The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านแม่สลิดหลวงวิทยา ประจำปีการศึกษา 2563-2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phornphimon Kiadkongphrai, 2022-09-04 00:58:20

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านแม่สลิดหลวงวิทยา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบ้านแม่สลิดหลวงวิทยา ประจำปีการศึกษา 2563-2565

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 1
พะดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดะเอออเอ

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวทิ ยา (2563-2565) ก

คำนำ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา ปการศึกษา 2563-2565 ฉบับนี้
จดั ทำขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค เพื่อใชเ ปนแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนโรงเรียนบานแม
สลิดหลวงวิทยา ใหสนองตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ไดออกกฎกระทรวง พ.ศ. 2553 วาดวย
ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา มีสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 เปนหนวยงานตนสังกัดกำกับดแู ลการประกันคุณภาพ
การศึกษา แผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา ถือวาเปนหัวใจสำคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา เน่ืองจาก แผนพัฒนาคุณภาพ มีการกำหนดทิศทางไวอยางชัดเจนที่จะนำองคกรไปในทิศทางที่
ตองการ และบรรลุผล ตามเปาหมายที่กำหนดในการบริหารจัดการของสถานศึกษาจึงใหความสำคัญไปท่ี
แผนพฒั นาคุณภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษา

โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา จึงจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปนระยะเวลา 3 ป
การศึกษา (2563 - 2565) เพอื่ ใหทกุ ฝา ย/งาน ในโรงเรียน ใชเปน แนวทางในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาใหมี
มาตรฐาน บรรลุ เปาหมายของการจดั การศึกษาของโรงเรียนอยางเกิดประสิทธิภาพสงู สุด โดยใชกระบวนการ
บริหารแบบมสี วน รว มในการจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน จากความรวมมือของบคุ ลกรทกุ
ฝา ย ทกุ กลมุ งาน ทไี่ ดชวยกันศกึ ษาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาชาติ มาตรฐานการศึกษาชาติ และนโยบายการ
จัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแลวรวมมือกัน
วเิ คราะหโ อกาสและ ขอ จำกดั ตา ง ๆ ท่มี ีอยูในบริบทของโรงเรยี นนำมาใชต ดั สินใจในการกำหนดวิสัยทัศน พันธ
กิจ กลยทุ ธ และ เปาหมายในการพัฒนา จัดทำงาน โครงการ เลือกสรรกจิ กรรมท่ีจำเปนตองทำรองรับไดอยาง
เหมาะสม และไดนำเสนอโครงการตาง ๆ ผานคณะกรรมการและโครงการ ท่ีจำเปน ตอ งทำไดอยางเหมาะสม
เพอ่ื ใชเ ปน กรอบกำกับการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปใหบรรลเุ ปา ประสงคอ ยางมีประสทิ ธิภาพ

หวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับความรวมมือจากบุคลากรทุกฝายในการผลักดันใหการดำเนนิ กิจการ
ของโรงเรียนตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยา งมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล และขอบคณุ ผูมีสว น
เกี่ยวของในการจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา และดำเนินการใหบรรลุ
ตามแผนฯ ทุกทานมา ณ โอกาสน้ี

งานนโยบายและแผน
โรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) ข

ความเห็นชอบของประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

ขา พเจา ในฐานะประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานของโรงเรยี น เห็นดวยกบั สาระ
และแนวทางในการนำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ระยะเวลา 3 ปก ารศึกษา (2563 - 2565) ของโรงเรยี น
บา นแมสลิดหลวงวทิ ยา ท่จี ัดทำขึ้น เพ่ือใหท ุกฝา ย/งาน ในโรงเรียน ใชเปนแนวทางในการพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษาใหม ี มาตรฐาน บรรลุเปา หมายของการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนอยา งเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด

สเุ ธียร อินทะใจ
(นายสเุ ธยี ร อนิ ทะใจ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน
โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยาวิทยา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) ค

สารบัญ หนา
1
เรอ่ื ง 1
สว นที่ 1 ขอ มลู พน้ื ฐาน 1
ขอมูลทั่วไป 2
ประวตั โิ รงเรยี นโดยยอ 3
ท่ตี ้งั และอาณาเขตติดตอ 3
ขอ มูลผบู รหิ าร 4
ขอมูลนักเรียน 8
ขอ มูลครแู ละบุคลากร 9
ขอ มลู อาคารสถานท่ี 18
ขอมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม 19
โครงสรา งหลกั สูตรสถานศกึ ษา
แหลง เรียนรภู มู ิปญญาทองถ่ิน 20
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานของสถานศกึ ษาระดับการศึกษา 24
ขน้ั พน้ื ฐานปการศกึ ษา 2562 25
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม 44
สวนท่ี 2 วเิ คราะหส ภาพแวดลอมของโรงเรียน 47
ผลการวเิ คราะหส ภาพแวดลอมแวดใน 51
ผลการวเิ คราะหสภาพแวดลอ มแวดนอก 51
สวนที่ 3 ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 51
วิสยั ทัศน 52
พนั ธกจิ 54
กลยทุ ธ 103
สวนท่ี 4 กลยุทธการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็
สวนท่ี 5 การกำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงาน
ภาคผนวก

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 1

สวนท่ี 1

ขอมูลพ้นื ฐาน
โรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 1

สวนที่ 1
ขอ มูลพน้ื ฐาน
1. ขอ มูลท่ัวไป
ช่อื สถานศึกษา โรงเรยี นบา นบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยา ต้ังอยูเลขที่ 72 หมู 2 ตำบลแมส อง อำเภอทา
สองยาง จังหวดั ตาก รหสั ไปรษณยี  63150 โทรศัพท 055-560109 E-mail: [email protected]
webpage : www.MSLW.ac.th สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตากเขต 2 เปด สอนตง้ั แต
ระดบั ช้นั อนุบาลปท ่ี 1 ถงึ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 เขตบริการการศึกษา
1.1. บา นเชยี งแกว หมูท่ี 1 ตำบลแมส อง
ระยะทางจากหมูบา นเชยี งแกวถงึ โรงเรยี น 15 กโิ ลเมตร จำนวนครัวเรอื น 311 ครัวเรอื น ประชากร
915 คน เชอื้ ชาติ กะเหรี่ยง
นบั ถือศาสนา พุทธ,ครสิ ต,อสิ ลาม ภาษาท่ีใช ชีวิตประจำวัน ภาษากะเหรีย่ ง,ภาษาไทย
ผใู หญบ า น ช่อื นายคุณากร ชาตรีวินจิ ทอง
ผนู ำตามธรรมชาติช่อื 1. นายคุณากร ชาตรีวินจิ ทอง
1.2 บานแมส ลดิ หลวงและบานแมส ลิดคี หมทู ่ี 2 ตำบลแมสอง
ระยะทางจากหมบู านแมส ลิดหลวงถงึ โรงเรยี น 1 กโิ ลเมตร ระยะทางจากหมูบานแมสลิดคี ถงึ โรงเรียน
8 กิโลเมตร จำนวนครัวเรือน 751 ครวั เรอื น ประชากร 2,428 คน เช้ือชาติ กะเหรย่ี ง
นับถือศาสนา พุทธ,ครสิ ต,อิสลาม ภาษาทใ่ี ชในชีวิตประจำวัน ภาษากะเหรีย่ ง,ภาษาไทย
ผใู หญบ า น ชอ่ื นายประสิทธ์ิ แดนไพรแมเ มย
ผนู ำตามธรรมชาติชอื่ 1. นายประสทิ ธิ์ แดนไพรแมเมย
1.3 บานเกระคแี ละบานแมส ลดิ นอ ย หมทู ่ี 3 ตำบลแมสอง ระยะทางจากหมบู านเกระ คี ถงึ โรงเรยี น
10 กิโลเมตร ระยะทางจากหมบู านแมส ลลิดนอยถงึ โรงเรียน 3 กิโลเมตร
จำนวนครัวเรือน 376 ครวั เรอื น ประชากร 1,220 คน เชือ้ ชาติ กะเหรยี่ ง
นับถอื ศาสนาพุทธ,ครสิ ต,อสิ ลาม ภาษาท่ีใชในชวี ติ ประจำวัน ภาษากะเหรี่ยง, ภาษาไทย
ผูใ หญบ า น ช่อื นายอนวุ ัฒน ตะวันใกลร งุ
ผนู ำตามธรรมชาติชื่อ 1. นายชยั รตั น สงิ หก ฤษฎา
1.4 บา นแมโ ขะ หมูท ่ี 5 ตำบลแมส อง
ระยะทางจากหมบู านแมโขะถึงโรงเรียน 13 กิโลเมตร จำนวนครวั เรือน 227 ครัวเรือน ประชากร 762
คน เช้ือชาติ กะเหรี่ยง
นบั ถอื ศาสนา พุทธ,ครสิ ต,อสิ ลาม ภาษาทใ่ี ชใ นชีวิตประจำวัน ภาษากะเหร่ยี ง,ภาษาไทย
ผใู หญบ า น ชอ่ื นายจออา รุงเรอื งมณีเจริญ
ผูนำตามธรรมชาตชิ ือ่ 1. นายจออา รงุ เรืองมณีเจริญ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 2

