The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลป่าชุมชนไหล่น่าน ต.ไหล่น่าน อ.เวียงสา จ.น่าน และเกมเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรต่าง ๆ ในป่าชุมชน รวมถึงกิจกรรมการใช้ประโยชน์ป่าชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน
หนังสือเล่มนี้เป็นผลผลิตจากโครงการจัดการความรู้การวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์
จาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dpongchai, 2020-07-29 02:20:43

ป่าชุมชนไหล่น่านและเกมเพื่อการเรียนรู้ป่าชุมชน

ข้อมูลป่าชุมชนไหล่น่าน ต.ไหล่น่าน อ.เวียงสา จ.น่าน และเกมเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรต่าง ๆ ในป่าชุมชน รวมถึงกิจกรรมการใช้ประโยชน์ป่าชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน
หนังสือเล่มนี้เป็นผลผลิตจากโครงการจัดการความรู้การวิจัยเพื่อใช้ประโยชน์
จาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2561

Keywords: ป่าชุมชน,โครงงานวิทยาศาสตร์

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

คํานาํ

ปาชุมชนเปนรปู แบบการอนรุ ักษ์
ปาไมรูปแบบหน่ึง ซ่ึงตองอาศัย
ภูมิปญญาและการมสี วนรวมใน
การดา� เนินการ ปจจุบันเยาวชนมี
ความหางเหินจากปาชมุ ชน ทา� ให
องค์ความรูตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับปา
ชุมชนในทองถ่นิ อาจสญู หายไปกับผู
สูงอายใุ นอนาคตอันใกล หรอื ปรากฏ
เพียงงานวิจยั ในหองสมุดหรือเว็บไซต์
ตาง ๆ แตไมสามารถสงผานความรใู ห
แกเยาวชนซง่ึ จะเปนก�าลงั ส�าคัญในการ
รวมอนรุ กั ษป์ าชมุ ชนในอนาคต ดงั นนั้
การจดั การองคค์ วามรแู ละสรางเครื่อง
มอื ถายทอดความรูทเ่ี หมาะกบั เยาวชน
จึงมีความจ�าเป นอย างย่ิง โครงการ
“การจดั การองค์ความรูปาชมุ ชนโดยใช
แนวคิดแบบจา� ลองเพอ่ื นคคู ิด: กรณีศกึ ษา
ต�าบลไหลนาน จังหวดั นาน” จงึ ไดดา� เนนิ
การโดยไดรับทุนอุดหนุนการทา� กิจกรรม
ส งเสริมและสนับสนุนการวิจัย “การ
จัดการความรูการวิจยั เพ่อื การใชประโยชน์
เชิงนโยบายสาธารณะ (Public Policy)”
ภายใตโครงการจัดการความรกู ารวจิ ัยเพื่อใช
ประโยชน์ จากส�านักงานคณะกรรมการวิจัย
แหงชาติ (วช.) ประจา� ปงบประมาณ 2561 โดย
มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือรวบรวมองค์ความรเู กี่ยวกับ
ปาชุมชนตา� บลไหลนาน สรางเครอื่ งมือเรียนรูใน
รูปแบบเกมและสถานการณ์จ�าลองเพอื่ รวบรวม
และถายทอดองคค์ วามรใู หแกผมู ีสวนเกีย่ วของ
โดยเฉพาะเยาวชน และจดั ทา� หนงั สอื “ปาชุมชน
ไหลนานและเกมเพ่อื การเรียนรูปาชมุ ชน”

เพ่ือรวบรวมและเผยแพรความรูเกี่ยวกับปาชุมชนต�าบลไหลนาน ทรัพยากร
ตาง ๆ ในปาชุมชน รายละเอียดเกมเพ่ือการเรียนรูปาชุมชนสา� หรับผูที่สนใจ
น�าไปประยุกต์ รวมท้ังเผยแพรผลงานของนักเรียนโรงเรียนสาที่ไดตอยอด
แล ะประ ยุก ต์ค วามรู ท่ีได จากโ คร งการไปใช ใ นก ารท�าโคร งงานวิท ยาศ าสตร ์

คณะผูจัดท�าขอขอบพระคณุ ผูเขารวมโครงการทกุ ทานซึ่งไมสามารถเอย
นามทั้งหมดไดในท่นี ้ี ท่เี ขามารวมแลกเปลย่ี นเรียนรจู นกระท่ังท�าใหเกดิ หนงั สือเลม
นแ้ี ละนา� ไปสูการสรางนโยบายสาธารณะส�าหรบั บรรจุในแผนพัฒนาส่ปี ของ อบต.
ไหลนาน ทา� ใหเกดิ ความยั่งยืนดานการอนุรกั ษป์ าชมุ ชน และผูทม่ี สี วนชวยขบั เคลอ่ื น
โครงการทงั้ ทางตรงและทางออม โดยเฉพาะสมาชิกหองปฏบิ ตั ิการวิจัยนเิ วศวิทยา
เขตรอนและการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตทิ กุ คนทีต่ ระหนกั ถึงความส�าคญั ของการ
ถายทอดความรูทางวิทยาศาสตร์สูเยาวชน ท�าใหโครงการนีส้ �าเรจ็ ลลุ วงไปไดดวยดี

คณะผูจัดท�าหวงั เปนอยางยง่ิ วา หนังสือเลมน้จี ะเปนประโยชน์ดานการเรียน
รูและการอนรุ กั ษ์ปาชมุ ชนของต�าบลไหลนาน ตลอดจนเปนจุดเรม่ิ ตนในการตอยอด
ขยายผลการใชแบบจ�าลองเพื่อการเรียนรูเรอื่ งปาชุมชนในพนื้ ท่อี ่นื ๆ ตอไปในอนาคต

อนงึ่ หากหนงั สือเลมนม้ี ขี อผิดพลาดประการใด คณะผจู ดั ทา� ขอนอมรับ
และจะนา� ไปปรบั ปรงุ ในโอกาสตอไป
คณะผจู ดั ท�า
พฤษภาคม 2562

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

การจดั การองค์ความรปาชมุ ชน
โดยใชแบบจําลองเพื่อนคคู ิด

ที่มาและความสาำ คัญ

ประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศก�าลังพัฒนาท่ีมีการเพมิ่ ข้ึนของ
ประชากร มกี ารพฒั นาประเทศในหลาย ๆ ดานและมปี ญหาคณุ ภาพของ
ทรพั ยากรมนุษย์ ปจจุบันสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม
ของไทยจงึ อยูในข้นั วกิ ฤติ โดยเฉพาะอยางยิ่งทรัพยากรปาไมที่ลดลงอยางตอ
เนือ่ งตงั้ แตมีการบันทกึ ขอมูลสถติ ปิ าไมในป พ.ศ. 2504 ในอดีตประเทศไทย
มีพน้ื ทป่ี าถึงรอยละ 53 ของพน้ื ที่ประเทศ แตปจจบุ นั พ้นื ที่ปามีเหลือเพยี งรอย
ละ 33 เทาน้นั ซงึ่ ตวั เลขนย้ี งั ไมไดมีการตรวจสอบภาคพนื้ ดินวาเปนพื้นทปี่ า
ท่ีมีความอดุ มสมบูรณ์มากนอยเพยี งใด

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

แตในปจจบุ ันมขี าวเก่ยี วกับการบกุ รุกพ้ืนท่ปี าสงวนของนายทุนกลุมตาง ๆ
เพอื่ เปล่ียนพน้ื ทเี่ ปนพืน้ ทีท่ า� การเกษตร เชน ยางพารา ปาล์มน้�ามนั เปนตน นอกจาก
นั้นยังมีขาวการลักลอบบกุ รุกเขตอนุรักษ์หลายแหงเพ่อื ลาสตั ว์ ซึ่งเจาหนาท่ีลาด
ตระเวนของศนู ยอ์ นุรักษเ์ องไมสามารถดแู ลไดอยางทวั่ ถึง ทงั้ ยงั มีเกษตรกรรายยอย
ในทองถ่ินทีพ่ ง่ึ พาทรัพยากรยังคงลกั ลอบเขาพน้ื ทป่ี าเพือ่ ใชประโยชน์จากการเก็บของ
ปาและลาสัตว์ ทงั้ ยงั มีการบกุ รุกพื้นที่เพื่อทา� การเกษตรเนอื่ งจากจ�านวนประชากร
มีเพ่มิ ข้นึ แตพื้นทีเ่ พาะปลกู มเี ทาเดมิ หรอื มีแนวโนมลดนอยลง เน่อื งจากมีนโยบาย
การประกาศเขตอนุรักษ์เพิม่ ข้ึนจากทางภาครฐั หรือการปลูกปาในพน้ื ที่เส่อื มโทรม
เปนตน ปญหาดงั กลาวสงผลกระทบตอคุณภาพชวี ิตของประชากรในพืน้ ทีแ่ ละความ
ม่นั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาตขิ องประเทศ และจา� เปนตองไดรับการแกไขอยาง
เรงดวนโดยเฉพาะพน้ื ทป่ี าทางภาคเหนือซ่งึ ก�าลงั สญู เสียพืน้ ทปี่ าอยางรวดเรว็

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ปญหาการสูญเสยี พน้ื ทป่ี ามักมคี วามสลบั ซบั ซอน ซ่งึ เกดิ จากปฏสิ ัมพันธ์
ของปจจัยตาง ๆ ที่หลากหลาย ท้ังจากตัวระบบนิเวศเองและจากระบบเศรษฐกิจ
ระบบสังคม และนโยบายจากภาครัฐ ดังน้ัน ในการแกไขปญหาจึงจ�าเปนตอง
ใหผูมีสวนเกี่ยวของเขาใจปฏิสัมพันธ์ระหวางองค์ประกอบตาง ๆ ท่ีสงผลตอ
พ ล วัต ขอ งร ะบบ ซึ่งบ ริบท ทาง สังค มแ ล ะจ�าน ว นผู ท่ีเ ข า ม ามี ส ว น เก่ี ยว ข อง กับ
การใชทรัพยากรซึ่งมีเปาหมายในการใชประโยชน์หรือดูแลรักษาแตกตางกัน
จากปญหาดังกลาว ทั้งหนวยงานภาครฐั และชมุ ชนทองถนิ่ ตางพยายามหาแนวทาง
ในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซง่ึ ไดมีการก�าหนดเปน
นโยบายเปาหมายของรัฐบาลในปจจุบนั และ (ราง) นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ าร
วิจยั ของชาติ ฉบับท่ี 9 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 ดาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม โดยเฉพาะการเพมิ่ พ้ืนที่ระบบนิเวศปาไม
ของประเทศ และสนับสนนุ การดา� เนินการผานกระบวนการการมสี วนรวม ซ่ึงในชวง
สองทศวรรษทผี่ านมา ทางภาครฐั ไดมกี ารกระจายอา� นาจไปสอู งค์กรทองถิ่น โดย
มีการจัดต้งั องค์การบรหิ ารสวนตา� บล (อบต.) เพื่อชวยในการจัดการปญหาตาง ๆ
รวมถึงปญหาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม เน่ืองจากมกี ารรับฟงเสยี งจาก
ชมุ ชนกอนการบริหารจัดการ จงึ ท�าใหรปู แบบการจดั การจากระดับลางขน้ึ บนและ

