในการท้ากิจกรรม ตอนที่ 2 แล้วช่วยกนั คาดคะเน
ว่า วัตถุเหล่านนั มีน้าหนักเท่าใด และบันทกึ ผลลงในสมดุ ประจ้าตัวนักเรียนหรือในแบบฝึกหัด
วทิ ยาศาสตร์ หน้า 61
12. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั ทา้ กิจกรรมเพือ่ ตรวจสอบผลการคาดคะเน ดังนี
1) สังเกตเขม็ ที่ชตี ัวเลขบนเครือ่ งช่ังสปรงิ แบบตงั จากนันวางเคร่อื งสปรงิ แบบตังไว้ในระดับ
เดียวกนั กับพืนราบ
2) นา้ กล่องดินสอวางบนถาดเคร่อื งชั่ง แล้วสังเกตเขม็ ที่ชีตัวเลขจากเคร่ืองชง่ั อกี ครงั แล้ว
บนั ทึกค่าทอ่ี า่ นได้ (ทา้ ซ้าอกี 2 ครัง แล้วหาคา่ เฉล่ยี )
3) ทา้ กิจกรรมซ้าโดยเปลี่ยนวัตถุเป็นหนังสือ ถงุ ทราย และผลไม้ (ครูเตรียมไวใ้ ห้ 1 ชนิด)
ตามลา้ ดับ แลว้ บันทกึ ผลลงในสมุดประจา้ ตัวนักเรียนหรอื ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ หน้า
61
4) รว่ มกันสรุปผลการทา้ กจิ กรรมภายในกลุ่ม
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ )
ขันอธิบายความรู้ (Explain)
1. ครูจับสลากเลือกล้าดบั ของแตล่ ะกลุ่มให้ออกมานา้ เสนอผลการท้ากิจกรรมที่ 2 ตอนท่ี 1-2 โดยให้
นักเรยี นกลมุ่ ทีถ่ กู เลอื กกอ่ นสง่ ตัวแทนออกมาน้าเสนอผลการทา้ กจิ กรรม
2. นกั เรียนทุกกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายผลการท้ากจิ กรรมจนได้ข้อสรุปวา่ มวลของวตั ถุมีผลต่อแรงดงึ ดูด
ของโลก สังเกตได้จากการยืดของสปรงิ ในเครอื่ งชั่งสปรงิ หากวัตถุใดมีมวลน้อย แรงโน้มถ่วงของ
โลกทีก่ ระทาต่อวตั ถุจะนอ้ ย ทาให้วตั ถุมีนาหนักน้อย หากวัตถุใดมีมวลมาก แรงโน้มถว่ งขอ งโลกท่ี
144
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ท่ี 2 การหาน้าหนักของวัตถุ
กระทาตอ่ วัตถจุ ะมากขนึ ทาให้วตั ถุมนี าหนักมาก ดงั นัน แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทาตอ่ วตั ถุแตล่ ะ
ชนดิ จึงมีคา่ แตกต่างกัน และเราสามารถวัดนาหนักของวัตถุได้โดยใช้เคร่อื งชง่ั สปริง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
ชวั่ โมงที่ 3
ขันสรปุ
ขันขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. ครูให้นักเรียนศกึ ษาเนือหาเพ่ิมเตมิ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หนา้ 60-62 และศึกษาขอ้ มูล
เพ่ิมเติมจากสอ่ื ดิจิทัลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ หน้า 61 โดยให้ใช้โทรศัพท์มือถือสแกน
QR Code เรอ่ื ง ปจั จัยท่มี ผี ลต่อนา้ หนักของวัตถุ จากนันรว่ มกันสรุปความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษา
2. ครูถามคา้ ถามท้าทายการคดิ ขันสงู จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ หน้า 60 และหน้า 62 แล้วให้
นักเรยี นรว่ มกันตอบคา้ ถามอย่างอิสระ โดยครคู อยเฉลยและอธบิ ายเพิ่มเติม ดังนี
“การที่แรงโน้มถว่ งของโลกดึงดูดให้ส่งิ ต่างๆ ตกลงสู่พนื โลก ทาใหต้ ัวเราและวัตถตุ ่างๆ มี
นาหนักเชน่ เดยี วกัน เพราะถ้าไม่มีแรงโน้มถ่วง ตัวเราและวตั ถตุ ่างๆ ก็จะอย่ใู นสภาพไร้
นาหนกั ” นักเรียนคดิ วา่ คนเราสามารถอย่ใู นสภาพไรน้ าหนกั ได้หรอื ไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ : คนเราไม่สามารถอยู่ในสภาพไร้นาหนักได้ เพราะถ้าไม่มีแรงโน้มถว่ งของโลก
คนและสง่ิ ตา่ งๆ บนโลกจะลอยเควง้ คว้างไปมาในอากาศ และจะทาให้เราเคล่ือนท่ไี ปใน
บรเิ วณทต่ี อ้ งการได้ยากลาบาก)
นาหนกั ของวตั ถุ มีความเกยี่ วขอ้ งกับแรงโน้มถ่วงของโลกอยา่ งไร
(แนวตอบ : นาหนักของวัตถเุ กิดขึนจากแรงโนม้ ถ่วงของโลกกระทาต่อมวลของวัตถุ จึงทา
ให้วัตถุมนี าหนกั )
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล)
3. ครูตังค้าถามเพิม่ เตมิ เพอ่ื ตรวจสอบความรู้ของนักเรยี น โดยส่ังเลอื กนักเรยี นใหต้ อบคา้ ถาม 3-4 คน
ดงั นี
นาหนักของวัตถุที่นามาชงั่ บนโลกและนาหนักของวัตถุที่ช่ังบนดวงจันทร์แตกต่างกัน
อย่างไร
(แนวตอบ : นาหนกั ของวตั ถุที่ช่งั บนโลกจะมคี ่ามากกว่านาหนักของวัตถทุ ่ีชง่ั บนดวงจันทร์)
ถ้านักบนิ อวกาศชั่งนาหนกั ตวั ของตนเองบนโลกและบนดวงจันทรจ์ ะไดน้ าหนกั แตกต่างกัน
หรอื ไม่ เพราะอะไร
(แนวตอบ : ต่างกัน เพราะดวงจันทร์กบั โลกมแี รงโนม้ ถ่วงท่แี ตกตา่ งกัน 6 เทา่ )
145
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 2 การหาน้าหนกั ของวัตถุ