1.5 บานแมนิลและบา นแมนลิ คี หมูท่ี 6 ตำบลแมส อง ระยะทางจากหมบู านถึงโรงเรียน 15 กิโลเมตร
จำนวนครัวเรอื น 223 ครวั เรอื น ประชากร 787 คน เชือ้ ชาติ กะเหร่ยี ง นบั ถอื ศาสนา พุทธ,คริสต,
อิสลาม
ภาษาท่ีใชใ นชวี ิตประจำวัน ภาษากะเหร่ยี ง,ภาษาไทย
ผูใ หญบาน ชื่อ นายบุญชู
ผูนำตามธรรมชาตชิ ่อื 1. นายจันต๊บิ ฉันพลันรงั สี
1.6 บานหว ยมะโหนก หมูที่ 7 ตำบลแมส อง ระยะทางจากหมบู า นถงึ โรงเรียน 8 กโิ ลเมตร จำนวน
ครวั เรอื น 199 ครวั เรือน ประชากร 811 คน เชื้อชาติ กะเหรี่ยง
นับถอื ศาสนา พทุ ธ,ครสิ ต,อิสลาม ภาษาที่ใชในชีวิตประจำวนั ภาษากะเหรย่ี ง,ภาษาไทย
ผใู หญบา น ชื่อ นายสมานจติ จิตรวนาชยั
ผนู ำตามธรรมชาตชิ ่ือ 1. นายจอแปะ ฉัตรชอ
2. ประวตั ิโรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวิทยา

โรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวิทยา ต้ังอยเู ลขที่ 72 หมู 2 ตำบลแมส อง อำเภอทาสองยาง จังหวดั ตาก
เริ่มกอต้งั โดยสังกัดองคก ารบรหิ ารสว นจังหวดั ตาก เมอื่ วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2511 โดย นายสเุ ธยี ร นริ นั ดรเกียรติ
นายอำเภอทา สองยาง มอบหมายให นายจันทร เทพประชุม ดำเนินการสรา งอาคารเรียนชวั่ คราวขนาด 6 × 10
เมตร เปด ทำการสอนเม่ือวันที่ 15 พฤษภาคม 2511 มนี ักเรยี นท้ังหมด 24 คน เปนชาย 18 คน หญงิ 6 คน มี
นายจนั ทร เทพประชุม เปน ครใู หญ

ปจ จุบันโรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาตาก เขต 2 หา งจาก
อำเภอทาสองยาง 33 กโิ ลเมตร หางจากสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาตาก เขต 2 ประมาณ 120 กโิ ลเมตร หา ง
จากชายแดน (แมน ำ้ เมย) 400 เมตร ปจ จุบนั (ปการศกึ ษา 2562) จดั การศึกษาในระดับอนบุ าล 1 ถึงระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) นักเรียนท้งั สนิ้ 2,431 คน (ขอมลู ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2562) มนี ักเรียนพัก
นอนชาย 25 คน หญงิ 65 คน รวมทั้งสน้ิ 90 คน มีขาราชการครูจำนวน 89 คน พนักงานราชการ 5 คน อตั รา
จาง 18 คน ครจู า งสอนโครงการพระราชดำริฯ 1 คน นักการภารโรง 1 คน ผูชว ยนกั การภารโรง 1 คน แมค รวั
4 คน ธรุ การ 1 คน โดยมี นางณัฏฐ พขรกันยสกลุ ดำรงตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรยี น

เม่อื วนั ท่ี 1-7 เมษายน 2542 คณะครูโรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยาไดออกสำรวจสำมะโนประชากร
เดก็ วัยเรียนในเขตบริการจำนวน 8 หยอมบานใน 6 หมบู าน พบวา มีเดก็ ทีย่ งั ไมไ ดเ ขา เรยี นจำนวนมาก
(ประมาณ 1,200 คน) จึงไดขออนุมัตเิ ปด หองเรียนสาขาเพื่อบรกิ ารการศกึ ษาแกเด็กในหมบู านในเขตบริการ
ดังกลา ว และเมื่อวันท่ี 6 ตุลาคม 2542 คณะกรรมการการประถมศกึ ษาจังหวัดตาก ไดม ีมติอนมุ ัติใหเปด
หอ งเรยี นเคล่ือนที่ สังกัดโรงเรียนบานแมส ลดิ หลวง จำนวน 6 จดุ ไดแก หองเรียนเคล่ือนท่บี า นเชยี งแกว หมูท ี่
1 บา นแมส ลดิ คี หมทู ี่ 2 บานเกระคี หมูท ี่ 3 บานแมโ ขะ หมูท่ี 5 บานแมน ลิ หมูที่ 6 และบานหว ยมะโหนก หมู
ท่ี 7 และเม่ือ วันที่ 21 กรกฎาคม 2543 ไดร บั การอนุมัติเปดหอ งเรียนเคลื่อนทีเ่ พ่มิ อีก 1 จดุ คือ หอ งเรยี น

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบา นแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 3

เคลื่อนที่บา นแมนลิ คี รวมทัง้ หมด 7 จุด โดยทกุ จุดไดจัดการเรยี นการสอนในระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที่ 1 - 4
สว นในระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 5 นกั เรยี นจะลงมาเรยี นท่ีโรงเรียนหลักและพักในเรือนพกั นอนของโรงเรยี น

ปก ารศึกษา 2547 โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวิทยา ไดร บั พระกรุณาธิคณุ จากสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใหด ำเนนิ การตามโครงการพระราชดำริฯ รวมถงึ เปด หอ งเรยี นเคลื่อนทีใ่ น
โครงการพระราชดำริฯ อีก 1 จุด คอื หองเรียนเคลอื่ นที่บา นแมส ลิดนอย หมูท ี่ 3 ตำบลแมส อง อำเภอทา สอง
ยาง โดยโรงเรยี นมพี นื้ ท่ที งั้ หมด 9 ไร 3 งาน 75 ตารางวา

3. ที่ตัง้ โรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวทิ ยา
โรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวิทยามเี ขตบริการทางการศกึ ษา ไดแ ก หมทู ่ี 1 บา นเชยี งแกว หมูท่ี 2 บา น

แมส ลิดหลวงและบานแมส ลดิ คี หมทู ี่ 3บา นแมสลิดนอยและบานเกระคี หมูที่ 5 บา นแมโ ขะ หมูท่ี 6บา นแมนลิ
และบานแมน ิลคี และหมูที่ 7 บา นหวยมะโหนก มีอาณาเขตดังนี้

ทิศเหนอื ติดตอกับตำบลทา สองยาง อำเภอทาสองยาง จังหวัดตาก
ทศิ ใต ติดตอกับตำบลแมอสุ ุ อำเภอทา สองยาง จังหวัดตาก
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอกับโรงเรยี นบา นแมระเมิง ตำบลแมสอง อำเภอทา สองยาง จงั หวดั ตาก
ทิศตะวนั ตก ติดตอ กับประเทศสหภาพพมา
ปจ จุบนั โรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยามีผบู ริหารปจจุบัน คือ นางจันมา วเิ ศษสิงห
ตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรยี น มีบคุ ลากรทางการศกึ ษาสายผสู อนทง้ั หมด 27 คน เปน ขา ราชการครู 22 คน
พนกั งานราชการ 2 คน เจาหนาที่ธรุ การ 1 คน มีพนกั งานบรกิ าร 1 คน แมบ าน 1 คน

ตราประจำโรงเรยี น

กอ ตั้งเม่ือ พ.ศ. 2511

อกั ษรยอ ม.ส.ว.

ตน ไมป ระจำโรงเรียน ตน อนิ ทนลิ

คำขวญั รักศกั ดศิ์ รี มคี ุณธรรม นำความรู มุง สมู าตรฐาน สบื สานงานพระราชดำรฯิ
สีประจำโรงเรยี น น้ำเงนิ – ขาว

ปรัชญา สม.มา วายเม เถว ปรุ โิ ส – เปน คนพึงทำดรี ่ำไป

อตั ลักษณ “รักการออม”

เอกลักษณโรงเรยี น “แหลง บมเพาะคนดี ตามวิถเี ศรษฐกจิ พอเพยี ง”

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 4

แผนผงั แสดงเขตบรกิ ารโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวทิ ยา

1 หองเรียนสาขาบา นแมส ลดิ นอ ย
(โครงการพระราชดำริฯ)

2 หอ งเรยี นสาขาบา นเชียงแกว
3 หอ งเรยี นสาขาบา นแมส ลดิ คี
4 หอ งเรยี นสาขาบา นเกระ คี
5 หองเรยี นสาขาบา นแมโ ขะ
6 หองเรยี นสาขาบา นแมน ลิ คี
7 หองเรยี นสาขาธรรมศาสตรร ว มใจ

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวทิ ยา (2563-2565) 5

แผนผงั โรงเรยี นบานแมสลดิ หลวงวทิ ยา

4. ขอมูลผูบริหาร ป 2511 - 2516

1) ทำเนียบผูบริหาร ป 2516 - 2522
1. นายจนั ทร เทพประทมุ ป 2522 - 2523
ป 2523 - 2524
2. นายถนอม คงแกว ป 2524 - 2528
3. นายประสงค ลอกา
4. นายจนั ทร เทพประทมุ ป 2528 - 2531
5. นายอราม ถานอ ย ป 2531 – 2549

6. นายถนอม คงแกว ป 2549 – 2553
7. นายกำพล เมืองยศ ป 2553 – 2559
ป 2559 – 2561
8. นายปริญญา ปาเตนา ป 2561 - ปจ จบุ ัน
9. นายสุรเชษฐ รตั นเสถยี ร
10.นายอุทัย กันธวงั
11.นางณฏั ฐ พชรกันยส กลุ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 6

2) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา
นางณัฏฐ พขรกนั ยสกุล ผูอำนวยการโรงเรียน โทรศพั ท 092 - 5456602 วฒุ กิ ารศึกษา สูงสดุ
ปรญิ ญาโท การศึกษามหาบณั ฑิต สาขา บริหารการศึกษา

5. ขอ มลู นกั เรยี นปการศึกษา 2562 โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวทิ ยา + หองเรียนสาขา

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาตากเขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

จำนวนนักเรียนปการศึกษา 2562
1) จำนวนนักเรียนในเขตพืน้ ทบี่ รกิ ารทงั้ สน้ิ 2,431 คน

2) จำนวนนักเรยี นในโรงเรยี นท้งั ส้ิน 2,431คน จำแนกตามระดับชัน้ ทีเ่ ปดสอน

ระดับชนั้ เรยี น จำนวนหอง เพศ รวม เฉลยี่
ชาย หญิง ตอหอ ง

อ.1 12 155 141 296 25

อ.2 10 116 108 224 22

รวม 22 371 249 420 19

ป.1 13 185 199 348 27

ป2 11 152 114 266 24

ป.3 11 133 125 258 23

ป.4 7 107 92 199 28

ป.5 6 88 117 205 34

ป.6 5 58 79 137 27

รวม

ม.1 4 52 73 125 31

ม.2 3 45 62 107 36

ม.3 3 43 51 94 31

ม.4 2 20 25 45 23

ม5 2 10 37 47 24

ม.6 2 13 31 44 22

รวม

รวมทั้งหมด 91 1,177 1,254 2,431 27

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบา นแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 7

6. ขอมลู ครูและบุคลากร
ตารางที่ 1แสดงจำนวนบคุ ลากรจำแนกตามเพศและวุฒิการศึกษาของโรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวทิ ยา

วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ จำนวนขาราชการครู จำนวนพนกั งานราชการ/

อตั ราจา ง รวมทง้ั ส้ิน

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม

สงู กวาปริญญาตรี 10 14 24 - -0 24

ปรญิ ญาตรี 16 42 58 4 10 15 73

ตำ่ กวาปริญญาตรี - - - 2 13 15 15

รวมทั้งสิ้น 26 56 82 6 23 29 111

1 .ขา ราชการครู จำนวน 75 คน ประกอบดวย
1. นางณัฏฐ พชรกันยสกุล อายุ 53 ป ตำแหนง ผูอำนวยการโรงเรียน ระดับการศึกษาปริญญาโท

คณุ วุฒิ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (บรหิ ารการศึกษา) ศาสนาพุทธ
2. นายธรรมนูญ แจมอยู อายุ 41 ป ตำแหนง ครูชำนาญการ ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ

ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต (คณติ ศาสตร) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปน ครมู าแลว 16 ป เปน ครูอยูโ รงเรียนน้ี 12 ป
3. นายธีรวิทย กวดขัน อายุ 45 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปริญญาโท คุณวุฒิ การศึกษา

มหาบัณฑิต (บริหารการศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 11 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนน้ี 9 ป
4. นางวิราวรรณ ภาพพิชวงค อายุ 36 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาโท คณุ วุฒิ มหาบณั ฑิต

(บรหิ ารการศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 11 ป เปนครอู ยูโรงเรยี นน้ี 7 ป
5. นายสวุ ิทย อนุ ทอง อายุ 38 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปริญญาโท คุณวฒุ ิ มหาบัณฑิต

(บรหิ ารการศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 15 ป เปนครอู ยโู รงเรยี นน้ี 6 ป
6. นายจตุพล ใจยวน เพศชาย 32 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ ศิลปศาสตร

บณั ฑติ (ดรุ ยิ างคไทย) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปนครูมาแลว 6 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นน้ี 5 ป
7. นายณฐั วุฒิ ขาวแสง อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ ครศุ าสตรบัณฑิต

(สงั คมศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 7 ป เปน ครอู ยโู รงเรยี นน้ี 7 ป
8. นายภูวนาท กองธรรม อายุ 40 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปรญิ ญาโท คุณวฒุ ิ มหาบัณฑติ

(บริหารการศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 5 ป เปนครูอยโู รงเรยี นน้ี 6 ป
9. นางชนิภากานต ศลิ ปชัย อายุ 45 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปรญิ ญาโท คุณวุฒิ มหาบัณฑติ

(บรหิ ารการศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครูมาแลว 15 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 6 ป

10. นางสาวโสภาวรรณ เสนุภัย อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปริญญาโท คณุ วฒุ ิ มหาบณั ฑติ
(บริหารการศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 8 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 6ป

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมส ลิดหลวงวทิ ยา (2563-2565) 8

11. นายเกตุกจิ สิทธกิ าย อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาโท คณุ วุฒิ มหาบณั ฑติ
(บรหิ ารการศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 10 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนน้ี 5 ป

12. นางสาวสริ กิ ร ยศวิชัยพร อายุ 34 ป ตำแหนง ครูผู ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ ครศุ าสตร
บณั ฑิต (ภาษาจนี ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 5 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนนี้ 5 ป

13. นางสาวเตอื นใจ ทาหวางกนั อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
บรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ (บริหารธุรกิจ) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 9 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นนี้ 5 ป

14. นางสาวรตั นาภรณ พรอ มรักษา อายุ 34 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ ครศุ า
สตรบัณฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาครสิ ต ประสบการณเปนครูมาแลว 8 ป เปนครอู ยโู รงเรียนน้ี5 ป

15. นายสุรยิ ะ ดลุ ยพนั ธธรรม อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ วิทยาศาสตร
บัณฑิต (สัตวศาสตร) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครูมาแลว 10 ป เปนครูอยโู รงเรยี นน้ี 5 ป

16. นางสุวมิ ล พรหมมะ อายุ 38 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ ครุศาสตรบณั ฑิต
(วทิ ยาศาสตร) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 11 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนนี้ 5 ป

17. นางสาวธญั ญารตั น แสงหนู อายุ 30 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ ครุศาสตร
บัณฑิต (คณติ ศาสตร) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 5 ป เปนครอู ยูโรงเรยี นนี้ 5 ป

18. นางสาววรญั ญา นิรามยั อายุ 29 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 5 ป เปน ครูอยูโ รงเรยี นน้ี 5 ป

19. นางสาวสภุ าพร แสงทอง อายุ 38 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (ชวี วิทยา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 9 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นนี้ 5 ป

20. นายอาทติ ย แซมวั อายุ 30 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ ครุศาสตรบณั ฑติ
(คณติ ศาสตร) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 5 ป เปนครูอยโู รงเรียนน้ี 4 ป

21. นายวฑิ รู ย อำรุงพนา อายุ 31 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ ครศุ าสตร
บัณฑิต (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 5 ป เปน ครอู ยูโ รงเรยี นน้ี 4ป

22. นายสุกา ธารายืนยง อายุ 36 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ ครุศาสตรบณั ฑติ
(ประถมศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 5 ป เปนครูอยโู รงเรยี นนี้ 4 ป

23. นางสาวเฉลมิ ขวัญ สอนชัย อายุ 29 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ ครุศาสตร
บัณฑิต (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปนครูมาแลว 5 ป เปนครอู ยโู รงเรยี นนี้ 4 ป

24. นางศกุนตลา เขื่อนศริ ิ อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ วศิ วกรรม
ศาสตรบณั ฑติ ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 9 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนนี้ 4 ป

25. นางสาวจฑุ าทพิ ย พุมไม กลอม อายุ 37 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ ครศุ า
สตรบัณฑติ (การประถมศึกษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปนครูมาแลว 5 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นน้ี 4 ป

26. นายสมเกียติ โทออน อายุ 46 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ ครศุ าสตรบัณฑติ
(คอมพิวเตอร) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 9 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นน้ี 4 ป

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 9

27. นางสาววนิดา กนั ทะเอย อายุ 28 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (เทคโนโลยกี ารศึกษาและคอมพวิ เตอรศ ึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 5 ป เปนครูอยู
โรงเรียนน้ี 4 ป

28. นางสาวเจดิ นภา วิชญพันธ อายุ 37 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ ครศุ าสตร
บณั ฑติ (การประถมศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 9 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นนี้ 4 ป

29. นางสาวเอมนิการ นอยจ่ัน อายุ 29 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (คณิตศาสตร) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 4ป เปนครอู ยโู รงเรยี นนี้ 4 ป

30. นางสาววรรณวนชั ตนั ตระกลู อายุ 28 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑติ (คหกรรมศาสตร) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 4 ป เปนครูอยูโรงเรยี นน้ี 4 ป

31. นายบรรพต จนั ทรป ว ย อายุ 34 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ครุศาสตรบณั ฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 5 ป เปนครูอยูโรงเรยี นนี้ 4 ป

32. นางสาวชอพฤกษ มงุ ลา อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ
วิทยาศาสตรบัณฑติ (สัตวศาสตร) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 9 ป เปนครอู ยูโรงเรียนนี้ 4 ป

33. นางสาวรตกิ ลุ กัลปสันติ อายุ 32 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (วทิ ยาศาสตรท่ัวไป) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 8 ป เปนครอู ยูโรงเรยี นน้ี 4 ป