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

การมีสวนรวม (bottom-up and
participatory management) เปนท่ี
ยอมรับและนยิ มใชอยางแพรหลายมาก
ข้นึ สา� หรับรปู แบบการจัดการทรัพยากร
ปาอยางมสี วนรวมที่ไดด�าเนินการใน
ปจจบุ นั คอื การจัดต้งั ปาชุมชนซง่ึ มีการ
จัดระเบยี บกฎเกณฑ์ในการปกปกรกั ษา
และการใชประโยชน์โดยชุมชนทา� ขอ
ตกลงรวมกันเพ่อื ใหเกดิ ความยง่ั ยืนของ
ทรพั ยากรปาไมและทรพั ยากรธรรมชาติ
ประเภทอืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงเพ่อื
ประโยชน์ตอมนุษย์ การประกาศพ้ืนท่ี
ปาชุมชนในประเทศไทย เร่ิมตั้งแตป
พ.ศ. 2542 และมีการประกาศพ้ืนท่ี
ป าชุม ชนใ นแต ล ะจังห วั ดเ ป น ปร ะจ�า
ทุกป ทา� ใหพืน้ ทป่ี าที่มีลักษณะท่ชี มุ ชน
สามารถเขาใชประโยชนแ์ ละดแู ลผนื ปา
ของชุมชนไดมีเพม่ิ ขึน้
อยางไรก็ตาม จากฐานขอมูลโครงการเครือขายหองสมุดของ
ประเทศไทย ThaiLis (www.thailis.or.th) ซึง่ รวบรวมผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์
และสิ่งพิมพ์ตาง ๆ ในประเทศ พบวามงี านทีเ่ กีย่ วของกับปาชุมชนจา� นวน 303
รายการ ซ่ึงการศึกษาสวนใหญ (รอยละ 89) เปนการศึกษาเฉพาะมติ ิทางดาน
สงั คมและการออกกฎระเบียบในการจดั การปาชุมชน มีการศึกษาในมติ ิดาน
ความส�าคญั ทางเศรษฐกิจบาง (รอยละ 8) และการศึกษาเก่ียวกบั ความหลาก
หลายของส่ิงมีชีวิต และนเิ วศวิทยาเพยี งรอยละ 3 สา� หรับการศึกษาเชงิ บรู ณาการ
สหสาขาวชิ า โดยใชความรูดานวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์และมนุษยศ์ าสตร์
พบวายังขาดและมคี วามจา� เปนตองศกึ ษาเปนอยางมากเนอ่ื งจากปาชุมชนมี
ความหมายและความส�าคัญในหลากหลายมติ ิ ทัง้ วทิ ยาศาสตร์ สงั คม เศรษฐกิจ
และวัฒนธรรม นอกจากนยี้ งั ขาดการรวบรวมองคค์ วามรเู ก่ียวกบั การจัดการปา
ชุมชน และการถายทอดองค์ความรูสชู าวบานและเยาวชน เพอ่ื การจัดการปา
ชุมชนอยางยั่งยนื ดงั นน้ั การจดั การความรูเกี่ยวกบั ปาชุมชน จงึ มคี วามจา� เปน
อยางยงิ่ มิใชอนรุ กั ษ์ปาชมุ ชนเพ่อื เปนสัญลักษณ์ของการอนุรักษ์

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

จากความจา� เปนดังกลาว จึงน�ามาสูการดา� เนนิ โครงการ “การจดั การองค์
ความรูปาชุมชนโดยใชแนวคดิ แบบจ�าลองเพอื่ นคูคดิ : กรณีศึกษาตา� บลไหลนาน
จังหวดั นาน” โครงการนเ้ี ลอื กปาชุมชน 7 แหง ในตา� บลไหลนานเปนพ้ืนท่ศี ึกษา
เนอ่ื งจากมกี ารศกึ ษาขอมลู เบอ้ื งตนเกยี่ วกบั การใชประโยชน์จากของปา (พงษช์ ยั
ด�ารงโรจน์วัฒนา, 2559) และพบวามรี ปู แบบการจัดการปาชุมชนท่ีหลากหลาย แต
ยงั ขาดการรวมรวมองค์ความรูและภูมปิ ญญาในการใชประโยชนจ์ ากทรัพยากร ซึ่ง
ทางชมุ ชนมคี วามตองการถายทอดความรสู ูลูกหลาน เพื่อไมใหองคค์ วามรูสูญหาย
ไป และตองการใหเยาวชนเขามาใชประโยชน์จากปาชุมชนเพือ่ เปนแหลงเรยี นรมู ากขึน้

เมือ่ พจิ ารณาถงึ ประเดน็ การแลกเปลยี่ นเรียนรู การท�าความเขาใจเก่ียวกบั
ความสลับซับซอนของระบบ สรางความสามารถในการปรบั ตัวภายใตสถานการณ์
ที่ไมแนนอน และการรวบรวมและการถายทอดองคค์ วามรใู หเยาวชน เพ่ือใหเกดิ
การใชประโยชน์จากฐานทรัพยากรชีวภาพอยางยั่งยืนและเสรมิ สรางความมน่ั คง
ทางอาหารและสรางความสุขในสงั คม เคร่ืองมือทใ่ี ชจึงตองมีศักยภาพในการ
เช่อื มโยงประเด็นดังกลาวเขาดวยกัน ทัง้ การกระตุนความคิด สรางปฏสิ ัมพันธ์
ระหวางผูมีสวนเกี่ยวของ มคี วามสามารถในการทดสอบสถานการณท์ ่ไี มแนนอน
ซ่ึงปจจุบันกระบวนการใชแบบจา� ลองเชงิ บูรณาการอยางมีสวนรวม ไดเขามามี
บทบาทในการศกึ ษาทางนเิ วศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เนอ่ื งจาก
มีขอดหี ลาย ๆ ดาน เชน สามารถนา� ขอมูลเชิงพืน้ ท่มี าผสานในแบบจา� ลอง ท�าให
ผูมีสวนเก่ยี วของมองเห็นภาพของระบบ ซึ่งจะมคี วามชัดเจนมากกวาการจดั เวที
เสวนาหรอื ระดมสมองแบบท่วั ไปซึง่ ผมู สี วนเกีย่ วของมกั ไมเห็นภาพเชงิ พ้นื ท่ี แบบ
จา� ลองยงั สามารถน�าผูมสี วนเกีย่ วของและทรัพยากรท่หี ลากหลายเขามาไวในระบบ
และสรางพลวัตตาง ๆ ใหเกิดขน้ึ สามารถใชเปนเครือ่ งมอื ทา� ความเขาใจระบบทซี่ บั
ซอนโดยดูปฏสิ มั พันธข์ ององค์ประกอบทีห่ ลากหลายในระบบ และสามารถทดสอบ
สถานการณจ์ า� ลอง เชน แนวทางการแกไขปญหาทรพั ยากรธรรมชาติหลังจากผาน
กระบวนการมีสวนรวม ซึ่งการทดสอบสถานการณจ์ า� ลองทห่ี ลากหลายยังชวยให
ผมู ีสวนเกยี่ วของมองเหน็ ภาพอนาคตทีห่ ลากหลาย มมี มุ มองตอปญหาท่กี วางขน้ึ
เขาใจผูอ่นื มากขนึ้ เขาใจความไมแนนอนและปฏิสมั พนั ธต์ าง ๆ ในระบบมากขึ้น ซงึ่
จะสงผลใหการตัดสนิ ใจตาง ๆ ในวิถีชวี ิตจรงิ ทา� ไดดขี ้นึ (Bousquet and Trebuil,
2005) อยางไรก็ตามการใชแบบจ�าลองอยางมีสวนรวม เพื่อการแลกเปลี่ยนเรยี น
รูและสรางความสามารถในการปรับตวั ในประเทศไทยยงั มไี มมากนัก สวนใหญ
เปนการใชแบบจ�าลองเพอื่ การคาดการณค์ วามเปนไปไดในอนาคต

โครงการการจดั การองคค์ วามรูปาชุมชนฯ นี้ ไดเลือกใชแบบจ�าลองเชิง
บูรณาการภายใตแนวคิดของแบบจา� ลองเพอื่ นคูคิด (Companion Modelling
Approach: ComMod) ซึ่งมวี ัตถปุ ระสงค์การใชแบบจา� ลองที่สรางข้นึ 2 ประการ
คือท�าความเขาใจระบบที่สลบั ซับซอน ผานการสรางภาพตัวแทนระบบรวมกัน ซ่งึ
เปนการรวบรวมองคค์ วามรูรูปแบบหนึง่ และใชเพ่ือถายทอดความรูและเปนเคร่อื ง
มือสนับสนุนการตดั สินใจในการหาทางออกของการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

อยางมีสวนรวม (Barreteau and Others, 2003; Etienne, 2014) โดยไดมี
การทดสอบแนวคิดนผ้ี านโครงการ “การจัดการองคค์ วามรูดานการเกษตรโดยใช
แนวคดิ แบบจา� ลองเพ่อื นคูคดิ : กรณศี ึกษาอ�าเภอสทิงพระ จงั หวัดสงขลา” ซ่งึ ไดรบั
การสนับสนุนงบประมาณจากส�านกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหงชาติ (วช.) ประจ�า
ปงบประมาณ 2558 ภายใตโครงการการจดั การความรแู ละถายทอดเทคโนโลยี
จากผลงานวจิ ยั และนวตั กรรม (พงษ์ชยั ดา� รงโรจนว์ ฒั นา และแกวคา� ไกรสรพงษ์,
2559) ซ่ึงมผี ลผลิตหลักคอื แบบจ�าลองเชิงบรู ณาการในรูปแบบเกมและสถานการณ์
จา� ลอง 2 ชนิ้ (เกมตรวจดินและเกมเศรษฐีสทงิ พระ) ทา� ใหเกษตรกรไดรบั ความรู
ดานการทา� เกษตรทีเ่ หมาะสมและปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการท�าการเกษตร และ
อนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอม (http://www.thai-explore.net/ le_upload/submitter/
le_doc/afa2ae99701621e0712d1c5e2842da9e.pdf)

