The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม2/2564
โรงเรียนวัดเหล่าขวัญ(จ่างอนุเคราะห์)
ครูกัญญารัตน์ รุ่งเรือง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanyarat787878, 2021-10-18 11:26:09

แผนการสอนคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 2-2564

แผนการสอนคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม2/2564
โรงเรียนวัดเหล่าขวัญ(จ่างอนุเคราะห์)
ครูกัญญารัตน์ รุ่งเรือง

Keywords: แผนการสอนคณิตศาสตร์ ป.2 เทอม 2

ใบงานท่ี 9.2.1 เฉลย
เรอ่ื ง ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร

คำช้ีแจง : จงเตมิ ประโยคสัญลักษณ์การคณู หรือการหารท่ีหายไป
1. 8 × 9 = 72 9 × 8 = 72 72 ÷ 8 = 9 72 ÷ 9 = 8
2. 2 × 6 = 12 6 × 2 = 12 12 ÷ 6 = 2 12 ÷ 2 = 6
3. 5 × 3 = 15 3 × 5 = 15 15 ÷ 3 = 5 15 ÷ 5 = 3
4. 7 × 4 = 28 4 × 7 = 28 28 ÷ 7 = 4 28 ÷ 4 = 7
5. 6 × 5 = 30 5 × 6 = 30 30 ÷ 5 = 6 30 ÷ 6 = 5

คำชี้แจง : จงเขียนความสมั พนั ธ์การคณู และการหารจากประโยคสัญลกั ษณต์ อ่ ไปนี้
1. 2 × 5 = 10
5 × 2 = 10
10 ÷ 2 = 5
10÷ 5 = 2
2. 4 × 6 = 24
6 × 4 = 24
24 ÷ 6 = 4
24 ÷ 4 = 6
3. 9 × 5 = 45
5 × 9 = 45
45 ÷ 5 = 9
45 ÷ 9 = 5
4. 7 × 8 = 56
8 × 7 = 56
56 ÷ 8 = 7
56 ÷ 7 = 8
5. 13 × 2 = 26
2 × 13 = 26
26 ÷ 2 = 13
26 ÷ 13 =2

บัตรภาพ

8x3= บตั รประโยคสัญลักษณ์
3x8=
4x7=
7x4=

5x6= 8x2=
6x5= 2x8=

9. ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย .................................
................................ )
ข้อเสนอแนะ
.......
ลงชื่อ
(

ตำแหนง่

10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ด้านความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

 ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

 ด้านอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))

 ปญั หา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6

รหัส-ช่ือรายวิชา ค 12102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒

เรื่อง การหารทีต่ ัวหารและผลหารมีหนงึ่ หลกั (หารลงตัว)

ผู้สอน นางสาวกัญญารตั น์ รุ่งเรอื ง โรงเรยี นวดั เหล่าขวัญ(จา่ งอนเุ คราะห์

1. มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

1.1 ตวั ชีว้ ดั
ค 1.1 ป.2/6 หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกนิ 2 หลกั
ตวั หาร1 หลกั โดยทผี่ ลหารมี 1 หลัก ทง้ั หารลงตวั และหารไมล่ งตัว

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. บอกความหมายของการหารลงตัวได้ (K)
2. หาผลหารและตรวจสอบผลหารของจำนวนที่มหี น่ึงหลกั กับจำนวนที่มหี น่ึงหลัก (หารลงตวั ) ได้ (K)
3. เขยี นประโยคสญั ลกั ษณ์การหารได้ (P)
4. มีความตัง้ ใจและมีความรบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่

- ความหมายของการคูณ ความหมายของการหารการ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

หาผลคณู การหาผลหารและเศษ และความสัมพันธ์

ของการคูณและการหาร

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

การหารลงตวั คอื การแบ่งส่ิงของออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆ กัน แล้วส่ิงของหมดพอดี

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินยั
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
1) ทักษะการเชื่อมโยง
2) ทักษะการให้เหตุผล
3) ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. กจิ กรรมการเรียนรู้

 แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)

ชวั่ โมงที่ 1

ข้ันนำ

ขัน้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครูทบทวนความรู้เดิมเรื่อง การหารและความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร โดยตั้งคำถาม

กระตุน้ ความคิดนกั เรยี น ดงั นี้
• 18 ÷ 2 = 9 แล้วตวั ตงั้ ตวั หาร และผลหาร คือตัวเลขใด

(แนวตอบ: ตัวตง้ั คือ 18 ตัวหารคือ 2 และผลหารคือ 9)
• ใหน้ กั เรียนบอกความสมั พนั ธ์ของการคณู และการหารจากประโยคสัญลกั ษณ์นี้

(แนวตอบ: 18 ÷ 9 = 2 และ 9 × 2 = 18 , 2 × 9 = 18)
2. ครูตดิ บัตรภาพบนกระดาน แลว้ ถามคำถามกระต้นุ นักเรียน

• จากภาพ เขียนประโยคสญั ลกั ษณ์การหารได้อย่างไร
(แนวตอบ: 6 ÷ 2 = 3)
• ตวั เลขแตล่ ะตวั เรยี กวา่ อะไร
(แนวตอบ: เรยี กเลข 6 ว่า ตัวต้งั , เรียกเลข 2 วา่ ตวั หาร และเรยี กเลข 3 วา่ ผลหาร)

3. ครูให้นักเรียนตอบคำถามทบทวนความรู้เดิมมุมขวาบนของหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 โดยมีแนวคำถาม
ดังน้ี

• 18 ÷ 2 = 9 ตวั ตงั้ ตวั หาร และผลหารคอื ตวั เลขใด
(แนวตอบ: ตวั ตง้ั คอื 18 ตวั หาร คือ 2 และผลหาร คือ 9)

ข้นั สอน

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา
1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน ทำกิจกรรมพัฒนาความรู้ ในหนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน
คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 โดยส่งตัวแทนกลุ่มมา
รบั ไม้ไอศกรีม กลมุ่ ละ 20 อนั แล้วจดั กจิ กรรมตามขน้ั ตอนในหนังสอื เรียน ครคู อยสังเกตพฤตกิ รรม
ของนักเรยี น และคอยพดู กระตนุ้ ให้นกั เรียนทุกคนมสี ว่ นร่วมในการทำกิจกรรม
2. เมื่อนักเรียนทำกิจกรรมเสร็จ ครูสุ่มให้นักเรียนบางกลุ่มออกมานำเสนอคำตอบจากกิจกรรมที่ทำ
หนา้ ช้นั เรียน โดยครูและเพ่อื นกล่มุ อืน่ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้
3. ครูอธิบายเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ทำและเพื่อน ๆ บางกลุ่มออกมานำเสนอ จากไม้ไอศกรีม 20 อัน
โดยมี ตัวอยา่ งดังนี้
- แบ่งเป็นกอง กองละ 4 อนั เขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารได้ 20 ÷ 4 = 5
- แบ่งเปน็ กอง กองละ 5 อนั เขียนประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารได้ 20 ÷ 5 = 4
- แบง่ เปน็ กอง กองละ 10 อัน เขียนประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการหารได้ 20 ÷ 10 = 2
จากน้ันครูถามวา่ จากกิจกรรมทที่ ำในการแบง่ ไม้แต่ละกอง เหลอื ไม้ไอศกรมี บ้างไหม
(แนวตอบ: ไมเ่ หลือ)
4. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังวา่ “จากกิจกรรมนี้ทำใหเ้ ราเห็นว่าการหารข้างต้นนี้ หารลงตัว เพราะไม่มี
ไม้ ไอศกรมี เหลืออยเู่ ลย”
5. ครูให้นักเรยี นดูเน้ือหาในหนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี
9 การหารจำนวนไมเ่ กนิ 1,000 โดยมีแนวคำถามดังน้ี
• มีคุกก้ี 12 ชน้ิ แบง่ ใส่ถงุ ถงุ ละ 4 ชน้ิ จะไดก้ ี่ถงุ
(แนวตอบ: เมอ่ื นำไปแบ่งแลว้ จะได้ท้งั หมด 3 ถงุ พอดี ดงั นั้น 12 ÷ 4 = 3)

6. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า “ถ้าหากเราอยากรู้ว่า ผลหารที่เราหาได้นั้นถูกต้องหรือไม่ เราสามารถใช้
ความสัมพันธ์ของการคูณและการหารมาตรวจคำตอบได้ ดังนี้ จาก ตัวตั้งหารด้วยตัวหาร เท่ากับ
ผลหาร จะได้ ผลหารคูณดว้ ยตวั หาร เทา่ กับ ตวั ตัง้ 3 × 4 =12”

ช่วั โมงท่ี 2

ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ
7. ครใู ห้นกั เรียนสรปุ ว่า การหารลงตวั คืออะไร
(แนวตอบ: การแบ่งสิ่งของออกเป็นกลุ่มๆ กลุ่มละเท่าๆกัน แล้วสิ่งของหมดพอดี หรือการหาร
จำนวน เตม็ ทเ่ี ศษเป็น 0)
8. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนศึกษาตัวอย่างที่ 4 และตัวอย่างที่ 5 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 จากนั้นให้ผลัดกัน
สอบถามและแลกเปลีย่ นความรู้กนั
9. ครูถามนักเรียนว่า จากความสัมพันธ์ของการคูณและการหารนั้น นอกจากจะนำมาตรวจคำตอบ
การหารแล้ว นักเรยี นคดิ วา่ สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์อะไรไดอ้ ีก

10. ครูให้นักเรียนดูความสัมพันธ์ของการคูณและการหารบนกระดาน จากนั้นครูตั้งคำถามโดยมีแนว
คำถามดงั นี้

• 6×3 = 18 , 3×6 = 18 , 18 ÷ 6 = , 18 ÷ 3 = ตวั เลขใน คอื เลขอะไร
(แนวตอบ: 3 กบั 6 )

11. ครอู ธบิ ายต่อวา่ เราจะสามารถนำความสัมพันธ์ของการคณู และการหารมาช่วยในการหาคำตอบของ
การ หารได้ เช่น 35 ÷ 5 =
จากความสมั พนั ธ์ของการคณู และการหาร
จะได้วา่ × 5 = 35 ซง่ึ 7 × 5 = 35 ดงั น้นั 35 ÷ 5 = 7

หาจำนวนที่มาคณู กบั 5 แล้วได้ 35

การหาผลหารทำได้โดยหาจำนวนท่นี ำมาคูณกบั ตวั หารแล้วเท่ากับตัวตงั้
12. ครูให้นักเรียนคู่เดิมศึกษาตัวอย่างที่ 6 และตัวอย่างที่ 7 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

