The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชนคนแม่ระมาด อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by momay.ns, 2022-06-23 21:37:16

รายงานวิจัย การสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชนคนแม่ระมาด อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก

การสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชนคนแม่ระมาด อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก

รายงานการวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์

โครงการ การสร้างเครอื ข่ายแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเพือ่ การเรยี นรมู้ รดกวฒั นธรรม
โดยเครือข่ายชมุ ชนคนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวดั ตาก

(The Creative Tourism for learning the Intangible Cultural Heritage.
Local Community Network of Mae Ramat District, TAK)

โดย

นางกรรณิการ์ บญุ ยงั นายอทุ ยั แก้วปาคา
นายสมพงษ์ พงศอ์ ภิโชติ นางบวั จนั ทร์ จรัสสกลุ สุภัค
นายต๊ิโพ กวกี รชกายแกว้ นางชรนิ รตั น์ แกว้ ปาคา
นางสาวเนตรพธู ศิริรกั ษ์ไพบูลย์ นางสาวพรี ภาว์ พนาขวัญแก้ว
นางสาวกัณณกิ า เจริญพากเพียร นายมานจิ ไพรมที รัพย์
นางสาวปราณี โสภณพนิดา นางจินตนา เวียงชูเกียรติ
นางสาวพิมเพญ็ ทพั พอ์ นันต์ นายธนากร พงศ์อภิโชติ
นางสาวอรณี กาญจนพนั ธบุ์ ญุ นายจักรกรชิ กมลชาวไพร
นางสาววิดวงดอน กา๋ วงษ์ นางสาวหล้า ชมุ ภู
นางสวาท ไพศาลศริ ิทรัพย์ นางสาววัชรนิ ทร์รัตน์ ศรสี มุทร
นายศุภวุฒ จารุเศรณี

ไดร้ ับทนุ อดุ หนุนการวจิ ัย จากสานักงานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.)
ประจาปีงบประมาณ 2563
พทุ ธศกั ราช 2564

รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์

โครงการ การสร้างเครอื ข่ายแหล่งทอ่ งเทยี่ วเพื่อการเรียนรมู้ รดกวฒั นธรรม
โดยเครอื ข่ายชมุ ชนคนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวดั ตาก

(The Creative Tourism for learning the Intangible Cultural Heritage.
Local Communty Network of Mae Ramat District, TAK)

โดย

นางกรรณิการ์ บุญยงั นายอทุ ยั แก้วปาคา
นายสมพงษ์ พงศ์อภิโชติ นางบวั จนั ทร์ จรสั สกลุ สุภัค
นายติโ๊ พ กวกี รชกายแก้ว นางชรนิ รัตน์ แกว้ ปาคา
นางสาวเนตรพธู ศริ ิรักษ์ไพบลู ย์ นางสาวพรี ภาว์ พนาขวัญแก้ว
นางสาวกัณณิกา เจรญิ พากเพียร นายมานจิ ไพรมีทรพั ย์
นางสาวปราณี โสภณพนิดา นางจินตนา เวียงชูเกียรติ
นางสาวพิมเพ็ญ ทัพพอ์ นันต์ นายธนากร พงศอ์ ภิโชติ
นางสาวอรณี กาญจนพันธบ์ุ ญุ นายจกั รกริช กมลชาวไพร
นางสาววิดวงดอน กา๋ วงษ์ นางสาวหล้า ชุมภู
นางสวาท ไพศาลศริ ิทรัพย์ นางสาววชั รินทรร์ ตั น์ ศรสี มทุ ร
นายศุภวุฒ จารุเศรณี

ได้รับทนุ อดุ หนุนการวิจยั จากสานกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.)
ประจาปีงบประมาณ 2563
พุทธศกั ราช 2564



กิตตกิ รรมประกาศ

การวิจัยเร่ืองการสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชน
คนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เป็นกระบวนการวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เก่ียวข้อง
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจาปีงบประมาณ 2563 ขอขอบพระคุณ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุลีรัตน์ จนั ทรเ์ ชอ้ื อาจารยท์ ่ปี รึกษาและคณะกรรมการสนับสนนุ งานวิจยั เพื่อท้องถิ่นซึ่ง
เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาของงานวิจัยและคณะกรรมการวิพากษ์งานวิจัยในคร้ังนี้ที่กรุณาให้ข้อเสนอแนะแนว
ทางการดาเนินงานวิจัย แนะนาเทคนิควิธีการให้ข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า ดูแลให้
คาปรึกษาตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งวันน้ีจนสามารถรวบรวมข้อมูลและสรุปข้อมูลได้อย่างราบร่ืน รวมถึง
ขอขอบพระคุณ นายอารกั ษ์ อนชุ ปรดี า ผอู้ านวยการวิทยาลัยชุมชนตากทีส่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้บคุ ลากรในสงั กัด
ได้ทางานวิจัยอย่างเต็มศักยภาพ อีกท้ังยังได้รับคาปรึกษาจาก ดร.เปรมจิต มอร์ซิง ช่วยเติมเต็มองค์ความรู้ใน
การทางานวิจัย ซึ่งการวิจัยคร้งั น้สี าเร็จลุล่วงด้วยดีจากการได้รบั ความร่วมมือรว่ มใจจากผู้นาชมุ ชนท้องถิ่น ภาคี
เครือข่ายในพ้ืนที่ ผู้อาวุโสของหมู่บ้านและคนในชุมชน บ้านห้วยปลากอง บ้านขะเนจื้อ บ้านหม่องวา บ้านโฮ่ง
บ้านตีนธาตุ และบ้านป่าไร่เหนือ อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก ทุกคนท่ีสละเวลาโดยเฉพาะบางคร้ังต้องสละ
เวลาช่วงเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ การดูแลพืชผล เวลากลางคืนมาร่วมประชุม และระดมความคิดเห็นร่วม
สร้างสรรค์ในการคน้ หาทางเลือกเพื่อพฒั นา CBT ของตน ขอบคุณคณะนกั ท่องเทย่ี วทุกคนที่มาเยือนชมุ ชนและ
ใช้บริการท่องเที่ยวในพื้นท่ีอาเภอแม่ระมาดและกรอกข้อมูลแบบสอบถาม รวมท้ังครัวเรือนทุกท่านท่ีสละเวลา
ให้คาสัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นต่อส่ิงที่ได้ทราบและการบริการต่างๆ ท่ีได้รับเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุง
พัฒนาการบริหารจัดการของกลุ่มท่องเที่ยว CBT ให้เหมาะสมย่ิงขึ้น คณะผู้วิจัยขอขอบคุณบุคคลและ
หนว่ ยงานทไ่ี ด้กล่าวนามมา ณ โอกาสน้ี

คณะผู้วิจัย
กรกฎาคม 2564



แบบสรุปผบู้ ริหาร
[Executive Summary]

1. รายละเอยี ดเก่ียวกับแผนงานวิจยั / โครงการวจิ ัย
1.1 ชอ่ื เร่อื ง
การสรา้ งเครือขา่ ยแหล่งท่องเทย่ี วเพอื่ การเรยี นรู้มรดกวฒั นธรรมโดยเครอื ข่ายชมุ ชน

คนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวดั ตาก
The Creative Tourism for learning the Intangible Cultural Heritage. Local

Community Network of Mae Ramat District, TAK.
1.2 ชื่อคณะผูว้ จิ ยั (นาย นาง นางสาว) นางกรรณิการ์ บุญยัง
หนว่ ยงานทส่ี งั กดั วทิ ยาลัยชุมชนตาก
หมายเลขโทรศัพท์ 08 6926 9733 โทรสาร 055 897064
1.3 งบประมาณและระยะเวลาทาวิจัย
ไดร้ ับงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณที่ไดร้ ับ 364,000 บาท
ระยะเวลาทาวิจัย ต้งั แต่ 30 กันยายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2564

2. สรุปโครงการวิจัย เขียนภาพรวมโครงการในลักษณะย่อและกะทัดรัดท่ีสามารถใช้ในการเผยแพร่
ผลงานวิจัยได้ โดยแสดงถึงความสาคัญและท่ีมาของปัญหาในการวิจัย สรุปวัตถุประสงค์ของการวิจัยและ
ระเบียบวิธีการวิจัย ผลการวิจัย คุณสมบัติ/จุดเด่นของผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยีท่ีได้รับ กลุ่มเป้าหมายและ
ประโยชน์ท่ีได้รับจากโครงการ การนาไปใช้ประโยชน์ และข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย (ข้อเสนอแนะเชิง
นโยบาย ข้อเสนอแนะเชิงวชิ าการ ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ประโยชน์)

ความสาคญั และท่มี าของปัญหาการวจิ ยั
การสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเท่ียวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือ ข่ายชุมชนคนแม่ระมาด
อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก การนาทุนทางประวัติศาสตร์และวิถีวัฒนธรรมของชุมชนมาเสริมค่าเพ่ือพัฒนา
พ้ืนท่ีให้สอดคล้องกับภูมิสังคม ผู้วิจัยให้ความสาคัญกับเนื้อหาทางประวัติศาสตร์และวิถีวัฒนธรรมชุมชนที่เน้น
ให้มีความเช่ือมโยงเนื้อหาทั้งสองด้านน้ี เพื่อหล่อหลอมจิตใจของผู้มาเยือนให้ใกล้ชิด ใช้หลักการเรียนรู้แบบ
เช่ือมโยงอดีตกับปัจจุบัน เช่ือมโยงพื้นทก่ี ับพื้นที่เพอื่ ทาความเข้าใจความเป็นชุมชนทอ้ งถิ่นและมองท้องถ่นิ เป็น
แบบองค์รวม และเหตุผลท่ีทีมวิจัยชุมชนเลือกชุมชนพ้ืนที่อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เป็นพื้นท่ีวิจัยเพราะ
เอกลักษณ์ความเป็นแม่ระมาดท่ีมีคุณค่า ท้าทายและสร้างแรงบันดาลใจให้คนในพื้นท่ีและทีมวิจัยชุมชนที่ต้อง
มาร่วมคิดแสวงหาวิธีปฏบิ ัติ เพื่อขยายผลในทางสร้างสรรค์ต่อวงการทอ่ งเท่ยี วทางประวัติศาสตร์และสังคมไทย
ต่อไป การดาเนินโครงการวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการทาวิจัยระหว่างภาคี
เครอื ขา่ ยชุมชน นักวิชาการ และผู้เกี่ยวข้อง รว่ มคดิ ร่วมพฒั นา รว่ มทดลองใช้สิ่งท่ีรว่ มสร้างข้นึ และปลายทาง
ของการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ เป็นการส่งเสริมให้เกิดรูปแบบของแหล่งศึกษาเรียนรู้ในพื้นที่ประวัติศาสตร์
วฒั นธรรมชุมชนคนชายแดนโดยทอ้ งถ่นิ เขา้ มีบทบาทร่วมในการจัดการโดยใช้การทอ่ งเท่ียวเปน็ ส่ือกลางใหเ้ กิด
การศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน รวมถึงใช้คุณค่าที่ชุมชนได้รับประโยชน์จากการจัด CBT
เปน็ ตัวกระตุ้นใหเ้ กิดสานึกร่วมในคณุ คา่ ของบ้านเกดิ ทจี่ ะนาไปสู่การอนุรักษ์และสืบทอดมรดกวฒั นธรรมชุมชน
ใหย้ ัง่ ยืนต่อไปพรอ้ มกบั สรา้ งให้ชมุ ชนมีรายได้เสริมจากการจดั การท่องเทย่ี ว



วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
1. สร้างเครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพื่อร่วมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน
แมร่ ะมาด อาเภอแมร่ ะมาด จงั หวัดตาก
2. ศกึ ษาสารวจเช่อื มโยง องค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนทสี่ าคัญท่ีมีศักยภาพของชุมชนอาเภอแม่ระมาดที่
จะใช้เป็นฐานในการพัฒนาทอ่ งเที่ยวโดยเครอื ขา่ ยนักวจิ ยั ชมุ ชน
3. ออกแบบและพัฒนาเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ วเพื่อศกึ ษาเรียนรูม้ รดกวัฒนธรรมชุมชน
4. พฒั นาและประเมินศกั ยภาพการบรหิ ารจัดการและให้บรกิ าร
ประชากรหรือกลมุ่ ตวั อย่าง
1. ประชากร การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาประชากรบ้านตีนธาตุ และ บ้านป่าไร่เหนือ ตาบลพระธาตุ
บ้านโฮ่ง ตาบลแม่ระมาด บ้านหม่องวา บ้านขะเนจ้ือและบ้าน ห้วยปลากอง ตาบลขะเนจ้ือ (6 หมู่บ้าน
3 ตาบล) จานวน 5,055 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับงานวิจัยในคร้ังนี้ประกอบด้วย กลุ่มแกนนาชุมชน
ปราชญ์ท้องถ่ิน คณะกรรมการชุมชน ชาวบ้านในชุมชน กลุ่มต่างๆ ในชุมชน และนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยว
ในชุมชน วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการแบบเจาะจงกลุ่มตัวอย่าง
ทเี่ กยี่ วขอ้ งกับศักยภาพและมีความสนใจเข้าร่วมในการดาเนนิ การด้านการท่องเทีย่ ว
รูปแบบการวจิ ยั
การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methodology Research) ประกอบด้วย
การวจิ ัยเชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) และเชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) ดังนี้

1. การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยใช้ การสนทนากล่มุ (Focus
Group Discussion) กับผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informants) จากคนในชุมชนจานวน 30 คน การศึกษาวิเคราะห์
ขอ้ มูลมือ 2 จากหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องและทางอินเทอร์เนต็ และการลงพนื้ ทีเ่ กบ็ ขอ้ มูลโดยตรงจากแหลง่ ข้อมลู เพอื่ ให้
ไดข้ อ้ มลู ทีถ่ กู ต้องและครบถว้ น

2. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยการแจกแบบสอบถามวัดความพึงพอใจการ
จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนและแบบสอบถามพฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเท่ียวในพื้นที่ตาบลขะเนจ้ือ
ตาบลแม่ระมาด และตาบลพระธาตุ

วธิ ดี าเนินการวจิ ัย
เป็นโครงการวิจัยที่ใช้กระบวนการงานวิจัยเพ่ือท้องถ่ินที่เน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอาเภอ
แม่ระมาด จังหวัดตาก โดยมเี ป้าหมายให้เกดิ เครือข่ายของคนในพื้นทท่ี ี่มีความพรอ้ มท่ีจะส่งเสรมิ กิจกรรมสร้าง
การเรียนรู้ด้านมรดกวัฒนธรรมในหมู่เยาวชนและนักท่องเท่ียวโดยใช้พื้นที่ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ โดยการ
ดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 8 ข้ันตอน ดังน้ี 1. การสร้างเครือข่ายวิจัยท้องถิ่น 2. การพัฒนาแผนงานปฏิบัติการ
ของทีมวิจัยชุมชนเพื่อศึกษาสืบค้นศักยภาพของทรัพยากรท่องเที่ยวของชุมชน 3. การออกแบบเส้นทาง
ท่องเท่ยี วเพือ่ การเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน 4. การพัฒนาเสน้ ทางท่องเท่ียวเพ่ือการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรม
ชุมชน 5. พัฒนาศักยภาพในการบรหิ ารจัดการและใหบ้ ริการ CBT 6. การทดลองใช้เส้นทาง 7. ประเมนิ ผลการ
ใชเ้ สน้ ทางทอ่ งเทีย่ วเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน 8. การสรปุ ผลเผยแพร่ผลงาน
เครื่องมือการวจิ ัย
เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูลประกอบดว้ ย
1. เคร่ืองมือการศึกษาบริบทชุมชน ประกอบด้วย ประชุมกลุ่ม, Time line, ปฏิทินอาหาร, ปฏิทิน
ประเพณีวัฒนธรรม, ปฏทิ ินพืชผลทางการเกษตร



2. การสมั ภาษณ์ ทมี นกั วจิ ยั ชุมชนใช้การสัมภาษณ์ 2 แบบ ดังนี้
1) การสมั ภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (In-depth interview) เปน็ การซักถามพดู คยุ กนั ระหวา่ ง

ผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นการถามเจาะลึกล้วงคาตอบอย่างละเอียดถ่ีถ้วน การถามนอกจากจะให้
อธิบายแล้ว จะต้องถามถึงเหตุผลด้วย การสัมภาษณ์แบบนี้เน้นเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล เจตคติ ความ
ต้องการ ความเชอ่ื ค่านิยม บคุ ลิกภาพในลกั ษณะต่าง ๆ

2) การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (non-Structured interview) คือการสัมภาษณ์ที่ต้องการ
ข้อมูลท่ีละเอียดลึกซ้ึง เป็นการสัมภาษณ์แบบเปิดกว้าง ไม่จากัดคาตอบ บางคร้ังจึงเรียกว่า การสัมภาษณ์
แบบไมเ่ ป็นทางการ เน่ืองจากเป็นการสัมภาษณท์ ่มี ีความยืดหย่นุ สูง

3. การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observations) โดยการร่วมกิจกรรมและการศึกษา
ลกั ษณะการมสี ว่ นรวมของชมุ ชนทเ่ี ก่ยี วข้องกับ ปรากฏการณ์ท่ตี อ้ งการศกึ ษาในแงต่ ่าง ๆ เชน่ ศกั ยภาพการท่องเที่ยว
ศักยภาพโครงสร้างพื้นฐาน สภาพแวดล้อมทางสังคมและธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต อุปกรณ์ท่ีใช้ ได้แก่
แผนท่ี กลอ้ งถา่ ยรปู สมุดบนั ทกึ เป็นตน้

4. แบบสอบถามกงึ่ ทางการ (Questionnaire)
1) แบบสอบถามที่มีคาถามแบบปลายปิด (Close end) เป็นแบบสอบถามที่ให้ผู้ตอบเลือก

ตอบตามตวั เลือกท่กี าหนดใหเ้ พยี ง 1 คาตอบ หรอื หลายคาตอบ
2) แบบสอบถามท่ีมีคาถามแบบปลายเปดิ (Open end) เป็นแบบสอบถามท่ีใหผ้ ตู้ อบเขียนตอบ

อย่างอิสระตามเงือ่ นไขท่ีข้อคาถามได้กาหนดไว้
5. อปุ กรณส์ าหรับงานสนาม ประกอบด้วย โทรศัพทม์ ือถือ ใชใ้ นการบนั ทึกการสมั ภาษณ์ ถ่ายรูป

ถา่ ยวดี โี อ, กลอ้ งถ่ายรูป และแบบบันทึกภาคสนาม
วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู
การเก็บรวบรวมข้อมลู ผูว้ จิ ัยได้นาความให้กับกล่มุ ตัวอยา่ งที่กาหนด มขี น้ั ตอนการดาเนินการ 2 วิธี ได้แก่
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Pimary Data) ผู้วิจัยได้นาเคร่ืองมือไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน

ทาการศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลแบบเจาะจงกลุ่มตัวอย่างที่เก่ียวข้องกับศักยภาพและมีความสนใจเข้าร่วมในการ
ดาเนินการด้านการท่องเท่ียว โดยแบบสอบถาม (Questionnaire) จานวน 200 ชุด เป็นเครื่องมือในการเก็บ
รวบรวมข้อมูลของกลุ่มนกั ทอ่ งเทยี่ วกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงได้แก่ กลมุ่ นักท่องเที่ยวชาวไทย ที่เดินทางท้งั ท่ีมาจากการ
จัดท่องเท่ียวโดยชุมชนและมาท่องเท่ียวโดยบังเอิญ ในตาบลขะเนจื้อ ตาบลแม่ระมาด และตาบลพระธาตุ
โดยทาการเกบ็ ตัวอยา่ งได้ท้ังหมด 100 ชุด

2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาจากเอกสาร หนังสือ ผลงานวิจัยและ
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และระบบสืบค้นจากวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาโทของ
มหาวิทยาลยั ต่างๆ , นักวิจยั อิสระจากสานกั งาน วช. โดยผา่ นระบบอนิ เตอรเ์ นต็

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
สาหรับกระบวนการในการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการประชุม อภิปราย สัมมนา (Focus group) นั้น
ผวู้ ิจัยได้นาข้อมูลท่ีได้มาใช้ในกระบวนการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยดาเนินการร่วมกับกระบวนการ
รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร (documentary research) โดยกระบวนการและ
วธิ กี ารวเิ คราะห์อันจะได้ดาเนินกระบวนการตามแนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ อนั ได้แก่ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดย
พิจารณาประเด็นหลัก (major themes) หรือแบบแผนหลัก (major pattern) ที่พบในข้อมูลที่ได้รับจากการ
ทา Focus group ทัง้ หมด จากนั้นจึงนาประเด็นหลัก (major themes) มาพิจารณาแบง่ แยกออกเป็นประเด็น
ยอ่ ย (sub-themes) และหัวข้อยอ่ ย(categories) ตามลาดบั



นอกจากน้ีในระหว่างการดาเนินกระบวนการทา Focus group น้นั ทางผวู้ จิ ัยได้ดาเนินกระบวนการสะทอ้ น

(reflecting) ในแต่ละช่วงหรือในแต่ละขั้นตอนควบคู่ไปกับการดาเนินกระบวนการวิจัย เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้

มคี วามแกรง่ และแมน่ ตรง (rigor) เข้มข้น (intensive process) มากยง่ิ ข้ึน รวมทั้งคณะผ้วู ิจัยจะได้ดาเนินกระบวนการ

ในการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการทา Focus group โดยการพรรณนาข้อมูลตามปรากฏการณ์ร่วมด้วยเพ่ือแสวงหา

หรอื ให้ได้มาซ่งึ ข้อคน้ พบสาคัญที่สามารถนาไปสู่การพัฒนาดา้ นอ่ืนๆ ตอ่ ไป

สถิติทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู

ได้แก่ ค่าความถ่ี ค่าเฉล่ีย คา่ รอ้ ยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวเิ คราะห์เชิงเนอ้ื หา (Content

Analysis) โดยใชเ้ กณฑ์การแปลผลระดบั ความพึงพอใจ ดังนี้

ให้ 2 คะแนน = ประทับใจ

ให้ 1 คะแนน = เฉยๆ

ให้ 0 คะแนน = ไมป่ ระทับใจ

การแปลผลคะแนน

การพิจารณาระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การแบ่งระดับแบบอิงเกณฑ์ โดยหา

ค่าเฉล่ียของคะแนนแบบสอบถามท้ังชุด ซ่ึงอยู่ระหว่าง 0-2 คะแนน และแบ่งค่าคะแนนเฉล่ียเป็น 3 ระดับโดย

คานวณชว่ งคะแนนพิสัย จากสตู ร (บญุ ใจ ศรีสถติ ย์นรากูร, 2545 : 304-305) 2-0
3
ชว่ งคะแนน = คะแนนสงู สดุ – คะแนนต่าสุด ช่วงคะแนน = = 0.66
3

ซึ่งสามารถแปลผลคะแนนความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม ได้ดังนี้

คะแนนเฉล่ยี การแปลผล

1.34 - 2.00 = มรี ะดบั ความพงึ พอใจมาก

0.67 - 1.33 = มรี ะดับความพึงพอใจปานกลาง

0.00 - 0.66 = มีระดับความพงึ พอใจนอ้ ย

ผลการวจิ ัย

การสร้างเครอื ข่ายนักวิจัยชุมชน เปน็ การเช่ือมบุคคลและกลุม่ ต่างๆ ใชเ้ วทปี ระชมุ ใหญ่และเวทีประชุม

กลุ่มย่อย ในการสร้างความเข้าใจร่วมกัน มีเป้าหมายเดียวกัน จนเกิดเป็นเครือข่าย ได้ใช้กระบวนการ CBR

พัฒนา CBT มีการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมทุกข้ันตอน ร่วมกันคิด ร่วมกันสร้าง และ

ร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ จนสามารถค้นทุนเชิงลึกท่ีมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้

มรดกวัฒนธรรมไม่ว่าจะเป็นทุนทางธรรมชาติ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมท่ีมีความสัมพันธ์กับประเทศ

เพ่ือนบ้าน ฯลฯ เกิดการทางานเป็นเครือข่ายท่องเท่ียวแม่ระมาด 6 หมู่บ้าน 3 ตาบล ร่วมกันจัดทาโครงสร้าง

การบริหารกลุ่มการท่องเท่ียวโดยชุมชน ทาให้ชุมชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ เกิดพลังชุมขนที่อยากจะมี

ส่วนร่วมในการสร้างหรือปรับเปล่ียนชุมชนเพื่อให้เกิดความประทับใจสาหรับผู้มาเยือน สร้างความเข้มแข็ง

ให้กบั ภาคีเครอื ขา่ ยชุมชนคนแมร่ ะมาด

ทีมวิจัยชุมชนร่วมกันค้นทุน วิถีชีวิตความเช่ือมโยงระหว่างวิถีชาวล้านนา และวิถีชาวปกาเกอะญอ

การใช้ชีวิตตามขอบชายแดน ต้องมาแบ่งเขตแดนตามการประกาศของทางราชการ กลายเป็นคนไทยและ

เมียนมาร์แต่ก็ยังคงไปมาหาสู่กันตามจุดผ่อนปรนของทางราชการ นอกจากน้ียังมีความเช่ือมโยงสัมพันธ์กับ

ครูบาขาวปี ครูบาแกว้ เกจิอาจารย์ท่ีธดุ งค์ปฏิบตั ธิ รรมในเขตพ้ืนที่แม่ระมาด เช่น สรา้ งเจดีย์ศูนย์รวมจติ ใจ การ

บูชาพระพุทธรูปหินอ่อนมาประดิษฐานไว้ท่ีแม่ระมาด มีเหตุการณ์น่าอัศจรรย์ทาให้เกิดความเคารพ ศรัทธาทั้ง

จากชาวไทยและชาวปกาเกอะญอ มีหลกั ฐานปรากฏร่องรอยในชว่ งสงครามโลกครั้งท่ี 2 ท่ีญีป่ ุ่นใช้ถ้าเก็บอาวุธ



สงครามในพ้ืนที่แม่ระมาด ความเชื่อมโยงเส้นทางที่ญ่ีปุ่นได้ระเบิดเส้นทางโดยการขุดหลุมแล้วหย่อนระเบิด
เพื่อเปิดเปน็ เส้นทางเดินทัพไปสู้รบกับเมยี นมาร์ ความเชื่อมโยงเส้นทางกับการใช้ชีวติ ของคนในสมัยก่อนที่เป็น
เส้นทางวัวต่าง เนื่องจากเส้นทางนี้หากออกไปจากแม่ระมาด สามารถเดินทางไปยัง อาเภอบ้านตาก และ
ข้ามไปยัง อาเภอเมอื งตาก โดยข้ามแม่นา้ ปิง และยงั เช่อื มเส้นทางไปยังภาคเหนือทีจ่ ังหวดั ลาพนู ได้อีกทางหนึ่ง

