The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2021-05-26 08:49:36

แผนปฏิบัติการประจำปี 2564

65

รายละเอยี ดโครงการตามแผนปฏบิ ัติการ
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

กลมุ นิเทศ ตดิ ตาม
และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

66

ช่อื โครงการ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการดาํ เนินงานคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา

(ก.ต.ป.น.) สพป.ลําปาง เขต 1

แผนงาน พนื้ ฐานดา นการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย

สอดคลอ งกับ

1. ยุทธศาสตร สพฐ. ท่ี 6 การปรบั สมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษา

2. มาตรฐานสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจดั การศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพ

ตัวบง ชท้ี ่ี 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการจดั การศึกษาทีม่ ีประสทิ ธิภาพ

ประเดน็ การพิจารณา การจดั ระบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการจัดการศึกษา

ภารกิจหลกั 4 ดา น และการนํานโยบายสกู ารปฏิบัติ

ลกั ษณะโครงการ ( ) ใหม () ตอ เนอ่ื ง ( ) เรง ดว น

() เพือ่ พัฒนา ( ) เพ่ือปรับปรุง แกไขปญ หา ( ) เพอื่ การปองกัน

ผรู ับผิดชอบโครงการ นายเอกฐสทิ ธิ์ กอบกํา นางกนิษฐา สวยสด และนางศรจี นั ทร ทรายใจ

กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

ระยะเวลาที่ดาํ เนนิ การ ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลกั การและเหตุผล

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา ๒๐ วรรค 3 และวรรค 4

กาํ หนดวา ในระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาใหมีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขต
พ้ืนที่การศึกษา (ก.ต.ป.น.) มีหนาที่ศึกษา วิเคราะหวิจัย นิเทศติดตามและประเมินผลการบริหารและ

การดําเนนิ การ โดยมงุ เนนผลสมั ฤทธิข์ องหนวยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพื้นท่กี ารศึกษาเพอื่ เตรยี มการรับการ

นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลจากหนวยงานภายนอก กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงไดออกกฎกระทรวงกําหนดจํานวน
หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่

การศึกษา พ.ศ. 2548 ใหมคี ณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

จํานวนเกาคน เพ่ือเปนการระดมทรัพยากรบุคคลท่ีทรงคุณคาแหงภูมิปญญาทองถิ่นไดมีสวนรวม
เปน เจาของในการบรหิ ารและจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา โดยมีขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล

และนิเทศการศึกษา ตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการกระจายอํานาจการบริหารและ

การจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 จํานวน 4 ดา น ไดแก 1) ดานวิชาการ 2) ดา นงบประมาณ 3) ดานการบริหารงาน
บุคคล และ 4) ดานการบรหิ ารทวั่ ไป

แผนปฏิบตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

67

จากความสําคัญของการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จึงจัดทําโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงานคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) เพ่ือใหโรงเรียนเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
สามารถบริหารและดาํ เนินการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอยา งตอ เน่อื งสบื ไป

2. วัตถุประสงค
2.1 เพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาของผูบ รหิ ารโรงเรียนในสงั กัด
2.2 เพื่อนิเทศ ติดตามการบริหารจัดการโรงเรยี นตามภารกิจหลกั 4 ดาน ไดแก ดานวิชาการ ดาน

งบประมาณ ดานการบรหิ ารงานบุคคล และดานบรหิ ารงานทว่ั ไป
2.3 เพือ่ สงเสรมิ สนับสนุนการดาํ เนนิ งานของโรงเรียนในสงั กดั ตามนโยบายแหงรฐั กระทรวง

ศกึ ษาธิการ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และจดุ เนน ของหนวยงานตน สงั กดั

3. เปาหมายเชิงผลผลติ (OUTPUT)
3.1 จัดประชุมคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สํานักงานเขต

พนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1 จาํ นวน 3 คร้ัง
3.2 ผูบริหารสถานศึกษาทุกคนไดรับการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหาร

จัดการศกึ ษา จาํ นวน 2 ครัง้
3.3 โรงเรียนในสังกัดรอยละ 100 ไดรับการนิเทศ ติดตามการบริหารจัดการโรงเรียนตามภารกิจ

หลัก 4 ดาน ไดแก วิชาการ บริหารงบประมาณ บรหิ ารงานบุคคล และบริหารงานทว่ั ไป จาํ นวน 1 ครัง้
3.4 โรงเรียนในสังกัดรอยละ 100 ไดรับติดตามการดําเนนิ งานตามจุดเนนนโยบายแหงรัฐ กระทรวง

ศกึ ษาธิการ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน และจุดเนน ของหนว ยงานตน สงั กดั จาํ นวน 1 คร้ัง

4. เปา หมายเชิงผลลพั ธ (OUTCOME)
4.1 โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามภารกิจหลกั 4 ดานไดแก ดานวิชาการ ดานบริหาร

งบประมาณ ดา นบรหิ ารงานบุคคล และดานบริหารงานทวั่ ไปท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
4.2 โรงเรียนดําเนินงานตามจุดเนนนโยบายแหง รัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สาํ นักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และจดุ เนนของหนว ยงานตนสังกดั ไดอ ยา งมีคณุ ภาพ

5. ผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น
5.1 โรงเรียนสามารถบรหิ ารจัดการศกึ ษา 4 ดาน คอื ดานวิชาการ ดา นงบประมาณ

ดานการบริหารงานบุคคล และดานบรหิ ารงานท่วั ไปจนเกิดประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ลโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล
5.2 โรงเรียนสามารถดําเนินงานตามจุดเนน นโยบายสําคัญแหงรัฐ กระทรวงศกึ ษาธิการ

สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และจุดเนน ของหนว ยงานตน สังกดั ไดอ ยา งมคี ณุ ภาพ

แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

68

6. ดัชนีชี้วดั ความสําเร็จ
6.1 รอ ยละ 100 ของโรงเรยี นในสงั กัด ดาํ เนนิ งานตามภาระงาน 4 ดาน คอื ดานวชิ าการ

ดา นงบประมาณ ดา นการบริหารงานบุคคล และดานการบรหิ ารงานทั่วไป ของเขตพื้นที่การศกึ ษา และสถานศึกษา
อยางมีคุณภาพ

6.2 รอยละ 100 ของโรงเรยี นในสงั กัด ดําเนินงานตามจดุ เนนนโยบายสาํ คัญแหงรฐั
กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และจุดเนนของหนวยงานตนสังกัด
อยางมีประสิทธภิ าพ

7. กลมุ เปาหมาย/ผทู ่ีไดรับประโยชน
7.1 โรงเรียนในสังกัดทุกแหงมีการบริหารจัดการตามภาระงาน 4 ดาน คือ ดานวิชาการ ดาน

งบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบริหารงานท่ัวไป ดวยวิธีท่ีหลากหลาย อยางท่ัวถึง นําผลมา
พัฒนาการจัดการศึกษาจนเกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล

7.2 ทุกโรงเรียนในสังกัดทุกแหง มกี ารบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมมาภิบาล ไดอยางมี
คณุ ภาพตามจุดเนน นโยบายสําคัญแหงรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ
จุดเนนของหนวยงานตนสังกดั

8. จํานวนงบประมาณทง้ั ส้นิ 168,430 บาท จาํ นวน - บาท

8.1 สพฐ. จาํ นวน 168,430 บาท
จาํ นวน - บาท
8.2 สพป. ลําปาง เขต 1
8.3 อนื่ ๆ (ระบ)ุ

แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

69

9. กจิ กรรมและรายละเอยี ดคา ใชจ า ย

ระยะเวลาดําเนนิ การ/งบประมาณทใี่ ช รวม

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคา ใชจาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ก.ค. 2564 ถงึ งบประมาณ
(ต.ค. 2563 ถงึ (ม.ค. 2564 ถงึ (เม.ย. 2564 ถงึ

ธ.ค. 2563) ม.ี ค. 2564) มิ.ย. 2564) ก.ย. 2564)

1. ประชมุ คณะ กรรมการ ก.ต.ป.น. 38,750

และผูทเี่ กี่ยวของเพ่ือขับเคล่ือนงาน

ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล

และนเิ ทศการจดั การศึกษา

รายละเอยี ดคาใชจาย

1. คา เบีย้ ประชุมสาํ หรบั ประธาน 1,250 1,250 1,250

2. คาเบยี้ ประชุมของผูแทน 8,000 8,000 8,000

และผูทรงคณุ วฒุ ิ ก.ต.ป.น.

