The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการโคกศรี (ตุ๊กแก้ไขล่าสุดในห้อง ผอ.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tipkesorn Sawangwong, 2023-11-14 12:44:26

แผนปฏิบัติการโคกศรี (ตุ๊กแก้ไขล่าสุดในห้อง ผอ.)

แผนปฏิบัติการโคกศรี (ตุ๊กแก้ไขล่าสุดในห้อง ผอ.)

1 \


ก คำนำ แผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณ ๒๕๖๖ ของโรงเรียนบานโคกศรีจัดทำขึ้นเพื่อใชเปนกรอบและ แนวทางในการดำเนินงานดานการจัดการศึกษาใหมีความสอดคลองกับกรอบนโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ เพื่อใชเปนกรอบการดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษาให เกิดผลตามเปาหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัด และกลยุทธของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมี สาระสำคัญประกอบดวยวิสัยทัศนพันธกิจ เปาหมายการใหบริการ ตัวชี้วัด กลยุทธผลผลิต โครงการ/กิจกรรม วงเงินงบประมาณ ซึ่งมีความเชื่อมโยงสอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติพ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙ กับทิศทางการ พัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการฉบับนี้จะบรรลุผลตามเปาหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จ ที่กำหนดไว ตองไดรับความรวมมือจากกลุม/หนวย และสถานศึกษาที่เกี่ยวของ และการสนับสนุนจากทุกภาคสวน โดยมุงสู เปาหมายสุดทายคือการพัฒนาใหนักเรียนไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ อยางเทาเทียมกัน โรงเรียนบานโคกศรี


ข สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ .............................................................................................................................................. ก สารบัญ ........................................................................................................................................... ข สวนที่ ๑ บทนำ .............................................................................................................................. 1 ขอมูลทั่วไป สภาพปจจุบัน ปญหา ............................................................................................... 1 ผลการดำเนินงานในรอบปที่ผานมา ............................................................................................ สวนที่ 2 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา.................................................................................... 21 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ....................................................................................... 21 กฎหมาย แผน นโยบายสำคัญที่เกี่ยวของ .......................................................................... 21 กฎหมาย ระเบียบ แผนที่เกี่ยวของ .................................................................................... 33 พระบรมราโชบายเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา ................................................................ 42 นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ............. 42 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ .......... 44 กลยุทธ ............................................................................................................................... 47 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต ๒ ................ 56 กลยุทธและแนวทางในการพัฒนาตามกลยุทธ ............................................................................. 57 ตัวชี้วัด คาเปาหมายของตัวชี้วัด และความสอดคลองกับคุณลักษณะเปาหมาย (SMART) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ............................................................................................... 62 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาศึกษา .................................................................... 70 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ..................................................... 71 กลยุทธ(Strategies) การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ................................ 72 เปาหมาย/ตัวบงชี้ความสำเร็จตามกลยุทธ ................................................................................... 72 มาตรฐานระดับการศึกษา ............................................................................................................ 74 สวนที่ ๓ ประมาณการรายรับ รายจาย ประจำปงบประมาณของโรงเรียน ...................................... 83 ประมาณการรายรับ สำหรับแผนปฏิบัติการ ปงบประมาณ ๒๕๖๖ ............................................. 83 ประมาณการรายจายจากเงินงบประมาณ ปงบประมาณ ๒๕๖๖ ................................................ 84 ประมาณการรายจายจากเงินนอกงบประมาณ เชน เงินสนับสนุนจาก อปท., เงินรายไดสถานศึกษา, เงินบริจาค .............................................................................................. 84 ประมาณการรายรับ รายจาย ประจำปงบประมาณของโรงเรียน ................................................ 85 สรุปงบประมาณรายจายตามแผนงานโครงการ/กิจกรรม ............................................................ 87 สวนที่ ๔ รายละเอียดแผนงานตามโครงการ/กิจกรรม (การบริหารแผนสูการปฏิบัติ) ...................... 91 สวนที่ ๕ การกำกับ ติดตาม ประเมินผล และการรายงาน ............................................................... 180 การบริหารแผนไปสูความสำเร็จ ................................................................................................... 180 ขั้นตอนการนาแผนกลยุทธสูการปฏิบัติ ........................................................................................ 180 การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ ............................................................................................... 181 การติดตามผลการดำเนินงานเพื่อใหไดขอมูลมาจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ......................... 181


ค สารบัญ (ตอ) เรื่อง หนา ภาคผนวก ....................................................................................................................................... 183 คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปงบประมาณ ๒๕๖๖ ...................................... 184 คำสั่งแตงตั้งผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ปงบประมาณ ๒๕๖๖. .............................. 185 การใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๖ ............................................... 188


๑ สวนที่ ๑ บทนำ ขอมูลทั่วไป สภาพปจจุบัน ปญหา ๑. ขอมูลพื้นฐานของโรงเรียน ๑.๑ ขอมูลทั่วไป ๑.๑.๑ ชื่อโรงเรียน บานโคกศรีหมูที่ ๙ ตำบลโพนงาม อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย๓๕๑๔๐ โทรศัพท๐๘๙-๐๒๘-๐๗๘๙ e-mail : [email protected] ๑.๑.๒ เปดสอนตั้งแตระดับ อนุบาล ๒ ถึงระดับ ประถมศึกษาปที่ ๖ ๑.๑.๓ มีเขตพื้นที่บริการ ๒ หมูบาน ไดแก บานโคกศรีบานนางาม ๑.๒ ขอมูลดานการบริหาร ๑) นางสาวทวินันทใสขาว ผูอำนวยการโรงเรียนบานโคกศรีวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนงที่โรงเรียนนี้ตั้งแต ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๕ จนถึงปจจุบัน ๒) รองผูอำนวยการโรงเรียน ............-.............คน ๓) ประวัติโดยยอของโรงเรียน โรงเรียนบานโคกศรีตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยมีนักเรียนจากบานโคกศรีและบานนางามมาเรียน รวมกันมีเหตุการณเปลี่ยนแปลงมาจนถึงปจจุบัน ดังนี้ กอนทำการกอตั้งโรงเรียนทั้งสองหมูบานไดเขาไปเขาเรียนที่โรงเรียนบานแดงตอมาเมื่อปพ.ศ. ๒๔๘๐ ไดตั้งเปนโรงเรียนเอกเทศขึ้นชื่อวาโรงเรียนประชาบาลตำบลโพนงาม ๕ (วัดบานโคกศรี) มีนายสีทา ศรีวะรมย เปนครูใหญคนแรก และมีนายอ่ำ ทองไชย เปนครูสายผูสอน ตอมานายสีทา ศรีวะรมยไดแตงตั้งนายอ่ำ ทองไชย เปนครูใหญแทน แลวยายโรงเรียนจากวัดมาเปนโรงเรียนเอกเทศชั่วคราว อยูทางทิศเหนือหมูบานโคกศรี ปพ.ศ. ๒๔๙๘ นายสนอง คัมภทวีเห็นวาโรงเรียนมีความชำรุดทรุดโทรมมากจึงกลับไปเรียนที่วัดโดย อาศัยศาลาวัดที่เดิมแตเนื่องจากศาลาวัดมีเนื้อที่คับแคบมากจึงไปจับจองที่ดินแหงใหมซึ่งอยูทางทิศเหนือบานโคก ศรีมีเนื้อที่ ๖ ไรเศษ ทำการปลูกสรางอาคารเรียนหลังใหมโดยใชงบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท กอสรางเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๐๐ ปพ.ศ. ๒๕๐๑ นายโสม ศรีละโคตร เปนครูใหญและมีนายเสารเหลา เปนครูสายผูสอน ปพ.ศ. ๒๕๐๔ มีการเปลี่ยนแปลงการสอนการวัดผลในชั้น ป.๑-๓ ปพ.ศ. ๒๕๐๖ มีการสอนการวัดผลครูทุกชั้นเรียนและในปนี้อาคารเรียนทุดโทรมมากจึงไดทำการรื้อ และกอสรางใหมโดยอาศัยคระครูกรรมการโรงเรียน ชาวบาน ผูปกครองมารวมกัน ปพ.ศ. ๒๕๑๗ ไดสรางอาคารเรียน ป.๑ ขนาด ๒ หองเรียน เปนเงิน ๖๕,๐๐๐ บาท และไดรับที่ดินทาง ทิศตะวันตกรวมกับที่ดินที่มีอยูเดิม ๑๐ ไรเศษ ปพ.ศ. ๒๕๑๘ ไดรับงบประมาณสรางบานพักครูแบบสามัญ๒ ราคา ๓๐,๐๐๐ บาท ปพ.ศ. ๒๕๑๙ ไดรับงบประมาณสรางบานพักครูแบบสามัญ๒ ราคา ๓๐,๐๐๐ บาท เพิ่มอีก จำนวน ๑ หลัง ปพ.ศ. ๒๕๒๑ โรงเรียนเริ่มใชหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๑ เริ่มจากชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ถึงชั้น ประถมศึกษาปที่ ๖ ตามลำดับในปพ.ศ. ๒๕๒๖ ปพ.ศ. ๒๕๒๕ ไดรับการจัดสรรงบประมาณกอสรางอาคารเรียน สปช. ๑๐๒/๒๖ ชั้นเดียว ๒ หองเรียน เปนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท


๒ ปพ.ศ. ๒๕๒๙ ไดรับการจัดสรรงบประมาณกอสรางอาคารอเนกประสงคแบบ สปช. ๒๐๒/๒๖ ขนาด กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๒ เมตร พื้นที่ ๑๒๐ ตารางเมตร เปนเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ปพ.ศ. ๒๕๓๔ ไดรับการจัดสรรงบประมาณกอสรางสวมขนาด ๔ ที่ ราคา ๘๐,๐๐๐ บาท ปพ.ศ. ๒๕๓๘ คณะครูไดรวมตกลงกันสรางโรงอาหารเพื่อใชในกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน โดยใน ปนี้นายบพิธ ทองไชย ไดติดตอขอดินถมสถานที่และไดรับบริจาคจาก นายสฤษดิ์ประดับศรีสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรจังหวัดยโสธร จำนวน ๘ คันรถ และไดรับบริจาคไมจากนายหนูอาจ กลาหาญ ผูใหญบาน นายกวาง วลัย ศรีนายจอมพล กองทอง เพื่อทำการกอสรางและไดรับบริจาควัสดุจากผูมีจิตศรัทธาทั่วไปทั้งชาวบานที่คาขายที่ กรุงเทพหานคร และชาบานราอยูในพื้นที่ รวมทั้งคณะครูในโรงเรียนรวมกันกอสรางเสร็จในปพ.ศ. ๒๕๓๙ คิด เปนเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท ปพ.ศ. ๒๕๔๙ ไดรับอุปกรณเครื่องเสียงและโทรทัศนจากการสนับสนุนจากนายสฤษดิ์ประดับศรีโดย การติดตอประสานงานของนายบพิธ ทองไชย และสรางสนามฟุตบอลแบบ ฟ.๑ คิดเปนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ ปพ.ศ. ๒๕๕๐ โรงเรียนไดรับการคัดเลือกเปนโรงเรียนปฏิรูปการศึกษาไดรับงบประมาณสราง หองปฏิบัติการทางภาษามีการปรับปรุงระบบการเรียนการสอนโดยไดดำเนินการจัดกาอุปกรณสนามเด็กเลน เพื่อใหนักเรียนไดพัฒนาทางดานรางกายพรอมทั้งไดจัดสรางสนามวอลเลยบอลคิดเปนมูลคา ๓๐,๐๐๐ ปพ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนไดรับอุปกรณรับสัญญาณดาวเทียมเพื่อแกปญหาครูไมครบชั้นจากมูลนิธิไทยคม จำนวน ๖ ชุด พรอมเครื่องรับโทรทัศนมูลคา ๖๐,๐๐๐ บาท ปพ.ศ. ๒๕๕๒ โรงเรียนไดปรับปรุงอาคารโรงอาหาร ปูกระเบื้อง ทำกรงเหล็ก ปรับปรุงหองครัวและ จัดซื้อเกาอี้และจัดทำโตะอาหารกลางวันนักเรียนมูลคา ๑๒๐,๐๐๐ บาท จากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน คณะครูศิษยเกา คณะผาปาจากกรุงเทพมหานคร ปพ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนไดจัดสรางหองอาบน้ำ ๒ ที่ หองสวม ๒ ที่ สำหรับชั้นอนุบาล งบประมาณ ๔๕,๐๐๐ บาท โดยการระดมทรัพยากรจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครูผูปกครองนักเรียน และชาวบานบานโคกศรีและบานนางาม รวมกันบริจาค ปพ.ศ. ๒๕๕๖ ไดรับจัดสรรงบประมาณขยายเขตไฟฟาหลังมิเตอรภายในโรงเรียน งบประมาณ ๑๑๐,๐๐๐ บาท ปพ.ศ. ๒๕๕๘ ไดรับจัดสรรงบประมาณกอสรางสนามกีฬาอเนกประสงคงบประมาณ ๑๓๕,๐๐๐ บาท รายนามผูดำรงตำแหนงผูบริหารโรงเรียนบานโคกศรีตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีดังนี้ ๑. นายสีทา ศรีวะรมย ๒๔๗๘-๒๔๘๐ ๒. นายอ่ำ ทองไชย ๒๔๘๐-๒๔๘๕ ๓. นายปทมทองเฟอง ๒๔๘๕-๒๔๙๐ ๔. นายจันทรปนเจริญ ๒๔๙๐-๒๔๙๔ ๕. นายเรียบ ไศลบาท ๒๔๙๔-๒๔๙๕ ๖. นายบัณฑิต เวชกามา ๒๔๙๕-๒๔๙๖ ๗. นายจินดา กวีนนท ๒๔๙๖-๒๔๙๘ ๘. นายสนอง คัมภทวี ๒๔๙๘-๒๕๐๑ ๙. นายโสม ศรีละโคตร ๒๕๐๑-๒๕๒๖ ๑๐. นายสุรศักดิ์สนิท ๒๕๒๖-๒๕๒๗ ๑๑. นายสมัย วโรรส ๒๕๒๗-๒๕๒๙ ๑๒. นายสากล นนทพจน ๒๕๓๐-๒๕๓๓ ๑๓. นายสำรวย กกแกว ๒๕๓๓-๒๕๓๕ ๑๔. นายราชันตบุญหลา ๒๕๓๖-๒๕๔๒


๓ ๑๕. นายเศรษฐกานตสุภารีย ๒๕๔๓-๒๕๔๘ ๑๖. นายสงกรานตหลักคำแพง ๒๕๔๙-๒๕๕๔ ๑๗. นายธนะเมศฐโชตนธนภัทรกุล ๒๕๕๔-๒๕๕๖ ๑๘. ปการศึกษา ๒๕๕๖ ตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนวาง นางวงเดือน ทองไชย ตำแหนงครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ เปนผูรักษาราชการในตำแหนงผูอำนวยการโรงเรียนบานโคกศรี ๑๙. วาที่ ร.ต. เฉลิมพล ลุนาบุตร ๒๕๕๘-๒๕๖๒ ๒๐. นางสาวอุไรวรรณ มณีล้ำ วันที่ ๒๕ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๕ ๒๑. นางสาวทวินันทใสขาว วันที่ ๑๗ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕-ปจจุบัน พื้นที่ทั้งหมดของโรงเรียนมี๑๗ ไร ๑ งาน ๔๘ ตารางวา ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียน ที่ยส.๓๔๘ ตั้งอยูที่บานโคกศรีหมู ๙ ต. โพนงาม อ. กุดชุม จ. ยโสธร ๑.๑ อาคารเรียน/อาคารประอบ/สิ่งปลูกสรางอื่นๆ ๑. อาคารเรียน สปช. ๑๐๒/๒๖ ๒ หองเรียน ๑ หลัง ๒. อาคารเรียน สปช. ๑๐๒/๒๖ ๓ หองเรียน ๑ หลัง ๓. สวม แบบ สปช. ๖๐๑/๒๖ ๔ ที่ ๑ หลัง ๔. สวมบริจาคจากชาวบาน ๔ ที่ ๑ หลัง ๕. ลานกีฬาอเนกประสงค ๑ สนาม ๖. ถังน้ำซีเมนตแบบ ฝ.๓๓ ๓ ถัง ๗. ฐานพระพุทธรูป ๑ ฐาน ๘. เสาธง ๑ เสา ๑.๒ หองพิเศษ/แหลงเรียนรูในโรงเรียน ๑. หองพักครู/หองผูบริหาร ๑ หอง ๒. หองสมุด ๑ หอง ๓. หองพัสดุ ๑ หอง ๔. หองพยาบาล ๑ หอง ๕. หองครัว ๑ หอง ๖. สวนมะนาว ๑ แปลง ๗. สวนผักสวนครัว ๑ แปลง ๘. คอกเลี้ยงหมูปา ๑ หลัง ๔) คำขวัญของโรงเรียน ศึกษาดีมีคุณธรรม นำพัฒนา การกีฬาเลิศ


๔ ๑.การวางแผนอัตรากำลัง ๒.การจัดสรรอัตรากำลังข6าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ๓.การสรรหาและบรรจุแตCงตั้ง ๔.การเปลี่ยนตำแหนCงให6สูงขึ้น การย6าย ข6าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๕.การดำเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้น เงินเดือน ๖.การลาทุกประเภท ๗.การประเมินผลการปฏิบัติงาน ๘.การดำเนินการทางวินัยและการลงโทษ ๙.การสั่งพักราชการและการสั่งให6ออกจาก ราชการไว6กCอน ๑๐.การรายงานการดำเนินการทางวินัยและ การลงโทษ ๑๑.การอุทธรณ\และการร6องทุกข\ ๑๒.การออกจากราชการ ๑๓.การจัดระบบและการจัดทำทะเบียน ประวัติ ๑๔.การจัดทำบัญชีรายชื่อและให6ความเห็น เกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ\ ๑๕.การสCงเสริมการประเมินวิทยฐานะ ข6าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๖.การสCงเสริมและยกยCองเชิดชูเกียรติ ๑๗.การสCงเสริมมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘.การสCงเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับข6าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ๑๙.การริเริ่มสCงเสริมการขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูและบุคลากรทางากร ศึกษา ๒๐.การพัฒนาข6าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา โครงสร&างการบริหารงานโรงเรียนบ&านโคกศรี กลุ$มบริหารวิชาการ นางสาวทิพย3เกษร สว$างวงษ3 กลุ$มบริหารงบประมาณ นายปริวัต แสงเสน กลุ$มบริหารงานบุคคล นางสาวศิริวรรณ กันยานุช กลุ$มรบริหารทั่วไป นางหนูทัศ สนศรี ๑.การพัฒนาหรือการดำเนินการเกี่ยวกับให6 ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท6องถิ่น ๒.การวางแผนงานด6านวิชาการ ๓.การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ๔.การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ๕.การพัฒนากระบวนการเรียนรู6 ๖.การวัดผล ประเมินผล และดำเนินการ เทียบโอนผลการเรียน ๗.การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา ๘.การพัฒนาและสCงเสริมให6มีแหลCงเรียนรู6 ๙.การนิเทศการศึกษา ๑๐.การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา ๑๑.การสCงเสริมชุมชนให6มีความเข6มแข็งทาง วิชาการ ๑๒.การประสานความรCวมมือในการพัฒนา วิชาการ กับสถานศึกษาและองค\กรอื่น ๑๓.การสCงเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแกC บุคคล ครอบครัว องค\กร หนCวยงาน สถาน ประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา ๑๔.การจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับงานด6านวิชาการของสถานศึกษา ๑๕.การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช6ใน สถานศึกษา ๑๖.การพัฒนาและใช6สื่อเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา ๑.การจัดทำแผนงบประมาณและคำขอตั้ง งบประมาณเพื่อเสนอตCอเลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒.การจัดทำแผนปฏิบัติการใช6จCายเงิน ตามที่ ได6รับจัดสรรจากสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๓.การอนุมัติการใช6จCายงบประมาณที่ได6รับจัดสรร ๔.การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ๕.การรายงานผลการเบิกจCายงบประมาณ ๖.การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช6 งบประมาณ ๗.การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช6 ผลผลิต จากงบประมาณ ๘.การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อ การศึกษา ๙.การปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได6รับมอบหมาย เกี่ยวกับกองทุนเพื่อการศึกษา ๑๐.การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษ ๑๑.การวางแผนพัสดุ ๑๒.การกำหนดแบบรูปรายการ หรือคุณลักษณะ เฉพาะของครุภัณฑ\หรือสิ่งกCอสร6างที่ใช6เงิน งบประมาณเพื่อเสนอตCอเลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๓.การพัฒนาระบบข6อมูลสารสนเทศเพื่อการ จัดทำและจัดหาพัสดุ ๑๔.การจัดหาพัสดุ ๑๕.การควบคุมดูแล บำรุงรักษาและจำหนCาย พัสดุ ๑๖.การจัดหาผลประโยชน\จากทรัพย\สิน ๑๗.การเบิกเงินจากคลัง/นำเงินสCงคลัง ๑๘.การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน จCายเงิน ๑๙.การนำเงินสCงคลัง ๒๐.การจัดทำบัญชีการเงิน ๒๑.การจัดทำรายงานและงบการเงิน ๒๒.การจัดทำและจัดหาแบบพิมพ\บัญชี ทะเบียน และรายงาน ๑. การพัฒนาระบบและเครือขCายข6อมูล สารสนเทศ ๒.การประสานงานและพัฒนาเครือขCาย การศึกษา ๓.การวางแผนการบริหารงานการศึกษ ๔.งานวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและแผน ๕.การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค\กร ๖.การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน ๗.งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ๘.การดำเนินงานธุรการ ๙.การดูแลสถานที่และสภาพแวดล6อม ๑๐.การจัดทำสำมะโนผู6เรียน ๑๑.การรับนักเรียน ๑๒.การเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการจัดตั้ง ยุบ รวมหรือเลิกสถานศึกษา ๑๓.การประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ๑๔.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๑๕.การทัศนศึกษา ๑๖.การสCงเสริมกิจการนักเรียน ๑๗.การประชาสัมพันธ\งานการศึกษา ๑๘.การสCงเสริม สนับสนุนและประสานการจัด การศึกษาของบุคคล ชุมชน องค\กร หนCวยงาน และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษา ๑๙.งานประสานราชการกับสCวนภูมิภาคและ สCวนท6องถิ่น ๒๐.การรายงานผลการปฏิบัติงาน ๒๑.การจัดระบบการควบคุมภายในหนCวยงาน ๒๒.แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน แผนงาน / โครงการ นักเรียน นางสาวทวินันท) ใสขาว ผูCอำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน - ผูCช$วยผูCอำนวยการโรงเรียน