ทีมวิจัยชุมชนนาทุนชุมชนท่ีค้นพบมาเป็นฐานในการออกแบบและพัฒนาเส้นทางท่องเท่ียวเพื่อศึกษา
เรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน การออกแบบและพัฒนาเส้นทางได้น้ันต้องผ่านการพัฒนา รับองค์ความรู้จาก
ผูเ้ ช่ียวชาญ และได้เปิดมุมมอง แนวคดิ ใหม่จากการศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบ ทาให้ชุมชนมีความมัน่ ใจ เชื่อม่ัน
ทนุ ของดตี นเอง อีกทัง้ ยังนากลับมาทบทวนอัตลกั ษณ์ กจิ กรรมและเสน้ ทางทอ่ งเทยี่ ว มีจานวน 2 เส้นทาง ดงั น้ี
เส้นทางท่ี 1 เรียนรู้วิถีถ่ิน กิ๋นข้าวเมือง เช่ือมเร่ืองเส้นทางสงครามโลกคร้ังท่ี 2 และเส้นทางที่ 2 เช่ือมร้อย
เส้นทางสงครามโลกครั้งที่ 2 กับการลองเรียนรู้วิถีถ่ิน ภายใต้อัตลักษณ์ร่วมที่ว่า “โฮมสเตย์อบอุ่น สมดุลสอง
แผ่นดิน ถ่ินสุขสงบ” ใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ินเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ อนุรักษ์ฟื้นฟูประเพณี
วฒั นธรรม ดาเนนิ การผา่ นกลุม่ บริหารการท่องเท่ยี วโดยชุมชนเพือ่ ร่วมกันตอ้ นรับนกั ท่องเทีย่ ว

ภาคีเครอื ข่าย นกั วจิ ัยชุมชนร่วมกันค้นหาศักยภาพของเส้นทาง กิจกรรมมรดกวัฒนธรรม และเส้นทาง
ที่น่าสนใจ จึงได้นาภาพรวมกิจกรรมการท่องเท่ียว จัดทาเป็นโปสเตอร์ และ Info graphic นาเสนอเส้นทาง
ให้กับภาคีเครือข่าย และประชาชนที่สนใจ ผ่านการเชิญชวนแบบปากต่อปาก ผ่านเพจ facebook ผ่านสื่อ
สังคมออนไลน์ ทาให้การเข้าถึงข้อมูลการทอ่ งเทย่ี วเครือขา่ ยชุมชนคนแม่ระมาดไดง้ ่ายย่ิงข้นึ ไดม้ ีโอกาสต้อนรับ
นกั ท่องเท่ียวมากขึ้น เป็นการสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน ร้านค้าข้างทางหรือใกล้แหล่งเรยี นรูก้ ็มีโอกาส
ได้ขายสินค้าของตนเองมากขึ้นซึ่งถือว่าเป็นปรากฏการณ์ที่ดี และมีการพัฒนาตนเองมากขึ้นปรับเปล่ียนบุคลิก
นา้ เสียง หาเรอ่ื งราวทสี่ นกุ สนานมาเพม่ิ สีสนั ใหก้ ับการเลา่ เร่อื งราวชุมชน แบง่ หนา้ ท่ีบริหารจัดการ การพฒั นานี้
เป็นเพียงการพัฒนาข้ันต้น ยงั ไมถ่ งึ การเปน็ มืออาชีพในการบริหารจัดการการทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชน ยังไมส่ ามารถ
สรา้ งรายไดห้ ลักจากการทอ่ งเท่ยี วได้ ยงั คงตอ้ งได้รบั การพัฒนาเพ่อื เพิ่มศกั ยภาพใหก้ ับชมุ ชนต่อไป

ขอ้ เสนอแนะ
1. ชุมชนต้องยอมเสียสละเวลา หมั่นเติมเต็มองค์ความรู้ต่างๆ สละเวลาแม้ว่าจะเป็นเร่ืองเดิมแต่อาจ
มีประเด็นทีย่ งั ไม่เคยไดค้ ดิ สรา้ งสรรค์ เพือ่ เป็นการเพ่ิมศักยภาพให้กับตนเอง และอาจมอบหมายให้คนรุ่นใหม่ ท่ี
สนใจการท่องเท่ียวโดยชุมชนหรือมอบหมายให้มีผู้ดูแล เพจ facebook เพื่อสร้างความเคลื่อนไหวข่าวสารที่
อยากบอกต่อในเพจ facebook รองรับการท่องเท่ียวโดยชมุ ชนท่ีปัจจุบันนักท่องเที่ยวมีพฤตกิ รรมค้นหาข้อมูล
จากสือ่ สังคมออนไลน์ ท่ีเข้าถงึ ได้อยา่ งรวดเรว็
2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ ควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบออกมาให้เป็นของท่ีระลึก ราคา
ไม่แพง มีรูปแบบท่บี ุคคลทัว่ ไปนาไปใชไ้ ดใ้ นชวี ติ ประจาวัน
3. องค์การบริหารส่วนตาบลขะเนจื้อ องค์การบริหารส่วนตาบลพระธาตุ องค์การบริหารส่วนตาบล
แม่ระมาด และเทศบาลตาบลแม่ระมาด เป็นหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลพ้ืนที่ที่มีศักยภาพทุนทางวัฒนธรรมและ
ธรรมชาติ ควรบรรจุแผนการพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างจริงจัง ร่วมกันสนับสนุนพัฒนาศักยภาพชุมชน
ดา้ นการท่องเที่ยว พัฒนาสถานที่บริการ เช่น ห้องนา้ ท่ีสะอาด มีอ่างล้างมือ เจลแอลกอฮอล์ หรือแอลกอฮอล์
ให้เพียงพอต่อการให้บริการ อีกทั้งป้ายบอกทางต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับการเปิดรับท่องเท่ียว และจาก
แบบสอบถามที่ได้จากการสอบถามนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใชบ้ ริการตามสถานที่ท่องเทย่ี วของเครือข่ายชุมชนคน
แม่ระมาด พบว่า นักท่องเที่ยวพึงพอใจด้านความสะอาดของห้องน้าน้อยท่ีสุด จึงได้นาข้อเสนอดังกล่าวแจ้งไป
ยงั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งขา้ งตน้ เพอื่ เป็นการสนบั สนุนด้านการบรรจุแผนการพฒั นาสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวต่อไป



4. ผู้นาและชุมชนควรเป็นตัวอย่างท่ีดี ในการแสดงความรักและหวงแหนศิลปวัฒนธรรมพ้ืนถ่ิน และ
ควรสร้างความเข้าใจกับเด็กนักเรียน นักศึกษา คนรุ่นใหม่ ให้รู้สึกรักและหวงแหน ร่วมอนุรักษ์ประเพณี
วัฒนธรรมพื้นถ่ินในชุมชนที่ทรงคุณค่า รู้จักการแสดงออกถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี นาเด็กๆ มาพัฒนาเป็นนักสื่อ
ความหมาย นักเล่าเร่ืองชุมชน เพ่ือเพ่ิมสีสันให้กับเส้นทางการท่องเท่ียว โดยวิทยาลัยชุมชนตากมีหลักสูตรท่ี
เกย่ี วข้องดงั กลา่ วแลว้

5. ภาคีเครือข่ายภายในชุมชนต้องมีความเข้มแข็ง สร้างความเช่ือมั่นให้กับภาคีภายนอกชุมชน
ทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชน เช่น องค์การบรหิ ารส่วนตาบลขะเนจื้อ องค์การบริหารส่วนตาบลพระธาตุ องค์การ
บรหิ ารส่วนตาบลแมร่ ะมาด และเทศบาลตาบลแม่ระมาด อพท. สานักงานทอ่ งเทย่ี วและกีฬาจังหวดั สานักงาน
การท่องเที่ยวจังหวัดตาก สภาอุตสาหกรรมท่องเทย่ี วประเทศไทยประจาจังหวัด สภาวฒั นธรรมจังหวดั พฒั นา
ชุมชน บริษัททัวร์เก่ียวกับการท่องเท่ียว หอการค้าจังหวัดตาก สมาคมธุรกิจท่องเท่ียวจังหวัดตาก เพ่ือจะได้
หยบิ ยืน่ โอกาสและทางานเช่ือมโยงกนั ในมติ ติ า่ งๆ ใหก้ ับชุมชน

6. เครือข่ายภาครัฐท่ีมีพันธกิจสอดคล้องกับการสนับสนุนการจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน ควรนา
ผลงานวจิ ยั นี้ไปทาแผนพัฒนาศกั ยภาพชุมชนในอนาคตร่วมกนั อาจทาความร่วมมือ (MOU) เพื่อร่วมกันพัฒนา
ศักยภาพชุมชน กาหนดกิจกรรมร่วมกัน จะไม่เกิดความทับซ้อนในกิจกรรมต่างๆ และชุมชนก็จะไม่รู้สึก
เบือ่ หน่ายกบั การโดนเชิญร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพชมุ ชน

7. ชุมชนควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชน จาเป็นจะต้องมี
การศึกษาและพัฒนาโดยใช้กระบวนการงานวิจัยเข้าไปช่วยขับเคล่ือนนาไปสู่การบริหารจัดการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนอย่างมืออาชีพในประเด็นภูมิประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ชายแดนกับการพัฒนาการ
ทอ่ งเท่ยี วแบบเครือข่ายชุมชน

2 บทคัดย่อภาษาไทยและบทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษ (Abstract)

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “การสร้างเครือขา่ ยแหล่งท่องเทยี่ วเพอ่ื การเรียนรมู้ รดกวัฒนธรรมโดยเครือข่าย
ชุมชนคนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก” มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพื่อร่วม
พัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวเพือ่ การเรียนรมู้ รดกวัฒนธรรมชุมชนแมร่ ะมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เพ่ือศกึ ษา
สารวจ เชื่อมโยง องค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนที่สาคญั ที่มีศกั ยภาพของชมุ ชนอาเภอแม่ระมาดท่ีจะใช้เป็น
ฐานในการพัฒนาท่องเที่ยวโดยเครือข่ายนักวิจัยชุมชน เพ่ือออกแบบและพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อศึกษา
เรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน และเพื่อพัฒนาและประเมินศักยภาพการบริหารจัดการและให้บริการ โดยใช้
ระเบียบการวิจัยแบบผสม (Mixed Method) ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณอย่างมีส่วนร่วมมาประยุกต์
ใช้เน้นกระบวนการมีส่วนร่วม ได้ใชก้ ระบวนการงานวจิ ัยเพ่ือทอ้ งถิ่นให้คนในชุมชนมสี ่วนร่วมเรียนรทู้ ุกข้ันตอน
โดยมีเคร่ืองมือการวิจยั ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง แบบสังเกต แบบสอบถามก่ึงทางการ
แบบบนั ทกึ ภาคสนาม กลอ้ งถ่ายรปู และเครื่องบันทกึ เสียง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มภาคีเครอื ข่าย กลุ่มแกนนา
ชุมชน กลุ่มปราชญ์ท้องถิ่น ตาบลขะเนจ้ือ ตาบลแม่ระมาด และตาบลพระธาตุ อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก
และสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการพรรณนา
โวหาร ผลการวจิ ยั พบว่า 1) การสรา้ งเครือขา่ ยนักวิจัยชมุ ชน เปน็ การเชือ่ มบุคคลและกลมุ่ ต่างๆ ใช้เวทีประชุม
ใหญ่และเวทีประชุมกลุ่มย่อย ในการสร้างความเข้าใจร่วมกัน มีเป้าหมายเดียวกันจนเกิดเป็นเครือข่าย
6 หมู่บ้าน 3 ตาบล (แกนนา ปราชญ์ กลุ่มต่างๆ คนในชุมชน) ทางานร่วมกับเครือข่ายภายนอก (พัฒนาชุมชน
แม่ระมาด อพท. อปท. ธ.ก.ส. ตารวจท่องเท่ียว วทิ ยาลัยชุมชนตาก) การเปล่ียนบุคคลควรเป็นช่วงแรกเท่าน้ัน



ทีมวิจัยชุมชนได้ใช้กระบวนการ CBR พัฒนา CBT มีการพัฒนาอย่างเป็นข้ันตอน เกิดพลังชุมขนที่อยากจะมี
ส่วนร่วมในการสร้างหรือปรับเปล่ียนชุมชนเพ่ือให้เกิดความประทับใจสาหรับผู้มาเยือน 2) การศึกษา สารวจ
เชื่อมโยง องค์ความรู้มรดกวฒั นธรรมชุมชน พบวา่ มีการค้นทนุ เชิงลึกถงึ ความสัมพันธ์เช่ือมโยงแหล่งท่องเท่ียว
เพ่ือการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรม ทั้งทุนทางธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ ทุนทางวัฒนธรรมที่ยังคงอนุรักษ์ ทุนทาง
สังคมท่ีมีความสัมพันธ์กับประเทศเมียนมาร์ ทุนประวัติศาสตร์เกี่ยวโยงในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ทุนทาง
เศรษฐกิจความเชื่อมโยงกับการใช้ชีวิตของคนในสมัยก่อนท่ีเปน็ เส้นทางวัวต่าง เช่ือมต่อจาก อ.แม่ระมาดไปยัง
อ.บ้านตาก ข้ามแม่น้าปิงไปยัง อ.เมืองตาก และยังเชื่อมเส้นทางไปยังจังหวัดลาพูนได้อีกทางหน่ึง ที่จะนามา
เป็นฐานในการคิดกิจกรรมและเส้นทางให้มีเสน่ห์ น่าสนใจ สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว เป็นทุนที่
จะใช้เป็นฐานในการพัฒนาท่องเที่ยวโดยเครือข่ายชุมชนคนแม่ระมาด 3) การออกแบบและพัฒนาเส้นทาง
ท่องเทยี่ วเพื่อศกึ ษาเรียนร้มู รดกวัฒนธรรมชมุ ชน พบว่า ชมุ ชนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้จากผู้เช่ียวชาญ และ
ได้เปิดมุมมอง แนวคิดใหม่จากการศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบ ทาให้ชุมชนมีความมั่นใจ เช่ือมั่นทุนของดีตนเอง
ภายใต้อัตลักษณ์ร่วมที่ว่า “โฮมสเตย์อบอุ่น สมดุลสองแผ่นดิน ถิ่นสุขสงบ” ดาเนินการผ่านกลุ่มบริหารการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชน ท่ีมีภาคีเครือข่ายมาจาก 6 หมู่บ้าน 3 ตาบล เพ่ือร่วมกันต้อนรับนักท่องเที่ยว และ4)
ผลการพัฒนาและประเมินศักยภาพการบริหารจัดการและให้บรกิ าร พบว่า ได้นาทุนท่ีมศี ักยภาพในการจัดการ
ท่องเที่ยว จัดทาเป็นโปสเตอร์ และ Info graphic นาเสนอไปยังภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอก รวมถึง
ประชาชนที่สนใจ ผ่านการเชิญชวนแบบปากต่อปาก ผ่านเพจ facebook ผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ทาให้ได้มี
โอกาสต้อนรับนักท่องเที่ยวมากข้ึน เป็นอาชีพเสริมเกิดการกระจายรายได้ในเครือข่ายชุมชน ร้านค้าข้างทาง
หรือใกล้แหล่งเรียนรู้ก็มีโอกาสขายสินค้ามากข้ึน มีการพัฒนาตนเองปรับเปล่ียนบุคลิก น้าเสียง หาเรื่องราวท่ี
สนกุ สนานมาสรา้ งสสี ันให้กบั การเล่าเรือ่ งราวชุมชน แบ่งหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบ การพฒั นาน้เี ปน็ เพียงข้ันต้น ยังไม่ถึง
การเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการการท่องเท่ียวโดยชุมชน ยังไม่สามารถสร้างรายได้หลักจากการ
ทอ่ งเที่ยวได้ ยังต้องได้รับการพฒั นาเพ่อื เพ่ิมศักยภาพให้กับชมุ ชนตอ่ ไป

Abstract

The Creative Tourism for learning the Intangible Cultural Heritage. Local
Communty Network of Mae Ramat District, TAK. The objecties of this research are 1 ) to
create network of community researchers to develop cultural heritage in community in Mae
Ramad district, Tak province 2) to study the linkage between community cultural knowledges
to be developed as tourism base by community researcher network, 3) to design and develop
tourism route for learning cultural heritage of the communit and ,4) to develop and evaluate
effectiveness of management znd services using mixed method both in qualitive and
quantitative data. To emphasize cooperation, community-based research was employed using
interview, observation, taking photo and voice recorder. The target groups are network party,
head of community, local scholars in Kanejue, Mae ramad and prathat subdistrict, Mae ramad
district, Tak province. The statistics used are mean, percentage and standard deviation with
descriptive research. The findings shown that 1) Building community research network through
seminars and group discussion comprised of 6 villages in subdistricts. The community
representatives (head of commuity, scholars, villagers) worked closely with supporting



networks (community development, community administration, agricultural bank, tourist
police and Tak community college). The replacement of personel was done initially. The
researcher applied community-based research to trigger the development within the
community to impressed the visitors. 2) studying the linkage between cultural heritage of
communities; well preserved natural capital and cultural capital, Mynmar social capital , World
War 2 historical capital and trade route from Mae ramad to Tak district and Lampun province.
These could be foundation to create activities and tourist attraction in Mae ramad. 3) Designing
and developing tourism routes to learn cultural heritage of community was acheived by
exposing communities representatives with study trip and sharing with expertise. " warm
homestay of peaceful two lands" operated by tourism commitee of the networking 6
communities of 3 subdistricts to welcome visitors. 4) Developing and evaluating effdctiveness
of torism management was conducted in poster and info graphic presented to internal and
external networks. The materials was promoted via word of mouth, facebook page and social
media to attract visitors. As a result, the local shops and learning center could sell more
products. The local liaisons were trained on effective story-telling technique. More training to
bd provided to be professional.



บทคัดย่อ

การวิจยั เรื่อง “การสร้างเครอื ขา่ ยแหล่งทอ่ งเทีย่ วเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่าย
ชุมชนคนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก” มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพื่อร่วม
พัฒนาแหล่งทอ่ งเท่ียวเพอื่ การเรียนรูม้ รดกวฒั นธรรมชุมชนแมร่ ะมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เพ่ือศกึ ษา
สารวจ เชื่อมโยง องค์ความรู้มรดกวฒั นธรรมชุมชนท่ีสาคญั ท่ีมีศกั ยภาพของชมุ ชนอาเภอแม่ระมาดที่จะใช้เป็น
ฐานในการพัฒนาท่องเที่ยวโดยเครือข่ายนักวิจัยชุมชน เพื่อออกแบบและพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อศึกษา
เรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน และเพ่ือพัฒนาและประเมินศักยภาพการบริหารจัดการและให้บริการ โดยใช้
ระเบียบการวิจัยแบบผสม (Mixed Method) ท้ังในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณอย่างมีส่วนร่วมมาประยุกต์
ใช้เน้นกระบวนการมสี ่วนร่วม ได้ใช้กระบวนการงานวจิ ัยเพอ่ื ทอ้ งถ่นิ ให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมเรียนรู้ทุกขั้นตอน
โดยมีเคร่ืองมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง แบบสังเกต แบบสอบถามกึ่งทางการ
แบบบันทึกภาคสนาม กล้องถ่ายรูป และเครื่องบนั ทึกเสียง กลุ่มตัวอยา่ ง ได้แก่ กลุ่มภาคีเครือข่าย กลมุ่ แกนนา
ชุมชน กลุ่มปราชญ์ท้องถิ่น ตาบลขะเนจื้อ ตาบลแม่ระมาด และตาบลพระธาตุ อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก
และสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการพรรณนา
โวหาร ผลการวจิ ยั พบว่า 1) การสรา้ งเครือขา่ ยนักวิจยั ชุมชน เปน็ การเชอื่ มบุคคลและกลมุ่ ต่างๆ ใชเ้ วทีประชุม
ใหญ่และเวทีประชุมกลุ่มย่อย ในการสร้างความเข้าใจร่วมกัน มีเป้าหมายเดียวกันจนเกิดเป็นเครือข่าย
6 หมู่บ้าน 3 ตาบล (แกนนา ปราชญ์ กลุ่มต่างๆ คนในชมุ ชน) ทางานร่วมกับเครือข่ายภายนอก (พัฒนาชุมชน
แม่ระมาด อพท. อปท. ธ.ก.ส. ตารวจท่องเที่ยว วิทยาลัยชุมชนตาก) การเปล่ียนบุคคลควรเป็นช่วงแรกเท่าน้ัน
ทีมวิจัยชุมชนได้ใช้กระบวนการ CBR พัฒนา CBT มีการพัฒนาอย่างเป็นข้ันตอน เกิดพลังชุมขนท่ีอยากจะมี
ส่วนร่วมในการสร้างหรือปรับเปล่ียนชุมชนเพ่ือให้เกิดความประทับใจสาหรับผู้มาเยือน 2) การศึกษา สารวจ
เช่ือมโยง องค์ความรู้มรดกวฒั นธรรมชุมชน พบว่า มีการค้นทุนเชิงลกึ ถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงแหล่งท่องเท่ียว
เพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรม ทั้งทุนทางธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ ทุนทางวัฒนธรรมท่ียังคงอนุรักษ์ ทุนทาง
สังคมท่ีมีความสัมพันธ์กับประเทศเมียนมาร์ ทุนประวัติศาสตร์เก่ียวโยงในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ทุนทาง
เศรษฐกิจความเชื่อมโยงกับการใช้ชีวิตของคนในสมัยก่อนที่เปน็ เส้นทางวัวต่าง เช่ือมต่อจาก อ.แม่ระมาดไปยัง
อ.บ้านตาก ข้ามแม่น้าปิงไปยัง อ.เมืองตาก และยังเชื่อมเส้นทางไปยังจังหวัดลาพูนได้อีกทางหน่ึง ที่จะนามา
เป็นฐานในการคิดกิจกรรมและเส้นทางให้มีเสน่ห์ น่าสนใจ สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเท่ียว เป็นทุนท่ี
จะใช้เป็นฐานในการพัฒนาท่องเท่ียวโดยเครือข่ายชุมชนคนแม่ระมาด 3) การออกแบบและพัฒนาเส้นทาง
ท่องเทย่ี วเพื่อศกึ ษาเรียนรมู้ รดกวัฒนธรรมชมุ ชน พบว่า ชุมชนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้จากผู้เช่ียวชาญ และ
ได้เปิดมุมมอง แนวคิดใหม่จากการศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบ ทาให้ชุมชนมีความม่ันใจ เช่ือมั่นทุนของดีตนเอง
ภายใต้อัตลักษณ์ร่วมที่ว่า “โฮมสเตย์อบอุ่น สมดุลสองแผ่นดิน ถ่ินสุขสงบ” ดาเนินการผ่านกลุ่มบริหารการ
ท่องเท่ียวโดยชุมชน ที่มีภาคีเครือข่ายมาจาก 6 หมู่บ้าน 3 ตาบล เพ่ือร่วมกันต้อนรับนักท่องเที่ยว และ
4) ผลการพัฒนาและประเมินศักยภาพการบริหารจัดการและให้บริการ พบว่า ได้นาทุนที่มีศักยภาพในการ
จัดการท่องเที่ยว จัดทาเป็นโปสเตอร์ และ Info graphic นาเสนอไปยังภาคีเครือข่ายท้ังภายในและภายนอก
รวมถึงประชาชนท่ีสนใจ ผ่านการเชิญชวนแบบปากต่อปาก ผ่านเพจ facebook ผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ทาให้
ได้มีโอกาสต้อนรับนักท่องเท่ียวมากข้ึน เป็นอาชีพเสริมเกิดการกระจายรายได้ในเครือข่ายชุมชน ร้านค้าข้าง
ทางหรอื ใกลแ้ หล่งเรียนรู้ก็มีโอกาสขายสินค้ามากข้นึ มีการพฒั นาตนเองปรบั เปลี่ยนบคุ ลิก นา้ เสียง หาเรื่องราว
ท่ีสนุกสนานมาสร้างสีสันให้กับการเล่าเรื่องราวชุมชน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ การพัฒนานี้เป็นเพียงขั้นต้น



ยังไม่ถึงการเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน ยังไม่สามารถสร้างรายได้หลักจากการ
ท่องเท่ยี วได้ ยังต้องไดร้ ับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพให้กบั ชมุ ชนต่อไป
คำสำคัญ แหล่งท่องเที่ยว มรดกวัฒนธรรม เครือข่ายชุมชน การสร้างเครือข่าย

Abstract

The Creative Tourism for learning the Intangible Cultural Heritage. Local
Communty Network of Mae Ramat District, TAK. The objecties of this research are 1 ) to
create network of community researchers to develop cultural heritage in community in Mae
Ramad district, Tak province 2) to study the linkage between community cultural knowledges
to be developed as tourism base by community researcher network, 3) to design and develop
tourism route for learning cultural heritage of the communit and ,4) to develop and evaluate
effectiveness of management znd services using mixed method both in qualitive and
quantitative data. To emphasize cooperation, community-based research was employed using
interview, observation, taking photo and voice recorder. The target groups are network party,
head of community, local scholars in Kanejue, Mae ramad and prathat subdistrict, Mae ramad
district, Tak province. The statistics used are mean, percentage and standard deviation with
descriptive research. The findings shown that 1) Building community research network through
seminars and group discussion comprised of 6 villages in subdistricts. The community
representatives (The findings shown thahead of commuity, scholars, villagers) worked closely
with supporting networks (community development, community administration, agricultural
bank, tourist police and Tak community college). The replacement of personel was done
initially. The researcher applied community-based research to trigger the development within
the community to impressed the visitors. 2) studying the linkage between cultural heritage
of communities; well preserved natural capital and cultural capital, Mynmar social capital ,
World War 2 historical capital and trade route from Mae ramad to Tak district and Lampun
province. These could be foundation to create activities and tourist attraction in Mae ramad.
3) Designing and developing tourism routes to learn cultural heritage of community was
achieved by exposing communities representatives with study trip and sharing with expertise.
" warm homestay of peaceful two lands" operated by tourism commitee of the networking
6 communities of 3 subdistricts to welcome visitors. 4) Developing and evaluating effdctiveness
of torism management was conducted in poster and info graphic presented to internal and
external networks. The materials was promoted via word of mouth, facebook page and social
media to attract visitors. As a result, the local shops and learning center could sell more
products. The local liaisons were trained on effective story-telling technique. More training
to bd provided to be professional.
Key words tourist attraction cultural heritage community network networking



สารบัญ

เรอื่ ง หน้า

กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................................................. ก
บทสรปุ ผู้บริหาร...................................................................................................................................... ข
บทคดั ย่อ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ................................................................................................... ฌ
สารบัญเรอื่ ง............................................................................................................................................. ฎ
สารบัญตาราง............................................................................................................................... ........... ต
สารบญั ภาพ............................................................................................................................................. ถ
บทท่ี 1 บทนา.......................................………………………………………………………………….………………… 1

1 หลักการ เหตผุ ลและความเป็นมา………………………………………………..……….…………… 1
2 คาถามวิจัย................................................................................................................... 3
3 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั ............................................................................................. 3
4 ขอบเขตของการวิจยั .................................................................................................... 4
5 งบประมาณที่ใชใ้ นงานวิจัย.......................................................................................... 4
6 นิยามศพั ท์เฉพาะ......................................................................................................... 4
7 ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั ...................................................................................................... 5
8 กรอบปฏิบัตกิ ารในดาเนนิ การวจิ ยั ............................................................................... 6
9 กรอบแนวคิดการวิจยั ................................................................................................... 7
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง…………………………………………………………………..………………. 8
1 แนวคดิ เร่ืองการทอ่ งเทีย่ วเชิงมรดกวฒั นธรรม......................…………..........……………… 8
2 แนวคดิ การเรยี นร้ดู า้ นวฒั นธรรม...............................................................................................…. 14
3 แนวคดิ การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ในทอ้ งถิ่น…………………………………………….……………… 19
4 แนวคิดเกย่ี วกับการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้แหลง่ เรียนรู้…………………………….…..…………. 24
5 แนวคดิ เรือ่ งการสอ่ื ความหมาย..............................................………………….…………….. 27
6 แนวคิดเก่ยี วกบั เครือขา่ ย..................................................................……….……………… 29
7 แนวคิดและทฤษฏเี ก่ียวกับความพงึ พอใจ..................................................................... 32
8 ทฤษฏีเกี่ยวกับองค์ประกอบการท่องเท่ยี ว (5A)........................................................... 35
9 งานวิจัยที่เก่ียวข้อง............………………………………………………………………….……………. 37
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินวจิ ัย.................................................................................................................... 46
1 ขอบเขตการศกึ ษา........................................................................................................ 46
2 ประชากรหรือกลมุ่ ตัวอยา่ ง.......................................................................................... 46
3 รปู แบบการวิจัย............................................................................................................ 47
4 วธิ ดี าเนินการวจิ ัย......................................................................................................... 47
5 เคร่อื งมอื การวิจัย......................................................................................................... 51