จาํ นวน 8 คนๆ ละ 3 ครง้ั ๆ ละ

1,000บาท

3. คาอาหารกลางวนั และอาหาร 3,000 3,000 3,000

วาง สาํ หรับผูเ ขา ประชมุ จํานวน 20

คน ๆ ละ 150 บาท

4. คา จางถา ยเอกสารการประชมุ 1,000 1,000

พรอ มรูปเลม 20 เลมๆละ 50 บาท

2. กจิ กรรมประเมนิ ประสทิ ธิภาพและ 18,720

ประสิทธิผลการบริหารจัดการศึกษา

ของผูบริหารสถานศกึ ษา

รายละเอียดคาใชจ า ย

1. คา อาหารวา งการประชมุ ชแ้ี จง 1,470 1,470

คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ประเมิน

ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลการ

บรหิ ารจดั การศกึ ษาของผบู ริหาร

สถานศึกษา และผเู กีย่ วของจํานวน

42 คน ๆ ละ 35 บาท

แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

70

ระยะเวลาดําเนนิ การ/งบประมาณทใี่ ช รวม

ที่ กจิ กรรม/รายละเอียดคาใชจ าย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ก.ค. 2564 ถึง งบประมาณ
(ต.ค. 2563 ถงึ (ม.ค. 2564 ถงึ (เม.ย. 2564 ถึง

ธ.ค. 2563) ม.ี ค. 2564) มิ.ย. 2564) ก.ย. 2564)

2. คา เบี้ยเลย้ี งคณะอนุกรรมการ 5,520 5,520
ก.ต.ป.น. และพนักงานขบั รถ จํานวน 2,370 2,370
48 คน ๆ ละ 2 วัน ๆ ละ 120 บาท
36,000
3. คาพาหนะเดินทาง
1,680
3 กจิ กรรมนเิ ทศ ติดตามการบรหิ าร
จัดการโรงเรียนตามภารกจิ หลัก 4 26,440
ดา น ไดแก วชิ าการ งบประมาณ 6,200
บริหารงานบุคคล และบรหิ ารงาน 1,680
ทัว่ ไป
รายละเอยี ดคาใชจ า ย แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1
1. คา อาหารวางการประชมุ ช้แี จง
คณะอนกุ รรมการ ก.ต.ป.น. นิเทศ
ตดิ ตามการบริหารจัดการโรงเรียนตาม
ภารกจิ หลกั 4 ดาน และผเู กีย่ วขอ ง
จาํ นวน 48 คนๆ ละ 35 บาท
2. คา เบี้ยเลีย้ งคณะอนุกรรมการ
ก.ต.ป.น. และพนกั งานขบั รถ จาํ นวน
55 คน ๆ ละ 2 วนั ๆละ 120 บาท
3. คา พาหนะเดินทาง
4. คาอาหารวางการประชมุ
สรปุ ผลการนิเทศ ตดิ ตามการบริหาร
จัดการโรงเรยี นตามภารกจิ หลกั
4 ดา น และผเู กยี่ วของจํานวน
48 คนๆ ละ 35 บาท
5. คาเอกสารประกอบการประชุม
100 ชดุ ๆ (ใชงบประมาณจาก
องคประกอบท่ี 1)

71

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณทใี่ ช รวม
งบประมาณ
ที่ กจิ กรรม/รายละเอยี ดคาใชจาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
59,560
4 กิจกรรมตดิ ตามการดําเนนิ งานตาม (ต.ค. 2563 ถึง (ม.ค. 2564 ถงึ (เม.ย. 2564 ถึง (ก.ค. 2564 ถงึ
นโยบายแหง รฐั กระทรวงศกึ ษาธิการ
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ธ.ค. 2563) ม.ี ค. 2564) มิ.ย. 2564) ก.ย. 2564)
ข้ันพ้ืนฐาน และจุดเนนของ
หนวยงานตนสงั กดั จาํ นวน 1 ครงั้ 1,680
และการแลกเปล่ยี น เรียนรกู าร
ดําเนินงานตามนโยบายแหงรัฐฯ 21,600
กจิ กรรมยอม 4.1 ติดตามการ 9,000
ดําเนินงานตามนโยบายแหงรัฐ ฯ 1,680
รายละเอยี ดคา ใชจาย
1. คา อาหารวา งการประชุมชแ้ี จง 8,000
คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น. ตดิ ตาม
การดาํ เนนิ งานตามนโยบายแหง รฐั ฯ
และผูเกย่ี วของจาํ นวน 48 คนๆ ละ
35 บาท
2. คาเบ้ียเลี้ยงคณะอนกุ รรมการ
ก.ต.ป.น. และพนกั งานขับรถ จํานวน
48 คน วนั ละ 120 บาท
3. คาพาหนะ
4. คาอาหารวา งการประชุม
สรปุ ผลการติดตามการดาํ เนินงาน
ตามนโยบายแหงรัฐฯ และผูเก่ยี วของ
จํานวน 48 คนๆ ละ 35 บาท
5. คาจางถายเอกสารแบบ
ตดิ ตามนโยบายแหงรฐั ฯ พรอมเขา
เลม 20 เลม ๆละ 40 บาท

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

72

ระยะเวลาดําเนนิ การ/งบประมาณท่ใี ช รวม

ท่ี กจิ กรรม/รายละเอยี ดคา ใชจ าย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ก.ค. 2564 ถงึ งบประมาณ
(ต.ค. 2563 ถึง (ม.ค. 2564 ถงึ (เม.ย. 2564 ถงึ

ธ.ค. 2563) มี.ค. 2564) มิ.ย. 2564) ก.ย. 2564)

กจิ กรรมยอย 4.2 การแลกเปลย่ี น 16,000 21,610 37,000 12,000
เรียนรกู ารดําเนนิ งานตามนโยบาย 28,250 5,000
แหง รฐั ฯ
16,000
1. คาจางทาํ โล จํานวน 10 อัน
อนั ละ 1,200 บาท 81,570 168,430

2. คา จางจัดทาํ เกยี รติบัตร
ออนไลน

5 คา วสั ดุประกอบการดําเนนิ งานโครงการ
5.1 กระดาษ A4/กระดาษทําปก
5.2 หมกึ พิมพ
5.3 วัสดสุ าํ นักงานอื่น ๆ

รวมงบประมาณทง้ั สน้ิ

หมายเหตุ ถัวจายทกุ กิจกรรม/ทกุ รายการ

แผนปฏบิ ัติการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

73

ชอื่ โครงการ นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลคณุ ภาพการศึกษา

แผนงาน พนื้ ฐานดานการพัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย

สอดคลองกบั

1. ยทุ ธศาสตร (สพฐ.) ที่ 3 การพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย

2. มาตรฐานสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา

มาตรฐานที่ 2 การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาที่มปี ระสิทธภิ าพ

ตัวบง ชี้ท่ี 1 การบริหารงานดานวิชาการ

ตัวบงชที้ ่ี 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

ลักษณะโครงการ 1.  ใหม  ตอเน่อื ง  เรงดวน

2.  เพ่ือพัฒนา  เพอ่ื ปรบั ปรุงแกไขปญ หา  เพ่ือการปองกนั

ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ กลมุ งานนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา

กลุมนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา

ระยะเวลาทีด่ าํ เนนิ การ พฤศจิกายน 2563 – กันยายน 2564

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล

การนิเทศการศึกษา เปนการพยายามของบุคลากรทางการศึกษาท่ีจัดทํากิจกรรมและใหบริการ

ชวยเหลือ แนะนําแกผูบริหารโรงเรียน และครูผูสอนโดยทางตรงและทางออม อันจะไดนํามาปรับปรุงการเรียน

การสอนเพอื่ เพิม่ ประสิทธภิ าพในการเรยี นรูของนักเรยี น ซงึ่ ผูนิเทศตองเปนผทู ่ีมีความรอู ยางกวางขวางพอท่ีจะชวย
ใหสามารถอภิปรายปญหาตางๆ ได เพราะการแกปญหามิไดมีขอบเขตตายตัว เชนมีความรู ความเขาใจในเรื่อง

หลกั สูตร การพฒั นาหลักสตู ร การนาํ หลกั สตู รไปใชใ หสอดคลองกับสังคมและทองถิ่นใหเกิดประโยชนสูงสุด มีทักษะ

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและส่ือการเรียนการสอนเปนอยางดี เน่ืองจากการนิเทศการศึกษาเปนวิธีการ
ที่สําคัญวิธีหนึ่งท่ีชวยพัฒนาคุณภาพของบุคลากรทางการศึกษาที่เก่ียวของการใหคําปรึกษา คําแนะนํา ชวยเหลือ