๕ ๑.๓ ขอมูลนักเรียน ปจจุบันโรงเรียนมีขอมูลนักเรียน (ขอมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน) ดังนี้ ระดับชั้น เพศ รวม ชาย หญิง อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ - ๓ ๒ - ๔ ๓ - ๗ ๕ รวม ๕ ๗ ๑๒ ประถมศึกษาปที่ ๑ ประถมศึกษาปที่ ๒ ประถมศึกษาปที่ ๓ ประถมศึกษาปที่ ๔ ประถมศึกษาปที่ ๕ ประถมศึกษาปที่ ๖ ๖ ๓ ๓ ๖ ๗ ๒ ๕ ๑ ๖ ๔ ๗ ๒ ๑๑ ๔ ๙ ๑๐ ๑๔ ๔ รวม ๒๗ ๒๕ ๕๒ รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๓๒ ๓๒ ๖๔ ๑) จำนวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด......๖๔........คน ๒) จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นที่เปดสอน ๓) มีนักเรียนที่มีความบกพรองเรียนรวม.......-.........คน ๔) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ.........-........…..คน ๕) มีนักเรียนปญญาเลิศ..................-....…………….....คน ๖) มีนักเรียนตองการความชวยเหลือพิเศษ......-......คน ๗) จำนวนนักเรียนตอหอง(เฉลี่ย).........๘………….....คน ๘) สัดสวนครู: นักเรียน = .........๑ : ๑๕................. ๙) จำนวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน (ปปจจุบัน) .......-..........คน ๑.๔ ขอมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา ประเภทบุคลากร เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด ชาย หญิง ต่ำกวา ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก ผูอำนวยการ - ๑ - - ๑ - รองผูอำนวยการ - - - - - - ครูประจำการ ๑ ๒ - ๓ - - พนักงานราชการ ๑ ๑ - ๒ - - ครูอัตราจาง - - - - - - นักการ / ภารโรง ๑ - ๑ - - - ธุรการ - ๑ - ๑ - - รวม ๓ ๕ ๑ ๖ ๑ - - มีครูที่สอนตรงตามวิชาเอก ๑ คน (.......๓๓.๓๓.....%) - มีครูที่สอนวิชาตามความถนัด ๒ คน (......๖๖.๖๗.....%) - ชั่วโมงสอนโดยเฉลี่ยของครูคนละ......๓๐....ชั่วโมง/สัปดาห - สถิติการอบรมและพัฒนาบุคลากร ในรอบปที่ผานมาบุคลากรไดรับการพัฒนา เฉลี่ยคนละ...๖....ครั้ง/ป


๖ ๑.๕ ขอมูลดานอาคารสถานที่แหลงเรียนรูและการใช ๑) อาคารเรียนและอาคารประกอบ จำนวน ๓ หลัง ไดแกอาคารเรียน ๒ หลัง อาคารอเนกประสงค๑ หลัง ๒) จำนวนหองเรียนทั้งหมด ๘ หองเรียน แบงเปน (คน) ชั้น อ.๒-๓ = ๑ : ๘, ๑ : ๓ ชั้น ป.๑-๖ = ๑ : ๑๐, ๑ : ๘, ๑ : ๑๓, ๑ : ๔, ๑ : ๘, ๑ : ๖ ๓) มีหองสมุด ขนาด ๘๔ ตารางเมตร มีหนังสือทั้งหมด ๕๐๐ เลม จำแนกเปน ๓ ประเภท ๔) โรงเรียนมีคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอน จำนวน ๖ เครื่อง มีการติดตั้งอินเตอรเน็ต เพื่อการคนควาของนักเรียน มีจำนวน ๖ เครื่อง ๕) แหลงเรียนรูในโรงเรียน หองสมุด อาคารอเนกประสงคโรงอาหาร หองคอมพิวเตอรสนามเด็กเลน สนามฟุตบอล สหกรณโรงเรียน ๖) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก วัดบานโคกศรีโรงพยาบาล อบต. ตลาด ๖.๑ เจาหนาที่ตำรวจจาก สภ.ต. คำผักกูด ภูมิปญญาดานการปองกันการแพรระบาดของสาร เสพติดในสถานศึกษา จำนวน ....-..... ครั้ง/ป ๖.๒ เจาหนาที่จากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลบานแดง ใหความรูเรื่องการปองกันตัวเองจาก การติดเชื้อจากโรคระบาดตางๆ และการดูแลสุขอนามัยของตนเอง จำนวน ……๖….. ครั้ง/ป ๑.๖ สภาพชุมชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบโรงเรียนบานโคกศรี โดยมีเขตบริการ ๒ หมูบานคือ บานโคกศรีและบานนางามซึ่งทางดานฝงทิศตะวันตกติดกับบาน โคกศรีดานทิศตะวันออกมีที่ดินวางเปลาซึ่งมีถนนไปถึงบานนางามหมู ๙ และมีสวนมันสำปะหลังติดกับแปลง เกษตรดานหลังของโรงเรียน มีประชากรประมาณ ๓๕๐ คน อาชีพหลักของชุมชนคือ เกษตรกรรม เนื่องจาก สภาพภูมิศาสตรเหมาะกับการทำเกษตรกรรม สวนใหญนับถือศาสนาพุทธประเพณีศิลปวัฒนธรรม ทองถิ่นที่รูจัก โดยทั่วไปคือ ประเพณีขึ้นบานใหม ประเพณีบวชนาค ประเพณีบุญเดือนสิบ ผูปกครองสวนใหญจบการศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน รายไดโดยเฉลี่ย ประมาณต่ำกวา ๑๐๐,๐๐๐ บาท/คน/ป ๒) โอกาสและขอจำกัดของโรงเรียน ชุมชนใหความรวมมือในการใหความชวยเหลือโรงเรียนทุกดานเปนอยางดีเชน ในการตอระบบ น้ำประปาเพื่อใชภายในโรงเรียน การดำเนินกิจกรรมในโรงเรียนในวันสำคัญ การประชุมผูปกครอง นั้นแสดงใหเห็นวา ผูแกครองใหความใสใจในการศึกษาเปนอยางดีแตเนื่องจากผูปกครองสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายไดไม มากจึงทำใหเศรษฐกิจในหมูบานไมคอยดีการที่จะระดมทรัพยาก็เปนไปไดไมเพียงพอ


๗ ๑.๗ โครงสรางหลักสูตร โรงเรียนบานโคกศรีจัดการสอนตามโครงสรางเวลาเรียน ระดับปฐมวัย โดยโรงเรียนไดจัดสัดสวนสาระ การเรียนรูและเวลาเรียน ดังแสดงในตารางตอไปนี้ โครงสรางเวลาเรียนการศึกษาปฐมวัย โครงสรางหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ชวงอายุ อายุ๔ – ๖ ป สาระการเรียนรู ประสบการณสำคัญ สาระที่ควรเรียนรู - ดานรางกาย - ดานอารมณจิตใจ - ดานสังคม - ดานสติปญญา - เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดลอมเด็ก ระยะเวลาเรียน จัดการศึกษา ๒ ภาคเรียน : ๑ ปการศึกษา ชั้นอนุบาลปที่ ๒ อายุระหวาง ๔ – ๕ ป ชั้นอนุบาลปที่ ๓ อายุระหวาง ๕ – ๖ ป ไมนอยกวา ๑๘๐ วัน : ๑ ป ใชเวลา ๕ – ๖ ชั่วโมง : ๑ วัน ๒๕ – ๓๐ ชั่วโมง/สัปดาห หมายเหตุ ๔ – ๕ ปมีความสนใจ ๑๒ – ๑๕ นาที ๕ – ๖ ปมีความสนใจ ๑๕ – ๒๐ นาที * กิจกรรมที่ตองใชความคิดในกลุมเล็กและกลุมใหญ ไมควรใชเวลาตอเนื่องนานเกินกวา ๒๐ นาที * กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเลนเสรีเชน การเลนตามมุม การเลนกลางแจง ใชเวลา ๔๐ – ๖๐ นาที โครงสรางเวลาเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานโคกศรีกำหนดกรอบโครงสรางเวลาเรียน ดังนี้ กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ป) ระดับชั้นประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัติศาสตร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชีพฯ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตางประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐


๘ กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง/ป) ระดับชั้นประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) (๘๔๐) (๘๔๐) (๘๔๐) (๘๔๐) (๘๔๐) (๘๔๐) รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ คณิตศาสตร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ หนาที่พลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม) (๒๐๐) (๒๐๐) (๒๐๐) (๑๖๐) (๑๖๐) (๑๖๐) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ลูกเสือเนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ แนะแนวและตานทุจริต ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ชุมนุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) รวมทั้งสิ้น ๑,๑๖๐ ๑,๑๖๐ ๑,๑๖๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑.๘ ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ๑) ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ความสามารถของผูเรียน คะแนนเฉลี่ยรอยละ ระดับโรงเรียน ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ การอานออกเสียง ๗๘.๐๐ ๗๕.๗๐ ๖๕.๙๕ การอานรูเรื่อง ๗๙.๓๓ ๗๔.๕๓ ๗๒.๗๙ รวมความสามารถทั้ง ๒ ดาน ๗๘.๖๖ ๗๕.๑๐ ๗๑.๓๘ ๒) การเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ ความสามารถของผูเรียน ปการศึกษา รอยละของผลตาง ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ระหวางปการศึกษา การอานออกเสียง ๖๘.๔๔ ๗๘.๐๐ +๙.๕๖ การอานรูเรื่อง ๗๖.๖๖ ๗๙.๓๓ + ๒.๖๗ รวมความสามารถทั้ง ๒ ดาน ๗๒.๕๕ ๗๘.๖๖ +๖.๑๑


๙ ๑.๙ ผลการประเมินคุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ (NT) ๑) ผลการประเมินคุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ (NT) ปการศึกษา ๒๕๖๔ กลุมสาระการเรียนรู คะแนนเฉลี่ยรอยละ ระดับโรงเรียน ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ ภาษาไทย ๖๔.๕๐ ๕๕.๔๘ ๔๙.๔๔ คณิตศาสตร ๖๕.๖๐ ๔๘.๗๓ ๕๖.๑๔ รวมเฉลี่ย ๖๐.๗๙ ๕๒.๑๑ ๕๒.๘๐ ๒) การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ (NT) ปการศึกษา ๒๕๖๓–๒๕๖๔ กลุมสาระการเรียนรู ปการศึกษา รอยละของผลตาง ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ระหวางปการศึกษา ดานภาษา ๓๖.๖๑ ๖๔.๕๐ +๒๗.๘๙ ดานคำนวณ ๒๗.๔๖ ๖๕.๖๐ +๓๘.๑๔ รวมเฉลี่ย ๓๒.๐๔ ๖๕.๐๕ +๓๓.๐๑ ๑.๑๐ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๔ รายวิชา คะแนนเฉลี่ย ระดับโรงเรียน ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ ภาษาไทย ๔๓.๗๘ ๕๙.๕๔ ๕๐.๓๘ คณิตศาสตร ๔๔.๐๐ ๓๕.๘๕ ๓๖.๘๓ วิทยาศาสตร ๓๗.๕๐ ๓๓.๖๘ ๓๔.๓๑ ภาษาอังกฤษ ๒๕.๗๘ ๓๕.๔๖ ๓๙.๒๒ รวมเฉลี่ย ๓๗.๗๗ ๔๑.๑๓ ๔๐.๑๙ ๒) ผลการเปรียบเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ รายวิชา ปการศึกษา รอยละของผลตาง ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ระหวางปการศึกษา ภาษาไทย ๓๖.๘๓ ๔๓.๗๘ +๖.๙๕ คณิตศาสตร ๒๕.๘๓ ๔๔.๐๐ +๑๘.๑๗ วิทยาศาสตร ๓๐.๓๘ ๓๗.๕๐ +๗.๑๒ ภาษาอังกฤษ ๒๗.๐๘ ๒๕.๗๘ -๑.๓๐ รวมเฉลี่ย ๓๐.๐๓ ๓๗.๗๗ +30.94


๑๐ ๒. ผลการดำเนินงานในรอบปที่ผานมา ๒.๑ ขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ปการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑) รอยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตละรายวิชา ในระดับ ๓ ขึ้นไป - ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับชั้น รายวิชา(พื้นฐาน) เฉลี่ย รอยละ จำนวน นักเรียน ไทย คณิต วิทย อังกฤษ สังคมฯ รวม เฉลี่ย ป.๑ ๓ ๓ ๓ ๓ - ๓ ๑๒ ๔.๐๐ ๔๐.๐๐ ป.๒ ๙ ๗ ๘ ๕ ๗ ๙ ๓๖ ๔.๐๐ ๔๔.๔๔ ป.๓ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓ ๑๐ ๔๓ ๔.๓๐ ๔๓.๐๐ ป.๔ ๑๓ ๑๓ ๔ ๑๓ ๙ ๑๒ ๕๑ ๔.๐๐ ๓๐.๗๗ ป.๕ ๔ ๔ ๒ ๔ ๔ ๔ ๑๘ ๔.๕๐ ๔๓.๐๐ ป.๖ ๘ ๕ ๓ ๔ ๒ ๔ ๑๘ ๒.๒๕ ๒๘.๑๒ รวม ๔๗ ๓๒ ๓๐ ๒๔ ๒๕ ๔๒ ๑๔๘ ๓.๑๔ ๒๒๙.๓๓ รอยละ ๑๐๐ ๖๘.๐๘ ๖๓.๘๒ ๕๗.๔๔ ๕๓.๑๙ ๘๙.๓๖ ๖๙.๕๖ ๒) รอยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในระดับ ดีขึ้นไป - ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับชั้น จำนวน นักเรียน (คน) ผลการประเมิน ระดับดี ขึ้นไป ไมผาน ผาน ดี ดีเยี่ยม รอยละ ป.๑ ๓ - - - ๓ ๓ ๑๐๐ ป.๒ ๙ - - ๔ ๕ ๙ ๑๐๐ ป.๓ ๑๐ - - ๕ ๕ ๑๐ ๑๐๐ ป.๔ ๑๓ - - ๗ ๖ ๑๓ ๑๐๐ ป.๕ ๔ - - ๑ ๓ ๔ ๑๐๐ ป.๖ ๘ - - ๕ ๓ ๘ ๑๐๐ รวม ๔๗ - ๓ ๑๔ ๒๒ ๔๔ ๑๐๐


๑๑ ๓) รอยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับ ดีขึ้นไป - ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับชั้น จำนวน นักเรียน (คน) ผลการประเมิน ระดับดี ขึ้นไป ไมผาน ผาน ดี ดีเยี่ยม รอยละ ป.๑ ๓ - - - ๓ ๓ ๑๐๐ ป.๒ ๙ - - ๔ ๕ ๙ ๑๐๐ ป.๓ ๑๐ - - ๑๐ ๓ ๑๓ ๑๐๐ ป.๔ ๑๓ - - ๔ ๙ ๑๓ ๑๐๐ ป.๕ ๔ - - ๑ ๓ ๔ ๑๐๐ ป.๖ ๘ - - ๔ ๔ ๘ ๑๐๐ รวม ๔๗ - - ๒๓ ๒๗ ๑๔ ๑๐๐ ๒.๒ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย * ใหใสเครื่องหมาย / ในชองระดับคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ผลการประเมินตนเอง ของโรงเรียน (ปลาสุด) ผลการติดตาม ตรวจสอบ โดยหนวยงานตนสังกัดฯ (ปลาสุด) ปรับปรุง พอใช ดี ดี มาก ดีเยี่ยม ปรับปรุง พอใช ดี ดีมาก ดีเยี่ยม ๑. ดานคุณภาพเด็ก / / ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ / / ๓. การจัดประสบการณที่เนนเด็กเปนสำคัญ / / สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา / / ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน * ใหใสเครื่องหมาย / ในชองระดับคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการประเมินตนเอง ของโรงเรียน (ปลาสุด) ผลการติดตาม ตรวจสอบ โดยหนวยงานตนสังกัดฯ (ป ลาสุด) ปรับปรุง พอใช ดี ดีมาก ดีเยี่ยม ปรับปรุง พอใช ดี ดีมาก ดีเยี่ยม ๑. คุณภาพของผูเรียน / / ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการของ ผูบริหารสถานศึกษา / / ๓. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสำคัญ / / ๔. ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มี ประสิทธิผล / /


๑๒ ๒.๓ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (เมื่อวันที่...๒๒...เดือน...มกราคม...พ.ศ.๒๕๕๘...) ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับคุณภาพ ตอง ปรับปรุง เรงดวน ตอง ปรับ ปรุง พอใช ดี ดี มาก มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการดานรางกายสมวัย / มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการดานอารมณและจิตใจสมวัย / มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการทางดานสังคมสมวัย / มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการดานสติปญญาสมวัย / มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความพรอมศึกษาตอในขั้นตอไป / มาตรฐานที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดประสบการณการเรียนรูที่เนนผู เด็กเปนสำคัญ / มาตรฐานที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๘ ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน / มาตรฐานที่ ๙ ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอน เปนเอกลักษณของสถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อสงเสริมบทบาท ของสถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๑๒ ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสูความเปนเลิศที่ สอดคลองกับแนวการปฏิรูปการศึกษา / โรงเรียนมีผลการประเมินระดับคุณภาพไดมาตรฐาน โดยมีคาเฉลี่ย........๘๑.๓๙.........อยูในระดับ ดี ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ / R รับรอง ไมรับรอง