จากความส�าเร็จในการศกึ ษากอนหนา โครงการการจดั การองค์ความรู
ปาชมุ ชนฯ น้ี จงึ มจี ุดมงุ หมายเพอ่ื รวบรวมองค์ความรูปาชมุ ชนตา� บลไหลนาน และ
สรางแบบจา� ลองเชิงบูรณาการในรปู แบบเกมและสถานการณจ์ า� ลองภายใตแนวคิด
แบบจ�าลองเพอื่ นคูคิด เพ่ือเปนเคร่ืองมือตนแบบในการรวบรวมองค์ความรูและ
ภมู ปิ ญญาทองถิน่ เรยี นรูเก่ยี วกบั ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวางองค์ประกอบตาง ๆ ในระบบ
นเิ วศปาชุมชน และความส�าคัญของปาชุมชนตอมนษุ ยแ์ ละสิง่ มชี ีวติ อื่น ๆ สามารถ
ใชประโยชนใ์ นการถายทอดความรูใหแกเกษตรกร เยาวชน นักเรียน นกั ศึกษา
และผทู มี่ ีความสนใจ นา� ไปสกู ารกา� หนดนโยบายสาธารณะในการจัดการปาชุมชน
ในพื้นท่ี ตลอดจนเปนเคร่ืองมือประกอบการเรียนการสอนตามแนวทางการเรยี นรู
ในศตวรรษที่ 21 ท่ีเนนการมีปฏสิ มั พันธ์ระหวางผูเรยี นและผูสอน (interactive/
active learning)

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

แนวคดิ “แบบจำาลองเพอื่ นคคู ดิ ”

ในชวงทศวรรษที่ผานมาภาครัฐไดเห็นความส�าคัญของการมีสวนรวมของ
ชุมชนในการอนรุ กั ษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทรพั ยากรปาไม
ปจจุบันการจดั การทรพั ยากรปาไมโดยชุมชนไดรับการสนับสนุนจากภาครฐั ผาน
การจัดต้ัง “ปาชุมชน” ซ่งึ ชมุ ชนสามารถสรางกระบวนการจัดการของชุมชนเอง
ในการใชประโยชน์และอนุรกั ษ์ เพ่ือกอใหเกิดประโยชนต์ ามความประสงค์ของชุมชน
อยางยั่งยนื (กรมปาไม, 2537) อยางไรก็ตาม ปาชมุ ชนในหลายพืน้ ทขี่ องประเทศ
ประสบปญหาการขาดการดแู ล มกี ารบุกรุกปาชุมชนจากคนภายนอก เกบ็ ของปามาก
เกนิ ก�าลงั ผลติ มีการน�าขยะมาทิง้ เปนตน ทา� ใหปาชุมชนเสื่อมโทรมลง ประกอบกบั
เยาวชนรนุ ใหมมกั ขาดความสนใจในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรอนั มีคาของทองถ่ิน สงผล
ใหภูมปิ ญญาทองถิ่นในการใชประโยชนแ์ ละจดั การปาชุมชนสูญหายไป ดังน้ันจงึ มี
ความจ�าเปนอยางย่ิงในการจัดการความรูปาชมุ ชน โดยตองอาศัยกระบวนการและ
เครื่องมอื ทสี่ ามารถเชือ่ มโยงผูใหญและเยาวชนมาแลกเปลย่ี นเรียนรูรวมกนั และ
เปนส่อื กลางในการน�าไปสกู ารวางแผนการจดั การปาชุมชนได

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ปจจุบันในหลายประเทศไดมีการใชแบบจ�าลองอยางมีสวนรวม (Partici-
patory modelling) เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรแู ละเพิ่มขดี ความสามารถในการ
ปรับตวั (learning model) แตในประเทศไทยยงั มกี ารใชไมมากนัก สวนใหญ
การใชแบบจ�าลองมกั เปนไปในรปู แบบของการคาดการณ์ความเปนไปไดในอนาคต
(prediction model) งานวจิ ัยน้เี ปนงานวิจัยเชิงพัฒนาควบคกู ับการรวบรวมและ
ถายทอดองคค์ วามรูดานปาชมุ ชนอยางมสี วนรวม จึงไดใชแบบจา� ลองเชิงบรู ณาการ
ภายใตแนวคิดของแบบจา� ลองเพือ่ นคคู ดิ (Companion Modelling Approach:
ComMod) (Barreteau and Others, 2003; Etienne, 2014) มาเปนเครอ่ื งมอื
เนื่องจากแบบจ�าลองนใ้ี หความส�าคัญตอองคค์ วามรขู องผูใชทรพั ยากรและผูมสี วน
เก่ียวของ ผูใชทรพั ยากรเหลานนั้ ไดผานการสั่งสมความรคู วามสามารถในการใช
และดูแลทรัพยากรมาหลายช่วั รุน ภมู ปิ ญญาเหลาน้นั จึงมคี วามสา� คญั ในการน�ามา
ใชแกปญหาทรพั ยากรท่เี กดิ ขึ้นได แบบจา� ลองน้มี เี ปาหมายเพ่ือบูรณาการทศั นคติ
แนวความคิด องค์ความรูจากประสบการณ์ทีห่ ลากหลายของผเู กยี่ วของทกุ ฝาย มา
พฒั นาสรางเปนภาพตัวแทน (common representation) ของระบบท่สี นใจศกึ ษา
รวมกับองคค์ วามรดู านวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงเปนรปู แบบการจดั การองคค์ วามรูรูปแบบ
หนงึ่ ผานแบบจ�าลองเชิงบรู ณาการ

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

แนวคดิ แบบจ�าลองเพ่อื นคคู ิดมีวตั ถุประสงคใ์ นการใชแบบจ�าลองทสี่ รางขนึ้
2 ประการ คอื
1) ทา� ความเขาใจความซบั ซอนของระบบ ผานการสรางภาพตัวแทนระบบรวมกัน
โดยแลกเปลีย่ นมมุ มอง ประสบการณ์ ความรตู าง ๆ และท�าความเขาใจปฏิสัมพนั ธ์
ขององคป์ ระกอบท่ีหลากหลายในระบบ
2) ใชแบบจา� ลองเปนเคร่อื งมอื สื่อสาร แลกเปลี่ยน/ถายทอดความรูและสนับสนนุ
การตัดสินใจในการหาทางออกในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยางมีสวนรวม
ผานการทดสอบสถานการณจ์ า� ลองตาง ๆ และเปดโอกาสใหมีการอภิปรายถึงผล
กระทบท่อี าจเกิดข้ึนไดในอนาคต ซ่ึงจะสงผลใหการตัดสินใจตาง ๆ ในชวี ติ จรงิ ทา� ได
ดขี นึ้ (Bousquet and Trebuil, 2005)

แนวคิดแบบจา� ลองเพือนคคู่ ิดเนน้ การสร้างภาพตัวแทนของระบบ (common representation)

ทมี า: ปรบั ปรงุ จาก Trebuil, 2013

แบบจ�าลองเพอ่ื นคคู ิดถือวาผูวจิ ยั มีหนาทห่ี ลักในการอ�านวยความสะดวก
ตลอดกระบวนการวิจัย (facilitator) เพ่อื ใหทุกฝายไดแลกเปล่ียนเรียนรูและ
สนับสนุนใหทุกฝายหาทางออกในการแกปญหารวมกัน รวมทง้ั สงเสรมิ ใหผเู ขารวม
กระบวนการมีความยดื หยุนในการจัดการทรัพยากร (adaptive management
capacity) มากยง่ิ ขนึ้ ดงั นัน้ การจัดการองค์ความรโู ดยใชแบบจา� ลองเพอื่ นคคู ิดจงึ
เปนการบรู ณาการองคค์ วามรรู ะหวางภมู ิปญญาทองถนิ่ (local wisdom) ความรทู ่ี
สงั่ สมในตัวบคุ คล (tacit/expert knowledge) ความรใู นเชงิ ทฤษฎีทมี่ ีความชัดเจน

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

(theoretical/explicit knowledge) เชน ความรทู างวทิ ยาศาสตร์ (scienti c
knowledge) ของผูเขารวมกระบวนการ ทา� ใหเกดิ การแลกเปลี่ยนขอมลู และเขาใจ
ปฏิสัมพันธ์ (interactions) ระหวางองค์ประกอบตาง ๆ ในระบบท่ีทา� การศกึ ษา
อยางบูรณาการ ท้ังดานวทิ ยาศาสตร์ และเศรษฐกจิ -สังคม

