ว๒๓๑๘๕ กำรออกแบบเทคโนโลยี ๓ คำอธบิ ำยรำยวิชำ
ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๑ กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
เวลำ ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ
วิเคราะหส์ าเหตุ หรอื ปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธ์ของเทคโนโลยี
กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ เพ่ือเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ระบุ
ปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนาอาชีพ สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์
ข้อมูลและแนวคิดที่เก่ียวข้องกับปัญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ออกแบบวิธีการ
แก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรท่ีมีอยู่
นาเสนอแนวทางการปญั หาให้ผู้อืน่ เข้าใจด้วยเทคนิคหรือวธิ ีการท่ีหลากหลาย วางแผนขัน้ ตอนการทางานและ
ดาเนนิ การแก้ปญั หาอยา่ งเป็นขัน้ ตอน ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรอื ขอ้ บกพรอ่ ง
ทเ่ี กดิ ข้ึนภายใต้กรอบเง่ือนไข พร้อมทง้ั หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา ใชค้ วามรู้
และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไกไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน และ
ปลอดภัยเพือ่ แก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนรู้
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด
เผชิญสถานการณ์การแกป้ ัญหาวางแผนการเรียนรูแ้ ละนาเสนอผา่ นการทากจิ กรรมโครงงาน
เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ พัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ที่ก้าวหน้า จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ
ทักษะในการส่อื สาร ความสามารถในการตดั สินใจ เปน็ ผ้มู ีจติ วิทยาศาสตร์ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมในการ
ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
รหสั ตวั ช้วี ัด
ว. ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕
รวมทงั้ หมด ๕ ตวั ช้วี ัด
โครงสรำ้ งรำยวิชำ
รำยวิชำ กำรออกแบบและเทคโนโลยี ๓ รหสั วิชำ ว๒๓๑๘๕ ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี ๓
จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต
เวลำ ๒๐ ช่วั โมง
จำนวนเวลำ นำ้ หนัก
ท่ี ชื่อหนว่ ย มำตรฐำน สำระสำคญั (ชั่วโมง) คะแนน
กำรเรียนรู้ กำรเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั
๑ ปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ ว ๔.๑ ม.๓/๑ - เทคโนโลยมี กี ารเปลย่ี นแปลง ๖ ๒๕
การเปลีย่ นแปลง ว ๔.๑ ม.๓/๒ ตลอดเวลาต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบนั
ของเทคโนโลยี ซ่ึงมสี าเหตุหรอื ปัจจยั มาจากหลายดา้ น
เชน่ ปัญหาหรือความตอ้ งการของ
มนุษย์
- ความก้าวหน้าของศาสตรต์ ่างๆ
การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
สงั คม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
- เทคโนโลยมี คี วามสัมพนั ธ์กบั ศาสตร์
อนื่ โดยเฉพาะ วิทยาศาสตร์โดย
วทิ ยาศาสตร์เปน็ พน้ื ฐานความรู้
ทีน่ าไปสกู่ ารพฒั นาเทคโนโลยีและ
เทคโนโลยที ่ี ไดส้ ามารถเปน็ เครอื่ งมือ
ทีใ่ ช้ในการศึกษา ค้นคว้า เพอ่ื ให้ได้มา
ซง่ึ องค์ความรใู้ หม่
- ปัญหาหรอื ความตอ้ งการอาจ
พบได้ในงานอาชพี ของชุมชนหรอื
ท้องถ่นิ ซงึ่ อาจมหี ลายด้าน เช่น ดา้ น
การเกษตร อาหาร พลังงาน การขนสง่
- การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ปญั หา
ชว่ ยใหเ้ ข้าใจ เงอื่ นไขและกรอบของ
ปญั หาได้ชดั เจน จากน้นั ดาเนินการ
สบื ค้น รวบรวมขอ้ มลู ความรู้ จาก
ศาสตร์ตา่ งๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง เพ่ือนาไปสู่
การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา
ท่ี ชอื่ หนว่ ย มำตรฐำน สำระสำคญั จำนวนเวลำ น้ำหนกั
กำรเรยี นรู้ กำรเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั (ช่ัวโมง) คะแนน
๒ แนวทางการ ว ๔.๑ ม.๓/๓ - การวเิ คราะห์เปรียบเทียบ และ ๖ ๒๕
แกป้ ญั หา ว ๔.๑ ม.๓/๔ ตัดสนิ ใจเลือก ข้อมลู ที่จาเปน็ โดย
คานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไข
และทรพั ยากร เชน่ งบประมาณ เวลา
ข้อมลู และสารสนเทศ วัสดุ เครอื่ งมอื
และอปุ กรณ์ ช่วยใหไ้ ดแ้ นวทางการ
แกป้ ญั หาทีเ่ หมาะสม
- การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา
ทาได้ หลากหลายวธิ เี ช่น การรา่ งภาพ
การเขียนแผนภาพ การเขยี นผังงาน
- เทคนคิ หรอื วิธีการในการนาเสนอ
แนวทาง การแกป้ ญั หามีหลากหลาย
เชน่ การใช้แผนภูมิ ตาราง
ภาพเคลอ่ื นไหว
- การกาหนดข้ันตอนและระยะเวลา
ในการทางาน กอ่ นดาเนนิ การ
แกป้ ัญหาจะชว่ ยให้การทางาน สาเรจ็
ไดต้ ามเป้าหมาย และลดขอ้ ผิดพลาด
ของการทางานทอ่ี าจเกดิ ข้ึน
- การทดสอบและประเมินผลเป็น
การตรวจสอบ ช้นิ งานหรือวธิ กี ารวา่
สามารถแกป้ ญั หาได้ตาม วัตถปุ ระสงค์
ภายใต้กรอบของปญั หา เพือ่ หา
ขอ้ บกพร่อง และดาเนนิ การปรับปรงุ
โดยอาจ ทดสอบซ้าเพือ่ ใหส้ ามารถ
แก้ไขปญั หาได้
- การนาเสนอผลงานเป็นการ
ถา่ ยทอดแนวคิด เพือ่ ใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจ
เกยี่ วกบั กระบวนการทางาน และ
ท่ี ชือ่ หนว่ ย มำตรฐำน สำระสำคญั จำนวนเวลำ น้ำหนกั
กำรเรียนรู้ กำรเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด (ช่วั โมง) คะแนน
ชนิ้ งานหรือวิธีการทีไ่ ด้ซงึ่ สามารถทา
ได้ หลายวิธเี ชน่ การเขยี นรายงาน
การทาแผน่ นาเสนอผลงาน การจัด
นทิ รรศการ การนาเสนอ ผา่ นส่ือ
ออนไลน์
๓ ความปลอดภยั ใน ว ๔.๑ ม.๒/๕ - วสั ดุแต่ละประเภทมีสมบัติ ๖ ๒๐
การใชเ้ ครื่องมอื แตกตา่ งกนั เช่น ไมโ้ ลหะ พลาสตกิ
พฒั นางาน เซรามิก จงึ ตอ้ งมีการวิเคราะห์สมบตั ิ
เพอื่ เลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับลักษณะ
ของงาน
- การสรา้ งชน้ิ งานอาจใช้ความรู้
เรอื่ งกลไก ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น
LED มอเตอร์ บัชเชอร์ เฟือง รอก ลอ้
เพลา
- อุปกรณ์และเครื่องมือในการ
สรา้ งชนิ้ งาน หรอื พัฒนาวธิ ีการมีหลาย
ประเภท ต้องเลือกใช้ใหถ้ ูกตอ้ ง
เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้งั รจู้ กั
เก็บรักษา
สอบกลำงภำค ๑ ๑๕
สอบปลำยภำค ๑ ๑๕
๒๐ ๑๐๐
รวม
กำรวิเครำะหม์ ำตรฐำน/ตัวชี้วดั เพ่ือจดั ทำคำอธบิ ำยรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์
ระดับชน้ั มัธยมศึกษำตอนตน้ รำยวิชำกำรออกแบบและเทคโนโลยี ๓ (ว๒๓๑๘๕)
ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั ควำมรู้ ทกั ษะกระบวนกำร คณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์
ว. ๔.๑ ม.๓/๑ - วิเคราะห์สาเหตุ - ทักษะการแก้ปัญหา - เหน็ คณุ ประโยชน์
วเิ คราะห์สาเหตุ หรอื ปัจจัยที่ และปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อการ - ทกั ษะการคดิ อย่างมี ของการเรียนวชิ าการ
ส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี วจิ ารณญาณ ออกแบบและ
เทคโนโลยแี ละความสมั พนั ธ์ ได้ - ทักษะการสังเกต เทคโนโลยี และ
ของเทคโนโลยกี ับศาสตร์อนื่ - ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ คานึงถึงความสมั พนั ธ์
โดยเฉพาะวิทยาศาสตรห์ รือ ของเทคโนโลยกี ับ
คณติ ศาสตร์เพอื่ เปน็ แนว ศาสตร์อืน่ เพอ่ื เป็น
ทางการแกป้ ัญหาหรอื แนวทางการแก้ปญั หา
พฒั นางาน แลพฒั นางาน
ว. ๔.๑ ม.๓/๒ - ระบปุ ญั หา หรือความ - ทักษะการแก้ปัญหา - ตระหนกั ถงึ ความ
ระบุปญั หาหรอื ความตอ้ งการ ตอ้ งการในชมุ ชนหรอื - ทักษะการคิดอย่างมี ต้องการของชุมชนหรือ
ของชมุ ชนหรือทอ้ งถ่ิน เพอื่ ท้องถิ่น เพอื่ พัฒนาอาชีพได้ วจิ ารณญาณ ทอ้ งถิ่น เพือ่ พัฒนางาน
พัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบ - ทกั ษะการสงั เกต อาชีพ และคานึงถึง
ของปญั หา รวบรวม วิเคราะห์ - ทกั ษะการนาความร้ไู ปใช้ ความถกู ตอ้ งด้าน
ขอ้ มลู และแนวคดิ ที่เกย่ี วข้อง ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา
กับปญั หา โดยคานงึ ถึงความ
ถกู ต้องด้านทรัพยส์ ินทาง
ปญั ญา
ว. ๔.๑ ม.๓/๓ - ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหา - ทกั ษะการแก้ปัญหา -ตระหนกั ถงึ ผลกระทบ
ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา นาเสนอแนวทางการ
โดยวเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ แกป้ ัญหาด้วยเทคนิคหรอื - ทักษะการคดิ อย่างมี ท่ีเกีย่ วข้องกบั ปญั หา
และตดั สินใจเลือกข้อมูลที่ วธิ ีการท่หี ลากหลายได้
จาเปน็ ภายใตเ้ ง่ือนไขและ วิจารณญาณ และการเปลีย่ นแปลงท่ี
ทรัพยากรทม่ี อี ยู่ นาเสนอ
แนวทางการแกป้ ญั หาใหผ้ ู้อืน่ - ทักษะการสงั เกต เกิดขนึ้ จากเทคโนโลยี
- ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้ และเสนอแนวทางการ
- ทกั ษะการสอ่ื สาร แกไ้ ขปญั หา
มำตรฐำนกำรเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ควำมรู้ ทักษะกระบวนกำร คุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์
เข้าใจดว้ ยเทคนิคหรือวิธีการท่ี
หลากหลายวางแผนขนั้ ตอน
การทางานและดาเนินการ
แก้ปัญหาอย่างเปน็ ขัน้ ตอน
ว. ๔.๑ ม.๓/๔ - อธิบายปญั หาหรอื - ทักษะการแก้ปญั หา -ตระหนักถึงผลกระทบ
ทดสอบ ประเมินผล วเิ คราะห์ ข้อบกพร่องทีเ่ กดิ ขนึ้ พร้อม - ทักษะการคิดอยา่ งมี ท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หา
และให้เหตุผลของปญั หาหรอื ท้ังหาแนวทางการปรบั ปรงุ วจิ ารณญาณ และการเปลย่ี นแปลงที่
ขอ้ บกพรอ่ งที่เกิดข้นึ ภายใต้ แก้ไขและนาเสนอผลการ - ทักษะการสงั เกต เกิดขึ้นและเสนอแนว
กรอบเงอื่ นไข พร้อมทง้ั หา แก้ปญั หาได้ - ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ ทางการแก้ไขปัญหา
แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข - ทกั ษะการสอ่ื สาร และการเปล่ียนแปลงที่
และนาเสนอผลการแก้ปัญหา เกดิ จากเทคโนโลยี
ว. ๔.๑ ม.๓/๕ - อภิปรายเกีย่ วกบั การ - ทักษะการแกป้ ญั หา - เห็นคณุ คา่ และ
ใช้ความรู้และทกั ษะเก่ียวกบั จาแนกประเภทของวสั ดไุ ด้
วสั ดุอปุ กรณ์เครอื่ งมอื กลไก - อธบิ ายเกีย่ วกับการ - ทักษะการคดิ อยา่ งมี คณุ ประโยชนข์ องวัสดุ
ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สใ์ ห้ เลือกใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์
ถกู ตอ้ งกบั ลกั ษณะของงาน และเคร่อื งมอื ต่างๆ ได้ วิจารณญาณ อุปกรณ์ตา่ งๆ
และปลอดภัยเพ่อื แก้ปัญหา
หรอื พฒั นางาน - ทักษะการสังเกต ท่ีเลือกใช้
- ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ - เลือกใช้งานวัสดุ
- ทกั ษะการสือ่ สาร อปุ กรณต์ ่างๆ ไดอ้ ยา่ ง
- ทักษะการทางานร่วมกนั เหมาะสมกับงาน
- ทกั ษะการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1
ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
เวลา 6 ชว่ั โมง
1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด
ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ
พฒั นางานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยี
อย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ว 4.1 ม.3/1 วเิ คราะห์สาเหตุ หรือปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และ
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ
คณิตศาสตร์ เพอ่ื เป็นแนวทางการแกป้ ญั หาหรอื พัฒนางาน
2. สาระการเรยี นรู้
2.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
1) เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัย
มาจากหลายด้าน เช่น ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ
การเปลีย่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ส่ิงแวดล้อม
2) เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน
ความรู้ที่นาไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยีท่ีได้สามารถเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา
คน้ ควา้ เพื่อใหไ้ ดม้ าซงึ่ องค์ความร้ใู หม่
3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ความต้องการของมนุษย์ก็คือ ความอยากได้ ซึ่งเม่ือมนุษย์เกิดความอยากได้ จึงต้องพยายาม
ด้ินรนหาส่ิงที่สามารถตอบสนองความต้องการนั้น ๆ เม่ือร่างกายได้รับการตอบสนองแล้วก็จะเกิด
ความต้องการใหม่ ๆ ขึ้นมาทดแทน ดังน้ัน ความต้องการของมนุษย์จึงเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา นอกจากน้ัน
ความต้องการของมนุษย์ยังทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ คือ การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
การเปล่ียนแปลงด้านสังคม การเปล่ียนแปลงด้านวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีเป็นวิทยาการที่เกิดข้ึนจากการนาความรู้ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ในทุกภาคส่วน ดังน้ัน
เทคโนโลยีจึงเกี่ยวข้องกับการนาความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาหรอื พัฒนางานอาชีพต่าง ๆ ในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ และ เทคโนโลยีท่ีได้จาก
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
1
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ปจั จยั ท่สี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
การพัฒนาสามารถเปน็ เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้า เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ องค์ความรู้ใหม่และนวตั กรรมใหม่
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนองต่อตลาดแรงงาน โดยมุ่งส่งเสริมเทคโนโลยีพ้ืนฐานท้ัง 4 ด้าน
ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์พลังงานและส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยี
สารสนเทศ การสอ่ื สาร และดิจิทลั
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินยั รบั ผดิ ชอบ
- ทักษะการสอื่ สาร 2. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน
- ทักษะการใหเ้ หตุผล
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
- ทกั ษะการแกป้ ญั หา
- ทกั ษะการสังเกต
- ทกั ษะการประยุกต์ใชค้ วามรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
- ทกั ษะการทางานร่วมกนั
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
5. ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั ชีวติ
6. การวดั และการประเมินผล
รายการวัด วธิ ีวัด เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
ประเมินตามสภาพจรงิ
6.1 การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบ
กอ่ นเรียน
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบ
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 กอ่ นเรยี น
เรือ่ ง ปจั จัยท่ีส่งผลตอ่ การ
เปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี
6.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจัด
กจิ กรรม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
2
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
รายการวัด วธิ วี ดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
1) สาเหตุหรอื ปัจจยั - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ท่ีส่งผลตอ่ - ตรวจใบงานที่ - ใบงานท่ี 1.2.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การเปลีย่ นแปลง 1.2.1 - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ของเทคโนโลยี - ตรวจแบบฝึกหัด
2) เทคโนโลยกี บั ศาสตร์ - แบบฝึกหัด รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ต่าง ๆ - ตรวจแบบฝกึ หัด - ใบงานที่ 2.1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
3) ความสมั พันธข์ อง - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
เทคโนโลยกี ับ - ตรวจใบงานที่ 2.1.1
ศาสตร์อืน่ ๆ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
4) การนาเทคโนโลยี - ตรวจแบบฝกึ หัด
ไปสรา้ งนวัตกรรม การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
5) วิธีการสารวจปญั หา - ประเมนิ การนาเสนอ
ในชมุ ชนหรอื ท้องถนิ่ ผลงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
6) ปัญหาหรือ - สงั เกตพฤติกรรม
ความต้องการภายใน การทางาน การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
ชุมชนหรือทอ้ งถน่ิ รายบุคคล
7) การนาเสนอผลงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2
การทางาน การทางานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์
8) พฤตกิ รรมการทางาน กลมุ่
รายบคุ คล - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2
ความรับผดิ ชอบ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์
9) พฤตกิ รรมการทางาน ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มั่น อนั พึงประสงค์
กลุ่ม ในการทางาน
- แบบทดสอบ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
10) คณุ ลักษณะ - ตรวจแบบทดสอบ หลังเรียน
อันพึงประสงค์ หลังเรยี น
6.3 การประเมินหลงั เรียน
1) แบบทดสอบหลังเรยี น
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1
เรื่อง ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
3
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
รายการวัด วธิ ีวดั เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน
การเปลยี่ นแปลงของ
เทคโนโลยี - ตรวจช้นิ งาน/ - แบบประเมนิ ช้นิ งาน/ - ระดบั คณุ ภาพ 2
2) การประเมนิ ชน้ิ งาน/
ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์
7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยี
เรือ่ งท่ี 1: สาเหตหุ รอื ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี เวลา 2 ช่วั โมง
วิธกี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ขน้ั นา
ข้ันที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engagement)
1. ครถู ามคาถามสาคญั ประจาหวั ขอ้ กับนักเรยี นวา่ “ในชมุ ชนทีน่ กั เรียนอาศัยอยู่
มกี ารเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีอย่างไร เพราะเหตุใด”
ขน้ั สอน
ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Exploration)
1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพอื่ สืบคน้ ความหมายของคาว่า
“เทคโนโลยี” และยกตัวอยา่ งเทคโนโลยีในดา้ นต่าง ๆ ทนี่ กั เรียนพบในชีวิตประจาวัน
จากนนั้ ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอพรอ้ มอภปิ รายบริเวณหน้าชั้นเรยี น
ข้ันท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
2. นกั เรยี นศึกษาเนอ้ื หา เรอ่ื ง ปัญหาหรือความตอ้ งการของมนษุ ย์ จากหนังสือเรียน
3. นักเรียนสังเกตวตั ถุดิบปรงุ อาหารในรปู แบบตา่ ง ๆ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์
ทแี่ ตกต่างกนั จากหนงั สอื เรียน
4. นกั เรียนสังเกตปญั หาทีเ่ กิดขึ้นกบั เกษตรกร วิธแี ก้ปัญหา และผลลัพธจ์ ากหนังสือเรยี น
5. นกั เรยี นศึกษาเนอื้ หา เร่อื ง ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ และการเปล่ยี นแปลง
ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสงั คม ด้านวฒั นธรรมจากหนังสือเรียน
6. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซักถามข้อสงสัย และครใู หค้ วามรู้เพ่ิมเตมิ ในสว่ นนน้ั
ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
4
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ปจั จยั ท่ีส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
7. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นทากิจกรรมฝึกทักษะจากแบบฝกึ หดั และสมุ่ นักเรียนออกมา
นาเสนอบรเิ วณหน้าช้นั เรียน
ขน้ั สรุป
ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมนิ ผลโดยการสังเกตการณ์ตอบคาถามและการนาเสนอผลงานของนักเรยี น
2. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ความรูเ้ กีย่ วกบั สาเหตุหรือปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของ
เทคโนโลยี
เรอื่ งที่ 2: ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยกี ับศาสตร์อ่นื เวลา 1 ช่วั โมง
วิธีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ขน้ั นา
ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement)
1. ครถู ามคาถามสาคัญประจาหวั ข้อกับนกั เรยี นวา่ “นักเรยี นเคยเห็นตัวอย่างการนาเทคโนโลยี
เขา้ ไปใชแ้ ก้ปัญหาร่วมกบั ศาสตรใ์ ดบ้าง จงยกตัวอย่างพรอ้ มอธบิ าย”
ขน้ั สอน
ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Exploration)
1. นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 3-5 คน หรือตามความเหมาะสม เพอ่ื สืบค้นว่ามเี ทคโนโลยีใดบา้ ง
ท่ีนาเข้ามาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั และให้นกั เรยี นส่งตวั แทนออกมานาเสนอบริเวณ
หน้าช้นั เรียน
ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
2. นักเรยี นศึกษาเน้ือหา เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยกี บั วิทยาศาสตร์ ความสัมพันธข์ อง
เทคโนโลยีกับคณิตศาสตร์ ความสัมพันธข์ องเทคโนโลยีกบั มนษุ ยศาสตร์ และความสมั พนั ธ์
ของเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์จากหนงั สือเรียน
3. เปิดโอกาสให้นกั เรยี นสืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกับเทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วข้องกับวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