คณติ ศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไมเ่ กิน 1,000
13. ครูให้นกั เรยี นทำกิจกรรมเพอ่ื นชว่ ยเพื่อน ในหนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 ลงในสมุด เสรจ็ แลว้ สมุ่ นกั เรียนออกมานำเสนอ
คำตอบทหี่ น้าช้นั เรียน

14. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะ ข้อ 1 ใหญ่ ข้อย่อย 1-3 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไมเ่ กิน 1,000 การบ้าน

ช่วั โมงท่ี 3

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ
15. ครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอคำตอบจากกิจกรรมฝึกทักษะ ที่ให้ทำเป็นการบ้าน พร้อมทบทวน
ความรู้ เดมิ เมื่อคาบท่ีแล้ว
16. ครูอธิบายเพิ่มเติมต่อว่าเราสามารถใช้เครือ่ งคิดเลขในการตรวจสอบว่าผลหารที่นักเรียนคิดถูกต้อง
หรือไม่ เชน่ หาผลหารของ 54 ÷ 9 = ? ใช้เคร่อื งคิดเลขกด 5 , 4 ÷ 9 = ตามลำดับ จากนัน้ ครูต้ัง
คำถาม โดยมแี นวคำถามดังน้ี
• 54 ÷ 9 =?
(แนวตอบ: 6 )
17. ครใู ห้นกั เรยี นทำกจิ กรรมโดยแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน มารบั บตั รประโยคสัญลักษณ์การหาร เท่า
จำนวนคนในกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มหาคำตอบและตรวจสอบคำตอบโดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณ
และการหาร กลมุ่ ไหนเสร็จแลว้ ใหม้ าตรวจสอบคำตอบโดยใชเ้ คร่อื งคดิ เลขอีกครง้ั

ข้นั สรุป

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล
1. ครูใหน้ ักเรียนทำใบงานท่ี 9.3.1 เร่ือง การหารท่ีตัวหารและผลหารมีหน่งึ หลกั (หารลงตวั )
2. ครูถามคำถามเพ่ือสรปุ ความรู้ทน่ี ักเรยี นได้รบั และเปิดโอกาสให้นกั เรียนซักถามข้อสงสยั โดยมีแนว

คำถามดังนี้
• การหารลงตัว คืออะไร

(แนวตอบ: การแบ่งสงิ่ ของออกเปน็ กลุ่ม กล่มุ ละเท่า ๆ กัน แล้วสง่ิ ของหมดพอด)ี
• เราสามารถใชค้ วามสมั พนั ธข์ องการคูณและการหารได้อยา่ งไรบ้าง

(แนวตอบ: ใช้ในการตรวจสอบคำตอบ ใชใ้ นการช่วยหาผลหาร)
• 8 × = 24 , × 8 = 24 , 24 ÷ 8 = เลขในช่องว่างคือเลขใด

(แนวตอบ: คอื เลข 3)

6. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วิธวี ดั เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน

7.1 ประเมนิ ระหวา่ งการจัด - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
กจิ กรรมการเรยี นรู้

1) การหารทตี่ ัวหารและ - ตรวจใบงานท่ี 9.3.1 - ใบงานท่ี 9.3.1

ผลหารมีหน่ึงหลกั - ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะ - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ

(หารลงตวั )

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2

รายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์

4) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
กลุม่ การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์

5) คุณลกั ษณะอันพึง - สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มั่น คุณลกั ษณะอนั พึง ผ่านเกณฑ์
ประสงค์

8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้

8.1 ส่ือการเรยี นรู้
25) หนงั สอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่
เกนิ 1.000
26) ใบงานท่ี 9.3.3 เรือ่ ง การหารทต่ี วั หารและผลหารมีหนึ่งหลัก (หารลงตัว)
27) บัตรประโยคสญั ลักษณ์การหาร
28) ไม้ไอศกรีม

8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
-

ใบงานที่ 9.3.1
เรือ่ ง การหารทตี่ ัวหารและผลหารมีหน่ึงหลกั (หารลงตัว)

คำชีแ้ จง : จากโจทย์จงหาผลหารตอ่ ไปน้พี ร้อมตรวจคำตอบ
1. ส้มโอมี มะพรา้ วอยู่ 45 ผล แบ่งใส่รถคนั ละ 9 ผล จะต้องใช้รถทง้ั หมดกค่ี ัน

2. แม่มเี งนิ 40 บาท ต้องแบ่งให้ลูก 5 คน คนละเท่าๆกนั ลูกแต่ละคนจะได้เงินคนละก่บี าท

3. มนี ม 56 ขวด แบ่งใสก่ ล่องกล่องละ 7 ขวด จะไดก้ กี่ ล่อง

4. ขวัญมหี นังสอื 48 เล่ม แบง่ ใสช่ ้นั ชนั้ ละ 8 เลม่ ขวัญจะใส่หนงั สือได้กีช่ ้ัน

คำชีแ้ จง : จงหาผลหารต่อไปนี้โดยใชค้ วามสัมพนั ธ์ของการคูณและการหาร
1. 35 ÷ 5 =

ใบงานท่ี 9.3.1 เฉลย

เรือ่ ง การหารที่ตวั หารและผลหารมหี น่งึ หลกั (หารลงตวั )

คำชี้แจง : จากโจทย์จงหาผลหารต่อไปนี้พรอ้ มตรวจคำตอบ
1. ส้มโอมี มะพรา้ วอยู่ 45 ผล แบ่งใสร่ ถคนั ละ 9 ผล จะต้องใช้รถทัง้ หมดกี่คนั
ประโยคสัญลักษณ์ 45 ÷ 9 = 5
ตอบ จะต้องใช้รถทั้งหมด 5 คนั
ตรวจคำตอบ 5 × 9 = 45
2. แมม่ เี งนิ 40 บาท ตอ้ งแบ่งใหล้ กู 5 คน คนละเท่าๆกนั ลูกแต่ละคนจะได้เงินคนละก่บี าท
ประโยคสัญลักษณ์ 40 ÷ 5 = 8
ตอบ ลกู แต่ละคนจะได้เงินคนละ 8 บาท
ตรวจคำตอบ 8 × 5 =40
3. มีนม 56 ขวด แบง่ ใส่กล่องกลอ่ งละ 7 ขวด จะไดก้ ก่ี ล่อง
ประโยคสญั ลักษณ์ 56 ÷ 7 = 8
ตอบ จะไดท้ ง้ั หมด 8 กล่อง
ตรวจคำตอบ 8 × 7 = 56
4. ขวัญมีหนงั สือ 48 เล่ม แบง่ ใสช่ นั้ ชั้นละ 8 เล่ม ขวัญจะใส่หนงั สอื ได้กชี่ ัน้
ประโยคสัญลักษณ์ 48 ÷ 8 = 6
ตอบ ขวญั จะใส่หนงั สือไดท้ ัง้ หมด 6 ช้ัน
ตรวจคำตอบ 6 × 8 = 48

คำชี้แจง : จงหาผลหารต่อไปน้ีโดยใชค้ วามสัมพนั ธ์ของการคณู และการหาร
1. 35 ÷ 5 =
จากความสัมพันธ์ของการคณู และการหาร
จะได้วา่ × 5 = 35
ซง่ึ 7 × 5 = 35
ดังนัน้ 35 ÷ 5 = 7
ตอบ 7

บตั รประโยคสัญลกั ษณ์การหาร

54 ÷ 6 =

48 ÷ 4 =
90 ÷ 10 =

72 ÷ 4 =
36 ÷ 2 =
84 ÷ 4 =

77 ÷ 7 =

9. ความเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย .................................
................................ )
ข้อเสนอแนะ
.......
ลงชื่อ
(

ตำแหนง่

10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ด้านความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

 ด้านอืน่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7

รหัส-ชื่อรายวิชา ค 12102 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒

เร่อื ง การหารท่ีตัวหารและผลหารมีหนึ่งหลกั (หารไมล่ งตวั )

ผู้สอน นางสาวกัญญารัตน์ รุ่งเรอื ง โรงเรยี นวดั เหลา่ ขวัญ(จา่ งอนุเคราะห์

1. มาตรฐาน/ตัวชี้วดั

1.1 ตัวชวี้ ดั
ค 1.1 ป.2/6 หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารท่ีตัวตั้งไมเ่ กนิ 2 หลกั
ตวั หาร1 หลกั โดยทผ่ี ลหารมี 1 หลกั ทงั้ หารลงตัว และหารไมล่ งตัว

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. บอกความหมายของการหารไมล่ งตัวได้ (K)
2. หาผลหารและให้เหตุผลตรวจสอบผลหารของจำนวนท่ีมี 1 หลัก กับจำนวนที่มี 1 หลักได้ (หารไมล่ ง

ตัว) (P)
3. มีความตง้ั ใจและมีความรับผิดชอบตอ่ หน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรียนร้แู กนกลาง
- ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร

การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ และ
ความสัมพนั ธ์ของการคูณและการหาร

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

การหารไมล่ งตวั คือการแบ่งสงิ่ ของออกเปน็ กลุ่ม กล่มุ ละเท่าๆกัน แล้วสิ่งของเหลือเศษ

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย
2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
1) ทักษะการเชื่อมโยง
2) ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล
3) ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา

6. กิจกรรมการเรียนรู้

 แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)

ชั่วโมงท่ี 1

ข้ันนำ

ขัน้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ
1. ครูทบทวนความรู้เดิมเรื่อง การหารลงตัว โดยให้นักเรียนอธิบายว่า การหารลงตัว คือ การแบ่ง

สงิ่ ของ ออกเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละเท่าๆกนั แล้วสง่ิ ของหมดพอดี
2. ครูตดิ บตั รโจทยก์ ารหารบนกระดานให้นักเรยี นดู แลว้ ขออาสาสมคั รนักเรียนออกมาหาคำตอบหน้า

ชั้น เรยี น จากน้ันครูและนกั เรยี นท่ีเหลอื รว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง เชน่ 17 ÷ 4 =

ขนั้ สอน

ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา
1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน มารับถุงใส่ไข่ และตะกร้า ไปกลุ่มละ 1 ชุด ซึ่งใน1 ชุด
จะ ประกอบไปด้วย ถุงใส่ไข่ไว้ 17 ฟอง และตะกร้า 4 ใบ จากนั้นให้นักเรียนจัดกิจกรรมตาม
ขัน้ ตอน ดังนี้
• ให้นักเรียนแบ่งไข่ใส่แต่ละตะกร้าให้เท่า ๆ กัน เสร็จแล้วให้นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์
การหาร