สารบญั (ต่อ)

เรอื่ ง หน้า

6 วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มูล.............................................................................................. 52
7 การวิเคราะห์ข้อมูล....................................................................................................... 52
บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย............................................................................................................................... 55
ผลการวิจัยตามวตั ถุประสงค์ข้อที่ 1......................................................................................... 55
สว่ นท่ี 1 ผลการสรา้ งเครือขา่ ย......................................................................................... 56
สว่ นท่ี 2 ผลการจัดประชมุ ทีมวิจยั ชมุ ชนสร้างความเข้าใจ................................................ 56
ส่วนที่ 3 ผลการจดั เวทีสร้างความเขา้ ใจร่วมกบั ชมุ ชนและผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง........................... 60
ขอ้ สรุปผลการวิจยั ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1............................................................................. 60
ผลการวิจยั ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2......................................................................................... 61
สว่ นท่ี 1 อาณาเขตตดิ ต่อ.................................................................................................. 61

1.1 ขอบเขตพ้นื ท่.ี ...................................................................................................... 61
1.2 สภาพภูมปิ ระเทศ................................................................................................ 62
1.3 สภาพภูมอิ ากาศ.................................................................................................. 63
1.4 นามเรยี กขาน (ปกาเกอะญอ).............................................................................. 63
สว่ นที่ 2 ประวัตคิ วามเป็นมา ศักยภาพของแตล่ ะพน้ื ท่ี และความเชือ่ ............................. 63
2.1 ชุมชนบ้านตีนธาตุ................................................................................................ 63
2.2 ชุมชนบา้ นป่าไร่เหนือ.......................................................................................... 70
2.3 ชุมชนบ้านโฮง่ ...................................................................................................... 76
2.4 ชุมชนบ้านหม่องวา.............................................................................................. 80
2.5 ชมุ ชนบ้านขะเนจ้ือ.............................................................................................. 88
2.6 ชมุ ชนบา้ นหว้ ยปลากอง....................................................................................... 97
สว่ นท่ี 3 ประเพณวี ัฒนธรรม............................................................................................ 103
ปฏทิ ินประเพณี.......................................................................................................... 103
ขอ้ สรุปผลการวจิ ยั ตามวัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี 2............................................................................. 106
ผลการวิจยั ตามวัตถปุ ระสงคข์ ้อที่ 3......................................................................................... 107
เส้นทางท่ี 1 เรียนรวู้ ถิ ถี ิน่ ก๋ินข้าวเมอื ง เชื่อมเร่ืองเสน้ ทางสงครามโลกครง้ั ท่ี 2......... 113
เส้นทางที่ 2 เช่อื มร้อยเสน้ ทางสงครามโลกครั้งที่ 2 กับการลองเรียนรวู้ ถิ ีถิ่น............. 113
ข้อสรปุ ผลการวิจยั ตามวตั ถปุ ระสงคข์ ้อท่ี 3............................................................................. 118
ผลการวิจยั ตามวตั ถปุ ระสงค์ข้อที่ 4......................................................................................... 118
ขอ้ สรปุ ผลการวจิ ัยตามวตั ถุประสงค์ข้อท่ี 4............................................................................. 139
บทที่ 5 อภิปรายและวิจารณผ์ ล........................................................................................................... 140
อภิปรายผลตามวัตถปุ ระสงค์ข้อท่ี 1........................................................................................ 140
อภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 2........................................................................................ 141
อภปิ รายผลตามวัตถปุ ระสงค์ขอ้ ท่ี 3........................................................................................ 144
อภิปรายผลตามวตั ถุประสงค์ข้อที่ 4........................................................................................ 146



สารบัญ (ต่อ)

เรอ่ื ง หน้า

วจิ ารณผ์ ลตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1.......................................................................................... 147
วิจารณผ์ ลตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2.......................................................................................... 148
วจิ ารณผ์ ลตามวตั ถุประสงค์ข้อที่ 3.......................................................................................... 148
วจิ ารณผ์ ลตามวตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ 4.......................................................................................... 149
บทท่ี 6 สรปุ ผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะ............................................................................................ 150
สรปุ ผลตามวตั ถปุ ระสงค์ข้อท่ี 1............................................................................................... 150
สรปุ ผลตามวัตถปุ ระสงค์ข้อที่ 2............................................................................................... 151
สรปุ ผลตามวตั ถปุ ระสงค์ขอ้ ที่ 3............................................................................................... 151
สรุปผลตามวตั ถปุ ระสงค์ขอ้ ท่ี 4............................................................................................... 152
ขอ้ เสนอแนะ........................................................................................................................... 152
บรรณานุกรม.............................................................................................................................. ............. 154
ภาคผนวก ก แบบสอบถาม..................................................................................................................... 159
ภาคผนวก ข โปสเตอร์นาเสนอการท่องเท่ียว.......................................................................................... 163
ภาคผนวก ค Info graphic นาเสนอการท่องเทยี่ ว................................................................................. 164
ภาคผนวก ง โครงสร้างการบริหารงานกล่มุ การท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน....................................................... 165
ภาคผนวก จ ประวัตินกั วจิ ยั .................................................................................................................... 166
ภาคผนวก ฉ แบบฟอรม์ สรปุ ผลงานวิจยั /โครงการวจิ ัย 5 บรรทดั .......................................................... 171
ภาคผนวก ช แบบฟอร์มสรปุ ผลงานวิจัย/โครงการวิจยั 1 หนา้ กระดาษ A4 (สาหรบั ประชาสัมพนั ธ)์ .... 173
ภาคผนวก ซ แบบฟอรม์ ประเมนิ ผลการวจิ ยั ในการนาไปใช้ประโยชน์อยา่ งเป็นรปู ธรรมท่ีฯ................... 176



สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หนา้

1 แสดงขอ้ มูลพืชพนั ธุ์ วฒั นธรรม ประเพณีฯ ชาวปกาเกอะญอ........................................ 103
2 แสดงขอ้ มูลพชื พันธุ์ วัฒนธรรม ประเพณฯี ชาวไทยล้านนา.......................................... 105
3 แสดงพันธกิจและเป้าหมาย............................................................................................ 109
4 แสดงจานวนและร้อยละดา้ นเพศของผตู้ อบแบบสอบถาม............................................. 124
5 แสดงจานวนและรอ้ ยละด้านอายุของผูต้ อบแบบสอบถาม............................................. 125
6 แสดงจานวนและร้อยละด้านสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม................................... 125
7 แสดงจานวนและร้อยละดา้ นอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม.......................................... 126
8 แสดงจานวนและรอ้ ยละจาแนกรายได้ต่อเดือนของผู้ตอบแบบสอบถาม....................... 126
9 แสดงจานวนและร้อยละด้านความถ่ขี องการเดนิ ทางท่องเทีย่ วต่อปฯี ............................ 127
10 แสดงจานวนและรอ้ ยละดา้ นประเภทแหล่งท่องเทย่ี วของผู้ตอบแบบสอบถาม.............. 127
11 แสดงจานวนและรอ้ ยละดา้ นการเดนิ ทางในพนื้ ท่ี ต.ขะเนจ้ือ ต.แม่ระมาด ต.พระธาต.ุ . 128
12 แสดงจานวนและร้อยละการทราบข้อมูลเกยี่ วกบั แหลง่ ท่องเที่ยวฯ............................... 128
13 แสดงจานวนและรอ้ ยละการทอ่ งเท่ียวในคร้ังน้ีของผตู้ อบแบบสอบถาม........................ 128
14 แสดงจานวนและรอ้ ยละการใชย้ านพาหนะเดินทางมายังแหล่งทอ่ งเทีย่ ว..................... 129
15 แสดงจานวนและร้อยละการพักค้างคืนของผู้ตอบแบบสอบถาม.................................... 129
16 แสดงจานวนและรอ้ ยละระยะเวลาการพักคา้ งคืนของผู้ตอบแบบสอบถาม................... 129
17 แสดงจานวนและรอ้ ยละด้านเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม............................................. 130
18 แสดงจานวนและร้อยละวตั ถุประสงคท์ ่ีท่านเลือกท่องเที่ยว........................................... 130
19 แสดงจานวนและรอ้ ยละการเลือกเดินทางของผตู้ อบแบบสอบถาม............................... 131
20 แสดงจานวนและร้อยละการใช้บริการจากการท่องเท่ยี ว............................................... 131
21 แสดงจานวนและร้อยละสถานที่เคยท่องเท่ียวใน ต.ขะเนจื้อ ต.แม่ระมาด ต.พระธาตุ... 132
22 แสดงจานวนและร้อยละความพึงพอใจด้านภาพลักษณ์การทอ่ งเท่ียว........................... 132
23 แสดงจานวนและรอ้ ยละความพงึ พอใจดา้ นราคาสินค้าและบริการ............................... 133
24 แสดงจานวนและร้อยละความพึงพอใจด้านคมนาคม..................................................... 134
25 แสดงจานวนและรอ้ ยละความพงึ พอใจดา้ นความปลอดภัย........................................... 134
26 แสดงจานวนและร้อยละความพงึ พอใจด้านการบริการ.................................................. 135
27 แสดงจานวนและรอ้ ยละความพึงพอใจดา้ นนกั สื่อความหมาย....................................... 136
28 แสดงจานวนและร้อยละความพึงพอใจดา้ นของท่รี ะลึก................................................. 136
29 แสดงคา่ เฉลยี่ และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจในแต่ละดา้ น..................... 137



สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หน้า

1 การประชมุ ปรับฐานคิด.................................................................................................. 57
2 การแตง่ กายชมุ ชนบา้ นตนี ธาต.ุ ...................................................................................... 65
3 ทา่ นา้ แมต่ ะลอ............................................................................................................... 65
4 พระธาตุโฆ๊ะเล................................................................................................................ 66
5 ตน้ ไมใ้ หญ่จอมพลผิน (ต้นจามจุรยี กั ษ)์ .......................................................................... 67
6 เสน้ ทางประวตั ิศาสตร์สงครามโลกครงั้ ท่ี 2.................................................................... 68
7 การแตง่ กายชมุ ชนบา้ นปา่ ไร่เหนือ................................................................................. 71
8 ถ้าซามูไร........................................................................................................................ 71
9 ดอยก่อหล่าโจ................................................................................................................ 72
10 ทิวไผ่งาม.................................................................................................................... .... 72
11 โฮมสเตยบ์ า้ นปา่ ไรเ่ หนือ................................................................................................ 73
12 อาหารพนื้ ถิน่ บา้ นป่าไรเ่ หนือ........................................................................................ 74
13 ต้นควายหาว.................................................................................................................. 75
14 การแตง่ กายชุมชนบา้ นโฮง่ ............................................................................................. 76
15 วดั ดอนแกว้ (พระพทุ ธรปู หนิ อ่อน)................................................................................. 77
16 กลว้ ยอบน้าผ้ึง................................................................................................................ 77
17 ขนมทองพับ ทองม้วน จากแปง้ กล้วย............................................................................ 78
18 สบสู่ มนุ ไพรว่านมา้ ขาว................................................................................................... 78
19 แปลงผักปลอดสารพษิ แหล่งอาหารปลอดภัย จดั จาหน่ายหน้าหมบู่ ้าน........................ 78
20 โฮมสเตย์บา้ นโฮ่ง........................................................................................................... 79
21 จดุ ผอ่ นปรนท่าล้อ.......................................................................................................... 79
22 ลักษณะการนัง่ ทอผา้ ด้วยกเี่ อว....................................................................................... 80
23 การเรยี งเส้นดา้ ย............................................................................................................ 81
24 การดนั ลายผ้า................................................................................................................. 81
25 การดงึ แยกชัน้ บนและชัน้ ล่าง......................................................................................... 81
26 การยกลายดอก.............................................................................................................. 82
27 การค่นั ผา้ ทีย่ กดอก......................................................................................................... 82
28 การดงึ ผ้าใหล้ ายแนน่ ...................................................................................................... 82
29 การดงึ ผ้าใหม้ ีขนาดเท่ากัน............................................................................................ 83
30 ลักษณะการเรียงอุปกรณ์ในการทอผ้า (มองจากมุมบน)................................................ 83
31 จานวนของ แนโบ ......................................................................................................... 83
32 แนเพ่ือขนึ้ ผ้านับลาย...................................................................................................... 84
33 จอกัวเดอ สาหรับดึงเส้น้้ายออกจากใจ้้าย.................................................................. 84
34 ถา้ เลป.ู่ .................................................................................................................... ....... 84



สารบญั ภาพ (ต่อ)

ภาพท่ี หนา้

35 ถา้ น้า (ถ้าคา้ งคาว)......................................................................................................... 85
36 ใบตองกง (แคแมหละ)................................................................................................... 87
37 ลายผ้าตา่ งๆ.................................................................................................................. . 88
38 ผ้าทอท่ีมีอายุ 100 ปี..................................................................................................... 89
39 พระธาตขุ ะเนจ้ือ............................................................................................................ 89
40 นายพาครือ อาชาเผ่าพงษ์.............................................................................................. 90
41 ถา้ น่อวาเล...................................................................................................................... 91
42 นางโกแฮ อนุตรธรรม..................................................................................................... 91
43 นายลิโพ โพธแ์ิ จ่มใส....................................................................................................... 92
44 การทอผา้ พน้ื ด้วยกเ่ี อว ไมม่ ีลวดลาย............................................................................ 98
45 ตน้ สกั ขพี ยาน และต้นสักครู่ กั ........................................................................................ 98
46 กองหินอธิษฐาน............................................................................................................. 99
47 ถา้ โมกขละ..................................................................................................................... 99
48 ราวตากผา้ พนั ปี และรอยพระพทุ ธบาท บริเวณเหนือหนา้ ถ้า........................................ 100
49 ลอ่ งเรือชมธรรมชาติสองแผ่นดนิ ชมถ้านา้ หยด............................................................. 101
50 จดุ ผอ่ นปรน สะพานไม้ไผส่ องแผ่นดนิ ............................................................................ 101
51 ผนู้ าของสองหม่บู ้าน ประเทศไทยและประเทศเมยี นมาร์.............................................. 101
52 เคร่อื งดนตรี “เตหน่า).................................................................................................... 102
53 การละเลน่ “แดะเบาะ”................................................................................................. 103
54 การศึกษาดูงานบ้านธงชัย........................................................................................................ 108
55 วงสนทนาเพอ่ื สรุปงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั ......................................................... 108
56 ร่วมระดมความคิดเหน็ กาหนดอัตลกั ษณ์ เชื่อมโยงเสน้ ทางท่องเทยี่ วและกิจกรรม........... 109
57 แผนที่เชอื่ มโยงเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชน รปู แบบท่ี 1...................................................... 114
58 แผนที่เช่ือมโยงเสน้ ทางท่องเที่ยวโดยชุมชน รปู แบบที่ 2...................................................... 114
59 ทบทวนกิจกรรมในเสน้ ทาง และ้ึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้น............................................. 116
60 การศึกษาดูงาน อาเภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบูรณ์.................................................................. 116
61 ชมุ ชนรว่ มกันถ่ายทอดองค์ความรู้และร่วมกันทาความสะอาด............................................. 117
62 โปสเตอรน์ าเสนอเส้นทางการทอ่ งเทยี่ ว................................................................................. 118
63 Info graphic การท่องเที่ยวชุมชนคนแม่ระมาด................................................................... 119
64 นักท่องเท่ียวไดร้ ่วมเรียนรู้ตามฐานต่างๆ................................................................................ 119
65 เดนิ ทางไปตามฐานเรียนรู้ต่างๆ.............................................................................................. 120
66 การจดั เสน้ ทางท่องเทีย่ วโดยชมุ ชน........................................................................................ 120
67 นกั ท่องเท่ียวไดเ้ รยี นร้วู ถิ ชี าวล้านนา...................................................................................... 121
68 เรียนรู้สมุนไพรใกล้ตวั ก่อนนากลับติดตวั ............................................................................. 121
69 มกี ารบรหิ ารจัดการโดยไกด์ประจารถ.................................................................................... 122



สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพท่ี หนา้

70 นักทอ่ งเท่ยี วได้เรียนรู้เส้นทางสงครามโลกคร้งั ที่ 2........................................................ 122
71 นักทอ่ งเที่ยวได้เรยี นรู้วิถีชาวปกาเกอะญอ..................................................................... 123
72 สรา้ งเพจท่องเที่ยวโดยชุมชนคนแมร่ ะมาด.................................................................... 123
73 กิจกรรมในเพจท่องเท่ยี วโดยชมุ ชนคนแม่ระมาด........................................................... 124

บทท่ี 1
บทนำ

1. หลกั กำร เหตุผลและควำมเป็นมำ
แม่ระมาดเป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดตากทิศเหนือติดกับอาเภอท่าสองยาง อาเภออมก๋อย จังหวัด

เชียงใหม่ ทิศตะวนั ออกติดต่อกบั อาเภอบ้านตาก ทิศใตต้ ิดต่อกับอาเภอแมส่ อด และติดกับชายแดนสาธารณรัฐ
สังคมนิยมแห่งสภาพพม่าทางด้านทิศตะวันตกซ่ึงอยู่ในเขตปกครองชนกลุ่มน้อยรัฐกะเหรี่ยงห่างจากอาเภอ
แม่สอด 33 กโิ ลเมตร ห่างจากศาลากลาง จังหวัดตาก 120 กโิ ลเมตร มพี ื้นท่ีประมาณ 998,014 ไร่ มีแม่น้าเมย
ก้ันพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับสหภาพเมียนมาร์ที่เป็นแนวชายแดนยาวถึง 95.7 กิโลเมตร ประกอบด้วย
6 ตาบล 57 หมู่บ้าน มีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมมี 3 ฤดู ฝนตกชุกในช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม
ปริมาณน้าฝนมากท่ีสุดเฉลี่ย 120 มิลลิเมตร/เดือน ส่วนฤดูหนาวช่วงเดอื นธนั วาคมถึงมกราคมมีอุณหภูมิตา่ สุด
เฉลี่ย 10 องศาเซลเซียส ลักษณะภูมิประเภทมีทรี่ าบน้อย พน้ื ท่ีสว่ นใหญ่เป็นปา่ เขาและภสู ูง บางส่วนอยู่ในเขต
ปา่ สงวนและเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเป็นพ้ืนท่ีที่มีความชื้นตา่ งระดับ ทาให้มีสภาพป่าท่ีแตกต่างกันหลายประเภท
เช่น ป่าดิบช้ืน ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ประชากรส่วนหนึ่งจึงมีอาชีพหาของป่าเป็น
รายไดเ้ สริม ส่วนพ้ืนที่ที่เหลือสาหรบั ทาการเกษตรโดยมลี าน้าสาคญั หลายสาย เช่น แมน่ ้าเมยซึง่ มีต้นน้ามาจาก
เขตอาเภอพบพระไหลผ่านอาเภอแมร่ ะมาดก่อนจะไหลลงสู่แม่น้าสาละวนิ จงั หวัดแม่ฮ่องสอน ลาห้วยแม่ระมาด
ตน้ น้าจากบ้านตุเบไหลผา่ นตาบลขะเนจ้อื ตาบลแม่ระมาด แล้วไหลลงสู่แม่น้าเมยที่บ้านไหล่ห้วย นอกจากนย้ี ัง
มีลาน้าขะเนจื้อ ลาน้าแม่จะเรา ลาน้าแม่ต่ืน ลาห้วยแสบ และลาห้วยแม่ท้อ ซ่ึงแหล่งน้าดังกล่าวเป็นทุนให้
ชาวบ้านส่วนใหญ่ในอาเภอแม่ระมาดประกอบอาชีพทาการเกษตร เช่น ทานา พืชไร่ สวนผลไม้ เป็นต้น และ
เลี้ยงสัตว์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนท่ีมีเชื้อชาติชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหร่ียงประมาณร้อยละ 70 ของประชากร
ทั้งหมด ซ่ึงส่วนใหญ่มีฐานะยากจน นอกจากทาการเกษตร เลี้ยงสัตว์ หาของป่า และสมุนไพร แล้ว ยังมีอาชีพ
รับจ้างท่ัวไปในช่วงฤดูแล้ง การทานาผลผลิตส่วนใหญ่ไว้กินในครัวเรือนโดยใช้พันธ์ุพื้นเมือง บางส่วนจะขาย
ให้กับคนในหมู่บ้านสาหรับคนที่ไม่มีนาปลูกข้าว ส่วนในด้านอุตสาหกรรมมีโรงงานผลิตเสื้อผ้าสาเร็จรูป ทาให้
คนในชุมชนส่วนหน่ึงมีรายได้จากการเป็นพนักงานในโรงงานดังกล่าว มีปัจจัยสนบั สนุนการพฒั นาการท่องเทีย่ ว
ตัวอย่าง เช่น ด้านการคมนาคมของอาเภอแม่ระมาดที่นักท่องเท่ียวหรือผู้มาเยือนสามารถเลือกใช้ทั้งทางบก
ทางน้า และทางอากาศไดอ้ ยา่ งสะดวก

อาเภอแม่ระมาดสันนิษฐานว่า เดิมท่ีเป็นท่ีอยู่อาศัยของชาวกะเหรี่ยงมาเป็นเวลาก่อน 100 ปีมาแล้ว
ต่อมามีประชาชนในจังหวัดเหนือหลายจังหวัด เช่น ลาพูน เชียงใหม่ ลาปาง แพร่ น่าน โดยเฉพาะชาวลาพูน
หนีความแห้งแล้งเมื่อ 130 ปี พากันอพยพมาหาท่ีทามาหากินโดยอาศัยลาห้วยแม่ระมาด เป็นแนวทางการ
ประกอบอาชีพและตั้งถ่ินฐานบ้านเรือนอยู่อาศัย เม่ือปรากฏว่าเป็นท้องท่ีอุดมสมบูรณ์ดี ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมได้ผลดี จึงได้ชักชวนญาติพ่ีน้องอพยพลงมาต้ังถ่ินฐานเพ่ิมมากขึ้น จนกระท่ังเป็นหมู่บ้านใหญ่
เรียกว่ากันว่า “บ้านแม่ระมาด” ตามชื่อลาห้วย ซ่ึงมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านขึ้นกับอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
ตอ่ มาพญาอินทรครี ี นายอาเภอแม่สอดสมัยน้ันได้พิจารณาเห็นว่า ตาบลแม่ระมาดได้มกี ารขยายตัวเตบิ โตอยา่ ง
รวดเรว็ และอยู่ห่างไกลจากอาเภอแม่สอดมาก การคมนาคมไม่สะดวก เพือ่ ประโยชนแ์ ก่การปกครองจงึ ได้จัดต้ัง

2

กิ่งอาเภอแม่ระมาด เม่ือปี พ.ศ. 2440 ต่อมาในปี พ.ศ. 2491 ทางราชการได้โอนกิ่งอาเภอท่าสองยางซ่ึงขึ้นอยู่
กับอาเภอแม่สะเรียงจังหวัดแม่ฮ่องสอนมาข้ึนกับอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก และเมื่ออาเภอแม่ระมาดได้ยก
ฐานะขึ้นเป็นอาเภอ เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2493 ต่อมาเมื่อ 1 มกราคม 2494 ก่ิงอาเภอท่าสองยางจึงได้โอน
จากอาเภอแม่สอด มาข้ึนกับอาเภอแม่ระมาดด้วย และได้แยกไปเมื่อได้ยกฐานะเป็นอาเภอเม่ือปี 2501 การที่
อาเภอแม่ระมาดมีที่ตั้งที่เป็นแนวชายแดนระหว่างไทยกับเมียนมาร์ยาวถึง 95.7 กิโลเมตร ส่งผลให้แม่ระมาด
มีเร่ืองราวความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างคน 2 แผ่นดินที่หลากหลายท้ังในด้านวิถี
วฒั นธรรมชุมชน การเมืองการปกครอง การค้าขาย และสังคม หล่อหลอมให้คนในพื้นท่ีท้ัง 6 ตาบล มีวิถีความ
เป็นอยู่การดารงชีวิตท่ีมีแบบฉบับท่ีแตกต่าง จนเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง เช่น อาหารการกิน ความเช่ือ
พิธีกรรม ภูมิปัญญาถ่ิน ศิลปกรรม ภาษา การแต่งกาย ดนตรี จิตวิญญาณและวิธีคิดในการประกอบอาชี พ
รวมถึงรูปแบบของการอยู่รว่ มกันอย่างสุขสงบบนความหลากหลายของชาติพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีหลักฐานพบว่า
ในอดีตเป็นเมืองท่ีมีความสาคัญในทางยุทธศาสตร์ของเส้นทางการค้าสายหลัก เสน้ ทางเดนิ ทัพ การแลกเปล่ียน
วฒั นธรรมระหว่างคน 2 แผ่นดิน รวมถึงเป็นแหล่งเสบียงท่ีสาคัญเนื่องจากทิศตะวันออกมีท่ีงามกว้างใหญ่และ
แหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ ปรากฏร่องรอยพบโบราณสถาน โบราณวัตถุ กระจัดกระจายถกู ปล่อยท้ิงร้างในบางพื้นที่
บางส่วนถกู บุกรกุ และเนอ่ื งจากเป็นพ้นื ที่ชายแดนที่มีพัฒนาการของการตดิ ตอ่ สัมพันธแ์ ลกเปล่ยี นซง่ึ กนั และกัน
ในด้านต่างๆ เพ่ือให้เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข จึงหล่อหลอมให้เกิดภูมิปัญญา วิถีการดารงชีวิตที่เป็น
เอกลักษณ์ กลายเป็นมรดกวัฒนธรรมท่ีมีคุณค่าท่ีน่าสนใจ และสาคัญควรแก่การศึกษาค้นคว้ารื้อฟ้ืนและ
เผยแพร่ต่อไป รวมถึงสิ่งอ่ืนๆ อีกเพื่อจะนามาเป็นทุนสาหรับพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวของอาเภอแม่ระมาด
บนฐานของความตระหนักรู้ รัก หวงแหน เห็นคุณค่าของเยาวชนและชาวบ้านในพื้นท่ี โดยมีภาคีเครือข่ายที่
เก่ียวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน นักวิชาการในพื้นที่ชุมชนท้องถ่ินเข้ามาร่วมพัฒนาเพื่อให้เกิดการใช้ทุนทาง
มรดกวัฒนธรรม ธรรมชาติของพื้นที่มาขยายผล โดยใช้การท่องเท่ียวโดยชุมชนเป็นส่ือกลางเพื่อสร้างการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้ต่อสาธารณชน เยาวชนและผู้มาเยือนให้ได้รับรู้เร่ืองราวความสาคัญในอดีตของบรรพชนที่
ต่อสู้ป้องกันชายแดน และวิถีการดารงชีวิตของชุมชนหลากวัฒนธรรมชายแดนที่สามารถอยู่ร่วมกันอย่าง
ปกติสุขมาช้านาน ซึ่งท้ังหลายท้ังปวงดังกล่าวน้ีเพื่อเป็นความตั้งใจจริงของชุมชนชาวแม่ระมาดท่ีต้องการ
จะพัฒนาผืนที่แห่งนี้ให้เป็นแหล่งทอ่ งเที่ยวที่มีชือ่ เสียง เป็นพนื้ ทีส่ าคญั ทางประวัติศาสตร์ สงั คม และวัฒนธรรม
สาหรับนักท่องเทย่ี วและประชาชนท่วั ไป