จากหลกั การของแบบจ�าลองเพื่อนคคู ดิ ท่ีเนนการศกึ ษาปฏิสมั พนั ธ์ระหวาง
พลวตั ทางกายภาพชีวภาพกับพลวัตทางเศรษฐกิจและสงั คมซ่ึงมีการเปล่ยี นแปลง
อยตู ลอดเวลาและมคี วามไมแนนอน ดงั น้นั กระบวนการสรางและใชแบบจา� ลอง
เพ่ือนคูคิดจึงเปนกระบวนการที่มีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงได และมีการทบทวน
กระบวนการตาง ๆ ระหวางทฤษฎหี รือการศกึ ษาในหองปฏบิ ัติการและขอมลู ภาค
สนามอยูเสมอ (iterative and evolving process) นอกจากนั้น เคร่อื งมอื ท่ีเปน
รปู ภาพส�าหรับแสดงใหเหน็ การเปล่ยี นแปลงเชงิ พนื้ ทแ่ี ละสังคมจึงมคี วามจ�าเปน เพอื่
ใหสามารถเปนสอื่ กลางการแลกเปลี่ยนเรยี นรแู ละปรบั ปรุงภาพความเขาใจรวมกนั
ไดอยางถกู ตอง การใชแบบจา� ลองเพ่ือนคูคดิ จงึ ใชเครอ่ื งมอื ทเ่ี ปนภาพประกอบหรอื
มีขอมลู เชิงพน้ื ท่อี างองิ (visual representation) โดยอาจเปนภาพวาดสองมติ ิ
แผนท่อี ยางงาย แบบจา� ลองกายภาพ 3 มิติ หรือแบบจ�าลองคอมพวิ เตอร์ เปนตน
อยางไรก็ตาม ภาพตัวแทนดังกลาวมักมคี วามเชอ่ื มโยงกับความเปนจรงิ ประกอบ
อยู (Bousquet and Trebuil, 2005) หลงั จากน้ันเม่ือผเู ขารวมกระบวนการมี
ความรูความเขาใจของระบบทีท่ า� การศกึ ษามากข้นึ แลว ยอมสามารถท�าการจ�าลอง
สถานการณต์ าง ๆ (scenario explorations) ภายใตความไมแนนอนของสภาพ
ธรรมชาติ นโยบายภาครฐั และสภาพเศรษฐกิจ-สงั คมในชวงเวลาตาง ๆ เพอื่ เรยี นรู
แนวโนมทีอ่ าจเกดิ ขึน้ ในอนาคตได ซ่ึงการจา� ลองสถานการณต์ าง ๆ ภายใตแนวคิด
แบบจา� ลองเพอ่ื นคูคิด มิไดมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื การคาดการณอ์ นาคตทแ่ี มนย�า แต
เปนการนา� เสนอความเปนไปไดทหี่ ลากหลาย นา� ไปสูการอภิปรายแลกเปลีย่ นความ
รแู ละมมุ มองตอภาพอนาคต ท�าใหเกดิ ความพยายามในการหาแนวทางการจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาติรวมกนั ตลอดจนสงผลใหมกี ารปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมในระดับ
ปจเจกบุคคล (ซง่ึ อาจมาก-นอยไมเทากันในแตละคน) และระดบั สงั คม อันจะน�าไปสู
การเพิ่มศกั ยภาพในการจดั การอยางยดื หยนุ (adaptive management capacity)
ของผูมสี วนเกี่ยวของแตละภาคสวน ทา� ใหสามารถจัดการทรพั ยากรไดอยางเหมาะ
สม มปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น และเกดิ ความยั่งยืนของระบบทรัพยากรธรรมชาติ
เศรษฐกิจและสังคมในทสี่ ดุ

จากการดา� เนินกจิ กรรมตาง ๆ ของโครงการการจดั การองคค์ วามรูปาชมุ
ชนฯ ทา� ใหเกิดเปนหนงั สอื เลมนีข้ น้ึ ซึง่ เปนผลผลิตที่สา� คญั ชิ้นหนึง่ นอกเหนือจาก
เกมและสถานการณก์ ารจ�าลองทีไ่ ดสรางขึน้ และใชงานรวมกับเยาวชนและผมู สี วน
เก่ียวของกลมุ ตาง ๆ โดยเน้ือหาของหนังสอื แสดงไวในล�าดับถดั ไป

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

เนื้อหาในหนังสือ

หนังสอื เลมน้ีประกอบดวยเนือ้ หาองค์ความรูตาง ๆ ที่เกย่ี วกับปาชุมชน
ต�าบลไหลนาน รายละเอยี ดเกมและสถานการณ์จา� ลอง 2 เกม
และการตอยอดองค์ความรู โดยแบงเปน 5 สวน ดงั น้ี

สว่ นที 1 “ปาชมุ ชนตา� บลไหล่นา่ น”

น�าเสนอรายละเอียดเก่ียวกับ
พืน้ ที่ปาชุมชนต�าบลไหลนาน กฎกตกิ า
ตาง ๆ ของแตละหมูบาน เพ่อื เปนแหลง
อางองิ ของผทู ่สี นใจ

หนา้

สว่ นที 2 “ทรพั ยากรชวี ภาพ”

น�าเสนอส่ิงมชี วี ิตกลุมตาง ๆ ท่ี
พบไดในปาชมุ ชนต�าบลไหลนาน จาก
ก าร ร วบ ร วม ค วา มรู จ ากง านวิ จั ยก อ น
หนาและการศึกษาเพ่มิ เติมระหวางการ
ด�าเนินโครงการ เพอ่ื ใหเปนคูมอื ในการ
ศึกษาธรรมชาติ ทา� ความรูจักส่ิงมีชีวิต
ตาง ๆ ในปาชมุ ชนมากยิ่งขน้ึ และเปน
ข อมูลพ้ืนฐ านในก ารศึกษ าต อย อดใน
อนาคต

หน้า

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

ส่วนที 3 “กจิ กรรมถ่ายทอดความร”ู้

น�าเสนอเก่ียวกับกิจกรรมตาง ๆ
ของโครงการฯ และรายละเอียดของเกม
และสถานการณ์จ�าลอง 2 เกม ไดแก
“เกมเก็บของปา” และ “เกมหลากหลาย
ณ ไหลนาน” ซงึ่ ผทู ี่สนใจสามารถศึกษา
รายละเอียดและน�าไปประยุกต์ใชงาน
ตอได

หนา้

ส่วนที 4 “การตอ่ ยอดองค์ความรู้
โดยนักเรยี นจากโรงเรียนสา”

น�าเสนอผลงานโดยสรุปของ
นักเรียนท่ีเข าร วมโครงการฯ ท่ีได
ประยกุ ต์ความรูท่ีไดรับไปท�าโครงงาน
วิทยาศาสตร์ ท้ังในปาชุมชนและพ้ืนท่ี
ใกลเคียง ท�าใหเกิดการเรียนรูในพ้ืนที่
จรงิ สรางความตระหนักในการอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรปาไมใหเยาวชนมากข้นึ

หน้า

ส่วนที 5 “สิงทีผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ไดเ้ รยี นรู้

น�าเสนอมมุ มองและขอคิดจาก
การเขารวมโครงการฯ ของผูเขารวม เพ่ือ
สืบสานงานอนุรักษ์ปาชุมชนตอไปใน
อนาคต

หนา้

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ปาชุมชนตําบลไหลนาน

“ปาชุมชน” ถือเปนการจัดการทรัพยากรปาไมรูปแบบหนึง่ โดยชุมชน ซึง่
ในหลายพ้นื ที่นนั้ ไดรับการสนบั สนุนจากภาครัฐ ผานการจดั ตง้ั “ปาชมุ ชน” ซึง่ ปา
ชุมชน คือ ผืนปาทม่ี ีขนาดเล็กหรือใหญเทาไรก็ได แตหากมีขนาดใหญจะตองไม
ใหญเกนิ กวาทชี่ ุมชนจะดแู ลฟนฟูได พื้นทป่ี าชมุ ชนถือเปนพน้ื ที่ซึง่ ไดรับการจดั การ
โดยกระบวนการของชุมชนเพื่อกอใหเกิดประโยชน์ตามความประสงค์ของชุมชน
อยางย่ังยืน (กรมปาไม, 2537) โดยทัว่ ไปจะมีการใชประโยชน์จากทรพั ยากรปาไม
ทง้ั ทีเ่ ปนเน้อื ไม (timber products) และไมใชเนอ้ื ไม (non-timber products)
และมีการออกระเบียบหรอื มาตรการบังคบั ทางสงั คมในการดูแลจัดการ เชน มกี าร
ก�าหนดอัตราการใชทรัพยากรประเภทตาง ๆ ไว มีการกา� หนดบทลงโทษหากมีผู
ฝาฝน การจัดเวรยามปองกันไฟปา มกี ารตงั้ กตกิ าในการเก็บผลผลิตจากปา เปนตน
การประกาศพ้นื ทีป่ าชมุ ชนในประเทศไทย เรม่ิ ต้งั แตป พ.ศ. 2542 และมกี ารประกาศ
พื้นที่ปาชุมชนในแตละจงั หวัดเปนประจ�าทุกป ท�าใหพน้ื ทีป่ าทม่ี ีลักษณะท่ีชมุ ชน
สามารถเขาใชประโยชน์และดูแลผนื ปามเี พ่ิมขึ้น จนกระท่ังปจจุบันประเทศไทยมี

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

พนื้ ทป่ี าชุมชนรวม 7,378,203 ไร (ขอมูลจากฐานขอมูลปาชมุ ชน กรมปาไม ณ วนั
ที่ 1 พ.ค. 2562 : กรมปาไม, 2562) ซึง่ กระจายอยูตามจงั หวัดตาง ๆ และมีรูปแบบ
การจัดการแตกตางกันไป

จังห วัดน านเป นจังหวัด หน่ึงท่ีชุมชน มีค วามเข มแข็งในก าร อนุรักษ ์และ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยมีกลมุ อนุรกั ษ์ตาง ๆ เชน มูลนธิ ิฮกั เมอื งนาน ทจี่ ดั
กจิ กรรมพัฒนาชุมชนใหเขมแขง็ หรือองคก์ ารบริหารสวนต�าบล (อบต.) ตาง ๆ ได
จดั กิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมของทองถิ่น
เชน โครงการอนรุ กั ษ์พันธุ์สัตวน์ า้� โครงการจดั ตั้งปาชุมชน โครงการเยาวชนอนรุ ักษ์
ทรัพยากร เปนตน นอกจากน้ี ยังมีอาสาสมคั รดานสิ่งแวดลอมที่พรอมจะใหความ
รวมมือเมอ่ื มีโครงการตาง ๆ เกดิ ขึ้น ซึง่ ภายใตกิจกรรมตาง ๆ ท่หี ลากหลายนนั้ การ
จัดตงั้ ปาชมุ ชนเปนกิจกรรมหนึง่ ท่ีสา� คญั ที่ชวยอนุรกั ษท์ รัพยากรปาไมของจงั หวัด ซ่งึ
จากฐานขอมูลปาชมุ ชนรายจังหวัดพบวาปจจุบนั นานมีพน้ื ทป่ี าชุมชน 240,753 ไร
(ขอมูล ณ วันท่ี 1 พ.ค. 2562 : กรมปาไม, 2562)

ต�าบลไหลนาน อา� เภอเวยี งสา เปนพน้ื ท่หี นึง่ ของจงั หวัดนานทีช่ มุ ชนและ
หนวยงานทองถนิ่ มคี วามพยายามในการอนุรักษท์ รพั ยากรปาไม ต�าบลไหลนาน มี
เนอื้ ทป่ี ระมาณ 125 ตารางกิโลเมตร หรอื 78,134 ไร ลักษณะกายภาพเปนพน้ื ท่ี
ราบระหวางหุบเขา มีภูเขาและมแี มนา้� ไหลผาน 2 สาย ไดแก แมน้�าวาและแมนา�้ นาน
ทางทศิ เหนือ ติดตอตา� บลตาลชมุ อ�าเภอเวียงสา, ทิศตะวนั ออก ติดตอตา� บลน้�าปาย
อา� เภอแมจรมิ , ทิศใต ติดตอตา� บลสานนาหนองใหม และทิศตะวนั ตก ตดิ ตอตา� บล
กลางเวียง ต�าบลนา�้ ปว อา� เภอเวยี งสา มีจ�านวนหมูบาน 8 หมบู าน 1,266 หลังคา
เรือน มปี ระชากร 3,470 คน