4. จากน้ันครเู ขยี นคาวา่ เทคโนโลยกี บั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีกบั คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีกบั
มนษุ ยศาสตร์ และเทคโนโลยีกับสงั คมศาสตร์ลงบนกระดานหนา้ ช้นั เรียน พร้อมใหน้ กั เรยี น
รว่ มกนั ยกตวั อยา่ งเทคโนโลยใี นชีวิตประจาวันท่เี ก่ยี วข้องกบั วทิ ยาศาสตร์ โดยครูคอยบันทึก
คาตอบของนกั เรียนลงบนกระดานหนา้ ชั้นเรียน
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
5. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามข้อสงสัย และครใู หค้ วามรูเ้ พิม่ เติมในส่วนนนั้
6. ครมู อบหมายให้นักเรียนทาใบงานที่ 1.2.1 เร่อื ง เทคโนโลยีกับศาสตรต์ ่าง ๆ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
5
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
7. ครูสุม่ นักเรียน 2-3 คน ออกมานาเสนอหน้าช้ันเรยี น พรอ้ มกับอภิปรายรว่ มกันในหอ้ งเรยี น
ขน้ั สรปุ
ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคาถามและการนาเสนอผลงานของนักเรยี น
2. ครตู รวจสอบผลการทางานที่ 1.2.1 เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั ศาสตรต์ า่ ง ๆ
3. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรู้เกี่ยวกับความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื
4. ครูมอบหมายให้นกั เรียนทากจิ กรรม High Oder Thinking จากแบบฝกึ หัด
เปน็ การบ้านและนามาสง่ ในชัว่ โมงถดั ไป
เรอ่ื งที่ 3: การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่ เวลา 1 ช่ัวโมง
วิธกี ารสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ขน้ั นา
ขน้ั ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement)
1. ครถู ามคาถามสาคญั ประจาหัวข้อว่า “นกั เรียนคดิ ว่า เทคโนโลยีใหม่ด้านใด สามารถแก้ปัญหา
ในชุมชนหรือท้องถ่นิ ของนักเรียนได้ เพราะอะไร”
ขน้ั สอน
ขน้ั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Exploration)
1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพ่อื สืบค้นวา่ ปจั จบุ นั มเี ทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ประเภทใดบ้างที่นักเรียนสามารถพบในชีวิตประจาวัน และเทคโนโลยีเหล่านั้นชว่ ยให้
เกดิ ประโยชนอ์ ย่างไร จากนั้นครูสุม่ นกั เรยี นออกมาตอบคาถามบรเิ วณหนา้ ชน้ั เรียน
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
2. นกั เรยี นศกึ ษาเน้ือหา เรื่อง การนาเทคโนโลยีไปสร้างนวัตกรรมใหม่จากหนังสอื เรยี น
ข้นั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
3. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสัย และครใู ห้ความร้เู พิม่ เตมิ ในส่วนนนั้
4. ให้นักเรียนทากจิ กรรม High Oder Thinking จากแบบฝึกหดั และสุ่มนักเรียน 2-3 คน
ออกมาตอบคาถามบริเวณหน้าชน้ั เรียน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
6
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
ขน้ั สรปุ
ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลโดยการสังเกตการณ์ตอบคาถามและการนาเสนอผลงานของนกั เรยี น
2. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้เก่ียวกับการนาเทคโนโลยไี ปสร้างนวัตกรรมใหม่
3. นกั เรยี นทากจิ กรรมท่ีสอดคลอ้ งกับเนื้อหา โดยให้ผู้เรียนฝึกปฏบิ ัตเิ พ่ือพัฒนาความรูแ้ ละทักษะ
(Design Activity) และบันทึกลงในสมดุ ประจาตวั
4 นกั เรียนแตล่ ะคนทาแบบฝกึ หัด (Unit Activity) จากหนังสือเรียนเพ่อื ทบทวนความรู้
ความเขา้ ใจ และพฒั นาทักษะการคิดของผเู้ รยี นโดยการตอบคาถามลงในสมุดประจาตวั
5. ครูใหน้ ักเรยี นตรวจสอบระดบั ความสามารถของตนเองจากหนังสือเรียน โดยพจิ ารณาขอ้ ความ
ว่าถกู หรอื ผดิ หากนักเรียนพิจารณาขอ้ ความไมถ่ กู ตอ้ งให้นกั เรยี นกลับไปทบทวนเนอ้ื หา
ตามหัวขอ้ ทกี่ าหนดให้
6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง เทคโนโลยกี ับชวี ิต หรอื ทา
แบบทดสอบ (Unit Test) จากแบบฝกึ หดั เพ่อื วัดความรทู้ ่นี กั เรียนไดร้ ับหลงั จากผา่ น
การเรยี นรู้
7. นักเรยี นทาชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรือ่ ง เทคโนโลยีกับชีวิต และนามาสง่ ในชัว่ โมงถดั ไป
เรอ่ื งท่ี 4: การนาเทคโนโลยไี ปสร้างนวตั กรรมใหม่ เวลา 2 ชว่ั โมง
วิธีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning)
ขน้ั นา
1. ครูถามคาถามสาคัญประจาหวั ขอ้ เพอื่ กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี นวา่ “ในชุมชนทนี่ กั เรียน
อาศยั อยู่มีปญั หาหรอื ความต้องการในดา้ นใดเกดิ ขึ้นบา้ ง เพราะอะไร”
(แนวตอบ : คาตอบของนักเรียนขึน้ อยกู่ บั ดุลยพนิ ิจของครูผ้สู อน เชน่ ปญั หาการเกดิ ภยั แล้ง
ภายในชุมชน เพราะได้รบั ผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีส่งผลกับฤดูกาล จนทาให้
การเกษตรได้รบั ความเสยี หายและผลผลติ เจริญเติบโตไม่ดีเทา่ ท่คี วร)
2. ครูอธบิ ายกับนกั เรยี นเพอื่ เชอ่ื มโยงเข้าสู่บทเรียนว่า“ปัญหาหรือความต้องการภายในชุมชน
หรอื ทอ้ งถน่ิ อาจจะส่งผลตอ่ การประกอบอาชพี ต่าง ๆ ที่มีอยภู่ ายในชุมชนหรอื ทอ้ งถิ่น ดงั น้ัน
การท่จี ะทราบถึงปัญหาหรือความตอ้ งการต่าง ๆ จะต้องอาศยั วิธีการสารวจ เพื่อเกบ็ ขอ้ มูล
ปญั หาจากผู้ทเี่ ก่ยี วข้องมาวเิ คราะหห์ าแนวทางการแก้ปัญหา”
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
7
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
ขน้ั สอน
ขั้นท่ี 1 กาหนดปญั หา
1. นักเรียนแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม
2. ครถู ามคาถามกระตุ้นความคิดของนกั เรยี นวา่ “การสารวจชุมชนหรือทอ้ งถน่ิ สง่ ผลอย่างไร
ตอ่ การแกป้ ญั หาหรือความตอ้ งการภายในชมุ ชนหรือท้องถ่ิน”
(แนวตอบ : คาตอบของนักเรยี นขน้ึ อยู่กับดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน)
3. ครูอธิบายกบั นกั เรยี นเกี่ยวกับการสารวจชมุ ชนหรือทอ้ งถ่นิ วา่ “การสารวจชมุ ชนหรือท้องถนิ่
เปน็ การศึกษาเก่ียวกบั ข้อเท็จจรงิ และสภาพของสังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ความต้องการ
และปญั หาภายในชุมชนทาให้ทราบถึงสาเหตุของปญั หา และหาแนวทางในการปรับปรงุ แก้ไข
ด้วยความรู้ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งมรี ะบบ”
ข้นั ท่ี 2 ทาความเขา้ ใจปัญหา
4. นักเรยี นศึกษาเนอื้ หาเก่ยี วกบั วิธกี ารสารวจปญั หาในชุมชนหรือท้องถ่นิ จากหนงั สือเรียน
รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2
เรือ่ ง เทคโนโลยกี ับการพัฒนางานอาชพี ภายในชมุ ชนหรือท้องถิน่
5. นกั เรียนทาใบงานที่ 2.1.1 เรอื่ ง วิธกี ารสารวจปัญหาในชมุ ชนหรือท้องถิน่
6. ครูสมุ่ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมานาเสนอบรเิ วณหน้าชั้นเรยี น พรอ้ มอภปิ รายร่วมกันภายใน
ชั้นเรียน
ขัน้ ท่ี 3 ดาเนินการศกึ ษาค้นคว้า
7. ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นทากจิ กรรมฝกึ ทักษะกระบวนการคดิ และทบทวนเนือ้ หาอยา่ ง
ครบถว้ นตามตวั ชว้ี ดั จากแบบฝกึ หดั รายวชิ าพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและ
เทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง เทคโนโลยกี ับการพฒั นางานอาชพี ภายใน
ชุมชนหรอื ท้องถิ่น เปน็ การบ้านและนามาสง่ ในชั่วโมงถดั ไป
8. ครทู บทวนเนอื้ หาการเรยี นจากช่ัวโมงทีแ่ ล้วพอสงั เขป
9. ใหน้ ักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันบอกปัญหาในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถิ่นของตนเอง จากการทากิจกรรม
ฝกึ ทักษะในแบบฝกึ หัด โดยครคู อยบนั ทึกคาตอบลงบนกระดานหน้าชน้ั เรยี น
10. ครูอธบิ ายกบั นกั เรียนว่า“ปญั หาหรอื ความต้องการทเ่ี กิดขน้ึ ภายในชุมชนหรือท้องถ่นิ สามารถ
แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ไดด้ งั น้ี
1) ปญั หาดา้ นเศรษฐกิจ
2) ปญั หาด้านสงั คม
3) ปญั หาดา้ นวัฒนธรรม
4) ปัญหาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม”
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
8
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ปัจจยั ท่สี ่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
11. นักเรียนศึกษาตัวอยา่ งเทคโนโลยที ่ชี ่วยแก้ปัญหาในด้านตา่ ง ๆ ภายในชมุ ชนหรอื ท้องถนิ่ จาก
หนังสือเรยี น
12. ครอู ธิบายเกรด็ เสรมิ ความร้ทู ่ีเก่ียวข้องกับเนื้อหา (Design Focus) เรื่อง ปญั หามลพษิ
ส่งิ แวดล้อมโลก
ขั้นท่ี 4 สังเคราะห์ความรู้
13. นกั เรียนและครูรว่ มกันวเิ คราะหค์ าตอบบนกระดานหน้าช้ันเรยี นว่า จัดเปน็ ปัญหาตามประเภท
ใด โดยใช้ปากกาสีต่าง ๆ วงกลมลอ้ มรอบคาตอบ ดงั นี้
1) ปญั หาดา้ นเศรษฐกิจ ใชป้ ากกาสแี ดง
2) ปญั หาดา้ นสงั คม ใชป้ ากกาสฟี ้า
3) ปญั หาดา้ นวฒั นธรรม ใช้ปากกาสเี หลือง
4) ปญั หาดา้ นสง่ิ แวดล้อม ใช้ปากกาสีเขียว
14. จากนนั้ นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปว่าปญั หาในชมุ ชนหรือท้องถ่ินทอ่ี ยบู่ นกระดานหนา้ ชัน้ เรยี น
เกยี่ วขอ้ งกบั ประเภทใดมากที่สดุ และใหน้ กั เรยี นหยิบยกปญั หาในประเภทนีข้ น้ึ มากลมุ่ ละ
1 ปญั หา
15. ให้นักเรยี นสืบคน้ ขอ้ มลู และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อหาแนวทางการแก้ปญั หาในชมุ ชนหรอื
ท้องถ่ินจากอินเทอร์เน็ต
ขน้ั ที่ 5 สรปุ และประเมินคา่ ของคาตอบ
16. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกันรวบรวมข้อมูลแนวทางการแกไ้ ขปัญหาตามที่ไดส้ บื ค้นจาก
อินเทอรเ์ นต็
17. ครูทบทวนคาถามกระตุน้ ความคิดของนักเรยี นว่า “การสารวจชมุ ชนหรอื ท้องถน่ิ สง่ ผลอยา่ งไร
ตอ่ การแกป้ ัญหาหรอื ความต้องการภายในชมุ ชนหรอื ท้องถ่ิน”
(แนวตอบ : คาตอบของนักเรียนขึน้ อย่กู บั ดลุ ยพินจิ ของครูผู้สอน เชน่ การสารวจชมุ ชนหรอื
ทอ้ งถิ่นทาใหท้ ราบขอ้ เท็จจรงิ และปัญหาทมี่ ีภายในชุมชนหรือท้องถ่นิ อย่างแนช่ ัด รวมถงึ
ทราบลักษณะและสภาพของสังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม และความต้องการภายในชมุ ชนหรอื
ท้องถน่ิ )
ขนั้ ท่ี 6 นาเสนอและประเมนิ ผลงาน
18. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอขอ้ มูลบรเิ วณหนา้ ชั้นเรยี น โดยครผู ู้สอน
ประเมนิ ผลงานการนาเสนอของนักเรยี นแตล่ ะกลมุ่
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
9
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
ขน้ั สรุป
1. เปิดโอกาสให้นกั เรียนซกั ถามขอ้ สงสยั โดยครใู ห้ความร้เู พิม่ เตมิ ตามความเหมาะสม
2. ครูประเมินผลโดยการสังเกตการตอบคาถาม และการนาเสนอผลงานของนกั เรยี น
3. นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ เกีย่ วกับการสารวจปญั หาหรอื ความตอ้ งการภายในชมุ ชนหรือ
ท้องถน่ิ วธิ กี ารสารวจปญั หาหรือความตอ้ งการของชุมชนหรอื ท้องถนิ่ และประเภทของปัญหา