๑๓ ขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก จุดเดน ๑. ดานผลการจัดการศึกษา - เด็กมีพัฒนาการดานรางกายสมวัยมีการเจริญเติบโต รางกายสมสวน มีน้ำหนักสวนสูงตามเกณฑกรม อนามัยกระทรวงสาธารณสุข มีสมรรถภาพทางรางกาย และสมรรถภาพทางกลไก สามารถเคลื่อนไหวรางกายได อยางคลองแคลว การประสานสัมพันธกลามเนื้อใหญและกลามเนื้อเล็กไดดีรูจักหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ สามารถ ปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัยได - เด็กมีพัฒนาการทางดานอารมณและจิตใจสมวัย มีสุขภาพจิตและมีสุนทรียภาพมีความตระหนักใน ตนเอง มีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่น สามารถเลนและปฏิบัติกิจรรมรวมกับผูอื่นไดมีมนุษยสัมพันธกับคน คุนเคย แสดงความชื่นชอบและตอบสนองตอศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว ชื่นชอบธรรมชาติ จุดที่ควรพัฒนา ๑. ดานผลการจัดการศึกษา - เด็กทุกคนควรมีพัฒนาการดานสังคมสมวัย ครูควรแนะนำการปฏิบัติใหเด็กมีพฤติกรรมที่ดีในการปฏิบัติ ดวยความเขาใจอยางสม่ำเสมอ การใชวาจาสุภาพ การทำความเคารพ การเอื้ออาทรตอผูอื่น รูจักเอื้อเฟอแบงปน ไมหยิบของผูอื่นมาเปนของตน ฝกการเปนผูนำและผูตาม มีความกลาแสดงออก - เด็กทุกคนควรฝกใหมีความใฝรูสมวัย ควรจัดเวลาประจำใหเด็กคุนเคยกับหนังสืออยางสม่ำเสมอ ฝก ทักษะการเขียนสื่อความหมาย การวาดภาพเปนเรื่องราว และการถายทอดความคิด สถานศึกษาควรเตรียมความ พรอมใหเด็กทั้งทักษะพื้นฐานและความรูพื้นฐาน โดยจัดทำสมุดรายงานประจำตัวใหมีขอมูลเปนรายบุคคล - สถานศึกษาควรมีการประเมินความพึงพอใจของผูบริหาร ครูบุคลากรเกี่ยวกับคุณลักษณะของเด็กตาม วิสัยทัศนและควรมีการประเมินความพึงพอใจของผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเกี่ยวกับจุดเนน และจุดเดนดานศิลปะของสถานศึกษา และสถานศึกษาควรดำเนินการใหเด็กมีกิจกรรมปลูกผักอยางตอเนื่องโดย หมุนเวียนเปลี่ยนกระถางและชนิดของผัก ๒. ดานการบริหารจัดการศึกษา - ตนสังกัดควรแตงตั้งผูบริหารสถานศึกษาอยางเปนทางการ ใหปฏิบัติหนาที่หลักในการบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล - สถานศึกษาควรใชระบบบริหารคุณภาพ (PDCA) จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ๓-๕ ปแผนปฏิบัติการ ประจำปทุกปประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน โดยทุกฝายมีสวนรวม และนำผลงานไปพัฒนาใหบรรลุ เปาหมาย จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอยางนอยภาคเรียนละ ๒ ครั้ง จัดทำรายงานการ ประชุมเสนอตนสังกัดภายใน ๑๕ วัน นับจากวันที่มีการประชุม สงเสริมใหครูไดเขารวมการอบรมการศึกษา ปฐมวัยจากหนวยงานตนสังกัด - สถานศึกษาควรจัดสภาพแวดลอมภายในใหปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ดวยการหาที่เสียบรูปลั๊กไฟกันเด็ก เลน จัดซื้อจัดหาถังดับเพลิงที่พรอมใชงาน และจัดวางในที่ที่สะดวกพรอมใชงาน และใชไดทันการมีแผนฝกซอม ปองกันภัย จัดถังขยะที่ถูกสุขลักษณะใชในหองเรียน - สถานศึกษาควรใชระบบบริหารคุณภาพในการดำเนินการ พัฒนาตามขอเสนอแนะของ สมศ. โดยจัดทำ แผนปฏิบัติการ กำหนดโครงการ ดำเนินการตามแผน มีการประเมินผล ระบุคาปริมาณและคุณภาพเปรียบเทียบ ความสำเร็จกับเปาหมายที่ตั้งไวระบุปญหา ระบุอุปสรรค และเสนอแนวทางแกไขพัฒนาในครั้งตอไป


๑๔ ๓. ดานการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ - ครูควรจัดทำเอกสารซึ่งแสดงถึงประสิทธิผลที่เกิดกับเด็ก เอกสารที่เปนพื้นฐานสงผลตอพัฒนาการทุก ดานของเด็ก และการเรียนรูของเด็ก จากการบันทึกหลักการจัดประสบการณการเรียนรูครูควรติดตาม บันทึก และประเมินพัฒนาการของเด็กอยางสม่ำเสมอและตอเนื่องดวยวิธีการที่หลากหลายเปนรายบุคคลอยาง เหมาะสมและครอบคลุมทุกดาน และการสรุปผลใหเห็นถึงพัฒนาการและความรูในตัวเด็กแตละคนรวบรวมเปน สมุดรายงานประจำตัวเด็กตลอดหลักสูตร เพื่อการนำขอมูลตามสภาพจริงของเด็กมาใชในการปรับปรุงพัฒนา แนวทางการจัดประสบการณการเรียนรูใหกับเด็กตอไป ๔. ดานการประกันคุณภาพภายใน - สถานศึกษาควรจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ ๓-๕ ปแผนปฏิบัติการประจำปและรายงาน ประจำปหรือรายงานการประเมินตนเองทุกป - สถานศึกษาควรประเมินผลการปฏิบัติงาน โครงการตามแผน จัดทำเปนเอกสารใหครอบคลุมครบถวน ทุกโครงการ ระบุปญหา อุปสรรคและแนวทางการพัฒนา - สถานศึกษาควรจัดทำขอมูลสารสนเทศใหเปนระบบคุณภาพ ใหขอมูลมีความถูกตองเปนปจจุบันมีการ ประเมินขอมูลเอกสารงานตางๆ เพื่อพัฒนาสำเนาเอกสารที่จำเปน เชน รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก แผนปฏิบัติการ รายงานการประเมิน หนังสืออนุมัติโครงการโรงเรียนคูขนาน


๑๕ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับคุณภาพ ตอง ปรับปรุง เรงดวน ตอง ปรับปรุง พอใช ดี ดีมาก มาตรฐานที่ ๑ ผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี / มาตรฐานที่ ๒ ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค / มาตรฐานที่ ๓ ผูเรียนมีความใฝรู และเรียนรูอยางตอเนื่อง / มาตรฐานที่ ๔ ผูเรียนคิดเปน ทำเปน / มาตรฐานที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน / มาตรฐานที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสำคัญ / มาตรฐานที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และตนสังกัด / มาตรฐานที่ ๙ ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอน เปนเอกลักษณของสถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๑๑ ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อสงเสริมบทบาท ของสถานศึกษา / มาตรฐานที่ ๑๒ ผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐานรักษามาตรฐาน และพัฒนาสูความเปนเลิศ ที่สอดคลองกับแนวการปฏิรูปการศึกษา / โรงเรียนมีผลการประเมินระดับคุณภาพไดมาตรฐาน โดยมีคาเฉลี่ย.......๗๑.๓๔.......อยูในระดับ พอใช ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง R ไมรับรอง กรณีที่ไมไดรับการรับรอง เนื่องจากมาตรฐานที่ ๕, ๑๒ ไดระดับคุณภาพ ปรับปรุง จึงไมไดรับรองมาตรฐาน


๑๖ ขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก จุดเดน ๑. ดานผลการจัดการศึกษา - ผูเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีน้ำหนัก สวนสูงตามเกณฑมาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีรางกายสมสวน มีสมรรถภาพทางรางกายแข็งแรง เลนกีฬา และออกกำลังกายอยาง สม่ำเสมอ มีสุนทรียภาพรวมกิจกรรมดานศิลปะ ดนตรีนาฏศิลปและกีฬารวมกิจกรรมในวันสำคัญอยาง สม่ำเสมอ - ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงคมีคุณลักษณะเปนลูกที่ดีของพอแม ชวยทำกิจ ธุระการงาน ประพฤติตนเหมาะสมกับความเปนลูกที่ดีเชื่อฟงคำสั่งสอน ปฏิบัติตนอยูในโอวาท ตั้งใจศึกษาเลา เรียน ผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคการเปนนักเรียนที่ดี จุดที่ควรพัฒนา ๑. ดานผลการจัดการศึกษา - สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมหองสมุดในการสงเสริมการอานทุกสัปดาหเชน การเลาขาว การอาน โคลง กลอน การพูดตามประเด็นที่เปนโอกาสสำคัญ นอกจากการเขียนเรียงความ ควรสงเสริมการแสดงออกดาน การสื่อสาร เปนตน สงเสริมการคิดอยางเปนระบบจากการฝกทำโครงงานที่ตอเนื่องใหผูเรียนไดนำไปใช ประโยชนในชีวิตประจำวัน ใหผูเรียนไดวิเคราะหผลสำเร็จและประเมินเชิงประจักษปรับปรุงใหเกิดคุณภาพอยาง ตอเนื่อง - ครูควรใชแบบทดสอบที่มีมาตรฐานในการวัดและประเมินผลเพื่อยกระดับมาตรฐานความรูของเรียนให เปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูแตละระดับชั้น โดยใชการสอนแบบยอนกลับ ตามแบบของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหผูเรียนวิเคราะหผลการเรียนของตนเองเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในแตละลุม สาระการเรียนรู - สถานศึกษาควรจัดใหมีการประเมินความพึงพอใจของผูบริหาร ครูบุคลากรเกี่ยวกับคุณลักษณะของ ผูเรียนตามวิสัยทัศนและควรมีการประเมินความพึงพอใจของผูบริหาร ครูผูเรียน ผูแกครอง และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับจุดเนนและจุดเดนของสถานศึกษา และสถานศึกษาควรดำเนินการใหผูเรียนไดมี กิจกรรมปลูกผักอยางตอเนื่อง โดยหมุนเวียนเปลี่ยนกระถางและชนิดของผักอยูเสมอ โดยเนนผักที่โตเร็ว ดูแล งายและมีเนื้อผักนิ่ม รสชาติเหมาะกับเด็ก เชน ผักกาดขาว ผักชีซึ่งเปนการสงเสริมผูเรียนไดรับประทานผักแลว ยังเปนการพัฒนาความรูและทักษะในการปลูกผัก ใหเด็กมีความรูในการปลูกผัก ใหทำกิจกรรมกลุมพรอมกับ เพื่อน ๒. ดานการบริหารจัดการศึกษา - ตนสังกัดควรแตงตั้งผูบริหารสถานศึกษาอยางเปนทางการ ใหปฏิบัติหนาที่หลักคือ การบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาเพื่อใหงานเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล และควรมีการประเมินผลการใช หลักสูตรและพัฒนาใหเหมาะสมกับสภาพสังคม และความตองการของผูเรียนและชุมชน โดยใหคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีสวนรวมและควรประเมินและพัฒนาปรับปรุงแบบทดสอบของครูกอนนำไปใชจัด ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอยางนอยภาคเรียนละ ๒ ครั้ง จัดทำรายงานการประชุมเสนอตน สังกัดภายใน ๑๕ วัน นับจากวันที่มีการประชุม


๑๗ - สถานศึกษาควรใชระบบบริหารคุณภาพโดยการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ๓-๕ ปแผนปฏิบัติ การประจำปทุกปประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน และนำผลไปพัฒนางานใหบรรลุเปาหมาย โดยทุกฝายมี สวนรวม - สถานศึกษาควรเรงพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน (O-NET) สรางความตระหนักให ผูเรียนเห็นความสำคัญของการสอบ หมั่นทบทวนความรูตั้งใจทำขอสอบ ในสวนของครูควรจัดสอนเนนพัฒนา ผูเรียนที่เรียนออนเปนรายบุคคลอยางสม่ำเสมอ ๓. ดานการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ - สถานศึกษาควรใชการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนใหมากกวาภาคเรียนแต ละครั้ง จัดครูไปอบรมการใชสื่อและการสอนทางไกลผานดาวเทียมทุกคน และปรับปรุงการใชแบบวัด แบบทดสอบใหมีประสิทธิภาพ โดยวิเคราะหหาคุณภาพความตรง ความเที่ยง และอำนาจจำแนกของขอสอบ - ครูทุกคนควรจัดกระบวนการเรียนการรูใหครบตามเกณฑพิจารณา ๘ ขอซึงมีความสำคัญตอการ เรียนรูของผูเรียนใหเปนการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม การจัดทำแผนการจัดการเรียนรูควรบูรณาการกับแนวการจัด ของโทรทัศนทางไกลผานดาวเทียมตามรูปแบบของผูเรียนตามศักยภาพการเรียนรู ๔. ดานการประกันคุณภาพภายใน - สถานศึกษาควรใชระบบบริหารคุณภาพโดยการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ๓-๕ ปแผนปฏิบัติ การประจำปทุกปและรายงานประจำปหรือรายงานการประเมินตนเองทุกป - สถานศึกษาควรประเมินผลการปฏิบัติงานโครงการตามแผน จัดทำเปนเอกสารใหครอบคลุมครบถวน ทุกโครงการ ระบุปญหาอุปสรรคและแนวทางการพัฒนา - สถานศึกษาควรจัดการขอมูลสารสนเทศใหเปนระบบคุณภาพ ใหขอมูลมีความถูกตอง เปนปจจุบันมี การประเมินงานเอกสารของสวนงานตางๆ เพื่อพัฒนา จัดทำสำเนาเอกสารที่จำเปน เชน รายงานผลการประเมิน คุณภาพภายนอก แผนปฏิบัติการ รายงานการประเมินตนเอง หนังสืออนุมัติโครงการโรงเรียนคูขนาน - นวัตกรรมหรือตัวอยางการปฏิบัติที่ดีของสถานศึกษาที่เปนประโยชนตอสังคมคือโครงการจัดการ เรียนการสอนแบบคูขนานของโรงเรียนบานโคกศรีบานมวง ดวยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร ที่เด็กวัยเรียนมีจำนวนลดลงอยางตอเนื่องโรงเรียนบานโคกศรีเปนโรงเรียนหลักที่โรงเรียนบานมวงมาเรียนรวม เพราะ ครูสายผูสอนไมครบชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ จัดกิจกรรมการสอนไมหลากหลาย งบประมาณ ในการบริหารจัดการไมเพียงพอ


๑๘ ๒.๔ งาน/โครงการ/กิจกรรมที่ประสบความสำเร็จ ที่ ชื่องาน/โครงการกิจกรรม หลักฐานยืนยันความสำเร็จ ฝายบริหารงานวิชาการ ๑ โครงการพัฒนาความพรอมเด็กปฐมวัย - รูปภาพการจัดกิจกรรม - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - บันทึกการดื่มนมแปรงฟน บันทึกน้ำหนักสวนสูง/ภาวะโภชนาการ ๒ โครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๓ โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา - หลักสูตรสถานศึกษ - คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการทำงาน ๔ โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการทำงาน ๕ โครงการวัดและประเมินผลคุณภาพการศึกษา - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๖ โครงการหองสมุดมีชีวิต - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - แหลงการเรียนรูภายนอก ภายใน ๗ โครงการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมประจำหองเรียนเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - บันทึการใชสื่อ ๘ โครงการนำนักเรียนไปแหลงเรียนรู (กิจกรรมพัฒนาผูเรียน) - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - บันทึกการใชแหลงเรียนรู ๙ โครงการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการทำงาน ๑๐ โครงการจัดการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๑ ลดเวลาเรียนเพิ่มวิชารู - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๒ การจัดการเรียนการสอน DLTV - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๓ โครงการแนะแนว - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - บันทึกการเยี่ยมบาน - บันทึกการคัดกรองนักเรียน


๑๙ ที่ ชื่องาน/โครงการกิจกรรม หลักฐานยืนยันความสำเร็จ ๑๔ โครงการเรียนฟรีเรียนดี๑๕ ปอยางมีคุณภาพ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ฝายบริหารงานทั่วไป ๑ โครงการปรับปรุงภูมิทัศนและสภาพแวดลอม - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๒ โครงการพัฒนาระบบ ICT - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๓ โครงการโรงเรียนพึ่งพาประชารวมใจ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๔ โครงการสำมโนประชากรวัยเรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๕ โครงการระบบดูแลนักเรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๖ โครงการพัฒนางานสารบรรณและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๗ โครงการปรับปรุงพัฒนาหองเรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๘ โครงการออมทรัพยนักเรียน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๙ โครงการสงเสริมวิถีชีวิตประชาธิปไตย - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๐ โครงการสงเสริมคุณธรรม (วิถีพุทธ) - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๑ โครงการสงเสริมกีฬาและนันทนาการ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๒ โครงการสงเสริมสุขภาพ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๓ โครงการสงเสริมกิจกรรมวันสำคัญ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๔ โครงการปลอดขยะ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๕ โครงการอาหารกลางวัน (เทศบาล) - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๖ โครงการกิจกรรมลูกเสือเดินทางไกลและเขาคายพักแรม (งบกิจกรรมพัฒนาผูเรียน) - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ๑๗ โครงการกิจกรรมกีฬาสีภายใน - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ฝายบริหารงานบุคคล


๒๐ ที่ ชื่องาน/โครงการกิจกรรม หลักฐานยืนยันความสำเร็จ ๑ โครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม - คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการทำงาน ๒ โครงการนิเทศภายในและการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร ทางการศึกษา - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ฝายบริหารงบประมาณ ๑ โครงการพัฒนางานการเงินพัสดุ - รายงานกิจกรรมตามโครงการ - รูปภาพการจัดกิจกรรม ปญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานที่ผานมา ๑. ดานคุณภาพผูเรียน ๑.๑ ควรเปดโอกาสใหผูปกครองไดมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนา ผูเรียนมากขึ้น ๑.๒ ควรสรางเครือขายความรวมมือกับผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหมีความ เขมแข็ง มีสวนรวมรับผิดชอบตอผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา ๑.๓ ผูเรียนทุกระดับชั้นยังตองเรงพัฒนาความสามารถ ในการอาน การเขียน การสื่อสารภาษาอังกฤษ และการคิดคำนวณ ๒. ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ โรงเรียนควรจัดกิจกรรมเนนใหผูเรียนไดมีความสามารถในการคิดวิเคราะหคิดสังเคราะหอยาง หลากหลาย และใชแหลงเรียนรูในการพัฒนาตนเอง ๒.๒ ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในระดับชั้น ป.๑-ป.๖ ใหสามารถนำเสนอ อภิปราย และ แลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสมเหตุสมผล และมีทักษะในการแกปญหาตามสถานการณไดอยางเหมาะสม ๒.๓ โรงเรียนควรจัดการเรียนการสอนดวยวิธีการที่หลากหลาย สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและฝกใหนักเรียนไดคิดวิเคราะหหาความรูจากแหลงเรียนรูสื่อ เทคโนโลยีให มากขึ้น และพัฒนาสื่อ แหลงเรียนรูจัดเตรียมหองปฏิบัติการใหอยูในสภาพดีและพรอมใชงานเสมอ ๒.๔ ครูควรนำภูมิปญญาทองถิ่นใหเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรู ๒.๕ ครูควรใหขอมูลยอนกลับแกนักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนาไปใชพัฒนาตนเอง ๒.๖ สถานศึกษาจัดระบบใหครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แตยังขาดการใหขอมูล ยอนกลับแกครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อยกระดับคุณภาพของนักเรียน ๒.๗ โรงเรียนยังขาดบุคลากรในการเรียนการสอนไมครบชั้นเรียนและสอนไมตรงเอก ๓. ดานกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ๓.๑ ควรมีการบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยจัดทำหนวยบูรณาการอาเซียน และเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ ควรมีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของ สื่อการสอนที่ใช ๓.๓ ควรมีการประชุมปฏิบัติการผลิตสื่อเทคโนโลยีใหกับครูผูสอนทุกคน


๒๑ สวนที่ ๒ ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนการศึกษาที่จัดไมนอยกวาสิบสองปกอนระดับอุดมศึกษาและเปนรากฐาน การศึกษาของคนไทยโดยมีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนหนวยงานหลักที่มีภารกิจเกี่ยวกับการ จัดและการสงเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศ ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สอดคลองกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคลอง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนการศึกษาแหงชาติ เพื่อใหการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคลองกับทิศทางของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ปแผนการศึกษาแหงชาติ๒๐ ปและการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑ จึงจำเปนอยางยิ่งที่ตองกำหนดทิศทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงที่ สำคัญและสงผลกระทบตอระบบการศึกษา ระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อประเทศไทยจะไดมีความมั่นคง มั่งคั่งและ ยั่งยืน และเพื่อใหหนวยงานในสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับนำแผนพัฒนา การศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใชเปนกรอบและ แนวทางในการดำเนินงานตอไป ๑. กฎหมาย แผน นโยบายสำคัญที่เกี่ยวของ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีกฎหมายแผน นโยบายสำคัญ ที่เกี่ยวของแสดงดังในภาพตอไปนี้ ภาพ ๑ กฎหมายยุทธศาสตรแผนตางๆ ที่เกี่ยวของกับแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรายละเอียดการของกฎหมาย ยุทธศาสตรและแผนที่เกี่ยวของ ซึ่งเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐานฉบับนี้ไดมีประมวลการวิเคราะหไวในสวนถัดไป