การนาทุนทางประวัติศาสตร์และวิถีวัฒนธรรมของชุมชนมาเสริมค่าเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่ให้สอดคล้องกับ
ภูมิสังคม นอกจากต้องใช้องค์ความรู้ในการบริหารจัดการแล้ว ในเบ้ืองต้นยังต้องหากุศโลบายท่ีจะใช้ทุน
ดังกล่าวให้สามารถนามาสร้างความภาคภูมิใจและถักทอความยึดเหนี่ยวทางสังคมให้กับคนในชุมชนท้องถิ่น
จนเกิดพลังความร่วมมือของคนในพ้ืนที่ หลังจากน้ัน จึงสร้างพันธมิตรเครือข่ายจากหลายฝ่าย เช่น ครู พระ
นักวิชาการ ผู้นาชุมชน นักคิด นักพัฒนา ปราชญ์ท้องถิ่นรวมทั้งนักธุรกิจมาร่วมกันพัฒนาและหาแนวทางให้
ชุมชนแม่ระมาดแห่งนี้กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เป็นท่ยี อมรับ และมีการใช้ประโยชน์อยา่ งต่อเนื่อง ด้วยเหตุน้ีทีม
วิจัยชุมชนและแกนนาชุมชนแม่ระมาดจึงสนใจที่จะร่วมสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเท่ียวเพื่อการศึกษาเรียนรู้

3

มรดกวัฒนธรรมชุมชนข้ึน โดยมุ่งประสานเช่ือมโยงกลุ่มบุคคลต่างๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ให้
มารว่ มสนับสนุนกจิ กรรมการสร้างและพัฒนาแหลง่ ท่องเทีย่ วเพื่อการศึกษาเรียนรใู้ หเ้ ป็นรูปธรรมข้นึ

สาหรบั เนอื้ หาที่จะสร้างการเรยี นร้ใู นพ้ืนทีป่ ระวตั ศิ าสตร์และวิถีวัฒนธรรมชมุ ชนเมืองแมร่ ะมาด ผู้วิจัย
ให้ความสาคัญกับเนื้อหาทางประวัติศาสตร์และวิถีวัฒนธรรมชุมชนท่ีเน้นให้มีความเช่ือมโยงเนื้อหาทั้งสอง
ดา้ นนี้ เพื่อหล่อหลอมจิตใจของผมู้ าเยือนให้ใกล้ชิด ดงั น้ันหลักการทจ่ี ะนามาใช้ในการจัดการท่องเท่ียวเพื่อการ
เรียนรู้น้ี จึงใช้หลกั การเรียนรู้แบบเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน เชือ่ มโยงพ้ืนที่กับพ้ืนทเี่ พื่อทาความเข้าใจความเป็น
ชุมชนท้องถ่ินและมองท้องถิ่นเป็นแบบองค์รวม และเหตุผลท่ีทีมวิจัยชุมชนเลือกชุมชนพื้นที่อาเภอแม่ระมาด
จงั หวัดตาก เป็นพ้ืนที่วิจัยเพราะเอกลักษณ์ความเป็นแม่ระมาดที่มีคุณค่า ท้าทายและสร้างแรงบนั ดาลใจให้คน
ในพ้ืนท่ีและทีมวิจัยชุมชนท่ีต้องมาร่วมคิดแสวงหาวิธีปฏิบัติ เพ่ือขยายผลในทางสร้างสรรค์ต่อวงการท่องเท่ียว
ทางประวตั ิศาสตร์และสังคมไทยตอ่ ไป

การดาเนนิ โครงการวจิ ัยครัง้ นี้ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ส่งเสริมให้เกิดความรว่ มมอื ในการทาวจิ ยั ระหวา่ งภาคี
เครือขา่ ยชุมชน นักวิชาการ และผูเ้ กี่ยวข้อง ร่วมคิด ร่วมพัฒนา ร่วมทดลองใช้สิ่งท่ีร่วมสร้างขน้ึ และปลายทาง
ของการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ เป็นการส่งเสริมให้เกิดรูปแบบของแหล่งศึกษาเรียนรู้ในพ้ืนที่ประวัติศาสตร์
วฒั นธรรมชุมชนคนชายแดนโดยท้องถ่ินเข้ามบี ทบาทร่วมในการจัดการโดยใช้การท่องเที่ยวเป็นส่ือกลางให้เกิด
การศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้แก่ผู้มาเยือน รวมถึงใช้คุณค่าท่ีชุมชนได้รับประโยชน์จากการจัด CBT
เป็นตวั กระตุ้นให้เกิดสานึกร่วมในคุณค่าของบ้านเกิดที่จะนาไปสู่การอนรุ ักษ์และสืบทอดมรดกวฒั นธรรมชุมชน
ให้ยงั่ ยืนต่อไปพรอ้ มกับสรา้ งใหช้ มุ ชนมรี ายไดเ้ สริมจากการจดั การท่องเทีย่ ว

2. คำถำมวจิ ัย

แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเพ่ือการเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคี
เครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง จนสามารถทาให้ชุมชนอาเภอแม่ระมาดกลายเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเท่ียวของ
ผมู้ าเยอื นควรเป็นอย่างไร

3. วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ยั
3.1 สร้างเครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพ่ือรว่ มพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน

แม่ระมาด อาเภอแมร่ ะมาด จงั หวดั ตาก
3.2 ศึกษาสารวจเชอ่ื มโยงองค์ความรมู้ รดกวฒั นธรรมชมุ ชนท่ีสาคญั ทมี่ ีศักยภาพของชมุ ชนอาเภอแมร่ ะมาด

ท่ีจะใชเ้ ป็นฐานในการพัฒนาท่องเทีย่ วโดยเครือข่ายนกั วิจยั ชมุ ชน
3.3 ออกแบบและพฒั นาเสน้ ทางทอ่ งเท่ียวเพอ่ื ศึกษาเรียนรมู้ รดกวัฒนธรรมชุมชน
3.4 พฒั นาและประเมนิ ศกั ยภาพการบรหิ ารจัดการและใหบ้ ริการ

4

4. ขอบเขตของกำรวจิ ัย
ขอบเขตดำ้ นพนื้ ที่
การวิจยั คร้ังนี้มุ่งศึกษาประชากรในแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมท่ีมีศักยภาพ ในเขต

อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก จานวน 6 แห่ง ประกอบด้วย บ้านตีนธาตุ และ บ้านป่าไร่เหนือ ตาบลพระธาตุ
บ้านโฮง่ ตาบลแม่ระมาด บ้านหม่องวา บ้านขะเนจือ้ และบา้ น หว้ ยปลากอง ตาบลขะเนจื้อ

บ้านตีนธาตุ หมู่ท่ี 2 ตาบลพระธาตุ มีจานวนครัวเรือน 207 ครัวเรือน ประชากรรวมท้ังสิ้น 670 คน
แบ่งเป็น ชาย 335 คน หญงิ 335 คน

บ้านป่าไร่เหนือ หมู่ที่ 3 ตาบลพระธาตุ มีจานวนครัวเรือน 437 ครัวเรือน ประชากรรวมท้ังส้ิน 1,357
คน แบง่ เปน็ ชาย 658 คน หญิง 699 คน

บ้านโฮ่ง หมู่ท่ี 5 ตาบลแม่ระมาด มีจานวนครัวเรือน 242 ครัวเรือน ประชากรรวม ท้ังส้ิน 344 คน
แบง่ เปน็ ชาย 176 คน หญงิ 168 คน

บ้านหม่องวา หมู่ที่ 6 ตาบลขะเนจ้ือ มีจานวนครัวเรือน 294 ครัวเรือน ประชากรรวมท้ังส้ิน 815 คน
แบ่งเปน็ ชาย 422 คน หญิง 395 คน

บ้านขะเนจ้ือ หมู่ที่ 7 ตาบลขะเนจื้อ มีจานวนครัวเรือน 522 ครัวเรือน ประชากรรวมท้ังสิ้น 1,211 คน
แบง่ เปน็ ชาย 632 คน หญิง 579 คน

บ้านห้วยปลากอง หมู่ที่ 12 ตาบลขะเนจื้อ มีจานวนครัวเรือน 174 ครัวเรือน ประชากรรวมทั้งสิ้น
658 คน แบง่ เปน็ ชาย 349 คน หญิง 306 คน

ขอบเขตด้ำนเนอ้ื หำ
- สร้างเครือข่ายชุมชนในอาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เพื่อให้เครือข่ายท่ีเก่ียวข้องทั้งในระดับพ้ืนที่
และระดบั จังหวัดรว่ มสนบั สนุนกิจกรรมการสรา้ งเสน้ ทางทอ่ งเทยี่ วและพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วเพื่อการเรยี นรู้
- ศึกษาคุณค่าวิถีวัฒนธรรมชุมชน นิเวศวิทยาของชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนในอาเภอ
แมร่ ะมาด จังหวัดตาก
ขอบเขตดำ้ นเวลำ
การวิจยั คร้งั นจี้ ะใช้เวลาการศึกษา 11 เดอื น ต้ังแต่ 30 กนั ยายน 2563 ถึง 30 สิงหาคม 2564

5. งบประมำณทใี่ ช้ในกำรวิจัย
งบประมาณที่ใชใ้ นการดาเนนิ โครงการ = 364,000 บาท

6. นิยำมศพั ท์เฉพำะ
6.1 เครือข่ายชุมชน หมายถึง ประชากรท่ีมีศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรม

ในอาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก จานวน 6 แห่ง ซึ่งประกอบด้วยประชาชนท่ัวไป เจ้าหน้าท่ีภาครัฐ องค์กร
เอกชน ผู้ประกอบการทอ่ งเทีย่ ว พระสงฆ์ ครู นักวิชาการ นักเรยี น นกั ศึกษา และกลมุ่ องค์กรชาวบ้าน ซ่ึงมกี าร
ติดตอ่ สัมพันธ์กนั อย่างต่อเนื่อง

5

6.2 เครือข่ายพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มี
ความสนใจรว่ มกันที่จะสรา้ งสรรค์ หรือสนับสนุนงานพัฒนาการท่องเที่ยว ซ่ึงในโครงการนี้หมายถึง กลุ่มบุคคล
ท่ีจะเข้ามาเป็นทีมวิจัยชุมชนเพื่อพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวดังกล่าว และกลุ่มสนับสนุนปฏิบัติการซึ่งเป็นผู้มี
บทบาทสนบั สนุนกจิ กรรมของทมี วจิ ัยดังกลา่ ว

6.3 ทีมวิจัยชุมชน หมายถึง กลุ่มคนในพ้ืนท่ีชุมชนอาเภอแม่ระมาดท่ีสนใจเข้าร่วมปฏิบัติการวิจัยใน
โครงการน้ี ทาหน้าที่เป็นท้ังผู้วิจัยและผู้ถูกวิจัย เป็นผู้ให้ความสาคัญในการรวมกลุ่มและทางานเป็นทีมในฐานะ
เพือ่ นรว่ มงานทมี่ ีสถานภาพเทา่ เทียมกนั

6.4 กลุ่มสนับสนุนปฏิบัติการ หมายถึง กลุ่มคนที่มีบทบาทในการสนับสนุนให้มีการพัฒนาการ
ท่องเท่ียว เช่น การอนุญาต หรือเชิญชวนให้นักเรียน นักศึกษา และนักท่องเที่ยวเข้าร่วมกิจกรรม และกลุ่มคน
ที่ไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมในโปรแกรมต่างๆ ทจี่ ดั ขนึ้

6.5 ทีมวิจัยส่วนกลาง หมายถึง นักวิจัยที่เป็นทีมพี่เล้ียงนักวิจัยชุมชนท่ีรับผิดชอบโครงการวิจัยนี้
มีบทบาทในการคัดเลือกและสร้างทีมวิจัยชุมชน ร่วมวางแผนการวิจยั สนับสนุนและติดตามผลการทางานของ
ทมี วจิ ยั ชุมชน รวมทั้งวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประมวลผลการดาเนินงานตลอดทั้งโครงการวิจยั

6.6 การท่องเท่ยี วเชงิ วฒั นธรรม (Cultural Tourism) หมายถึง กิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีมุ่งแลกเปล่ยี น
เรียนรู้ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณีท้องถ่ิน ประวัติศาสตรท์ ้องถนิ่ ศิลปกรรม โบราณวตั ถุ โบราณสถาน วิถชี ีวิต วิถี
การผลิตของผคู้ นในท้องถนิ่ โดยผู้รู้ และคนในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดการ

7. ผลท่คี ำดว่ำจะได้รบั
7.1 ได้องค์ความร้ดู ้านทรัพยากรธรรมชาติ วิถีวัฒนธรรมของชุมชน และประวัตศิ าสตร์สังคมของชุมชน

อาเภอแม่ระมาด
7.2 เกิดกลุ่มคนท่ีมียุทธศาสตร์การทางานในลักษณะการประสานความคิดและการทางานร่วมกันใน

แนวราบ
7.3 คนในชุมชนแม่ระมาดได้รับการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการและการให้บริการการ

สื่อความหมายจนเป็นมัคคุเทศก์ชุมชนที่มีคุณภาพท่ีสร้างความพึงพอใจและสร้างการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือนจน
นาไปส่กู ารใช้การทอ่ งเทย่ี วสร้างรายได้เสริมใหก้ ับคนในพืน้ ท่ี

7.4 เกิดเส้นทางท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมจากความร่วมมือระหว่างคนในพ้ืนที่ทางาน
ร่วมกนั ในลักษณะเครอื ข่าย

6

8. กรอบปฏบิ ตั กิ ำรในกำรดำเนนิ กำรวจิ ัย

ขัน้ ตอนท่ี 1 กระบวนการ
ประสานเชือ่ มโยงคนในพื้นท่เี พื่อเสนอการใช้กระบวนการวิจัยเพอ่ื งานวจิ ัยเพือ่
ท้องถ่ินเป็นเครื่องมือในการสรา้ งเครือขา่ ยแหลง่ ท่องเทย่ี วชุมชน
ทอ้ งถ่ิน
ขนั้ ตอนที่ 2 (Community-
จดั ทาแผนปฏิบตั ิการวิจยั ศึกษาสบื คน้ องคค์ วามรู้และศักยภาพ
ทางการทอ่ งเที่ยวของแม่ระมาดในประเด็นต่างๆ ทจี่ ะใช้เป็นทุนใน Based
Research)
การพัฒนาเสน้ ทาง/กจิ กรรมท่องเท่ียว

ขน้ั ตอนท่ี 3
ดาเนนิ การออกแบบเสน้ ทางท่องเทย่ี วเพือ่ เรียนรู้

นิเวศวฒั นธรรมของชมุ ชน

ขนั้ ตอนที่ 4
(Development in Action)
สร้างเส้นทางท่องเท่ยี วเพอ่ื สร้างการเรียนรูม้ รดกวัฒนธรรมชมุ ชน
และหาประสิทธิภาพของเสน้ ทางท่องเทยี่ ว

ข้นั ตอนที่ 5
ประเมินความพงึ พอใจของนักเท่ียวที่มีตอ่ การบรหิ ารจัดการและ

ใหบ้ รกิ าร CBT

ขน้ั ตอนที่ 6
เวทีสรปุ ผลการทางาน
9. ระยะเวลำดำเนินกำร = 11 เดือน

สรปุ ผลการวจิ ยั และจัดทารายงาน

9. กรอบแนวคดิ กำรวจิ ยั 7

ปัจจัยนำเขำ้ ขน้ั ตอนกำรดำเนินงำน
-บรบิ ท 1. การสรา้ งเครอื ข่ายวิจัยทอ้ งถ่นิ
-ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. การพัฒนาแผนงานปฏิบัติการของวิจัยของ
-ประเพณี วฒั นธรรมพนื้ ถน่ิ ทีมวิจัยชุมชนเพ่ือศึกษาสืบค้นศักยภาพของ
-ความเช่อื ทรพั ยากรทอ่ งเทยี่ วของชุมชน
-ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ 3. การออกแบบเสน้ ทางทอ่ งเที่ยวเพอ่ื การเรยี นรู้
วถิ วี ฒั นธรรมชมุ ชน/ธรรมชาติ
แนวคิดและทฤษฎี 4. การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้
1.แนวคิดเรอื่ งการท่องเทีย่ วเชงิ มรดกวัฒนธรรม วถิ วี ฒั นธรรมชุมชนและธรรมชาติ
2.แนวคิดการเรียนรู้ด้านวฒั นธรรม 5. พัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการและ
3.แนวคิดการพฒั นาแหล่งการเรียนร้ใู นทอ้ งถ่ิน ให้บริการ CBT
4.แนวคิดเก่ยี วกบั การจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้แหลง่ 6. การทดลองและประเมินผลการใช้เส้นทาง
เรยี นรู้ ท่องเทีย่ วเพ่ือการเรยี นรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชน
5.แนวคดิ เรื่องการสอื่ ความหมาย 7. การสรปุ ผลเผยแพร่ผลงาน
6.แนวคิดเกยี่ วกบั เครือข่าย
7.งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง ผลผลติ
3.1 เกิดเครือข่ายนักวิจัยชุมชนเพ่ือร่วมพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรม
ชุมชนแมร่ ะมาด อาเภอแมร่ ะมาด จงั หวดั ตาก
3.2 ได้องค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนท่ี
สาคัญท่ีมีศักยภาพของชุมชนอาเภอแม่ระมาดท่ี
จะใช้เป็นฐานในการพัฒ นาท่องเท่ียวโดย
เครือข่ายนกั วจิ ยั ชุมชน
3.3 เกิดเส้นทางท่องเที่ยวเพ่ือศึกษาเรียนรู้
มรดกวฒั นธรรมชุมชน
3.4 ชุมชนได้พัฒ นาและเห็นศักยภาพการ
บริหารจัดการและให้บริการจากการประเมินผล
การใชเ้ ส้นทางทอ่ งเทีย่ ว

ผลลพั ธ์
เกิดชุมชนท่องเท่ียวที่ให้บริการ CBT เพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชนคนแม่ระมาด
อาเภอแม่ระมาด จงั หวัดตาก

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง

การวิจัยเร่ือง “การสร้างเครือข่ายแหล่งท่องเท่ียวเพื่อการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชน
คนแม่ระมาด อาเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก” ครั้งน้ี ทีมวิจัยได้ศึกษาแนวคิด เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง
เพอ่ื เปน็ พนื้ ฐานในการกาหนดกรอบแนวคดิ ทใ่ี ช้ในการวจิ ัยซงึ่ ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปน้ี

1. แนวคดิ เรอ่ื งการทอ่ งเท่ียวเชงิ มรดกวัฒนธรรม
2. แนวคดิ การเรยี นรู้ดา้ นวัฒนธรรม
3. แนวคิดการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรูใ้ นทอ้ งถน่ิ
4. แนวคิดเกย่ี วกบั การจดั การเรยี นร้โู ดยใช้แหล่งเรยี นรู้
5. แนวคิดเร่อื งการส่ือความหมาย
6. แนวคดิ เกยี่ วกับเครอื ขา่ ย
7. แนวคดิ และทฤษฏีเก่ยี วกบั ความพงึ พอใจ
8. ทฤษฏเี ก่ยี วกับองค์ประกอบการท่องเที่ยว (5A)
9. งานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

1. แนวคิดเรอ่ื งการทอ่ งเทีย่ วเชงิ มรดกวฒั นธรรม (Cultural Heritage Tourism)

การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือสาคัญในการกระตุ้นให้เกิดความเข้าใจและรู้จักตัวเอง เกิด
ความภาคภูมิใจ เกิดความรู้สึกรัก หวงแหน และอยากอนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของตนให้คงอยู่ต่อไป
เนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวและมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศไทยมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวและได้มีการ
ถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมสืบเนื่องมาเป็นเวลานาน ดังนั้น การพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงมรดกวัฒนธรรมจึง
ควรคานึงถึงการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมถึงการถ่ายทอดวิถีวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น
เพ่ือให้เกิดการท่องเที่ยวที่ยง่ั ยืน ดังที่ภราเดช พยัฆวิเชียร (2547 : 6-9) เสนอแนะว่าควรนาการท่องเที่ยวเป็น
เคร่ืองมือในการธารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมด้ังเดิมของชุมชน ไม่ใช่นาเอาวัฒนธรรมไปรับใช้การท่องเท่ียวดังที่เป็นอยู่
ในปัจจุบัน ซึ่งหมายความว่าเม่ือมีการท่องเที่ยวเข้ามาในชุมชน ชุมชนต้องรู้จักตัวเองว่าเป็นใคร มีรากเหง้า
เหล่ากออยู่ตรงไหน ส่ิงดีๆ ในชุมชนท่ีกาลังจะสูญหายไป เช่น งานหัตถกรรม การประดิษฐ์ต่างๆ รวมถึง
ประวัติศาสตร์ชุมชน จะถูกร้ือฟ้ืนข้ึนมาด้วยความภาคภูมิใจ เกิดกระบวนการเรียนรู้กระบวนการศึกษาทาให้
ชุมชนท้องถ่ินเร่ิมเข้มแข็งข้ึน เกิดความเช่ือมโยงข้ึน ในท่ีสุดชุมชนท้องถ่ินจะสามารถอยู่อย่างภาคภูมิใจ
เช่ือมโยงกันได้อย่างมีศักดิ์ศรี เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมอื่น รู้จักคนอ่ืน เกิดปัญญา มีการ
เปรียบเทยี บวิเคราะหส์ ังเคราะห์ และนามาสู่ประเดน็ ที่ชมุ ชนสามารถแก้ไขปญั หาได้ดว้ ยความรว่ มมือของคนใน
ชมุ ชนท้องถน่ิ

ความพิเศษของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนั้นจะเน้นที่การศึกษาหาความรู้ในพื้นท่ีหรือบริเวณที่มี
คุณลักษณะที่สาคัญทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม สถานที่ดังกล่าวจะมีการบอกเล่าเร่ืองราวในการพัฒนา
ทางสังคมและมนษุ ยผ์ ่านทางประวตั ิศาสตร์อันเปน็ ผลเก่ียวเนื่องกบั วัฒนธรรม องคค์ วามรแู้ ละการใหค้ ุณค่าของ

9

สังคม โดยสามารถสะท้อนให้เห็นถึงสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในแต่ละยุคแต่ละสมัยได้เป็นอย่างดี ไม่ว่า
จะเป็นสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม หรือขนบธรรมเนียมประเพณี ซ่ึงนอกเหนือจากสถานที่ท่องเที่ยวแล้ว
เทศกาลและงานฉลอง รวมไปถึงสินค้าพ้ืนเมืองในพ้ืนท่ีต่างๆ ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวท่ีมีคุณค่า
เชิงวัฒนธรรม จะเห็นได้ว่าการอนุรักษ์และการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไปน้ัน เป็นเร่ืองสาคัญ
เพราะนอกจากจะเป็นความภาคภูมิใจของประเทศแล้ว ยังมีคุณค่าท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษา
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ทางด้านประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปศาสตร์ สุนทรียศาสตร์ ชาตพิ นั ธุว์ ิทยา และมานษุ ยวทิ ยา อกี ท้ัง
ยงั สามารถส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของชมุ ชนและประเทศผา่ นการทอ่ งเทยี่ วได้อกี ทางหนง่ึ ดว้ ย

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548 : 292) กล่าวว่า การทอ่ งเที่ยวเชงิ วัฒนธรรมเปน็ การเดินทางท่องเที่ยวชม
โบราณ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ินต่างๆ เพ่ือได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน อีกทั้งได้ศึกษาเรียนรู้
ความเช่ือ พิธีกรรมต่างๆ และมีความเข้าใจวัฒนธรรมใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันกม็ ีจิตสานึกต่อคุณค่าและ
การรักษาสภาพแวดล้อมและมรดกทางวัฒนธรรม โดยให้คนในชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมต่อการจัดการการ
ท่องเท่ียว และได้แบ่งลักษณะการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมออกเป็นประเภทย่อยได้ 4 ประเภทคือ 1) การ
ท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ คือการเดินทางไปยังแหล่งท่องเท่ียวทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ 2) การ
ทอ่ งเท่ียวงานวฒั นธรรมและประเพณี 3) การท่องเทยี่ วเชิงวิถีชีวิตชนบท และ 4) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทาง
วัฒนธรรม โดยการจัดการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมต้องอยู่ภายใต้หลัก 4 ประการคือ 1) เป็นการท่องเที่ยวท่ีมี
การศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความสาคัญ คุณค่าประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของทรัพยากรวัฒนธรรมใน
แหล่งท่องเที่ยวนั้น เพ่ือเป็นข้อมลู แก่นักท่องเทีย่ ว 2) เป็นการท่องเทยี่ วที่มีการปลูกฝังสร้างจิตสานึกของคนใน
ชุมชนให้เกิดความรัก หวงแหน รักษา และดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการ 3) เป็นการท่องเท่ียวให้
ความรู้แก่นักท่องเที่ยวให้เข้าใจวัฒนธรรมและได้รับความเพลิดเพลิน พร้อมจิตสานึกอนุรักษ์ และ 4) เป็นการ
ท่องเท่ียวท่ีมีการเคารพวัฒนธรรมของเพ่ือนบ้าน หรือของชุมชนอ่ืน รวมถึงเคารพในวัฒนธรรม ศักด์ิศรีของ
ผู้คนของตน เป็นการท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้ผู้อ่ืน และย้อนกลับมามองตัวเองอย่างเข้าใจในสรรพสิ่งของโลกที่ไม่
สามารถแยกออกจากกนั ได้ต้องพึ่งพาอาศัยซึง่ กนั และกัน

ผลจากแนวคิดริเริ่มท่ีจะพัฒนาการท่องเที่ยวในแนวทางเลือก (Alternative Tourism) ในลักษณะ
การศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ทั้งในด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน รวมทั้งธรรมชาติแวดล้อม (Alternative Tour Thailand, 2535 : 2-5) โดยมุ่งการ
จัดการทอ่ งเที่ยวเพ่อื อนรุ ักษ์และธารงความเป็นตัวตนในวฒั นธรรมท้องถ่ิน (Localization) แต่ในความเป็นจริง
นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2539) ชี้ว่าการท่องเท่ียวส่งผลกระทบต่อการแปรเปล่ียนของวัฒนธรรมชุมชน และเป็น
ตวั กาหนดลกั ษณะการใช้ทรัพยากรในชนบทมากขึ้นตามลาดับ และผลการใช้อานาจเงนิ ตราเป็นตัวกาหนดการ
ได้มาซึ่งรายได้ของชาวบ้านจากการท่องเที่ยว และชาวบ้านต้องตอบสนอง คนในชุมชนจึงต่อรองได้ยาก ทาให้
ชมุ ชนขาดความสามารถในการพ่ึงตนเองและจะล่มสลายไปในที่สุด ซ่งึ แต่เดิมวัฒนธรรมชุมชนคือ วฒั นธรรมที่
ทาให้ชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ ทางออกของปัญหายงั ไมม่ ีรปู แบบทีช่ ัดเจน แตเ่ ท่าทสี่ ามารถทาไดค้ อื ทาใหช้ ุมชนมสี ิทธิ