• ครใู หน้ กั เรยี นหยิบตะกร้าออกไป 1 ใบ เหลอื ตะกร้า 3 ใบ ใหน้ ักเรยี นแบ่งไขใ่ สต่ ะกรา้ ทงั้ 3 ใบ
ใบละเทา่ ๆ กัน อีกคร้ัง และเขยี นประโยคสญั ลักษณก์ ารหาร
จากนั้นครูสุ่มนักเรียนบางกลุ่มออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน โดยครูและ

นักเรยี นกลมุ่ ท่เี หลือช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเรื่อง การหารไม่ลงตัว ในหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 จากนน้ั ครูยกตัวอย่างเพ่มิ เตมิ
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้

3. นักเรียนและครูรว่ มกนั อภิปรายผลการทำกจิ กรรม โดยมปี ระเดน็ ดงั ต่อไปนี้ “จากกิจกรรมท่ที ำ ครงั้
แรก ไข่ 17 ฟอง แบ่งไข่ใส่ตะกร้า 4 ใบ เท่าๆกัน ได้ตะกร้าละ 4 ฟอง เหลือไข่ 1 ฟอง เขียน
ประโยคสัญลกั ษณ์ได้ 17 ÷ 4 = 4 สว่ นไขอ่ ีก 1 ฟองที่เหลือ เราเรยี กมันว่าเศษ ดงั น้นั 17 ÷ 4 = 4
เศษ 1 ครั้งที่สอง จะได้ 17 ÷ 3 = 5 คือ แบ่งไข่ใส่ตะกร้าได้ตะกร้าละ 5 ฟอง และเหลือไข่ 2 ฟอง
ดังน้นั เขียนเป็นประโยคสญั ลกั ษณ์ได้ 17÷3 = 5 เศษ 2”

4. จากกิจกรรมที่ทำนั้นจะเห็นว่าเป็นการหารที่ไม่ลงตัว ครูให้นักเรียนช่วยกันสรุปการหารไม่ลงตัว
โดยมี ประเดน็ ดังนี้ “การแบง่ ส่งิ ของออกเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละเท่าๆ กัน แล้วส่ิงของเหลอื เศษ โดยทเี่ ศษ
จะต้องนอ้ ยกวา่ ตัวหารเสมอ”

ข้ันที่ 4 ขยายความเข้าใจ
5. จากการหารลงตัว เราสามารถตรวจสอบคำตอบของผลหารท่ีเราหาไดน้ น้ั จากความสัมพันธ์ของการ
คณู และการหาร การตรวจคำตอบของการหารลงตวั ตรวจสอบไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ: ผลหารคณู ดว้ ยตัวหาร เท่ากับ ตัวตงั้ )
6. ครใู ช้คำถามแนะให้รู้คิดโดยใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั หาวิธีตรวจสอบคำตอบของการหารไมล่ งตวั
(แนวตอบ: ผลหารคูณด้วยตัวหาร บวกเศษ เทา่ กับ ตวั ต้ัง )
7. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนศึกษาตัวอย่างที่ 8 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2
เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม จากตัวอย่าง
20÷3 = 6 เศษ 2 เราสามารถตรวจคำตอบได้โดย ตวั ต้งั = (ผลหาร × ตัวหาร) + เศษ หรือ (ผลหาร
× ตัวหาร) + เศษ = ตวั ต้งั ดงั ตัวอย่างที่ 8 และตรวจสอบไดว้ า่ (6 × 3) + 2 = 18 + 2 = 20
8. ครูยกตัวอย่างการตรวจคำตอบของประโยคสัญลักษณ์จากกิจกรรมแบ่งไข่ 17 ÷ 4 = 4 เศษ 1
ตรวจคำตอบ (4× 4) + 1 = 16 + 1 = 17 และ 17 ÷ 3 = 5 เศษ 2 ตรวจคำตอบ (5× 3) + 2 =
15 + 2 = 17
9. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะข้อ 1 ใหญ่ ข้อย่อย 4-6 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณติ ศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 9 การหารจำนวนไม่เกนิ 1,000 เปน็ การบา้ น

ชวั่ โมงท่ี 2

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ
10. ครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอคำตอบกิจกรรมฝึกทักษะที่ให้ทำเป็นการบ้าน พร้อมทบทวนความรู้
เดิมเมือ่ คาบทแ่ี ลว้
11. ครถู ามนักเรยี นวา่ 5 6 7 8 9 จำนวนใดเป็นจำนวนคู่ และจำนวนใดเป็นจำนวนคี่
(แนวตอบ: จำนวนคู่ 6 กบั 8 จำนวนค่ี 5 7 และ 9)
12. ครูอธิบายเพิ่มเติมในกรอบเกร็ดคณิต ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 ว่าการจำแนกจำนวนคู่และจำนวนคี่โดยใช้การ
หาร ถ้าเปน็ จำนวนคูเ่ ม่อื นำไปหารด้วย 2 จะหารลงตัว ส่วนจำนวนคเ่ี มือ่ หารด้วย 2 จะเหลอื เศษ 1
13. ครูให้นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุม่ ละ 3-4 คน แล้วให้แตล่ ะกลมุ่ ทำกจิ กรรมพฒั นาความรู้ ในหนังสือเรยี น
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 โดย
ครูแจกบัตรประโยคสัญลักษณ์และจัดกิจกรรมตามขั้นตอนในหนังสือเรียน ครูคอยสังเกต
พฤติกรรมการทำงานของนักเรยี นและพูดกระตุ้นให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทุกคน
14. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะข้อ 2 ใหญ่ ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2
เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไม่เกนิ 1,000 เปน็ การบ้าน

ชั่วโมงท่ี 3

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ
15. ครทู บทวนความรูเ้ ดิมเมื่อคาบที่แลว้ และสุม่ นักเรยี นออกมาเฉลยคำตอบการบ้าน
16. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนศึกษาตัวอย่างที่ 9 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2
เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 เพอ่ื ให้นกั เรียนเข้าใจมากยิ่งขนึ้
17. ครูให้นักเรยี นคูเ่ ดิมทำกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2
เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 ลงในสมุด และสุ่มนักเรียนออกมา
นำเสนอคำตอบหนา้ ชั้นเรยี น
18. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรมฝึกทักษะข้อ 3 ใหญ่ ในหนังสือเรียน
รายวิชา พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 กลุ่ม
ละ 1 ข้อ เมื่อทำเสร็จแล้วครสู ุ่มเลขที่ออกมานำเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น

ขนั้ สรุป

ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล

1. ครูให้นกั เรยี นทำใบงานที่ 9.4.1 เร่อื ง การหารที่ตวั หารและผลหารมหี นงึ่ หลัก(หารไม่ลงตวั )

2. ครถู ามคำถามเพื่อสรุปความรู้ทีน่ ักเรียนได้รับ และเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสยั โดยมีแนว

คำถาม ดังน้ี

• การหารไม่ลงตวั คืออะไร
(แนวตอบ: การแบง่ สิง่ ของออกเปน็ กลุ่ม กล่มุ ละเท่าๆกัน แลว้ สงิ่ ของเหลอื เศษ)

• เราสามารถตรวจคำตอบการหารไมล่ งตัวไดอ้ ย่างไรบ้าง
(แนวตอบ: โดย ตวั ตั้ง = (ผลหาร×ตัวหาร) + เศษ หรอื (ผลหาร×ตัวหาร) + เศษ = ตวั ตงั้ )

• 27 ÷ 8 =? คำตอบคือ
(แนวตอบ: ผลหารคอื 3 เศษ 3 เนอื่ งจาก (3x8)+3=27 )

4. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด เรื่อง การหารที่ตัวหารและผลหารมีหนึ่งหลัก ในแบบฝึกหัด รายวิชา

พ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 การหารจำนวนไม่เกนิ 1,000 เป็นการบ้าน

5.

7. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวัด วิธวี ัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน

7.1 ประเมนิ ระหวา่ งการจดั

กิจกรรมการเรยี นรู้

1) การหารที่ตวั หารและ - ตรวจใบงานท่ี 9.4.1 - ใบงานท่ี 9.4.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ผลหารมีหนึง่ หลกั - ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ - กิจกรรมฝึกทกั ษะ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

(หารไม่ลงตัว) - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2

ผลงาน นำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2

รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์

4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2

กลมุ่ การทำงานกลมุ่ การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์

รายการวัด วิธวี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
5) คณุ ลักษณะอันพงึ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
คณุ ลักษณะ
ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มัน่ อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
ในการทำงาน

8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้

8.1 ส่ือการเรยี นรู้
29) หนงั สอื เรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 9 การหารจำนวนไม่
เกนิ 1,000
30) แบบฝกึ หัด รายวิชาพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 การการจำนวนไม่
เกนิ 1,000
31) ใบงานที่ 9.4.1 เร่ือง การหารท่ตี วั หารและผลหารมีหนงึ่ หลัก(หารไม่ลงตัว)
32) บตั รโจทย์การหาร
33) ไข่
34) ตะกรา้

8.2 แหล่งการเรียนรู้
-

ใบงานท่ี 9.4.1
เรอ่ื ง การหารทต่ี วั หารและผลหารมีหนง่ึ หลกั (หารไมล่ งตวั )

คำชี้แจง : จากโจทยจ์ งหาผลหารตอ่ ไปน้ีพร้อมตรวจคำตอบ
5. สม้ โอมี มะพรา้ วอยู่ 58 ผล แบ่งใส่รถ 9 คนั แต่ละคนั จะใส่มะพรา้ วได้กี่ผล และเหลือมะพรา้ วอยู่ก่ี

ผล

6. พ่อมีเงนิ 49 บาท ต้องแบ่งให้ลกู 5 คน คนละเทา่ ๆกนั ลูกแต่ละคนจะได้เงนิ คนละกี่บาทและพอ่ จะ
เหลือเงินกี่บาท

7. มนี ม 57 ขวด แบง่ ใส่กลอ่ งกล่องละ 7 ขวด จะตอ้ งใชก้ ล่องกีใ่ บและเหลือนมอยกู่ ่ขี วด

8. น้องมีหนังสือ 67 เลม่ แบ่งใส่ชั้น ช้นั ละ 8 เลม่ น้องจะต้องใชช้ ้นั ใส่หนังสือก่ีชั้น เหลือหนังสือกีเ่ ล่ม