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ชือบา้ นและจา� นวนประชากร (ขอ้ มลู ณ วันที 18 กุมภาพันธ์ 2559)

ที่มา: แผนพัฒนาสป่ี (พ.ศ. 2561-2564)

หมู่ที ชอื บ้าน ประชากร (คน) จ�านวน
ครัวเรอื น
1 บานไหลนาน ชาย หญิง รวม
2 บานบญุ เรอื ง 188
3 บานนาสา 239 261 500 261
4 บานทาขาม 292 313 605 154
5 บานหวยสอน 244 232 476 245
6 บานหวยเมน 293 376 769 151
7 บานปากงุ๊ 218 222 440 64
8 บานไหลนานเหนือ 87 70 157 51
76 66 142 152
รวม 182 199 381

ตา� บลไหลนานมแี หลงทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ไดแกพระธาตุเจดยี บ์ ิด ต้ัง
อยทู ่บี านบญุ เรือง หมูท่ี 2, พระธาตดุ อยแกว ตัง้ อยทู บ่ี านทาขาม หมูที่ 4 และพระ
ธาตุจอมแจงตั้งอยูบานไหลนานเหนอื หมูที่ 8 และยงั มแี หลงทองเทีย่ วเชิงอนรุ ักษ์
และแหลงทองเทยี่ วเชิงนิเวศ ไดแก แหลงอนุรักษพ์ ันธ์ุปลา (วงั ปลา) จา� นวน 8 แหง
และปาชมุ ชน จา� นวน 8 แหง

ปาชุมชนของแตละหมบู านมกี ารก�าหนดวิธกี ารดูแลที่แตกตางกนั ออกไป
โดยจากเอกสารผลการด�าเนนิ งานการส�ารวจขอบเขตปา ขอมูล และกฎกติกา ราย
ชือ่ คณะกรรมการปาชุมชน (โครงการจัดการพืน้ ทช่ี ุมนา�้ อยางมีสวนรวมของชุมชนใน
ประเทศไทยและลุมนา�้ โขง, 2552) สามารถสรุปรายละเอียดจ�านวนและขนาดพน้ื ที่
ปาชุมชนของแตละหมูบานได ดังตารางดานลาง สา� หรบั บานไหลนาน (หมทู ี่ 1) และ
บานไหลนานเหนอื (หมทู ่ี 8) มีการดแู ลปาชุมชนชนรวมกนั เนือ่ งจากบานไหลนาน
เหนือมปี ระชากรเพม่ิ ขึน้ จึงไดมกี ารตั้งหมูบานขน้ึ มาใหม และแตละหมูบานมกี าร
แตงตั้งคณะกรรมการปาชมุ ชนในการดูแลปา (ปจจบุ นั อาจจะมีการเปลยี่ นแปลงราย
ชือ่ จึงไมไดนา� เสนอในท่ีน)้ี

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

เนือทแี ละระยะรอบแปลงปาชุมชนในเขตพืนทตี า� บลไหลน่ า่ น อ�าเภอเวยี งสา จังหวดั นา่ น

ล�าดับ บา้ น เนือท(ี ไร)่ ระยะทางโดย หมายเหตุ
รอบ(เมตร)
29.7652
1 บ้านไหลน่ ่าน หมูท่ ี 1 1,021 ปาลกู เสือ
และหม่ทู ี 8 แปลงที 1

2 บา้ นไหลน่ ่าน หมทู่ ี 1 28.6772 1,341 ปาลกู เสอื
และหมู่ที 8 แปลงที 2

3 บา้ นไหล่นา่ น หมทู่ ี 1 54.7541 1,675 ปาลูกเสือ
และหมทู่ ี 8 แปลงที 3

บา้ นไหล่นา่ น หมู่ที 1 168.8738 2,132 ปาชมุ ชนเปาเนิ้ง
และหมทู่ ี 8 แปลงที 4
55.9278 1,581 ปาชุมชนหนองพระหาม
5 บ้านบญุ เรือง หมทู่ ี 2 แปลงที 1 780.3144 8,783 ปาชมุ ชนหวยเก็ด
868.8770 5,415 ปาชุมชนบานสันบอตอง
บา้ นบญุ เรือง หมู่ที 2 แปลงที 2 147.3354 2,304 ปาชุมชนผาเจอื่ ดาบ
59.9187 1,617 ปาชมุ ชนดอยเยน็
บ้านนาสา หมู่ที 3 แปลงที 1 23.4567
49.6231 831 ปาสุสาน
8 บ้านนาสา หมทู่ ี 3 แปลงที 2 47.5985 1,474 ปาชมุ ชนบานสนั ปูเจา
35.1195 1,192 ปาชุมชนหวยสไมย์
9 บ้านนาสา หมูท่ ี 3 แปลงที 3 73.0456 1,254 ปาชมุ ชนสนั เกา๊ มะปน
2,051 ปาชมุ ชนสนั ดอยเสอื ดาว
10 บา้ นนาสา หมทู่ ี 3 แปลงที 4 8.8057
151.7831 596 ปาสสุ าน
11 บา้ นนาสา หมู่ที 3 แปลงที 5 16.6587 4,153 ปาชุมชนหวยหวาย
24.2078
12 บ้านนาสา หมู่ที 3 แปลงที 6 701 ปาชุมชนก่ิวมวง
4.1742 968 ปาสสุ าน
13 บ้านท่าข้าม หมทู่ ี 4 แปลงที 1 4.7525 333 ปาชมุ ชน
10.1159 354 ปาสสุ าน
14 บ้านท่าข้าม หมทู่ ี 4 แปลงที 2 36.4610 595 ปาชุมชน
8.0837 1,313 ปาชมุ ชนดอยหวยเตา
15 บา้ นท่าข้าม หมทู่ ี 4 แปลงที 3 557 ปาชมุ ชนดอยหวยเตา

16 บ้านหว้ ยสอน หมู่ที 5 แปลงที 1 (มีรวม 23 แปลง)

17 บ้านหว้ ยสอน หมทู่ ี 5 แปลงที 2

18 บ้านหว้ ยสอน หม่ทู ี 5 แปลงที 3

19 บ้านห้วยเม่น หมทู่ ี 6 แปลงที 1

20 บ้านห้วยเมน่ หมู่ที 6 แปลงที 2

21 บา้ นหว้ ยเม่น หมทู่ ี 6 แปลงที 3

22 บ้านปากงุ๊ หม่ทู ี 7 แปลงที 1

23 บ้านปากงุ๊ หมทู่ ี 7 แปลงที 2

รวมทังสิน

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

ขอบเขตปาชมุ ชนของหมู่บา้ นต่าง ๆ ในต�าบลไหล่นา่ น

ท่มี า: ขอมูลขอบเขตจากปาชมุ ชน จาก อบต.ไหลนาน ซอนทบั กับภาพจากโปรแกรม Google Earth

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

กฎกตกิ าในปา่ ชมุ ชนต�าบลไหลนาน

กฎกตกิ าทไ่ี ดบันทกึ ไวในเอกสารผลการด�าเนนิ งานการส�ารวจขอบเขตปาฯ
(โครงการจัดการพืน้ ทชี่ มุ นา้� อยางมีสวนรวมของชุมชนในประเทศไทย
และลมุ นา้� โขง, 2552) มดี งั นี้

กฎกตกิ า

ปาชุมชนบา้ นไหลน่ า่ น (หมู่ 1)
และบา้ นไหลน่ า่ นเหนือ (หมู่ 8)

1. หามตดั ไมในเขตปาชุมชน ผใู ดฝาฝนปรบั 5,000 บาท
ผูแจงเบาะแสใหคาตอบแทนครึ่งหนง่ึ ของคาปรับ

2. หากมคี วามประสงคจ์ ะใชสอย ใหแจงคณะกรรมการ
เพื่อพจิ ารณาอนุญาต (ปาชุมชน)

3. หามลาสตั ว์ ในบริเวณปาชุมชน ผใู ดฝาฝนปรับ 2,000 บาท
4. อนญุ าตใหมกี ารหาของปาบริเวณปาชุมชนได เพือ่ เปน

อาหารแตไมทา� ลายปาดวยวิธกี ารโคนหรือตัดท�าธรุ กจิ ใหญ

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

กฎกติกา

ปาชุมชนบ้านบุญเรือง (หมู่ 2)

1. หามตดั หรอื ท�าลายไมทุกชนดิ ในเขตปาชุมชน ผูใดฝาฝน
ปรับตนละ 5,000 บาท

2. หามทิ้งขยะในเขตปาชุมชน ผูใดฝาฝนปรับ 10,000 บาท
3. หามเผาปาเพ่อื ลาสตั ว์ ผใู ดฝาฝนปรบั 10,000 บาท
4. หามน�ากลวยไมออกจากเขตปาชุมชน ผใู ดฝาฝน

ปรบั 10,000 บาท
5. ผพู บเห็นแจงใหกรรมการน�าจับไดรบั รางวัล 30%

ของคาปรับ
6. กรรมการทน่ี �าจับจะไดรบั รางวัลครง่ึ หนึ่งของคาปรับ

กฎกตกิ า

ปาชุมชนบา้ นนาสา (หมู่ 3)

มีการแบงกฎกตกิ าออกเปน 3 ขอใหญ ดังน้ี
ขอที่ 1 เร่องการอนุรักษป์ าไมในบรเวณปาชุมชน
1.1 หามมใิ หตัดไมทกุ ชนิด ผูใดฝาฝนปรับตนละ 2,000 บาท
1.2 หามเผาปาในเขตปาชุมชน ผูใดฝาฝนปรับ 5,000 บาท
1.3 หามลาสตั ว์ในเขตปาชมุ ชน ผใู ดฝาฝนปรับ 5,000 บาท
1.4 หามทง้ิ ขยะบริเวณปา ผูใดฝาฝนปรับ 2,500 บาท
ขอท่ี 2 เร่องการอนรุ ักษ์สัตวน์ า�้ ในเขตอนุรักษพ์ ันธุส์ ัตว์นา้�
2.1 หามจับสตั ว์นา้� ทุกชนิด ผใู ดฝาฝนปรับ 10,000 บาท
ขอท่ี 3 เรอ่ งการหามจบั สตั วน์ า้� ดวยเคร่องมอและวธกี าร
ดังตอไปนี้ (ในเขตสงวนสตั วน์ า้� เพอ่ื การบรโิ ภคในชุมชน)
3.1 หามชอ็ ต ระเบดิ วางยาเบื่อ ดา� หนากากและลากหนาม