10

ในการกาหนดการใช้ทรัพยากรมากขึ้นกว่าเดิม สามารถใช้ประโยชนจ์ ากการท่องเที่ยว สามารถกาหนดทิศทาง

และวิถีทีจ่ ะติดตอ่ สัมพันธก์ บั การทอ่ งเที่ยวโดยไมเ่ สยี เปรียบ

จิรานุช โสภา และคณะ (2561) การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพ่ือ
เรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ินในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม (สุโขทัย ศรีสัชนาลัยและ
กาแพงเพชร , พระนครศรีอยุธยา) ผลการศึกษาพบว่า

1.ชมุ ชนของบา้ นนาต้นจนั่ อาเภอศรีสชั นาลยั จังหวัดสุโขทัย เปน็ ชุมชนขนาดใหญ่มีการจดั ต้งั วิสาหกิจ
ชุมชนทอผ้าบ้านนาต้นจั่น และมีการผนวกกิจกรรม เข้ากับการท่องเที่ยวชุมชนเพื่อเป็นการกระตุ้นตลาดและ
ความสนใจของผู้บริโภค เช่น กลุ่มผ้ปู ระกอบการโฮมสเตย์ , กลุ่มนวดสปา และกิจกรรมสนับสนุนการทอ่ งเที่ยว
ในชุมชน นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวที่บ้านนาต้นจั่นส่วนมากเป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวชาวไทย
โดยเฉพาะวัยรุ่นท่ีต้องการแสวงหาประสบการณ์ท่ีการท่องเที่ยวได้สัมผัสธรรมชาติ รวมถึงได้เรียนรู้ถึงวิถีชีวิต
ของคนในท้องถ่ินอย่างแท้จริง ดังน้ันแผนวิสาหกิจชุมชนของบ้านนาต้นจ่ัน ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ (1) ด้าน
ผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์เพื่อเรียนรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ิน โดยการพัฒนา
เมนูอาหารภูมิปัญญาท้องถ่ินให้เพิ่มมากข้ึน โดยใช้วัตถุดิบจากในท้องถ่ิน , การแปรรูปอาหาร ซ่ึงเป็นสูตร
พื้นบ้านของบ้านนาต้นจั่น โดยการจัดกิจกรรมที่ให้นักท่องเท่ียวได้มีส่วนร่วม เช่น การทากับข้าวพ้ืนบ้านด้วย
ตนเองตอนพักที่โฮมสเตย์ ทง้ั นี้ชมุ ชนควรจดั การความรู้ของอาหารภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ของบ้านนาต้นจั่น เพ่ือมใิ ห้
องค์ความรู้น้ันสูญหายไป มีการถอดองค์ความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านอาหารภูมิปัญญาท้องถ่ินไวส้ ืบ
ต่อไป (2) ด้านตลาดชุมชนควรทาการตลาดการท่องเที่ยวร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เพื่อ
ดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติให้เพิ่มมากยิ่งข้ึน และควรจัดตง้ั ศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพ่ือ
เป็นต้นแบบในการศึกษาและดูงานของชุมชนอื่นๆ ที่จะมีการบริหารจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน (3) ด้านการ
บริหารจัดการองค์กร เช่น ควรมีการพัฒนาไกด์ท้องถิ่นให้สามารถพูดภาษาอังกฤษ พัฒนามาตรฐานโฮมสเตย์
ในระดับสากล ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานในชุมชนให้มีประสิทธิภาพ จัดทาเอกสารและสื่อประชาสัมพันธ์การ
ท่องเท่ียวของบ้านนาตน้ จ่ันทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และควรทาการตลาดออนไลน์เพื่อให้สามารถเข้าถึง
กลุ่มตลาดเปา้ หมายได้

2.เมืองนครชุม อาเภอนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร เป็นชุมชนที่มีผู้คนหลายชาติพันธ์ุ มารวมกันอยู่
มีการจัดตลาดย้อนยุค เป็นสถานที่ท่องเท่ียวที่น่าสนใจอีกแห่งหน่ึงของเมืองกาแพงเพชร เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน
ภูมิปัญญาที่สาคัญของท้องถ่ินในหลายด้าน เช่น ภูมิปัญญาด้านอาหาร การทาขนม การทาพระพิมพ์
สถาปัตยกรรม อาคารบ้านเรือนในท้องถ่ิน รวมถึงนิทรรศการภาพเก่าเล่าเรื่องอดีตเมืองนครชุมชน เป็นต้น ซึ่ง
เป็นการร่วมมือกันของคนในชุมชน ในปัจจุบันเมืองนครชุม ยังไม่มีการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนเพื่อส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวเพ่ือเรียนรู้เก่ียวกับอาหารภูมิปัญญาท้องถิ่นข้ึน ดังนั้นควรมีการรวมกลุ่มของชาวบ้านเพ่ือร่วมกัน
จัดตั้งวิสาหกิจชุมชนขึ้น เพ่ือเป็นศูนย์กลางในการให้ข้อมูลแก่นักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศท่ี
ต้องการศึกษาและเรยี นรเู้ ก่ียวกบั การท่องเท่ยี วเพ่ือเรยี นรเู้ ก่ียวกับภมู ิปัญญาท้องถน่ิ นครชุม ดังนนั้ แผนวิสาหกิจ
ชุมชนของเมืองนครชุม ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ คือ (1) กลยุทธ์ท่ี 1 การเรียนรู้ วิจัย และพัฒนา การให้
วิสาหกิจชุมชนและทุกภาคส่วนเกิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพ่ือสนับสนุนการ
ท่องเที่ยว (2) การบรหิ ารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพ่ือการพึง่ ตนเอง มีระบบการบริหารจดั การทุนทั้งทเี่ ป็นตัวเงิน
และไม่เป็นตวั เงนิ รวมท้ังมีระบบการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและสาธารณะประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม (3) การ
สง่ เสริมและสนับสนนุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนและเครือข่ายวิสาหกจิ ชมุ ชน อยา่ งเปน็ ระบบและมีเอกภาพ

11

3.บ้านผักไห่ อาเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดที่มีภูมิปัญญาและความสามารถใน

การประกอบอาหารหลายอย่าง มีสถานที่ท่องเท่ียวท่ีน่าสนใจ เช่น ตลาดลาดชะโด มีความคล้ายคลึงกับตลาด

สามชุกมาก และยังคงสภาพความเก่าแก่และมนต์ขลังอยู่ โดยผู้วิจัยมองเห็นว่าเป็นโอกาสในการพัฒนาตลาด

ลาดชะโด และเศรษฐกิจของชาวชุมชนลาดชะโด คือ การพัฒนาฝีมือด้านการทาอาหารทั้งอาหารหวานและ

อาหารคาว ท่ีเป็นอาหารพ้ืนถ่ินของคนลาดชะโด ให้มีความหลากหลาย ในปัจจุบันบ้านผักไห่ ยังไม่มีการจัดต้ัง

วิสาหกิจชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียวเพ่ือเรียนรู้เก่ียวกับอาหารภูมิปัญญาท้องถ่ินขึ้น ดังน้ันควรมีการ

รวมกลุ่มของชาวบ้านเพ่ือร่วมกันจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนข้ึน ดังนั้นแผนวิสาหกิจชุมชนของเมืองนครชุม

ประกอบด้วย 3 กลยทุ ธ์ คอื (1) กลยทุ ธท์ ี่ 1 การเรียนรู้ วิจัย และพฒั นา การให้วิสาหกิจชุมชนและทุกภาคสว่ น

เกิดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาวิสาหกิจชุมชนภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพื่อสนับสนุนการท่องเท่ียว (2) การบริหารจัดการ

วิสาหกิจชุมชนเพื่อการพ่ึงตนเอง มีระบบการบริหารจัดการทุนทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินรวมทั้งมีระบบ

การจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและสาธารณะประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม (3) การส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจ

ชุมชนและเครือขา่ ยวสิ าหกิจชุมชน อยา่ งเป็นระบบและมีเอกภาพ

พรรณี สวนเพลง และคณะ (2561) การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของการท่องเท่ียววิถีไทยเพ่ือ
เรียนรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ินในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม (สุโขทัย ศรีสัชนาลัยและ
กาแพงเพชร , พระนครศรอี ยุธยา) ผลการศกึ ษาพบวา่

1.เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ินในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม
(สโุ ขทัย-กาแพงเพชร , พระนครศรอี ยุธยา) พบวา่ อาหารทอ้ งถ่นิ ในกล่มุ เมืองมรดกโลกทางวฒั นธรรม (สโุ ขทัย-
กาแพงเพชร , พระนครศรีอยุธยา) น้ันมีมากมายที่ควรจะสบื สาน เช่น อาหารภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ของบ้านนาต้น
จนั่ จ.สโุ ขทัย ท่ีสาคัญคือ ข้าวเป๊ิบ แกงขเี้ หล็ก แกงป่าปลาช่อนนา น้าพริกซอกไข่ และขนมต้มขาว , อาหารภูมิ
ปญั ญาท้องถิ่นของนครชุม จ.กาแพงเพชร ได้แก่ แกงฮังเล แกงอุ๊บมะเขอื แกงชะอมใส่เส้นหม่ี กุ้ยฉ่าย ขนมเข่ง
บะหมี่ ก๋วยเตี๋ยว แกงเปอะหน่อไม้ใส่ข้าวสุก แกงผักหวานใส่ข้าวสาร ผักห่อ ไส้กรอกถั่ว แกงถ่ัวมะแฮะ และ
ขนมจีนแป้งสด , อาหารภูมิปัญญาท้องถ่ินบ้านผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา ได้แก่ ขนมทองหยิบ ทองหยอด
และฝอยทอง โดยดัดแปลงมาจากตารับอาหารโปรตุเกส และใช้วัตถุดิบท้องถ่ินทมี่ ี ได้แก่ มะพรา้ ว แปง้ ไข่ และ
น้าตาล จนกลายมาเป็นขนมไทยในท่ีสุด การสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นทางด้านวัฒนธรรมอาหาร โดยใช้
กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ความรู้น้ันสูญหายไป เช่น (1) วิธีสาธิต คือ ทาให้ดูเป็น
ตัวอย่าง อธิบายทุกขั้นตอนให้ผู้เรียนเข้าใจ และปฏิบัติตาม (2) วิธีการปฏิบัติจริง คือฟังคาบรรยาย อธิบาย
การสาธิตแล้วนาไปปฏิบัติจริง และปฏิบัติซ้าๆ กันจนเกิดเป็นความชานาญ เพราะผลงานท่ีจะใช้ดารงชีวิตได้
ต้องเปน็ ผลงานทเี่ กดิ ข้ึนจรงิ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

2.เพ่ือพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยววิถีไทยเพ่ือเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถ่ินอาหารท้องถ่ินในกลุ่ม
เมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม (สุโขทัย-กาแพงเพชร , พระนครศรีอยุธยา) ได้เส้นทางการท่องเท่ียว จานวน 3
เส้นทาง คือ (1) เส้นทางอาหารพื้นบ้านวิถีไทยสไตล์บ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย (2) เส้นทางย้อนยุคโบราณ
อาหารภูมิปัญญาล่ือเล่ืองเมืองนครชุม จังหวัดกาแพงเพชร และ(3) เส้นทางนาวาภูมิปัญญาขนมหวานใน
พระนครศรีอยธุ ยา โดยการนาเสนอข้อมลู ด้านการท่องเทีย่ ว แหล่งท่องเทยี่ ว ทพ่ี ักและเส้นทางทอ่ งเท่ยี วอาหาร

12

ภู มิ ปั ญ ญ าท้ อ งถิ่ น ใน จั งห วั ด สุ โข ทั ย ก าแ พ งเพ ช ร พ ระ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า น า เส น อ ผ่ าน ท า ง
URLhttp://www.amazingthaifood.com/index.html.

3.เพื่อจัดทาแผนวิสาหกิจชุมชนและฝึกอบรมกลุ่มแม่บ้านวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการท่องเท่ียวเชิง
สร้างสรรค์เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่นในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม (สุโขทัย ศรีสัชนา
ลัยและกาแพงเพชร ,พระนครศรีอยุธยา) จานวน 3 แผนงาน ได้แก่ (1) แผนวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการ
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อเรียนรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ินในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรมบ้าน
นาต้นจั่น อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย (2) แผนวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพ่ือ
เรยี นรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่นในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวฒั นธรรม นครชุม จังหวัดกาแพงเพชร และ
(3) แผนวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ินใน
กลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม บ้านผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงมีกลยุทธ์ท่ีสาคัญ คือ กลยุทธ์ท่ี 1
การเรียนรู้ วิจัย และพัฒนา การให้วสิ าหกิจชุมชนและทุกภาคส่วนเกิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นเพ่ือสนับสนุนการท่องเท่ียว กลยุทธ์ที่ 2 การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพ่ึงตนเอง
มีระบบการบริหารจัดการทุนทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินรวมทั้งมีระบบการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกและ
สาธารณประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม กลยุทธ์ที่ 3 การส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย
วิสาหกิจชุมชนอย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ 4.เพื่อหาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของการ
ท่องเท่ียววิถีไทยเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ินในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวัฒนธรรม (สุโขทัย-
กาแพงเพชร , พระนครศรีอยุธยา) โดยการประยุกต์และใช้แนวคดิ ของส่วนประสมทางการตลาด 4Ps ได้แก่ 1
สินค้า/บริการ (product) ในการพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้เก่ียวกับอาหารภูมิปัญญาท้องถิ่น
(Gastronomic local tourism) , การพัฒนา “วิสาหกิจชุมชน” เพ่ือให้ชุมชนได้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
ท่องเท่ียวเพื่อเรียนรู้เก่ียวกับอาหารภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นการสร้างสรรค์เศรษฐกิจโดยชุมชน , พัฒนา
เมนอู าหารภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ให้มากข้ึน โดยใชว้ ัตถดุ ิบจากในท้องถน่ิ , การให้นักท่องเที่ยวไดท้ ากับข้าวพื้นบ้าน
ด้วยตนเองตอนพักท่ีโฮมสเตย์ , การแปรรูปอาหาร เช่น น้าพริกแกงส้ม ซึ่งเป็นสูตรพื้นบ้านของท้องถิ่น ท่ีให้
นกั ทอ่ งเท่ียวไดซ้ อ้ื กลับไปเป็นของฝาก , ควรมีการจัดการความรู้ (Knowledge management) ของอาหารภูมิ
ปญั ญาท้องถิ่นของบ้านนาต้นจั่น , ส่งเสริมการสรา้ งตราสินคา้ การเพม่ิ ศักยภาพดา้ นชอ่ งทางการตลาดประเภท
สินค้ากลุ่มวิสาหกิจชุมชน (SME) ด้านการตลาดควรจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ทางการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อ
เป็นต้นแบบในการศึกษาและดูงานของชุมชนอ่ืนๆมีการทาตลาดการท่องเท่ียวร่วมกับการท่อ งเที่ยวแห่ง
ประเทศไทย (ททท.) เพ่ือที่ดึงดูดนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติให้มาเท่ียวเพิ่มมากขึ้น ตลอดจนมีการบริหารจัดการ
องค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ (2) ราคา (Price) มีการกาหนดราคาที่มีความเหมาะสมกับกิจกรรมของการ
ท่องเที่ยวเพ่ือเรียนรู้เก่ียวกับอาหาร (3) ช่องทางการจัดจาหน่าย (Place) โดยใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
(Social media) เป็นหลัก , สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว
ในการใช้ระบบ On-line marketing โดยมีกลยุทธ์การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (4) การส่ือสารเพื่อสรา้ งการ
รับรู้ (Promotion) โดยการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์กิจกรรมการท่องเที่ยวเพ่ือเรียนรู้เกี่ยวกับอาหารภูมิ

13

ปญั ญาท้องถ่ินในกลุ่มเมืองมรดกโลกทางวฒั นธรรม (สุโขทัยกาแพงเพชร พระนครศรีอยุธยา) และมีการจัดงาน

Event ต่างๆ ร่วมกบั อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์

สญั ญา พานชิ ยเวช และคณะ (2560) การศึกษาพัฒนาการเมืองสวรรคโลกและมรดกวฒั นธรรมชมุ ชน
สูก่ ารพัฒนาการทอ่ งเท่ียวเชงิ สร้างสรรค์ โดยเครือขา่ ยชุมชนคนสวรรคโลก ผลการศกึ ษาพบว่า

1.ผลการพั ฒ นาการเมืองสวรรคโลกและมรดกวัฒ นธรรมชุมชนที่ เกิดข้ึนในแต่ละห้วง เวลาของ
เหตุการณ์สาคัญในมิตสิ ังคม เศรษฐกิจ คมนาคมและความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนมาเป็นทุนในการพัฒนา
เมืองสวรรคโลกภายใต้บริบทของการเป็นส่วนหน่ึงของเมืองมรดกโลก สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย สรุปได้ 8 ประเด็น
ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานของสวรรคโลก 2) พัฒนาการของเมืองสวรรคโลก 3) อาหารพื้นบ้านอาเภอ
สวรรคโลก 4) การละเล่นพ้ืนบ้านในงานประเพณี 5) ความเชื่อ-โลกทัศน์ 6) ศิลปกรรมและประดิษฐกรรม 7)
ภมู นิ าม และ 8) มรดกทางภาษา

2.ผลการสร้างเครือข่ายชุมชนเพ่ือร่วมคิดร่วมพัฒนาเมืองสวรรคโลกด้วยกระบวนการงานวิจัยเพื่อ
ทอ้ งถิ่น พบว่า ได้รับความร่วมมอื จากปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ ผ้สู งู อายุ ผู้นาชุมชน ซ่ึงเป็นผลจากการเข้าไปขอเวลา
พูดคุยทาความเข้าใจในการประชุมของกลุ่มต่างๆ เช่น การประชุม อสม. การประชุมผู้นาชุมชน การประชุม
ของกลุ่มแม่บ้านและผู้ประกอบการในท้องถิ่น เป็นต้น ส่วนภาคีท่ีเป็นหน่วยงานของรัฐนั้น ประกอบด้วยภาคี
ระดับชุมชน ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบลวังไม้ขอน กลุ่มเรือคายัคคลับ กลุ่มเครือข่ายศิลปะบ้านศิลาแลง
กลุ่มเยาวชนคนรักสวรรคโลก ภาคีระดับอาเภอ/จังหวดั ได้แก่ สภาวัฒนธรรมอาเภอสวรรคโลก เครอื ขา่ ยเมือง
เก่าเหนือ-เมืองเก่าใต้ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก ภาคีระดับชาติ ได้แก่ องค์การ
บริหารการพฒั นาพื้นที่พิเศษเพ่ือการท่องเท่ียวอย่างยั่งยนื เครอื ขา่ ยสือ่ ออนไลน์ และสื่อมวลชนซึง่ ภาคีดงั กลา่ ว
ให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งในด้านต่างๆ ท้ังด้านการให้ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์
ข้อคิดเห็น การศึกษา ดูงาน การประสานงานงบประมาณ สถานที่ กาลังคน การแลกเปล่ียนบุคลากรซึ่งกัน
และกันการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เทคนิควิธีในการนาเสนอข้อมูลต่อนักท่องเท่ียว การจัดโปรแกรมทัวร์
การทดลองทาทวั ร์ และการประชาสมั พนั ธ์เป็นต้น

3. ผลการศึกษาคุณค่าความหมายและอัตลักษณ์มรดกวัฒนธรรมชุมชนสวรรคโลก พบว่า สวรรคโลก
เป็นเมืองท่ีมีประวัติศาสตร์อันยาวนานที่ส่งผลจากอดีตสู่ปัจจุบัน และยังสามารถรักษาความเป็นเมืองท่ีงดงาม
ไปด้วยวัฒนธรรมและน่าอยู่ โดยทีมผู้วิจัยสรุปได้เป็นเส้นทางการท่องเที่ยว 2 เส้นทาง ได้แก่ เส้นทางท่ี 1
เส้นทางประวัตศิ าสตร์เมอื งสวรรคโลกและเสน้ ทางที่ 2 เส้นทางท่ารถม้าถึงหาดเสีย้ วเชื่อมโยงสวรรคโลก ชุมชน
พระปรางค์ถงึ ศรสี ชั นาลัย

4. ผลการพัฒนาศักยภาพชุมชนและหาแนวทางพัฒนาเมืองสวรรคโลก ภายใต้บริบทโครงข่ายการ
ท่องเที่ยวบนเส้นทางมรดกโลก สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กาแพงเพชร สรุปได้ว่า ทีมวิจัยได้ร่วมกิจกรรมเพ่ือการ
พัฒนาศกั ยภาพชุมชนและหาแนวทางพัฒนาเมอื งสวรรคโลกโดยดาเนนิ การ 2 กิจกรรม สรุปได้ดงั น้คี ือ 4.1 ผล
การศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบด้านการจัดการท่องเที่ยว “แม่กลอง” 3 ชุมชน ได้แก่ชุมชนแพรกหนามแดง
ชุมชนกระดังงา และชุมชนบ้านบางพลับ จังหวัดสมุทรสงคราม สรุปข้อสังเกตท่ีได้จากการศึกษาดูงาน คือ
ได้รับฟังสถานการณ์ภาพรวมการจดั การชุมชนและการท่องเท่ียวในจังหวัดสมุทรสงคราม ไดแ้ ลกเปล่ียนเรียนรู้
เกี่ยวกับการจัดการชุมชนท่ีเชื่อมไปสู่ธุรกิจเพ่ือสังคมรวมทั้งได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ในเร่ืองการบรหิ ารจัดการด้าน
อาหารในท้องถ่ินสาหรับนักท่องเที่ยวและกระบวนการจัดการชุมชนและการสร้างคนรุ่นใหม่เข้ามาเสริมสร้าง
ศกั ยภาพในการบรหิ ารจดั การชุมชนซง่ึ มีขอ้ ดีคอื คนร่นุ ใหม่มีความรูแ้ ละทกั ษะทางดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ามารถ

14

นามาต่อยอดการจัดการชุมชนได้เป็นอย่างดีและได้เรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนบ้านบางพลับ
ซง่ึ มีการจัดเป็นฐานเรียนรู้ในชมุ ชนโดยมีแนวคิดในการบริหารจัดการแบบมีผู้จดั ชุมชนท่ีทาหน้าท่ีประสานและ
กระจายบทบาทหน้าท่ีไปยังฐานการเรียนรู้ต่างๆ 4.2 ผลการเข้ารับการอบรมมัคคุเทศก์ชุมชนกับการสื่อ
ความหมาย การอบรมมัคคุเทศก์ชุมชนกับการส่ือความหมายคือ ได้ทบทวนแนวคิดผลกระทบการท่องเที่ยว
แบบมวลชน การท่องเที่ยวทางเลือก บทบาทของชุมชนในการจัด CBT บุคลากรสาคัญในชุมชนสาหรับการ
บริหารจัดการและการให้บริการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ตลอดจนได้เรียนรู้เก่ียวกับหลักการมัคคุเทศก์
นักสื่อความหมาย เทคนิคการนาเที่ยว เทคนิคการทาทัวร์ หลักการพูด บทบาทหน้าที่ จรรยาบรรณและได้
เรียนรเู้ กี่ยวกบั วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู รวมทงั้ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั กิ ารนันทนาการ ความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเทย่ี วใน
เขตอุทยานฯ และสาธติ การสื่อความหมายและการควบคุมความปลอดภัยขณะสื่อความหมายในพ้ืนที่ล่อแหลม
ของเส้นทางท่องเท่ียวในอุทยานฯ เรียนรู้เก่ียวกับการสื่อความหมายมรดกวัฒนธรรมและเชิงนิเวศ และได้
แลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดตั้งกล่มุ และการบริหารจัดการกลุม่ กับ “กลุ่มท่องเท่ียวชุมชนบ้านรอ่ งกล้า” และได้ต้ัง
กลมุ่ ดาเนนิ งานดา้ นการท่องเที่ยวของชุมชนเพื่อหาแนวทางในการพฒั นาเมืองสวรรคโลกภายใต้บรบิ ทโครงข่าย
การท่องเทีย่ วบนเส้นทางมรดกโลกสบื ตอ่ ไปโดยตัง้ ชอ่ื กลุ่มวา่ “กลมุ่ รกั สวรรคโลก”

สรปุ ได้ว่า การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน เพื่อเรียนรูภ้ มู ิปัญญาท้องถิ่น ควรพฒั นาให้ชุมชนจัดต้ัง
วิสาหกิจชุมชนเน่ืองจากวิสาหกิจชุมชนเป็นการสนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่มกันในชุมชน และสนับสนุนสินค้า
และบรกิ ารภายในชุมชน รวมถึงจะมีการวางแผนในการพฒั นาชุมชนต่อไป วิสาหกจิ ชุมชนจะช่วยสนับสนุนการ
ท่องเท่ียว โดยผนวกกิจกรรมเข้ากับการท่องเท่ียวเป็นการกระตุ้นความสนใจของผู้บริโภค โดยมีแผนวิสาหกิจ
ชุมชน ดังนี้ 1) ด้านผลิตภัณฑ์เก่ียวกับภูมิปัญญาอาหารท้องถ่ิน การสืบสานภูมิปัญญาท้องถ่ินทางด้าน
วัฒนธรรมอาหาร โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ เพ่ือเป็นการป้องกันไม่ให้ความรู้นั้นสูญหายไป เช่น การ
สาธิต การปฏิบัติจริง ปฏิบัติซ้าๆ จนเกิดความชานาญ 2) ด้านการตลาด โดยการนาเสนอข้อมูลด้านการ
ท่องเท่ียว แหล่งท่องเที่ยว ที่พักและเส้นทางท่องเที่ยวอาหารภูมิปัญญาท้องถิ่น และทาการตลาดร่วมกับการ
ทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศไทย (ททท.) เพื่อดึงดูดนกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 3) ด้านการบริหารจัดการองค์กร ควรมี
การพัฒนาไกด์ท้องถ่ินให้สามารถพูดภาษาองั กฤษ พัฒนามาตรฐานโฮมสเตย์ในระดับสากล โดยการนาศึกษาดู
งานชุมชนต้นแบบด้านการจัดการท่องเท่ียว การอบรมมัคคุเทศก์ชุมชนกับการส่ือความหมาย การอบรม
มคั คุเทศก์ชมุ ชนกับการสอ่ื ความหมาย

2. แนวคิดการเรยี นรูด้ ้านวัฒนธรรม

วัฒนธรรมเป็นวิถีดาเนินชีวิตที่กลุ่มคนในสังคมต่างๆ ยึดถือและยอมรับเป็นแนวปฏิบัติวัฒนธรรมเป็น

ผลจากกระบวนการทางสังคมท่ีทาให้เกิดแบบแผนของสัมพันธ์ภายในกลุ่มประชากรระหว่างกลุ่มประชากร