สนับสนุน สรางขวัญและกําลังใจแกผูปฏิบัติงาน เพ่ือใหมีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานตามบทบาทและ

หนาที่ โดยเฉพาะงานดานวิชาการเนื่องจากงานวิชาการเปนงานหลักท่ีมีความสําคัญอยางย่ิงตอการบริหาร
สถานศกึ ษาและเปนงานที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทุกประเภทในสถานศึกษา โดยเฉพาะการปรับปรงุ คณุ ภาพการสอน

ซึ่งเปนจุดหมายหลักและเปนเคร่ืองช้วี ัดความสําเร็จทางการศึกษาใหเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสูตร และเกิด

ประโยชนสูงสุดตอผูเรียน มุงเนนการพัฒนาสติปญญา ความรู ความสามารถ คุณธรรม เจตคติ คานิยมทําให
ผูเ รียนมคี ุณคา ตอ สงั คม

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

74

จากความสําคัญของการนิเทศ กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จึงตองการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และขับเคล่ือนนโยบายของรัฐ
กระทรวงศึกษาธิการ และ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สูการปฏิบัติ โดยใชกระบวนการนิเทศ
เอ พี ไอ ซี อี (APICE)

2. วัตถุประสงค
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดตามนโยบายและจุดเนนของสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ดว ยกระบวนการนิเทศแบบ เอ พี ไอ ซี อี (APICE)

3. เปา หมายเชงิ ผลผลิต (OUTPUT)
3.1 สถานศกึ ษาทุกโรงเรียนในสังกัดท่ไี ดร บั การนเิ ทศ ตดิ ตาม ใหความชวยเหลอื สามารถจัด

การศกึ ษาไดอยางมีคุณภาพตามนโยบายและจุดเนน ของหนวยงานตนสังกดั
3.2 ครูผสู อนเปล่ยี นบทบาทจาก ครูผสู อน เปน โคช โดยเนนการจัดการเรียนรูแบบ Active

Learning

4. เปา หมายเชิงผลลัพธ (OUTCOME)
4.1 นักเรียนไดร บั การสง เสรมิ ใหม ีคณุ ลกั ษณะอันทพ่ี ึงประสงค ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และ ฉบับปรับปรุง 2560
4.2 สถานศกึ ษามีผลการประเมนิ การทดสอบระดบั ชาตเิ ทา กบั หรอื สูงขน้ึ กวา คาเฉลีย่

ระดับประเทศ

5. ผลทคี่ าดวาจะเกดิ ข้ึน
5.1 สถานศึกษาทุกโรงเรียนในสังกัดท่ีไดรับการนิเทศ ติดตาม ใหความชวยเหลือสามารถจัด

การศกึ ษาไดอยางมคี ุณภาพ
5.2 ครผู สู อนปรบั เปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู จาก ครูผูสอน เปน โคช เพ่ือสง เสริมนักเรียน

ใหม ที กั ษะในศตวรรษที่ 21
5.3 นักเรยี นมคี ุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และฉบับ

ปรบั ปรงุ 2560

6. ดัชนีช้วี ดั ความสาํ เร็จ
6.1 รอ ยละของสถานศกึ ษาในสังกัดไดร ับการนิเทศ กํากบั ตดิ ตาม ใหค วามชวยเหลือ
6.2 รอยละของนักเรยี นมคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต ามเกณฑท ี่กําหนด
6.3 รอยละของสถานศกึ ษามผี ลการประเมินระดับชาติเทา กบั หรอื สงู กวาคา เฉลี่ยระดับประเทศ

7. กลมุ เปา หมาย/ผูทไ่ี ดร ับประโยชน

แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

75

7.1 สถานศกึ ษาในสงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1
7.2 ครูผสู อนและนกั เรียนในสังกัดสํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลําปาง เขต 1

8. จํานวนงบประมาณทั้งส้ิน 191,734 บาท

8.1 สพฐ. จํานวน - บาท

8.2 สพป. ลําปาง เขต 1 จํานวน 191,734 บาท

8.3 งบประมาณจากแหลงอื่น ๆ (ระบุ) จาํ นวน - บาท

9. กจิ กรรมและรายละเอียดคาใชจา ย

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณทีใ่ ช

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
ที่ กิจกรรม/รายละเอียดคาใชจ าย (ต.ค. 2563 (ม.ค. 2564 (เม.ย. 2564 (ก.ค. 2564 งบประมาณ

ถงึ ธ.ค. ถึง ม.ี ค. ถงึ มิ.ย. ถึง ก.ย. 2,000
2563) 2564) 2564) 2564) 2,400
4,400
1. ประชุมการจัดทําแผนนเิ ทศ

เครอื่ งมือนเิ ทศ

รายละเอียดคาใชจา ย:-

1. คาจา งถายเอกสารแผนนเิ ทศ 2,000

พรอมทาํ รูปเลม พรอ มปก 20 เลม

เลม ละ 100 บาท

2. คาอาหาร อาหารวา งและ 2,400

เครอ่ื งดม่ื จํานวน 16 คน ๆ ละ 150

บาท

3) คา วัสดุโดยจัดซื้อหมึก 4,400

เครือ่ งพิมพ Fuji Xerox

จํานวน 2 ชุด

แผนปฏิบตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

76

ระยะเวลาดําเนนิ การ/งบประมาณท่ใี ช

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
ที่ กจิ กรรม/รายละเอียดคา ใชจ าย (ต.ค. 2563 (ม.ค. 2564 (เม.ย. 2564 (ก.ค. 2564 งบประมาณ

ถึงธ.ค. ถึง มี.ค. ถึง มิ.ย. ถึง ก.ย. 19,200
8,352
2563) 2564) 2564) 2564) 79,288

2. กจิ กรรม นิเทศวันเปดภาคเรียน 50,040
29,248
2/2563
2,400
รายละเอียดคา ใชจ าย:-

1. คา เบยี้ เลยี้ งสาํ หรบั คณะ 19,200

นิเทศวันเปด ภาคเรียน 2/2563

2. คา ชดเชยนํา้ มันเชอ้ื เพลิง 8,352

3. กิจกรรม นเิ ทศตดิ ตามการยกระดับ

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน

และงานตามนโยบายสําคัญจุดเนน

สาํ คัญของรัฐ

รายละเอียดคา ใชจ าย:-

1. คาเบ้ียเลยี้ งสาํ หรบั 50,040

ศกึ ษานเิ ทศก จํานวน 13 คน ๆ ละ

3 ครั้ง

2. คาชดเชยน้ํามันเชอ้ื เพลงิ 29,248

4. กิจกรรม ประชมุ สรุปรายงานนเิ ทศ

ไตรมาส 1 - 2 และ

วางแผนการนิเทศตดิ ตาม

การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา

ในไตรมาส 3 - 4

รายละเอยี ดคาใชจา ย:- 2,400

- คา อาหารกลางวนั และ

อาหารวา ง จํานวน 16 คน ๆ ละ

150 บาท

แผนปฏบิ ตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

77

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณท่ีใช

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
ท่ี กจิ กรรม/รายละเอียดคาใชจาย (ต.ค. 2563 (ม.ค. 2564 (เม.ย. 2564 (ก.ค. 2564 งบประมาณ

ถึงธ.ค. ถงึ มี.ค. ถึง มิ.ย. ถึง ก.ย. 27,552

2563) 2564) 2564) 2564) 19,200
8,352
5. กจิ กรรม นเิ ทศติดตามความพรอ ม 43,742

วนั เปดภาคเรยี น 1/2564 และ 27,360
16,382
นโยบายสําคญั แหงรัฐ
2,400
รายละเอียดคาใชจาย :- 191,734

1. คาเบยี้ เล้ยี งสาํ หรับคณะ 19,200

นเิ ทศวันเปดภาคเรียน 2/2563

2. คาชดเชยนํา้ มันเชอ้ื เพลงิ 8,352

6. กจิ กรรม นเิ ทศติดตามการยกระดับ

คณุ ภาพการศึกษาตามจุดเนน

นโยบายสาํ คญั แหงรัฐ

รายละเอียดคา ใชจา ย :-

1. คาเบีย้ เล้ียงสําหรับ 27,360

ศึกษานเิ ทศก จาํ นวน 13 คน ๆ ละ

2 ครงั้

2. คาชดเชยน้ํามนั เชอื้ เพลงิ 16,382

7. กจิ กรรม สรปุ ผลการนิเทศใน

ไตรมาสที่ 3 – 4

รายละเอยี ดคา ใชจาย:-

- คา อาหารกลางวนั และ 2,400

อาหารวาง จํานวน 16 คน ๆ ละ

150 บาท

รวมงบประมาณทั้งสนิ้ 36,352 79,288 29,952 46,142

หมายเหตุ : - ถัวจา ยทกุ กจิ กรรม/ทกุ รายการ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