ใบงานที่ 9.4.1 เฉลย
เร่ือง การหารท่ตี ัวหารและผลหารมีหนงึ่ หลกั (หารไมล่ งตัว)

คำชี้แจง : จากโจทย์จงหาผลหารตอ่ ไปนพี้ ร้อมตรวจคำตอบ

1. ส้มโอมี มะพร้าวอยู่ 58 ผล แบ่งใสร่ ถ 9 คัน แต่ละคันจะใสม่ ะพร้าวไดก้ ่ผี ล และเหลือมะพรา้ วอยู่ก่ี
ผล
ประโยคสัญลกั ษณ์ 58 ÷ 9 = 6 เศษ 4
ตอบ รถแตล่ ะคันใส่มะพรา้ วไดค้ ันละ 6 ผล และ เหลือมะพรา้ ว 4 ผล
ตรวจคำตอบ (6 × 9) +4 = 58

2. พอ่ มเี งนิ 49 บาท ต้องแบ่งให้ลูก 5 คน คนละเทา่ ๆกนั ลูกแตล่ ะคนจะได้เงินคนละก่บี าทและพ่อจะ
เหลือ เงนิ กี่บาท
ประโยคสัญลักษณ์ 49 ÷ 5 = 9 เศษ 4
ตอบ ลูกแตล่ ะคนจะได้เงนิ คนละ 9 บาท พ่อจะเหลือเงนิ 4 บาท
ตรวจคำตอบ (9 × 5)+4 =49

3. มนี ม 57 ขวด แบ่งใสก่ ลอ่ งกล่องละ 7 ขวด จะตอ้ งใชก้ ล่องก่ีใบและเหลอื นมอยกู่ ีข่ วด
ประโยคสญั ลักษณ์ 57 ÷ 7 = 8 เศษ 1
ตอบ จะต้องใชก่ ล่องทั้งหมด 8 กล่อง และเหลือนม 1 ขวด
ตรวจคำตอบ (8 × 7)+1 = 57

4. นอ้ งมีหนงั สือ 67 เล่ม แบ่งใส่ชน้ั ชัน้ ละ 8 เลม่ น้องจะต้องใช้ชนั้ ใส่หนงั สือกช่ี น้ั เหลือหนังสือกเี่ ลม่
ประโยคสญั ลกั ษณ์ 67 ÷ 8 = 8 เศษ 3
ตอบ น้องจะต้องใชช้ ัน้ ใสห่ นงั สือไดท้ ั้งหมด 8 ช้นั และเหลอื หนงั สือ 3 เล่ม
ตรวจคำตอบ (8 × 8)+3 = 67

บัตรโจทยก์ ารหาร

48 ÷ 5 =
36 ÷ 7 =
40 ÷ 3 =
22 ÷ 6 =
71 ÷ 2 =
49 ÷ 8 =

9. ความเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย .................................
................................ )
ข้อเสนอแนะ
.......
ลงชื่อ
(

ตำแหนง่

10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ด้านความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

 ด้านอืน่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8

รหัส-ช่ือรายวิชา ค 12102 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เรื่อง โจทยป์ ัญหาการหาร

ผ้สู อน นางสาวกัญญารตั น์ รุ่งเรือง โรงเรียนวดั เหล่าขวัญ(จา่ งอนุเคราะห์

1. มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด

1.1 ตวั ชีว้ ัด
ค 1.1 ป.2/8 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ
0

2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. วิเคราะหโ์ จทย์ปัญหาการหารได้ (K)
2. บอกข้ันตอนการแก้โจทยป์ ัญหาการหารได้ (K)
3. หาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการหารได้ (K)
4. แสดงขั้นตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหาการหารได้ (P)
5. มคี วามตั้งใจและมีความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน
พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
- การแกโ้ จทย์ปญั หาและการสร้างโจทย์ปญั หาพร้อม

ทงั้ หาคำตอบ

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

ขน้ั ตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหาการหาร มีดงั น้ี
9. การวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหา
10. การวางแผนแกโ้ จทย์ปัญหา
11. การแก้ปัญหา
12. การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้

1) ทักษะการเชื่อมโยง 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

2) ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล

3) ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา

6. กิจกรรมการเรียนรู้

 แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบอุปนัย (Induction Method)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขน้ั นำ

ขั้นท่ี 1 เตรียม
1. ครทู บทวนความร้เู ดิมเก่ียวกบั การหาร โดยครเู ขียนโจทย์บนกระดานให้นักเรียนหาคำตอบ เช่น
• 18 ÷ 2 =? ให้หาคำตอบและเขยี นแสดงความสมั พนั ธ์การคูณและการหาร

(แนวตอบ: คำตอบคือ 9 เขียนความสมั พันธ์ได้ 18 ÷ 9 = 2, 9 × 2 = 18 , 2 × 9 = 18)
• หาคำตอบของ 5 × 15 = ? และ 4 × 26 =? โดยสุ่มนักเรียนออกมาแสดงวิธีทำโดยวิธีการคูณ

แนวต้งั
2. ครูให้นักเรียนตอบคำถามทบทวนความรู้เดิมมุมขวาของหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 โดยมีแนวคำถาม
ดงั น้ี
• 18 ÷ 2 หาผลหารไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ: 9)
2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่สงสัยเกี่ยวกับความรู้เดิมที่เรียนไป ก่อนจะบอกเรื่องที่จะ

เรียนกัน ในวนั นี้

ขนั้ สอน

ขน้ั ท่ี 2 สอนหรือแสดง
1. ครูเขยี นโจทย์บนกระดานและให้นกั เรยี นอา่ นโจทย์บนกระดานพร้อมกนั โดยมตี วั อยา่ งดงั นี้

ตัวอย่างที่ 1 มขี นม 15 ช้ิน จัดใส่กล่อง 3 กลอ่ ง กลอ่ งละเท่าๆ กนั จะจดั ขนมไดก้ ลอ่ งละกชี่ ิ้น
2. จากน้ันครูต้งั คำถามกระตนุ้ ความคิดนักเรียน ดงั นี้

- ในโจทยบ์ อกอะไรมาบ้าง
(แนวตอบ: ขนม 15 ชน้ิ จดั ใส่กล่อง 3 กล่อง)
- โจทยถ์ ามอะไร
(แนวตอบ: จะจดั ขนมได้กลอ่ งละก่ีชิ้น)
- มีวธิ ีแก้ปญั หาโจทย์ขอ้ นอี้ ยา่ งไร ครูวาดรปู เป็นแนวทาง
(แนวตอบ: 3 x =15 ใช้ความสัมพนั ธ์การคณู และการหาร)

ขนม 15 ชน้ิ

?

- เมื่อได้วิธีแก้ปัญหาแล้ว ก็เริ่มแก้ปัญหากัน จากวิธีแก้ปัญหานำมาเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้ว่า

ประโยค สญั ลักษณ์ 15 ÷ 3 =

วิธีทำ มขี นม 15 ชน้ิ

จดั ใส่กลอ่ ง 3 กล่อง

จะจดั ใส่กล่องไดก้ ลอ่ งละ 15 ÷ 3 = 5 ช้ิน

ตอบ จัดขนมใสก่ ลอ่ งไดก้ ลอ่ งละ 5 ชน้ิ

- ตรวจสอบคำตอบว่าสมเหตุสมผลหรอื ไม่

กล่อง 3 กลอ่ ง ใสข่ นมกลอ่ งละ 5 ชน้ิ มีขนมท้งั หมด 3×5 = 15 ตรงตามท่โี จทย์กำหนด

3. ครูยกตวั อย่างโจทย์เพิม่ อีก 2-3 ตัวอย่าง ให้นักเรียนได้ฝกึ หาคำตอบ

ขน้ั ที่ 3 เปรยี บเทยี บและรวบรวม
4. ครูถามว่าจากตัวอยา่ งที่อธบิ ายไปแล้ว นักเรยี นคดิ ว่าขนั้ ตอนวิธีการหารมีอะไรบ้าง
(แนวตอบ: ดูว่าโจทย์กำหนดอะไรมา และโจทยต์ ้องการทราบอะไร)

จากนน้ั ครตู ง้ั คำถามตอ่ ดงั นี้
• เม่ือทราบแล้วทำอะไรต่อ

(แนวตอบ: หาวธิ แี กป้ ญั หา แกป้ ญั หา เชค็ คำตอบ)
5. ครถู ามนักเรยี นว่าคุ้น ๆ ข้นั ตอนน้บี ้างไหม เคยเห็นขัน้ ตอนแบบนม้ี าก่อนหรือไม่

(แนวตอบ: เคย เหมือนกับขัน้ ตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกการลบและการคูณ)

ชัว่ โมงที่ 2

ขั้นท่ี 3 เปรยี บเทยี บและรวบรวม
6. ครูทบทวนความรูเ้ ดิม พร้อมอธิบายขน้ั ตอนการแก้โจทย์ปัญหาการหาร และถามตอบนักเรยี น จาก
ตัวอย่างที่ 14 ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การ
หารจำนวนไม่เกิน 1,000
ข้นั ตอนการแก้โจทย์ปัญหา
1) การวเิ คราะหโ์ จทย์
ส่งิ ที่โจทยก์ ำหนดให้ แมม่ ีส้ม 20 ผล จัดใส่จานจานละ 3 ผล
สิ่งที่โจทย์ถาม จะจัดส้มใส่จานได้กีใ่ บละเหลือส้มกี่ผล (จะเห็นว่าข้อนี้หารไมล่ งตัวเพราะมสี ้ม
เหลอื )
2) การวางแผนการแกโ้ จทย์ปญั หา

สม้ 20 ผล

ใส่จานจานละ 3 ผล

จากรปู มีสม้ 20 ผล จัดใส่จานจานละ 3 ผล

3) การแก้ปัญหา

ประโยคสัญลักษณ์ 20 ÷ 3 =

วิธที ำ แมม่ ีส้ม 20 ผล

จดั ใสจ่ านจานละ 3 ผล

จะจัดส้มใสจ่ านได้ 20 ÷ 3 ได้ 6 เศษ 2

ตอบ จะจัดสม้ ใสจ่ านได้ 6 ใบ และเหลือส้ม 2 ผล

4) ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
จะจัดส้มใสจ่ าน 6 ใบ ใบละ 3 ผล รวมเป็นสม้ ทงั้ หมด 6 × 3 = 18 ผล รวมกับส้มที่เหลืออีก