4. ครูให้นักเรยี นแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 5 คน จากนันใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ไปวัดหาน้าหนกั ของสมาชิกภายในกลุ่ม
โดยใช้เคร่ืองชงั่ สปริง แล้วเปรียบเทียบผลวา่ นา้ หนกั ของใครมากท่ีสดุ และนา้ หนักของใครนอ้ ยทสี่ ุด
จากนันน้าเสนอข้อมลู หน้าชนั เรียน
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม)
5. ให้นักเรียนแต่ละคนท้ากิจกรรมหนูตอบได้จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หน้า 59 ลงในสมุด
ประจา้ ตัวนักเรยี นหรอื ทา้ ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ หนา้ 62
ขนั ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูส่มุ ถามนกั เรียนเป็นรายบุคคลเกี่ยวกบั การวดั น้าหนักของวตั ถุโดยใชเ้ ครื่องชั่งสปรงิ และปจั จยั ท่ีมี
ผลต่อน้าหนกั ของวัตถุ เพ่ือเปน็ การสรปุ ความรหู้ ลงั จากทไี่ ดเ้ รียนมา
2. ครูประเมินผลนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบค้าถาม พฤตกิ รรมการท้างานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทา้ งานกลุม่ และจากการนา้ เสนอผลการทา้ กจิ กรรมหนา้ ชนั เรียน
3. ครูตรวจสอบผลการท้ากิจกรรมท่ี 2 เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลกกับน้าหนักของวัตถุ ในสมุด
ประจา้ ตวั นกั เรยี น หรอื ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ หน้า 60-61
4. ครตู รวจผลการทา้ กิจกรรมการวดั นา้ หนักของสมาชิกในกลมุ่ จากสมุดประจา้ ตวั นักเรียน
5. ครตู รวจสอบผลการท้ากจิ กรรมหนตู อบได้ในสมุดประจ้าตัวนักเรียน หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์
หน้า 62
7. การวัดและประเมินผล
รายการวดั วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน
7.2 ประเมินระหวา่ ง
การจัดกจิ กรรม
การเรยี นรู้
1) ผลบนั ทึกการทา้ - ตรวจสมุดประจา้ ตัว หรือ - สมดุ ประจ้าตัว หรอื - รอ้ ยละ 60
แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
กจิ กรรมท่ี 2 แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หน้า 60-61
ป.4 เล่ม 1 หน้า 60-61
2) การวัดนา้ หนกั ของ - ตรวจสมดุ ประจ้าตัว - สมดุ ประจา้ ตัว - ร้อยละ 60
สมาชกิ ในกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์
รายการวดั วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน
3) กจิ กรรมหนูตอบได้ - ตรวจสมดุ ประจ้าตัว หรือ
แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ - สมดุ ประจา้ ตัว หรอื - ร้อยละ 60
แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์
146
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตัวกลางของแสง
แผนฯ ที่ 2 การหาน้าหนักของวัตถุ
ป.4 เล่ม 1 หน้า 62 ป.4 เล่ม 1 หนา้ 62
- แบบประเมินการ
4) การนา้ เสนอผล - ประเมนิ การน้าเสนอ น้าเสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2
- แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
การท้ากจิ กรรม ผลการท้ากิจกรรม การทา้ งานรายบุคคล
- ระดบั คณุ ภาพ 2
5) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
การทา้ งาน การท้างานรายบุคคล
รายบุคคล
6) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
การทา้ งานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์
การท้างานกล่มุ การท้างานกลุ่ม - แบบประเมิน
คณุ ลักษณะ - ระดบั คุณภาพ 2
7) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมีวนิ ยั อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น
ในการท้างาน
8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกฯ
2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโน้มถ่วงของโลกฯ
3) วสั ดุ-อปุ กรณ์การทดลองในกจิ กรรมท่ี 2 เช่น ถา่ นไฟฉาย ถุงทราย ถงุ พลาสตกิ เป็นตน้
4) QR Code เร่อื ง ปจั จัยทมี่ ผี ลตอ่ น้าหนกั ของวตั ถุ
5) สมดุ ประจา้ ตัวนักเรียน
6) เครือ่ งชั่งสปรงิ แบบแขวน
7) เครอ่ื งชงั่ สปริงแบบตงั
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) หอ้ งสมุด
3) อนิ เทอร์เน็ต
147
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 2 การหานา้ หนกั ของวตั ถุ
9. ความเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงช่ือ .................................