และระหว่างประชากรกบั สิ่งแวดล้อมทีเ่ ขาอาศัยอยู่ วฒั นธรรมเป็นเครอ่ื งมอื ที่ชว่ ยให้มนุษย์อยู่รว่ มกนั อย่างสันติ

และสามารถตอบสนองความต้องการในการดารงชีวิตภายใต้ข้อจากัดของธรรมชาติได้วัฒนธรรมเป็นผลผลิตที่

มนุษย์สร้างข้ึน ถ่ายทอด สะสม และรักษาไว้จากคนรุ่นหนึ่งไปสคู่ นอีกรุ่นหน่ึง วัฒนธรรมอาจปรากฏในรูปของ

ความรู้ ความเช่ือ การปฏบิ ัติ ระบบคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนวัตถุส่ิงของและสัญลักษณ์ อันเกิดจากการคิด

และการประดิษฐ์ของมนษุ ย์

15

วัฒนธรรมจึงมีลักษณะหลอมรวมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม ดังนั้น มนุษย์ท่ีดารงอยู่
ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันจะมีแบบแผนทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป แบบแผนทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ
ในแต่ละพ้ืนที่จะสะท้อนถึงแบบแผนการจัดการทรัพยากรที่เหมาะสมของพ้ืนท่ีนั้นๆ เพราะจะเป็นแบบแผนที่
ผ่านการคัดสรรจากคนรุ่นหน่งึ ส่คู นอีกรนุ่ หน่ึง อยา่ งไรก็ตาม ถา้ ฐานทรัพยากรในพ้นื ท่ีน้ันๆ เปล่ยี นไป แบบแผน
เดิมก็อาจจะใช้ไม่ได้ สังคมน้ันจาเป็นต้องหล่อหลอมวัฒนธรรมใหม่ข้ึนเพ่ือปรับสังคมและส่ิงแวดล้อมให้อยู่ใน
ดุลยภาพ การเรียนรดู้ ้านวฒั นธรรมจะช่วยให้เรารู้จักแบบแผนการจัดการทรัพยากรภายใต้เงือ่ นไขต่างๆ ของแต่
ละพนื้ ที่ อนั จะเป็นแนวทางใหเ้ รานาแบบแผนเหลา่ นี้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในสถานการณ์ตา่ งๆ ได้

องค์ความรทู้ ี่สาคัญจากการเรยี นรวู้ ฒั นธรรมชุมชนอาจแยกเป็น 3 สว่ นหลักๆ คือ
1) องค์ความรู้ในเร่ืองระบบการผลิตและเทคโนโลยีการทามาหากิน เป็นการแสดงถึงศักยภาพในการ
คิดค้นของมนุษย์ จากการเรียนรู้จากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพื่อนาสิ่งท่ีมีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์กับการ
ดารงชวี ติ ของตนเอง โดยไมข่ ดั กบั ฐานความเชอื่ ของตน
2) องค์ความรู้ในระบบการอย่รู ่วมสัมพันธก์ ัน ประกอบด้วยปฏิสัมพันธ์ภายในครอบครวั และเครือญาติ
ปฏสิ ัมพันธ์ภายในชมุ ชน และการเช่ือมโยงระหว่างชุมชน ระบบความสัมพันธน์ ี้เป็นผลจากการเรียนรซู้ ่ึงกันและ
กันและเปน็ ผลจากระบบความเชื่อภายในกลมุ่ ชนนั้นดว้ ย
3) องค์ความรู้ในระบบทางความเชื่อ ซึ่งเป็นการจัดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสรรพสิ่งทั้งหลาย
รวมทงั้ สิง่ เหนอื ธรรมชาติ ประกอบด้วยศาสนา พธิ กี รรม และการคณุ คา่ กับส่งิ ต่างๆ
องค์ความรู้เหล่านี้จะช่วยให้เรามีพรมแดนความคิดกว้างขวาง คิดอย่างบูรณาการเช่ือมโยง และไม่
ละเลยคุณคา่ ความสัมพนั ธ์ทั้งมวลของมนษุ ยท์ งั้ ต่อมนุษยด์ ว้ ยกนั ตอ่ สรรพสงิ่ และตอ่ สงิ่ เหนือธรรมชาติ

อมรา พงศาพิชญ์ (2541 : 1) ใหค้ วามหมายของวัฒนธรรมวา่ หมายถึงส่ิงที่มนษุ ย์สร้างขน้ึ กาหนดขึ้น
มใิ ช่สิ่งทีม่ นษุ ย์ทาตามสัญชาตญาณ และยศ สันติสมบัติ (2544 : 11) กลา่ ววา่ นักมานษุ ยวทิ ยาไดส้ รุปลักษณะ
พื้นฐานท่ีสาคัญของวัฒนธรรมได้ 6 ประการคือ 1) เป็นความคิดร่วม 2) เป็นส่ิงท่ีมนุษย์เรียนรู้ทีละเล็กละน้อย
จึงเปรียบเสมือนมรดกทางสังคมท่ีได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวัฒนธรรม 3)
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ 4) เป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญาที่มีหน้าที่สนองตอบความต้องการ
พื้นฐานของมนุษย์ 5) เป็นกระบวนการท่ีมนุษย์กาหนดนิยามความหมายให้กับชีวิตและส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัว
เช่น ความเชื่อ พิธีกรรม ฯลฯ และ 6) เป็นส่ิงท่ีไม่หยุดนิ่งหากแต่เปล่ียนแปลงและปรับตัวตลอดเวลา ดังนั้น
จึงสรปุ ไดว้ ่าลักษณะของวฒั นธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างข้ึนมิใช่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ เป็นมรดกของสังคมคอื การ
สืบทอดกันต่อๆ มา มีการพัฒนาปรับปรุงเปล่ียนแปลงได้ เพื่อความมั่นคงในวิถีชีวิตของส่วนรวม บุคคล
ส่วนใหญ่รับมายึดถือปฏิบัติและปรับปรุงให้มีความเจริญงอกงามเป็นเรื่องของความดี ความงาม ความเป็น
ระเบยี บ และความสามคั คีของคนในสังคมท่ยี ดึ ถือปฏิบัตอิ ย่างมีแบบแผนของแตล่ ะสังคม

16

ณัฐชยา นัจจนาวากุล และคณะ (2559) กระบวนการเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนารูปแบบการ
แสดงมังคละ ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ผลการศึกษาพบว่า คณะผู้วิจัยดาเนินงานโดยการเก็บข้อมูลภาคสนาม
ทางด้านดนตรีวิทยา เพื่อสารวจองค์ความรู้ทางดนตรีของวงมังคละในพื้นที่ต่างๆ พบว่า สภาพปัจจุบันของ
มังคละ 3 จังหวัด ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ซ่ึงได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์
เริ่มมีบทบาทในฐานะวงดนตรีเพ่ือการประโคมและแห่น้อยลง เกิดวงดนตรีประเภทอ่ืนๆเข้ามาแทนท่ี เช่น
วงกลองยาว แตรวง ในขณะเดียวกันนักดนตรีมังคละก็มีจานวนลดน้อยลงมากอย่างเห็นได้ชัด เน่ืองด้วยไม่มี
งานว่าจ้างและมีอายุมากขึ้นตามวัย จึงเหลือเพียงวงมังคละท่ีมีบทบาทในสังคมการท่องเที่ยวและการศึกษา
เพียงไม่ก่ีคณะเท่าน้ัน ยังมีการนาปราชญ์ชาวบา้ นมาเป็นผู้ให้ความรแู้ ก่นักเรียนในช้ันเรยี น ในแบบปากตอ่ ปาก
แต่สถานศึกษาส่วนใหญ่ก็ไม่มีการสร้างสื่อช่วยสอนเพื่อสนับสนุนและแบ่งเบาการสอนของครูอาวุโสเหล่าน้ัน
นอกจากนี้ไม่มีการสร้างงานเพื่อสานต่อและปรับใช้ให้สอดรับกับสังคม กิจกรรมต่างๆ การใช้มังคละตาม
เทศกาล โอกาสสาคัญทางศาสนาพบเห็นได้น้อยลงเมื่อไม่เกิดการนามาใช้ในวิถีชีวิตจึงส่งผลให้มังคละค่อยๆ
เลือนหายไปจากสังคม ชุดการเรียนรู้เร่ืองมังคละ ดาเนินการโดยการสกัดองค์ความรู้เรื่องมังคละจากท้องถ่ิน
ต่างๆใน 3 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง แนะนามาสร้างเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย กิจกรรมรู้จั ก
ท้องถิ่น กิจกรรมรู้จักมังคละ และการบรรเลงมังคละ โดยองค์ความรู้ของปราชญ์มังคละในพ้ืนที่เธอเป็นส่วน
ของการอนุรักษ์ ท้ายสุดคือกระบวนการสร้างสรรค์การแสดงมังคละ โดยใช้ฐานความรู้จากชุดการเรียนรู้
ซ่ึงเป็นกิจกรรมเพื่อตอบโจทย์เรื่องการพัฒนา ในการนี้คณะผู้วิจัยได้เลือกโรงเรียนในพ้ืนท่ีตาบลคุ้งตะเภา และ
ตาบลผาจุก อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เข้าร่วมในโครงการวิจัยจานวน 4 โรงเรียน เนื่องจากในอดีตเคยมี
มงั คละในวิถีชวี ติ ของผู้คนในบรเิ วณดังกล่าวแตไ่ ดส้ ญู ไปเมื่อประมาณ 40 กว่าปที ่ีผา่ นมา ในการดาเนนิ โครงการ
พบว่า (1)การวางรากฐานในเรื่องสานึกรักท้องถิ่นเป็นแรงผลักประการหน่ึงในกระบวนการเรียนรู้เพื่อค้นหา
อัตลักษณ์และสร้างแรงบันดาลใจของคนในชุมชน (2)การทาความเข้าใจเร่ืองกระสวนจังหวะ ผา่ นความเคยชิน
จากการท่องจาและการปรบมือ ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการเม่ือต้องบรรเลงไม้กลองต่างๆ ได้และเกิด
ทักษะในการบรรเลงตามมา (3)พัฒนาการของผเู้ รยี นโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงความไพเราะ รสมือ และความสมบูรณ์
ในการบรรเลงยังต้องมีการปรับแก้ตามทักษะของแต่ละบุคคล (4)การสร้างสรรค์การแสดงใหม่ ด้วยการ
บูรณาการร่วมกันระหว่างดนตรีและนาฏศิลป์ผ่านชุดการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนเข้าใจระบบการทางานร่วมกัน
สามารถมองเห็นรูปแบบการแสดงได้อย่างเป็นรูปประธรรมและสร้างการทางานท่ีเป็นระบบมากข้ึน
กระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติ เป็นส่ิงท่ีจาเป็นอย่างยิ่งท่ีทุกภาคส่วนในชุมชนต้องทาหน้าท่ีอย่างจริงจัง
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "บวร" บ้าน วัด โรงเรียน ซ่ึงต่างก็มีหน้าที่ในการบูรณาการความรู้ และความรับผิดชอบ
ร่วมกัน พบว่า บ้าน ทาหน้าที่เป็นกาลังสนับสนุนผู้เรยี น วัด มีหน้าท่ีในการเป็นศูนย์กลางข้อมูลและการเรียนรู้
ในทุกๆระดับ ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นท่ีในการแสดงออกท้ังในเชิงอนุรักษ์และพัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็น
แหล่งตั้งต้นสนับสนุนการนามังคละกลับคืนสู่วิถีชีวิตของผู้คนในสังคม โรงเรียน เป็นสถาบันที่คอยขัดเกลา
สร้างผ้เู รียนให้มีความสมบูรณ์แบบในทักษะด้านต่างๆอยา่ งถงึ พร้อม เห็นได้วา่ การพัฒนาคนในชมุ ชนด้วยศิลปะ
ผ่านระบบการศึกษาด้วยการใช้ บวร เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดลักษณะ สังคมอุดมความรู้ (Knowledge-Based

17

society) ท้ังในเชิงการอนุรักษ์และพัฒนาด้วยการต่อยอด สร้างสรรค์ศิลปะการแสดงให้เกิดมูลทั้งในเชิง
นามธรรมและรูปธรรม ถือเป็นการเพ่ิมทุนทางวัฒนธรรมให้กับพ้ืนท่ี ก็เกิดคุณค่าซึ่งช่วยให้สังคมอยู่ร่วมกันได้
อย่างสมดุล จากภูมิปัญญาเฉพาะบุคคล (Tacit knowledge) ส่งผ่านให้เกิดการอนุรักษ์และพัฒนาด้วยการ
สร้างสรรค์ จนเกดิ เปน็ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของท้องถน่ิ ผา่ นศลิ ปะการแสดง

นันธิดา จันทรางศุ และคณะ (2560) การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กและเยาวชนบนฐานความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบว่า ผลการดาเนินงานของแผนงานให้หลักที่สาคัญ ได้แก่ (1)การ

จัดการเรียนรู้โดยมีเป้าหมายเพื่ออยู่ร่วมกันบนความแตกต่างหลากหลาย (2)เน้นสร้างทักษะและความรู้เพื่อ

ตระหนักถึงอคติของตัวเขา ลดอคติ เข้าใจวัฒนธรรมของคนอื่น เคารพวัฒนธรรมของคนอ่ืน (3)เน้นการ
เช่ือมโยงวัฒนธรรมของเด็กๆเข้ากับวัฒนธรรมอื่นๆ(4)พหุวัฒนธรรมเป็นบริบทและเป็นเคร่ืองมือที่มีเป็น
เป้าหมายร่วมกันในการพัฒนาเด็กและเยาวชน และ (5)การออกแบบการเรียนรู้ให้คิดแบบหลากลู่ หลายแบบ

เป้าหมายชัด โดยมีวิธีการดังน้ี (1)เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้ทเ่ี ป็นการมีส่วนร่วมของเด็ก 2)เน้นให้เด็กได้มี
โอกาสเรียนรู้วัฒนธรรมท่ีหลากหลายโดยเร่ิมจากวัฒนธรรมใกล้ตัวเด็ก (3)เน้นการปฏิสัมพันธ์กับคนต่างวัย
(4)เนน้ สร้างวฒั นธรรมการเรียนรู้ วิธีคิด วิธปี ฏิบัติกับคนต่างวฒั นธรรมและกาหนดพฤติกรรมท่พี งึ ประสงคท์ เ่ี รา
อยากสร้างให้เกิดขึน้ กบั เด็ก (5)การเรยี นรูค้ วรเกดิ ข้นึ จากตวั ผู้เรียนเอง และ(6)คร/ู ผู้ใหญ่ รว่ มแลกเปลีย่ นเรียนรู้

ปาริชาติ วิสุทธิสมาจาร และคณะ (2562) กลยุทธ์ทางการตลาดของการท่องเที่ยวเพ่ือเรียนรู้วิถี
วฒั นธรรมมลายูในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา การศกึ ษาพบว่า

1.ความต้องการของนักท่องเท่ียวต่อการเรียนรู้ นักท่องเท่ียวต้องการด้านการแต่งกายมากที่สุด
รองลงมา 2 อันดับแรก คือ ด้านอาหารและด้านประเพณีท่ีเก่ียวข้องกับชาวมลายูในพ้ืนท่ี และนักท่องเท่ียวท่ี
ต้องการเรียนร้เู ชงิ สร้างสรรค์ ได้แก่ แหล่งท่องเท่ียวท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ความเป็นอัตลักษณ์และลักษณะเฉพาะ
ของท้องถ่ิน สภาพแวดลอ้ มท่ีมีความสร้างสรรค์ กิจกรรมและการบริการเชงิ สร้างสรรค์ การบรกิ ารทส่ี ร้างสรรค์
กิจกรรมที่สร้างสรรค์ การมีส่วนร่วมของชุมชน และความต้องการประสบการณ์/ทักษะท่ีเก่ียวข้องกับวิถี
วฒั นธรรมมลายู

2.ส่วนประสมทางการตลาด นักท่องเที่ยวให้ความสาคัญต่อส่วนประสมทางการตลาดของการ
ท่องเที่ยวเพ่ือเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมมลายู ในเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากและให้
ความสาคัญต่อส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวโดยภาพรวมและทุกประเด็นในระดับ
มาก โดยเฉพาะการให้ความสาคัญต่อผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวท่ีสามารถนาไปสู่การสร้างประสบการณ์ทางด้าน
วถิ วี ัฒนธรรมมลายแู ละการมสี ว่ นรว่ มของนักทอ่ งเที่ยวได้ ด้านราคาสนิ คา้ และบริการโดยภาพรวมและเกอื บทุก
ประเด็นในระดับมาก ยกเว้นประเด็นความคุ้มค่าของราคากับคุณค่าที่ได้รับ ท่ีนักท่องเท่ียวให้ความสาคัญใน
ระดับมากที่สุด ด้านสถานที่โดยภาพรวมและทุกประเด็นในระดับมาก โดยเฉพาะการให้ความสาคัญต่อแหล่ง
ท่องเที่ยวที่สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอ่ืนๆ ด้านการส่งเสริมโดยภาพรวมและเกือบทุกประเด็นใน
ระดับมาก ยกเว้นประเดน็ การส่งเสริมการตลาดแบบปากต่อปาก และผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ หรือ
facebook ที่นักท่องเที่ยวให้ความสาคัญในระดับมากที่สุด ด้านบุคคลโดยภาพรวมและเกือบทุกประเด็นใน
ระดับมาก ยกเว้นประเดน็ ผู้ให้บริการมีปฏิสัมพันธ์ทดี่ ีกับนักท่องเที่ยว และผู้ให้บรกิ ารมีความสุภาพและมีจติ ใจ

18

บริการทน่ี ักท่องเที่ยวใหค้ วามสาคัญระดับมากที่สุด ด้านการนาเสนอลักษณะทางกายภาพโดยภาพรวมและทุก
ประเด็นในระดบั มาก โดยเฉพาะการให้ความสาคัญต่อการฟ้นื ฟูและอนุรักษภ์ ูมิปญั ญาและวิถชี ีวติ ของชาวมลายู
ในพื้นท่ี และด้านกระบวนการโดยภาพรวมและทุกประเด็นในระดับมาก โดยเฉพาะการให้ความสาคญั ต่อแหล่ง
ทอ่ งเท่ียวที่สามารถเช่อื มโยงกบั แหลง่ ท่องเที่ยวอนื่ ๆ

3.กลยุทธ์ทางการตลาดของการท่องเท่ียวเพ่ือเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมของชาวมลายู กลยุทธ์เชิงรุก (SO
Strategy) ไดแ้ ก่ จัดทาโปรแกรมหรือเส้นทางท่องเที่ยวเพ่ือเรียนรู้วิถีวัฒนธรรมมลายทู ี่หลากหลาย การพัฒนา
แหล่งเรียนรู้เก่ียวกับวิถีวัฒนธรรมมลายูจากกลุ่มอาชีพที่มีอยู่ในพื้นท่ีต่างๆ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิถี
ชีวิตและวัฒนธรรมของชาวมลายูในพ้ืนท่ีและกิจกรรมสาหรับการเย่ียมชมลักษณะทางกายภาพ วิถีชีวิต
ประเพณี ศิลปกรรมและวัฒนธรรมของชาวมลายู กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy) ได้แก่ จัดทาและถ่ายทอด
เร่ืองราวของแหล่งท่องเท่ียวท่ีเกี่ยวข้องกับวิถีวัฒนธรรมของชาวมลายูท่ีมีลักษณะเฉพาะของพ้ืนท่ี และการ
สื่อสารข้อมูลเก่ียวกับวิถีวัฒนธรรมของชาวมลายูในพ้ืนท่ีไปยังกลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อต่างๆ กลยุทธ์เชิงป้องกัน
(ST Strategy) ได้แก่ การเพ่ิมจานวนนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย การสร้างความแตกต่างของพื้นท่ี โดยนาวิถี
วัฒนธรรมมลายูที่มีลักษณะเฉพาะของพ้ืนท่ีที่แท้จริง มาเป็นจุดขายให้แก่นักท่องเท่ียว และการกาหนดราคา
สนิ ค้าและการให้บริการท่ีคานงึ ถึงคุณค่าและประสบการณ์ทางด้านวิถีวัฒนธรรมมลายูแก่นักท่องเที่ยว กลยุทธ์
เชิงรับ (WT Strategy) ได้แก่ การจัดกิจกรรมทางการตลาดที่เก่ียวข้องกับประเพณีและวัฒนธรรมของชาว
มลายู และการฟ้ืนฟูและอนุรักษ์วิถีวัฒนธรรมท่ีมีลกั ษณะเฉพาะการสร้างกระบวนการเรยี นรู้และประสบการณ์
ให้แก่นักท่องเท่ียว และผู้ให้บริการมีความจริงใจและเตม็ ใจท่ีจะให้บริการแก่นักท่องเที่ยว มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกบั วิถวี ฒั นธรรมเปน็ อยา่ งดี และสามารถสร้างปฏิสัมพนั ธ์ท่ดี ีกับนกั ทอ่ งเท่ียว

วุฒิชัย สันธิ และคณะ (2556) การจัดการเส้นทางการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมในเขต
เทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบว่า บริบททางประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมและ
ส่ิงแวดล้อม เทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย มีวิถีชีวิตที่หลากหลายท่ีได้รับการสืบทอดมรดกทาง
วัฒนธรรมมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่นมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีมรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีคุณค่าดัง
ปรากฏอยู่ในรปู แบบของ ศาสนสถาน โบราณสถาน สถาปัตยกรรม และศิลปกรรม ซ่ึงมีคุณค่าสาคัญต่อวิถีชีวิต
ผา่ นการเช่ือมตอ่ เรื่องราวทางประวัตศิ าสตร์การตั้งถ่นิ ฐาน จากการเปลย่ี นแปลงของยุคสมัย จากอดีตสู่ปัจจุบัน
จึงทาให้พื้นท่ีแห่งน้ีมีความหลากหลายมากข้ึนทางมรดกวัฒนธรรม ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมทางประวัติศาสตร์
และศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้ มีศักยภาพในการเป็นแหล่งเรียนรู้ของเมืองเชียงราย โดยสามารถจัดเป็นเส้นทาง
การเรียนรู้ได้ 2 เส้นทาง คือ เส้นทางท่ี 1 เส้นทางการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย และเส้นทางท่ี 2
เส้นทางการเรียนร้ศู ิลปกรรมและสถาปัตยกรรมของเมืองเชียงราย

สรุปได้ว่า การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีพื้นถิ่น จาเป็นต้องมีการถ่ายทอดความรู้โดยปราชญ์
ชาวบ้าน ส่งต่อไปยังรุ่นลูกรุ่นหลาน มีการร่วมกันออกแบบการเรียนรู้ เพ่ืออนุรักษ์ สืบทอดให้คงอยู่ อีกทั้งยัง
ต้องมีการนาศิลปวัฒนธรรมพื้นถ่ินมาปรับให้สอดรับกับสังคมปัจจุบันในเทศกาลต่างๆ สร้างกลยุทธ์ทาง

19

การตลาดของการท่องเทย่ี ว ใหค้ วามสาคัญต่อแหลง่ ทอ่ งเที่ยวที่สามารถเชื่อมโยงกบั แหล่งท่องเที่ยวอ่นื ๆ สรา้ ง
ความแตกต่างของพื้นท่ี โดยนาวิถีวัฒนธรรมท่ีมีลักษณะเฉพาะของพื้นที่ที่แท้จริง มาเป็นจุดขายให้แก่
นักท่องเท่ียว จัดกิจกรรมทางการตลาดที่เก่ียวข้องกับประเพณีและวัฒนธรรม นาไปสู่การจัดการเส้นทางการ
เรียนรปู้ ระวัติศาสตร์และศลิ ปวฒั นธรรม บริบททางประวตั ศิ าสตร์ สงั คม วัฒนธรรมและสง่ิ แวดลอ้ ม

3. แนวคิดการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิน่

ในแต่ละท้องถ่ินจะประกอบด้วยผู้อยู่อาศัยหรือประชากร ซ่ึงก็อาจมีคุณลักษณะทางเช้ือชาติ ภาษา
และวัฒนธรรมแตกต่างกัน มีกิจกรรมของประชากร รวมท้ังมีองค์ประกอบทางทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อ
การอยอู่ าศยั นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการเปลีย่ นแปลงตามเหตุปจั จัยต่างๆ มากมาย กระบวนการเปลย่ี นแปลง
น้ซี ้อนทับกันมาจากอดีตกาลจนถงึ ปัจจุบนั การเรียนรู้กระบวนการเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ี จะเป็นบทเรยี นทีส่ าคัญ
ทจ่ี ะทาใหเ้ ราเข้าใจอุบัติการณ์อ่ืนๆ ในสังคมได้ดีข้ึน และถา้ เราสามารถเชือ่ มโยงเหตกุ ารณท์ ้องถ่ินกับเหตุการณ์
โลกได้ เรากจ็ ะเข้าใจและตระหนักรูถ้ ึงอันตรายของกระแสโลกาภิวตั น์ได้ชัดเจนข้ึน ขณะเดียวกนั ก็จะทาให้เรารู้
จุดเด่น จุดด้อยของท้องถ่ินเพื่อที่จะสามารถพัฒนาท้องถิ่นของตนให้ก้าวไปในกระแสโลกาภิวัตน์ได้อย่างมี
ดุลยภาพมากขึ้น

นอกจากน้ี การเช่ือมโยงเหตุการณ์ท้องถ่ินกับเหตุการณ์โลกแล้ว ส่ิงที่ควรจะเช่ือมโยงอีกประการหนึ่ง
คือ การเชื่อมโยงระหว่างท้องถิ่นกับท้องถิ่น เพราะท้องถิ่นหนึ่งๆ มิได้ดารงอยู่อย่างตัดขาดจากภายนอก แต่จะ
มวี ิถเี ชือ่ มโยงสัมพันธ์กับชมุ ชนอ่ืนๆ ในหลายๆ รูปแบบ เช่น ชุมชนทา่ เสาในอดีตจะมีความสมั พันธก์ ับชุมชนใน
กลุ่มน้าแม่กลองในรูปแบบของการเดินทางค้าขาย ขณะเดียวกันก็สัมพันธ์กับผืนป่าตอนบนที่ผลิตเน้ือไม้และ
ของป่า ความสัมพันธ์น้ีทาให้ชุมชนเติบโตขึ้น การเรียนรู้ความสัมพันธ์เหล่าน้ีจะทาให้เราพัฒนาความสัมพันธ์
ระหวา่ งทอ้ งถิ่นท่จี ะนาไปสูก่ ารจดั การทรัพยากรในขอบเขตท่ีกว้างขวางมากขึ้นได้

ในการท่ีจะจัดการศึกษาเกี่ยวกับท้องถิ่น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการหาองค์ความรู้เก่ียวกับท้องถ่ิน
และจัดเตรียมวิธีการนาเสนอเร่ืองราวเหล่านน้ันไปสู่กลุ่มผู้เรียนให้ได้ และถ้าจะให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ
ควรจะจัดเตรียมให้ผู้เรียนมีโอกาสศึกษาและสัมผัสกับทิ้งถ่ินนั้นด้วยตนเอง และคนในท้องถ่ินนั้นควรมีบทบาท
ในการส่อื สารเรอื่ งราวของท้องถนิ่ ของเขาเองดว้ ย