34. นางสาวพชิ ชานนั ท เรยี งชยั เลิศ อายุ 33 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ระดบั ปรญิ ญาโท คุณวฒุ ิ
มหาบัณฑติ (บรหิ ารการศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 7 ป เปนครอู ยโู รงเรียนน้ี 4 ป

35 . นายณกรณ พิศเพง็ อายุ 37 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาโท คุณวฒุ ิ มหาบณั ฑิต
(บริหารการศึกษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปน ครมู าแลว 7 ป เปนครอู ยโู รงเรยี นน้ี 3 ป

36. นางสาวกฤตชยา ขงเขตคราม อายุ 30 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครุศาสตรบณั ฑิต (การศึกษาปฐมวัย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 3 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นนี้ 3 ป

37. นางสาวสวิ ณิ ยี  ลำใน อายุ 40 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครศุ าสตรบณั ฑิต (การศึกษาปฐมวัย) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 6 ป เปน ครอู ยโู รงเรยี นน้ี 3 ป

38. นางสาวพชั รีภรณ เนอื งแกว อายุ 29 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
การศกึ ษาบณั ฑิต (การศกึ ษาปฐมวยั ) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 3 ป เปนครูอยูโรงเรียนน้ี 3 ป

39. นางสาวกลั ยา อยูรัตน อายุ 28 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว3 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 3 ป

40. นางสาวณัฐธิดา อนุ เมือง อายุ 28 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 4 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นนี้ 3 ป

41. นางสาวบษุ รินทร จันทรป ว ย อายุ 37 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครุศาสตรบัณฑิต (ประถมศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 10 ป เปนครูอยูโ รงเรยี นน้ี - ป

42. นางสาวกมลเนตร ช่ืนชมบญุ อายุ 40 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (ประถมศึกษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 10 ป เปนครูอยโู รงเรยี นน้ี 3ป

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 10

43. นางสาวจฑุ ามาศ ฉำ่ ชะเอม อายุ 30 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ศึกษาศาสตรบัณฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 3 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนนี้ 3 ป

44.นายอาชานนท แสงศรี อายุ 25 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (ภาษาองั กฤษ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครมู าแลว - ป เปนครูอยูโรงเรยี นนี้ 3 ป

45. นางสาวก่งิ แกว เชีย่ วชาญ อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 4 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นนี้ 3 ป

47.นางสาวทัศนาพร อินเกิด อายุ 38 ป ตำแหนง ครู ระดับการศึกษา ปรญิ ญาโท คุณวุฒิ
ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (พัฒนาสงั คม) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครูมาแลว 5 ป เปน ครอู ยโู รงเรยี นนี้ 3 ป

48. นายชารฟี บาเนง็ ศิริ อายุ 32 ป ตำแหนง ครผู ูช ว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครศุ าสตรบณั ฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาอสิ ลาม ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 3 ป เปนครูอยโู รงเรียนน้ี 2 ป

49. นางสาวซากีเราะ ดอเลาะบาโด อายุ 30 ป ตำแหนง ครผู ูชวย ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบณั ฑติ (การศึกษาปฐมวยั ) ศาสนาอิสลาม ประสบการณเปน ครมู าแลว 2 ป เปน ครูอยโู รงเรียนนี้ 2 ป

50. นางสาวแวฮัชนะห แวสแลแม อายุ 33 ป ตำแหนง ครูผูช ว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ
ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) ศาสนาอสิ ลาม ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นนี้ 2 ป

51. นางสาวอฟี ตีซาน หะยสี าแม อายุ 29 ป ตำแหนง ครูผูช ว ย ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบณั ฑิต (การศึกษาปฐมวัย) ศาสนาอสิ ลาม ประสบการณเปน ครมู าแลว 2 ป เปน ครูอยูโรงเรียนน้ี 2ป

52. นางสาวรอฮานา ดือเระ อายุ 32 ป ตำแหนง ครผู ชู วย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ครุศาสตรบณั ฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาอิสลาม ประสบการณเ ปนครมู าแลว 2 ป เปนครูอยูโ รงเรยี นน้ี 2 ป

53. นางสาวอัมภฤณ ทองศักดิแ์ กว อายุ 35 ป ตำแหนง ครู ระดบั การศึกษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
ศึกษาศาสตรบ ณั ฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 4 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนนี้ 1 เดอื น

54. นางสุรีรัตน รามนตอ ายุ 29 ป ตำแหนง ครูผชู วย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครูมาแลว 3 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 2 ป

55.นางสาวพรพิมล เกยี รติกองไพร อายุ 29 ป ตำแหนง ครูผูช ว ย ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครุศาสตรบัณฑิต (ประถมศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 2 ป เปนครูอยโู รงเรยี นน้ี 2 ป

56.วาทรี่ อ ยตรหี ญงิ นงลักษณ กรินวงศา อายุ 27 ป ตำแหนง ครผู ูชวย ระดบั การศึกษา ปริญญาตรี
คณุ วฒุ ิ ครศุ าสตรบณั ฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 2 ป เปนครูอยูโรงเรียนนี้ 2 ป

57. นางสาวมนิ ตรา ดารากมล อายุ 27 ป ตำแหนง ครูผชู วย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนน้ี 2 ป

58. นางสาวเพยี งดารา ปญญาวชิ ัย อายุ 26 ป ตำแหนง ครูผชู วย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบณั ฑติ (ประถมศึกษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปนครูอยูโ รงเรยี นน้ี 2 ป

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 11

59. วาทร่ี อยตรีหญงิ จุไรรตั น ดวงคำ อายุ 25 ป ตำแหนง ครผู ชู วย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (วทิ ยาศาสตรท ว่ั ไป) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 2 ป เปนครูอยโู รงเรยี นนี้ 2 ป

60. นายธนากร อินตา อายุ 29 ป ตำแหนง ครูผชู วย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครุศาสตรบณั ฑิต (วทิ ยาศาสตรท ว่ั ไป) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปนครูอยูโ รงเรยี นนี้ 2 ป

61. นายธีรภัทร จำเนยี ร อายุ 27 ป ตำแหนง ครผู ชู ว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ (พลศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนนี้ 2 ป

62. นางสาวคนงึ นจิ เจรญิ พนาวฒั น อายุ 33 ป ตำแหนง ครูผชู ว ย ระดบั การศึกษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
ศึกษาศาสตรบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 2 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนนี้ 2 ป

63.นางสาวพัชรา ถกลกวิน อายุ 26 ป ตำแหนง ครูผูชว ย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบัณฑิต (วทิ ยาศาสตรท ัว่ ไป) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปน ครมู าแลว 2 ป เปนครูอยูโรงเรยี นนี้ 2 ป

64.นางสาวทกั ษอร แซลี อายุ 27 ป ตำแหนง ครูผูช ว ย ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ
ครศุ าสตรบณั ฑติ (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 2 ป เปนครูอยูโ รงเรียนน้ี 2 ป

65.นางสาวเทยี มจันทร ชาญชาตวิ รี ะ อายุ 27 ป ตำแหนง ครผู ูช ว ย ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑติ (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 2 ป เปน ครูอยโู รงเรยี นน้ี 2 ป

66.นายภคพล กอกลุ เกียรติ อายุ 32 ป ตำแหนง ครูผูชว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (พลศึกษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปนครมู าแลว 2 ป เปน ครูอยโู รงเรียนนี้ 2 ป

67.นางกมลชนก สืบอาย อายุ 30 ป ตำแหนง ครูผชู ว ย ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบณั ฑิต (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปนครูอยโู รงเรียนนี้ 2 ป

68.นางสาวกนกวรรณ คำเขื่อน อายุ 26 ป ตำแหนง ครผู ชู วย ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบณั ฑิต (สังคมศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครมู าแลว 2 ป เปนครูอยูโรงเรียนน้ี 2 ป

69.นางสาวสุดารักษ ปง วัง อายุ 25 ป ตำแหนง ครูผูชวย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบณั ฑิต (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยโู รงเรยี นนี้ 2 ป

70.นางสาวเสาวณยี  ครี ีราษฎรต ระกูล อายุ 29 ป ตำแหนง ครูผชู ว ย ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
รฐั ศาสตรบ ณั ฑติ (รัฐศาสตร) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนนี้ 2 ป

71.นายเลศิ ศกั ดิ์ ยาวุฒิ อายุ 27 ป ตำแหนง ครูผูช ว ย ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คุณวุฒิ
ครุศาสตรบัณฑิต (ฟสกิ ส) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 2 ป เปน ครูอยูโรงเรียนนี้ 2 ป

72..นายเสฏฐสิษฐ สระทองศิรกิ ลุ อายุ 27 ป ตำแหนง ครผู ูชว ย ระดบั การศึกษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบณั ฑิต (พลศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยโู รงเรยี นน้ี 2 ป

73.นางสาวชนดิ าภา ไชยแกว อายุ 25 ป ตำแหนง ครผู ชู วย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรท ่ัวไป) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 2 ป

74. นางสาวทิพยรศั มี ตั๋นขาว อายุ 27 ป ตำแหนง ครูผูชว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครศุ าสตรบัณฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนน้ี 2 ป

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 12

75.นางพมิ พพ ิมล ศรวี ิชัยวงค อายุ 27 ป ตำแหนง ครูผูชว ย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครุศาสตรบัณฑติ (วทิ ยาศาสตรศ กึ ษา เคมี) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครูมาแลว 2 ป เปนครอู ยูโ รงเรยี นน้ี 2 ป