( ................................ )
ต้าแหนง่ .......
10. บนั ทกึ ผลหลังการสอน
ด้านความรู้
ด้านสมรรถนะส้าคัญของผ้เู รยี น
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์
ด้านอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมท่มี ีปญั หาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี )
ปัญหา/อุปสรรค
148
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ที่ 2 การหานา้ หนักของวตั ถุ
แนวทางการแกไ้ ข
149
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 แรงโน้มถว่ งของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 3 มวลกบั การเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุ
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3
มวลกบั การเปลย่ี นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ
เวลา 3 ช่วั โมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั
ว 2.2 ป.4/1 บรรยายมวลของวัตถทุ ่มี ีผลต่อการเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุจากหลกั ฐาน
เชงิ ประจกั ษ์
2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. สังเกตและบรรยายมวลของวตั ถุทม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุได้ (K)
2. ทาการทดลองเพือ่ อธิบายมวลของวตั ถุทม่ี ีผลต่อการเปลย่ี นแปลงการเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุได้ (P)
3. มคี วามกระตือรอื ร้นในการเรยี นร้แู ละการทากจิ กรรม (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ
มวลของวตั ถุ คอื ปริมาณเนื้อของสารทัง้ หมดท่ี พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
ประกอบกันเป็นวัตถุ ซง่ึ มผี ลต่อการเปล่ียนแปลงการ
เคลือ่ นท่ขี องวตั ถุ
4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
มวลของวัตถุ คือ ปรมิ าณเนื้อของสารท้งั หมดทป่ี ระกอบกันเปน็ วัตถุ ซง่ึ มีผลต่อการเปลยี่ นแปลงการ
เคล่ือนที่ของวัตถุ วตั ถุทีม่ ีมวลมากจะเปลย่ี นแปลงการเคลอื่ นที่หรือเคลื่อนย้ายได้ยากวัตถทุ ่ีมมี วลน้อย
ดังนั้น มวลของวัตถจุ งึ เป็นการตา้ นการเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนท่ขี องวตั ถุน้ันด้วย
5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
148
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 แรงโนม้ ถ่วงของโลกและตวั กลางของแสง
แผนฯ ท่ี 3 มวลกบั การเปลย่ี นแปลงการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ
1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวนิ ยั
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้
1) ทักษะการสงั เกต 3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน
2) ทกั ษะการเปรียบเทียบ
3) ทักษะการตง้ั สมมติฐาน
4) ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน
5) ทักษะการเช่อื งโยง
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. กจิ กรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
ขัน้ นา
ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. ครสู นทนาทักทายกับนกั เรยี น จากน้ันครูแจ้งชอ่ื เร่ืองและผลการเรยี นร้ทู ่ีจะเรยี นในวนั น้ีให้นกั เรียน
ทราบ
2. ครถู ามคาถามเพื่อกระตนุ้ ความคิดของนกั เรียน โดยให้นักเรียนช่วยตอบคาถามอย่างอิสระ และครู
ยังไมเ่ ฉลยคาตอบ ดงั นี้
1) วตั ถุในหอ้ งเรียน ส่งิ ใดบา้ งทมี่ ขี นาดใหญ่ และสงิ่ ใดบา้ งที่มีขนาดเล็ก
(แนวตอบ : ส่ิงทีม่ ีขนาดใหญ่ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ กระเปา๋ นักเรียน เป็นตน้ ส่ิงที่มขี นาดเล็ก
เช่น ยางลบ ดนิ สอ สมดุ หนังสือ เปน็ ตน้ )
2) นกั เรียนคิดว่า สิ่งของท่ีมขี นาดใหญ่กับสิ่งของทมี่ ีขนาดเล็ก ส่ิงใดเคลอ่ื นที่ไดย้ ากกว่ากัน
เพราะอะไร
(แนวตอบ : สง่ิ ของที่มขี นาดใหญเ่ คล่อื นท่ไี ดย้ ากกว่า เพราะมีมวลและมนี ้าหนกั มากกว่า)
3) นกั เรียนคิดว่า ระหว่างโต๊ะเรียนกบั กระเป๋านักเรียน สิง่ ใดเคล่ือนทไี่ ด้ง่ายกวา่ กัน เพราะ
อะไร
(แนวตอบ : กระเป๋านักเรียน เพราะมีขนาดเล็กกว่าโต๊ะเรียน จึงมีมวลน้อยกว่า และ
สามารถเคล่ือนท่ีได้งา่ ยและสะดวกกว่าโต๊ะเรียน )
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการท้างานรายบุคคล)
149