78

ชอื่ โครงการ สง เสรมิ พฒั นา ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา

แผนงาน พ้นื ฐานดานการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย

สอดคลองกบั

1. ยุทธศาสตร(สพฐ.) ท่ี 2. พัฒนาคณุ ภาพผเู รียนและสง เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพอื่ สรา งขดี ความสามารถใน

การแขง ขัน ตวั ช้ีวดั ที่ 5 รอยละของเด็กปฐมวัยมพี ัฒนาการสมวัย

3. การพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย

2. มาตรฐานสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ

ตัวบงชี้ท่ี 1 : การบริหารงานดานวิชาการ

ประเดน็ พิจารณาที่ 5 การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการจัดการศกึ ษาทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐานท่ี 3 สมั ฤทธิผลการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา

ตัวบงชี้ท่ี 2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั และการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเพื่อการประกัน

คุณภาพการศึกษา

ตัวบงช้ีท่ี 3 ผเู รยี นระดบั ปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพตามหลักสตู ร

ประเด็นการพิจารณาท่ี 1 ผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็กปฐมวัยเปนไปตามมาตรฐานคุณลักษณะ

ท่พี งึ ประสงคต ามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560

ลกั ษณะโครงการ 1.  ใหม  ตอ เนือ่ ง  เรงดว น

2.  เพ่อื พัฒนา  เพอื่ ปรบั ปรงุ แกไ ขปญ หา  เพอื่ การปองกนั

ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา

ระยะเวลาท่ีดาํ เนนิ การ พฤศจิกายน 2563 – กันยายน 2564

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตผุ ล

การเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 มเี ปาหมายไปท่ีผูเรียนเกดิ คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 โดยผูเรียนจะใช

ความรูในสาระหลักไปบูรณาการสั่งสมประสบการณกับทักษะ 3 ทักษะ เพื่อการดํารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21

คือ ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและ เทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ ซ่ึงการจัด

การศกึ ษาจะใชร ะบบสงเสรมิ การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คือ ระบบมาตรฐานการเรียนรู ระบบการประเมินผลทักษะการ

เรยี นรู ระบบหลักสตู รและวิธีการสอน ระบบการพฒั นางานอาชพี และระบบแหลงเรยี นรูแ ละบรรยากาศการเรยี นรู

การปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรูของนักเรียน เพื่อใหบรรลุผลลัพธที่สําคัญและจําเปนตอตัวนักเรียน

อยางแทจ ริง มงุ ไปที่ใหนักเรยี นสรางองคค วามรูดวยตนเอง ตองกาวขา มสาระวชิ าไปสูการเรียนรูเพื่อการดํารงชีวิตใน

ศตวรรษที่ 21 ครูตองไมสอนหนงั สือ ไมนาํ สาระทมี่ ีในตาํ รามาบอกบรรยายให นกั เรียนจดจําแลวนําไปสอบวัดความรู

ครตู องสอนคน ใหเปนมนุษยที่เรียนรูการใชทักษะเพ่ือการดาํ รงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เปนผูออกแบบการเรียนรู และ

แผนปฏิบตั ิการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

79

อํานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู ใหนักเรียนเรียนรูจ ากการเรียนแบบลงมือทํา โดยมีประเด็นคําถาม
อยากรูเปนตัวกระตุนสรางแรงบันดาลใจใหอยากเรียน ท่ีจะนําไปสูการกระตือรือรนที่จะสืบคน รวบรวมความรูจ าก
แหลงตางๆ มาสนับสนุน หรอื โตแยงขอสมมติฐานคําตอบท่ีคุนเคย พบเจอจากประสบการณเดิมใกลตัว สรางเปน
กระบวนทศั นใ หมแทนของเดมิ

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่ใหนักเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง โดยมีครูเปนผูอํานวยความ
สะดวกชวยใหนักเรียนไดสืบคนรวบรวมความรูจากแหลงอางอิงที่เช่ือถือได สราง กระบวนการแลกเปลี่ยน
เรียนรูกับกลุมเพ่ือน นําไปสูการไดคําตอบที่มีทฤษฎีความรูรองรับ เกิดจินตนาการสรางกระบวนการพัฒนางานท่ีเปน
ประโยชนตอการดํารงชีวิตของตนและคนในสังคม วางแผนการทํางาน สืบคน สรางขั้นตอนและกระบวนการตาม
การอางอิงของทฤษฎีความรูและพิสูจนสมมติฐานคําตอบ สรุปเปนขอคนพบใหมในรูปผลงาน หรือนวัตกรรม เปน
กระบวนการที่นําไปสูการพัฒนาทักษะพื้นฐานการสรางความรู ทักษะการดํารงชีวิตและพัฒนาคุณลักษณะของ
พลเมืองในศตวรรษที่ 21 ซึง่ ตอ งมีระบบมาใชสนับสนุนการเรยี นรู

จากความสําคญั ของการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 กลุมนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จึงตองการสงเสริม พัฒนา ยกระดับคุณภาพ
การศึกษา และขับเคลื่อนนโยบายของรัฐ กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สกู ารปฏิบตั ิ

2. วตั ถุประสงค
2.1 เพอ่ื ใหค รผู สู อนปฐมวยั มีความรูความเขา ใจสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรสําหรบั

เด็กปฐมวยั
2.2 เพ่ือประเมนิ โครงงานตามรปู แบบวัฎจักรการสืบเสาะของครูผสู อนปฐมวยั
2.3 เพื่อพัฒนาครูผูสอนปฐมวัยใหมีความรู เทคนิค วิธีการท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย

ในชั้นเรยี นสาํ หรบั เด็กปฐมวยั
2.4 เพื่อใหครูผูเขารับการพัฒนามีความรู ความเขาใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการจัด

ประสบการณการเรยี นรูส าํ หรับเด็กปฐมวัยดวยแนวคิด Brain-based Learning-BBL สู Executive Functions (EF)
ดว ยการจัดการเรียนรูแบบไฮสโคป (HighScope) สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการจัดทําหลักสตู รสถานศกึ ษา
ใหสมั พนั ธก ับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 และบรบิ ทของทอ งถ่นิ

2.5 เพื่อใหครูผูเขารับการพัฒนาไดฝกทักษะการจัดประสบการณพัฒนาเด็กแบบองครวม
ตามแนวคิด Brain-based Learning-BBL สู Executive Functions (EF) หรือการพัฒนาทกั ษะการคิดเพ่ือชีวิต
ท่สี ําเร็จ และการจัดการเรียนรแู บบไฮสโคป (HighScope) สามารถนําประสบการณไปจัดหองเรยี น มมุ ประสบการณ
สอื่ และกจิ กรรม ประสบการณก ารเรียนรูตามตารางกจิ กรรมประจาํ วนั ไดอยางเหมาะสม

แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

80

2.6 เพื่อใหครูผูเขารับการพัฒนา มีความรู ความเขาใจในการประเมินพัฒนาการเด็กแตละวัย
สอดคลองกบั มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคแ ละตวั บงชี้ในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 สามารถ
ดําเนินการประเมินและนําผลไปสงเสริมพัฒนาเด็กไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยของเด็ก
แตล ะคน

2.7 เพือ่ สงเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาของสถานศึกษา
ในสังกดั ใหเขมแขง็ และมปี ระสทิ ธิภาพ

2.8 เพื่อพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษาในสังกัดตามนโยบายและ
จุดเนนของสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

2.9 เพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหมีความพรอมการรับการประเมินเปนสถานศึกษาพอเพียงและ
ศนู ยก ารเรยี นรตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดานการศกึ ษา

2.10 เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาไดปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและประยุกตแนว
พระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 ดา นการศกึ ษาสกู ารจัดการเรยี นรูใ นสถานศกึ ษา

2.11 เพื่อพัฒนาสถานศึกษาในสังกัดนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระบรมราโชบาย
ของในหลวงรัชกาลท่ี 10 ดานการศึกษา ไปประยกุ ตใชในการบรหิ ารจดั การในสถานศกึ ษาไดอยางเหมาะสม

2.12 เพ่ือใหผูบริหาร ครูและนักเรียน ตระหนักเห็นความสําคัญท่ีจะรวมมือรวมใจกัน ทํานุบํารุง
สง เสริมอนุรักษภาษาไทย