76.นางสาวลดาวลั ย อยูคง อายุ 28 ป ตำแหนง ครูผูชว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 2 ป เปน ครูอยโู รงเรียนน้ี 2 ป

77.นางสาววจี ดวงใจ อายุ 27 ป ตำแหนง ครผู ชู วย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 2 ป เปนครอู ยูโ รงเรยี นนี้ 1 ป

78. นางสาวณฐั ณิชา นม่ิ สำลี อายุ 25 ป ตำแหนง ครูผูชวย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ
ครศุ าสตรบณั ฑิต (ชวี วทิ ยา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 1 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 1 ป

79. นางสาววรรณศริ ิ ทองสนิท อายุ 29 ป ตำแหนง ครูผชู ว ย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ศึกษาศาสตรบณั ฑิต (ภาษาไทย) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปนครูมาแลว 1ป เปน ครอู ยโู รงเรยี นนี้ 1 ป

80. นางสาวนภสั กร มหาวรรณ อายุ 27 ป ตำแหนง ครผู ูชว ย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 1ป เปน ครูอยโู รงเรยี นน้ี 1 ป

81. นางกานตร ะวี กลาแขง็ อายุ 29 ป ตำแหนง ครูผชู วย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
ศึกษาศาสตรบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปน ครมู าแลว 1ป เปนครอู ยโู รงเรยี นนี้ 1 ป

82. นางสาวเรมิการ ราชลำ อายุ 26 ป ตำแหนง ครูผชู ว ย ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คุณวฒุ ิ
ครุศาสตรบณั ฑติ (ชวี วิทยา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 1 ป เปน ครอู ยูโรงเรยี นน้ี 1 ป

83.นางวชิราภรณ ไพรวัลย อายุ 30 ป ตำแหนง ครูผูชว ย ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ
ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การศกึ ษาปฐมวัย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครูมาแลว 4 ป เปน ครูอยูโรงเรียนนี้ 1 ป

84.นางสาวศริ ิเพญ็ เปง ปก อายุ 46 ป ตำแหนง ครผู ชู วย ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครุศาสตรบัณฑติ (ประถมศึกษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปน ครอู ยโู รงเรียนนี้ 1 ป

85.นางสาวกาญจนา สวางแจง อายุ 31 ป ตำแหนง ครูผูชวย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ
ครุศาสตรบัณฑิต (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครมู าแลว 2 ป เปนครอู ยโู รงเรียนน้ี 1 ป

86.นางสาวหฤทยั บุญครอง อายุ 26 ป ตำแหนง ครูผูช วย ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 1 ป เปนครอู ยโู รงเรียนนี้ 6 เดอื น

87.นายภูรภิ ทั ร ภูส ุวรรณอายุ 27 ป ตำแหนง ครูผูช ว ย ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ
ครศุ าสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 1 ป เปนครูอยูโรงเรียนนี้ 6 เดือน

88.วาทร่ี อยตรีกฤตยชญ ตอมใจ อายุ 35 ป ตำแหนง ครผู ูชวย ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
ศิลปศาสตรบณั ฑติ (สงั คมวิทยาและมนุษยวิทยา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปน ครูมาแลว 1 ป เปนครอู ยู
โรงเรียนน้ี 6 เดือน

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 13

2. บุคลากรอ่นื ๆ จำนวน 28 คน ประกอบดวย
1. นางดาเว อาชนรากิจ อายุ 40 ป ตำแหนง พนักงานราชการ ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คุณวุฒิ

ครศุ าสตรบณั ฑติ (ประถมศึกษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครมู าแลว 10 ป เปนครูอยูโ รงเรยี นนี้ 13 ป สอน
ชั้นประถมศึกษาหองเรยี นสาขาแมโ ขะ

2. นางสาวสวติ ตา ดอยแกวขาว อายุ 40 ป ตำแหนง พนักงานราชการ ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี
คุณวุฒิ ครศุ าสตรบณั ฑติ (การบญั ชี) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 7 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนนี้ 10 ป
สอนชั้นประถมศึกษา

3. นายจารุพฒั น กันธรักษา อายุ 49 ป ตำแหนง พนักงานราชการ ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คุณวฒุ ิ
ครศุ าสตรบณั ฑิต (ศลิ ปศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปนครมู าแลว 10 ป เปน ครอู ยูโรงเรียนนี้ 13 ป สอนช้ัน
ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา

4. นายสชุ าติ โรจุยะ อายุ 38 ป ตำแหนง พนักงานราชการ ระดับการศึกษา ปริญญาตรี คณุ วุฒิ ครุศา
สตรบณั ฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพุทธ ประสบการณเ ปน ครูมาแลว 7 ป เปน ครูอยูโรงเรยี นน้ี 10 ป ทำหนาท่ี
สอนชัน้ ประถมศึกษาหอ งเรียนสาขาแมนลิ คี

5. นางกัญวัฒนศา คำแกว อายุ 49 ป ตำแหนง ครูผชู วย ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี คณุ วุฒิ ครศุ าสตร
บัณฑติ (ประถมศกึ ษา) ศาสนาพทุ ธ ประสบการณเปนครูมาแลว 18 ป เปนครูอยโู รงเรยี นน้ี 2ป

6. นายสิทธโิ ชค รตั นเสถยี ร อายุ 43 ป ตำแหนง ครูโครงการพระราชดำริ ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี
คณุ วฒุ ิ การศึกษาบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ ประสบการณเปนครูมาแลว 5 ป เปนครอู ยโู รงเรยี นน้ี 9 ป
หนา ท่ี สอนชั้นประถมศึกษาหองเรียนสาขาสลดิ นอย

7. นายแทนคณุ สนั โดษวนาไพร เพศชาย อายุ 38 ป ตำแหนง ครอู ตั ราจาง ระดับการศึกษา ปริญญา
ตรี คุณวุฒิ ครศุ าสตรบณั ฑิต (ภาษาองั กฤษ) ศาสนาคริสต อยูโ รงเรียนนี้ 7 ป หนาท่ี สอนชั้นมธั ยมศกึ ษา

8. นางสาวภัทรา วลยั ครี พี งษ อายุ 28 ป ตำแหนง ครูชวยสอน ระดับการศึกษาปรญิ ญาตรี ศาสนา
พุทธ อยูโรงเรยี นน้ี 6 ป หนาที่ สอนชัน้ ประถมศึกษา

9. นางสาวพชิ าภรณ พิมสาร อายุ 39 ป ตำแหนง ครูชว ยสอน ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี คณุ วฒุ ิ
การศกึ ษาบณั ฑิต (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ อยโู รงเรยี นนี้ 3 ป หนาที่ สอนช้นั ประถมศึกษา

10. นางสาววรวรรณ ศราวธุ านนท อายุ 28 ป ตำแหนง ครชู ว ยสอน ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี
คณุ วฒุ ิ การศกึ ษาบัณฑิต (ภาษาไทย) ศาสนาพุทธ อยโู รงเรียนนี้ 2 ป หนา ท่ี สอนช้นั ประถมศึกษา

11. นางสาวอทุ มุ พร มาลาครี ีกลุ อายุ 21 ป ตำแหนง ครชู ว ยสอน ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี คณุ วฒุ ิ
การศึกษาบณั ฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพทุ ธ อยูโรงเรยี นน้ี 3 ป หนาที่ สอนชัน้ ประถมศึกษา

12. นางสาวนองหญงิ อมตะวไิ ลพร อายุ 21 ป ตำแหนง ครชู ว ยสอน ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี
คุณวุฒิ การศึกษาบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพทุ ธ อยูโรงเรียนนี้ 2 ป หนาที่ สอนชน้ั ประถมศึกษา

13. นายอาคม วัจนเพญ็ พร อายุ 25 ป ตำแหนง ครชู วยสอน ระดบั การศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอน
ปลาย ศาสนาพทุ ธ อยูโรงเรยี นนี้ 2 ป หนาท่ี สอนชนั้ ประถมศกึ ษา

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 14

14. นางสาวเสาวลักษณ คีรีไพศาล เพศหญิง อายุ 22 ป ตำแหนง ครชู วยสอน ระดับการศกึ ษา ปริญญา
ตรี คณุ วุฒิ การศึกษาบัณฑติ (ภาษาไทย) ศาสนาพทุ ธ อยโู รงเรยี นน้ี 4 ป หนา ที่ ชวยสอนหองเรยี นสาขา

15. นางสาวกนกวรรณ วนาเฉลิมภูมิ อายุ 21 ป ตำแหนง ครูชว ยสอน ระดับการศกึ ษา มัธยมศกึ ษา
ตอนปลาย ศาสนาพทุ ธ อยูโรงเรยี นน้ี 4 ป หนาท่ี สอนชั้นประถมศึกษา

16. นางสาวลกั ขณา รักสถานเผา อายุ 26 ป ตำแหนง ครชู วยสอน ระดบั การศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอน
ปลาย ศาสนาพทุ ธ อยโู รงเรียนนี้ 4 ป หนา ท่ี สอนช้ันประถมศึกษา

17.นางสาวนริสา โอบพาราโดครี ี อายุ 23 ป ตำแหนง ครูชว ยสอน ระดบั การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอน
ปลาย ศาสนาพุทธ อยโู รงเรียนนี้ 2 ป หนา ท่ี สอนช้ันประถมศึกษา

18.นางสาวณัฐณชิ า บันเทิงกลางพนา อายุ 23 ป ตำแหนง ครชู วยสอน ระดบั การศึกษา มัธยมศกึ ษาตอน
ปลาย ศาสนาพุทธ อยโู รงเรียนนี้ 2 ป หนา ที่ สอนช้ันประถมศกึ ษา