2 ผล เป็นส้มทั้งหมด 18 + 2 =20 ผล ตรงตามท่โี จทย์กำหนด
7. ครูให้นกั เรียนจับคู่กับเพ่ือนศึกษาตวั อย่างท่ี 15 ในหนังสือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์ ป.2

เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 และทำกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ใน
หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไมเ่ กนิ
1,000 จากนั้นครสู มุ่ นักเรียนออกมานำเสนอคำตอบ
8. ครูให้นักเรียนอ่านสถานการณ์จากกิจกรรม เชื่อมโยงสู่ชีวิตประจำวัน ในหนังสือเรียน รายวิชา
พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่เกิน 1,000 แล้วขอ
อาสาสมัครนักเรียน 3 คน ออกมาแสดงวิธีทำหนา้ ชัน้ เรียน นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความ
ถูกต้อง
9. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะข้อ 1 ใหญ่ ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2
เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไมเ่ กิน 1,000 เปน็ การบา้ น

ชว่ั โมงที่ 3

ข้นั สรุป

ขั้นที่ 4 สรุป
1. ครูเขยี นโจทยบ์ นกระดาน ดังนี้
• แมวมเี งนิ 40 บาท แบ่งให้น้อง 5 คน คนละเท่าๆกัน น้องจะได้เงินคนละก่ีบาท
จากนั้นให้นักเรียนแสดงข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา โดยครูสุ่มนักเรียนเลขทีค่ นแรกออกมา
เขียน ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์โจทย์ สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ นักเรียนคนที่เขียนยื่นปากกาต่อให้เพื่อน
มาเขียนสิ่งที่โจทย์ถาม เสร็จแล้วก็ย่ืนปากกาไปเรือ่ ย ๆ จนกว่าจะแสดงขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา
เสรจ็ สมบูรณ์
2. ครถู ามคำถามเพือ่ สรปุ ความรูท้ ี่นกั เรียนได้รับ และให้นกั เรยี นซักถามข้อสงสัย โดยมีแนวคำถาม ดงั น้ี
• ข้นั ตอนการแกโ้ จทย์ปัญหาการหารมกี ขี่ ้ัน อะไรบ้าง
(แนวตอบ: 4 ขั้น 1. การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา 2. การวางแผนแก้โจทย์ปัญหา 3. การแก้ปัญหา 4.
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ)
3. ครูช่วยสรุปขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาการหารบนกระดานอีกครั้ง และให้นักเรียนจดลงสมุด โดย
ขัน้ ตอนการแกโ้ จทย์ปญั หาการคูณ มดี ังนี้

1) การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เมื่อเราอ่านโจทย์แล้วต้องทำการวิเคราะห์โจทย์ว่าสิ่งที่โจทย์

กำหนดให้ มี อะไรบ้าง สิง่ ทโี่ จทยถ์ าม คอื ส่งิ ทตี่ อ้ งหา สิ่งทีอ่ ยากรู้

2) การวางแผนแก้โจทย์ปัญหา คือการหาวิธีที่จะมาแก้ปัญหา ควรวาดภาพออกมาเพื่อให้มอง

งา่ ยข้ึน เรา ต้องนำความร้เู ดิมจากการหารมาใช้

3) การแกป้ ัญหา นำวธิ ที เี่ ราวางแผนไว้ในข้อ 2 มาแสดงการแก้ปัญหา

4) การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ เพอื่ ตรวจสอบวา่ คำตอบท่ีเราได้น้นั

สมเหตุสมผล

ขั้นท่ี 5 นำไปใช้

4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 4 ใหญ่ ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ รับผิดชอบทำกิจกรรมฝึกทักษะ ข้อ 2 ใหญ่

ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไม่

เกิน 1,000 กลุ่มละ 1 ขอ้ จากนัน้ ครูสุ่มนกั เรยี นออกมานำเสนอคำตอบทห่ี นา้ ช้นั เรยี น

5. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมฝึกทักษะ ข้อ 2 ใหญ่ ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2

เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 การหารจำนวนไมเ่ กิน 1,000 เป็นการบ้าน

6. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสยั

7. ครใู ห้นักเรียนทำใบงานท่ี 9.6.1 เรือ่ ง โจทยป์ ัญหาการหาร

7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธีวดั เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

7.1 ประเมินระหวา่ งการจดั

กจิ กรรมการเรียนรู้

1) โจทยป์ ัญหาการหาร - ตรวจใบงานท่ี 9.6.1 - ใบงานท่ี 9.6.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

- ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะ - กิจกรรมฝกึ ทักษะ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2

ผลงาน นำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์

3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2

รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์

4) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2

กลุม่ การทำงานกล่มุ การทำงานกล่มุ ผ่านเกณฑ์

5) คุณลกั ษณะอันพึง - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2

ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และม่งุ มั่น คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์

8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้

8.1 ส่ือการเรียนรู้
35) หนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 การหารจำนวนไม่
เกนิ 1,000
36) ใบงานท่ี 9.6.1 เรื่อง โจทย์ปัญหาการหาร

8.2 แหลง่ การเรียนรู้
-

ใบงานที่ 9.6.1
เรอื่ ง โจทย์ปัญหาการหาร

คำช้แี จง : จงแสดงขนั้ ตอนการแกโ้ จทย์ปญั หาการหารต่อไปน้ี
1. ดาวมีลกู อม 24 เมด็ แบ่งให้เพ่อื น 8 คน คนละเท่าๆกัน เพอ่ื นจะไดล้ ูกอมจากดาวคนละกี่เมด็

2. ไก่มสี มดุ 15 เลม่ จดั ใส่ช้ัน 3 ช้นั ชนั้ ละเท่าๆกัน ไกจ่ ะจัดสมุดใส่ชนั้ ไดช้ นั้ ละก่เี ลม่

3. แม่มีเงนิ 30 บาท แบง่ ให้ลูก 4 คน คนละเทา่ ๆกนั ลูกแต่ละคนจะได้เงนิ คนละก่ีบาท และแมเ่ หลือ
เงินกบ่ี าท

ใบงานท่ี 9.6.1 เฉลย

เร่อื ง โจทยป์ ัญหาการหาร

คำช้ีแจง : จงแสดงขัน้ ตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหาการหารต่อไปน้ี
1.ดาวมลี ูกอม 24 เมด็ แบ่งใหเ้ พื่อน 8 คน คนละเท่าๆกนั เพอื่ นจะได้ลกู อมจากดาวคนละกเี่ มด็
1. การวเิ คราะห์โจทย์ปัญหา

สง่ิ ท่ีโจทย์กำหนดให้ ดาวมีลกู อม 24 เมด็ แบ่งใหเ้ พ่ือน 8 คน
สิ่งที่โจทยถ์ าม เพื่อนจะได้ลูกอมจากดาวคนละกเี่ มด็
2. การวางแผนแก้โจทยป์ ัญหา

ลกู อม 24 เมด็

?

3. การแก้ปัญหา

ประโยคสัญลักษณ์ 24 ÷8 =

วธิ ีทำ ดาวมีลูกอม 24 เม็ด

แบง่ ใหเ้ พ่ือน 8 คน

เพอื่ นจะไดล้ กู อมคนละ 24 ÷8 = 3 เมด็

ตอบ เพ่ือนจะได้ลกู อมคนละ 3 เม็ด

4. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ

เพ่อื น 8 คน ได้ลูกอมคนละ 3 เม็ด จะมลี ูกอมทงั้ หมด 8×3 = 24 ตรงตามที่โจทยก์ ำหนด

2. ไกม่ สี มุด 15 เล่ม จัดใส่ช้ัน 3 ชัน้ ชั้นละเท่าๆกัน ไก่จะจัดสมุดใส่ช้นั ได้ช้นั ละกีเ่ ล่ม
1. การวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหา

สง่ิ ทโ่ี จทยก์ ำหนดให้ ไก่มีสมุด 15 เล่ม จัดใสช่ ัน้ 3 ชน้ั
สิ่งทโี่ จทยถ์ าม ไกจ่ ะจัดสมุดใส่ชั้นไดช้ ั้นละก่ีเลม่
3. การวางแผนแก้โจทยป์ ัญหา

สมดุ 15 เลม่

3. การ?แก้ปญั หา

ประโยคสญั ลักษณ์ 15 ÷ 3 =

วิธที ำ ไก่มีสมุด 15 เลม่

จดั ใสช่ ้ัน 3 ชนั้

ไก่จะจดั สมดุ ใสช่ ั้นได้ช้นั ละ 15 ÷ 3 = 5 เลม่

ตอบ ไก่จะจดั สมุดใส่ชน้ั ไดช้ ัน้ ละ 5 เลม่

4. ตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ

ไกม่ ีชัน้ 3 ชั้น จัดสมดุ ใส่ชน้ั ละ 5 เล่ม จะมีสมุดทั้งหมด 3 × 5 = 15 เลม่ ตรงตามท่ีโจทยก์ ำหนด

3. แมม่ เี งนิ 30 บาท แบง่ ให้ลกู 4 คน คนละเท่าๆกนั ลกู แตล่ ะคนจะไดเ้ งนิ คนละก่บี าท และแม่เหลือ
เงินกีบ่ าท
1. การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา

สง่ิ ทโ่ี จทยก์ ำหนดให้ แมม่ ีเงนิ 30 บาท แบ่งใหล้ กู 4 คน คนละเทา่ ๆกนั
ส่ิงทโ่ี จทยถ์ าม ลูกแต่ละคนจะไดเ้ งินคนละกีบ่ าท และแมเ่ หลอื เงนิ กี่บาท
2. การวางแผนแก้โจทย์ปัญหา

เงนิ 30 บาท

?

3. การแกป้ ญั หา

ประโยคสัญลกั ษณ์ 30 ÷ 4 =

วิธีทำ แม่มเี งิน 30 บาท

แบง่ ใหล้ ูก 4 คน

ลูกแต่ละคนจะได้เงนิ คนละ 30 ÷ 4 ได้ 7 เศษ 2

ตอบ ลูกแตล่ ะคนจะไดเ้ งนิ คนละ 7 บาท และแมเ่ หลือเงิน 2 บาท

4. ตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ
ลกู 4 คน ได้เงินจากแม่คนละ 7 บาท แมม่ เี งินทั้งหมด 4×7 = 28 บาท รวมเงนิ ทีเ่ หลอื อีก 2 บาท แมจ่ ะมี
เงนิ ทง้ั หมด 28 + 2 =30 บาท ตรงตามทีโ่ จทย์กำหนด

9. ความเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ .................................
( ................................ )

ตำแหนง่ .......