2.13 เพอื่ พัฒนาสง เสรมิ ความสามารถและทักษะภาษาไทยของผูเรียน
2.14 เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรของสถานศึกษาในสังกัดตามนโยบายและ
จุดเนน ของสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
2.15 เพื่อสงเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนโดยใชการศึกษาทางไกลของสถานศึกษาใน
สงั กดั ใหไ ดม าตรฐาน
2.16 เพ่ือนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการเรียนการสอนโดยใชการศึกษาทางไกลของ
สถานศกึ ษาในสงั กัด
2.17 เพื่อสรางเครือขายประสานความรวมมือใหแกสถานศึกษาในสังกัดดวยรูปแบบท่ีเหมาะสม
ตามบริบทของสถานศึกษา โดยจัดใหมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูดวยกระบวนการ PLC มีการประกวด Best Practice
ใหกับสถานศกึ ษาท่จี ดั การเรยี นการสอนโดยใชการศึกษาทางไกลประสบผลสาํ เร็จดีเยี่ยม

3. เปา หมายเชงิ ผลผลติ (OUTPUT)
3.1 ครูผูสอนปฐมวัยท่ีเขา รับการอบรมมีความรู ความเขาใจ สามารถจัดกิจกรรมการทดลองตาม

โครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย และสามารถจัดทําโครงงานวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัยตาม
รปู แบบวัฎจักรการแบบสบื เสาะได

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

81

3.2 ครูผูสอนปฐมวัยท่ีเขารับการอบรมจัดทํารายงานสรุปการทดลองกิจกรรมและโครงงาน
วิทยาศาสตรส ําหรบั เดก็ ปฐมวัยตามรปู แบบวัฎจักรการแบบสืบเสาะไดถูกตอง

3.3 ครูผสู อนปฐมวัยทีเ่ ขารับการอบรมมีความรู เทคนิค วิธีการในการจัดกิจกรรมศลิ ปะในช้ันเรียน
สาํ หรับเดก็ ปฐมวยั ไดอยา งมคี ณุ ภาพ

3.4 ครูผูสอนเด็กปฐมวัยทุกคนในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ลาํ ปาง เขต 1 ไดรับการฝกอบรมพัฒนาครบตามเนื้อหาหลกั สูตร เปน เวลา 1 วัน จาํ นวน 6 ชัว่ โมง

3.5 ครูหองเรียนระดับปฐมวัยทุกคนทุกหองเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ที่เขารับการพัฒนาไดนําเทคนิค วิธีการ การจัดประสบการณการเรียนรูตามแนวคิด
Brain-based Learning-BBL สู Executive Functions (EF) ดวยการจดั การเรยี นรแู บบไฮสโคป (HighScope)

3.6 เด็กระดับปฐมวัย 3-6 ป ทุกคนไดปฏิบัติกิจกรรม ประสบการณการเรียนรูเพ่ือสงเสริม
พัฒนาการตามวัยตามแนวคิด Brain-based Learning-BBL สู Executive Functions (EF) ดวยการจัดการเรียนรู
แบบไฮสโคป (HighScope)

3.7 ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากรของสถานศกึ ษาในสงั กัด มคี วามรู ความเขาใจ
การดาํ เนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา

3.8 สถานศึกษาในสังกัดไดร บั การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา และการดําเนนิ งาน
ตามระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา

3.9 สถานศกึ ษาทกุ โรงเรียนในสงั กดั ไดร ับการสงเสริม/พฒั นา และนเิ ทศตดิ ตาม พฒั นาระบบ
การวดั และประเมินผลการเรยี นรู ไดอ ยางมคี ณุ ภาพ

3.10 ครูผูสอนมีความรู ความเขา ใจ ความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรยี นรู
3.11 ผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัด มีความรูความเขาใจการนํา
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและพระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 ดานการศึกษาสูการจัดการเรียนรู
ในสถานศึกษา
3.12 สถานศกึ ษาในสังกัด ไดรับการนเิ ทศ ตดิ ตาม การขับเคล่อื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการนาํ พระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 ดานการศกึ ษาสกู ารจดั การเรียนรูใ นสถานศึกษาอยางตอเนอ่ื ง
3.13 ครูผูสอนและนักเรียนทุกโรงเรียนในสังกัด จํานวน 94 โรงเรียน เขา รวมกิจกรรมการแขงขัน
ทกั ษะภาษาไทย
3.14 สถานศึกษาทุกโรงเรียนในสังกัดที่ไดรับการสงเสริม/พัฒนา และนิเทศติดตาม การจัดการ
เรยี นรูคณติ ศาสตร สามารถจดั การศกึ ษาไดอยา งมีคณุ ภาพ
3.15 ครูผูสอนมคี วามรู ความเขาใจ ความสามารถในการจัดการเรียนรูคณติ ศาสตร อีกทั้งเปลี่ยน
บทบาทจากครผู สู อนเปน โคช โดยเนน การจดั การเรียนรูท ี่สงเสริมสมรรถนะและการคดิ แกป ญหา

แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

82

3.16 สถานศึกษาทุกโรงในสังกัดไดรับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนโดยใช
การศกึ ษาทางไกลใหไดม าตรฐาน

3.17 สถานศึกษาทุกโรงในสังกัด ไดรับการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
โดยใชการศกึ ษาทางไกลอยา งเปน รูปธรรม

3.18 สถานศึกษาทกุ โรงในสังกัด มีเครือขายการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) มเี วทีการแลกเปล่ียน
เรียนรู และนําเสนอ Best Practice
4. เปา หมายเชงิ ผลลัพธ (OUTCOME)

4.1 นกั เรียนไดร บั การสงเสริม พฒั นา ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และ ฉบบั ปรบั ปรุง 2560

4.2 สถานศกึ ษามผี ลการประเมนิ การทดสอบระดับชาตเิ ทา กบั หรือสงู ข้ึนกวาคา เฉลย่ี ระดับประเทศ
4.3 ครูผูสอนปฐมวัยสามารถจัดกิจกรรมการทดลองตามโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย
ประเทศไทย และสามารถจัดทาํ ไดอยางมีคณุ ภาพ
4.4 โรงเรียนในโครงการบานนกั วิทยาศาสตรนอย ประเทศไทยท่ีเขารับการประเมินในปการศกึ ษา
2563 ผานการประเมนิ เพอ่ื รับตราพระราชทานฯ
4.5 เดก็ ปฐมวัยมีพัฒนาการท้งั 4 ดา นอยางสมดลุ ตามวยั
4.6 ครูผูสอนเด็กปฐมวัยทุกคนในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ลําปาง เขต 1 มีความรู ความเขาใจ และทักษะ เจตคติท่ีดีตอ การสอนตามแนวคิด Brain-based Learning-BBL สู
Executive Functions (EF) ดวยการจัดการเรียนรแู บบไฮสโคป (HighScope)
4.7 เด็กระดับปฐมวัย 3-6 ป ทุกคนไดรับการจัดประสบการณการเรียนรูเพ่ือสงเสริมพัฒนาการ
ตามวัยตามแนวคิด Brain-based Learning-BBL สู Executive Functions (EF) ดวยการจัดการเรียนรูแบบ
ไฮสโคป (HighScope) อยางมคี ุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย ตรงตามมาตรฐานหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560
4.8 หองเรียนระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1
ทุกหองเรียน ไดปรับปรุงหลักสูตรเปนหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยตามแนวคิด Brain-based Learning-BBL
สู Executive Functions (EF) ดว ยการจัดการเรียนรแู บบไฮสโคป (HighScope) และนําไปใชในการจัดประสบการณ
สําหรับเด็กตามบริบทของโรงเรียน
4.9 ผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัด สามารถดําเนินงานตามระบบ
การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
4.10 สถานศึกษาในสังกัดมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาที่เขมแข็งและ
มปี ระสิทธภิ าพ
4.11 การประเมนิ คุณภาพผเู รยี นดว ยระบบการวดั และประเมินผลการเรียนรทู ี่มคี ุณภาพ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

83

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และ ฉบับปรับปรุง 2560
4.12 สถานศึกษาพัฒนาเครื่องมือ บริหารจัดการการวัดและประเมินผล การเรียนรูแ ละการจัดเก็บ

เอกสารหลกั ฐานการศึกษาอยางเปน ระบบ
4.13 ผบู ริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัด นําความรูหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและพระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 ดานการศึกษาไปใชในสถานศึกษา ไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล

4.14 สถานศึกษาในสงั กัดขอรบั การประเมินเปนสถานศึกษาพอเพียง และศนู ยการเรียนรูตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดานการศึกษาเพิ่มมากขึ้น

4.15 สถานศึกษาในสังกัดนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระบรมราโชบายของในหลวง
รัชกาลที่ 10 ดานการศึกษาไปประยุกตใ ชใ นการบรหิ ารจัดการในสถานศกึ ษาไดอยา งเหมาะสมตามบริบท

4.16 ผูบริหารโรงเรียน ครูและนักเรียน ตระหนักเห็นความสําคัญท่ีจะรวมมือรวมใจกัน ทํานุบํารุง
สง เสรมิ อนรุ ักษภ าษาไทย

4.17 ผูบริหารโรงเรียน ครู และนักเรียนไดรับการสงเสริมและพัฒนาความสามารถดานทักษะ
ภาษาไทยอยา งมคี ณุ ภาพ

4.18 นักเรียนไดรับการสงเสริมใหมีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร และนําความรูไป
ประยกุ ตใชในการเรียนรสู ิง่ ตางๆ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ ฉบบั ปรับปรุง
2560

4.19 สถานศกึ ษามผี ลการประเมินทางคณติ ศาสตร เทา กับหรอื สูงขึน้ กวาคา เฉลี่ยระดบั ประเทศ
4.20 สถานศึกษาทุกโรงในสังกัด สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใชการศึกษาทางไกลไดผาน
เกณฑม าตรฐานและมีประสทิ ธิภาพ
4.21 สถานศึกษาทุกโรงในสังกัด ไดรับการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน
โดยใชก ารศกึ ษาทางไกลอยางเปน รูปธรรม มีการปรบั ปรงุ พฒั นาตนเองอยางตอเน่อื ง
4.22 สถานศกึ ษาทุกโรงในสังกัด มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู (PLC) และพัฒนาวิธีการจัดการ
เรยี นการสอนจนเกิด Best Practice ของตนเอง
5. ผลที่คาดวาจะเกิดข้นึ
5.1 สถานศกึ ษาทุกโรงเรียนในสังกัดท่ีไดรับสงเสริม พัฒนา ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา สามารถจัด
การศึกษาไดอยา งมีคณุ ภาพ
5.2 ครูผูสอนปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู จาก ครผู ูสอน เปน โคช เพื่อสงเสริมนักเรียน
ใหม ที กั ษะในศตวรรษที่ 21
5.3 นักเรียนมีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และฉบับ
ปรบั ปรุง 2560

แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

84

5.4 ครูผูสอนปฐมวัยในโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย มคี วามรู ความเขาใจ
และสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรสาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ไดอ ยา งมคี ุณภาพ

5.5 โรงเรียนในโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย ผานการประเมินเพ่ือขอรับตรา
พระราชทานบานนักวิทยาศาสตรน อ ย ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2563

5.6 ครูผสู อนปฐมวัยจัดกจิ กรรมเสริมประสบการณใหเ ดก็ ปฐมวัยอยางหลากหลายและมคี ุณภาพ
5.7 เด็กปฐมวยั มพี ัฒนาการท้ัง 4 ดานอยางสมดุลตามวยั
5.8 สถานศกึ ษาในสังกัดบรหิ ารจัดการศกึ ษาไดอยางมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
5.9 นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย พ.ศ.2561 และตามมาตรฐาน
การศึกษาระดบั ขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2561
5.10 นักเรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขนึ้
5.11 สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ไดรับการนิเทศ
ตดิ ตาม และใหคาํ ปรกึ ษา แนะนาํ เกี่ยวกับการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู
5.12 ครูผูสอนมีความรูความเขาใจในแนวปฏิบัติการวัดและประเมนผลการเรียนรูตลอดจน
ความเขาใจในเทคนิค วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลรูปแบบตาง ๆ โดยเนนการประเมนิ ตามสภาพจริง
5.13 สถานศกึ ษาในสังกัดมีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระบรมราโชบายของใน
หลวงรชั กาลท่ี 10 ดา นการศึกษาไปใชในสถานศกึ ษาอยางมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
5.14 สถานศึกษาในสังกัดผานการประเมินเปนสถานพอเพียงและเปนศูนยการเรียนรูตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดานการศึกษาเพิ่มมากข้ึน
5.15 นักเรียนในสังกัดนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและพระบรมราโชบายของในหลวง
รชั กาลท่ี 10 ดานการศกึ ษาไปปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจาํ วันไดอ ยา งเหมาะสม
5.16 ผูบริหารโรงเรยี น ครแู ละนกั เรียน ตระหนักเห็นความสาํ คัญที่จะรวมมือรวมใจกัน ทํานุบํารุง
สงเสริมอนรุ กั ษภาษาไทย
5.17 ผูบริหารโรงเรียน ครู และนักเรียนไดรับการสงเสริมและพัฒนาความสามารถดานทักษะ
ภาษาไทย อยา งมีคณุ ภาพ
5.18 นกั เรยี นทุกระดบั ช้นั ไดร ับการพัฒนาความสามารถและทักษะภาษาไทย
5.19 สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 ไดรับการนิเทศ
ตดิ ตาม และไดรบั ความชว ยเหลือในดา นการจดั การเรียนรคู ณติ ศาสตร สามารถจดั การศกึ ษาไดอ ยางมีคณุ ภาพ
5.20 ครูผูสอนปรบั เปล่ียนกระบวนการจัดการเรียนรู จากครผู ูส อนเปน โคช เพ่อื สง เสรมิ นกั เรียนใหมี
ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร
5.21 สถานศึกษาทุกโรงในสังกดั จดั การเรียนการสอนโดยใชการศกึ ษาทางไกลไดต ามมาตรฐาน

แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

85

5.22 ไดขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนโดยใชการศึกษาทางไกลนําไปใชใน
การวางแผนในการปรบั ปรุง แกไขและพัฒนาการจดั การเรียนการสอนโดยใชการศึกษาทางไกล

5.23 มีเครือขายความรวมมือจากทุกภาคสวนใหการสนับสนุนการดําเนินงานการจัดการเรียน
การสอนโดยใชการศึกษาทางไกลผา นใหไดม าตรฐาน

6. ดัชนีช้ีวดั ความสําเรจ็
6.1 รอ ยละของสถานศกึ ษาในสังกัดไดรับการสงเสริม พัฒนา ยกระดบั คุณภาพการศึกษา
6.2 รอ ยละของนกั เรียนที่มีคุณลักษณะอนั พึงประสงคต ามเกณฑท่กี าํ หนด
6.3 รอยละของสถานศึกษามผี ลการประเมนิ ระดบั ชาติเทา กบั หรือสูงกวา คาเฉลย่ี ระดบั ประเทศ
6.4 รอยละของครูผูสอนปฐมวัยในโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย มีความรู

ความเขา ใจ และสามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรสาํ หรบั เด็กปฐมวัย
6.5 รอยละของโรงเรียนมผี ลการประเมินโครงการบานนักวทิ ยาศาสตรนอยประเทศไทยผานเกณฑ

ที่กําหนด
6.6 รอยละของครูผูสอนปฐมวัยมีความรู เทคนิค วิธีการท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย

ในชั้นเรยี นสําหรบั เด็กปฐมวยั
6.7 รอยละของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัยทุกสถานศึกษาสามารถจัดประสบการณ

การเรียนรูใหผูเรียนมีพัฒนาการตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช 2560

6.8 รอยละของเด็กปฐมวัยในสังกัดทุกคน ทุกระดับช้ัน มีพัฒนาการสูงข้ึน เหมาะสมกับวัย
สอดคลอ งตามมาตรฐานคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ตัวบงชใี้ นหลักสตู รสถานศกึ ษา

6.9 รอยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษาในสังกัด มีการใชหลักสูตรพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยไดสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัย วิสัยทัศน หลักการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 ของกระทรวงศึกษาธิการตามบริบททองถนิ่ ของตน

6.10 รอยละของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาท่ีจัดการศกึ ษาระดับปฐมวัยทกุ คน มีการใชหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 จัดประสบการณก ารเรียนรู จัดทํา เลือกใชส่ือ เทคนิควิธีกรจดั กิจกรรม สงเสริม
พัฒนาการและการเรียนรูตามแนวทางการจัดการเรียนรูแ บบไฮสโคป HighScope ไดอยางมีประสิทธิภาพ จัดการ
ประเมินผลพัฒนาการตามสภาพจริงในพัฒนาการแตละดานไดอยางถูกตองเหมาะสมกับมาตรฐานตัวชี้วัดตาม
ทก่ี าํ หนดไว