๒๒ ๑.๑ แนวโนมการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญและสงผลตอการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑.๑.๑ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร สถานการณโครงสรางประชากรในประเทศไทยตั้งแตปพ.ศ. ๒๕๔๘ มีสัดสวนผูสูงอายุเกินรอยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศและจะกาวเขาสูการเปนสังคมสูงวัยโดยสมบูรณโดยมีสัดสวนผูสูงอายุมากกวารอยละ ๒๐ ในปพ.ศ. ๒๕๖๖ และคาดวาจะมีสัดสวนรอยละ ๒๘ ของประชากรทั้งหมดในปพ.ศ. ๒๕๗๖1 ตามผลการคาด ประมาณประชากรของประเทศไทยในขอสมมุติภาวะเจริญพันธุระดับปานกลาง (Medium fertility assumption) ของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดคาดประมาณประชากรของประเทศไทยกำลังจะเขาสู สังคมผูสูงอายุเนื่องจากจำนวนประชากรผูสูงอายุ (อายุ๖๐ ปบริบูรณขึ้นไป) ในระยะเวลา ๕ ปตั้งแต พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ซึ่งมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปรายละเอียดตามตารางดังตอไปนี้2 ตาราง ๑ การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย (จำแนกกลุมอายุ) ตั้งแตปพ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ปพ.ศ. กลุมอายุ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ จำนวน (พันคน) รอยละ จำนวน (พันคน) รอยละ จำนวน (พันคน) รอยละ จำนวน (พันคน) รอยละ จำนวน (พันคน) รอยละ ๐ - ๕๙ ป ๕๓,๔๒๑ ๗๙.๘๓ ๕๓,๐๐๑ ๗๙.๐๙ ๕๒,๕๕๔ ๗๘.๓๓ ๕๒,๐๘๑ ๗๗.๕๖ ๕๑,๕๗๘ ๗๖.๗๘ ๖๐ ปขึ้นไป ๑๓,๕๐๐ ๒๐.๑๗ ๑๔,๐๑๓ ๒๐.๙๑ ๑๔,๕๓๕ ๒๑.๖๗ ๑๕,๐๖๖ ๒๒.๔๔ ๑๕,๕๙๘ ๒๓.๒๒ รวม ๖๖,๙๒๑ ๑๐๐ ๖๗,๐๑๔ ๑๐๐ ๖๗,๐๘๙ ๑๐๐ ๖๗,๑๔๗ ๑๐๐ ๖๗,๑๗๖ ๑๐๐ หมายเหตุคำนวณรอยละจากรายงานการคาดประมาณประชากรชองประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๘๓ (ฉบับ ปรับปรุง), สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๒, น.๓๕, ซึ่งภาวะประชากรสูงอายุในประเทศไทยดังกลาวมีสาเหตุมาจากการที่คนไทยมีอายุยืนมากขึ้น ประกอบ กับการลดลงของภาวะเจริญพันธุหรือการเกิดนอยลง3 สงผลใหประชากรวัยเด็กหรือประชากรวัยเรียน มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง การเปนสังคมสูงวัยสงผลใหอัตราการพึ่งพิงสูงขึ้น กลาวคือวัยแรงงานตองแบกรับภาระ การดูแลผูสูงวัยเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น การพัฒนาประเทศใหมีความเจริญเติบโตดานเศรษฐกิจอยางตอเนื่องจำเปนตอง เตรียมกำลังคนใหมีสมรรถนะเพื่อสรางผลิตภาพ (Productivity) ที่สูงขึ้น การจัดการศึกษาจึงตองวางแผนและ พัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศใหมีทักษะและสมรรถนะสูงและปรับหลักสูตรการเรียนการสอนใหบูรณาการกับ การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อใหทรัพยากรมนุษยทุกชวงวัยเพียงพอตอการพัฒนาประเทศในอนาคต ๑.๑.๒ ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี ความกาวหนาทางเทคโนโลยีและดิจิทัลอยางรวดเร็ว (Digital Disruption) เปนการเปลี่ยนแปลงสังคม ไป สูสังคมดิ จิทั ลสงผลตอก ารศึกษ าขั้นพื้ น ฐ าน แล ะมี แน วโน มที่ ก ารจัดก ารศึกษ าจะเป ลี่ยนไป โดยการเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา ซึ่งสถานศึกษาตองปรับตัวใหเปนองคกรแหงการเรียนรูเพื่อสรางความสัมพันธ กับสังคมและองคกรภายนอก รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่ทันตอการเปลี่ยนแปลง เพื่อใหสอดคลองกับความกาวหนาทางเทคโนโลยีและสามารถตอบสนองตอความตองการของผูเรียนรายบุคคล โดยการนำเทคโนโลยีและสื่อตาง ๆ มาประยุกตใชรวมกับการเรียนการสอน เพื่อสนับสนุนการเรียนรูของผูเรียน ทั้งนี้ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีจะทำใหเขาสูสังคมดิจิทัลที่มีการเสริมบทเรียนโดยสรางสถานการณ 1 จาก ภาวะสังคมไทยไตรมาสสี่และภาพรวมป๒๕๖๓, โดยกองพัฒนาขอมูลและตัวชี้วัดสังคม สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๓, น.๒๗ 2 จาก รายงานการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๘๓ (ฉบับปรับปรุง), ๒๕๖๒, น.๓๕, สืบคนเมื่อ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๕ จาก http://social.nesdc.go.th/social/Portals/๐/Documents/รายงานการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย%๒๐พศ%๒๐๒๕๕๓%๒๐- %๒๐๒๕๘๓%๒๐(ฉบับ_๒๓๑๕.pdf 3 จาก “ประชากรสูงอายุไทย : ปจจุบันและอนาคต” เอกสารประมวลสถิติดานสังคม ๑/๒๕๕๘, ๒๕๕๙, โดยศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย, น.๒


๒๓ จำลอง4 หองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) และโลกเสมือนจริง (Metaverse) ดังนั้น การจัดการศึกษาของ ประเทศไทยจึงจำเปนตองกำหนดเปาหมายการพัฒนา การวางแผน และการสรางทักษะพื้นฐานที่จำเปนของ ทรัพยากรมนุษยที่จะศึกษาตอในระดับตาง ๆ หรือเขาสูตลาดแรงงาน หรือตองปรับหลักสูตรและวิธีการจัดการ เรียนรูที่มีความยืดหยุน มีความหลากหลาย เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีความรูทักษะและสมรรถนะที่พรอม รับการเปลี่ยนแปลงในโลกดิจิทัลในปจจุบันและอนาคต5 การเปลี่ยนผานสูยุคดิจิทัล ดวยการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยประชากรวัยเรียน สวนใหญจะเปนกลุมประชากร Generation Z หรือ Gen Z (ผูที่เกิดระหวางปพ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๕๓) ที่ดำเนิน ชีวิตประจำวันพรอมกับสิ่งอำนวยความสะดวก และเทคโนโลยีตาง ๆ ที่จะทำใหสามารถเขาถึงสื่อสังคมออนไลน ไดงายยิ่งขึ้น ซึ่งมีอิทธิพลตอการเรียนรูรูปแบบใหม เชน ระบบการเรียนรูแบบเคลื่อนที่ผานโทรศัพทมือถือ (Mobile Learning) การเรียนรูในระยะเวลาสั้น ๆ ที่มีเนื้อหากระชับและตรงประเด็น (Micro-Learning) การเรียนผานสื่อวีดีทัศน (Video-Based Learning) และการเรียนรูที่ขับเคลื่อนดวยเกม (Gamification) เปนตน อยางไรก็ตาม ในปจจุบันประชาชนสวนใหญสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตไดอยางทั่วถึงมากขึ้น จึงมีชองทาง ในการแสวงหาความรูที่เปดกวางมากยิ่งขึ้น6 นอกจากนี้ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยียังทำใหการเรียนรูไมไดถูกจำกัดอยูในระบบหองเรียน แบบเดิมเทานั้น เพราะไดมีการนำเทคโนโลยีมาใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสงเสริมใหผูเรียนแสวงหาความรูดวยตนเองจากสื่อดิจิทัล และสื่อสังคมออนไลน (Social Media) ซึ่งในการศึกษาระดับอุดมศึกษา ไดมีมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสหรัฐอเมริกาเปนสวนสำคัญในการเริ่มตนการ ใชระบบการเรียนออนไลนโดยเฉพาะ Massive Open Online Course หรือ MOOC เปนบริการบทเรียน ออนไลนแบบเปดที่ใหบริการฟรีเปนสวนใหญ โดยในประเทศไทยมีโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย (Thailand Cyber University : TCU) เปนผูเริ่มใชงานแพลตฟอรม Thai MOOC ในปพ.ศ. ๒๕๕๖ ทำใหเปนแหลงเรียนรู แบบตลาดวิชาออนไลนที่ไดสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำมาชวยพัฒนาหลักสูตรและมุงเนนการเรียนการสอนสำหรับกลุม คนขนาดใหญแบบเสรีในการเลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ โดยสามารถรองรับผูเรียนไดจำนวนมาก และสามารถ เรียนรูระยะทางไกลผานเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต อีกทั้งเนื้อหายังเปนเนื้อหาแบบเปดที่ไมวาบุคคลใด ก็สามารถเขาถึงเนื้อหาไดโดยความรวมมือของหนวยงานตาง ๆ กวา ๕๙๘ แหง ที่มีรายวิชากวา ๖๓๑ รายวิชา จำแนกเปนหมวดหมู (ขอมูล ณ วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๕) ไดดังนี้7 ๑) การศึกษาและการฝกอบรม จำนวน ๗๕ รายวิชา ๒) อาหารและโภชนาการ จำนวน ๙ รายวิชา ๓) คณิตศาสตรและวิทยาศาสตรจำนวน ๑๖ รายวิชา ๔) คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีจำนวน ๑๒๐ รายวิชา ๕) ทักษะชีวิตและการพัฒนาตนเอง จำนวน ๖๔ รายวิชา ๖) ธุรกิจและการบริหารจัดการ จำนวน ๑๒๐ รายวิชา ๗) ภาษาและการสื่อสาร จำนวน ๔๒ รายวิชา ๘) วิศวกรรมและสถาปตยกรรม จำนวน ๒๒ รายวิชา ๙) ศิลปวัฒนธรรมและศาสนา จำนวน ๓๐ รายวิชา ๑๐) สังคม การเมืองการปกครอง จำนวน ๒๘ รายวิชา 4 จาก “แนวทางการบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น” โดย สุภัทรศักดิ์คำสามารถ ศิรินทิพยกุลจิตรศรีโกวิท จันทะปาละ, ๒๕๖๓, Journal of Modern Learning Development, ๕(๓), น.๒๕๓-๒๕๗ 5 จาก แผนการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙, โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๖๐, น.๔ 6 จาก Lifelong Learning Focus, โดยสถาบันอุทยานการเรียนรูสำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน), ๒๕๖๔, น.๕๓ 7จาก Thai MOOC สืบคนเมื่อ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๕ จาก https://thaimooc.org/course?f%๕B๐%๕D=course_category_taxonomy%๓A๓๗๕


๒๔ ๑๑) สุขภาพและการแพทยจำนวน ๕๕ รายวิชา ๑๒) เกษตรและสิ่งแวดลอม จำนวน ๒๗ รายวิชา ๑๓) อื่น ๆ จำนวน ๒๓ รายวิชา โดยมีอัตราการลงเรียนรายวิชาธุรกิจมากที่สุด ที่รอยละ ๒๐.๔ รายวิชาเทคโนโลยีเปนอันดับที่สอง รอยละ ๑๙.๓ และรายวิชาสังคมศาสตรเปนอันดับที่ ๓ รอยละ ๑๑.๔ รายละเอียดดังภาพตอไปนี้ ภาพ ๓ อัตราการลงเรียนหลักสูตร MOOC (แบงตามรายวิชา) ในประเทศไทย ที่มา : The Report by class central อางถึงใน Lifelong Learning Focus ของสถาบันอุทยานการเรียนรู สำนักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน), ๒๕๖๔, น. ๕๒ ๑.๑.๓ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และสถานการณโรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้ำ การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ดังนี้ 1. สังคม และวัฒนธรรม สหประชาชาติ (United Nations : UN) ไดคาดการณวาโลกจะเขาสูระดับสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ (Age Society) ในปพ.ศ. ๒๕๙๓ สวนประเทศไทยไดเขาสูสังคมผูสูงอายุตั้งแตปพ.ศ. ๒๕๔๘ และคาดวา จะกลายเปนสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ (Complete aged Society) ภายในปพ.ศ. ๒๕๖๖ ทำใหมีสัดสวน ประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในขณะที่กำลังแรงงานในตลาดแรงงานลดลงจนสงผลใหเกิดการพึ่งพา แรงงานขามชาติมากขึ้น นำไปสูการเคลื่อนยายแรงงานทั้งภายในและระหวางประเทศ ซึ่งจะทำใหรูปแบบ ของสังคมไทยปรับเปลี่ยนไปสูสังคมพหุวัฒนธรรม (Multicultural Society) นอกจากนั้น อัตราการเกิดที่ลดลง ของประชากรไทย โดยเฉพาะกลุมประชากร Generation Y หรือ Gen Y ที่มีสุขภาพดีและอยูในวัยที่เหมาะสม ตอการสรางครอบครัวมีอัตราการใหกำเนิดลดลง เนื่องจากไดรับอิทธิพลมาจากแนวคิดที่มีความตองการจะเปน ครอบครัวเดี่ยว โดยการใชชีวิตคนเดียว ดวยการมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นและสามารถพึ่งพาตัวเองได อีกทั้ง การที่คนในสังคมมีพฤติกรรมเสพติดสมารทโฟน ทำใหขาดความกระตือรือรนและเอาใจใส ตอความสัมพันธกับคนรอบขาง และการเกิดความสับสนในตัวเอง ที่มีทั้งตัวตนที่แทจริง กับตัวตนเสมือน อัตราการลงเรียนหลักสูตร MOOC (แบ<งตามรายวิชา) ในประเทศไทย การศึกษา เทคโนโลยี ธุรกิจ สังคมศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สาธารณสุข


๒๕ ในโลกออนไลน เกิดเปนสังคมกมหนา (Social Ignorance)8 ดังนั้น การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงตองวางแผนในการรองรับผลกระทบจากประชากรวัยเรียนที่ลดลง รวมถึงการวางพื้นฐานในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยใหมีทักษะและสมรรถนะสูง เพิ่มเติมทักษะชีวิตและทักษะทางสังคม และการสงเสริม การเรียนรูตลอดชีวิตผานการพัฒนาการศึกษา เพื่อลดอัตราการพึ่งพิง พรอมรับการเปลี่ยนแปลง และเปนกลไก ในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ9 ๒. เศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยเปนเศรษฐกิจที่พึ่งพาการลงทุนและการค าระหวางประเทศเปนสัดสวนสูง10 ปจจัยทางเศรษฐกิจมีผลตอตลาดแรงงานและตลาดการศึกษา เนื่องจากการกำหนดลักษณะของแรงงานที่ตองการ อาทิเศรษฐกิจใหม จะแขงขันกันดวยนวัตกรรมใหม ๆ ซึ่งตองอาศัยการวิจัยและพัฒนา ดังนั้น การศึกษา ตองพัฒนาคนใหมีทักษะ ที่สามารถสรางนวัตกรรมใหมที่มีคุณคาตอระบบเศรษฐกิจ การเปดเสรีทางการคา และการลงทุน เกิดการเคลื่อนย ายสินค า และเงินลงทุนจากต างป ระเทศม ากขึ้น ป ระเทศต าง ๆ ไมเพียงแตตองลดการกีดกันการแขงขันเทานั้น ยังตองแขงขันกันดวยสินคาที่มีคุณภาพ ซึ่งตองอาศัยแรงงาน ที่มีฝมือ มีทักษะความสามารถที่หลากหลาย เชน ความรูดานเทคโนโลยีภาษาตางประเทศ การบริหาร ฯลฯ ประกอบกับสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ที่แพรกระจายไปทั่วโลก สงผลตอเศรษฐกิจอยางรุนแรงทั่วโลก ซึ่งเปนหนาที่ของผูเกี่ยวของทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่จะพัฒนาคน ใหมีความรูทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ที่จะเปนพื้นฐานในการดำรงชีวิตสูการมีงานทำในสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทั้งนี้สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดคาดการณแนวโนมเศรษฐกิจไทย ในป๒๕๖๕ จะขยายตัวในชวงรอยละ ๒.๗ - ๓.๒ โดยมีปจจัยสนับสนุนมาจากการปรับตัวที่ดีขึ้นของการบริโภค จากภาคเอกชนและภาคการทองเที่ยว รวมถึงการสงออกสินคาจะขยายตัวอยูในเกณฑที่ดีขึ้นอยางตอเนื่อง ในขณะที่หนี้สินครัวเรือนจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอตัวลงตามความกังวลจากสถานการณการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ที่ยังคงมีความรุนแรงรวมถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ยังไมฟนตัว จึงทำใหรายไดครัวเรือนยังไมกลับสูภาวะปกติสงผลใหผูบริโภคมีความกังวลและชะลอการกอหนี้อยางไรก็ตาม หนี้สินครัวเรือนตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) ยังอยูในระดับสูง เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)ซึ่งมีผลกระทบมาจาก ภาระคาครองชีพที่อาจกดดันใหครัวเรือนมีความตองการสินเชื่อมากขึ้น และอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโนมปรับตัว เพิ่มขึ้นในอนาคต11 ๓.สิ่งแวดลอม รายงานสถานการณสิ่งแวดลอมระดับโลก พบวา อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น พื้นที่น้ำแข็งในทะเล อารคติกลดลงในระดับต่ำสุด และกาซคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศมีความเขมขนสูงขึ้น เกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติรุนแรงขึ้นทั่วโลกเชน การเกิดคลื่นความรอน อุทกภัยวาตภัยอัคคีภัย ภัยแลงและการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงมลพิษทางน้ำที่เพิ่มขึ้น ไดสงผลกระทบตอพื้นที่ปาสัตวปา และความหลากหลายทางชีวภาพ เปนตน เปนอีกหนึ่งสาเหตุที่มาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งในชวง การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไดสงผลกระทบตอสุขภาพและความเปนอยูของมนุษย 8 จาก เฉลิมพงษจันทรสุขา, ๒๕๕๙, พฤติกรรมการใชสมารทโฟนกับสังคมกมหนา: กรณศึกษานักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม วิทยานิพนธมหาวิทยาลัยแมโจ 9 จาก แผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจายประจำป), โดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๖๕, น.๕๐ - ๕๑ 10 จาก “เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทยหลังโควิด”, โดยธนาคารแหงประเทศไทย, สืบคนเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ จาก https://www.bot.or.th/ Thai/ BOTMagazine/Pages/๒๕๖๓๐๓_CoverStory.aspx 11 จาก ภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาสที่สองของป๒๕๖๕ และแนวโนมป๒๕๖๕, โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๕, น.๗ - ๙, สืบคนเมื่อ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๕ จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=๑๒๘๑๐&filename=QGDP_report