10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ด้านความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

 ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

 ด้านอืน่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 10

เร่อื ง การวัดน้ำหนกั

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั

ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเกยี่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ตี อ้ งการวัดและนำไปใช้
ค 2.1 ป.2/4 วัดและเปรยี บเทียบน้ำหนกั เปน็ กิโลกรัมและกรัม กโิ ลกรัมและขีด

ค 2.1 ป.2/5 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกบั น้ำหนักที่มีหนว่ ย

เป็นกิโลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขดี

2. สาระการเรียนรู้

2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. การวดั นำ้ หนักเปน็ กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขดี
2. การคาดคะเนนำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรมั
3. การเปรียบเทยี บนำ้ หนกั โดยใช้ความสัมพันธร์ ะหว่างกโิ ลกรัมกับกรัม กโิ ลกรัมกับขีด
4. การแกโ้ จทย์ปญั หาเกีย่ วกับน้ำหนกั ท่ีมหี นว่ ยเป็นกโิ ลกรัมและกรมั กิโลกรมั กับขีด

2.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ
(พจิ ารณาตามหลกั สูตรสถานศึกษา)

3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

• การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีดตัวเลขบนหน้าปัดของเครื่องชั่งสปริง ใช้บอกน้ำหนักเป็น
กโิ ลกรัม

1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 ขดี 10 ชอ่ งเลก็ เท่ากบั 10 ขดี 1 กิโลกรมั เท่ากบั 10 ขดี
• การวดั นำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและกรัม เครอ่ื งชง่ั สปริงใช้บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม แต่ละกิโลกรัม

แบ่งออกเป็น 10 ช่องเล็ก 1 ช่องเล็ก เท่ากับ 1 ขีด หรือ 100 กรัม และ 10 ช่องเล็ก เท่ากับ
10 ขดี หรือ 1,000 กรัม
• การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัม การคาดคะเนน้ำหนัก เป็นการประมาณให้ใกล้เคียงค่าจริง
โดยไม่ ใช้เครื่องชั่งน้ำหนัก วิธีการตรวจสอบว่า การคาดคะเนน้ำหนักมีความถูกต้องมากน้อย
เพียงใดทำได้โดยการชั่งน้ำหนัก ผลต่างของน้ำหนักที่คาดคะเนกับน้ำหนักสิ่งของที่ชั่งจริง
เรยี กวา่ ความคลาดเคลื่อน

• การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมและกรัม ปลาหนัก 800 กรัม ไก่
หนัก 1 กโิ ลกรัม หรอื 1000 กรมั เนื่องจาก 800 กรัม นอ้ ยกวา่ 1000 กรัม ดังนั้น ปลาเบากวา่

ไก่ หรือ ไก่หนกั กว่าปลา

• การเปรียบเทยี บน้ำหนกั โดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหว่างกโิ ลกรมั และขดี
มงั คดุ หนกั 25 ขีด ฝรงั่ หนัก 2 กิโลกรมั หรือ 20 ขดี

เนอ่ื งจาก 25 ขีด มากกว่า 20 ขีด ดังนนั้ มงั คดุ หนักกว่าฝรัง่ หรอื ฝรงั่ เบากวา่ มงั คุด

• ขั้นตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หาเกีย่ วกับนำ้ หนัก มีดงั น้ี
1. การวเิ คราะห์โจทย์ปัญหา

2. การวางแผนแกโ้ จทยป์ ญั หา

3. การแกป้ ัญหา

4. การตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้

1) ทักษะการสังเกต 3. มุง่ มนั่ ในการทำงาน

2) ทกั ษะการระบุ

3) ทกั ษะการเปรียบเทยี บ

4) ทักษะการเชื่อมโยง

5) ทกั ษะการใหเ้ หตุผล

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- การเปรียบเทียบนำ้ หนักโดยใช้ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกโิ ลกรมั และกรัมกโิ ลกรมั และขดี

6. การวดั และการประเมินผล

รายการวัด วิธีวัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

6.1 การประเมินชิ้นงาน/

ภาระงาน (รวบยอด)

- การเปรียบเทียบน้ำหนัก - ตรวจชนิ้ งาน/ - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2

โ ดยใช ้คว ามสัม พ ั น ธ์ ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน ผ่านเกณฑ์

รายการวดั วธิ ีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน
ระหว่างกิโลกรัมและกรัม
กิโลกรมั และขดี - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมินตามสภาพจริง
6.2 การประเมนิ กอ่ นเรียน ก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรยี น - ใบงานที่ 10.1.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 10 - ตรวจใบงานที่ 10.1.1 - กจิ กรรมฝึกทกั ษะ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การวดั นำ้ หนกั - ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะ - แบบฝกึ หดั - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.3 ประเมินระหว่างการจดั - ตรวจแบบฝกึ หดั - ใบงานท่ี 10.2.1 - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรมการเรยี นรู้ - ตรวจใบงานที่ 10.2.1 - กจิ กรรมฝึกทักษะ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
1) การวัดนำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรัม - ตรวจกจิ กรรมฝกึ ทักษะ - แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
และขดี - ตรวจแบบฝกึ หดั - ใบงานท่ี 10.3.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจใบงานที่ 10.3.1 - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2) การวดั นำ้ หนกั เปน็ กิโลกรมั - ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะ - แบบฝกึ หดั - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
และกรมั - ตรวจแบบฝกึ หัด - ใบงานที่ 10.4.1 - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจใบงานท่ี 10.4.1 - กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
3) การคาดคะเนน้ำหนักเปน็ - ตรวจกิจกรรมฝกึ ทักษะ
กิโลกรัม - ใบงานท่ี 10.5.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจใบงานท่ี 10.5.1 - กจิ กรรมฝึกทักษะ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
4) การเปรยี บเทยี บนำ้ หนัก - ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ - แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
โดยใชค้ วามสมั พันธ์ - ตรวจแบบฝกึ หัด - ใบงานท่ี 10.6.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ระหว่างกิโลกรมั กับกรัม - ตรวจใบงานท่ี 10.6.1 - กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจกจิ กรรมฝึกทักษะ - แบบฝึกหดั - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
5) การเปรียบเทียบน้ำหนัก - ตรวจแบบฝกึ หดั
โดยใชค้ วามสัมพนั ธ์
ระหว่างกิโลกรมั กับขดี

6) โจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับ
นำ้ หนกั

7) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน นำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์

รายการวัด วธิ วี ัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ
8) พฤติกรรมการทำงานราย - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2

บุคคล การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์
9) พฤติกรรมการทำงานกล่มุ - ระดับคุณภาพ 2
- สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม
10) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์
- ระดบั คุณภาพ 2
6.4 การประเมนิ หลังเรียน - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน
- แบบทดสอบหลังเรียน ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่ันใน คุณลักษณะอนั พงึ ผ่านเกณฑ์
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 การทำงาน ประสงค์
การวัดน้ำหนัก - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบทดสอบหลัง - แบบทดสอบหลังเรียน
เรียน

7. กิจกรรมการเรียนรู้

• แผนฯ ท่ี 1 : การวดั นำ้ หนักเป็นกโิ ลกรมั และขดี เวลา 2
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการ
ชว่ั โมง
สอน/เทคนิค : แบบกระบวนการปฏบิ ัติ

• แผนฯ ที่ 2 : การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรมั และกรัม เวลา 2
ชั่วโมง แนวคดิ /รูปแบบ
การสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : แบบกระบวนการปฏบิ ัติ

• แผนฯ ที่ 3 : การคาดคะเนนำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั เวลา 3

ชัว่ โมง แนวคิด/รูปแบบ

การสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)

• แผนฯ ท่ี 4 : การเปรียบเทียบนำ้ หนักโดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหว่างกิโลกรัม เวลา 3
ชัว่ โมง
กับกรัม
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : โมเดลซปิ ปา (CIPPA MODEL)

• แผนฯ ที่ 5 : การเปรยี บเทียบนำ้ หนกั โดยใชค้ วามสมั พันธร์ ะหว่างกิโลกรัมกบั ขีด เวลา 2

ชวั่ โมง

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : โมเดลซปิ ปา (CIPPA MODEL)

• แผนฯ ที่ 6 : โจทย์ปัญหาเก่ียวกับนำ้ หนัก เวลา 3

ช่ัวโมง

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบอปุ นัย (Induction Method)

8. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้

8.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 การวดั น้ำหนัก
2) แบบฝึกหดั รายวิชาพนื้ ฐาน คณติ ศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 การวดั น้ำหนัก
3) ใบงานท่ี 10.1.1 เรอ่ื ง การวัดน้ำหนกั เปน็ กิโลกรมั และขีด
4) ใบงานที่ 10.2.1 เร่ือง การวดั น้ำหนักเปน็ กโิ ลกรัมและกรมั
5) ใบงานที่ 10.3.1 เรอ่ื ง การคาดคะเนนำ้ หนักเป็นกโิ ลกรัม
6) ใบงานท่ี 10.4.1 เร่อื ง การเปรียบเทียบนำ้ หนกั โดยใชค้ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกิโลกรัมกับกรัม
7) ใบงานท่ี 10.5.1 เรอ่ื ง การเปรยี บเทียบนำ้ หนกั โดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกิโลกรัมกับขีด
8) ใบงานท่ี 10.6.1 เรอ่ื ง โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั น้ำหนกั
9) บตั รภาพ
10) บัตรคำ
11) เครอ่ื งชัง่ แบบสปรงิ
12) เครอื่ งชั่งนำ้ หนกั แบบเข็ม
13) วสั ดุอุปกรณก์ จิ กรรมพัฒนาความรู้
14) วัสดุอปุ กรณ์กจิ กรรมสนกุ คิด สนุกทำ

8.2 แหล่งการเรยี นรู้
-

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 การวัดน้ำหนกั

คำช้แี จง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. เคร่ืองชั่งชนดิ ใดทบ่ี อกค่าเปน็ ตัวเลข 6. ผลต่างของน้ำหนกั ที่คาดคะเนกับนำ้ หนกั ส่งิ ของท่ี