ภายในชุมชนหรือท้องถิ่น
8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
8.1 ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1
เร่ือง เทคโนโลยกี ับชีวิต
2) แบบฝกึ หัดรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1
เร่ือง เทคโนโลยีกบั ชีวติ
3) ใบงานท่ี 1.2.1 เรือ่ ง เทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ
4) ใบงานท่ี 1.2.2 เร่ือง วธิ กี ารสารวจปญั หาในชุมชนหรือท้องถ่นิ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพิวเตอร์
2) อินเทอรเ์ น็ต
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
10
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ปจั จัยทสี่ ่งผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1
คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว
1. การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและ 6. ศาสตร์ในดา้ นใดไม่อย่ใู นกลมุ่ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
การจดั จาหนา่ ย ถอื วา่ เป็นการเปลย่ี นแปลง ก. ดาราศาสตร์ ข. วิทยาการรับรู้
ทางด้านใด ค. วิศวกรรมศาสตร์ ง. วิทยาการคอมพิวเตอร์
ก. ดา้ นสังคม ข. ด้านเศรษฐกิจ 7. เว็บไซต์การแปลภาษาอังกฤษถอื ว่าเปน็ เทคโนโลยี
ค. ดา้ นวฒั นธรรม ง. ด้านส่งิ แวดลอ้ ม ในดา้ นใด
2. การเปลย่ี นแปลงท่ีเกี่ยวข้องกับแนวคิดและแนวทาง ก. ด้านภาษา
ปฏบิ ัตติ ่าง ๆ ถอื ว่าเปน็ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นใด ข. ด้านศลิ ปะ
ก. ด้านสังคม ข. ด้านเศรษฐกิจ ค. ดา้ นศาสนา
ค. ดา้ นวัฒนธรรม ง. ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ง. ดา้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์
3. ขอ้ ใดจัดเป็นการเปลย่ี นแปลงทางดา้ นวัฒนธรรม 8. เทคโนโลยีในขอ้ ใดถอื ว่าเก่ยี วขอ้ งกบั ดา้ นภมู ิศาสตร์
ก. หนนู าชอบการแต่งกายแบบเกาหลี ก. โปรแกรม Siri
ข. ประเทศญ่ปี ุ่นผลติ หนุ่ ยนต์มาใช้ในโรงงาน ข. ระบบปัญญาประดิษฐ์
ค. วมิ ลปรับเปลี่ยนการขายสนิ คา้ ทางหน้าร้าน ค. เทคโนโลยภี าพเสมือนจริง
เป็นขายสนิ ค้าทางออนไลน์ ง. ระบบกาหนดตาแหนง่ บนพ้นื โลก (GPS)
ง. แดนนาแผงโซล่าเซลลม์ าใช้เกบ็ พลงั แสงอาทิตย์ 9. ข้อใดตอ่ ไปน้ีไมเ่ กยี่ วขอ้ งกับเทคโนโลยีพน้ื ฐาน
4. ขอ้ ใดจดั เปน็ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นสงิ่ แวดล้อม ก. นาโนเทคโนโลยี
ก. สมศักดิ์ชอบซื้อสนิ ค้าทางออนไลน์ ข. เทคโนโลยีชีวภาพ
ข. ประเทศไทยนาแผงโซลา่ เซลล์มาใชเ้ กบ็ ค. เทคโนโลยีเครือขา่ ย
พลงั แสงอาทติ ย์ ง. เทคโนโลยีวสั ดุศาสตร์
ค. โรงพยาบาลผา่ ตัดผู้ป่วยโดยใช้วธิ ีการสอ่ งกลอ้ ง 10.โปรแกรมทสี่ รา้ งข้ึนในลกั ษณะของปัญญาประดิษฐ์
ง. ประเทศจีนผลิตห่นุ ยนตม์ าเปน็ พธิ กี รอ่านข่าว คือข้อใด
5. ศาสตร์ในด้านใดไม่อยู่ในวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ ก. เทคโนโลยีคลาวด์
ก. ฟสิ กิ ส์ ข. อินเทอร์เนต็ ทกุ สรรพส่งิ
ข. ชีววทิ ยา ค. เทคโนโลยพี ันธุกรรมสมัยใหม่
ค. ดาราศาสตร์ ง. โปรแกรมอัจฉริยะทส่ี ามารถคิดและทางาน
ง. วศิ วกรรมศาสตร์ แทนมนุษย์
เฉลย 1. ข 2. ค 3. ก 4. ข 5. ง 6. ก 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
11
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1
คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว
1. การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวขอ้ งกับระเบยี บแบบแผน 6. ศาสตร์ในข้อใดเป็นการศึกษาท่เี กี่ยวข้องกับวัตถุบน
ความสมั พนั ธ์และสถานภาพต่าง ๆ ถอื วา่ เปน็ ทอ้ งฟา้
การเปลี่ยนแปลงทางด้านใด ก. ชวี วิทยา ข. ดาราศาสตร์
ก. ดา้ นสังคม ข. ด้านเศรษฐกจิ ค. วิทยาการรับรู้ ง. วิศวกรรมศาสตร์
ค. ดา้ นวัฒนธรรม ง. ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม 7. วิทยาการคอมพิวเตอรเ์ ป็นศาสตร์ทางด้านใด
2. การเปลี่ยนแปลงที่เก่ยี วขอ้ งกบั สงิ่ ตา่ ง ๆ ทีอ่ ยู่ ก. การใช้วทิ ยาศาสตรใ์ นการออกแบบ
รอบตวั มนษุ ย์ ถอื วา่ เป็นการเปลยี่ นแปลงทาง ข. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการคดิ และการแสดงออก
ดา้ นใด ค. การศึกษาเกยี่ วกับสสารและองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ
ก. ด้านสงั คม ข. ดา้ นเศรษฐกิจ ง. การคานวณหรอื การประมวลผลของคอมพวิ เตอร์
ค. ดา้ นวฒั นธรรม ง. ดา้ นส่ิงแวดล้อม 8. การหาระยะเวลาในการลอยตัวของโดรน จัดเปน็
3. ขอ้ ใดจัดเป็นการเปล่ียนแปลงทางดา้ นสงั คม ความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์ในด้านใด
ก. ลดั ดาชอบการแตง่ กายแบบชาวต่างชาติ ก. เทคโนโลยกี บั คณิตศาสตร์
ข. ประเทศไทยนาแผงโซลา่ เซลล์มาใชเ้ ก็บ ข. เทคโนโลยีกับสงั คมศาสตร์
พลงั แสงอาทติ ย์ ค. เทคโนโลยกี ับวทิ ยาศาสตร์
ค. วมิ ลเปล่ยี นการขายสนิ คา้ ทางหน้ารา้ น ง. เทคโนโลยีกบั มนุษยศาสตร์
เปน็ ขายสนิ ค้าผ่านทางออนไลน์ 9. กล้องตรวจจับความเรว็ บนท้องถนน ถือว่าประยุกต์
ง. ประเทศญีป่ นุ่ ผลิตหุ่นยนตม์ าใช้ภายในโรงงาน ใช้ความรูใ้ นด้านใด
4. ขอ้ ใดจดั เปน็ การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ ก. ฟิสิกสก์ บั คณิตศาสตร์
ก. สมศักด์ชิ อบสั่งซื้อสินค้าทางออนไลน์ ข. ฟิสิกสก์ ับวิทยาศาสตร์
ข. ประเทศจีนผลิตหุ่นยนต์เปน็ นักแสดง ค. วิศวกรรมกับวิทยาการคอมพวิ เตอร์
ค. ประเทศไทยนาแผงโซล่าเซลล์มาใช้เกบ็ ง. เทคโนโลยชี ีวภาพกับนาโนเทคโนโลยี
พลังแสงอาทิตย์ 10.แผงโซลา่ เซลล์จัดเปน็ เทคโนโลยีในด้านใด
ง. โรงพยาบาลผ่าตัดผูป้ ว่ ยโดยใช้วธิ กี ารส่องกล้อง ก. เทคโนโลยีคลาวด์
5. ศาสตร์ในข้อใดเปน็ การศกึ ษาที่เกี่ยวข้องกบั ข. เทคโนโลยกี ารเกบ็ พลงั งาน
ส่ิงไม่มชี ีวิต ค. เทคโนโลยพี ันธกุ รรมสมยั ใหม่
ก. เคมี ข. ฟิสกิ ส์ ง. เทคโนโลยหี นุ่ ยนตข์ ้ันกา้ วหน้า
ค. ชีววทิ ยา ง. ดาราศาสตร์
เฉลย 1. ก 2. ง 3. ง 4. ก 5. ข 6. ข 7. ง 8. ก 9. ก 10. ข
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
12
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปัจจยั ทีส่ ่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื ง สาเหตหุ รอื ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1
สาเหตหุ รอื ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
เวลา 2 ชัว่ โมง
1. มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
1.1 ตวั ชว้ี ัด
ว 4.1 ม.3/1 วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื ปัจจัยที่ส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และ
ความสัมพันธข์ องเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อืน่ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื
คณิตศาสตร์ เพือ่ เป็นแนวทางการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นางาน
2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายกระบวนการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีในด้านตา่ ง ๆ ได้ (K)
2. วเิ คราะห์สาเหตุหรอื ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีได้ (K)
3. ยกตวั อยา่ งและอธบิ ายเกยี่ วกบั การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีในดา้ นตา่ ง ๆ ได้ (K)
4. สบื คน้ ข้อมลู เก่ียวกบั เทคโนโลยที ีพ่ บในชวี ิตประจาวนั ได้ (P)
5. เห็นความสาคญั ของสาเหตุหรือปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- เทคโนโลยมี ีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาต้งั แตอ่ ดีต จนถงึ ปัจจุบัน ซ่ึงมีสาเหตุหรือปจั จัยมาจากหลายด้าน เช่น
ปัญหาหรอื ความต้องการของมนษุ ย์ ความก้าวหนา้ ของศาสตร์ต่าง ๆ การเปลย่ี นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ สังคม
วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม
4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ความต้องการของมนุษย์ก็คือ ความอยากได้ ซึ่งเม่ือมนุษย์เกิดความอยากได้ จึงต้องพยายาม
ด้ินรนหาสิ่งที่สามารถตอบสนองความต้องการน้ัน ๆ เม่ือร่างกายได้รับการตอบสนองแล้วก็จะเกิด
ความต้องการใหม่ ๆ ข้ึนมาทดแทน ดังนั้น ความต้องการของมนุษย์จึงเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา นอกจากน้ัน
ความต้องการของมนุษย์ยังทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ คือ การเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ
การเปลีย่ นแปลงดา้ นสังคม การเปลี่ยนแปลงดา้ นวฒั นธรรม และการเปลยี่ นแปลงด้านส่ิงแวดลอ้ ม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
13
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ปจั จัยทีส่ ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ยั รบั ผดิ ชอบ
- ทกั ษะการสื่อสาร 2. ใฝ่เรยี นรู้
2. ความสามารถในการคิด 3. มุ่งม่นั ในการทางาน
- ทักษะการใหเ้ หตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
- ทกั ษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการสังเกต
- ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
- ทักษะการทางานรว่ มกัน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ ีการสอนโดยเนน้ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงท่ี 1
ขน้ั นา
ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement)
1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่ือง เทคโนโลยีกบั ชีวติ
2. ครถู ามคาถามสาคญั ประจาหวั ขอ้ กบั นกั เรยี นว่า “ในชุมชนท่ีนกั เรียนอาศัยอยูม่ กี ารเปล่ยี นแปลง
ของเทคโนโลยีอย่างไร เพราะเหตใุ ด”
(แนวตอบ : คาตอบของนักเรียนขึ้นอย่กู บั ดลุ ยพนิ จิ ของครผู ูส้ อน เช่น การส่อื สารผา่ นไปรษณยี ์
อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-mail) แทนการสง่ จดหมาย เน่อื งจากเทคโนโลยีมีความก้าวหนา้ อยา่ งรวดเร็ว
และตอบสนองตอ่ ความต้องการของมนุษย์)
ขน้ั สอน
ขั้นที่ 2 สารวจคน้ หา (Exploration)
1. นักเรียนแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพื่อสืบคน้ ความหมายของคาว่า
“เทคโนโลยี” และยกตวั อย่างเทคโนโลยีในดา้ นต่าง ๆ ที่นกั เรยี นพบในชวี ติ ประจาวนั
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
14
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สาเหตหุ รอื ปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
2. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอเกีย่ วกบั ความหมายของเทคโนโลยี และ
ยกตวั อยา่ งเทคโนโลยที น่ี กั เรยี นพบในชีวิตประจาวันบริเวณหนา้ ชน้ั เรียน พรอ้ มอภิปราย
ร่วมกบั เพอื่ นในช้นั เรียน
ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
3. นักเรียนศึกษาเน้อื หา เรือ่ ง ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ จากหนังสอื เรียนรายวิชา
พืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1
เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับชวี ติ
4. นกั เรยี นสังเกตวตั ถดุ ิบปรงุ อาหารในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์
ท่แี ตกต่างกัน จากหนงั สอื เรยี น
5. ครอู ธิบายกับนกั เรียนว่า “เมือ่ มนุษย์มีความตอ้ งการมากขน้ึ จงึ เกดิ เทคโนโลยีใหม่
เพือ่ ตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ตลอดเวลา และเป็นตวั ผลกั ดันให้เกิดการพฒั นา
เทคโนโลยตี อ่ ไปเรอ่ื ย ๆ เพื่อชว่ ยแก้ปญั หาของมนุษย์ จนกว่าจะตอบสนองต่อความตอ้ งการ
ของมนษุ ยไ์ ดค้ รบถว้ นสมบรู ณ์”
6. นักเรยี นสงั เกตปัญหาทเี่ กดิ ข้นึ กบั เกษตรกร วธิ แี กป้ ัญหา และผลลัพธ์จากหนงั สือเรยี น
7. ครอู ธิบายเกร็ดเสริมความรทู้ ่ีเกีย่ วข้องกับเน้อื หา (Design Focus) เรื่อง ปัญหาของการใช้สนิ ค้า
หรอื บริการ (Pain Point) จากหนงั สอื เรียน
8. เปิดโอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามข้อสงสยั และครใู ห้ความรู้เพิ่มเติมในสว่ นนน้ั
ช่วั โมงท่ี 2
ขน้ั สอน
ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
9. ครทู บทวนเน้ือหาการเรยี นเมือ่ ช่ัวโมงท่แี ล้วพอสังเขป
10. นกั เรยี นศกึ ษาเน้ือหา เรอ่ื ง ความกา้ วหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ จากหนังสือเรยี น
11. ครูอธบิ ายกบั นักเรียนเพือ่ ให้นกั เรียนเขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึนวา่ “ความรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีท่ีส่งั สมมาตงั้ แต่อดีตอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทาให้เกดิ การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทส่ี ามารถ
พลกิ รปู แบบวถิ กี ารดาเนินชวี ติ ของผ้คู นในสงั คมได้ อีกทัง้ ยงั มีความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์
พืน้ ฐานแขนงใหม่ทีช่ ่วยในการหาคาตอบ”
12. นักเรยี นศกึ ษาเนอื้ หา เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านวฒั นธรรม
และด้านส่งิ แวดล้อม จากหนังสอื เรยี น
13. ครอู ธบิ ายเกร็ดเสรมิ ความรู้ทีเ่ กี่ยวข้องกับเนื้อหา (Design Focus) เรอ่ื ง การแก้ปญั หามลพษิ
สิ่งแวดลอ้ มโลกจากหนงั สอื เรียน
14. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นซักถามขอ้ สงสัย และครูใหค้ วามรเู้ พ่ิมเตมิ ในสว่ นนั้น
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
15
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง สาเหตหุ รือปจั จยั ท่สี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
15. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นทากจิ กรรมฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิ และทบทวนเน้อื หาอย่างครบถว้ น
ตามตวั ช้ีวดั จากแบบฝึกหดั รายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั ชีวติ
16. ครสู มุ่ นักเรยี นออกมานาเสนอบรเิ วณหนา้ ช้ันเรยี น
ขน้ั สรปุ
ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมนิ ผลโดยการสังเกตการตอบคาถามและการนาเสนอผลงานของนกั เรียน
2. นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปความรเู้ กยี่ วกับสาเหตุหรือปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของ
เทคโนโลยี
7. การวดั และประเมนิ ผล
รายการวดั วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น
- แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ก่อนเรียน
เรื่อง เทคโนโลยีกบั ชีวิต
7.2 การประเมินระหว่างการ
จดั กิจกรรม
1) สาเหตุหรือปัจจยั - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ทส่ี ่งผลตอ่
การเปลยี่ นแปลง
ของเทคโนโลยี
2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
3) พฤตกิ รรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2
รายบคุ คล การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
4) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2
กลุม่ การทางานกลุ่ม การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
5) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2
อันพงึ ประสงค์ ความรับผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝ่เรยี นรู้ และมุง่ มัน่ อนั พึงประสงค์
ในการทางาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
16
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 1 เรือ่ ง สาเหตุหรือปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
8.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1
เร่อื ง เทคโนโลยกี บั ชีวิต
2) แบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรือ่ ง เทคโนโลยกี บั ชวี ติ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งคอมพิวเตอร์
2) อินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
17
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ปัจจัยท่สี ่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สาเหตุหรอื ปจั จัยทีส่ ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
9. บันทกึ ผลหลงั การสอน
ด้านความรู้
ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
ด้านอ่ืน ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤตกิ รรมที่มปี ัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้าม)ี )
ปัญหา/อุปสรรค
แนวทางการแกไ้ ข
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
18
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ปจั จยั ทสี่ ่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตรอ์ น่ื
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2
ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ น่ื
เวลา 1 ชว่ั โมง
1. มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด
1.1 ตวั ชว้ี ัด
ว 4.1 ม.3/1 วิเคราะห์สาเหตุ หรือปจั จยั ท่ีส่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และ
ความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื
คณิตศาสตร์ เพื่อเปน็ แนวทางการแกป้ ญั หาหรอื พัฒนางาน
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อ่ืน ๆ ได้ (K)
2. ยกตัวอยา่ งเทคโนโลยีที่พบในชีวติ ประจาวนั ตามศาสตรต์ า่ ง ๆ ได้ (K)
3. สบื ค้นข้อมูลเก่ยี วกบั เทคโนโลยีในด้านตา่ ง ๆ ได้ (P)
4. เห็นประโยชนข์ องเทคโนโลยีในศาสตร์ต่าง ๆ ได้ (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์เป็นพ้ืนฐานความรู้ที่
นาไปสกู่ ารพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยที ่ไี ด้ สามารถเป็นเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในการศึกษา ค้นคว้า
เพ่ือใหไ้ ด้มาซึ่งองค์ความรใู้ หม่
4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
เทคโนโลยีเป็นวิทยาการท่ีเกิดขึ้นจากการนาความรู้ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ในทุกภาคส่วน ดังน้ัน
เทคโนโลยจี งึ เกย่ี วข้องกบั การนาความรูจ้ ากศาสตร์ต่าง ๆ มาประกอบกับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
คณติ ศาสตร์ เพอ่ื แก้ปญั หาหรือพัฒนางานอาชพี ต่าง ๆ ในชุมชนอยา่ งสร้างสรรค์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
19
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปัจจยั ทีส่ ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง ความสัมพันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื
5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี ินัย รบั ผิดชอบ
- ทกั ษะการสื่อสาร 2. ใฝ่เรยี นรู้
2. ความสามารถในการคิด 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน
- ทกั ษะการให้เหตผุ ล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการสังเกต
- ทกั ษะการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ทักษะการทางานรว่ มกัน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชวั่ โมงท่ี 1
ขน้ั นา
ข้ันท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engagement)
1. ครถู ามคาถามสาคัญประจาหวั ขอ้ กบั นักเรยี นวา่ “นักเรยี นเคยเหน็ ตวั อยา่ งการนาเทคโนโลยี
เขา้ ไปใช้แก้ปัญหารว่ มกบั ศาสตรใ์ ดบ้าง จงยกตวั อยา่ งพรอ้ มอธบิ าย”
(แนวตอบ : คาตอบของนักเรียนขน้ึ อยูก่ ับดุลยพินจิ ของครูผู้สอน เช่น การใช้เทคโนโลยีกบั
วทิ ยาศาสตร์ในดา้ นดาราศาสตร์ เชน่ การถา่ ยภาพหลุมดาดว้ ยเครอื ขา่ ยกลอ้ งโทรทรรศน์
อเี วนตฮ์ อไรซนั โดยใช้คล่นื ความถี่สูงของหอดูดาวทัง้ 8 แหง่ ทั่วโลกมารวมกนั กาเนดิ เป็น
กลอ้ งโทรทรรศน์วทิ ยทุ ่มี ขี นาดเทา่ กับเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก ทาให้สามารถถา่ ยภาพได้
พร้อมกัน เวลาเดียวกนั และตาแหนง่ เดยี วกันได้ ภาพที่ได้จึงมีความละเอียดสูงมาก และ
นาขอ้ มูลมาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์จนเกดิ ภาพถ่ายหลุมดา)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
20
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง ความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ น่ื
ขน้ั สอน
ขน้ั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Exploration)
1. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพ่อื สืบคน้ ว่ามเี ทคโนโลยีใดบ้าง
ทีน่ าเขา้ มาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน
ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
3. นักเรยี นศกึ ษาเน้อื หา เรือ่ ง ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยกี ับวิทยาศาสตร์ จากหนังสือเรียน
รายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1
เรอื่ ง เทคโนโลยีกับชวี ิต
4. ครูอธิบายกับนกั เรยี นเพื่อให้นกั เรยี นเขา้ ใจมากยิง่ ขึ้นว่า “วทิ ยาศาสตร์ท่นี าไปประยุกตใ์ ชใ้ น
การสร้างส่ิงประดษิ ฐ์ทต่ี อบสนองตอ่ ความตอ้ งการหรอื การแกป้ ญั หาของมนุษย์ สามารถแบ่ง
ออกได้ 2 สาขา คือ วิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ (Natural Science) และวิทยาศาสตร์ประยกุ ต์
(Applied Science)”
5. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนสบื ค้นข้อมลู เกี่ยวกบั เทคโนโลยีทเี่ ก่ยี วข้องกับวิทยาศาสตร์
6. จากนัน้ ครูเขยี นคาวา่ “เทคโนโลยีกับวทิ ยาศาสตร์” ลงบนกระดานหนา้ ช้นั เรียน พรอ้ มให้
นักเรียนร่วมกนั ยกตัวอยา่ งเทคโนโลยใี นชีวิตประจาวนั ทเ่ี กยี่ วข้องกับวทิ ยาศาสตร์ โดยครู
คอยบันทกึ คาตอบของนกั เรยี นลงบนกระดานหนา้ ชน้ั เรยี น
7. นกั เรยี นศึกษาเน้ือหา เรือ่ ง ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยกี ับคณิตศาสตรจ์ ากหนงั สือเรยี น