๒๖ ทั่วโลก ทำใหมีผูเสียชีวิตเปนจำนวนมากโดยประเทศตางๆไดใชมาตรการเขมงวดในการควบคุมการเดินทางระหวาง ประเทศมากขึ้น สงผลใหการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจชะลอตัว และประชาชนออกจากบานนอยลง ทำใหมีการปลอยกาซเรือนกระจกลดลง ในขณะที่การใชวัสดุที่ใชครั้งเดียวแลวทิ้งเพิ่มขึ้น รวมถึงขยะมูลฝอยติดเชื้อ มีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากการสวมใสหนากากอนามัยและการใชชุดตรวจหาเชื้อโควิด ๑๙ ทั้งนี้การบริหารจัดการ สิ่งแวดลอมในประเทศไทย มีทิศทางการพัฒนาไปสูเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) โดยการดำเนินงานตามอนุสัญญาและขอตกลงความรวมมือระหวางประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และมีมาตรการสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดานการเงินการคลัง รวมถึงการจัดสรรงบประมาณรายจายในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่นำไปบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้นจากปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ คิดเปนรอยละ ๒.๑๙ ของงบประมาณทั้งหมด12 ๔. สถานการณโรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้ำ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ไดมีโรคติดเชื้ออุบัติใหมปรากฏขึ้นมากมาย สำหรับประเทศไทยมีการเกิด โรคติดตออุบัติใหมอยูเปนระยะ ๆ เชน โรคซารส (SARS) ในปพ.ศ. ๒๕๔๖ โรคไขหวัดนก (H๕N๑ avian flu) ระหวางปพ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๑ โรคไขหวัดใหญสายพันธใหมชนิด เอ H๑N๑ และปจจุบัน คือ โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) และโรคฝดาษลิง (Monkeypox) ซึ่งโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไดสงผลกระทบตอการใชชีวิตประจำวันของประชาชน โดยทำใหเกิดการปรับตัวในการดำเนินชีวิตในรูปแบบ วิถีชีวิตใหม (New Normal) ไดแกการเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) การลดความเสี่ยงจากการ ชุมนุม หรืออยูในสถานที่สาธารณะกับผูอื่นเปนจำนวนมากการปฏิบัติงาน ณ ที่พักอาศัย (Work From Home) การ สวมใสหนากากอนามัย การใชแอลกอฮอลในการทำความสะอาดอยางเปนประจำ การออกกำลังกาย และการทำประกันสุขภาพจะมีแนวโนมมากขึ้น การใชเทคโนโลยีและอินเทอรเน็ต ไมวาจะเปนการเรียนการสอน รูปแบบออนไลนการประชุมทางไกลผานแอปพลิเคชันตาง ๆ การทำงานจากที่พักอาศัยและการซื้อ-ขายสินคาใน รูปแบบออนไลนรวมถึงการทำธุรกรรมตาง ๆ ในรูปแบบออนไลนสำหรับในดานการศึกษามีการปรับรูปแบบการ เรียนก ารสอนเปนแบบเรียนออนไลนการสอนทางไกล ก ารใชเทคโนโลยีในก ารเรียนก ารสอน การเกิดความรวมมือกันระหวางภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาชองทางการเรียนรูแบบใหม สรางแพลตฟอรม การเรียนรูชั่วคราวเพื่อแกปญหาในชวงเวลาวิกฤต13 นอกจากนี้สถานการณโรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้ำสงผลกระทบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนักเรียนเปนอยางมาก เนื่องจากการแพรระบาดในสถานศึกษา ซึ่งเปนสถานที่มีนักเรียนอยูรวมกัน เปนจำนวนมาก ถาหากมีระบบการบริหารจัดการที่ไมมีประสิทธิภาพจะทำใหมีความเสี่ยงสูงตอการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในกลุมนักเรียน ฉะนั้น หากมีการระบาดในกลุมนักเรียนขึ้น จะมีผลกระทบในสังคมหรือผูใกลชิด เชน ครูผูปกครอง รวมถึงผูสูงอายุที่สามารถติดเชื้อจากกลุมนักเรียนได14 ดังนั้น หนวยงานที่เกี่ยวของกับการสงเสริมสุขภาวะดานสาธารณสุขใหกับเด็กและเยาวชน ซึ่งจะเติบโต เปนทรัพยากรของชาติในอนาคต จึงตองจัดการเรียนรูใหผูเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาภายใตแนวคิด “ลมแลวลุกไว” (Resilience) ไดแก ๑) การพรอมรับ (Cope) การปรับตัว (Adapt) และการเปลี่ยนแปลง 12 จาก รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๖๔, โดยสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, ๒๕๖๕, น.๑๒- ๑๓ 13จาก แผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำของบประมาณรายจาย ประจำป), โดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๖๕, น.๔๙ - ๕๐ 14 จาก คูมือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙, โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๖๓, น.๓


๒๗ เพื่อพรอมเติบโตอยางยั่งยืน (Transform) เพื่อรับมือกับการระบาดของโรคอุบัติใหม และโรคอุบัติซ้ำ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอยางมีประสิทธิภาพ15 จากการเปลี่ยนแปลงในสภาวการณดานตาง ๆ ขางตน นอกจากจะสงผลตอสภาพความเปนอยู และวิถีชีวิตของคนไทยอยางหลีกเลี่ยงไมไดแลว ยังสงผลถึงการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ อยางยิ่งตอการพัฒนาการจัดการศึกษาดวย ดังนั้น จึงมีความจำเปนอยางยิ่งที่ตองเรงศึกษา ปรับเปลี่ยน และพัฒนารูปแบบ แนวทางและมาตรการในการจัดการศึกษาที่เหมาะสม สอดคลองกับสภาวการณ ที่เปลี่ยนแปลงอยางพลิกผันเพื่อการพัฒนาประเทศตอไป ๑.๑.๔ แนวโนมเด็กและเยาวชนในอนาคต สังคมโลกในศตวรรษที่ ๒๑ มีความแตกตางจากในอดีตมาก มีการเคลื่อนยายผูคน สื่อเทคโนโลยี และทรัพยากรตางๆ จากทั่วทุกมุมโลกอยางรวดเร็วและสะดวก มีความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครองระหวางภูมิภาค ประเทศสังคมและชุมชน มีความซับซอนและเปลี่ยนแปลงของความรูและขอมูลขาวสาร ตลอดเวลาอยางเปนพลวัต แนวโนมเด็กและเยาวชนในอนาคตจึงควรมีทักษะ และคุณลักษณะ ดังนี้ ๑. ทักษะที่จำเปนของประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ในโลกแหงศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะสำคัญที่เด็กและเยาวชนควรมีคือ ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม หรือ ๓Rs และ ๘Cs16 ซึ่งมีองคประกอบ ดังนี้ - ๓Rs ไดแกอานออก (Reading) เขียนได (W)Riting และคิดเลขเปน (A)Rithemetics - ๘Cs ไดแก ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะดานความเขาใจ ความตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน (Cross-cultural Understanding) ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปนทีม และภาวะผูนำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะดานการสื่อสารสารสนเทศ และรูเทาทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู (Career and Learning Skills) และมีความเมตตากรุณา มีคุณธรรม และระเบียบวินัย (Compassion) ทักษะทั้งหมดที่ไดกลาวมาเปนสิ่งที่จำเปนสำหรับเด็กและเยาวชนในยุคการเรียนรูแหงศตวรรษที่ ๒๑ เปนอยางมาก ซึ่งมีความแตกตางจากการเรียนรูในอดีต เพื่อสงผลใหการเรียนรูของผูเรียนมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น คุณลักษณะ คานิยมรวม ผลลัพธที่พึงประสงคตามมาตรฐานการศึกษาของชาติพ.ศ.๒๕๖๑ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติพ.ศ. ๒๕๖๑17 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ไดกำหนดผลลัพ ธที่พึงป ระสงคของการศึกษ า (Desired Outcomes of Education , DOE Thailand) โดยมีคานิยมรวม ไดแก ความเพียรอันบริสุทธิ์ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตย ความเทาเทียมเสมอภาค มีคุณ ธรรมที่เปนลักษณะนิสัยและคุณ ธรรมพื้นฐานที่เปนความดีงามและ ๓ คุณลักษณะที่คาดหวัง หลังสำเร็จการศึกษาแตละระดับ ไดแก ๑) ผูเรียนรูเปนผูมีความเพียร ใฝเรียนรูและมีทักษะการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อกาวทันโลกยุคดิจิทัลและ โลกอนาคต และมีสมรรถนะ (Competency) เกิดจากความรูความรอบรูดานตาง ๆ มีสุนทรียะ รักษและ ประยุกตใชภูมิปญญาไทยมีทักษะชีวิต เพื่อสรางงานหรือมัมมาอาชีพบนพื้นฐานของความพอเพียง ความมั่นคงใน ชีวิต และคุณภาพชีวิตที่ดีตอตนเอง ครอบครัว และสังคม 15 จาก แผนแมบทเฉพาะกิจภายใตยุทธศาสตรชาติอันเปนผลมาจากสถานการณโควิด-๑๙ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕, สืบคนเมื่อ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๕ จาก http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/๒๐๒๑/๐๑/แผนแมบทเฉพาะกิจฯ-ในราชกิจจานุเบกษ.pdf, น.๑๓ - ๑๔ 16 จาก พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ, โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๖๐, น.๑๖ 17 จาก มาตรฐานการศึกษาของชาติพ.ศ.๒๕๖๑ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๖๑.


๒๘ ๒) ผูรวมสรางสรรคนวัตกรรม เปนผูมีทักษะทางปญญา ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ความฉลาดดิจิทัล (Digital Intelligence) ทักษะการคิดสรางสรรคทักษะขามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการขามศาสตร และมีคุณลักษณะของความเปนผูประกอบการ เพื่อรวมสรางสรรคและพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยี หรือสังคม เพิ่มโอกาสและมูลคาใหกับตนเอง และสังคม ๓) พลเมืองที่เขมแข็งเปนผูมีความรักชาติรักทองถิ่น รูถูกผิด มีจิตสำนึกเปนพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณและมีสวนรวมในการพัฒนาชาติบนหลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเทาเทียม เสมอภาค เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน และการอยูรวมกันในสังคมไทยและป ประชาคมโลกอยางสันติและจำแนกผลลัพธที่พึงประสงคตามระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานไดดังนี้ คุณลักษณะ ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย ผูเรียนรู มี พัฒนาการ รอบดาน และ สมดุล สนใจ เรียนรู และ กำกับ ตัวเองให ทำสิ่ง ตางๆ ที่ เหมาะสม ตามชวง วัยได สำเร็จ รักและรับผิดชอบตอการ เรียนรูชอบการอาน มี ความรูพื้นฐาน ทักษะและ สมรรถนะทางภาษา การคำนวณ มีเหตุผล มี นิสัยและสุขภาพที่ดีมี สุนทรียภาพในความงาม รอบตัว รูจักตนเองและผูอื่น มี เปาหมายและทักษะการ เรียนรูบริหารจัดการตนเอง เปน มีทักษะชีวิตเพื่อสราง สุขภาวะและสรางงาน ที่เหมาะสมกับชวงวัย ชี้นำการเรียนรูดวยตนเอง มีทักษะการเรียนรูตลอด ชีวิต มีความรอบรูและรูทัน การเปลี่ยนแปลง เพื่อพัฒนา สุขภาวะคุณภาพชีวิตและ อาชีพ ผูรวม สรางสรรค นวัตกรรม รับผิดชอบในการทำงาน รวมกับผูอื่น มีความรู ทักษะและสมรรถนะทาง เทคโนโลยีดิจิทัลการคิด สรางสรรคภาษาอังกฤษ การสื่อสาร และความรู ดานตางๆ มีทักษะการทำงานรวมกัน ทักษะการสื่อสาร รอบรูทาง ขอมูลสารสนเทศและดิจิทัล เพื่อแกปญหาการคิด วิจารณญาณคิดสรางสรรคนำ ความคิดสูการสรางผลงาน สามารถแกปญหาสื่อสาร เชิงบวก ทักษะขาม วัฒนธรรม ทักษะการ สะทอนการคิด การวิพากษเพื่อสราง นวัตกรรม และสามารถเปน ผูประกอบการได พลเมืองที่ เขมแข็ง แยกแยะผิดถูก ปฏิบัติตน ตามสิทธิและหนาที่ของ ตน โดยไมละเมิดสิทธิของ ผูอื่น เปนสมาชิกที่ดีของ กลุม มีจิตอาสา รัก ทองถิ่นและประเทศ เชื่อมั่นในความถูกตอง ยุติธรรม มีจิตประชาธิปไตย มีสำนึกและ ภาคภูมิใจในความเปนไทย และพลเมืองอาเซียน เชื่อมั่นในความเทาเทียม เปนธรรม มีจิตอาสากลา หาญทางจริยธรรมและเปน พลเมืองที่กระตือรือรน รวมสรางสังคมที่ยั่งยืน


๒๙ - ผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สำคัญ ผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผานมา สรุปไดเปน ๔ ดาน คือ ดานความปลอดภัย ดานโอกาส ดานคุณภาพ ดานประสิทธิภาพ รายละเอียดดังนี้ ๑. ดานความปลอดภัย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ไดระบุจุดเสี่ยงที่มักเกิดอุบัติภัยในโรงเรียน ๗ จุดเสี่ยงไดแก สนามเด็กเลน สนามกีฬา สระน้ำ/บอน้ำ อาคารเรียน ประตู/รั้วโรงเรียน ลานจอดรถ ถนนหนาโรงเรียน18 นอกจากนี้จากขาวที่ปรากฏในสื่อมวลชนบอยครั้ง พบวามีเด็กนักเรียน และบุคลากร ถูกละเมิด เด็กนักเรียนถูกรังแก รวมถึงภัยอื่นๆ เชน ภัยยาเสพติด จึงเปนเรื่องสำคัญ ที่หนวยงาน ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตองคำนึงถึงการพัฒนาความปลอดภัยเพื่อใหบุคลากรและนักเรียนมีสวัสดิภาพ และสามารถเรียนรูไดอยางเต็มที่ ๒. ดานโอกาส ประชากรวัยเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโอกาสไดรับการศึกษาสูงขึ้นในระยะเวลา ๑๕ ป ที่ผานมา จากรอยละ ๘๙.๐ เปนรอยละ ๙๑.๖ เมื่อพิจารณาจำนวนนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบ เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรวัยเรียน พบวารอยละของนักเรียนตอประชากรวัยเรียนระดับกอนประถมศึกษา สูงขึ้นจากรอยละ ๗๔.๙ ในป๒๕๔๘ เปนรอยละ ๗๘.๗ ในป๒๕๖๓ และมัธยมศึกษาตอนปลายสูงขึ้นมาก จากรอยละ ๖๓.๘ ในป๒๕๔๘ เปนรอยละ ๘๐.๖ ในป๒๕๖๓ นอกจากนี้ระดับประถมศึกษามีรอยละของ นักเรียนสูงกวาประชากรวัยเรียนมาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้มีขอสังเกตสำหรับรอยละของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนตนในป๒๕๖๓ ลดลงจากป๒๕๕๘ รายละเอียดตามตารางดังตอไปนี้ ตาราง ๒ จำนวนนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบ เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรวัยเรียน ระดับการศึกษา ๒๕๔๘ ๒๕๕๓ ๒๕๕๘ ๒๕๖๓ กอนประถมศึกษา ๗๔.๙ ๗๖.๐ ๗๓.๘ ๗๘.๗ ประถมศึกษา** ๑๐๔.๒ ๑๐๔.๓ ๑๐๒.๔ ๑๐๑.๒ มัธยมศึกษาตอนตน ๙๕.๔ ๙๘.๐ ๙๘.๗ ๙๕.๓ มัธยมศึกษาตอนปลาย ๖๓.๘ ๗๑.๗ ๗๘.๔ ๘๐.๖ รวมระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๘๙.๐ ๙๐.๕ ๙๑.๐ ๙๑.๖ ที่มา: ประมวลจากตารางที่ ๑.๑ จำนวนรอยละของนักเรียน นิสิต นักศึกษาในระบบโรงเรียนตอประชากรในวัย เรียน จำแนกตามระดับการศึกษา ปการศึกษา ๒๕๔๕-๒๕๖๓ สืบคนเมื่อ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๕ จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=๓๕๐๘ - ผลการดำเนินงานตามแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) ในกิจกรรมปฏิรูปที่ ๑ การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแตระดับปฐมวัย มีความทาทายจากจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด-๑๙ เกิดสภาวะความยากจนเฉียบพลัน สงผลใหเด็กและเยาวชนจำนวนหนึ่งมีความเสี่ยงหลุดออกนอกระบบการศึกษายิ่งขึ้น จึงควรมีการพิจารณา ปรับกิจกรรมใหสอดคลองกับสถานการณและมุงเนนมาตรการปองกันและฟนฟูผลกระทบ ซึ่งตรงกับ ความตองการของกลุมเปาหมายเฉพาะยิ่งขึ้น19 18 จาก “เตือน ๗ จุดเสี่ยงอุบัติภัยในโรงเรียน”, สืบคนเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ จาก https://www.thaihealth.or.th/ 19 จาก รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ประจำป๒๕๖๔, โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๕, น.๒๕๔


๓๐ ๑. ดานคุณภาพ คุณภาพของคนไทยยังเปนอุปสรรคตอการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ทั้งเรื่องพัฒนาการและสติปญญา การมีทักษะความรูความสามารถไมเพียงพอที่สงผลตอผลิตภาพ กลุมเด็กอายุ๓ - ๕ ปสวนใหญจะอยูในสถานศึกษาที่ยังมีปญหาดานคุณภาพและมาตรฐาน กลุมเด็กวัยเรียนของไทยสวนใหญ มีIQ ที่ต่ำกวาคากลางมาตรฐานสากล ขณะที่ EQ มีคะแนนเฉลี่ยที่ต่ำกวาระดับปกติ20 ผลการทดสอบ O-NET ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนใหญไดคะแนนไมถึงรอยละ ๕๐21 - ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปพ.ศ. ๒๕๖๔ ๑. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๔ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรูพบวา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดรองลงมาคือคณิตศาสตรภาษาตางประเทศ (อังกฤษ) และ วิทยาศาสตรตามลำดับ โดยมี คะแนนเฉลี่ยรอยละเทากับ ๔๙.๕๔, ๓๕.๘๕, ๓๕.๔๖, ๓๓.๖๘ ตามลำดับ ๒. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ปการศึกษา ๒๕๖๔ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรูพบวา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ วิทยาศาสตรภาษาตางประเทศ (อังกฤษ) และคณิตศาสตรตามลำดับ โดยมี คะแนนเฉลี่ยรอยละเทากับ ๕๒.๑๓ , ๓๑.๖๗ , ๓๐.๗๙ , ๒๔.๗๕ ตามลำดับ ๓. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๔ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรูพบวา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มี คะแนนเฉลี่ ยสูงสุ ด รองลงม า คื อ สังคมศึ กษ า วิท ย าศ าส ต ร ภ าษ าต างป ร ะเท ศ (อังก ฤษ ) และ คณิตศาสตรตามลำดับ โดยมีคะแนนเฉลี่ยรอยละเทากับ ๔๗.๗๔ , ๓๗.๔๕ , ๒๙.๐๔ , ๒๕.๘๓ , ๒๑.๘๓ ตามลำดับ รายละเอียดดังนี้ ตาราง ๓ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O - NET) ปการศึกษา ๒๕๖๔ ระดับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ รวมทุก กลุมฯ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ๔๙.๕๔ ๓๕.๘๕ ๓๓.๖๘ N/A ๓๕.๔๖ ๓๘.๖๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ๕๒.๑๓ ๒๔.๗๕ ๓๑.๖๗ N/A ๓๐.๗๙ ๓๔.๘๔ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ๔๗.๗๔ ๒๑.๘๓ ๒๙.๐๔ ๓๗.๔๕ ๒๕.๘๓ ๓๒.๓๘ ที่มา : สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 20 จาก พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ, โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๖๐, น.๖๘ 21 จาก สภาวะการศึกษาไทยป๒๕๕๙/๒๕๖๐ แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อกาวสูยุค Thailand ๔.๐, โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา , ๒๕๖๑, น.ช