ผูใดฝาฝนปรบั 1,500 บาท

กฎกติกา

ปาชมุ ชนบา้ นทา่ ข้าม (หมู่ 4)

บคุ คลทม่ี ีทท่ี า� กนิ ทางการเกษตรตดิ กับปาชุมชนหามมิใหมีการ
บุกรุกลามเปนอันขาด และหามมีการลักลอบตัดไมในเขตปา
ชมุ ชน ผใู ดฝาฝนปรบั ตนละ 5,000 บาท

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

กฎกตกิ า

ปาชุมชนบา้ นหว้ ยสอน (หมู่ 5)

1. หามมิใหตัดไมทุกชนิด หรือท�าลายปา ในเขตปาชุมชน
ผใู ดฝาฝนปรับ 10,000 บาท

2. ปาชมุ ชนหวยหวาย คนในหมบู านสามารถเกบ็ หนอไมได
แตหามชาวบานนอกหมบู านเกบ็ หนอไมจากปาแหงน้ี
หากตองการจะตองซ้อื ตอจากชาวบานหวยสอน

3. ปากิว่ มวง คนในหมบู านหาเห็ดได แตหามคนนอกหมูบาน
หากตองการจะตองซอื้ ตอจากชาวบานหวยสอน

4. กฎระเบียบขอ 2 และ 3 ผใู ดฝาฝนจะถกู ปรับตามท่ีคณะ
กรรมการพจิ ารณา

กฎกติกา

ปาชมุ ชนบา้ นห้วยเม่น (หมู่ 6)

1. หามตัดไมทุกชนดิ หรอื ทา� ลายปา ในเขตปาชมุ ชน
ผูใดฝาฝนปรับ 10,000 บาท

2. หามจดุ ไฟเผาปาในเขตปาชมุ ชน ผใู ดฝาฝนปรับ 500 บาท

กฎกติกา

ปาชมุ ชนบ้านปากงุ๊ (หมู่ 7)

1. หามตัดไมทกุ ชนิดในเขตปาชุมชน หากฝาฝน ผูใดตดั ไม
สกั ปรบั ตนละ 1,500 บาท หากตดั ตนไมอื่นใหคณะ
กรรมการพจิ ารณาคาปรับตามกรณี

2. หามขดุ หนอไมในเขตปาชมุ ชน หากฝาฝนใหคณะกรรมการ
พจิ ารณาคาปรับตามกรณี

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

ทรัพยากรชีวภาพ

จากการรวบรวมงานวิจยั เกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพในปาชุมชนตา� บลไหลนาน
ตัง้ แตอดตี (นนั ทนา คชเสนี และคณะ, 2548; Dumrongrojwatthana et al.,
2009; วุฒวิ งศ วมิ ลศกั ดิ์เจริญ, 2554; อนงคนาฏ เช็งสทุ ธา, 2555; กัลยชฎารตั น
ปญญาวงค, 2558; ณฐั กุล คณุ นะลา, 2558; พชรพล จุมศร,ี 2558; สชุ ารศั ม์ิ ตงั้
สขุ ฤทัย, 2558; สตุ นนั ท ปนมณนี พรัตน, 2558; อศิ ราวัลย หวยหงษทอง, 2558)
และการศกึ ษาเพม่ิ เติมโดยคณะผวู จิ ยั พบวาปาชมุ ชนต�าบลไหลนานมที รัพยากร
ตาง ๆ ท่ีหลากหลายและสา� คัญตอความม่นั คงทางอาหารของคนในทองถน่ิ เปน
แหลงสรางรายได และรักษาความอุดมสมบรู ณของระบบนิเวศ เชน พบนกจ�านวน
29 วงศ 59 ชนดิ พบเห็ดจ�านวน 18 วงศ 28 สกลุ 97 ชนิด โดยเปนเหด็ ทบ่ี ริโภค
ไดจา� นวน 48 ชนิด เชน เหด็ ระโงกขาว เห็ดแดง เหด็ ถอบ เปนตน พบปลาจ�านวน
4 วงศ 13 สกลุ 13 ชนิด พบแมลงในดนิ จ�านวน 17 อันดบั นอกจากน้ยี งั สามารถ
กกั เกบ็ ธาตุคารบอนจากช้นั บรรยากาศไดเฉลี่ย 41.84 ตันคารบอนตอแฮกแตรตอ
ป ผลการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตร พบวาพนื้ ทป่ี าชุมชนต�าบลไหลนานนี้ มี
มูลคาสูงถงึ 2.52 ลานบาทตอป (พงษชัย ด�ารงโรจนวัฒนา และคณะ, 2559)

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

เนื้อหาในสวนน้ีเปนการนา� เสนอความ ต้นไม้
หลากหลายของทรัพยากรชวี ภาพกลุมตาง ๆ ที่ นก
พบไดในปาชมุ ชนต�าบลไหลนาน โดยเนน เห็ด เหด็
พืชและสัตว เพ่ือใหผูอานไดเรยี นรูเบ้ืองตนเก่ยี ว ปลา
กบั ทรัพยากรท่ีมคี าในปาชุมชนประเภทตาง ๆ
ซึ่งจะไดชวยกันอนรุ ักษทรัพยากรเหลานี้ใหคง
อยูตอไป ตลอดจนเปนจดุ เร่มิ ตนในการศึกษา
คนควาเพิ่มเติมเพื่อใหองคความรตู าง ๆ มคี วาม
สมบูรณมากย่ิงขึ้น และสามารถถายทอดสูรนุ
ลูกรุนหลานตอไป

สัญลกั ษณ์แทนลกั ษณะของสิ่งมีชวี ติ

อาหาร ขนาด ลักษณะ

กินพืช ขนาดเล็ก <15 ซม. เห็ดกินได
กินแมลง ขนาดกลาง <15-30 ซม. เหด็ มพี ิษ
กนิ น้�าหวานดอกไม ขนาดใหญ > 30 ซม.

กินสตั วเลยี้ งลูกดวยนมขนาดเลก็

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ส้าน ส้านห่ิง
ไม้ขนาดเล็กไมผลดั ใบ ใบรปู ไข ดอกสเี หลืองอม
ส้ม พบประปรายในปากง่ึ โลงแจง้

กPะเMZจBียUนI BคาDFสSาBมPซกี F
ไมผลดั ใบขนาดเล็ก ใบรปู หอกเรยี วแหลม ดอก
เลก็ สีเขยี ว พบประปรายในปากึ่งโลงแจง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ตSวิ้ BขUPน ZตM้วิ ขาGวPS P
ไมผลัดใบขนาดเลก็ เปลอื กชัน้ ในมียางสีน้�าตาล
ตนที่มีขนาดเลก็ มักมหี นามยาว มักพบเปนไม
เบิกน�าตามสองขางทาง

เหียUงFSBDBS PCU GPM
ไมผลัดใบ ใบรูปไขกวาง เปลือกตนสีเทาเขม
เปนไมเดนในปาเต็งรังแตจะพบนอยบริเวณปา
เส่ือมโทรม

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

พลUวFงSPตDBอSงตงึ U CFSD MBU
ไมผลดั ใบ ล�าตนมียาง กงิ่ กานคดงอ ใบขนาดใหญ
คลายรูปหวั ใจ ใชประโยชนไดหลากหลาย

รIังPเSปFBา B FO
ไมผลัดใบ เปลือกตนสเี ทาแขง็ ใบออนสนี า้� ตาล
ออกแดง ฐานใบรูปหัวใจ มักพบข้ึนเปนกลุม
ทนทานตอไฟปา

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

เตIP็งSFแBงะPCU B
ไมผลดั ใบ เปลอื กตนสีน้�าตาลออกแดง ลักษณะ
คลายตนรัง แตใบแตกตางกนั โดยใบมกั แคบ
กวาตนรัง

กSWระOบHกBมะมBMน่ื BZBOB
ไมไมผลัดใบหรือกึ่งผลัดใบ มพี พู อนขนาดใหญ
ตาใบเรียวแหลมมีหูใบ ผลคลายกับมะมวง
ขนาดเลก็

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

เสIียดLBกาBยUBมCหินMBS
ไมผลดั ใบ เปลือกตนสีนา้� ตาลเขม มรี อยแตกหาง ๆ
ตามยาว ผลแกยนและแตกออกเปน 3 เส้ยี ว

รFักขFาDวBฮS กั DPDI ODI OFO
ไมไมผลดั ใบ ลา� ตนั มรี อยแตกตามยาว ออกดอก
เปนชอ นา้� ยางใสมีพษิ ทา� ใหเกิดการระคายเคือง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

แดZMงB ZMPDBS B
ไมผลดั ใบ ล�าตนตรง เปลือกบาง ใบแบบขนนก 2
ชั้น ปจจบุ ันมีจ�านวนลดลงเพราะถูกโคน เน่อื งจาก
เนือ้ ไมมคี ุณภาพดี

ปUรFะSPดDปู BาS ดู BDSPDBS
ไมผลัดใบขนาดใหญ เปลือกตนสีน�้าตาลออน
เปลือกช้ันในเปนเย่อื ใยสีน้�าตาลแดง ปจจุบันมี
จ�านวนนอยลง เนือ่ งจากเนือ้ ไมเปนทนี่ ิยม

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

หZวาZH D O
ไมไมผลัดใบ เปลือกตนหลุดลอกเล็กนอย
เปลอื กช้นั ในสีแดง พบท่วั ไปในปากง่ึ โลงแจง คน
นิยมน�ามาปลูก

กBวMาวOขBวDาPวS GPM B
ไมผลดั ใบ เปลอื กตนสนี ้�าตาลออน ผิวเรียบ
ใบกลมหรอื รูปไข ขึ้นกระจายในปาก่งึ โลงแจง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

ยอPSปOา สBะUกPยึ FOUP B
ไมผลัดใบขนาดเลก็ เปลือกตนสีน้�าตาล มรี อง
แตกตามยาว ผลเช่ือมติดกันเปนกลุม ผวิ ขรุขระ
พบทว่ั ไปในปากึง่ โลงแจง