8. ครูอธบิ ายกับนกั เรยี นเพ่ือให้นักเรยี นเข้าใจมากย่งิ ขึ้นวา่ “คณิตศาสตรเ์ ป็นความรูด้ า้ นการคานวณ
ทเ่ี ขา้ มาพิสูจนส์ ิง่ ที่สังเกตได้จากวิทยาศาสตร์ เพื่ออธบิ ายปรากฏการณท์ ี่เกิดขึน้ ได้ และสามารถ
ทานายผลลพั ธ์ได้อย่างแมน่ ยา”
9. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นสบื ค้นข้อมลู เกยี่ วกับเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกบั คณติ ศาสตร์
10. จากน้นั ครูเขียนคาว่า “เทคโนโลยกี ับคณิตศาสตร์” ลงบนกระดานหนา้ ช้นั เรียน พรอ้ มให้
นกั เรยี นร่วมกนั ยกตัวอยา่ งเทคโนโลยีในชวี ิตประจาวนั ทีเ่ กย่ี วข้องกบั คณติ ศาสตร์ โดยครู
คอยบันทกึ คาตอบของนกั เรยี นลงบนกระดานหนา้ ชน้ั เรยี น
11. เปิดโอกาสใหน้ กั เรียนซกั ถามข้อสงสัย และครใู หค้ วามรู้เพมิ่ เตมิ ในสว่ นน้ัน
ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
21. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรู้เพ่ิมเตมิ ในส่วนนั้น
22. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นทาใบงานที่ 1.2.1 เรือ่ ง เทคโนโลยีกบั ศาสตร์ตา่ ง ๆ
23. ครูส่มุ นักเรียน 2-3 คน ออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรียน พรอ้ มกบั อภปิ รายร่วมกนั ในห้องเรียน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
21
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ นื่
ขน้ั สรุป
ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคาถามและการนาเสนอผลงานของนักเรยี น
2. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 1.2.1 เรอื่ ง เทคโนโลยีกบั ศาสตรต์ ่าง ๆ
3. นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ความรเู้ กย่ี วกับความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อืน่
4. ครมู อบหมายให้นกั เรยี นทากิจกรรม High Oder Thinking ทสี่ อดคล้องกับตวั ชี้วดั ตามทักษะ
แห่งศตวรรษที่ 21 จากแบบฝึกหัดรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและ
เทคโนโลย)ี ม.3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง เทคโนโลยกี บั ชีวิต เป็นการบา้ นและนามาสง่
ในชั่วโมงถดั ไป
7. การวัดและประเมินผล วิธวี ัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ
รายการวดั - ตรวจใบงานที่ 1.2.1 - ใบงานที่ 1.2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
7.1 การประเมนิ ระหวา่ งการ
- ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
จดั กิจกรรม
1) เทคโนโลยีกับศาสตร์ - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2
ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
ต่าง ๆ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2
2) ความสัมพันธข์ อง การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
เทคโนโลยีกับ การทางานกลมุ่ การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
ศาสตร์อนื่ ๆ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
3) การนาเสนอผลงาน ความรับผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์
ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั อันพึงประสงค์
4) พฤติกรรมการทางาน ในการทางาน
รายบคุ คล
5) พฤตกิ รรมการทางาน
กลุ่ม
6) คณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
22
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 เรือ่ ง ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อน่ื
8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1
เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ับชวี ิต
2) แบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1
เรอื่ ง เทคโนโลยกี ับชวี ิต
3) ใบงานที่ 1.2.1 เร่อื ง เทคโนโลยีกับศาสตรต์ ่าง ๆ
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งคอมพิวเตอร์
2) อินเทอร์เนต็
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
23
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง ความสัมพันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ น่ื
ใบงานที่ 1.2.1
เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั ศาสตรต์ ่าง ๆ
คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นอธิบายความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์ตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี
เทคโนโลยกี ับการเกษตร
เทคโนโลยีกับการศกึ ษา
เทคโนโลยีกับการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
24
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เฉลย
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 2 เรื่อง ความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อนื่
ใบงานที่ 1.2.1
เรือ่ ง เทคโนโลยีกับศาสตรต์ า่ ง ๆ
คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นอธิบายความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยกี บั ศาสตรต์ า่ ง ๆ ดังตอ่ ไปนี้
เทคโนโลยีกบั การเกษตร
เทคโนโลยีสามารถประยกุ ตใ์ ช้ในดา้ นการผลิตคิดคน้ เครือ่ งจกั รกลทางการเกษตรและพฒั นากระบวนการผลติ
แทนการเกษตรแบบดั้งเดมิ ทใี่ ชก้ าลังคน เชน่ การคัดเลอื กพันธุ์ การปรับปรุงพันธ์ุ การเพมิ่ ผลผลติ การรดนา้
การฉดี ยาฆา่ แมลงสง่ ผลใหเ้ กษตรกรมีความเปน็ อยู่ท่ีดีขึ้น และยังช่วยเพิ่มรายไดใ้ หก้ บั เกษตรกรและประเทศชาติ
เทคโนโลยีกับการศกึ ษา
เทคโนโลยีสามารถนามาใช้ในด้านศกึ ษาได้หลายอยา่ ง เช่น การพฒั นาสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ การพฒั นาบทเรยี น
คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน อีกท้ังยงั ชว่ ยอานวยความสะดวกท้ังผู้สอนและผ้เู รยี น รวมถึงยังช่วยใหก้ ารเรยี นรขู้ อง
ผเู้ รียนมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ จึงทาให้เกิดผลดีต่อการศกึ ษาเป็นอยา่ งมาก
เทคโนโลยกี ับการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ
เทคโนโลยีสามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข โดยอาจจะนาไปใช้ในการวินิจฉยั โรค
การหาสาเหตขุ องการเกิดโรค และคิดคน้ วิธกี ารรกั ษาโรคที่รักษาได้ยากหรอื ไมส่ ามารถรักษาได้ในอดีต
เทคโนโลยที างการแพทย์ท่ีถูกพัฒนา เชน่ กล้องจุลทรรศน์ในการผ่าตัด กลอ้ งแคปซูล หรือแสงเลเซอร์ ทาให้
ประชากรในประเทศมอี ายโุ ดยเฉล่ยี ท่ีสงู ขึน้ และทาให้การรักษาอาการเจ็บป่วยมีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึน้
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
25
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปจั จยั ท่ีส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2 เร่อื ง ความสมั พันธ์ของเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อนื่
9. บนั ทึกผลหลังการสอน
ด้านความรู้
ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้านความสามารถทางเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤติกรรมที่มปี ญั หาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถา้ ม)ี )
ปัญหา/อปุ สรรค
แนวทางการแกไ้ ข
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
26
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ปจั จยั ท่สี ่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื ง การนาเทคโนโลยไี ปสร้างนวัตกรรมใหม่
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3
การนาเทคโนโลยีไปสร้างนวตั กรรมใหม่
เวลา 1 ช่ัวโมง
1. มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด
1.1 ตวั ชีว้ ัด
ว 4.1 ม.3/1 วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื ปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และ
ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อน่ื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ
คณติ ศาสตร์ เพ่ือเปน็ แนวทางการแกป้ ญั หาหรอื พัฒนางาน
2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายความสาคัญของเทคโนโลยีได้ (K)
2. ยกตวั อยา่ งและอธบิ ายเกยี่ วกับเทคโนโลยีท่กี ่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้ (P)
3. สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับเทคโนโลยใี หม่ ๆ ที่พบได้ในชีวิตประจาวัน (P)
4. เห็นประโยชนข์ องเทคโนโลยใี หม่ทีพ่ บในชีวติ ประจาวนั (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
- เทคโนโลยมี ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดตี จนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น
ปญั หาหรือความต้องการของมนษุ ย์ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ตา่ ง ๆ การเปล่ียนแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม
วฒั นธรรม สิ่งแวดล้อม
- เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์เป็นพ้ืนฐานความรู้
ที่ นาไปสูก่ ารพัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยที ี่ได้ สามารถเป็นเครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ในการศึกษา คน้ ควา้ เพื่อให้
ไดม้ าซึง่ องคค์ วามรใู้ หม่
4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
เทคโนโลยีที่ได้จากการพัฒนาสามารถเป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เพ่ือให้ได้มาซ่ึง
องค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมใหมอ่ ย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เพ่ือตอบสนองตอ่ ตลาดแรงงาน โดยมงุ่ ส่งเสริม
เทคโนโลยีพื้นฐาน 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ พลังงานและ
สิง่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และดิจิทัล
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
27
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ปจั จยั ท่สี ่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 3 เรอื่ ง การนาเทคโนโลยไี ปสร้างนวตั กรรมใหม่
5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ัย รับผดิ ชอบ
- ทกั ษะการสอ่ื สาร 2. ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน
- ทกั ษะการให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการสังเกต
- ทกั ษะการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ทกั ษะการทางานร่วมกัน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ช่วั โมงท่ี 1
ขน้ั นา
ขัน้ ท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement)
1. ครถู ามคาถามสาคญั ประจาหวั ข้อวา่ “นักเรยี นคดิ วา่ เทคโนโลยีใหม่ด้านใด สามารถแกป้ ญั หา
ในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถ่นิ ของนกั เรียนได้ เพราะอะไร”