ก. เครอื่ งชง่ั สปรงิ ชั่งจรงิ เรยี กว่าอะไร

ข. เคร่ืองชงั่ ดิจิทัล ก. การคาดคะเนน้ำหนัก

ค. เครอื่ งชง่ั นำ้ หนกั ตัวแบบเข็ม ข. การชง่ั

ง. เครื่องชัง่ แบบตุ้มเลือ่ น ค. ค่าความคลาดเคล่ือน

2. สงิ่ ของในขอ้ ใดไมใ่ ช้เคร่อื งช่ังสปรงิ ในการหา ง. ข้อ ก และ ข ถูก

นำ้ หนัก 7. ข้อใดมนี ำ้ หนักเทา่ กบั 7 กิโลกรัม 2 ขดี

ก. เนื้อหมู ก. 72 กโิ ลกรัม

ข. ทองคำ ข. 72 กรัม

ค. ผลไม้ ค. 72 ขีด

ง. ผกั ง. 720 กรมั

3. ข้อใดถูกตอ้ งเกีย่ วกบั การใชเ้ คร่ืองชง่ั สปริง พจิ ารณาข้อความต่อไปนี้ แลว้ ตอบคำถามข้อ 8-10

ก. กอ่ นช่ัง เขม็ ของเคร่ืองชัง่ ชท้ี เ่ี ลข 0 เสมอ แตงโมหนกั 5 กโิ ลกรัม 4 ขดี

ข. ก่อนช่งั เขม็ ของเคร่ืองช่งั ชท้ี ่ีเลขใดก็ได้ สม้ หนกั 30 ขีด

ค. ขณะชัง่ ให้วางสิ่งของทีต่ อ้ งการชงั่ ไว้สว่ นบน มะม่วงหนัก 2,200 กรัม

ของเครือ่ งช่ัง 8. ข้อใดถกู ต้อง

ง. ขอ้ ก และ ข้อ ข ถูก ก. แตงโมหนกั กวา่ ส้มโอ

4. ข้อใดไม่ถูกต้อง ข. ส้มโอหนักกวา่ มะมว่ ง

ก. 1 ขดี เทา่ กับ 10 กรัม ค. แตงโมหนกั เท่ากับสม้

ข. 20 ขีด เท่ากับ 2 กโิ ลกรมั ง. มะม่วงหนักกวา่ ส้ม

ค. 1 กิโลกรัม เทา่ กบั 1000 กรมั 9. ถา้ ซื้อมะมว่ งเพมิ่ อีก 1 กิโลกรมั จะมีมะม่วง

ง. ข้อ ข และ ข้อ ค ท้งั หมดก่ีกิโลกรัม

5. ขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. 23 กิโลกรมั

ก. 500 กรัม เท่ากับ 5 กโิ ลกรัม ข. 3 กิโลกรมั 200 กรัม

ข. 50 ขดี เท่ากับ 5 กโิ ลกรัม ค. 1 กิโลกรัม 22 กรัม

ค. 100 กรัม เท่ากับ 1 กิโลกรัม ง. 3,200 กรมั

ง. ผดิ ทกุ ขอ้ 15. หญิงนำ้ หนัก 43 กโิ ลกรัม เม่อื ถอดกระเป๋าออก
10. ข้อใดมนี ำ้ หนักมากกวา่ 3,000 กรมั ปรากฏว่าน้ำหนักของหญงิ ลดลง แสดงวา่ เกดิ จาก
สาเหตุใด
ก. แตงโม ก. เคร่ืองช่ังเสีย
ข. ส้ม ข. กระเปา๋ มีน้ำหนัก
ค. มะมว่ ง ค. หญิงผอมลง
ง. สม้ โอและแตงโม ง. ผดิ ทกุ ข้อ
11. ขอ้ ใดมีน้ำหนกั เท่ากนั
ก. 5 ขีด, 50 กรัม, 5 กิโลกรัม 16. ลำไยหนกั 13 ขดี ส้มหนัก 2 กโิ ลกรัม ชั่งรวมกัน
ข. 500 กรมั , 50 กโิ ลกรัม, 5,000 ขีด หนกั เท่าไหร่
ค. 23 ขีด, 2 กิโลกรมั 30 กรัม, 230 กรมั ก. 3 กโิ ลกรมั 3 ขีด
ง. 4 กโิ ลกรมั , 40 ขีด, 4000 กรมั ข. 15 กโิ ลกรมั
12. นำ้ หนักในข้อใดตา่ งจากข้ออื่น ค. 2 กิโลกรมั 130กรัม
ก. 56 กโิ ลกรมั ง. 1,320 กรมั
ข. 56 ขีด
ค. 5 กโิ ลกรมั 600 กรมั 17. ข้ันตอนแรกของการแก้ปญั หาเก่ยี วกบั นำ้ หนักคือ
ง. 5,600 กรัม ขอ้ ใด
13. จงเติมหน่วยการชั่งน้ำหนักในชอ่ งวา่ งเพื่อให้ ก. การแกป้ ญั หา
ขอ้ ความต่อไปนถ้ี ูกต้อง ข. การวางแผนแกป้ ญั หา
1 กิโลกรัม 5 เทา่ กับ 1 กิโลกรมั 500 ค. การตรวจสอบ
ก. ขีด, กิโลกรมั ง. การวิเคราะห์ปญั หา
ข. กรมั , กรมั
ค. ขดี , ขดี 18. ขายมังคดุ และอง่นุ ไป 75 กิโลกรัม หากขายองนุ่
ง. ขีด, กรัม ไป 43 กโิ ลกรัม ขายมังคุดไปกี่กโิ ลกรัม
14. จงเรียงลำดบั น้ำหนักของผลไมต้ ่อไปนจี้ ากมากไป ก. 23 กโิ ลกรัม
นอ้ ย ข. 32 กิโลกรัม
เงาะหนัก 5 กิโลกรมั ค.75 กโิ ลกรัม
สม้ หนัก 3,200 กรมั ง. 43 กิโลกรัม
ทุเรียนหนกั 51 ขีด
ก. เงาะ ส้ม ทเุ รียน 19. แมวหนัก 7 กโิ ลกรมั สนุ ัขหนกั กวา่ แมว 000 กรัม
ข. เงาะ ทุเรยี น ส้ม สนุ ัขหนกั กี่กิโลกรัม
ก. 75 กโิ ลกรมั
ข. 11 กโิ ลกรมั

ค. ทุเรียน เงาะ ส้ม ค. 750 ขีด
ง. สม้ ทุเรียน เงาะ ง. 750 กรัม

20. หนงั สือหนกั 600 กรมั สมดุ หนักนอ้ ยกวา่
หนงั สอื 2 ขีด สมดุ หนกั ก่ีกรัม
ก. 400 กรมั
ข. 800 กรัม
ค. 40 กรมั
ง. 80 กรมั

เฉลย

1. ข 2. ข 3. ง 4. ก 5. ข 6. ค 7. ค 8. ก 9. ข 10. ง
11. ง 12. ก 13. ง 14. ค 15. ข 16. ก 17. ง 18. ข 19. ข 20. ก

. 1 20.

แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 10 การวดั นำ้ หนกั

คำช้แี จง : ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดไมถ่ ูกต้อง 6. นำ้ หนกั ในข้อใดต่างจากข้ออ่ืน

ก. 1 ขีด เทา่ กับ 10 กรมั ก. 56 กโิ ลกรัม

ข. 20 ขีด เท่ากับ 2 กิโลกรมั ข. 56 ขดี

ค. 1 กิโลกรัม เท่ากบั 1000 กรมั ค. 5 กโิ ลกรมั 600 กรัม

ง. ข้อ ข และ ข้อ ค ง. 5,600 กรัม

2. ขอ้ ใดถูกต้อง 7. เครอ่ื งชัง่ ชนดิ ใดท่ีบอกค่าเปน็ ตวั เลข

ก. 500 กรัม เท่ากับ 5 กโิ ลกรัม ก. เครื่องชงั่ สปรงิ

ข. 50 ขีด เท่ากับ 5 กโิ ลกรมั ข. เคร่ืองช่ังดิจทิ ัล

ค. 100 กรมั เท่ากบั 1 กโิ ลกรัม ค. เครื่องช่ังน้ำหนักตัวแบบเข็ม

ง. ผดิ ทกุ ขอ้ ง. เครอ่ื งชง่ั แบบตุ้มเลื่อน

3. ผลต่างของน้ำหนักทค่ี าดคะเนกบั น้ำหนักสิ่งของที่ 8. ข้ันตอนแรกของการแก้ปญั หาเก่ยี วกับนำ้ หนักคือข้อใด

ช่งั จรงิ เรียกวา่ อะไร ก. การแก้ปญั หา

ก. การคาดคะเนนำ้ หนัก ข. การวางแผนแกป้ ญั หา

ข. การช่งั ค. การตรวจสอบ

ค. คา่ ความคลาดเคล่อื น ง. การวเิ คราะหป์ ญั หา

ง. ข้อ ก และ ข ถูก 9. ส่ิงของในข้อใดไม่ใช้เครื่องช่งั สปรงิ ในการหาน้ำหนัก

4. ขอ้ ใดมีน้ำหนกั เท่ากับ 7 กิโลกรมั 2 ขีด ก. เน้อื หมู

ก. 72 กโิ ลกรัม ข. ทองคำ

ข. 72 กรมั ค. ผลไม้

ค. 72 ขดี ง. ผัก

ง. 720 กรัม 10. ขอ้ ใดถูกต้องเก่ียวกบั การใช้เคร่อื งชงั่ สปรงิ

5. ข้อใดมนี ้ำหนักเท่ากนั ก. ก่อนช่ัง เขม็ ของเครื่องชัง่ ช้ีทเี่ ลข 0 เสมอ

ก. 5 ขดี , 50 กรัม, 5 กิโลกรมั ข. กอ่ นชั่ง เข็มของเครื่องช่งั ช้ีทเ่ี ลขใดก็ได้

ข. 500 กรัม, 50 กิโลกรัม, 5,000 ขีด ค. ขณะชงั่ ใหว้ างสิ่งของท่ตี ้องการชง่ั ไว้สว่ นบนของ

ค. 23 ขดี , 2 กโิ ลกรมั 30 กรัม, 230 กรมั เครอื่ งช่ัง

ง. 4 กโิ ลกรมั , 40 ขดี , 4,000 กรัม ง. ขอ้ ก และ ขอ้ ข ถกู

พิจารณาขอ้ ความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้อ 11-13 16. จงเรยี งลำดับนำ้ หนกั ของผลไม้ต่อไปนจ้ี ากมากไปน้อย
แตงโมหนกั 5 กิโลกรัม 4 ขีด เงาะหนกั 5 กิโลกรัม
สม้ หนกั 30 ขดี ส้มหนกั 3,200 กรมั
มะมว่ งหนกั 2,200 กรัม ทเุ รยี นหนกั 51 ขีด