19.นางสาวดาวพระศุกร มงคลศกั ด์ิไพศาล อายุ 23 ป ตำแหนง ครชู ว ยสอน ระดับการศกึ ษา
มัธยมศึกษาตอนปลาย ศาสนาพุทธ อยูโรงเรยี นนี้ 1 ป หนาที่ สอนชั้นประถมศกึ ษา

20.นางสาวมลั ติกา ทองเตมิ อายุ 36 ป ตำแหนง ธุรการโรงเรียน ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี
วิทยาศษสตรบ ณั ฑิต (คณติ ศาสตรป ระยุกต) อยูโรงเรียนน้ี 4 ป

21. นายธาริน - อายุ 28 ป ตำแหนง ภารโรง ระดับการศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน ศาสนาพทุ ธ
อยูโรงเรยี นน้ี 5 ป หนาท่ี ภารโรงประจำโรงเรยี น, พนักงานขบั รถ

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 15

คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานโรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวทิ ยา
1. นายสเุ ธียร อินทะใจ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา

2. นายประสทิ ธิ์ แดนไพรแมเมย ผแู ทนผปู กครอง

3.นายณฐั วุฒิ ขาวแสง ผแู ทนครู

4.นางนอเม ผแู ทนองคกรชมุ ชน

5. นายสรุ ศกั ดิ์ สงิ หอนุสรณ ผแู ทนองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน

6. นายชาครติ ฉวพี ไิ ล ผแู ทนศิษยเกา
7. นายอาคม ดอยไพรสณฑ ผแู ทนองคก รศาสนา

8. นางกรรณิการ คีรเี จรญิ ผแู ทนองคก รศาสนา

9. นางบัวหลวง อดุ ร ผทู รงคณุ วุฒิ

10.นางวารี ฉันพลันรงั สี ผทู รงคุณวุฒิ

11. นายอนุวัฒน ตะวันใกลร งุ ผทู รงคณุ วุฒิ

12. นายจออา รุงเรืองมณีเจริญ ผทู รงคุณวุฒิ
13. นายสมานจติ ร จิตรวนาชยั ผทู รงคณุ วุฒิ

14. นายคณุ ากร ชาตรวี ินจิ ทอง ผทู รงคณุ วุฒิ

15. นางณฏั ฐ พชรกันยส กลุ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการบริหารโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยา

1. นางณัฏฐ พชรกนั ยสกลุ ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวทิ ยา ประธานกรรมการ

2. นายสุวิทย อนุ ทอง หัวหนา กลุมบรหิ ารงานวชิ าการ กรรมการ
3. นางสาวทศั นาพร อินเกิด หัวหนากลุมบรหิ ารงบประมาณ กรรมการ

4. นายณฐั วุฒิ ขาวแสง หัวหนา กลมุ บริหารงานบคุ คล กรรมการ
กรรมการ
5. นายธรี ภัทร จำเนยี ร หวั หนา กลมุ บริหารทั่วไป

โครงสรา งการบริหารงาน โรง

สายงานบงั คับบญั ชา ผอู ำนวยกา

สายงานประสานงานและสนับสนนุ รองผอู ำนวยก

บรหิ ารงานวชิ าการ บริหารงบประมาณและสนิ ทรัพย์

- งานพฒั นากระบวนการเรยี นรู - งานการเงิน
- งานหลกั สตู รการสอน - งานบญั ชี
- งานหอ งสมุด ,งานอาเซยี น - งานระดมทรัพยากร และการ
- งานทุนการศกึ ษา /แนะแนว ลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา
- งานวิจยั ส่ือและนวัตกรรมฯ - งานพัสดุ
-งานทะเบียน วัดผล ประเมินผล ,งานรบั นร. - ฝายนโยบายและแผน
- งานพัฒนากระบวนการและแหลงเรยี นรู - งานควบคมุ ภายใน
-งานนเิ ทศการศกึ ษา ,งานสง เสรมิ การศึกษาฯ - งานระบบ GFMIS
- งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา - งานสารบรรณฝายบริหาร
- สง เสรมิ สนับสนุน ประสานชุมชน งบประมาณและสินทรพั ย
- งานกลุมสาระการเรียนร/ู งานการศึกษาปฐมวยั
- งานการศกึ ษาสำหรบั เด็กพเิ ศษ
- งานโครงการพระราชดำริ
- งานจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษา
- งานระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรียน
- งานเครือคายผูปกครองนกั เรียน
- งานกิจการนกั เรียน และวินยั นกั เรียน
- งานปองกนั ยาเสพตดิ
- งานสงเสรมิ ระบบประชาธิปไตย/สภานักเรียน
- งานกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบานแมส ลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 16

งเรยี นบานแมสลดิ หลวงวทิ ยา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ารโรงเรยี น

การโรงเรียน

บรหิ ารทวั ไป บริหารบคุ คล
- งานพัฒนาบุคลากร
- งานธุรการ - งานวนิ ยั และรักษาวนิ ยั
- งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาฯ - งานสง เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
- งานประสานและพฒั นาเครือขายการศกึ ษา - งานสารบรรณฝา ยบริหารงานบคุ คล
- งานประสานราชการกับเขตพ้นื ที่ฯ - งานลกู จา งประจำและลูกจางท่วั ไป
- งานอนามยั โรงเรียน
- งานโภชนาการอาหาร
- งานรกั ษาความปลอดภยั
- งานจัดบา นพกั
- งานบรกิ ารเคร่ืองอัดสำเนาเอกสาร/สิ่งพมิ พ
- งานการบรหิ ารจดั การอาคารสถานทีฯ่
- งานกจิ กรรม 5 ส
- งานปฏคิ ม
- งานธนาคารโรงเรียน
- งานสหกรณโ รงเรียน
- งานดแู ลหอพกั นกั เรยี น
- งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศกึ ษา
- งานประชาสัมพันธท างการศึกษา
- งานยานพาหนะ
- งานสาธารณปู โภค
- งานพฒั นางานหอ้ งเรียนสาขาต่างๆ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 17

7. ขอ มูลสภาพชุมชนโดยรวม
1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรยี นมีลกั ษณะเปนกลุมเครือญาติและชมุ ชนชาวกะเหรี่ยงมี ประชากรประมาณ

10,095 คน อาศยั บรเิ วณใกลเคยี งโดยรอบโรงเรียน อาชีพหลกั ของชุมชน ทำไร ทำนา รบั จาง เนอ่ื งจากประชากร
สว นใหญน ับถอื ศาสนา พุทธ ประเพณ/ี ศิลปวฒั นธรรมทอ งถ่ินท่ีเปน ที่รูจกั โดยท่ัวไป คอื การทำบุญในวนั สำคัญทาง
ศาสนา และประเพณที สี่ ำคัญ

2) ผูป กครองสว นใหญ ตงั้ บานเรือนรวมกนั เปน กลมุ ขนาดใหญ เปนการรวมกลมุ กันในระบบ เครอื ญาติ มีวิถี
ชวี ิตท่ผี ูกพันกบั แมน ้ำเมยทีใ่ ชในการอปุ โภค บรโิ ภค และการเกษตร สว นใหญนับถือ ศาสนาพุทธ และอกี รอยละ 1 นับ
ถอื ศาสนาครสิ ต ซง่ึ มวี ัดเปน ศนู ยร วมน้ำใจของประชาชน และพืน้ ที่ ตำบลแมส อง มแี หลงทอ งเท่ยี วทางธรรมชาติ คือ
อุทยานแหง ชาติแมเมย และมโี รงเรยี นขยายโอกาสจำนวน 2 แหง

3) โอกาสและขอจำกัดของโรงเรียน โอกาส ขอจำกดั สภาพชุมชนเปน โอกาสในการพฒั นาในเรื่อง การมสี วน
รว มในการพฒั นาโรงเรียน เน่ืองจาก ชมุ ชนมีความเขมแขง็ ของความรวมมือในการ พัฒนาชุมชนหลายดาน ผูนำชมุ ชนมี
ภาวะผนู ำสูง และสามารถสรางทมี งานในการพฒั นาไดด ี ชุมชนเหน็ ความสำคัญของสถานศกึ ษาในการรวม พฒั นาเปน
อยางดี การมสี วนรวมทางดา นวิชาการของชุมชน

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวทิ ยา (2563-2565) 18

8. โครงสรางหลกั สูตรสถานศกึ ษา

โรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา จัดสอนตามหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ตาม พ.ร.บ. การศึกษา 2542
สำหรับตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร สถานศึกษาฉบบั ปรังปรุงตาม
หลกั สูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2560 ดังน้ี โครงสรา งหลักสูตรโรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยา ระดบั
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตนและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ปรับปรุง 2563) หลกั สูตรโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวง
วทิ ยา การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กำหนดกรอบโครงสรางเวลาเรยี น ดังน้ี

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 19

9. แหลงเรียนรูภูมิปญญาทอ งถิน่
1) หองสมดุ มีขนาด 20 ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในหองสมดุ 3,000 เลม การสบื คน หนงั สอื และการยมื -คนื

ใชร ะบบ ระบบ จอหน ดิวอ้จี ำนวนนกั เรียนทใ่ี ชหองสมดุ ในปก ารศึกษาที่ รายงาน เฉลี่ย 273 คน ตอ วันคดิ เปน รอ ยละ
60 ของนกั เรียนทงั้ หมด