(แนวตอบ : คาตอบของนักเรียนขน้ึ อยูก่ บั ดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน เช่น เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์
พลงั งานและสิ่งแวดล้อม เพราะชว่ ยให้ผลติ อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื ที่เกย่ี วข้องกบั การประกอบ
อาชพี ภายในชมุ ชน ทาให้อุปกรณ์และเครื่องมอื ทไี่ ดม้ คี ุณภาพและความทนทานทส่ี ูงขึน้
มีอายกุ ารใช้งานท่ยี าวนานขน้ึ จึงทาให้คา่ ใชจ้ ่ายในการลงทนุ ลดลงและเพิ่มผลผลิตได้มากข้ึน)
ขน้ั สอน
ข้นั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Exploration)
1. นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพ่อื สืบคน้ ว่าปจั จบุ นั มเี ทคโนโลยี
ใหม่ ๆ ประเภทใดบา้ งทีน่ ักเรียนสามารถพบในชวี ิตประจาวนั และเทคโนโลยีเหล่านั้นชว่ ยให้
เกดิ ประโยชนอ์ ย่างไร
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
28
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ปัจจัยท่สี ่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 เรื่อง การนาเทคโนโลยไี ปสร้างนวตั กรรมใหม่
2. ครสู ุ่มนักเรียนออกมาตอบคาถามบรเิ วณหนา้ ชน้ั เรยี น พรอ้ มอภิปรายรว่ มกนั ภายในชนั้ เรยี น
โดยครูคอยบนั ทกึ คาตอบลงบนกระดานหน้าชน้ั เรยี น
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
3. นกั เรยี นศึกษาเนอ้ื หา เร่อื ง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่จากหนงั สือเรยี นรายวชิ า
พ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี เร่ือง เทคโนโลยี
กบั ชวี ติ
4. ครูอธิบายกบั นักเรยี นเพ่ือให้นกั เรียนเขา้ ใจมากยงิ่ ขน้ึ วา่ “เทคโนโลยีเกิดจากการพัฒนาต่าง ๆ
จนไดเ้ คร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า เพ่อื ใหไ้ ดม้ าซึ่งองคค์ วามร้ใู หมแ่ ละนวัตกรรมใหม่
อย่างมคี วามคิดสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนองต่อตลาดแรงงาน โดยมุ่งส่งเสริมเทคโนโลยีพื้นฐาน
ทงั้ 4 ดา้ น ซึ่งเทคโนโลยีพนื้ ฐานดังกลา่ วจะสง่ ผลใหเ้ กดิ การพฒั นาเทคโนโลยีใหม่ ๆ
อีก 12 ด้าน”
ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
5. เปิดโอกาสให้นกั เรยี นซักถามข้อสงสัย และครใู หค้ วามรเู้ พ่มิ เติมในสว่ นน้ัน
6. ครอู ธบิ ายเกร็ดเสริมความร้ทู ี่เกีย่ วขอ้ งกับเน้อื หา (Design Focus) เรื่อง สตาร์ทอพั และ
พลังงานชวี มวล
7. ให้นกั เรียนทากจิ กรรม High Oder Thinking ทส่ี อดคลอ้ งกบั ตัวชีว้ ัดตามทักษะแห่งศตวรรษ
ที่ 21 จากแบบฝึกหดั รายวชิ าพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง เทคโนโลยีกบั ชีวิต
8. ครูสมุ่ นักเรยี น 2-3 คน ออกมาตอบคาถามบริเวณหนา้ ชั้นเรยี น
ขน้ั สรุป
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมินผลโดยการสงั เกตการณ์ตอบคาถามและการนาเสนอผลงานของนักเรยี น
2. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปความร้เู ก่ยี วกบั การนาเทคโนโลยไี ปสรา้ งนวัตกรรมใหม่
3. นักเรยี นทากจิ กรรมทีส่ อดคลอ้ งกบั เน้อื หา โดยให้ผ้เู รียนฝกึ ปฏบิ ัตเิ พ่อื พฒั นาความร้แู ละทักษะ
(Design Activity) จากหนังสือเรยี นและบนั ทึกลงในสมุดประจาตัว
4 นกั เรยี นแต่ละคนทาแบบฝึกหัด (Unit Activity) จากหนงั สือเรยี นเพอ่ื ทบทวนความรู้
ความเขา้ ใจ และพฒั นาทกั ษะการคดิ ของผ้เู รียนโดยการตอบคาถามลงในสมุดประจาตวั
5. ครใู ห้นกั เรียนตรวจสอบระดบั ความสามารถของตนเองจากหนังสอื เรยี น โดยพจิ ารณาขอ้ ความ
ว่าถกู หรือผิด หากนกั เรียนพจิ ารณาข้อความไมถ่ ูกตอ้ งใหน้ กั เรยี นกลบั ไปทบทวนเนื้อหา
ตามหัวข้อทก่ี าหนดให้
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
29
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง การนาเทคโนโลยไี ปสร้างนวตั กรรมใหม่
6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั ชวี ิต หรอื ทา
แบบทดสอบ (Unit Test) จากแบบฝกึ หัด เพือ่ วัดความรทู้ ีน่ กั เรยี นไดร้ ับหลงั จากผา่ น
การเรยี นรู้
7. นกั เรยี นทาชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่อื ง เทคโนโลยีกับชวี ิต และนามาส่งในช่ัวโมงถัดไป
7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธวี ัด เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน
7.1 การประเมินระหว่างการ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
จดั กิจกรรม ระดับคณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
1) การนาเทคโนโลยี - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หดั ระดบั คณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ไปสรา้ งนวัตกรรม ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
ผลงาน การนาเสนอผลงาน
รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
3) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม
ระดบั คณุ ภาพ 2
รายบคุ คล การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
4) พฤตกิ รรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
กลมุ่ การทางานกลมุ่ การทางานกลมุ่
5) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน
อันพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ คุณลักษณะ
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมัน่ อนั พึงประสงค์
ในการทางาน
7.2 การประเมนิ หลงั เรียน
1) แบบทดสอบหลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 หลังเรยี น
เร่อื ง เทคโนโลยีกบั
ชวี ติ
2) การประเมนิ ชนิ้ งาน/ - ตรวจช้นิ งาน/ - แบบประเมินช้นิ งาน/
ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด)
เรอื่ ง เทคโนโลยกี บั
ชวี ติ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
30
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรอื่ ง การนาเทคโนโลยไี ปสรา้ งนวัตกรรมใหม่
8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1
เร่ือง เทคโนโลยีกบั ชวี ิต
2) แบบฝกึ หดั รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1
เร่ือง เทคโนโลยกี บั ชีวติ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอรเ์ นต็
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
31
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่ือง การนาเทคโนโลยไี ปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เร่อื ง เทคโนโลยีกบั ชีวิต
คาชแ้ี จง : ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนใี้ หถ้ กู ต้อง
1. ใหน้ ักเรียนวเิ คราะห์การเปล่ยี นแปลงด้านต่างๆ ตอ่ ไปนีจ้ ากอดตี ถึงปัจจบุ ันว่ามีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร
ดา้ น อดีต ปัจจุบัน
ด้านเศรษฐกจิ
ดา้ นสังคม
ด้านวัฒนธรรม
ด้านสง่ิ แวดล้อม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
32
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
2. ในปัจจุบนั มีการนาโดรนเข้ามาชว่ ยในการทากจิ กรรมหลาย ๆ ดา้ น โดยเฉพาะในดา้ นการเกษตร
ให้นกั เรยี นอธบิ ายความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อื่น ๆ ท่ีนามาใชใ้ นการสร้างโดรนมาพอสงั เขป
เทคโนโลยกี ับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยกี ับคณติ ศาสตร์
เทคโนโลยีกับมนุษยศาสตร์ เทคโนโลยกี บั สงั คมศาสตร์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
33
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี เฉลย
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เรอื่ ง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวัตกรรมใหม่
ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรอื่ ง เทคโนโลยีกบั ชวี ิต
คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถูกตอ้ ง
1. ให้นกั เรียนวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงดา้ นต่างๆ ตอ่ ไปน้ีจากอดตี ถึงปัจจุบันวา่ มีการเปล่ียนแปลงอย่างไร
ดา้ น อดีต ปัจจบุ ัน
ดา้ นเศรษฐกิจ
- การคา้ ขายโดยการเปดิ หน้าร้านและ - การนาเทคโนโลยเี ข้ามาช่วยเหลือ
มกี ารขายของบรเิ วณร้านของตนเอง ในการขายของ โดยขายของผ่านทาง
ออนไลน์ ไมจ่ าเปน็ ต้องมหี นา้ ร้าน
ดา้ นสงั คม - เป็นสังคมการเกษตร มีอาชีพเก่ยี วกบั - เปน็ สงั คมอตุ สาหกรรม เน่ืองจาก
การเพาะปลูก การใชแ้ รงงานมนุษย์ มกี ารนาเครอื่ งจกั รตา่ ง ๆ เข้ามาทดแทน
เป็นหลัก แรงงานของมนุษย์
ด้านวฒั นธรรม - มีการแตง่ กายตามขนบธรรมเนียม - นาการแต่งกายของชาวตา่ งชาติเขา้ มา
ดา้ นส่งิ แวดล้อม ประเพณไี ทย ประยุกต์
- มกี ารติดต่อส่ือสารผ่านทางจดหมาย
- สร้างบ้านโดยใชไ้ ม้ - ใชร้ ะบบอนิ เทอรเ์ น็ตในการตดิ ต่อส่อื สาร
- สร้างบา้ นโดยใชอ้ ิฐ หรือ ปนู
- แม่น้าลาคลองมคี วามสะอาด
สามารถนามาอปุ โภคและบรโิ ภคได้ - แม่น้าลาคลองเน่าเสยี สง่ กลิน่ เหมน็
- อากาศบริสุทธ์ิ และไม่สามารถนามาอปุ โภคและบรโิ ภค
ได้
- มลพษิ ทางอากาศ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
34
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 เรือ่ ง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
2. ในปจั จุบนั มกี ารนาโดรนเข้ามาช่วยในการทากิจกรรมหลาย ๆ ดา้ น โดยเฉพาะในด้านการเกษตร
ใหน้ กั เรียนอธบิ ายความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื ๆ ทนี่ ามาใชใ้ นการสรา้ งโดรนมาพอสงั เขป
เทคโนโลยกี บั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีกบั คณติ ศาสตร์
การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การทางวิทยาศาสตร์ - การคานวณหาความเรว็ ในการเคลอ่ื นที่
เข้ามาช่วยเหลอื ในการออกแบบโครงสรา้ ง ของโดรน
และผลิตภัณฑ์ใหส้ ามารถใช้งานไดง้ ่ายขนึ้ - การคานวณระยะเวลาเมอื่ โดรนลอยตวั
อยู่บนอากาศ
เทคโนโลยกี ับมนุษยศาสตร์ เทคโนโลยีกบั สังคมศาสตร์
สร้างโดรนข้นึ เพือ่ ทดแทนแรงงานของ การสารวจพน้ื ที่และการวิเคราะห์ขอ้ มลู
มนษุ ย์ เมอ่ื ต้องทางานท่ีเสยี่ งอันตราย ในการหาแนวคิด ทฤษฎี หรอื กฎเกณฑ์
หรอื ใช้ในกรณีท่ีมนษุ ย์ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ในการสร้างโดรน
ไดบ้ ริเวณน้ันได้
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
35
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 เรื่อง การนาเทคโนโลยไี ปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
คาชแ้ี จง : ใหผ้ ูส้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ลงในช่อง
ที่ตรงกบั ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1
32
1 ความถกู ต้องของเนื้อหา
2 ความคิดสรา้ งสรรค์
3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน
4 การนาไปใชป้ ระโยชน์
5 การตรงตอ่ เวลา
รวม
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ
............/................./....................
เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมินสมบูรณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน
เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
36
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง การนาเทคโนโลยีไปสร้างนวัตกรรมใหม่
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
คาชแ้ี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ลงในชอ่ ง
ทตี่ รงกับระดบั คะแนน
ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1
32
1 การแสดงความคิดเหน็
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น
3 การทางานตามหนา้ ทที่ ่ีไดร้ บั มอบหมาย
4 ความมนี ้าใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ............/................./....................
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
14–15 ดมี าก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
37
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปจั จยั ท่ีส่งผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง การนาเทคโนโลยไี ปสรา้ งนวัตกรรมใหม่
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
คาชีแ้ จง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในช่อง
ท่ีตรงกบั ระดับคะแนน
ลาดับท่ี ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรบั การทางาน ความมี การมีสว่ นรว่ ม
ของนักเรยี น ความคดิ เห็น ฟงั คนอน่ื ตามท่ีได้รบั นา้ ใจ ในการปรับปรงุ รวม
มอบหมาย ผลงานกลุ่ม 15
คะแนน
321321321321321
ลงช่อื ...................................................ผู้ประเมนิ
................/................./....................
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
14–15 ดมี าก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
38
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คาชแี้ จง : ให้ผูส้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ ง
ที่ตรงกับระดบั คะแนน
คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อันพงึ ประสงค์ด้าน 32 1
1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติและรอ้ งเพลงชาติได้
กษตั ริย์ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมทสี่ รา้ งความสามคั คีปรองดองและเป็นประโยชน์
ต่อโรงเรียน
1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา
1.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่เี กยี่ วกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามทโ่ี รงเรยี นจดั ขึ้น
2. ซ่ือสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งและเป็นจริง
2.2 ปฏบิ ัตใิ นสิง่ ท่ีถกู ต้อง
3. มวี ินัย รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครวั
มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน
4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รู้จักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชนแ์ ละนาไปปฏบิ ัติได้
4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม
4.3 เช่ือฟังคาสง่ั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง
4.4 ตง้ั ใจเรยี น
5. อย่อู ยา่ งพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ย์สินและสงิ่ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั
5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยัดและรคู้ ณุ คา่
5.3 ใช้จา่ ยอย่างประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ
6. มุ่งมน่ั ในการทางาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทางานทไี่ ด้รบั มอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออปุ สรรคเพอื่ ใหง้ านสาเร็จ
7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รจู้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครูทางาน
8.2 รูจ้ กั การดแู ลรักษาทรัพยส์ มบัติและสงิ่ แวดล้อมของหอ้ งเรียน
และโรงเรียน
ลงชอ่ื ..................................................ผู้ประเมิน
............/.................../................
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
พฤตกิ รรมท่ีปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก
พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี
พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ตั ิบางครัง้ 30-40 พอใช้
ปรบั ปรุง
ตา่ กว่า 30
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
39
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 เร่ือง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
แบบประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ว.4.1 ม.3/1 วิเคราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และ
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์
เพ่อื เปน็ แนวทางการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน
รายการ เกณฑ์การประเมนิ (ระดับคณุ ภาพ) ระดบั
คุณภาพ
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
ดีมาก
1. การเปลี่ยนแปลง อธิบายการเปลีย่ นแปลง อธบิ ายการเปล่ียนแปลง อธิบายการเปล่ียนแปลง ไม่สามารถอธบิ าย
ดี
ของเทคโนโลยีใน ของเทคโนโลยีในดา้ น ของเทคโนโลยใี นด้าน ของเทคโนโลยใี นด้าน การเปลยี่ นแปลงของ
พอใช้
ด้านต่าง ๆ ต่าง ๆ ไดถ้ กู ต้องดีมาก ตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ งดี ต่าง ๆ ไดถ้ กู ต้องพอใช้ เทคโนโลยใี นด้านต่าง ๆ
ปรับปรงุ
ได้
2. ความสัมพนั ธข์ อง บอกความสมั พนั ธ์ของ บอกความสัมพันธข์ อง บอกความสัมพนั ธ์ของ ไมส่ ามารถบอก
เทคโนโลยีกับศาสตรอ์ นื่ เทคโนโลยีกับศาสตร์อืน่ เทคโนโลยกี บั ศาสตร์อืน่ เทคโนโลยีกบั ศาสตร์อืน่ ความสัมพนั ธข์ อง
ไดถ้ กู ตอ้ งดีมาก ได้ถูกตอ้ งดี ไดถ้ ูกต้องพอใช้ เทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ื่น
ได้
3. ความสมบูรณข์ อง ผลงานของนักเรียน ผลงานของนักเรียน ผลงานของนักเรียน ผลงานของนกั เรยี น
ผลงาน มีความครบถว้ น มคี วามครบถ้วน มคี วามครบถ้วน มีความครบถว้ น
สมบูรณ์ดีมาก สมบรู ณค์ ่อนข้างดี สมบรู ณด์ ีเปน็ บางสว่ น สมบูรณน์ อ้ ย
4. สง่ งานตรงเวลา สง่ ภาระงานภายในเวลา ส่งภาระงานชา้ กว่า ส่งภาระงานช้ากว่า สง่ ภาระงานชา้ กวา่
ที่กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วัน กาหนดเกนิ 3 วันข้ึนไป
เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
14-16 ดมี าก
10-13 ดี
7-9 พอใช้
1-6 ปรบั ปรุง
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
40
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 เรอ่ื ง การนาเทคโนโลยีไปสรา้ งนวตั กรรมใหม่
9. บันทึกผลหลังการสอน
ดา้ นความรู้
ด้านสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น
ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ด้านความสามารถทางเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
ดา้ นอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมทม่ี ีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ ม)ี )
ปญั หา/อปุ สรรค
แนวทางการแกไ้ ข
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
41
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปัจจัยทส่ี ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง ปัญหาหรือความต้องการภายในชุมชนหรอื ทอ้ งถ่นิ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4
ปัญหาหรือความตอ้ งการภายในชมุ ชนหรือทอ้ งถนิ่
เวลา 2 ชั่วโมง
1. มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด
1.1 ตัวชวี้ ัด
ว 4.1 ม.3/2 ระบุปญั หาหรือความตอ้ งการของชุมชนหรือทอ้ งถิ่น เพ่ือพัฒนางานอาชพี
สรปุ กรอบของปัญหา รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลและแนวคดิ ที่เกย่ี วข้องกบั ปญั หา
โดยคานึงถงึ ความถกู ตอ้ งด้านทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกปญั หาหรอื ความต้องการภายในชมุ ชนหรอื ท้องถนิ่ ได้ (K)
2. อธิบายวธิ กี ารสารวจปัญหาภายในชุมชนหรือท้องถ่ินได้ (K)
3. สืบคน้ ข้อมูลเพ่อื หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หาภายในชุมชนหรือท้องถน่ิ ได้ (P)
4. ใชเ้ ทคโนโลยีแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ภายในชุมชนหรือทอ้ งถนิ่ ได้ (P)
5. เหน็ ความสาคัญของการแก้ปญั หาภายในชุมชนหรือท้องถิ่น (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
- ปัญ หาหรือความต้องการอาจพบได้ในงานอาชีพของชุมชนหรือท้องถ่ิน ซึ่งอาจมีหลายด้าน เช่น
ดา้ นการเกษตร อาหาร พลงั งาน การขนส่ง
- การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ปัญหาช่วยให้เข้าใจเงือ่ นไขและกรอบของปญั หาได้ชดั เจน จากนนั้ ดาเนินการสืบค้น
รวบรวมข้อมลู ความร้จู ากศาสตรต์ า่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้อง เพือ่ นาไปส่กู ารออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา
4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
การสารวจชมุ ชน หมายถึง การสารวจและศกึ ษาข้อเท็จจริงเกีย่ วกับลักษณะและสภาพของสังคม
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ความตอ้ งการ และปญั หาในชุมชน เพือ่ ให้ทราบลักษณะและขอบเขตของปัญหาต่างๆ
ที่มีอยู่ในชุมชน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาหาสาเหตุของแต่ละปัญหา และหาแนวทางในการปรับปรุง
แก้ไข ซึ่งปญั หาหรือความต้องการภายในชมุ ชนหรือท้องถิ่นน้ัน สามารถแบง่ เป็นประเภทต่างๆ ได้ดังน้ี คือ
ปญั หาด้านเศรษฐกจิ ปัญหาด้านสงั คม ปัญหาด้านวัฒนธรรม และปัญหาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
42