การพัฒนาแหล่งเรียนรูท้ ้องถ่ิน จะเร่ิมตง้ั แต่การสารวจองคค์ วามรู้ทอ้ งถ่ิน ซึ่งควรมีนกั ศึกษาเขา้ ร่วมกับ
คนท้องถ่นิ เพอ่ื ทจ่ี ะเข้าถึงแหล่งความรู้และทาความเขา้ ใจกับตัวความร้ใู นท้องถ่ินได้งา่ ยข้ึน องค์ความรทู้ ้องถน่ิ ที่
สามารถนามากาหนดเปน็ ประเด็นศึกษามมี ากมาย เชน่

1) การศึกษาภมู ศิ าสตร์กายภาพและนิเวศวทิ ยาท้องถิ่น
2) การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ท้องถน่ิ
3) การศกึ ษาโลกทศั น์ ความเชอ่ื พธิ กี รรมและจติ วิญาณของคนทอ้ งถน่ิ

20

4) การศึกษาเทคโนโลยแี ละการจดั การทรัพยากร
5) การศึกษาวิถีดาเนินชีวติ และธรรมปฏิบตั ิในท้องถ่ิน
6) การศกึ ษาวิจติ รศลิ ปแ์ ละสนุ ทรยี ศ์ าสตรใ์ นทอ้ งถิ่น
เม่ือสารวจองค์ความรู้ได้แล้วจะต้องมีการวางแผนการสื่อความหมายเน้ือหาสาระน้ันออกมาสู่
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการส่ือ การสื่อความหมายนื้อาจส่ือผ่านวิทยากรและสื่อประกอบอื่น เช่น คู่มือ แผ่นพับ
วีดิทัศน์ วัสดุส่ิงของ หรือสัญลักษณ์ หรือสื่อผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การเสวนา การสัมภาษณ์ การทดลอง
การสาธิต การฝกึ ปฏิบัติ หรือการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกบั ชมุ ชน เป็นตน้

แม้ว่าท้องถ่ินจะมีองค์ความรู้ ส่ือ และแผนการส่ือความหมายแล้ว แต่ก่อนท่ีจะนาผู้เรียนหรือผู้สนใจ
เรียนรู้เข้าไปเรียนรู้ในพื้นท่ีจริง ควรจะต้องมีการเตรียมแผนการจัดการท่ีจะรองรับกิจกรรมทั้งหมด ทั้งในด้าน
สถานที่เรียนรู้ ท่ีพัก (ถ้าจะต้องพักแรม) วิทยากรท้องถ่ิน อาหาร-เคร่ืองด่ืม พาหนะ การดูแลความเรียบร้อย
ความปลอดภัยและสวัสดิการต่างๆ เพ่ือให้ท้องถ่ินน้ันสามารถรองรับผู้เรียนรู้ได้อย่างแท้จริง และสามารถเป็น
แหลง่ การเรยี นรทู้ ีต่ อ่ เนื่อง และมปี ระสิทธภิ าพ

อน่ึง ในการท่ีจะให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการอย่างจริงจัง นักการศึกษาควรจะได้มีการเตรียมทา
ความเข้าใจกับท้องถิ่นมาก่อนต้ังแต่ข้ันตอนการทาแผนการส่ือความหมายคือ ควรให้โอกาสชุมชนไดม้ ีส่วนร่วม
รบั รู้และให้ข้อเสนอแนะต่อรูปแบบการสื่อความหมายที่พัฒนาขึ้นก่อนที่จะนาไปใช้จริง เพราะเมื่อชุมชนเข้าใจ
และยอมรับแผนการสื่อความหมายแล้ว การบริหารจัดการโครงการก็จะง่ายข้ึน และทาให้ท้องถ่ินสามารถ
รองรบั กจิ กรรมส่อื ความหมายให้เปน็ ไปตามท่ีเรามุ่งหวังได้

คีรีบูน จงวุฒิเวศย์ และคณะ (2557) ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแบบ
มีส่วนร่วมกับชุมชนโดยใช้พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ินเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์
เปน็ รูปแบบท่ีใชก้ จิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีใหค้ วามสาคัญกบั การสง่ เสริมการเรยี นรู้ ซึง่ คานงึ ถงึ การสร้างความสัมพนั ธ์
อันดีระหว่างแหล่งเรียนรู้กับชุมชน โดยการเชื่อมโยงเน้ือหาท่ีจัดแสดงในแหล่งเรียนรู้นั้นๆ กับองค์ความรู้และ
วัฒนธรรม วิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นชุมชนท่ีแหล่งเรียนรู้นั้นต้ังอยู่มีวิธีการเรียนรู้ที่หลากห ลายเพื่อให้
สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้เรียนหรือกลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลายของช่วงวัย ความต้องการหรือความ
สนใจที่แตกต่างกัน มีการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ครอบคลุมทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย เพื่อ
นาไปสู่การเรียนเพ่ือรู้ เพื่อปฏิบัติได้จริง เพื่อการอยู่ร่วมกัน และเพ่ือนมนุษย์ที่สมบูรณ์ รูปแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยใช้พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้
เชิงสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 1.หลักการข้อตกลงนิยาม 1)การเรียนรู้ตลอดชีวิต หมายถึง การรับรู้ ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ซึ่งสัมพันธ์กับวิถีชีวิตหรือการดาเนินชีวติ ของแต่ละบุคคล ตั้งแต่เกิดจนตาย โดยสามารถจะ
เรียนรู้ด้วยวิธีต่างๆ อย่างมีระบบหรือไม่มีระบบ โดยต้ังใจหรือโดยบังเอิญ อันก่อให้เกิดกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงทางความคิด จิตใจ และทักษะทางร่างกาย ให้เป็นไปในทางท่ีดีข้ึนในทุกช่วงชีวิต โดยมีเป้าหมาย

21

การเรียนรู้ เพ่ือให้รู้ เพื่อทาได้ เพื่อการใช้ชวี ติ ร่วมกบั ผู้อน่ื และเพ่ือความเปน็ คนที่สมบูรณ์ 2)การมีส่วนร่วมของ
ชุมชน หมายถึง การเข้าร่วมโดยสมัครใจของกลุ่มหรือบุคคลในกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงของชุมชน ในฐานะผู้
ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ วางแผน ร่วมดาเนินการโดยร่วมทา ร่วมแรง ทรัพย์สินของ ร่วมติดตามประเมินผล และ
ร่วมรับผลประโยชน์ 3)การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ และประสบการณ์แก่
ผ้เู รียน เพ่ือให้ผู้เรียนมคี วามสามารถในการจินตนาการ สารวจ สังเคราะห์ เช่ือมโยง ค้นหา เกิดแนวคิดใหม่ๆ
อันนาไปสู่การคิดค้นและสร้างส่ิงแปลกใหม่ หรือการนาไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติโดยใช้วิธีการคิดที่
คล่องแคล่ว เป็นความคิดใหม่ริเริ่ม มีความยืดหยุ่น และให้ผลที่เป็นประโยชน์ 2.ข้ันตอนการพัฒนารูปแบบ
ประกอบด้วย 1)การวางแผนร่วมกับชุมชน 2)ศึกษาสภาพพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน 3)พัฒนา
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ 4)ดาเนินกิจกรรม ประเมินและสรุปผล และ5)นาเสนอเพื่อรับฟัง
ขอ้ คิดเห็นและเผยแพร่ 3.ปัจจยั การนารูปแบบไปใช้ ปัจจัยภายใน ได้แก่ 1)องค์ความรู้ ข้อมูลของส่ิงท่ีจัดแสดง
2)การบริหารจัดการ และ 3)การมีส่วนร่วมของคนในท้องถ่ิน ปัจจัยภายนอก ได้แก่ การให้ความสาคัญของ
หน่วยงานต่างๆ พี่จะใช้ประโยชน์จากพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 4.เงื่อนไขการนารูปแบบไปใช้ 1)
ความเหมาะสมของสถานท่ีและสภาพแวดล้อม 2)ทัศนะต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3)การสร้างเครือข่ายการ
เรียนรู้ 4)การประสานงานและระดมทรัพยากร และ 5)อิสระในการสร้างสรรค์กิจกรรม 5.ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ
ได้แก่ ความแปลกใหม่ของกิจกรรม ความหลากหลาย สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชน เป็นประโยชน์ การมีส่วน
ร่วมทุกขั้นตอน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 6.ความย่ังยืน ความสามารถในการขยายผล การยอมรับ การระบุ
กจิ กรรมในแผนการทางานของชมุ ชน มกี ารจดั กจิ กรรมตามประเพณอี ย่างต่อเนื่องเป็นประจา

ณรงค์ อุ้ยนอง และคณะ (2550) โครงการพัฒนาครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้นาชุมชนเพื่อพัฒนา
หลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน ผลการศึกษาพบว่า ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้นาชุมชนมีความรู้
และทักษะในการพัฒนาหลักสูตร จัดแหล่งเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ แต่ยังขาดความสามารถ ความมั่นใจและ
กระบวนการในการจัดการ จาเป็นจะต้องพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้นาชุมชนที่มีคุณลักษณะ
เหมาะสม เป็นแบบอย่างและเป็นแกนนาแก่ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผนู้ าชุมชนอนื่ ๆ ใชก้ ระบวนการวิจัย
พัฒนาแบบมีส่วนร่วมระดับทรัพยากรท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินมาร่วมกันพัฒนาการศึกษา เช่น สถาบันอุดมศึกษา
หน่วยงานทางการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายหลักคือ
สนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระจายอยู่ทั่วไปในท้องถิ่น ทั้งนี้ให้ยึดหลักแนวการจัด
การศึกษาตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษา พ.ศ.2542 ข้อเสนอแนะการพัฒนาครู บุคลากรทางการศกึ ษาและผู้นา
ชุมชน เพื่อพัฒนาหลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน จากการศึกษาในครั้งนี้ควรมีการดาเนินงานที่สาคัญ คือ
1)การปรบั กระบวนทัศน์ในการดาเนนิ งานจัดการศึกษา 2)การฝกึ อบรมกระบวนการศึกษาภูมิปัญญาและแหล่ง
เรียนรู้ในท้องถ่ิน 3)ฝึกอบรมกระบวนการการจัดการความรู้ 4)ฝึกอบรมกระบวนการการพัฒนาภูมิปัญญาและ
แผนการจดั การเรียนรู้ 5)การพัฒนาภูมิปัญญาและแหลง่ เรยี นรู้ในท้องถิ่นให้เป็นเครื่องช่วยในการจัดการศึกษา

22

ได้อยา่ งแท้จริง 6)สนับสนนุ ให้ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผู้นาชุมชนศึกษาวิจยั เพ่อื การพัฒนาหลักสูตร การ
จัดการเรียนรู้ การใชภ้ ูมิปัญญาและแหล่งเรยี นรู้ในทอ้ งถน่ิ เป็นเครือ่ งมอื ช่วยจัดการศกึ ษา

วรรณพร ตุลยาพร (2554) การพัฒนามัคคุเทศก์อาชีวศึกษา โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาใน
ท้องถ่ิน ผลการศึกษาพบว่า นักศกึ ษากลุ่มนาร่อง หลงั จากได้เข้าสู่กระบวนการการพัฒนามัคคุเทศกอ์ าชวี ศกึ ษา
ศักยภาพมัคคุเทศก์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความรู้ คุณลักษณะด้านวิชาชีพอยู่ในระดับดี ท้ังการใช้
ภาษา ความรู้เก่ียวกับสถานที่ท่องเที่ยว มีบุคลิกภาพที่ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส ส่วนโปรแกรมนาเที่ยวในกรุงเทพฯ
และสุพรรณบุรี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ในเร่ืองสถานท่ีท่องเที่ยวน่าสนใจ การดูแลของมัคคุเทศก์และการ
จดั กจิ กรรมมคี วามสนุกสนาน โปรแกรมนาเท่ยี วเหมาะสมภายใน 1 วนั และเหมาะสมกบั นักท่องเที่ยว จานวน
40 คน ทั้งนี้เพราะแหล่งท่องเที่ยวมีความน่าสนใจเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา ประเพณีและวัฒนธรรม การ
ดาเนินวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ิน และมัคคุเทศก์อาชีวศึกษาทุกคน บริการด้วยไมตรีจิตท่ีดีงามสามารถสร้าง
บรรยากาศให้ผู้เข้าร่วมประเมินพึงพอใจไม่ว่าจะเป็นการจัดกิจกรรมนันทนาการซึ่งผู้สูงอายุสามารถร่วมเล่น
กิจกรรมได้อย่างสนุกสนาน ทาให้นักท่องเท่ียวและผู้เข้าร่วมประเมินมีความพึงพอใจ โดยในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก

แสวง ดาปะ และคณะ (2557) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้อาหารท้องถ่ินเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร
บ้านศรีเจริญ ตาบลเลยวังไสย์ อาเภอภูหลวง จังหวัดเลย ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบและความรู้ที่ได้
นามาสู่การถ่ายทอดความรู้ในแหล่งเรียนรู้อาหารท้องถ่ิน ได้แก่ ผู้รู้ ความรู้ การส่ือสาร ผู้เรียนรู้ การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม องค์ความรู้ของชุมชน ได้แก่ การอนุรักษ์สายพันธ์ุข้าวพ้ืนบ้าน การฟื้นฟูผักพ้ืนบ้าน
อาหารท้องถิ่น การสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนท้องถิ่น การสร้างการเรียนรู้อาหารท้องถ่ินระดับ
ครัวเรือน สมุนไพรท้องถ่ินไทเลย และการพึ่งตนเองทางด้านอาหารของชุมชน การพัฒนาศูนย์เรียนรู้อาหาร
ท้องถิน่ เพ่อื สรา้ งความมั่นคงทางอาหารบา้ นศรีเจริญน้นั ทาได้ ดงั น้ี 1.เกิดการพฒั นาทงั้ ในตัวของศูนย์การเรยี นรู้
ได้มีการพัฒนาในทางท่ีเป็นการพัฒนาสิ่งที่เป็นของจริง ข้อมูล ส่ือและสามารถท่ีจะถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน
โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนส่วนท่ีเป็นจริงคือในพ้ืนท่ีศูนย์ไม่มีจุดท่ีให้เรียนรู้เร่ืองผักพ้ื นบ้าน เช่น ผักกูด
ผักหนาม ผักกานจอง ผักขี้นาค เพล้ียฟาน จุดการขยายพันธุ์ผักพ้ืนบ้าน การอนุรักษ์ จี่นาย ด้านการพัฒนา
อาหารท้องถิ่นมีการพัฒนาทีมวิจัยให้สามารถอธิบายส่วนเป็นข้อมูลในสูตรอาหารท้องถ่ินให้มีการถ่ายทอดให้ผู้
ทมี่ าเรียนรู้ได้โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนในชุมชน 2.ส่วนแนวทางท่ีจะพัฒนาศูนย์การเรียนรู้อาหารท้องถิ่นเพื่อ
สร้างความมั่นคงทางดา้ นอาหารให้เป็นการพัฒนาท่ีมกี ารพัฒนาให้กว้างออกไปยังชุมชนอ่ืนและบคุ คลทั่วไปทีม
วิจัยพบว่าควรให้มีการทาสื่อเพ่ือใช้ในการถ่ายทอดเรื่องราวที่จะได้ให้มีการตระหนักถึงความสาคัญท่ีจะมี การ
ร่วมการรักษาดูแลสิ่งที่อยู่ในชุมชนทั้งที่เป็นการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในทางการประชาสัมพันธ์หรือนาข้อมูลที่
มีอย่แู ละศึกษาได้ถกู ถา่ ยทอดให้มีการเรียนรู้ 3.ด้านการศึกษาเพ่อื สร้างความมนั่ คงทางด้านอาหารพบวา่ อาหาร
ทุกวันนี้ สถานการณ์อาหารในชุมชนทีมวิจัยได้ศึกษาและสรุปร่วมกันคือ อาหารธรรมชาติลดลง การแบ่งปัน
อาหารลดลง มีร้านอาหาร รถขายอาหาร อาหารหายาก อาหารแพง มีตลาดนัด ซื้ออาหารกิน อาหารท่ีขายมี

23

การแยกประเภทมากขึน้ มีคนป่วยจากระบบการกินอาหารเพิ่มมากข้ึน วัฒนธรรมการกินอาหารเปลี่ยนไป คน
ในชุมชนทาอาหารขายมากกว่าเอามากิน ซึ่งพบว่าส่ิงท่ีศึกษานี้ยังมีผลกระทบในชุมชน คือ คนป่วยจากการกิน
มากข้ึน เป็นหน้ี มีการใช้สารเคมี ครอบครัวต้องแยกย้าย ต้องจ้างแรงงาน ค่าแรงสูง ทีมวิจัยพบว่าส่ิงสาคัญ
อยา่ งย่งิ ท่จี ะต้องมีการสร้างความมนั่ คงทางดา้ นอาหารโดยการมองเหน็ ศูนยเ์ รียนรู้อาหารท้องถ่นิ เป็นแนวทางท่ี
จะสรา้ งความม่นั คงทางดา้ นอาหารใหช้ ุมชนได้มีจุดแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ได้แบบยงั่ ยนื

การจัดการเรยี นรซู้ ึ่งแบ่งเปน็ กจิ กรรมการจัดนิทรรศการในศูนย์เรยี นรู้ 9 จดุ ดังน้ี 1.ฐานการเรียนรู้เร่ือง
การอนุรักษ์สายพันธุ์ข้าวพื้นบ้ านที่เป็นพันธุ์ข้าวที่มีมาตั้งแต่บ รร พบุรุษและเป็น ข้าวท่ีกาเนิดสายพันธุ์อยู่ท่ี
จังหวัดเลยชื่อเข้าแดงเมืองเลยซึ่งมีความหอมมากปัจจุบันเข้าสายพันธ์ุนี้จะหายไปหมดจากจังหวัดเลยแล้วก็ว่า
ได้ยังมีการรักษาสายพันธุ์อยู่ท่ีศูนย์บ้านศรีเจริญแห่งเดียวเท่านั้นทีมวิจัยจึงได้จัดนิทรรศการเพื่อเป็นแหล่ง
เรียนรู้ในชุมชน 2.ฐานการเรียนรู้เร่ืองการฟื้นฟูผักพื้นบ้านท่ีมีอยู่ในชุมชน เช่น ผักข้ีนาค เหลอื งบ่หล่น ป่องฟ้า
ทีมวิจัยเห็นว่าควรได้มีจุดท่ีจะพัฒนาแหล่งเรียนรู้ผักพื้นบ้านที่จะขยายและยกระดับให้คนในชุมชนได้มีการ
เรียนรู้และสามารถสร้างรายได้จากการนาไปปรับใช้ในการสร้างรายได้เสริมให้กับครัวเรือน 3.ฐานการเรียนรู้
การทาอาหารแบบหลามทีมวิจัยเห็นพร้อมกันว่าการทาอาหารแบบหลามน้ีปัจจุบันจะไม่ค่อยทากันมากนักจึง
ต้องมีการทานิทรรศการเพื่อให้คนในชุมชนได้มาแลกเปล่ียนเรียนรู้ท้ังเด็กและเยาวชนได้ทดลองทาโดยทีมวิจัย
ได้มอบให้นายทะวี พรมวัน ทีมวิจัยได้ให้คาแนะนาด้วย 4.ฐานการทาเมนูอาหารท้องถ่ินเพ่ือให้เกิดการมีส่วน
ร่วมทีมวิจัยได้ช่วยกันคิดเมนูอาหารที่จะจัดนิทรรศการให้มีการเรียนรู้และพัฒนาอาหารท้องถิ่นให้เป็นที่สนใจ
ของคนในชุมชนและชุมชนอื่นด้วยจึงได้นาเอาอาหาร 9 สูตรมาทานิทรรศการเรียนรู้ 5.ฐานการพัฒนาแหล่ง
เรียนรู้อาหารท้องถิ่นศูนย์เรียนรู้บ้านศรีเจริญนั้นเป็นแหล่งที่คนในชุมชนได้ทาอยู่ทากินทีมวิจัยมีการลง
ความเห็นว่าให้มีการพัฒนาอาหารท้องถิ่นท่ีออกตามฤดูกาลในศูนย์ให้เป็นที่รู้จักและสร้างกติกาในการใช้
ประโยชน์ 6.ฐานการจัดการน้าอาหารท้องถน่ิ และความม่ันคงทางด้านอาหารน้ันทีมวิจัยได้เห็นความสาคญั ของ
น้าเป็นลาดับแรกอาหารท้องถิ่นบางอย่างถ้าขาดน้าแทบจะไม่มีให้คนในชุมชนกินเลยจึงได้จัดการน้าท้ังใน
ครัวเรือนและแหล่งธรรมชาติ 7.ถามพัฒนาแหล่งเรียนรู้อาหารท้องถิ่นระดับครัวเรือนทีมวิจัยได้เห็นตรงกันว่า
ครัวเรือนที่มีการทาสิ่งท่ีสร้างความม่ันคงทางอาหารให้กับครอบครัวน้ันควรท่ีจะได้เป็นแหล่งเรียนรู้เช่น
ครอบครัวตาวิราชข้อยจอหอ 8.ฐานการเรียนรู้เรื่องสมุนไพรศูนย์บ้านศรีเจริญเป็นอีกแหล่งท่ีพัฒนาอาหาร
ท้องถิ่นที่เป็นประโยชนท์ างสมุนไพรทีมวิจยั ได้ยกระดับภูมิปัญญาท้องถนิ่ โดยการกินขา้ วเปน็ หลกั กินผักเปน็ ยา
กนิ ปลาเป็นอาหาร จึงจัดนิทรรศการและมีการสรา้ งรายได้เสริมโดยการปลูกผกั สมุนไพร ฝาง รางจดื และมีการ
แปรรูปของชุมชนเปน็ สมุนไพรขายเป็นรายได้เสริม09.ฐานการเรียนรู้เรื่องการพึ่งตนเองทางด้านอาหารทีมวิจัย
ได้ตระหนักถึงเร่ืองการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อาหารท้องถิ่นแต่เรื่องของอาหารนั้นต้องมีการพ่ึงตนเองให้ได้ก่อน
โดยได้น้อมนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในครัวเรือนการทาให้พออยู่พอกินพอใช้ความม่ันคง
ทางอาหารท่าในชุมชนได้สร้างความเข้มแข็งโดยการมีส่วนร่วมก็จะพ่ึงตนเองได้ทั้งระดับครัวเรือนและระดับ
ชุมชน ซึง่ ในชมุ ชนมีครัวเรือนต้นแต่ให้ได้เรยี นรู้

24

สรุปไดว้ ่า การจัดรูปแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใชแ้ หล่งเรียนร้ใู นท้องถ่ิน เป็นการส่งเสรมิ การเรียนรู้
ตลอดชีวิต สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างแหล่งเรียนรู้กับชุมชน ชุมชนได้มีโอกาสร่วมคิดร่วมทาในทุก
กระบวนการ ร่วมออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ในแหล่งเรียนรู้ เพ่ือให้เกดิ ความรกั และหวงแหน และควรพัฒนา
คนในชุมชนท่ีมีลักษณะเหมาะสมกบั การเป็นแกนนา เปน็ แบบอย่างให้กบั คนในชุมชน ถ่ายทอดเรื่องราวทจ่ี ะให้
มคี วามตระหนักร่วมกันพัฒนาแหล่งเรียนรใู้ นท้องถิ่น ทาให้ชุมชนเข้มแข็งย่ังยืนพ่ึงพาตนเองได้ โดยใช้แหล่ง
เรยี นรู้ในท้องถนิ่ พัฒนาคนในชุมชนให้มีศักยภาพสามารถบรหิ ารจดั การได้ดว้ ยตนเอง

4. แนวคิดเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรู้โดยใชแ้ หลง่ เรียนรู้

แหล่งเรียนรู้หมายถึงแหล่งรวมข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางประวตั ิศาสตร์ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เทคโนโลยีสารสนเทศ กิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆ ท่ีส่งเสริมให้นักท่องเท่ียวและผู้มาเยือนสามารถหา
ความรู้ได้อย่างมีความสุขอันเกิดจากการได้สัมผัสประสบการณ์ตรงโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้อย่างอิสระ และ
บรรยากาศทเี่ ป็นมติ ร

ประเภทของแหลง่ การเรียนรู้
สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2547 : 3-4) ไดจ้ ัดประเภทแหลง่ เรียนร้ไู ด้ 2 รูปแบบ คือ
1. จัดตามลกั ษณะของแหล่งการเรยี นรู้ ได้แก่

1.1 แหลง่ การเรยี นร้ตู ามธรรมชาติ เช่น แม่น้า ภูเขา ป่าไม้ ลาธาร กรวด หิน ทราย ชายทะเล
เปน็ ตน้

1.2 แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด ประชาชน
สถาบันการศึกษา สวนสาธารณะ ตลาด บ้านเรอื น ที่อยู่อาศัย สถานประกอบการ เป็นตน้

1.3 บุคคล เป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีถ่ายทอดความรู้ความสามารถ คุณธรรม จรยิ ธรรม การสืบ
สานวฒั นธรรม และภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เช่น นักคดิ นักประดิษฐ์ และผู้มคี วามคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์

2. จัดตามแหล่งทีต่ ง้ั ของแหลง่ การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่
2.1 แหล่งการเรยี นรใู้ นโรงเรยี น คอื ครู อาจารย์ ห้องปฏบิ ัติการต่างๆ
2.2 แหล่งการเรียนรู้ในท้องถ่ิน ครอบคลุมท้ังด้านสถานท่ีและบุคคล ซึ่งอาจอยู่ในท้องถิ่น

ใกลเ้ คยี งโรงเรยี น ทอ้ งถน่ิ ที่โรงเรียนพาผู้เรียนไปเรียนรู้

สุมน อมรวิวัมน์ (2544 : 25) จาแนกประเภทแหลง่ การเรียนรูไ้ ว้ 4 ประเภท คอื
1. แหล่งการเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ บุคคลท่ัวไป ทอ่ี ยู่ในท้องถิ่นซ่ึงสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับ
ผู้เรียนได้ เช่น ชาวนา ชาวสวน ชาวไร่ ช่างฝีมือ พ่อค้า นักธุรกิจ พนักงานบริษัท ข้าราชการ ภิกษุสงฆ์ ศิลปิน
นักกฬี า เป็นต้น
2. แหล่งการเรียนรู้ประเภทส่ิงที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ สถานท่ีสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์
โบราณสถาน สถาบันทางศาสนา พิพิธภัณฑ์ สถานท่ีราชการ ห้องสมุดตลาด ร้านค้า ห้างร้าน บริษัท ธนาคาร
โรงมหรสพ โรงงานอตุ สาหกรรม ถนน สะพาน เข่ือน ฝายทดน้า สวนสาธารณะ สนามกีฬา สนามบนิ เปน็ ตน้

25

3. แหล่งการเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ภูเขา ป่าไม้ พืช ดิน หิน แร่ ทะเล เกาะ แม่น้า
หว้ ย หนอง คลอง บึง น้าตก ทุ่งนา สัตว์ป่า สัตว์น้า เป็นต้น

4. แหล่งการเรียนรู้ประเภทกิจกรรมทางสังคม ประเพณี และความเช่ือม ได้แก่ ขนบธรรมเนียม
ประเพณีพ้ืนบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพ้ืนบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น ศิลปะพ้ืนบ้าน ดนตรี พื้นบ้าน วิถีชีวิต
ความเปน็ อยู่ เปน็ ตน้