6.11 รอยละของครผู สู อนเด็กปฐมวัยทุกคนไดร บั การพฒั นาอยางมปี ระสิทธิภาพ
6.12 รอยละของโรงเรียนทกุ โรงเรยี นไดรับการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา มีระบบประกนั คณุ ภาพ
ภายในทเ่ี ช่ือถือได

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

86

6.13 รอยละ 100 ของสถานศึกษาในสังกัดไดรบั การนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
และการดําเนนิ งานตามระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา

6.14 รอยละ 80 ของสถานศึกษาในสังกัดมีผลการติดตาม ตรวจสอบระบบการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาตง้ั แตร ะดบั ดีขึน้ ไป

6.15 รอยละของสถานศกึ ษาในสังกัดไดรับการนเิ ทศ กํากับ ติดตาม ใหคาํ ปรึกษา แนะนําเก่ียวกับ
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

6.16 รอยละของนักเรียนทไ่ี ดรับตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนรูเพื่อนําผลการประเมินมาใช
เปน ขอมูล ในการพฒั นา

6.17 รอ ยละ 100 ผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัด นําความรู
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและพระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลท่ี 10 ดานการศึกษาไปใชในสถานศกึ ษา
ไดอ ยา งประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

6.18 รอยละ 100 สถานศกึ ษาในสังกดั ผานการประเมินเปนสถานพอเพยี ง
6.19 สถานศกึ ษาในสังกัด หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําพระบรมราโชบายของในหลวง
รชั กาลท่ี 10 ดานการศกึ ษาไปและประยกุ ตใชใ นการบรหิ ารจัดการในสถานศกึ ษาไดอ ยา งเหมาะสมตามบรบิ ท
6.20 รอยละของครูผูสอนและนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด เขารวมกิจกรรมการแขงขันทักษะ
ภาษาไทย
6.21 รอยละของผูบริหารโรงเรียน ครู และนักเรียนไดรับการสงเสริมความสามารถดานทักษะ
ภาษาไทย
6.22 รอยละของสถานศึกษาในสังกัดไดรับการนิเทศ กํากับ ติดตาม และไดรับความชวยเหลือ
ในดานการจัดการเรยี นรคู ณติ ศาสตร
6.23 รอยละของนกั เรยี นมที กั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร
6.24 รอ ยละของสถานศึกษาทกุ โรงในสงั กัด ไดร ับการสง เสริม สนบั สนุน และการนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผล การจดั การเรยี นการสอนโดยใชการศึกษาทางไกลอยา งเปนรปู ธรรม
6.25 รอยละของสถานศกึ ษาทุกโรงในสังกัด สามารถจดั การเรียนการสอนโดยใชการศึกษาทางไกล
ไดผานเกณฑม าตรฐานและมีประสทิ ธิภาพ

7. กลุมเปาหมาย/ผทู ่ไี ดร บั ประโยชน
7.1 สถานศกึ ษาในสังกดั สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1
7.2 ครผู ูส อนและนกั เรยี นในสังกัดสํานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาํ ปาง เขต 1
7.3 ครูผสู อนปฐมวยั ทกุ คนในสงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

87

7.4 ผบู รหิ ารสถานศึกษา ครูและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ลาํ ปาง เขต 1

8. จํานวนงบประมาณทั้งส้นิ 578,120 บาท จาํ นวน - บาท
8.1 สพฐ. จํานวน 578,120 บาท
จํานวน
8.2 สพป. ลาํ ปาง เขต 1 - บาท

8.3 งบประมาณจากแหลง อ่ืน ๆ (ระบุ)

แผนปฏิบัตกิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

88

9. กจิ กรรมและรายละเอยี ดคา ใชจ าย

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณที่ใช

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคา ใชจาย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผรู ับผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ
นางเขมจริ า เศวต
(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 33,650 รตั นเสถียร/นางอัมริ
ถงึ ธ.ค. 2564 ถงึ 2564 ถงึ ถงึ ก.ย. 1,400 นทร บุญเอนก
2563) มิ.ย. 2564) 2564) 2,250
ม.ี ค. 5,000 (รวมงบประมาณ
2564) 204,200)

1. กจิ กรรม สง เสรมิ และพฒั นาการ

จดั การเรียนการสอนปฐมวยั

กิจกรรยอย 1.1 อบรมปฏบิ ัติการ

สําหรบั ครผู สู อนปฐมวยั เรื่อง

“การประเมนิ และการจัดทํา

โครงงานวิทยาศาสตรต าม

โครงการบา นนักวิทยาศาสตร

นอ ย ประเทศไทย” ครัง้ ท่ี 1

1. คา อาหารวา งและ 1,400

เคร่อื งด่มื ผเู ขา รบั การอบรมและ

คณะทํางาน จํานวน 40 คน

จํานวน 1/2 วันวันละ 35 บาท

คร้งั ท่ี 2

2. คา อาหารกลางวัน อาหาร 2,250

วา งและเคร่ืองด่มื ผเู ขา รบั การ

อบรมและคณะทํางาน จํานวน

15 คน จาํ นวน 1 วัน วนั ละ 150

บาท

3. คาพาหนะ (ไป-กลับ) 5,000

สาํ หรบั คณะกรรมการประเมินผล

งานฯ จํานวน 10 คน คนละ

ประมาณ 500 บาท

แผนปฏบิ ัติการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

ระยะเวลาดําเนนิ การ/งบประมาณที่ใช 89

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคา ใชจ าย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผรู ับผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ

(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 7,500
ถึงธ.ค. 2564 ถงึ 2564 ถงึ ถงึ ก.ย. 5,000
2563) ม.ิ ย. 2564) 2564)
มี.ค. 7,500
2564) 5,000

คร้งั ท่ี 3 87,00

4. คา อาหารกลางวัน อาหาร 7,500

วางและเคร่ืองดื่มผูเขา รับการ

อบรมและคณะทาํ งาน จํานวน 50

คน จํานวน 1 วัน วันละ 150 บาท

5. คาพาหนะ (ไป-กลบั ) 5,000

สาํ หรบั คณะกรรมการประเมินผล

งานฯ จํานวน 10 คนๆ ละ 500

บาท

ครง้ั ท่ี 4

6. คาอาหารและเคร่ืองดืม่ 7,500

ผูเ ขา รับการอบรมและ

คณะทาํ งาน จํานวน 50 คน

จํานวน 1 วันๆละ 150 บาท เปน

เงิน 7,500 บาท 5,000

7. คาพาหนะ(ไป-กลบั )

คณะกรรมการประเมนิ ผลงานฯ

จํานวน 10 คนๆละประมาณ 500

บาท เปน เงนิ 5,000 บาท

กิจกรรมยอย 1.2 อบรม

ปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทางสําหรบั

ครผู ูส อนปฐมวยั เรอ่ื ง ไฟฟา

คณติ ศาสตร

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

90

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณท่ใี ช

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคา ใชจาย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผรู บั ผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ

(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 48,000
ถึงธ.ค. 2564 ถงึ 2564 ถงึ ถงึ ก.ย.
2563) ม.ิ ย. 2564) 2564) 25,000
ม.ี ค. 8,000
2564) 6,000
61,350
รายละเอียดคา ใชจ า ย:-
27,750
1. คา อาหารกลางวนั อาหาร 48,000 25,000

วา งและเครอื่ งด่มื ผูเขารับการ

อบรมและคณะทาํ งาน จํานวน 160

คน จํานวน 2 วนั ๆ ละ 150 บาท

2. คาวัสดุ เชน อุปกรณ 25,000

การทดลอง กระดาษบรุฟ ปากกา

เคมี เปน ตน

3. คา จา งถา ยเอกสารและ 8,000

จดั ทํารปู เลม พรอมปก จํานวน

160 เลม ๆ ละ 50 บาท

4. คาพาหนะ (ไป-กลบั ) 6,000

สําหรบั คณะทาํ งาน จํานวน 6 คน

คนละ 500 บาท จํานวน 2 วนั
กจิ กรรมยอย 1.3 อบรม
ปฏบิ ัติการสาํ หรับครผู ูส อน 27,750
ปฐมวยั เรอ่ื ง “เทคนิคการปน ดิน 25,000
นาํ้ มัน”
รายละเอยี ดคาใชจ า ย:-

1. คาอาหารกลางวัน อาหาร
วา งและเครื่องด่ืมผเู ขา รับการอบรม
และคณะทาํ งาน จาํ นวน 185 คน
จํานวน 1 วัน ๆ ละ 150 บาท