๓๑ - ตัวชี้วัดดานการศึกษาจากดัชนีของสถาบันเพื่อพัฒนาการจัดการนานาชาติ ในปพ.ศ. ๒๕๖๕ ดัชนีของสถาบันเพื่อพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development : IMD) ไดจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยจาก ๖๓ ประเทศทั่วโลก โดยประเทศไทยมีอันดับลดลงเปนอันดับที่ ๓๓ จากเดิมอันดับที่ ๒๘ ซึ่งตัวชี้วัดดานการศึกษา เปนหนึ่งหมวดสำคัญในปจจัยโครงสรางพื้นฐานมี๑๙ ตัวชี้วัด แหลงขอมูลมากจากทั้งการสำรวจ และขอมูลที่ เปนสถิติหรือทุติยภูมิ ซึ่งตัวชี้วัดดานการศึกษาดีขึ้นจากปพ.ศ. ๒๕๖๔ ๓ อันดับ โดยพบวาตัวชี้วัดดาน ที่เกี่ยวของกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีอันดับสูงที่สุดคือ อัตราสวนนักเรียนตอครู๑ คนที่สอนระดับ ประถมศึกษา22 โดยมีตัวชี้วัดดานการศึกษาที่ยังตองใหความสนใจ ทั้งงบประมาณดานการศึกษา อัตราการเขา เรียนระดับมัธยมศึกษา ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ (TOEFL) อัตราสวนนักเรียนตอครูที่สอนระดับ มัธยมศึกษา - ผลการดำเนินงานตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีผลการดำเนินงานตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติประเด็น ที่ ๑๒ การพัฒนาการเรียนรูซึ่งมีประเด็นทาทาย ไดแก ทรัพยากรของโรงเรียนโดยเฉพาะในพื้นที่หางไกล สมรรถนะและคุณภาพของครูผูสอน ทักษะการจัดการเรียนการสอนผานสื่อดิจิทัล ความพรอมของอุปกรณการ เรียน ที่ขาดแคลนอุปกรณสื่อสารหรือคอมพิวเตอรที่สามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตไดการขาดความเขาใจถึงความ หลากหลายของพหุปญญาของเด็กแตละคนที่ตางกัน การขาดการจัดเก็บขอมูลและตัวชี้วัดที่สะทอนผลลัพธที่ เหมาะสมและชัดเจน23 นอกจากนี้ผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) ในกิจกรรมปฏิรูปที่ ๒ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสูการเรียนรูฐานสมรรถนะเพื่อตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด-๑๙ ทำให สถานศึกษาตองปรับการเรียนการสอนเปนรูปแบบออนไลน บางกิจกรรมไมสามารถดำเนินการไดตาม กำหนดเวลา เกิดขอจำกัดในการถายทอดองคความรูการจัดการเรียนรูสูการเรียนรูสมรรถนะ และการประเมิน พัฒนาการเรียนรูอยางตอเนื่อง จึงควรเรงดำเนินการสรางความรูความเขาใจใหผูเรียนและผูสอนสามารถใช เครื่องมือการเรียนรูทางออนไลนในรูปแบบตางๆ ที่เหมาะสมกับทุกชวงวัย การจัดใหมีแพลตฟอรมออนไลนที่ หลากหลาย และมีแผนเรงดำเนินกิจกรรมที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด-๑๙24 ๑. ดานประสิทธิภาพ การบริหารจัดการศึกษา ยังไมมีระบบขอมูลสารสนเทศที่ทันสมัย ยังรวมอำนาจไวที่สวนกลางมากเกินไป ยังสงเสริมการมีสวน รวมจากภ าคป ระชาชนไมเพียงพอ มีปญห าป ระสิท ธิภ าพการใชท รัพยากร ที่แมจะมีสัดสวนรายจายดานการศึกษาสูง แตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับต่ำ25 22 จาก ผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันประจำป๒๕๖๕ โดย IMD, โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สืบคนเมื่อ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๕ จาก http://backoffice.onec.go.th/uploaded๒/Outstand/๒๐๒๒๐๗/IMD๒๐๒๒_F.pdf 23 จาก รายงานสรุปผลการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติประจำป๒๕๖๔, โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๕, น. ๔๓๙ 24 จาก รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ ประจำป๒๕๖๔, โดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๕, น.๒๕๕ 25 จาก สภาวะการศึกษาไทยป๒๕๕๙/๒๕๖๐ แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อกาวสูยุค Thailand ๔.๐, โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา , ๒๕๖๑, น.ช


๓๒ ๑.๒ สรุปประเด็นสำคัญที่พบจากการวิเคราะหสภาพแวดลอม (SWOT Analysis) สรุปจุดแข็ง จุดออน โอกาส อุปสรรค ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดดังนี้ โอกาส อุปสรรค ๑. สถานการณโควิด กระตุนการใชสื่อเทคโนโลยี ของครูและนักเรียน ๒. ภาคประชาชน ภาคเอกชน ตระหนักใน ความสำคัญและยินดีรวมสนับสนุน ๓. ความรูออนไลนโดยภาคเอกชนมีจำนวนมาก ผูเรียนและบุคลากรทางการศึกษา สามารถเขาถึง สื่อ ความรูทันสมัยไดงาย ๔. การคมนาคมสะดวก ๕. ความตองการยกระดับคุณภาพการศึกษาจาก ภายนอก กระตุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๑. นโยบายเปลี่ยนแปลงบอย ๒. หนวยงานภายนอกเพิ่มภาระงานครูจำนวนมาก ๓. ผูปกครองมีรายไดลดลง ไมสามารถหาอุปกรณ สนับสนุนการเรียนการสอน ๔. งบประมาณถูกปรับลดอยางตอเนื่อง จากกฎหมาย ยุทธศาสตรแผน แนวโนมสถานการณที่เกี่ยวของกับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เปลี่ยนไป หนวยงานที่จัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกหนวยงาน จึงจำเปนตองพัฒนาตนเองใหอยางนอยที่สุด ตอบสนองตอแนวโนมสถานการณดังกลาว เพื่อหลอหลอมเด็กและเยาวชน ไดรับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีคุณภาพ มีความรูทักษะ และสมรรถนะที่จำเปนเพียงพอจะเติบโตเปนทรัพยากรมนุษยที่จะตองสามารถสราง ผลิตภาพสูงตอเศรษฐกิจไทยในอนาคต และเพื่อใหการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานมีเปาหมาย ที่เปนเอกภาพ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีภารกิจในการจัดทำแผนพัฒนา จึงเห็นควรจัดทำสาระสำคัญ จุดแข็ง จุดออน ๑. หนวยงานมีจำนวนมากทั่วประเทศ ๒. เทคโนโลยีในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สื่อสาร นโยบายไดอยางรวดเร็ว ๓. จำนวนบุคลากรที่มีจำนวนมาก ๔. การมีศูนยพัฒนาครูทั่วประเทศ ๕. มีเครือขายในการทำงานทั่วประเทศ ๖. บุคลากรมีความรูความสามารถ มีการพัฒนา อยางตอเนื่อง ๗. วัฒนธรรมการทำงานแบบกัลยาณมิตร ๑. จำนวนโรงเรียนขนาดเล็กที่มีมากสวนใหญขาดแคลน ทรัพยากร ที่จะสนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ๒. ครูมีภาระงานมากไมสามารถสอนไดอยางเต็มที่ ๓. หลักสูตรยังไมตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง ๔. จำนวนผูเรียนลดลงอยางตอเนื่อง ๕. ผลสัมฤทธิ์ผูเรียนต่ำ ๖. ผูเรียนสวนมากเปนผูดอยโอกาส ๗. สวนกลางไมเปนเอกภาพ ไมบูรณาการ มีการสั่งงาน/ การติดตามซ้ำซอน ทั้งจากหนวยงานอื่น ในกระทรวง และใน สพฐ. ๘. งบประมาณไมเพียงพอ ๙. อัตรากำลังไมเพียงพอ ๑๐. ภาระงาน/ปริมาณงานมากเกินไป ๑๑. โครงสรางในพื้นที่ไมชัดเจน ทำใหมอบหมายงานไม ตรง ๑๒. การสั่งการจากสวนกลางไมชัดเจน


๓๓ ของแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ ซึ่ง จะนำเสนอในสวนตอไป 2. กฎหมาย ระเบียบ แผนที่เกี่ยวของ 2.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไดมีการประกาศใชตั้งแตวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๐ ซึ่งในสวนที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา มีบทบัญญัติไวใน มาตรา ๕๔ รัฐตองดำเนินการใหเด็กทุกคนไดรับ การศึกษาเปนเวลาสิบสองปตั้งแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย รัฐตองดำเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษาตามวรรคที่หนึ่ง เพื่อพัฒนารางกาย จิตใจ วินัย อารมณสังคม และสติปญญาใหสมกับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดำเนินการดวย รัฐตองดำเนินการใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตาง ๆ รวมทั้งสงเสริม ใหมีการเรียนรูตลอดชีวิต และจัดใหมีการรวมมือกันระหวางรัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหนาที่ดำเนินการ กำกับ สงเสริม และสนับสนุนใหการจัดการศึกษาดังกลาว มี คุ ณ ภ าพ และได ม าต รฐาน ส ากล ทั้งนี้ต ามกฎห ม าย ว าด วยก ารศึ กษ าแหงช าติซึ่งอย างน อย ตองมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแหงชาติการดำเนินการและตรวจสอบการดำเนินการ ใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย การศึกษาทั้งปวงตองมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติสามารถเชี่ยวชาญได ตามความถนัดของตนและมีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดำเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือใหประชาชนไดรับการศึกษา ตามวรรคสาม รัฐตองดำเนินการใหผูขาดแคลนทุนทรัพยได รับการสนับสนุนค าใชจ ายในการศึกษา ตามความถนัดของตน 2.2 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๔๒ ไดกำหนดคำนิยามการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาระดับกอนอุดมศึกษา และกำหนดในมาตรา ๑๐ การจัดการศึกษาตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอ กันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณสังคม การสื่อสารและการเรียนรูหรือมีรางกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแลดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนพิเศษ การศึกษ าสำห รับคนพิการ ใหจัดตั้งแตแรกเกิดห รือพบความพิการโดยไมเสียค าใชจาย และใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่กำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคำนึง ถึงความสามารถของบุคคลนั้น 2.3 คำสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติที่๒๘/๒๕๕๙ เรื่องใหจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปโดยไมเก็บคาใชจาย ไดกำหนดนิยามการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปเปนการศึกษาตั้งแตระดับกอนประถมศึกษา (อนุบาล) (ถามี) ระดับประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาปที ่ ๖ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.๓) หรือเทียบเทา และใหหมายความรวมถึงการศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห


๓๔ 2.4 ยุทธศาสตรชาติพ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำหนดใหรัฐมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมาย การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใชเปนกรอบในการจัดทำแผนตางๆ ใหสอดคลอง และ บูรณาการกัน ตอมาไดมีการตราพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตรชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งกำหนดใหหนวยงานรัฐ ทุกหนวยมีหนาที่ดำเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดไวในยุทธศาสตรชาติพ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ โดยมี วิสัยทัศนคือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่งยั่งยืน เปนประเทศที่พัฒนาแลวดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรชาติพ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ประกอบดวย ความอยูดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทยขีดความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ ความเทาเทียมและความเสมอภาคของสังคม ความหลากหลายทาง ชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ การเขาถึงการใหบริการของภาครัฐ การพัฒนาประเทศในชวงเวลาของยุทธศาสตรชาติจะมุงเนนการสรางสมดุล ระหวางการพัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในรูปแบบ “ประชารัฐ” ซึ่งยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ๖ ยุทธศาสตรประกอบดวย ๑) ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง ๒) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ๓) ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ๔) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๕) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ๖) ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื ่อใหทรัพยากรมนุษยในทุกมิติและในทุกชวงวัยสามารถไดรับการพัฒนาและยกระดับไดเต็ม ศักยภาพและเหมาะสม ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย จึงไดกำหนดประเด็นยุทธศาสตรที ่เนนทั้งการแกไขปญหาการพัฒนาทรัพยากรมน ุษยในปจจุบัน และการเสริมสรางและยกระดับการพัฒนา ที่ใหความสำคัญที่ครอบคลุมทั้งในสวนของการพัฒนาทุนมนุษยและ ปจจัยและสภ าพแวดลอมที ่เกี ่ยวของเพื ่อสรางระบบนิเวศที ่เอื้อต อก ารพัฒน าท รัพย ากรมน ุษย อย างครอบคลุม ประกอบดวย การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช วงชีวิต ควบคู กับการปฏิรูปที ่สำคัญ ทั้งในส วนของการปรับเปลี ่ยนค านิยมและวัฒนธรรม เพื ่อใหคนมีความดีอยู ใน ‘วิถี’ การดำเนินชีวิต และมีจิตสำนึกรวมในการสรางสังคมที่นาอยู และมีการปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม ในทุกระดับตั้งแต ระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรูตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที ่ ๒๑ มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม การเปลี ่ยนบทบาทครูการเพิ ่มประสิทธิภาพระบบ บริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิตเพื ่อพัฒนาผูเรียนใหสามารถกำกับ การเรียนรูที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางตอเนื่องแมจะออกจากระบบการศึกษาแลว รวมถึงความตระหนัก ถึงพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย ตลอดจนพัฒนาและรักษากลุมผูมีความสามารถพิเศษของพหุปญญา แต ละประเภทเพื ่อใหการขับเคลื ่อนการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสราง ศักยภาพทรัพยากรมนุษยสามารถขับเคลื่อนไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดมีการกำหนดแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติขึ้นเพื่อใหเห็นกรอบแนวทางในการดำเนินการที่ชัดเจนขึ้น 2.5 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติเปนแผนระดับสองที่จัดทำไวเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตร ชาติโดยจะมีผลผูกพันตอหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามนั้น รวมทั้งการจัดทำงบประมาณ รายจายประจำปงบประมาณจะตองสอดคลองกับแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติซึ่งประเด็นแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ๒๓ ประเด็น ประกอบดวย ๑) ความมั่นคง ๒) การตางประเทศ ๓) การพัฒนาการเกษตร ๔)


๓๕ อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต ๕) การท องเที ่ยว ๖) การพัฒนาพื้นที ่และเมืองน าอยู อัจฉริยะ 7) โครงสรางพื้นฐานระบบโลจิสติกสและดิจิทัล ๘) ผูประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอมยุคใหม ๙) เขตเศรษฐกิจพิเศษ ๑๐) การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม ๑๑) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ๑๒) การพัฒนาการเรียนรู๑๓) การสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี๑๔) ศักยภาพการกีฬา ๑๕) พลังทางสังคม ๑๖) เศรษฐกิจฐานราก ๑7) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ๑๘) การเติบโตอยางยั่งยืน ๑๙) การบริหารจัดการ น้ำทั้งระบบ ๒๐) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ๒๑) การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๒๒) กฎหม ายและกระบ วนการยุติธรรม และ๒๓) การวิจัยและพัฒ น าน วัตกรรม โดยมีแผนแมบทที่ กระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหดำเนินการ ๒ แผนแมบท ดังนี้ 2.6 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (๑๑) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต แผนแมบทประเด็นศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ไดกำหนดแผนยอยไว๕ แผนยอย เพื่อพัฒนาและ ยกระดับทรัพยากรมนุษยในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเต็มศักยภาพและเหมาะสม ดังนี้๑) การสราง สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพมนุษย๒) การพัฒนาเด็กตั้งแตชวงการตั้งครรภจนถึง ปฐมวัย ๓) การพัฒนาชวงวัยเรียน/วัยรุน ๔) การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน ๕) การสงเสริม ศักยภาพวัยผูสูงอายุโดยกระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานสนับสนุนแผนแมบทดังกลาว โดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะมีความเกี่ยวของกับแผนแมบทยอยที่ ๒) และ ๓) 2.7 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (๑๒) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติประเด็น การพัฒนาการเรียนรูไดกำหนดประเด็นยุทธศาสตรที่เนน ทั้ ง ก า ร แ ก ไข ป ญ ห าใน ป จ จุ บั น แ ล ะ ก า ร เส ริ ม ส ร าง แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า และการเรียนรูทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการเรียนรูตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาผูเรียน ใหสามารถกำกับการเรียนรูที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางตอเนื่องแมจะออกจากระบบการศึกษาแลว ควบคูกับ การสงเสริมการพัฒนาคนไทยตามพหุปญญ าใหเต็มตามศักยภาพ รวมถึงการสรางเสริมศักยภาพ ผูมีความสามารถพิเศษใหสามารถตอยอดการประกอบอาชีพไดอยางมั่นคง โดยประกอบดวย ๒ แผนยอย ดังนี้ ๑) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และ ๒) การตระหนักถึง พหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย โดยกระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานหลักในการ ดำเนินการแผนแมบทดังกลาว ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเกี่ยวของกับองคประกอบ และปจจัยภายใตแผนแมบทดังกลาวทุกองคประกอบ 2.8 แผนการปฏิรูปประเทศ แผนการปฏิรูปประเทศ เปนแผนระดับสองที่จัดทำขึ้นเพื่อกำหนดกลไก วิธีการ และขั้นตอนการปฏิรูป ประเทศในดานตางๆ โดยการปฏิรูปประเทศตองดำเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย ประเทศชาติมีความสงบเรียบรอย มีความสามัคคีสังคมมีความสงบสุข เปนธรรม และมีโอกาสอัน ทัดเทียมกัน เพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้การปฏิรูป ประเทศตองสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตรชาติ - ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศ ประกอบดวย ๑๒ ดาน ไดแก ๑) ดานการเมือง ๒) ดานการบริหารราชการแผนดิน ๓) ดานกฎหมาย ๔) ดานกระบวนการยุติธรรม ๕) ดานเศรษฐกิจ


๓๖ ๖) ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 7) ดานสาธารณสุข ๘) ดานสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ ๙) ดานสังคม ๑๐) ดานพลังงาน ๑๑) ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๑๒) ดานการศึกษา - โดยแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษามีแผนงานเพื่อการปฏิรูป ๕ เรื่อง ไดแก ๑) การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแตระดับปฐมวัย ๒) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสูการเรียนรูฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษที่ ๒๑ ๓) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพมาตรฐาน ๔) การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและระบบอื่น ๆ ที่เนนการฝกปฏิบัติอยางเต็มรูปแบบ นำไปสู การจางงานและการสรางงาน ๕) การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสนับสนุนการพัฒนา ประเทศไทยออกจากกับดักรายไดปานกลางอยางยั่งยืน 2.9 แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ดวยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕๘ จ. โดยสรุปไดบัญญัติใหมี การดำเนินการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ครอบคลุมใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศึกษา เพื่ อใหเด็กเล็กได รับ ก ารพัฒ น ารางก าย จิตใจ วินั ย อ ารมณ สังคม และสติปญ ญ าให สมกับ วัย โดยไมเก็บคาใชจาย ใหดำเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาใหมีกลไก และระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและอาจารยใหไดผูมีจิตวิญญาณของความเปนครู มีความรูความสามารถอยางแทจริง ไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสรางระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผูประกอบวิชาชีพครูใหมีการปรับปรุงการจัดการเรียน การสอนทุกระดับเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนไดตามความถนัดและปรับปรุงโครงสรางของหนวยงาน ที่เกี่ยวของเพื่อบรรลุเปาหมายดังกลาว โดยสอดคลองกันทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ ทั้งนี้บทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๖๑ กำหนดใหการปฏิรูปตามมาตรา ๒๕๘ จ. ดานการศึกษามีคณะกรรมการ ที่มีความเปนอิสระคณะหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้ง ดำเนินการศึกษาและจัดทำขอเสนอแนะและรางกฎหมาย ที่เกี่ยวของในการดำเนินการใหบรรลุเปาหมายเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีดำเนินการตอไป นอกจากนี้การปฏิรูปการศึกษายังเปนสวนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศเพื่อสนับสนุนการบรรลุ ตามยุทธศาสตรชาติที่กำหนดไวในดานตางๆ เนื่องดวยการศึกษาเปนพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษาจึงเปนองคประกอบสำคัญที่จะสนับสนุนการดำเนินการ ตามยุทธศาสตรชาติทุกดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศดานความเทาเทียมและ ความเสมอภาคของสังคม และดานขีดความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได ปญหาและความทาทายที่สำคัญในการปฏิรูปการศึกษา ปญหาของระบบการศึกษาของไทย มีความซับซอนสูง คุณภาพของการศึกษาต่ำ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาสูง ปญหาของระบบการศึกษา เปนอุปสรรคอยางยิ่งตอการสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ การใชทรัพยากรทางการศึกษา ยังไมมีประสิทธิภาพ การกำกับดูแลและการบริหารจัดการระบบการศึกษาของภาครัฐในดานธรรมาภิบาล เปนอุปสรรคสำคัญที่บั่นทอนประสิทธิผลของการนำประเด็นการปฏิรูปการศึกษาสูการปฏิบัติรวมถึงบริบท ของประเทศและของโลกกำลังเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว


๓๗ จากปญหาและความทาทายของระบบการศึกษาของไทยที่ไดวิเคราะหไวในขอเสนอเพื่อการปฏิรูป การศึกษาจากหนวยงานตางๆ ขอเสนอจากการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะในภูมิภาคตางๆ เวทีทางวิชาการ มา ประกอบการพิจารณ าปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ทำใหแผนการปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษานี้ประกอบดวยวัตถุประสงคของการปฏิรูป ๔ ดาน ๑) ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา (Enhance quality of education) ๒) ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา (Reduce disparity in education) ๓) มุงความเปนเลิศและสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (Leverage excellence and competitiveness) ๔) ปรับปรุงระบบการศึกษาใหมีประสิทธิภาพในการใชทรัพยากร เพิ่มความคลองตัว ในการรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสรางเสริมธรรมาภิบาล (Improve Efficiency, agility and good governance) โดยไดก ำหนดแผนงานเพื่ อก ารปฏิ รูปก ารศึกษ า 7 เรื่อง ๑) ก ารปฏิ รูป ระบบการศึกษาและการเรียนรูโดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับใหม และกฎหมายลำดับรอง ๒) การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กกอนวัยเรียน ๓) การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษา ๔) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผูประกอบวิชาชีพครูและอาจารย ๕) การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ๖) การปรับโครงสราง ของหนวยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเปาหมายในการ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และยกระดับ คุณภาพของการจัดการศึกษา 7) การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูโดยการพลิกโฉมดวยระบบดิจิทัล (Digitalization for Educational and Learning Reform) 2.10 แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ฉบับปรับปรุง มุงเนนกิจกรรมปฏิรูปที่จะสงผลใหเกิด การเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาที่จะกอใหเกิดประโยชนตอผูเรียน ประชาชนอยางมีนัยสำคัญ ๕ กิจกรรม โดยพิจารณ าความเชื่อมโยงกับแผนการปฏิรูปประเทศดานการศึกษาที่คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ซึ่งหนวยงานรับผิดชอบไดขับเคลื่อนการดำเนินการบางกิจกรรมไปแลว โดยในแผนการ ปฏิรูปประเทศดานการศึกษาฉบับเดิมที่กำหนดเรื่องและประเด็นปฏิรูปไว๘ เรื่อง ซึ่งมีสถานะบรรลุเปาหมาย ประจำป๒๕๖๓ ในระดับใกลเคียงในการบรรลุเปาหมาย ๓ เรื่อง และอยูในระดับที่มีความเสี่ยงในการบรรลุ เปาหมาย ๔ เรื่อง นั้น ไดนำมาดำเนินการตอเนื่องในแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ผานกิจกรรม Big Rock จำนวน ๖ เรื่อง และประเด็นปฏิรูป และอีก ๑ เรื่องและประเด็นปฏิรูป เปนกิจกรรมที่มีสวนรวมสนับสนุน การขับเคลื่อนกิจกรรม Big Rock ใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ไดตามเปาประสงคที่กำหนดไวกิจกรรมปฏิรูป ๕ กิจกรรม ที่กำหนดใหมและแผนงานเดิมยังมุงเนนการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และมุงสูความเปนเลิศและสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ประกอบดวย ๑) การสรางโอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแตระดับปฐมวัย ๒) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสูการเรียนรู ฐานสมรรถนะเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ๓) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพมาตรฐาน ๔) การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและระบบอื่นๆ ที่เนนการฝกปฏิบัติอยางเต็มรูปแบบนำไปสูการจางงานและการสรางงาน ๕) การปฏิรูปบทบาทการวิจัย และระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได ปานกลางอยางยั่งยืน 2.11 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๘๐) เปนแผนระดับสอง ซึ่งเปน พัฒนาที่จัดทำโดยคำนึงถึงความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาตินโยบายของรัฐบาลและสภาพการณทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศและโลก รวมถึงมีความสำคัญตอการบรรลุเปาหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาวที่จะชวย สนับสนุนใหการพัฒนาประเทศไดรับการสนับสนุนจากทุกภาคสวนบนเปาหมายรวมที่ชัดเจน และยังเอื้อประโยชน ตอการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลความสำเร็จของแผน เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการและวิธีการ


๓๘ ดำเนินงานใหบรรลุเปาหมายตามที่มุงหวังไดดียิ่งขึ้น ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๘๐) ประกอบดวย ๑๓ หมุดหมาย ไดแก หมุดหมายที่ ๑ ไทยเปนประเทศชั้นนำดานสินคา เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูง หมุดหมายที่ ๒ ไทยเปนจุดหมายของการทองเที่ยวที่เนนคุณภาพ และความยั่งยืน หมุดหมายที่ ๓ ไทยเปนฐานการผลิตยานยนตไฟฟาที่สำคัญของโลก หมุดหมายที่ ๔ ไทยเปนศูนยกลางทางการแพทยและสุขภาพมูลคาสูง หมุดหมายที่ ๕ ไทยเปนประตูการคาการลงทุน และยุทธศาสตรทางโลจิสติกสที่สำคัญของภูมิภาค หมุดหมายที่ ๖ ไทยเปนฐานการผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกส อัจฉริยะที่สำคัญของโลก หมุดหมายที่ 7 ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมที่เขมแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแขงขันไดหมุดหมายที่ ๘ ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่นาอยู ปลอดภัย เติบโตไดอยางยั่งยืน หมุด หมายที่ ๙ ไทยมีความยากจนขามรุนลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุมครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม หมุดหมายที่ ๑๐ ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคารบอนต่ำ หมุดหมายที่ ๑๑ ไทยสามารถ ลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมุดหมายที่ ๑๒ ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุงเรียนรูอยางตอเนื่อง ตอบโจทยการพัฒนาแหงอนาคต และหมุดหมายที่ ๑๓ ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทยประชาชน โดยหมุดหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานมากที่สุด นั่นคือ หมุดหมายที่ ๑๒ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ - หมุดหมายที่ ๑๒ ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุงเรียนรูอยางตอเนื่อง ตอบโจทยการพัฒนาแหงอนาคต หมุดหมายที่ ๑๒ มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติใน ๓ ดาน ไดแก ๑) ดานการสราง ความสามารถในการแขงขัน ในประเด็นเปาหมาย ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น ๒) ดาน การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยในประเด็นเปาหมาย คนไทยเปนคนดีคนเกง มีคุณภาพ พรอมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ และสังคมไทยมีสภาพแวดลอมที่เอื้อและสนับสนุนตอการพัฒนาคนตลอด ช วงชี วิต แ ล ะ ๓ ) ด าน ก า รส ร างโอ ก าส แ ล ะค ว าม เส ม อภ าคท างสังค ม ใน ป ระเด็ น เป าห ม าย สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติและกระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสใหทุกภาคสวนเขามาเปนกำลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ หมุดหมายที่ ๑๒ มุงตอบสนองเปาหมายหลักของแผน ๒ เปาหมาย ไดแก ๑) การพัฒนาคนสำหรับยุค ใหม โดยการพัฒนาคนทุกชวงวัยไดรับการพัฒนาในทุกมิติการพัฒนากำลังคนสมรรถนะสูงสอดคลองกับความ ตองการของภาคการผลิต เปาหมาย สามารถสรางงานอนาคต และสรางผูประกอบการอัจฉริยะที่มีความสามารถใน การสรางและใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม ๒) การมุงสูสังคมแหงโอกาสและความเปนธรรม ดวยการสงเสริมการ เรียนรูตลอดชีวิต ทั้งการพัฒนาระบบนิเวศเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต และพัฒนาทางเลือกในการเขาถึงการเรียนรู สำหรับผูที่ไมสามารถเรียนในระบบการศึกษาปกติโดยมีเปาหมายระดับหมุดหมาย และตัวชี้วัดที่เกี่ยวของกับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ เปาหมายที่ ๑ คนไทยไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพในทุกชวงวัย มีสมรรถนะที่จำเปน สำหรับโลกยุคใหม มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภูมิคุมกัน ตอการเปลี่ยนแปลงอยางพลิกโฉมฉับพลันของโลก สามารถดำรงชีวิตรวมกันในสังคมไดอยางสงบสุข ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ ดัชนีพัฒนาการเด็กสมวัยเพิ่มขึ้นเปนรอยละ ๘๘ ณ สิ้นสุดแผนฯ ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ รอยละของนักเรียนที่มีสมรรถนะไมถึงระดับพื้นฐานของทั้ง ๓ วิชาในแตละกลุม โรงเรียนลดลงรอยละ ๘ เมื่อสิ้นสุดแผนฯ ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทยเพิ่มขึ้นรอยละ ๓ เมื่อสิ้นสุดแผนฯ เปาหมายที่ ๒ กำลังคนมีสมรรถนะสูง สอดคลองกับความตองการของภาคการผลิตเปาหมาย และสามารถสรางงานอนาคต ตัวชี้วัดที่ ๒.๑ ดัชนีความสามารถในการแขงขันของสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Form: WEF) ๖ ดานทักษะ คะแนนเพิ่มขึ้นรอยละ ๒๐ เมื่อสิ้นสุดแผนฯ


๓๙ เปาหมายที่ ๓ ประชาชนทุกกลุมเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิต ตัวชี้วัดที่ ๓.๒ กลุมประชากรอายุ ๑๕ – ๒๔ ปที่ไมไดเรียน ไมไดทำงาน หรือไมไดฝกอบรม ไมเกินรอยละ ๕ เมื่อสิ้นแผนฯ 2.12 กลยุทธการพัฒนา (เฉพาะที่เกี่ยวของกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) กลยุทธที่ ๑ การพัฒนาคนไทยทุกชวงวัยในทุกมิติ กลยุทธยอยที่ ๑.๑ พัฒนาเด็กชวงตั้งครรภจนถึงปฐมวัยใหมีพัฒนาการรอบดาน มีอุปนิสัยที่ดี โดยการเตรียมความพรอมพอแมผูปกครองและสรางกลไกประสานความรวมมือ เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภใหไดรับ บริการที่มีคุณภาพ และดูแลเด็กใหมีพัฒนาการสมวัย ตั้งแตอยูในครรภ– ๖ ปการพัฒนาครูและผูดูแลเด็ก ปฐมวัยใหมีความรูและทักษะการดูแลที่เพียงพอ มีจิตวิทยาการพัฒนาการของเด็กปฐมวัย สามารถทางานรวมกับ พอแมผูปกครองในการสงเสริมพัฒนาการดานการเรียนรูของเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการสมวัยตามหลักการพัฒนา สมองและกระบวนการเรียนรูแกเด็ก ควบคูกับการพัฒนาการดานรางกาย สาธารณสุข และโภชนาการ เพื่อ สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการที่ดีอยางรอบดานกอนเขาสูวัยเรียน การยกระดับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใหได มาตรฐาน และจัดสรรทรัพยากรที่เพียงพอสาหรับการดำเนินงาน เพื่อใหเปนกลไกการพัฒนาเด็กปฐมวัยรายพื้นที่ ที่มีคุณภาพ การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูและการดูแลปกปองเด็กปฐมวัย ใหมีพัฒนาการที่ดีรอบ ดาน สติปญญาสมวัย โดยการมีสวนรวมของครอบครัว ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน รวมถึงพัฒนาระบบสารสนเทศเด็กรายบุคคลเพื่อการสงตอไปยังสถานศึกษาและการพัฒนาที่ ตอเนื่อง กลยุทธยอยที่ ๑.๒ พัฒนาผูเรียนระดับพื้นฐานใหมีความตระหนักรูในตนเอง มีสมรรรถนะที่ จำเปนตอการเรียนรูการดำรงชีวิตและการทำงาน โดย การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะและขับเคลื่อนสูการ ปฏิบัติการยกระดับการผลิตและพัฒนาครูทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ การปรับปรุงระบบวัดและประเมิน ผูเรียนใหมีความหลากหลายตามสภาพจริง ตลอดจนมีการประเมินการเรียนรูเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ เรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนเปนรายบุคคล การพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรูโดย ๑) การแกไขภาะการ ถดถอยของความรูในวัยเรียน โดยสถานศึกษาพัฒนาแนวปฏิบัติและระบบสนับสนุนที่เหมาะสม รวมทั้งสงเสริม การจัดการเรียนรูแบบผสมผสาน และการเรียนรูที่บานในสถานการณฉุกเฉิน ๒) การพัฒนาระบบแนะแนวใหมี ประสิทธิภาพ โดยพัฒนาครูและผูประกอบอาชีพแนะแนวใหสามารถรวมวางแผนเสนทางการเรียนรูการ ประกอบอาชีพ และการดาเนินชีวิตของผูเรียนไดตามความสนใจ ความถนัด ๓) พัฒนาสถานศึกษาใหเปนพื้นที่ ปลอดภัยของผูเรียนทุกคน โดยพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพที่เหมาะสมกับการเรียนรูสรางความรูความ เขาใจแกครูบุคลากรทางการศึกษา และผูเรียน ถึงแนวทางการอยูรวมกันในสังคมอยางสงบสุขบนหลักของการ เคารพ ความหลากหลายทั้งทางความคิด มุมมองของคนระหวางรุน และอัตลักษณสวนบุคคลเพื่อการวางอนาคต ในการพัฒนาประเทศรวมกัน การสงเสริมการเรียนรูวิชาชีวิตในโรงเรียน และมีแนวปฏิบัติในการคุมครอง สวัสดิ ภาพของผูเรียน โดยเฉพาะจากการถูกกระทำโดยวิธีรุนแรงทั้งกายวาจา และการกลั่นแกลง ๔) การปรับปรุง ระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสำคัญ และอยู บนหลักความเสมอภาคและเปนธรรม รวมถึงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีและดิจิทัลใหมีความ ครอบคลุมในทุกพื้นที่ ๕) การกระจายอำนาจ ไปสูสถานศึกษาและเพิ่มบทบาทของภาคเอกชน และภาคประชา สังคมในการจัดการศึกษา โดยปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ที่เอื้อใหสถานศึกษามีความเปนอิสระในการบริหาร ดานการจัดการศึกษา ดานวิชาการ ดานงบประมาณ และดานบุคลากร รวมทั้งขับเคลื่อนการสรางนวัตกรรมทาง การศึกษาตามบริบทของโรงเรียนและพื้นที่ตลอดจนสงเสริมบทบาทของภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาสังคมในการจัดการเรียนรูและการรวมลงทุนเพื่อการศึกษา ๖) การสงเสริมผูมีความสามารถ พิเศษ โดยพัฒนาระบบเสาะหาและกลไกการการบริหารจัดการและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษตามแนวคิด พหุปญญาอยางเปนระบบ อาทิการสนับสนุนทุนการศึกษาตอ ฝกประสบการณทางานวิจัยในองคกรชั้นนำ


๔๐ ตลอดจนสงเสริมการทางานที่ใชความสามารถพิเศษอยางเต็มศักยภาพ 7) ผูมีความตองการพิเศษไดรับโอกาส และเขาถึงการศึกษาและแหลงเรียนรูที่หลากหลาย โดยสถานศึกษาจัดการศึกษาที่หลากหลายและเหมาะสม เฉพาะกลุม ใหเปนทางเลือกแกผูเรียนเพื่อยุติการออกกลางคัน และพัฒนากลไกสนับสนุนรวมถึงการปรับ กฎระเบียบใหเอื้อตอภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองคการที่ไมแสวงหากำไรในการดูแลกลุมผูมีความ ตองการพิเศษ อาทิการวางแนวทางใหเอกชนสามารถจัดตั้งสถานฝกอบรมหรือมีสวนรวมรับผิดชอบในการ พัฒนาผูตองคำพิพากษา กลยุทธที่ ๒ การพัฒนากำลังคนสมรรถนะสูง กลยุทธยอยที่ ๒.๑ พัฒนากำลังคนสมรรถนะสูง สอดคลองกับความตองการของภาคการผลิต เปาหมาย และสามารถสรางงานอนาคต โดยสงเสริมใหทุกภาคสวนบูรณาการและเชื่อมโยงความรวมมือดาน การศึกษาฝกอบรม และรวมจัดการเรียนรูตามโลกสมัยใหมที่ครอบคลุมทั้งความสามารถในงาน ทักษะในการใช ชีวิต สมรรถนะดิจิทัลเพื่อการประกอบอาชีพ การดำเนินชีวิตประจาวัน และการใชสิทธิในการเขาถึงบริการ พื้นฐานภาครัฐและสินคาบริการไดอยางเทาทัน การแกปญหา การมีแนวคิดของผูประกอบการ รวมถึง ความสามารถในการบริหารตัวเอง และการบริหารคนเพื่อนำทักษะของสมาชิกทีมที่หลากหลายมาประสานพลัง รวมกัน ในการปฏิบัติงานไดอยางสรางสรรครวมทั้งกำหนดมาตรการจูงใจ และกลไกการสนับสนุนการฝกอบรม และรวมจัดการเรียนรูพัฒนาระบบขอมูลเพื่อการวางแผนและพัฒนากำลังคน ทั้งขอมูลอุปสงคอุปทานของ แรงงาน และการเชื่อมโยงกับสมรรถนะตลอดหวงโซการผลิตและหวงโซคุณคาตามรายอุตสาหกรรมของการผลิต และบริการเปาหมาย รวมถึงการเชื่อมโยงระบบสมรรถนะกับคาจาง กำหนดมาตรการในการผลิตกาลังคนแบบ เรงดวน โดยจัดการศึกษารูปแบบจำลอง ในสาขาที่จำเปนตอการพัฒนาประเทศ อาทิดานปญญาประดิษฐและ ดานการวิเคราะหขอมูล กลยุทธที่ ๓ การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต กลยุทธยอยที่ ๓.๑ พัฒนาระบบนิเวศเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต โดยสงเสริมใหภาคสวนตาง ๆ สรางและพัฒนาแหลงเรียนรูที่หลากหลาย โดยกำหนดมาตรการจูงใจที่เหมาะสมเพื่อใหสถาบันการศึกษา หนวยงานราชการสวนทองถิ่น องคกรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนโดยเฉพาะผูประกอบการ startup สรางและพัฒนาแหลงเรียนรูที่หลากหลาย มีสาระที่ทันสมัย สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ทุก กลุม ครอบคลุมทุกพื้นที่ เขาถึงไดงายทั้งพื้นที่กายภาพ และพื้นที่เสมือนจริง สรางสื่อการเรียนรูที่ไมทิ้งใครไวขาง หลัง โดยการสรางสื่อที่ใชภาษาถิ่นเพื่อใหประชาชนที่ไมไดใชภาษาไทยกลางเปนภาษาหลักเขาถึงไดสื่อทางเลือก สำหรับผูพิการทางสายตาและผูพิการทางการไดยิน รวมถึงสนับสนุนกลุมประชากรที่มีขอจำกัดทางเศรษฐกิจให เขาถึงสื่อในราคาที่เขาถึงไดการพัฒนาระบบธนาคารหนวยกิต ของประเทศใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม ที่ สามารถเชื่อมโยงการเรียนรูในทุกระดับและประเภททั้งในระบบสายสามัญ สายอาชีพ การศึกษานอกระบบและ ตามอัธยาศัย ตั้งแตมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และนอกระบบ เพื่อสรางความคลองตัว และ เปดทางเลือกในการเรียนรูใหกับผูเรียนทุกระดับ กำหนดมาตรการจูงใจใหประชาชนพัฒนาตนเองดวยการเรียนรู อยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยจัดใหมีแหลงเงินทุนเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต อาทิการพัฒนาเครดิตการฝกอบรม สำหรับคนทุกกลุม การจัดสรรสิทธิพิเศษในการเขารับบริการฝกอบรม การเขาชมแหลงเรียนรูตาง ๆ สงเสริมให เอกชนที่ผลิตนวัตกรรมทางการศึกษา จัดทากิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร โดยกาหนดเงื่อนไข การใหใชผลิตภัณฑโดยไมมีคาใชจาย กลยุทธยอยที่ ๓.๒ พัฒนาทางเลือกในการเขาถึงการเรียนรูสำหรับผูที่ไมสามารถเรียนในระบบ การศึกษาปกติโดยจัดทาขอมูลและสงเสริมการจัดทำแผนการเรียนรูที่มีความยืดหยุนและหลากหลาย ของ กลุมเปาหมายเปนรายบุคคลหรือรายกลุม เพื่อใหผูเรียนสามารถวางเสนทางการเรียนรูที่ตอบสนองตอ จุดมุงหมายในอนาคตของตนเอง และสามารถเทียบโอนประสบการณไดทั้งนี้ใหมีการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของ


๔๑ ในทุกระดับใหมีความเขาใจและมีสมรรถนะในการพัฒนาผูเรียนกลุมเปาหมายพิเศษที่มีความตองการที่ซับซอน 2.13 นโยบายและแผนแหงชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติพ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๘๐ เปนแผนระดับที่ ๒ อีกแผนหนึ่ง รองรับยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงจัดทำเพื่อเปนกรอบทิศทางในการ ปองกัน แจงเตือน แกไขระงับยับยั้งภัยคุกคาม เพื่อธำรงไวซึ่งความั่นคงแหงชาติและรักษาผลประโยชนแหงชาติซึ่ง มิไดจำกัดเฉพาะความมั่นคงของรัฐแตรวมถึงความมั่นคงของมนุษยและการเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ ทั้งทวิภาคีและพหุภาคี ซึ่ง(ราง)นโยบายและแผนแหงชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติเสนอรางโดยสำนักงานสภา ความมั่นคงแหงชาติและไดกำหนดใหมีหมวดประเด็น ๒ หมวดประเด็น คือ หมวดประเด็นความมั่นคง ซึ่ง ประกอบดวย ๑๓ นโยบายและแผนความมั่นคง ไดแก ๑) การเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ๒) การ ปกปองอธิปไตยและผลประโยชนของชาติและการพัฒนาศักยภาพการปองกันประเทศ ๓) การรักษาความมั่นคงและ ผลประโยชนของชาติพื้นที่ชายแดน ๔) การรักษาความมั่นคงและผลประโยชนของชาติทางทะเล ๕) การปองกันและ แกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต๖) การบริหารจัดการผูหลบหนีเขาเมือง 7) การปองกันและแกไขปญหาการคา มนุษย๘) การปองกัน ปราบปราม และแกไขปญหายาเสพติด ๙) การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑๐) การ ปองกันและแกไขปญหาความมั่นคงทางไซเบอร๑๑) การปองกันและแกไขปญหาการกอการราย ๑๒) การสรางดุลย ภาพระหวางประเทศ ๑๓) การบริหารจัดการความเสี่ยงโรคติดตออุบัติใหมและหมวดประเด็นศักยภาพความมั่นคง ประกอบดวย ๔ นโยบายและแผนความมั่นคง ไดแก ๑๔) การพัฒนาศักยภาพการเตรียมพรอมแหงชาติและบริหาร วิกฤตการณระดับชาติ๑๕) การพัฒนาระบบขาวกรองแหงชาติ๑๖) การบูรณาการขอมูลดานความมั่นคง ๑7) การ เสริมสรางความมั่นคงเชิงพื้นที่ 2.14 แผนการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๘๙ เปนแผนยุทธศาสตรดานการศึกษาระยะยาว โดยมุงจัดการศึกษาใหคนไทยทุกคนสามารถเขาถึงโอกาสและ ความเสมอภ าคในการศึกษ าที่มีคุณ ภ าพ พัฒน าระบบการบ ริห ารจัดการศึกษ าที่มีป ระสิท ธิภ าพ พัฒนากำลังคนใหมีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคลองกับความตองการของตลาดงาน และการพัฒนาประเทศ เพื ่อใหหน วยงาน ที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาไดนำไปเปนกรอบและแนวทาง การพัฒนาการศึกษา และการเรียนรูสำหรับพลเมืองทุกช วงวัยตั้งแต แรกเกิดจนตลอดชีวิต ภายใตบริบทเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศและของโลกที ่ขับเคลื ่อนดวยนวัตกรรมและความคิดสรางสรรครวมทั้งความเปนพลวัต เพื่อใหป ระเทศไทยสามารถกาวขามกับดักป ระเทศที่มีรายไดปานกลางไปสูประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งภายใตกรอบแผนการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๘๙ ไดกำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเปาหมาย ของการพัฒนาการศึกษาใน ๕ ประการ ไดแก การเขาถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ความเทาเทียม ทางการศึกษา (Equity) คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทยบริบท เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ในระยะ ๒๐ ปขางหนา และมียุทธศาสตร๖ ประการ คือ ๑) การจัดการศึกษา เพื่อความมั่นคงของสังคม และประเทศชาติ ๒) การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ๓) การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคม แหงการเรียนรู ๔) การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา ๕) การจัดการศึกษา เพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ๖) การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา และแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติไดกำหนด ประเด็นการพัฒนาไว๒๓ ประเด็น มีประเด็นที่เกี่ยวของ กับการศึกษาโดยเฉพาะคือ ประเด็นที่ ๑๑ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิตและประเด็นที่ ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู 2.15 แผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๘๐ ชวงปฐมวัย เปนชวงอายุที่ใหผลของการลงทุนที่คุมคาที่สุดตอการวางรากฐานของชีวิต คณะรัฐมนตรี จึงไดมีมติเมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๔ - ๒๕๘๐ เพื่อใหเด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการพัฒนาอยางรอบดาน เต็มตามศักยภาพ เปนพื้นฐานของความเปนพลเมืองคุณภาพ ซึ่งมียุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย


๔๒ 7 ยุทธศาสตรไดแก ๑) การจัดและใหบริการแกเด็กปฐมวัย ๒) การพัฒนาและสรางความเขมแข็งใหกับสถาบัน ครอบครัวในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ๓) การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการใหบริการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๔) การพัฒนาระบบกลไกการบูรณาการสารสนเทศเด็กปฐมวัยและการนำไปใชประโยชน๕) การจัดทำและปรับปรุง กฎหมาย กฎระเบียบ ที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและการดำเนินการตามกฎหมาย ๖) การวิจัยพัฒนาและเผยแพรองค ความรู 7) การบริหารจัดการ การสรางกลไกการประสานการดำเนินงานและการติดตามผล โดยภายใตกลยุทธ ประกอบดวยเปาประสงคและมาตรการตางๆ 3. พระบรมราโชบายเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฺ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมีพระบรมราโชบายเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาตองมุงสรางพื้นฐานใหแกผูเรียน ๔ ดาน26 ดังนี้ 1. มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง มีความรูความเขาใจที่มีตอชาติบานเมือง ยึดมั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย และมีความเอื้ออาทรตอครอบครัวและชุมชนของตน 2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง - มีคุณธรรม รูจักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ชอบ/ชั่ว-ดีปฏิบัติแตสิ่งที่ชอบที่ดีงาม ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว และชวยกันสราง คนดีใหแกบานเมือง 3. มีงานทำ - มีอาชีพ การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝกฝนอบรมในสถานศึกษาตองมุงใหเด็กและเยาวชน รักงาน สูงาน ทำจนงานสำเร็จ การฝกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรตองมีจุดมุงหมายใหผูเรียน ทำงานเปน และมีงานทำในที่สุด และตองสนับสนุนผูสำเร็จหลักสูตรมีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลี้ยงตัวเองและ ครอบครัว 4. เปนพลเมืองดี การเปนพลเมืองดีเปนหนาที่ของทุกคน ครอบครัว-สถานศึกษาและสถานประกอบการตองสงเสริมให ทุกคนมีโอกาสทำหนาที่เปนพลเมืองดีการเปนพลเมืองดีคือ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อบานเมืองไดก็ตองทำ” เชน งานอาสาสมัคร งานบำเพ็ญประโยชนงานสาธารณกุศลใหทำดวยความมีน้ำใจ และความเอื้ออาทร 4. นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ กระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศนโยบายและจุดเนนประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ใน ๗ เรื่อง ซึ่งมี ความเชื่อมโยงกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดแก ๑) การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย โดยเรงสรางความปลอดภัยใหสถานศึกษา ปองกันสถานศึกษา จากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม และอื่นๆ เรงปลูกฝงทัศนคติพฤติกรรม และองคความรูบูรณาการ ในกระบวนการจัดการเรียนรูเสริมสรางการรับรูความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสริมคุณลักษณะและ 26 จาก พระบรมราโชบายดานการศึกษาในหลวงรัชกาลที่ ๑๐, สืบคนเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๓ จาก https://op.chandra.ac.th/ plan/images/pdf/plan_law%๒๐R๑๐.pdf


๔๓ พฤติกรรมที่พึงประสงคดานสิ่งแวดลอม เรงพัฒนาบทบาทและภารกิจของหนวยงานดานความปลอดภัย ใหคลองตัวและมีประสิทธิภาพ ๒) การยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษานำหลักสูตรฐานสมรรถนะ ไปสู การปฏิบัติอยางเต็มรูปแบบ จัดการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติจริง พัฒนาและบูรณาการกระบวนการจัดการ เรียนรูและวัดประเมินผลฐานสมรรถนะ พัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอรพัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนประวัติศาสตรหนาที่พลเมือง และศีลธรรม จัดการเรียนรูตามความสนใจรายบุคคลของผูเรียน ผานดิจิทัลแพลตฟอรมที่หลากหลาย สงเสริมการใหความรูและทักษะดานการเงินและการออมใหกับผูเรียน สงเสริมสนับสนุนสถานศึกษาใหมีการนำผลการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติไปใชในการวางแผนพัฒนา การจัดการเรียนการสอน ๓) การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษาทุกชวงวัย โดยพัฒนาระบบ ขอมูลสารสนเทศของนักเรียนเปนรายบุคคล สงเสริมสนับสนุนเด็กปฐมวัยที่มีอายุตั้งแต ๓ ปขึ้นไปทุกคน เขาสู ระบบการศึกษาเพื่อรับการพัฒนาอยางรอบดาน มีคุณภาพ พัฒนาขอมูลและทางเลือกที่หลากหลายใหกับผูเรียน กลุมเปาหมายพิเศษ และกลุมเปราะบาง รวมทั้งกลุม NEETs ในการเขาถึงการศึกษา การเรียนรูและ การฝกอาชีพอยางเทาเทียม ๔) การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน โดยพัฒนาสมรรถนะ อาชีพที่สอดคลองกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill ๕) การสงเสริมสนับสนุนวิชาชีพครูบุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสงเสริมสนับสนุนการดำเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางดานเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบระดับสมรรถนะดิจิทัล สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาครูใหมีความพรอมดานวิชาการและ ทักษะการจัดการเรียนรูการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมผานแพลตฟอรมออนไลนตาง ๆ รวมทั้งใหเปนผูวางแผน เสนทางการเรียนรูการประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวิตของผูเรียนไดตามความสนใจและความถนัดของแตละ บุคคล พัฒนาขีดความสามารถของขาราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ใหมีสมรรถนะที่สอดคลอง และเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคต ๖) การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล โดยขับเคลื่อนการพัฒนาระบบราชการ ๔.๐ ดวยนวัตกรรม และการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเปนกลไกหลัก ในการดำเนินงาน การเชื่อมโยงและ การแบงปนขอมูล การสงเสริมความรวมมือ บูรณาการกับภาคสวนตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ปรับปรุง ประสิทธิภาพของเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศใหสามารถใชงานเครือขายสื่อสารขอมูลเชื่อมโยงหนวยงาน ภาครัฐไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบราชการ ๔.๐ สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนได ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณและทุกชองทาง ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการ ศึกษา โดยยึดหลักความจำเปนและใชพื้นที่เปนฐาน ที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสำคัญ นำเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใชในระบบการคัดเลือกขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในตำแหนงและสายงานตาง สงเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของสวนราชการใหเปนไปตามกลไกการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส ในการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ และ ๗) การขับเคลื่อนกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแหงชาติโดยเรงรัดการดำเนินการจัดทำ กฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแหงชาติเพื่อรองรับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติควบคูกับการสราง การรับรูใหกับประชาชนไดรับทราบอยางทั่วถึง


๔๔ 5. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงนโยบายดานการศึกษา ซึ่งถือเปนสวนสำคัญ ยิ่งในการพัฒนาประเทศใหบรรลุเปาหมายอยางยั่งยืน เปนประเทศที่พัฒนาแลวในทุกดาน ดังนั้น เพื่อให การดำเนินการเกิดผลสัมฤทธิ์และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติแผนการ ปฏิรูปประเทศ รางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๓ และแผนอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวของกับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ เปน ๔ ดาน ไดแก ดานความปลอดภัย ดานโอกาส ดานคุณภาพ และ ดานประสิทธิภาพ และกำหนดจุดเนนใน ๙ เรื่อง ดังนี้ 5.1 นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ 5.1.๑ ดานความปลอดภัย - พัฒนาสถานศึกษาใหเปนพื้นที่ปลอดภัยของผูเรียนทุกคน พรอมเสริมสรางระบบและกลไกในการดูแล ความปลอดภัยอยางเขมขน ใหกับผูเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จากโรคภัยตาง ๆ ภัยพิบัติและ ภัย คุกคามทุกรูปแบบ - สงเสริมการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาวะที่ดีและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม - สรางภูมิคุมกัน การรูเทาทันสื่อและเทคโนโลยีในการดำเนินชีวิตวิถีใหม (New Normal) และชีวิตวิถี ปกติตอไป (Next Normal) 5.1.2 ดานโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา - สงเสริม สนับสนุน ใหเด็กปฐมวัยที่มีอายุ ๓ - ๖ ปทุกคน เขาสูระบบการศึกษาสรางสภาพแวดลอมที่ เอื้อตอการเรียนรูและการดูแลปกปอง เพื่อใหมีพัฒนาการครบทุกดาน โดยการมีสวนรวมของหนวยงาน ที่ เกี่ยวของ - จัดการศึกษาใหผูเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดเขาถึงโอกาส ความเสมอภาค และไดรับ การ พัฒนาใหมีสมรรถนะสำหรับการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพในอนาคตใหสอดคลองกับความตองการของ ตลาดงานและการพัฒนาประเทศ - จัดการศึกษาใหผูเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดเขาถึงโอกาส ความเสมอภาค และไดรับโอกาส ในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ - สงเสริมเด็กพิการและเด็กดอยโอกาส ใหไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพและจัดหาทางเลือกในการเขาถึง การเรียนรูการฝกอาชีพ เพื่อใหทักษะในการดำเนินชีวิต สามารถพึ่งตนเองได - พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนรายบุคคล เพื่อใชเปน ฐานขอมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและปองกันไมใหนักเรียนออกจากระบบการศึกษา และ ชวยเหลือเด็กตกหลน เด็กออกกลางคันใหกลับเขาสูระบบ 5.1.3 ดานคุณภาพ - สงเสริม สนับสนุน สถานศึกษาที่มีความพรอม ใหนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เนน สมรรถนะไปใชตามศักยภาพของสถานศึกษา ใหสามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความตองการและ บริบท - พัฒนาผูเรียนใหเกิดสมรรถนะที่เหมาะสมตามชวงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้นสูง มี ความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงานของตนเองและรวมกับผูอื่นโดยใชการรวม พลังทำงานเปนทีม เปนพลเมืองที่ดีมีศีลธรรม และอยูรวมกับธรรมชาติและวิทยาการอยางยั่งยืน รวมทั้งมีความ จงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข


๔๕ - จัดการศึกษาใหผูเรียนมีทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ ๒๑ นำไปสูการมีอาชีพ มีงานทำ และสงเสริม ความเปนเลิศของผูเรียนใหเต็มตามศักยภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน - สงเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผูเรียน ใหควบคูการเรียนรูนำไปสูการ พัฒนาการเรียนรูและสมรรถนะของผูเรียนเปนรายบุคคล รวมทั้งสงเสริมการนำระบบธนาคารหนวยกิตมาใช ในการเทียบโอนผลการเรียนรูและประสบการณตาง ๆ ของผูเรียนในสถานศึกษา - พัฒนา สงเสริม ผูบริหารการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้ง บุคลากรสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหมีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหนง และมาตรฐานวิชาชีพ 5.1.4 ดานประสิทธิภาพ - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใชพื้นที่เปนฐาน ที่มุงเนนการ พัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสำคัญ ตามหลักธรรมาภิบาล - นำเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานขอมูล มาใชเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษา ขั้น พื้นฐาน และการเรียนรูของผูเรียน - สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใชพื้นที่เปนฐาน ใชนวัตกรรมในการขับเคลื่อนบริหาร จัดการโดยใชทรัพยากรรวมกัน และแสวงหาการมีสวนรวมของหนวยงานที่เกี่ยวของทุกระดับ เพื่อใหประสบ ผลสำเร็จอยางเปนรูปธรรม - สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในโรงเรียนที่มีวัตถุประสงคเฉพาะโรงเรียนที่ตั้งในพื้นที่ ลักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา - เพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหสอดรับกับชีวิตวิถีใหม (New Normal) และชีวิตวิถีปกติตอไป (Next Normal) 5.2 จุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ จุดเนนที่ ๑ เรงแกปญหากลุมผูเรียนที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-๑๙ จุดเนนที่ ๒ เสริมสรางระบบและกลไกในการดูแล ความปลอดภัยนักเรียน ดวยระบบมาตรฐานความ ปลอดภัยกระทรวงศึกษาธิการ (MOE Safety Platform) จุดเนนที่ ๓ สงเสริมใหเด็กปฐมวัยที่มีอายุ ๓ - ๖ ปและผูเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขาถึงโอกาส ทางการศึกษา และปองกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งชวยเหลือเด็กตกหลน เด็กออกกลางคัน และเด็กพิการ ที่คนพบจากการปกหมุดบานเด็กพิการ ใหกลับเขาสูระบบการศึกษา จุดเนนที่ ๔ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เนนสมรรถนะ และการจัดทำกรอบหลักสูตร รวมทั้ง จัดกระบวนการเรียนรูทางประวัติศาสตรหนาที่พลเมืองและศีลธรรม ใหเหมาะสมตามวัยของผูเรียน จุดเนนที่ ๕ จัดการอบรมครูโดยใชพื้นที่เปนฐานควบคูกับการใหความรูดานการวางแผนและการสราง วินัย ดานการเงินและการออม เพื่อแกไขปญหาหนี้สินครู จุดเนนที่ ๖ สงเสริมการจัดการเรียนรูผานกระบวนการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนมีสวนรวม และ มีปฏิสัมพันธกับกิจกรรมการเรียนรูผานการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและ ประเมินผล เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน (Assessment for learning) เพื่อใหเกิดสมรรถนะกับผูเรียนทุก ระดับ จุดเนนที่ ๗ ยกระดับคุณภาพของนักเรียนประจำพักนอน สำหรับโรงเรียนที่อยูในพื้นที่สูงหางไกล และ ถิ่นทุรกันดาร จุดเนนที่ ๘ มุงเนนการใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรูทุกระดับ


๔๖ จุดเนนที่ ๙ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใชพื้นที่เปนฐานเพื่อ สรางความเขมแข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิบาล ใหกับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา 5.3 สาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะเวลา ๕ ป (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนการศึกษาเพื่อเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยมีเปาหมาย ผูเรียนไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเปน สามารถแกปญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ มีวินัย มีนิสัยใฝการเรียนรูและเปนพลเมืองที่รูสิทธิและหนาที่ มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภาคภูมิใจในความเปนไทย สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไดกำหนดวิสัยทัศนพันธกิจ เปาประสงคและกลยุทธในระยะเวลา ๕ ป (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ดังนี้ - วิสัยทัศน “เด็กและบุคลากรทางการศึกษา มีความรูความสุข และมีเปาหมาย ไดรับการพัฒนาตนเอง เต็มศักยภาพ อยางมีคุณภาพ” - พันธกิจ ๑ . สงเสริ มการจั ดการศึกษ าเพื่ อความเป นเลิ ศของผู เรี ยนให มี สมรรถนะตามศั กยภ าพ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีสมรรถนะตามหลักสูตร และทักษะที่จำเปน ในศตวรรษที่ ๒๑โดยใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ๒. พัฒนาผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษาที่ตอบสนอง ทิศทางการพัฒนาประเทศ ๓. พัฒ น าสถานศึกษ าและระบบก ารบ ริห ารจัดก ารศึกษ าทุกระดับใหมีความปลอดภัย และจัดการศึกษาเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เสริมสรางความมั่นคงของมนุษยและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และเพิ่มโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ใหผูเรียนทุกคนไดรับบริการ ทางการศึกษาอยางทั่วถึงและเทาเทียม ๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการของหนวยงานในสังกัดใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเหมาะสม กับบริบท - เปาประสงค ๑. ผูเรียนทุกชวงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความรักในสถาบันหลักของชาติและยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนพลเมืองที ่รูสิทธิและหนาที ่ อยางมีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภูมิใจในความเปนไทย ๒. ผูเรียนทุกชวงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดรับโอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาค มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน สอดคลองกับศักยภาพ ใหเปนผูมีสมรรถนะและทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ ๒๑ ๓. เด็กกลุมเสี่ยงที่จะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหลน และเด็กออกกลางคัน ไดรับการชวยเหลือ ใหไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. ผูเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ไดรับการดูแลความปลอดภัยจากภัยคุกคาม ๙ รูปแบบ ไดแก ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติตางๆ อุบัติเหตุโรคอุบัติใหมฝุน PM ๒.๕ การคามนุษย การคุกคามในชีวิตและทรัพยสิน รวมถึงอาชญากรรมไซเบอรสามารถปรับตัวตอโรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้ำ และรองรับวิถีชีวิตใหมรวมถึงการจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาวะที่ดี


Click to View FlipBook Version