11. ข้อใดถกู ต้อง ก. เงาะ สม้ ทเุ รียน
ก. แตงโมหนกั กว่าสม้ โอ ข. เงาะ ทุเรียน ส้ม
ข. ส้มโอหนักกว่ามะม่วง ค. ทุเรยี น เงาะ สม้
ค. แตงโมหนักเทา่ กบั ส้ม ง. สม้ ทุเรยี น เงาะ
ง. มะม่วงหนกั กว่าส้ม 17. หญิงน้ำหนัก 43 กิโลกรัม เมื่อถอดกระเป๋าออก
ปรากฏว่าน้ำหนักของหญิงลดลง แสดงว่าเกิดจาก
12. ถา้ ซอื้ มะม่วงเพิม่ อีก 1 กโิ ลกรัม จะมีมะมว่ ง สาเหตุใด
ทง้ั หมดกี่กิโลกรัม ก. เครื่องช่งั เสีย
ก. 23 กโิ ลกรมั ข. กระเปา๋ มีน้ำหนกั
ข. 3 กิโลกรมั 200 กรัม ค. หญิงผอมลง
ค. 1 กิโลกรัม 22 กรัม ง. ผิดทกุ ขอ้
ง. 3,200 กรมั
18. หนงั สือหนกั 600 กรัม สมดุ หนกั น้อยกวา่ หนงั สอื 2 ขดี
13. ขอ้ ใดมนี ำ้ หนักมากกว่า 3,000 กรัม สมดุ หนักกี่กรมั
ก. แตงโม ก. 400 กรมั
ข. สม้ ข. 800 กรัม
ค. มะมว่ ง ค. 40 กรมั
ง. ส้มโอและแตงโม ง. 80 กรัม

14. จงเติมหนว่ ยการชง่ั น้ำหนักในช่องว่างเพือ่ ให้ 19. ขายมงั คุดและองุ่นไป 75 กโิ ลกรมั หากขายอง่นุ ไป 43
ขอ้ ความต่อไปนีถ้ ูกต้อง กโิ ลกรมั ขายมงั คุดไปก่ีกิโลกรัม
1 กโิ ลกรัม 5 เท่ากับ 1 กโิ ลกรัม 500 ก. 23 กโิ ลกรัม
ก. ขีด , กโิ ลกรมั ข. 32 กโิ ลกรัม
ข. กรัม, กรมั ค. 75 กโิ ลกรมั
ค. ขีด, ขดี ง. 43 กโิ ลกรัม
ง. ขดี , กรมั

15. แมวหนกั 7 กิโลกรมั สนุ ัขหนกั กวา่ แมว 5,000 20. ลำไยหนัก 13 ขดี สม้ หนัก 2 กิโลกรัม ชงั่ รวมกัน หนัก
กรมั สนุ ขั หนักก่ีกโิ ลกรัม เท่าไหร่
ก. 75 กิโลกรมั ก. 3 กโิ ลกรมั 3 ขีด
ข. 11 กโิ ลกรัม ข. 15 กโิ ลกรมั
ค. 750 ขดี ค. 2 กิโลกรัม 130กรมั
ง. 750 กรั ง. 1,320 กรมั

เฉลย 3. ค 4. ค 5. ง 6. ก 7. ข 8. ง 9. ข 10. ง
13. ง 14. ง 15. ข 16. ค 17. ข 18. ก 19. ข 20. ก
1. ก 2. ข
11. ก 12. ข . 1 20.

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9

รหัส-ชื่อรายวิชา ค 12102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เร่ือง การวัดนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั และขีด

ผู้สอน นางสาวกัญญารัตน์ รุ่งเรือง โรงเรยี นวัดเหลา่ ขวัญ(จา่ งอนุเคราะห์

1. มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั

1.1 ตัวชว้ี ดั
ค 2.1 ป.2/4 วัดและเปรยี บเทียบน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขีด

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. บอกค่าการวดั น้ำหนักเปน็ กโิ ลกรัมและขดี ได้ (K)
2. ทำตามขัน้ ตอนการชง่ั น้ำหนักได้ (P)
3. ใชเ้ ครอ่ื งชั่งแบบสปริงได้ (P)
4. มีความตงั้ ใจและมีความรับผดิ ชอบต่อการทำงานกลุม่ (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรูท้ อ้ งถนิ่
พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนร้แู กนกลาง
- การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัม

และขดี

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีดตัวเลขบนหน้าปัดของเครื่องชั่งสปริง ใช้บอกน้ำหนักเป็น
กิโลกรัม

1 ชอ่ งเลก็ เท่ากับ 1 ขีด 10 ช่องเล็ก เทา่ กับ 10 ขีด 1 กิโลกรัม เท่ากบั 10 ขีด

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวนิ ัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้

1) ทักษะการสงั เกต 3. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

2) ทกั ษะการระบุ

3) ทักษะการเปรียบเทยี บ

4) ทักษะการเช่ือมโยง

5) ทกั ษะการให้เหตผุ ล

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา

6. กิจกรรมการเรียนรู้

 แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบกระบวนการปฏบิ ัติ
นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 เรอ่ื ง การวัดน้ำหนัก

ชั่วโมงท่ี 1

ขน้ั นำ

1. ครูให้นักเรียนเปิดหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10
การวัดน้ำหนัก แล้วให้นักเรียนร่วมกัน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปภาพที่แสดงในหนังสือเรียน
จากนนั้ ครูถามคำถามนกั เรียนวา่ ระหวา่ งนดิ กับนัท ใครหนกั นอ้ ยกวา่ กนั และหนักตา่ งกันก่ีกิโลกรัม
ก่ขี ดี นกั เรียนมีวธิ ีคดิ อยา่ งไร

2. ครูให้นักเรียนทำเตรียมความพร้อมก่อนเรียน ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ป.2
เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การวัดน้ำหนัก โดยให้นักเรียนตอบคำถามจากภาพที่เห็นในหนังสือ
เรยี น แล้วครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยคำตอบ

3. ครใู ห้นกั เรียนตอบคำถามทบทวนความรู้เดิมมุมขวาของหนังสือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน คณิตศาสตร์
ป.2 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 10 การวดั นำ้ หนัก โดยมีแนวคำถามดังน้ี

• ทเุ รียนหนักก่กี ิโลกรมั
(แนวตอบ: ทุเรียนหนกั 3 กโิ ลกรมั )

ขน้ั สอน

ข้นั ที่ 1 สงั เกต รบั รู้
1. ครูอธิบายตัวชนิดของเครื่องชั่งต่าง ๆ ให้นักเรียนฟัง โดยมีประเด็นดังนี้ “เครื่องชั่งที่มีหน่วย
มาตรฐานจะมีเครื่องช่ังสปริง เครื่องช่งั นำ้ หนักตวั เคร่ืองชง่ั สองแขน เคร่อื งชั่งแบบตุ้มเล่ือน เคร่ือง
ชง่ั ดิจิทัล” จากน้ันครตู ั้งคำถามเพือ่ กระตุ้นนักเรยี น โดยมีแนวคำถาม ดังนี้
• นักเรยี นว่าเคยเหน็ เครื่องชัง่ แบบใดบา้ งในชวี ติ ประจำวันของนกั เรยี น
(แนวตอบ: เครอ่ื งชั่งน้ำหนักตวั เครื่องช่งั สปรงิ เครือ่ งชั่งดจิ ิทัล)
2. ครูพูดเสริมเกร็ดคณิตเกี่ยวกับเครื่องชั่งน้ำหนักตัวแบบดิจิทัล ในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ป.2 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 10 การวดั น้ำหนกั
3. ครูหยิบเครื่องชั่งสปริงออกมาอธิบายถึงส่วนประกอบมี จานสำหรับวางสิ่งของ หน้าปัด เข็มชี้
นำ้ หนกั และตัวเลขบอกนำ้ หนัก และวิธกี ารชง่ั น้ำหนกั ของสิง่ ตา่ ง ๆ มีวิธีปฏิบตั ิ ดังน้ี
1) ก่อนชง่ั เขม็ ช้ีน้ำหนักตอ้ งช้ตี รงตวั เลข 0 ขณะช่งั
2) วางสิ่งท่ีตอ้ งการช่งั บนจาน
3) อ่านตัวเลขบนหน้าปัดดูว่าเข็มชี้ที่ตัวเลขใด ตัวเลขนั้นจะบอกน้ำหนักของส่ิงที่ชั่ง ซึ่งมีหน่วย
เป็น กิโลกรัม ครลู องชั่งสมดุ ให้นกั เรียนดู
4. ครูหยิบเครื่องชั่งน้ำหนักแบบเข็มออกมาบอกส่วนประกอบต่าง ๆ ให้นักเรียนฟัง ครูให้นักเรียน
ออกมาที ละ 5-6 คน ออกมาดูวิธีการชั่งน้ำหนักหน้าห้อง ให้คนในกลุ่มหนึ่งคนออกไป ชั่งน้ำหนัก
บนเครื่องชั่ง ครบู อกคา่ ของนำ้ หนักใหฟ้ งั
5. เมื่ออกมาดูครบแล้ว ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าถ้ามีเครื่องชั่งแบบดิจิทัล มันจะแสดงค่าน้ำหนักออกมา
เป็น ตวั เลขเลย
6. ครูอธิบายการวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ครูให้นักเรียนดเู คร่ืองชั่งสปริง จากส่วนประกอบต่าง
ๆ ที่ ครูอธิบายไปแล้ว ซึ่งนักเรียนจะเห็นว่า “บนหน้าปัดเครื่องชั่งนั้นมีตัวเลข ซึ่งใช้บอกน้ำหนัก
เปน็ กโิ ลกรัม จะเห็นวา่ แต่ละกิโลกรมั จะมขี ีดท่ีแบง่ เปน็ ช่อง ๆ 10 ชอ่ งเล็ก ซ่งึ 1 ชอ่ งเลก็ จะเท่ากับ
1 ขีด 10 ชอ่ งเลก็ เทา่ กับ 10 ขีด และ 1 กิโลกรัมเท่ากบั 10 ขีด”
7. ครูยกตัวอย่างให้นักเรียนดูโดยการหยิบสิ่งของมาชั่งให้นักเรียนดู และบอกค่าน้ำหนักที่วัดได้ เช่น
สมดุ เลม่ นี้หนกั 7 ขดี หนังสือเล่มนหี้ นกั 10 ขีด หรอื 1 กโิ ลกรมั


Click to View FlipBook Version