2. คาวัสดุ เชน ดินน้ํามนั
แฟม อบรม กระดาษ ปากกา
ดินสอ เปน ตน

แผนปฏิบตั ิการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณที่ใช 91

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคา ใชจาย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผูร บั ผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ

(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 5,000
ถงึ ธ.ค. 2564 ถงึ 2564 ถงึ ถึง ก.ย.
2563) มิ.ย. 2564) 2564) 3,600
ม.ี ค.
2564)

3. คาจางถา ยเอกสารและ 5,000

จดั ทาํ รูปเลม พรอมปก จํานวน

185 เลม

4. คาตอบแทนวิทยากร

ช่วั โมงละ 600 บาท จาํ นวน 6 3,600
ช่วั โมง จํานวน 1 คน

กิจกรรมยอย 1.4 ประชมุ 13,950 22,200
4,650
ปฏบิ ัติการพฒั นาครแู ละบุคลากร 3,600 13,950
ปฐมวัยฯ 4,650
3,600
รายละเอยี ดคา ใชจา ย:-

1. คา อาหารกลางวัน อาหาร
วางและเคร่ืองด่มื จํานวน 93 คน

จํานวน 1 วนั ๆ ละ 150 บาท

2. คาจางถา ยเอกสารและ
จดั ทาํ รปู เลม พรอมปก จํานวน 93

ชุด ชดุ ละ 50 บาท

3. คา ตอบแทนวิทยากร
ชว่ั โมงละ 600 บาท จาํ นวน 6

ชว่ั โมง จํานวน 1 คน

แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

92

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณที่ใช

ที่ กจิ กรรม/รายละเอียดคาใชจ าย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผูร บั ผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ

(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564
ถงึ ธ.ค. 2564 ถึง 2564 ถึง ถงึ ก.ย.
2563) มิ.ย. 2564) 2564)
มี.ค.
2. กิจกรรม พฒั นาระบบการ 2564)

นายนพดล ถาวร

ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน 40,000 นายชัยวุฒิ นามะ
สถานศกึ ษา กณุ า
กจิ กรรมยอย 2.1 ประชุม (รวมงบประมาณ
ปฏิบัติการจดั ทําเคร่อื งมอื 53,920 บาท)

ประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษา
(ประเดน็ การพจิ ารณา)
รายละเอียดคา ใชจา ย:-
1. คาอาหารกลางวันและ 13,500
13,500
อาหารวา ง 45 คนๆละ 2 วันๆ
ละ 150 บาท
2. คาพาหนะสาํ หรับ
คณะทาํ งาน 30 คนๆ ละ 2 วัน 18,000 18,000

วนั ละ 300 บาท
3. คาวัสดุ เชน ตลับหมกึ
เลเซอร FUJI Xerox DocuPrint 8,500 8,500

M275z ตลับหมึก Canon
PIXMA PG-810 Black และ
CL-811 Color กระดาษถาย
เอกสาร A4 แฟม พลาสตกิ ชนิด
กระดมุ เปน ตน
กิจกรรมยอย 2.2 นเิ ทศ ตดิ ตาม
ผลการดําเนนิ การปรบั ปรุงและ 8,160

พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของ
สถานศึกษาทผ่ี านการประเมิน
คณุ ภาพภาพนอกรอบส่ี จํานวน
17 แหง

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลาํ ปาง เขต 1

93

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณท่ใี ช

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคา ใชจาย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผรู ับผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ

(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 8,160
ถงึ ธ.ค. 2564 ถึง 2564 ถงึ ถงึ ก.ย.
2563) ม.ิ ย. 2564) 2564) 3,360
มี.ค.
รายละเอยี ดคาใชจาย:- 2564) 2,400

- คา เบี้ยเลย้ี งสาํ หรบั 8,160
คณะกรรมการจํานวน 17
ทีม ทีมละ 4 คน ๆ ละ 1 วัน
วนั ละ 120 บาท

กิจกรรมยอย 2.3 นิเทศ ติดตาม

สถานศึกษาท่มี ีผลการประเมิน

ระบบประกนั คุณภาพภายใน

สถานศึกษา ปการศึกษา 2562

ต่ํากวาระดับดี จาํ นวน 7 แหง

รายละเอยี ดคา ใชจา ย:-

- คา เบ้ยี เลย้ี งคณะกรรมการ 3,360

จํานวน 7 ทมี ๆ ละ 4 คน ๆ ละ

1 วนั ๆ ละ 120 บาท

กิจกรรมยอย 2.4 นเิ ทศ ติดตาม

ตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา

ระบบการประกนั คณุ ภาพ

การศึกษาภายในสถานศึกษาของ

โรงเรียนในสงั กัด ปการศกึ ษา

2563 จํานวน 90 แหง

รายละเอียดคา ใชจา ย:-

1. คาอาหารกลางวนั และ 2,400

อาหารวา ง สําหรบั คณะกรรมการ

ประชุมช้ีแจง จาํ นวน 16 คน

คนละ 1 วนั ๆ ละ 150บาท

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

94

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณทใี่ ช

ท่ี กจิ กรรม/รายละเอียดคาใชจาย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผูรับผดิ ชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ
นางเขมจิรา
(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 - เศวตรัตนเสถยี ร
ถึงธ.ค. 2564 ถึง 2564 ถงึ ถงึ ก.ย. นางพรนภิ า ยศบญุ
2563) มิ.ย. 2564) 2564) 30,000 เรือง
มี.ค. 15,000 นางสาววมิ ล ปวน
2564) ปนวงค
(รวมงบประมาณ
2. คาเบี้ยเลย้ี งคณะกรรมการ 107,400 บาท)

นเิ ทศ

(ใชงบประมาณโครงการนิเทศ
ติดตาม)

กิจกรรมยอย 2.5 สรุปและ ----

รายงานลการดาํ เนนิ งานตาม

โครงการฯ

3. กิจกรรม สงเสริมและพัฒนาการ

วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

กจิ กรรมยอย 3.1 ประชุม

เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผล

การเรียนรูในระดับช้นั เรยี น :

รายงานขอ มูลผลการเรียนรตู าม

หลกั สตู ร ใน School MIS

รายละเอียดคา ใชจ า ย:-

1. คาอาหารกลางวนั อาหาร

วา ง และเครอื่ งดื่มสําหรบั ผูเขารับ 30,000

การอบรมและคณะทาํ งาน

จาํ นวน 200 คน จาํ นวน 1 วนั ๆ

ละ 150 บาท

2) คา วัสดุ เชน แฟมใส

เอกสารอบรม ปากกา ดินสอ 15,000

ยางลบ แผน ซดี ี เปนตน

แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1

ระยะเวลาดําเนินการ/งบประมาณทใี่ ช 95

ท่ี กิจกรรม/รายละเอียดคาใชจ าย ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส รวม ผรู ับผิดชอบ
1 2 3 4 งบประมาณ

(ต.ค. 2563 (ม.ค. (เม.ย. (ก.ค. 2564 11,250
ถึงธ.ค. 2564 ถงึ 2564 ถงึ ถงึ ก.ย. 30,000
2563) ม.ิ ย. 2564) 2564)
ม.ี ค. 6,750
2564) 14,400

กิจกรรมยอย 3.2 การจัดทาํ คลัง

ขอสอบ RT NT และO-NET

รายละเอียดคา ใชจ าย:-

ครั้งที่ 1 สรางและจดั ทํา

แบบทดสอบ

1. คาอาหารกลางวนั อาหาร 11,250

วา งและเคร่อื งดืม่ คณะทาํ งาน

จาํ นวน 75 คน จาํ นวน 1 วนั

วันละ 150 บาท

2. คา พาหนะ (ไป-กลับ) 30,000

สาํ หรับคณะทาํ งานจัดทาํ คลงั

ขอ สอบจํานวน 75 คนๆ ละ 400

บาท จาํ นวน 1 วัน

ครง้ั ท่ี 2 ตรวจสอบ วิเคราะห

ขอ สอบในการจัดทําคลงั ขอสอบ

1. คาอาหารกลางวัน อาหาร 6,750

วา งและเคร่อื งดม่ื คณะทํางาน

จาํ นวน 45 คน จํานวน 1 วัน

วันละ 150 บาท

2. คา พาหนะ (ไป-กลบั ) 14,400

สําหรับคณะทํางานจัดทาํ คลัง

ขอ สอบ จาํ นวน 36 คน คนละ

400 บาท จาํ นวน 1 วนั

แผนปฏิบตั กิ ารประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 : สพป. ลําปาง เขต 1


Click to View FlipBook Version