คB�าSมอFกO หBลวPPงUF FO
ไมผลดั ใบ ล�าตนบิดงอ เปลือกล�าตนสีครมี ออน
หรือเทา มียางเหนยี ว ดอกขนาดใหญสีเขียวออน
หรอื ขาว ข้นึ ปะปนกบั ไมเตง็ รงั

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

โมSกHมIนัU B BSCPSFB
ไมพุมผลัดใบหรือไมตน ดอกสขี าว บางคร้งั จะมี
แตมสีเหลอื งหรอื เขียว ผลสีนา�้ ตาล มีรอู ากาศเปน
จุดสคี รมี

มUะSZตDง่ิ IOมPะตOง่ึ CMBO B
ไมพุมหรอื ไมยืนตนขนาดเล็ก เปลอื กตนสีเทาออน
ผลกลมสแี สดเปลอื กเกลย้ี งและหนา พบทว่ั ไปใน
ปากึ่งโลงแจง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

แคBหSLาIงBคาBง U MBUB
ไมผลดั ใบ เปลือกตนสีครมี ออกนา้� ตาล มีรอยตาม
แนวยาวเลก็ นอย ดอกสคี รีมหรอื น�้าตาลเหลือง ข้ึน
ในท่ีโลงแจง

เพSPกาZMมะลดิ OไมD
ไมก่ึงผลดั ใบหรอื ไมผลดั ใบ เปลอื กตนสีน้�าตาล
ครีมออน ใบประกอบแบบขนนก 3 - 4 ขั้น มี
ฝกยาวหนา ฝกออนรบั ประทานได

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

ปปMMกOาHสUPะOลอBงIPSUFO
ไมผลัดใบ เปลอื กตนสีเทา มีรอยลึกไมสมา�่ เสมอ
มกั เปนใบประกอบแบบขนนก 2 ชน้ั (บางครั้ง 1
หรือ 3 ชัน้ ) นยิ มปลกู เปนไมประดบั

เหมPอื SPดBโลWดMMเPหมB ียด
ไมผลัดใบขนาดเลก็ เปลือกตนหนาสนี ้�าตาลเทา
มรี อยแตกลึก ๆ ใบดานลางมขี นนมุ พบไดทั่วไป
ในปาผลดั ใบ

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

เปSPลUาPใOหSญP C SHI
ไมพุมผลัดใบหรือไมตนขนาดเล็ก เปลือกตนสี
น้�าตาลเทา มีรอยแตกเลก็ นอย ขอบใบมซี ห่ี ยกั
ชดิ กันแตไมสมา�่ เสมอ

มIะZขMาMBมOปUIอม F CM DB
ไมผลัดใบ ล�าตนคดงอ ใบเดี่ยวในแนวระนาบ
คลายใบแบบขนนก ผลกลมมรี สเปร้ยี ว พบท่ัวไป
ในที่กงึ่ โลงแจง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

เหยีย่ วกิ้งกาสดี า�

ODF ED D

W DF B MF IPUF
หงอนยาว หวั และล�าตวั ด�า อกและทองขาวมี
ลายขวางสีด�าและนา้� ตาลแกมแดง ปกมีแถบขาว
และน้�าตาลแดง ขนคลุมใตปกด�าตัดกับขนปก
และหางเทา ขนกลางปกเทาเกือบดา�
เหย่ียวปกแดง

5 IR V ZL JHG E D G

UB U S M WFOUFS
ตาเหลอื ง หนงั คลมุ จมกู เหลอื งสมสด หัวและ
ล�าตัวสีเทา ล�าตัวดานบนน้�าตาลแดงสดใส
แขงยาวสีเหลอื งสม ขนปกและหางน้�าตาลแดง
ชัดเจน ขนคลมุ ใตปกขาว
เหยี่ยวรงุ

HVWHG 6H SH W DJOH

MPSO DIFFMB
หนังรอบตาและหนงั คลุมจมกู เหลอื ง ปลายปากดา�
ทายทอยมหี งอนสั้น ๆ ปลายแตมจดุ ขาว หัว ล�าตวั
และขนคลุมใตปกนา�้ ตาลเขมมลี ายจดุ ขาว ขนปก
และหางดา� มแี ถบ
นกขมิ้นนอยธรรมดา

RPPR LR D

FH UI OB U I B
เพศผู้ หนาผากถึงหลัง และปกสีเหลืองแกม
เขียวเขม ตะโพกสจี ะซดี กวาบริเวณอ่นื หางสีดา�
ล�าตัวดานลางตั้งแตคางถึงกนสเี หลืองสด
เพศเมยี มีลกั ษณะคลายเพศผูแตสีซดี กวา

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

นกขมนิ้ นอยปกสีเรยี บ

HDW LR D

FH UI OB MBGSF OBZF
เพศผู้ หนาผากถึงหลังและปกสเี หลืองแกมเขยี ว
ตะโพกสีจะซีดกวาบริเวณอ่ืน หางสีด�า ล�าตัว
ดานลางตัง้ แตคางถงึ กนสีเหลืองสด
เพศเมีย มีลกั ษณะคลายเพศผูแตสซี ดี กวา
นกกะเต็นอกขาว

LWH W RDWHG L JILV H

BMDZPO ZSOFO
ตง้ั แตหนาผากถึงหลังตอนบนสีน�้าตาล ปากสี
แดง บริเวณปก หลงั และหางสฟี าเขม หลังตอน
ลางและตะโพกสีฟา ล�าตวั ดานลางต้งั แตทองถึง
ขนคลุมใตโคนหางสนี า้� ตาล คาง คอและอกสขี าว

นกกะเตน็ นอยธรรมดา
MRDPF PPRBUUIL JILV H

ล�าตัวดานบนสีน�้าเงินเหลือบเขียว หลังและ
ตะโพกฟ าวาว ขนคลุมหูน�้าตาลแดงตอกับ
แถบขาว คอขาว ล�าตวั ดานลางสีสมแกมน้�าตาล
แขงและตนี แดง
นกตะขาบทงุ

PGSLBDD BRCOOFHOHIBMFO
หัวสีฟา ปากสีดา� คางมีลายขีดแนวต้งั สนี ้�าเงนิ ลง
มาถึงอก ล�าตัวดานบนสีน้�าตาลแกมฟา ล�าตวั
ดานลางสีน�้าตาล ขนคลุมปกดานบนและขน
ปลายปกสนี า�้ เงิน กนถึงขนคลุมใตโคนหางสฟี า

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

เปดแดง

HVVH Z LVWOL J G F

FO SPDZHOB BWBO DB
ล�าตัวสนี �้าตาลแกมเหลือง กระหมอม ทายทอยและ
หลงั สนี �้าตาลเขม หางสนี �้าตาลแดง ปากและขาดา�
ขนปลายปกเทาดา�

นกแอนตาล

3DOP VZLIW

Z S CBMB FO
ล�าตวั ผอมบาง ปกแหลมเรียวแคบ ล�าตวั สนี า้� ตาล
เขม หางแหลม เมื่อกางออกเปนแฉกลึก

นกแอนพง
SVUB ZRGRGDVZDOORZ

ปากหนาสีเทาแกมฟา หัวตาสีด�าหรือเทาเขม
หัวถึงทายทอยสีเทา หลังถึงตะโพกสีน�้าตาล
หางส้นั สีเทา โคนหางและปลายหางเปนแถบสี
ออกขาว ล�าตัวดานลางสีเทาตงั้ แตคางถงึ คอ อก
ถึงทองสนี �้าตาล กนและขนคลุมใตโคนหางสีขาว
นกพญาไฟสเี ทา

FVS DSPPDLPULYHW WBS DBU
เพศผู้ หัวตาด�า หนาผากสีขาว กระหมอมถึง
ทายทอยด�า หลังตอนบนถึงขนคลุมบนโคนหาง
สีเทา ปกสีด�ามสี ีขาวผสม หางสีด�าขอบหางดาน
นอกสีขาว ล�าตัวดานลางสีขาว เพศเมยี หัวตาสีด�า
หนาผากขาว กระหมอมถงึ ขนคลมุ บนโคนหางสเี ทา

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

นกพญาไฟใหญ
6FFSDDSOPHDWPPU L LYHFWD P
เพศผู้ หวั คอ ปกและหางดา� เปนมนั ล�าตัวดาน
ลาง ปก ตะโพก และขอบหางแดงเขม แถบปก
ใหญและมีจุดแดงแยกออกมา เพศเมีย ล�าตัว
ดานลาง แถบปกและหางสเี หลอื งสด
นกเขียวกานตองหนาผากสีทอง

IRMOPGSHP I RB WSHGGSPOOHDIEL G
ขนปกคลุมล�าตัวสีเขียว หนาผากสีสม คอ
สีน้�าเงินลอมรอบดวยสีด�า และมีสีเหลืองแซม
เปนขอบอกี ช้ัน มีแตมสฟี าทหี่ วั ปก ปากสดี �าเรยี ว
แหลมปลายโคงลงเลก็ นอย ขาสีดา�
นกเขาไฟ
5UHSFG WUP WFOMHBGURSBYHO FCBS DB
ลา� ตวั กลมปอม หางสน้ั ขาสีแดงหลงั คอมแี ถบสดี า�
เพศผู้ หัวสีเทาอมฟา ล�าตวั และปกสีน�้าตาล
แดง ปลายปกสดี �า ตะโพกและหางสีเทาคลา�้
เพศเมีย สจี างกวา
นกพริ าบปา

5RF GRYH

PM CB M W B
ขนปกคลุมลา� ตวั มีหลายสี สวนใหญมักพบสเี ทา
เขม มีแถบใหญสดี า� ทีป่ กสองแถบ มีแถบสีเขียว
เหลือบท่คี อ ปลายหางสีดา� ปากสีดา� ขาสแี ดง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

นกเขาชวา
HFEP DFM'BRYUHS BUB

หัวสีน�้าตาล หนาผากสีเทาอมฟา ปากสีเทา
แกมนา้� เงิน ล�าตัวดานบนต้ังแตทายทอยลงไป
จนถงึ หางสีน้�าตาลและมีลายขดี ขวางสดี �า ล�าตวั
ดานลางสีนา้� ตาลแกมเทา ขนใตหางเปนลายบั้ง
สีขาว ขาและนว้ิ สีแดงเขม
นกเขาใหญ

6SRWWHG 'RYH

USF UP FM B DI OFO
หัวสเี ทาออกน้�าตาล หัวตาสีด�า ปากสีน้�าตาล
คอนขางยาวและตรง ทายทอยมแี ถบสีดา� ลายจุดสี
ขาว ล�าตวั ดานบนสอี อกน้�าตาล ปกสนี า้� ตาลเขม
ขนปลายหางดานขางทัง้ 2 แถบ สีขาว