การจัดการเรียนร้โู ดยใชแ้ หลง่ การเรียนรู้
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2548:16) กล่าวว่า ลักษณะสาคัญของการใช้แหล่งเรียนรู้
ประกอบดว้ ย องค์ประกอบสาคัญ 6 ประการดงั ต่อไปน้ี
1. ผเู้ รียนได้ปฏิบตั จิ ริง ค้นควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง
2. ผู้เรียนได้ฝึกทางานเป็นกลุ่มร่วมคิดร่วมแก้ไขปัญหาต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้และทักษะ
กระบวนการตา่ งๆ
3. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสังเกตการณ์ เก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความและการสรุป
ความคดิ แกป้ ญั หาอย่างเปน็ ระบบ
4. ผเู้ รยี นไดป้ ระเมินผลการทางานด้วยตนเอง
5. ผูเ้ รยี นสามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปประยกุ ต์ใชแ้ ละเผยแพรค่ วามรู้ได้
6. ผสู้ อนเป็นท่ีปรกึ ษา ใหค้ วามรู้ ให้คาแนะนา และให้การสนบั สนนุ
ดังน้ัน การสร้างแหล่งท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้จึงเป็นการสร้างการเรียนรู้ที่ใช้แหล่งการเรียนรู้ใน
ทอ้ งถิ่น เป็นสถานทีถ่ ่ายทอดความรดู้ ้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน
ปราชญ์ชาวบ้าน วิถีถ่ิน และทรัพยากรอื่นๆ ที่มีตามบริบทของท้องถิ่น โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับ
นกั ทอ่ งเท่ียวและผู้มาเยือน ผา่ นการถ่ายทอดโดยนกั ส่ือความหมาย คูม่ ือ ป้ายสื่อความหมาย การสาธติ และให้
นักทอ่ งเท่ียวและผมู้ าเยือนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ เพอ่ื ให้เกิดการเรยี นร้จู ากการสัมผัสประสบการณต์ รง

บรรพต พิจิตรกาเนิด และคณะ (2556) การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้แหล่งข้อมูล
วัฒนธรรมเป็นฐานในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการรู้สารสนเทศและความตระหนักในวัฒนธรรมไทยของนักศึกษา
หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ผลการศึกษาพบว่า 1)การจัดการเรียนการสอน
แบบผสมผสานโดยใช้แหล่งข้อมูลวัฒนธรรมเป็นฐานในการเรียนรู้ สามารถพัฒนาการรู้สารสนเทศและความ
ตระหนักในวัฒนธรรมไทยแก่ผู้เรียนได้ 2)การรู้สารสนเทศของกล่มุ ตัวอยา่ งพบวา่ มีพัฒนาการที่สูงข้ึนโดยการรู้
สารสนเทศอยู่ในระดับมาก 3)ความตระหนักในวัฒนธรรมไทยของกลุ่มตัวอย่างพบว่ามีพัฒนาการท่ีสูงขึ้นโดย
ความตระหนกั ในวฒั นธรรมไทยอยูใ่ นระดับมาก

เรียม พุ่มพงษ์เทพ และคณะ (2555) การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติเป็นแหล่งเรียนรู้ ผลการศึกษาพบว่า 1.รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเป็น
แหล่งเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้นประกอบด้วยกระบวนการดังนี้ ขั้นตอน 1 ฝึกอบรม ครู ภัณฑารักษ์ เจ้าพนักงาน

26

พิพิธภัณฑ์และอาสาสมัคร 2 ขั้นตอน คือ 1.ศึกษานอกสถานที่ : พิพิธภัณฑสถาน และโบราณสถาน 2.อบรม
เชิงปฏิบัติการ : การเขียนแผนจัดการเรียนรู้ การใช้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเป็นแหล่งเรียนรู้ ขั้นตอน 2 ครู
ภัณฑารักษ์ เจ้าหน้าท่ีพิพิธภัณฑ์ อาสาสมัคร จัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนระดับปฐมวัย ประถมศึกษา
มัธยมศึกษา โดยใช้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเป็นแหล่งเรียนรู้ ข้ันตอน 3 ครู ภัณฑารักษ์ เจ้าหน้าที่พิพิธภัณฑ์
อาสาสมัคร จัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา โดยใช้พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติเป็นแหล่งเรียนรู้การจัดการเรียนรู้ 2.การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเป็นแหล่งเรียนรู้ ผลการประเมินพบว่า 2.1 นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ได้ตาม
จุดประสงค์ในแผนการจัดการเรียนรู้ทุกระดับช้ันตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ร้อยละ
87.50 -95.00 ทักษะการเรียนรู้อยู่ระดับมาก 2.2 ครูมีความพึงพอใจต่อรูปแบบจัดการเรียนรู้ในระดับมาก
86.66-96.66 2.3 ภัณฑารกั ษ์ เจ้าหน้าที่พิพิธภัณฑ์ และอาสาสมคั รมีความพึงพอใจต่อรปู แบบจัดการเรียนรู้ใน
ระดับมาก มีจานวนร้อยละ 95.00-97.50 2.4 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบจัดการเรยี นรู้ในระดับมาก มี
รอ้ ยละ 92.50-98.00

วีระศักด์ิ คาล้าน (2552) การปฏิบัติการพัฒนาใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน จัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการสอนบูรณาการช่วงชั้นของโรงเรียนบ้านหนองตาปู่ อาเภอ วารินชาราบ สังกัด
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 ผลการศึกษาพบว่า 1.ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า
ค่าเฉล่ียความรู้ความเข้าใจในการเรียนวิทยาศาสตร์โดยการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ก่อนเรียนและหลังเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าเฉล่ีย
หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน 2.ด้านทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ พบว่า นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6 มี
คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท้ัง 8 ทักษะ โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 3.ด้านเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ พบว่า เจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีคะแนนโดยเฉล่ียอยู่ใน
ระดับมาก

สถาพร ภูทองก้าน และคณะ (2555) กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ร่วมกับการเรียน
แบบร่วมมือ เร่ือง ชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของ
นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ผลการศึกษาพบว่า 1.กระบวนการจัดการเรยี นรู้โดยใช้แหลง่ เรียนรรู้ ว่ มกับการ
เรียนแบบร่วมมือที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ ขั้นสารวจ ข้ันจัดกิจกรรม ขั้นประเมินผล ข้ันอนุรักษ์
ข้นั ประยุกต์ความรู้และเผยแพรผ่ ลงาน 2.นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเรียนดว้ ยกระบวนการจัดการเรียนรู้
โดยใช้แหล่งเรียนรู้รว่ มกับการเรียนแบบร่วมมือ มีคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 3.นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียนด้วยกระบวนการ
จดั การเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรยี นรู้รว่ มกับการเรียนแบบร่วมมือ มีคะแนนเจตคติต่อวทิ ยาศาสตรห์ ลังเรียนสงู กว่า
กอ่ นเรยี นอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05

27

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนสถานศึกษาควรทาความร่วมมือกับชุมชน บูรณาการการเรียน
การสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ใช้ศิลปวัฒนธรรมเป็นการฐานในการเรียนรู้ เป็นการส่งเสริมและสร้าง
ความตระหนักรักศิลปวัฒนธรรมของบ้านเกิด ท้ังน้ีผู้ที่ดูแลแหล่งเรียนรู้นั้นควรได้รับการอบรมการศึกษานอก
สถานท่ี การเขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ ควรมีความรู้เก่ียวกับแหล่งเรยี นรู้เป็นอย่างดี เพื่อที่จะสามารถอธิบาย
เรอื่ งราวภายในแหลง่ เรยี นร้ใู หก้ บั นักเรยี น นักศึกษา และผมู้ าเย่ียมชมไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ และนา่ สนใจ

5. แนวคดิ เรื่องการสอื่ ความหมาย

การส่ือความหมายเป็นรูปแบบหนึ่งของการส่ือสารโดยมีเป้าหมายให้ผู้คนที่เข้าไปในพ้ืนที่แหล่ง
ท่องเท่ียวได้เรียนรู้เร่ืองราวที่เขาได้พบเห็น และเนื่องจากธรรมชาติวิถีวัฒนธรรมพูดไม่ได้ นักส่ือความหมายถึง
พยายามหาคาอธิบายและสร้างเครื่องมือต่างๆ ข้ึนมาเพื่อช่วยในการอธิบายเป็นการเปิดเผยเรื่องราวของ
ธรรมชาติและวัฒนธรรมในแง่มุมตา่ งๆ แก่ผคู้ นท่ีเขา้ ไปสมั ผัส

งานส่ือความหมายจะมีความสาคัญมากสาหรับการท่องเที่ยวในพ้ืนท่ีธรรมชาติและวัฒนธรรมสาหรับผู้
ทจ่ี ะนานักเรียน นักศึกษา นักท่องเที่ยวและผู้สนใจท่วั ไป ไปศึกษาในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ ในการออกแบบการ
สือ่ ความหมาย จะต้องสอดคลอ้ งกบั รูปแบบการท่องเทยี่ วหรือการรปู แบบของการเรียนรู้ กล่าวคอื

1) ถ้าเป็นการท่องเที่ยวที่มีเจ้าหน้าที่นาเที่ยวหรือวิทยากร นักสื่อความหมายก็จะหมายถึง
ผู้นาเที่ยว หรือวิทยากร ซ่ึงจะต้องเตรียมแผนในการสื่อความหมายให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้มาเยือน รูปแบบการ
สือ่ สารสามารถเปน็ การสื่อสาร 2 ทาง และสามารถใชก้ จิ กรรมอน่ื ๆ มาประกอบเพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ได้

2) ถา้ เปน็ การท่องเท่ียวด้วยตนเอง นักส่ือความหมายจาเป็นต้องเตรยี มสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ท่ีส่ือ
ไปยังนักท่องเที่ยวเพ่ือให้นักท่องเท่ียวเป็นผู้ใช้เองในระหว่างการเดินทางในพ้ืนที่ท่องเท่ียว สื่ออุปกรณ์เหล่านี้
อาจได้แก่ แผ่นพบั แผน่ ป้ายสอื่ ความหมาย นิทรรศการ คู่มอื หรอื สอ่ื ส่ิงพมิ พข์ นาดเล็กอนื่ ๆ กไ็ ด้

Tilden (1987: 9) กลา่ วถึงหลักการสาคัญของการสอื่ ความหมายไว้ว่า ต้องเช่ือมโยงกับสิ่งที่ปรากฏต่อ
หน้าผู้เรียนหรือเช่ือมโยงประสบการณ์ เป็นการเปิดโลกทรัพยากรท่องเที่ยวโดยมีข้อมูลเป็นพื้นฐาน มีการ
นาเสนอเร่ืองราวเน้นภูมิสังคม กระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และความรักในทรัพยากรท่องเที่ยว ทาให้
ผูเ้ รยี นรู้เหน็ ภาพรวมและสือ่ ต่อประสาทสัมผัสรวมทั้งสมองทุกส่วน และเปน็ กิจกรรมทจี่ ัดไวใ้ ห้เหมาะสมกับการ
เรยี นรู้ของนกั ทอ่ งเทีย่ วแต่ละกลุ่ม

ดังน้ัน นักส่ือความหมายหรือมัคคุเทศก์ชุมชนจึงต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้
ความสามารถ และทักษะในการดาเนินการท่องเที่ยวท้ังด้านบริหารจัดการ การให้บริการ รวมถึงการสื่อ
ความหมายตามหลักการสาคัญดังกล่าว เพื่อให้นักท่องเท่ียวหรือผู้มาเยือนเกิดการเรียนรู้และเห็นคุณค่าทาง
วัฒนธรรม อันจะส่งผลให้เกิดความตระหนัก รัก หวงแหน ร่วมกันฟื้นฟู อนุรักษ์ ร่วมกันถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น
เพื่อใหช้ ุมชนเปน็ แหล่งทอ่ งเทีย่ วเพ่ือการเรยี นรูม้ รดกเชงิ มรดกวัฒนธรรมได้อย่างยัง่ ยืนสืบไป

28

พีรภาส จงตระกูล และคณะ (2561) การต้ังช่ือและการสื่อความหมายของช่ือภาพยนตร์ไทยและช่ือ
ภาษาไทยของภาพยนตร์อเมริกัน ผลการศึกษาพบว่า ช่ือภาพยนตร์ท้ังหมดที่ได้ทาการศึกษาน้ันมีลักษณะของ
แนวคิดหลักหรือกระบวนการในการคิดช่ือหรือต้ังช่ือภาพยนตรใ์ นลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันได้อยู่ 3 ปัจจัยหลักๆ
โดยแนวคิดหลักๆ เหล่านี้คือ 1)ตระกูลของภาพยนตร์ หรือ ฌองร์ (Genre) ของภาพยนตร์ 2)แก่นเรื่องของ
ภาพยนตร์ หรือ ธีม (Theme) ของภาพยนตร์ และ 3)ดารานักแสดงหรือผู้รับบทตัวละครเอกในภาพยนตร์
โดยทั้ง 3 ปัจจัยหลักหรือแนวคิดดังกล่าวที่เป็นแนวคิดหลักหรือเป็นปัจจัยสาคัญในการตั้งช่ือภาพยนตร์เพื่อให้
เกิดการส่ือความหมายหรือเข้าใจความหมายที่ต้องการจะเสิร์ชในชื่อของภาพยนตร์สามารถทาได้ตรง
จุดประสงค์มากยิ่งข้ึน โดยเม่ือใช้ปัจจัยท้ังหลายเหล่านี้จะทาให้สามารถบ่งบอกลักษณะของภาพยนตร์หรือบ่ง
บอกส่ิงสาคัญในภาพยนตร์เพ่ือสร้างความน่าสนใจให้กับผู้ชมภาพยนตร์และสามารถทาให้เกิดการดึงดูดผู้ชม
จากการรับรู้ช่อื ภาพยนตร์และเกิดความสนใจโดยนามาซึ่งการเขา้ ไปรบั ชมภาพยนตร์

สุพฒั นาศิริ แพงพนั ธุ์ (2544) การประกอบสร้างและการสอ่ื ความหมายของการ์ตูนการเมืองไทยในช่วง
รณรงค์การเลือกตั้งท่ัวไป พ.ศ.2544 ผลการศึกษาพบว่า การประกอบสร้างภาพยนตร์การเมืองมี 4 ข้ันตอนคือ
1.การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร 2.การเลือกประเด็นในการนาเสนอ 3.การประกอบสร้างภาพการ์ตูน และ 4.การ
นาเสนอภาพการ์ตูนสู่ผู้รับสาร ซึ่งมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ ปัจจัยภายในได้แก่ประสบการณ์และทัศนคติของ
นักเขียนการ์ตูน ปัจจัยภายนอกได้แก่นโยบายของหนังสือพิมพ์ ภาระหน้าที่ของนักเขียนการ์ตูน และผู้รับสาร
ทั้งนี้การ์ตูนการเมืองไทยในช่วงรณรงค์การเลือกต้ังท่ัวไป พ.ศ.2544 ส่ือความหมายใน 2 ประเด็นคือ ประเด็น
เกี่ยวกับผู้สมัครรับเลือกต้ัง นาเสนอถึงความบกพร่องของผู้สมัครคนสาคัญ สาหรับประเด็นภาพรวมกล่าวถึง
การทางานขององค์กรกลางท่ีดูแลการเลือกต้ังและพฤติกรรมทุจริตของผู้สมัครรับเลือกต้ัง นอกจากน้ีพบว่ามี
การสร้างเอกลกั ษณ์ทางภาพการ์ตูนให้กับนักการเมือง คือนายชวน หลีกภัย และ พ.ต.ท ทักษณิ ชินวัตร ครั้งนี้
พ่ีเอกลักษณ์ทางภาพการ์ตูนของนักการเมืองดังกล่าวมีลักษณะไม่ถาวรจะเปล่ียนแปลงไปตามเหตุการณ์ที่
เกดิ ขึน้

สุเมธ สุวรรณเนตร และคณะ (2556) การคิดสร้างสรรค์ภาพเพ่ือสื่อความหมายของช่างภาพสารคดี
โทรทัศน์ ผลการศกึ ษาพบวา่ (1)กระบวนการคิดสร้างสรรคภ์ าพเพ่ือสือ่ ความหมายของช่างภาพสารคดีโทรทัศน์
ประกอบด้วย การศึกษาและวิเคราะห์บทสารคดี การศึกษาสภาพแวดล้อมสถานที่ถ่ายทา การคิดสร้างสรรค์
ภาพเพ่ือส่ือความหมาย การใช้จังหวะเวลาและโอกาสเพ่ือช่วยในการถ่ายภาพ และการคิดมุมกล้องเพื่อให้ได้
ภาพที่มีความน่าสนใจ (2)การจัดองค์ประกอบภาพสารคดีโทรทัศน์ ยึดเน้ือหาของงานเป็นหลักและส่ือ
ความหมายโดยใช้อารมณ์ของภาพมาก่อนความสวยงาม การจัดแสงและอิงกับธรรมชาติเป็นหลักไม่เกินจาก
ความเป็นจริงและใช้เน้ือหาของงานเป็นหลัก การเลือกใช้อุปกรณ์จะพิจารณาให้สอดคล้องกับลักษณะเนื้อหา
ของงานรวมถึงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานและความถนัดส่วนตัวในการควบคุมอุปกรณ์ของช่างภาพสาร
คดี และ (3)ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการคิดสร้างสรรค์ภาพเพื่อส่ือความหมายมี 2 ส่วน คือ ปัจจัยภายใน ได้แก่ ความรู้

29

พ้ืนฐานและประสบการณ์ และความฉับไวทางความคิดในการสร้างสรรค์ภาพเพ่ือส่ือความหมาย และปัจจัย
ภายนอก ไดแ้ ก่ เพ่ือนรว่ มงาน และสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน

สรุปได้ว่า การสร้างสรรค์ภาพเพื่อใช้สื่อความหมายหรือการต้ังชื่อ ที่สามารถบ่งบอกลักษณะของ
เน้อื หา ง่ายต่อการคน้ หาทางออนไลน์ เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผู้รับชม โดยผสู้ ร้างส่ือ ต้องมกี ารรบั รู้ขอ้ มูล
ศึกษาข้อมูล เลือกประเด็นนาเสนอ สร้างภาพการ์ตูน และนาเสนอภาพการ์ตูนไปยังผู้รับสาร โดยอาศัยปัจจัย
ภายในจากตัวผู้เขยี นหรือผู้สรา้ ง และปจั จยั ภายนอกจากนโยบายหน่วยงาน สภาพแวดลอ้ ม เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ใน
ปจั จุบนั

6. แนวคดิ เกี่ยวกับเครือขา่ ย

หากเรายอ้ นดูรูปแบบการพฒั นาที่ผ่านมาต้ังแต่เร่ิมมีแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติจะเห็นว่า
การพัฒนาประเทศจะอิงเข้ากับแหล่งทุนเงินกู้นอกประเทศ เป็นการพัฒนาท่ีให้น้าหนักความสาคัญกับภาครัฐ
และเน้นให้รัฐมีบทบาทในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจมากกว่าที่ จะให้
น้าหนักกับการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคประชาชนในการจัดการทรัพยากรในท้องถ่ิน ต่อมาใน
ยุคของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ภาพของการกระจายอานาจสู่ท้องถ่ินเริ่มชัดเจนข้ึนพร้อมกับมีแนวคิดเรื่องของ
การพัฒนาประชาสังคม หรือประชาคม (civil society)

ประชาสังคม เป็นองค์กรรูปแบบใหม่ทีเ่ น้นการรวมตัวของประชาชนในทางสร้างสรรค์เป็นลักษณะของ
การเกิดชุมชนรูปแบบใหม่ ท่ีไม่ได้เป็นชุมชนในทางพ้ืนท่ีเท่าน้ัน แต่เป็นการรวมตัวในทางวัตถุประสงค์มากขึ้น
ศ.นพ.ประเวศ วะสี ไดใ้ ห้ความหมายของการเป็นชุมชนไว้ดังนี้ (อ้างในอนชุ าติ พวงสาลี และวิบูรณ์ วสิ ารทกุล,
2541 : 4) ชมุ ชน หมายถึง การทป่ี ระชาชนจานวนหนึ่งมีวัตถุประสงคร์ ่วมกัน มีอดุ มคตริ ่วมกัน หรอื มีความเชื่อ
ร่วมกันในบางเร่ืองมีการติดต่อส่ือสารกัน หรือมีการรวมกลุ่มกัน มีความเอ้ืออาทรต่อกัน มีมิตรภาพ มีการ
เรียนรู้ร่วมกนั ในการปฏิบัตบิ างส่ิงบางอย่าง และมีระบบการจดั การในระดับกลุ่ม ชมุ ชนตามนัยยะน้มี ิไดเ้ กาะกับ
พื้นท่ี หมู่บ้าน ตาบล อาเภอ แต่เป็นเรื่องของการเกาะเกี่ยวกันของกิจกรรม ความคิด อุดมการณ์ และความ
พรอ้ มท่จี ะเรยี นรู้ร่วมกัน

จากแนวคิดด้านประชาสังคมดังกล่าว ผู้วิจัยได้นามาเป็นแนวทางในการสร้างเครือข่าย โดยพยายาม
ผกู พันสมาชิกในพื้นทดี่ ้วยวัตถุประสงคแ์ ละอุดมคติร่วมกันคือ มุ่งใหผ้ ู้มาเยี่ยมเยือนชุมชนโบราณเมืองบางขลังรู้
คณุ ค่าของชุมชนท้องถิน่ อยา่ งรอบด้าน และเน้นกิจกรรมในทางสร้างสรรค์คือ มงุ่ ให้เครอื ข่ายน้ีมีบทบาทรว่ มคิด
รว่ มทา และทดลองปฏิบตั ิงานการท่องเที่ยวของชุมชน รวมถึงร่วมประเมนิ ผลการทางาน นอกจากนี้ ยังหวังว่า
เครือข่ายน้ีจะมีส่วนสร้างโอกาสในการเรียนรู้แก่ผู้มาเยือนชุมชนโบราณเมืองบางขลังแห่งนี้ได้อย่างกว้างขวาง
ตอ่ ไป ทงั้ นักเรียน นกั ศกึ ษา นักทอ่ งเที่ยว และประชาชนทวั่ ไป

30

ภคพนธ์ ศาลาทอง (2546) กระบวนการการจัดต้ังและดาเนินงานของเครือข่ายกองทุนกลาง เขต
จตุจักร กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกเครือข่ายย่อยเป็นเครือข่ายประเภทสนับสนุนทุน ยกเว้น
มูลนิธิบัวสุวรรณซึ่งเป็นองค์กรในโลกเครือข่ายกิจกรรมท่ีเน้นการช่วยเหลือร่วมมือทากิจกรรม และมีเครือญาติ
เป็นสมาชิก สมาชิกเครือข่ายกองทุนกลางประกอบด้วย เครือข่ายออมทรัพย์ เครือข่ายอาชีพ และเครือข่าย
สวสั ดิการ แต่ไม่มเี ครอื ขา่ ยยอ่ ยใดๆ ท่เี ป็นเครือข่ายประเภทความคิด เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ และเครือขา่ ยอานาจ
ต่อรอง นอกจากน้ี แต่ละเครือข่ายย่อยมีมิติสัมพันธ์ของเครือขา่ ยแบบแนวราบทเ่ี น้นความเท่าเทียมกันระหว่าง
ผู้นาและสมาชิกในลักษณะการปรึกษาหารือร่วม มีการกระจายอานาจและโครงสร้างการบริหารงานท่ีชัดเจน
กรรมการของเครือข่ายมาจากการเลือกตั้ง สาหรับวิธีการเสริมสร้างกลุ่มและเครือข่าย พบว่า ข้ันตอนการเกิด
กลุ่มได้ขาดการปลูกจิตสานึกของคนในชุมชน ผู้นาและสมาชิกเครอื ข่ายย่อยให้ตระหนกั ถึงความสาคัญของการ
จัดตั้ง รวมทั้งการมองเหน็ ปัญหาท่ีแท้จริงภายในชุมชน ในส่วนของการดาเนินงานเครือข่ายกองทนุ กลาง พบว่า
มีปัญหาด้านการจัดการที่ไม่สามารถทาให้เครือข่ายกองทุนกลางเจริญเติบโตต่อไปได้ ทั้งนี้เป็นเพราะบุคลากร
ขาดความร่วมมือและความทุ่มเท ขาดประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ สมาชิกขาดความเช่ือม่ันในการ
ดาเนินงานของเครือข่ายท่ีไม่เห็นเป็นรูปประธรรมรวมทั้งขาดเงินทุนสนับสนุนจากภายในและภายนอก จาก
ปัญหาดังกล่าว ผู้จัดการเครือข่ายกองทุนกลางได้ให้ความสาคัญแก่การปลูกจิตสานึกของผู้นาและสมาชิก
เครือข่ายย่อยท้ังหมดอีกครั้งหน่ึง โดยให้ทุกฝ่ายเล็งเห็นความสาคัญของปัญหาที่แท้จริง ซึ่งทาให้เครือข่าย
กองทุนกลางต้องย้อนความคิดและการปฏิบัติกลับไปท่ีจุดเร่ิมต้นอีกครง้ั หนึ่ง โดยใช้วิธีการแก้ปัญหาในรูปแบบ
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมให้ผู้นาและสมาชิกเครือข่ายมีส่วนร่วมมากย่ิงขึ้น ร่วมแก้ปัญหาและปรกึ ษาหารือซ่ึงมี
เครือข่ายกองทุนกลางเป็นพ่ีเล้ียงและคอยแนะนาปรึกษา สาหรับปัญหา อุปสรรคในการดาเนินงาน พบว่า
เครือข่ายกองทุนกลางไม่มีนโยบายหรือแผนแม่บทที่ชัดเจน ปัญหาการเก็บเงินค่าธรรมเนียมสมาชิกและทุน
สนับสนุนกิจกรรมจากภายนอก ผู้นาและสมาชิกเครือข่ายบางคนไม่ทุ่มเทในการทางาน ขาดความรับผิดชอบ
ดังนั้นจากผลการศึกษาโดยภาพรวมพบว่ากระบวนการการจัดตั้งและการดาเนินงานของเครือข่ายกองทุนกลาง
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ไม่มีความสอดคล้องกับกรอบแนวคิดที่ต้ังไว้ ข้อเสนอแนะเพ่ือเสริมสร้างคว าม
เข้มแข็งของเครอื ข่ายกองทุนกลาง คือ การทบทวนการปลูกจิตสานึกด้านการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง
ผู้จัดการเครือข่ายกองทุนกลางหรือนักพัฒนาชุมชน ผู้นาและสมาชิกเครือข่าย ควรร่วมรับผิดชอบแก้ปัญหาท่ี
เกิดข้ึนกับเครือข่ายกองทุนกลางอย่างจริงจัง รวมท้ังสร้างความร่วมมือและมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการของ
การจัดตั้งและการดาเนินงานเครือข่ายกองทุนกลาง มีการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและการเรียนรู้ร่วมกัน
นอกจากนั้น การระดมทุนและประสานงานใช้ทรัพยากรบุคคล วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานท่ี และงบประมาณ
ต้องมีความเหมาะสมซ่ึงเครือข่ายย่อยสามารถใช้ทรัพยากรเหล่าน้ีให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน เพ่ือการพัฒนา
เครือขา่ ยกองทุนกลางอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ศศิวรรณ ทัศนเอ่ียม และคณะ (2559) กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับโดย
การมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับภาคีเครือข่ายในเขตบ้านนาอ่าง และบ้านอ่างคา ตาบลนาตาล อาเภอเต่างอย


Click to View FlipBook Version