นกกาแวน
5SDZF HSWOWBDLUOFHG WB HHSLH
ปากใหญและหนาสเี ทาเขมถึงด�า มานตาสฟี า/
นา้� เงิน หนาผาก หัวตาและวงตาสดี า� ลา� ตวั เพรียว
หางยาวปลายหางมขี อบมนและบานออก
ขนสีเทาเขมเหลือบเขยี วท้ังตัว

นกขนุ แผน

5HG ELOOHG EO H PDJSLH

SPD B FSZUISPSZODIB
หัวถงึ อกสดี �า ปากสแี ดงสด ล�าตัวดานบนและ
ปกสีฟาคราม ล�าตัวดานลางสขี าว ทายทอยถงึ
หลังตอนบนมีแถบสขี าว หางยาวสฟี าปลายหาง
สขี าว ขาและตีนสแี ดง

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

นกปกลายสกอต

DVLD D

BSS M HMBO BS
กระหมอมสดี า� หนาผากสีขาวแซมด�า หนา แกม
และคอสขี าว แถบหนวดกวางสดี า� ลา� ตวั ดานบน
สนี า�้ ตาล ลา� ตวั ดานลางสซี ดี กวา ตะโพกสีขาว
ปกมลี ายสฟี าดา� และขาวเรียงกนั เปนแถบ
นกกะปูดใหญ

HDWH FR FDO

FOUSP OFO
ปากสีดา� หนา ปลายปากโคงเล็กนอย มานตาสี
แดง บรเิ วณหัว คอ ล�าตัวดานลาง และหางสดี า�
เหลอื บน้�าเงิน หลงั และปกสีน้�าตาลแดง แขงและ
ตนี สดี �า
นกคัคคสู มี วง

9LROHW F F RR

ISZ PDPDDZ BOUIPSIZODI
เพศผู้ วงตาสีสม มานตาสีแดง ปากสีเหลือง
หนาผาก ถึงหางสมี วงเหลอื บเปนมัน คางถึงคอสี
มวงเหลอื บเปนมนั อกถึงหางสีขาวมีลายขีดขวางสี
ด�า เพศเมีย หนาผากถึงหลังสนี ้�าตาลแกมเหลอื ง
นกบงั้ รอกใหญ
IBHFHO DEPLOOIHBGFPDUOS RU D
ปากใหญและหนาสเี ขียวขุน หนงั รอบตาสีแดง หวั สี
เทาออน หลังและปกสีเทาแกมเขยี ว ลา� ตัวดานลาง
สเี ทาแซมขดี สดี า� เล็ก ๆ สชี วงคางถงึ อกจะจางกวา
สชี วงทอง หางยาวมาก ขนใตหางเปนลายบั้งสีขาว

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

นกอวี าบตก๊ั แตน

3ODL WLYH F RR

BDP BOU FS M O
หัว คอ และอกตอนบนสีเทา ล�าตัวดานบนสี
เทาเขม ล�าตัวดานลางสีน�้าตาลแดง หางสีด�า
ขอบปลายหางสีขาว นกวยั ออ่ น ล�าตัวสีน�้าตาล
มีลายเกลด็ สนี า�้ ตาลเขม

นกสชี มพสู วน
6FDDBFOHW EDDSF FHOGUBIUORZH SHF H
เพศผู้ หนาผากถึงขนคลุมบนโคนหางสแี ดง หัวตา
และขนคลมุ หูสีด�า ปกและหางสีด�าเหลอื บน�้าเงนิ
ล�าตัวดานลางสขี าว เพศเมีย หนาผากถงึ หลงั สี
น�้าตาล สขี างและทองชวงลางสอี อกเทา
นกแซงแซวเล็กเหลอื บ

R H G R JR

DS S BFOF
ขนาดเล็กกวาแซงแซวชนิดอน่ื ปากหนาและสัน้
มขี นแขง็ รอบโคนปากเปนจา� นวนมาก ล�าตัวดาน
บนและอกสีดา� เหลอื บน้�าเงินเปนมนั ขนหางแคบ
และมปี ลายเปนแฉก
นกแซงแซวสเี ทา

V G R JR

DS S MF DP IBF
หวั ตาและขนคลุมหสู ีขาว ปากดา� ล�าตัวเปนสีเทา
ออน เทาเขม หรอื สเี กอื บด�า สีของขนปลายปกจะ
เขมกวาสีของปกและล�าตวั ดานบนเลก็ นอย
กนสขี าว หางเวาลกึ

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้

นกแซงแซวหางบวงใหญ

HDWH DF HW WDLOHG G R JR

DS S BSB F
หนาผากมีหงอนสีดา� ตงั้ เปนกระจุก ขนของล�าตวั
สีดา� เหลือบน้�าเงินทั้งตวั หางเปนแฉกต้นื ๆ หาง
คูนอกมกี านขนยาวมาก ปลายแผออกดานเดยี ว
เปนแผนใหญและบิดโคงเล็กนอย
นกแซงแซวหางปลา

ODF G R JR

DS S BDSPDFSD
ล�าตัวเพรียว ปากใหญสีดา� ปลายปากแหลมงุมลง
เลก็ นอย ตาสแี ดง ขนปกคลมุ ลา� ตวั สีด�า หางยาว
ปลายหางเปนแฉกเวาลกึ

นกกระต๊ิดข้หี มู

6FDO E HDVWHG P LD

-PODI SB ODU MBUB
ปากเปนรูปกรวยสดี �า หัวตาสีน�้าตาลเขม ล�าตวั
ดานบนสนี �้าตาล ปลายหางแหลม ล�าตวั ดานลาง
บริเวณคางถงึ คอสีนา�้ ตาลเขม อกและสีขางสีขาวมี
ลายเกลด็ สีน�้าตาล ทองถึงขนคลุมใตโคนหางสีขาว
นกกระต๊ิดตะโพกขาว

LWH PSHG P LD

-PODI SB US BUB
ปากรูปกรวยสีเทา หน าผากถึงหลังสีน�้าตาล
ปกสนี �้าตาลเขมกวามีลายขีดสขี าว ตะโพกสีขาว
ขนคลุมบนโคนหางสีน�้าตาลมีลายเกล็ดสีขาว
หางเปนตง่ิ แหลมสีน�้าตาลเขมเกือบด�า

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

นกนางแอนบาน

D VZDOORZ

S O P S U DB
หนาผากสนี ้�าตาลแดงเขม กระหมอมถงึ หางสีด�า
เหลอื บน�้าเงินเปนมัน หางเปนแฉกลึก คางและ
คอสนี า้� ตาลแดงเขม อกมีแถบคาดสีดา� เหลือบ
นา้� เงิน ล�าตัวดานลางสขี าว

นกอีเสือสีนา�้ ตาล

RZ V L H

-BO DS UBU
ปากใหญและหนาปลายปากงมุ เปนจะงอยสีดา� ค้วิ
สนี า้� ตาลออน แถบตาสีดา� ล�าตัวดานบนสีน้�าตาล
ตะโพกและหางมสี นี ้�าตาลเขมกวาสวนหลงั ล�าตวั
ดานลางตัง้ แตคางถึงอกสีน�้าตาลออนปนขาว

นกโพระดกธรรมดา

L HDWHG ED EHW

FHBMB B M OFBUB
ปากสเี หลอื งสม หนงั รอบตาสเี หลือง หนาผากถึง
ทายทอยสีน้�าตาลแกมเหลืองมีลายขีดสีน้�าตาล
เขม หลงั ถงึ หางสีเขยี ว ล�าตวั ดานลางบริเวณคอ อก
และทองสีนา้� ตาลแกมเหลืองมลี ายขดี สนี า้� ตาลเขม

นกตีทอง
RMSPSHPHVPPO LIWBF DBEDFHW IBM

หนาผากสแี ดง ใบหนาสดี �า มีแถบเหลืองดานบน
และดานลางของตา ทายทอยถงึ หางสเี ขียว ล�าตัว
ดานลางบริเวณคางถึงคอสีเหลือง คอดานลางมี
แถบสีแดง อกตอนบนสเี หลอื งสม อกตอนลางถึง
กนสีขาวแกมเหลืองและมลี ายขีดสีเขยี ว

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพื่อการเรียนรู้

นกจับแมลงจุกด�า
ZODFPUIZ DSHBG PSRFBD F

เพศผู้ หนาผากถึงปลายหางสฟี า ปากสฟี าเขม
ขนโคนปากสดี า� มีจกุ กลมสีดา� บรเิ วณกระหมอม
คางและคอสฟี า อกสีฟามีแถบพาดสดี า� เขม ทอง
ถึงกนสีขาว เพศเมยี หนาผากถึงทายทอยสีฟา
แตไมสดเทาเพศผู บริเวณทายทอยไมมจี กุ สดี า�
นกกางเขนดง

P LWZHDI PSHBGMBVCBDSPD D
เพศผู้ หนาผากถงึ หลงั สดี �า ตะโพกสขี าว หางยาว
สีดา� ล�าตัวดานลางตง้ั แตคางถงึ อกสีด�า ทองถงึ
ขนคลุมใตโคนหางสสี มหรือสนี า�้ ตาลแดง ขนหาง
ดานลางสขี าว เพศเมยี ล�าตัวดานลางต้งั แตคาง
ถงึ อกสีด�าแกมนา�้ ตาล หางส้นั กวาเพศผู
นกกางเขนบาน

2 LH WDO PDJSLH REL

P ZDI B MBS
เพศผู้ หนาผากถึงหางสีด�า ปกสีด�ามแี ถบสีขาว
ขอบหางสีขาว ล�าตัวดานลางบริเวณคาง คอและ
อกสดี า� ทองถงึ ขนคลมุ ใตโคนหางสขี าว เพศเมยี
มีลกั ษณะคลายเพศผแู ตสีออกเทา (ซดี กวาเพศผู)

นกจบั แมลงคอแดง
7DDLFJD IMOB FBDMCWFD MHMB
ปากสีดา� หนาผากถงึ ตะโพกสีน้�าตาลออกเทา
ขนคลมุ บนโคนหางและหางสดี า� ขอบหางคูนอก
สีขาว ล�าตัวดานลางบริเวณคางถึงอกสีขาว
ทองถึงขนคลุมใตโคนหางสขี าวแกมเทา ขาสีดา�

ปาชุมชนไหลนานและเกมเพ่ือการเรียนรู้


Click to View FlipBook Version