2) หอ งปฏิบัติการ
หอ งปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตรจ ำนวน 1 หอง
หองปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอรจำนวน 3 หอง
หองปฏบิ ตั ิการทางคณิตศาสตร จำนวน 1 หอ ง
3) คอมพวิ เตอรจ ำนวน 116 เครอื่ ง ใชเพือ่ การเรียนการสอน 79 เคร่อื ง ใชเ พื่อสบื คนขอ มูลทางอินเทอรเน็ต
27 เคร่อื ง จำนวนนักเรยี นท่ีสืบคน ขอ มลู ทางอินเตอรเ น็ตในปก ารศกึ ษาทร่ี ายงาน เฉลีย่ 120 คน ตอวัน คิดเปนรอยละ
25 ของนกั เรียนท้ังหมด ใชเ พ่ือการบริหารจดั การ 10 เคร่ือง
4) แหลง เรียนรูภ ายในโรงเรียน

1. แหลงเรียนรูการเกษตร
2. แหลงเรียนรูงานสหกรณโ รงเรียน
3. แหลงเรียนรูธนาคารโรงเรียน
4. หองสืบคนขอมลู
5. สวนพฤกษศาสตรใ นโรงเรยี น
6. ศนู ยภาษาไทย
7. หองดนตรี
8. หอ งสภานกั เรียน
9. หองวทิ ยาศาสตร
10. ศนู ยศ ลิ ปะ
11.ธนาคารขยะ
12. หองวิทยาศาสตร
5.) แหลง เรยี นรภู ายนอกโรงเรียน
1. พื้นทเ่ี กษตรตชด.ที่ 3506
2. วดั แมสลิดหลวง
3. อทุ ยานแหง ชาตแิ มเ มย
4. ชมุ ชนริมนำ้ นำ้ เมย หมบู า นแมสอง

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 20

10. มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวิทยา แนบทายประกาศโรงเรยี นบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา

เพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของโรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวทิ ยา ปการศกึ ษา 2562

เร่ือง การใชม าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย

..................................................................................................

คา เปาหมายมาตรฐาน/

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา ประเด็นการพจิ ารณา

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ คา ระดบั
นำ้ หนัก คณุ ภาพ
1.1 มีการพัฒนาดานรา งกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภยั ของ ดีเลศิ
ตนเองได 4
1.2 มกี ารพัฒนาดา นอารมณ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงงอออกทางอารมณไ ด ดเี ลิศ
4
1.3 มกี ารพัฒนาการดา นสังคม ชวยแหลอื ตนเอง และเปนสมาชกิ ทีด่ ขี องสังคม ดี
1.4 มีพัฒนาการดา นสตปิ ญญา ส่อื สารได มีทักษะการคดิ พืน้ ฐานและแสวงหาความรู 3
ได ดีเลศิ
4
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ
2.1 มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา น สอดคลอ งกับบรบิ ทของทองถน่ิ
2.2 จัดครใู หเ พยี งพอกบั ชน้ั เรียน
2.3 สง เสรมิ ใหค รมู ีความเชีย่ วชาญดานการจัดประสบการณ
2.4 จัดสภาพแวดลอ มและสอื่ เพ่อื การเรยี นรู อยา งปลอดภัย และเพยี งพอ
2.5 ใหบ รกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรูเพื่อสนบั สนนุ การจดั
ประสบการณ
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปด โอกาสใหผ ูเกีย่ วของทุกฝา ยมสี วนรว ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท ี่เนน เดก็ เปนสำคญั
3.1 จัดประสบการณท ่ีสงเสริมใหเ ดก็ มีการพฒั นาการทกุ ดา นอยางสมดุลเต็มศกั ยภาพ

3.2 สรา งโอกาสใหเ ด็กไดร บั ประสบการณต รง เลน และปฏิบัติอยา งมีความสขุ
3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือตอ การเรยี นรู ใชส ่ือเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับวยั
3.4 ระเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลประเมินพัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ
การจัดประสบการณและพฒั นาเดก็

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา (ระดับการศึกษาปฐมวยั )

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 21

การกำหนดคา เปา หมาย

1. ศกึ ษาขอมูลเดิมและผลการประเมินตางๆ ท่ผี า นมา เพือ่ เปนขอ มูลฐานในการกำหนดคาเปาหมาย

2. การกำหนดคาเปาหมายในแตล ะมาตรฐานควรกำหนดเปน ระดับคณุ ภาพ 5 ระดบั เพ่ือใหสอดคลอ งกบั

การประเมิน ดงั น้ี 5 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม 4 ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ
3 ระดับคุณภาพ ดี 2 ระดับคุณภาพ ปานกลาง

1 ระดับคุณภาพ กำลงั พัฒนา

3. การกำหนดคา เปาหมายในแตล ะประเด็นพจิ ารณาจะกำหนดเปน ระดบั คุณภาพ หรอื เปนรอยละ ตาม

ความเหมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 22

มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา แนบทา ยประกาศโรงเรยี นบานแมสลิดหลวงวิทยา

เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวทิ ยา ปการศกึ ษา 2562

เรื่อง กำหนดคาเปาหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

..................................................................................................

คาเปา หมายมาตรฐาน/

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา ประเด็นการพิจารณา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น คา นำ้ หนกั ระดับ
3 คุณภาพ
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน 3
1) มคี วามสามารถในการอาน การเขยี น การส่อื สารและการคิดคำนวณ ดี
2) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหและคิดอยา งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ น 4 ดี

ความคิดเหน็ และแกปญหา 3 ดเี ลิศ
3) ความสามารถในการสรา งนวตั กรรม
4) ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดี
5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
6) มคี วามรู ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ี่ดีตองานอาชีพ

1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคของผเู รยี น
1) การมีคณุ ลกั ษณะและคานิยมที่ดตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนด

2) ความภูมใิ จในทองถิน่ และความเปน ไทย
3) การยอมรบั ท่จี ะอยรู วมกันบนความแตกตางและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางรางกายและจติ สังคม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและจัดการ

2.1 การมเี ปา หมาย วิสยั ทศั น และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชดั เจน
2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดา นตามหลักสตู รสถานศึกษา
และทุกกลุมเปาหมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหมคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ
2.5 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้อื ตอ การจัดการเรียนรอู ยางมีคุณภาพ

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปน สำคัญ
3.1 จัดการเรียนรผู า นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใชใ นชีวิตได

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 23

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา คาเปา หมายมาตรฐาน/
ประเด็นการพิจารณา
3.2 ใชส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูทเ่ี อ้ือตอการเรยี นรู คา น้ำหนัก ระดับ
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยา งเปน ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู รยี น คณุ ภาพ
3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู ละใหขอ มลู สะทอนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู
3 ดี
สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา (ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน)

การกำหนดคา เปาหมาย

1. ศึกษาขอมลู เดิมและผลการประเมนิ ตา งๆ ทีผ่ า นมา เพือ่ เปนขอ มลู ฐานในการกำหนดคาเปา หมาย
2. การกำหนดคา เปาหมายในแตล ะมาตรฐานควรกำหนดเปน ระดบั คณุ ภาพ 5 ระดบั เพ่ือใหสอดคลองกับการ

ประเมนิ ดงั นี้
5 ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม
4 ระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ
3 ระดับคณุ ภาพ ดี

2 ระดบั คุณภาพ ปานกลาง
1 ระดับคณุ ภาพ กำลงั พัฒนา

3. การกำหนดคา เปาหมายในแตล ะประเดน็ พิจารณาจะกำหนดเปนระดับคณุ ภาพ หรอื เปนรอยละ ตาม
ความเหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 24

11. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ปรับปรุง ระดบั คุณภาพ ดีมาก
พอใช ดี 
โรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา
 
ระดบั การศึกษาปฐมวัย 
 
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน :ระดับการศกึ ษาปฐมวยั 
 
กลุมตัวบงชพี้ น้ื ฐาน  
ตวั บงชี้ที่ 1 เด็กมีพัฒนาการดานรา งกายสมวัย 
ตัวบง ชท้ี 2่ี เด็กมีพัฒนาการดานอารมณแ ละจิตใจสมวยั
ตัวบงชท้ี ี่ 3 เด็กมีพัฒนาการดานสังคมสมวยั
ตัวบงชท้ี ่ี 4 เด็กมีพัฒนาการดานสติปญ ญาสมวยั
ตวั บงช้ที ่ี 5 เด็กมคี วามพรอ มศึกษาในข้ันตอ ไป
ตวั บง ชท้ี ่ี 6 ประสิทธผิ ลการจดั ประสบการณการเรยี นรูท่ีเนน เดก็ เปนสำคัญ
ตวั บง ช้ีที่ ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา
ตัวบง ชี้ท่ี ๘ ประสทิ ธภิ าพของระบบประกนั คุณภาพภายใน
กลมุ ตวั บงชอ้ี ัตลักษณ
ตวั บง ชที้ ี่ ๙ ผลการพัฒนาใหบรรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน พันธกิจ
และวัตถปุ ระสงค ของการจดั ตงั้ สถานศึกษา
ตวั บง ช้ที ่ี 1๐ ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนท่ีสง ผลสะทอนเปน
เอกลกั ษณของสถานศึกษา
กลมุ ตวั บงช้มี าตรการสง เสริม
ตวั บงชท้ี ่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพอื่ สงเสรมิ บทบาทของ
สถานศกึ ษา
ตวั บงชี้ที่ 12 ผลการสงเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน
รักษามาตรฐาน และพฒั นาสคู วามเปน เลศิ ทีส่ อดคลองกบั แนวทางการ
ปฏริ ูปการศึกษา

ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ  รับรอง ไมรบั รอง

กรณีท่ีไมไดร ับการรบั รอง เนื่องจาก .......................................................................

ขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก

- จุดเดนจดุ ทีค่ วรพัฒนาและขอเสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาโดยหนว ยงานตนสังกัด

- จุดเดนจดุ ท่คี วรพฒั นาและขอเสนอแนะจากการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 25

เด็กควรไดร ับการพฒั นาใหรจู ักแกป ญ หา มจี นิ ตนาการ มีความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรค มีทกั ษะการส่ือสารท่ี
เหมาะสม รูจ ักสงั เกต สำรวจ มีทกั ษะในเรื่องมติ สิ ัมพนั ธและการกะประมาณ สามารถเช่ือมโยงความรแู ละทักษะตางๆ
เชน เกมตา งๆ ทีห่ ลากหลาย เพอ่ื ใหม ีความคิดรเิ ร่มิ สรางสรรคไ ดหลากหลาย

ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน :ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ระดบั คุณภาพ
ปรบั ปรงุ พอใช ดี ดีมาก

กลมุ ตวั บง ช้ีพื้นฐาน 

ตวั บงชท้ี ่ี 1 ผเู รยี นมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

ตวั บงชที้ 2่ี ผเู รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงค 

ตัวบงชท้ี ่ี 3 ผเู รยี นมีความใฝร ูและเรยี นรอู ยา งตอเน่ือง 

ตวั บงชท้ี ่ี 4 ผูเ รยี นคดิ เปน ทำเปน 

ตวั บงชท้ี ี่ 5 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผูเ รยี น 

ตัวบงชีท้ ่ี 6 ประสิทธผิ ลของการจัดการเรียนการสอนเนน ผเู รยี นเปน 

สำคญั

ตัวบงชท้ี ่ี ๗ ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนา 

สถานศกึ ษา

ตัวบงชี้ที่ ๘ พฒั นาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา 

และตนสังกดั

กลมุ ตวั บงชีอ้ ัตลกั ษณ 

ตวั บงชที้ ี่ ๙ ผลการพัฒนาใหบรรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสัยทศั น พันธ

กจิ และวตั ถุประสงค ของการจัดต้ังสถานศึกษา

ตวั บงชีท้ ี่ 1๐ ผลการพฒั นาตามจดุ เนนและจดุ เดน ทีส่ งผลสะทอนเปน 

เอกลกั ษณของสถานศึกษา

กลุมตัวบงช้มี าตรการสงเสริม 

ตัวบงชที้ ี่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสง เสรมิ บทบาทของ

สถานศกึ ษา

ตวั บงช้ที ี่ 12 ผลการสง เสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน 

รักษามาตรฐาน และพัฒนาสูความเปนเลิศทส่ี อดคลองกบั แนวทางการ

ปฏริ ูปการศกึ ษา

ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ  รับรอง ไมร ับรอง
กรณีที่ไมไดร ับการรบั รอง เน่ืองจาก .......................................................................

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา นแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 26

ขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก
จดุ เดน จดุ ท่ีควรพัฒนาและขอ เสนอแนะจากการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาโดยหนวยงานตน

สังกัด
ผูเ รียนมีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตท่ดี ี มีนำ้ หนักสว นสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ รวมทง้ั รูจ ักดูแลตัวเอง

ใหมคี วามปลอดภัย สถานศึกษามีผลการพฒั นาบรรลตุ ามปรชั ญา ปนธิ าณ/วสิ ยั ทศั น พันธกิจและวตั ถปุ ระสงคของการ
จดั ต้ังสถานศึกษา คือ “ระเบียบ วินัยด”ี เกิดอตั ลักษณ “โรงเรยี นดศี รแี มสอง” และสามารถดำเนินการโครงการพิเศษ
สามารถเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 27

สวนที่ 2

โครงสรางองคกร
โรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวทิ ยา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมสลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 28

สว นที่ 2
โครงสรา งองคก ร

2.1 การบริหารจดั การศกึ ษา
โรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวิทยา แบง โครงสรางการบรหิ ารงานเปน 4 กลุมบริหารงาน ไดแ ก
กลุม บริหารงานวชิ าการ
กลุม บรหิ ารงบประมาณ
กลมุ บรหิ ารงานบคุ คล
กลมุ บริหารงานทัว่ ไป
ผูบ รหิ ารยดึ หลักการบริหาร/เทคนคิ การบรหิ าร ไดแก
1) การตดั สินใจทยี่ ดึ โรงเรยี นเปน ฐาน (School-Based Decision) เปนแนวคดิ ท่มี งุ ใหโรงเรยี นมี

อสิ ระในการตดั สนิ ใจดว ยตนเอง โดยยึดประโยชนท่จี ะเกดิ กับผเู รียนเปนสำคญั
2) การมสี วนรว ม (Participation) กำหนดใหบคุ คลหลายฝายที่เกี่ยวของกบั การศึกษา หรือผมู สี ว น

ไดส วนเสียในการจดั การศึกษา เขา มามสี ว นรว มเปนคณะกรรมการรวมแสดง ความคิดเห็นหรอื รวมก ากบั ตดิ ตาม ดแู ล
3) การกระจายอำนาจ (Decentralization) เปนการกระจายอำนาจดานการ บรหิ ารจดั การดาน

วชิ าการ งบประมาณ การบรหิ ารบุคคลและการบรหิ ารท่ัวไป ใหคณะกรรมการเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาและคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาเปนผูรบั ผิดชอบ

4) ความรับผิดชอบทส่ี ามารถตรวจสอบได (Accountability) มกี ารกำหนดหนาท่ี ความรับผดิ ชอบ
และภารกจิ ของผรู ับผดิ ชอบ เพอื่ เปน หลักประกันคุณภาพการศกึ ษาใหเ กิดขึน้

5) ธรรมาภิบาล (Good Governance) เปน หลกั คิดสำหรับการบรหิ ารจดั การทดี่ ี เพ่ือประกนั วาใน
องคการจะไมม กี ารฉอราษฎรบงั หลวง ไมด อ ยประสิทธิภาพ ทงั้ นี้ ยึดหลักเปา หมาย สอดคลองตอ สงั คม กระบวนการ
โปรง ใสและทกุ ขั้นตอนมผี รู บั ผิดชอบ

6) ความเปน นิติบุคคล (A juristic person) เปนการใหส ทิ ธแิ ละอำนาจหนา ท่ที ่ีกำหนด ไวเ ปน ของ
ตนเอง ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
พระราชบญั ญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาและพระราชบัญญัติ การศึกษาภาคบังคบั ซ่งึ ได
กำหนดอำนาจหนา ทที่ ่เี ปน ของโรงเรียนไวโ ดยเฉพาะ

นอกจากนี้ กิจกรรมท่ีทำใหการบรหิ ารประสบความสำเร็จเรยี กวา หนาที่ของ ผบู ริหารสถานศึกษาหรอื
หนาท่ีการบริหารท่ีตองปฏบิ ัติ ทัง้ นี้ การจำแนกหนาทีก่ ารบริหารของ นกั วชิ าการสว นใหญมีแนวคิดสอดคลองกัน แตมี
การจดั กลุมกิจกรรมยอยแตกตา งกนั ไปตามความคิดเห็น ของแตล ะคนในทน่ี ้ี อาจสรุปและจำแนกหนา ทกี่ ารบริหาร
ครอบคลุมใน 4 ดาน ดังนี้ (DuBrin, 2000)

1) การวางแผน (Planning) หมายถึง การตัดสินใจลวงหนาวาจะดำเนนิ การอยางไร ใหบรรลแุ ละ
วัตถปุ ระสงคท่ีกำหนดไวอยางมปี ระสิทธภิ าพ เกดิ ประโยชนตอ องคก รมากทสี่ ุด

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 29
2) การจัดองคกร (Organizing) หมายถึง กระบวนการจดั การทรพั ยากรตา ง ๆ และ การจดั ระบบการ
ดำเนนิ งานเพื่อใหบรรลุเปา หมายขององคก ร 21
3) การนำ (Leading) หมายถึง การอำนวยการและการประสานงาน เพอื่ ให บุคลากรปฏิบตั ิงานบรรลุ
เปาหมายขององคก ร ซึ่งตองอาศัยภาวะผนู าของผบู ริหาร

4) การควบคุม (Controlling) หมายถงึ การกำกับใหก ารดำเนนิ งานและกิจกรรม ตา ง ๆ ทปี่ ฏบิ ตั ิให
เปนไปตามเปาหมายและแผนขององคกรท่ีไดกำหนดไว แผนภาพวงจรคุณภาพ P

แผนภาพ วงจรคุณภาพ PDCA

สายงานบงั คับบัญชา แผนภูมิบริหารงานของโรงเร

ผอู ำนวยการ

สายงานประสานงานและสนับสนนุ รองผอู ำนวยก

บริหารงานวชิ าการ บรหิ ารงบประมาณและสนิ ทรพั ย์

- งานพัฒนากระบวนการเรยี นรู - งานการเงิน
- งานบญั ชี
- งานหลักสูตรการสอน - งานระดมทรัพยากร และการ
- งานหอ งสมุด ,งานอาเซยี น ลงทนุ เพอื่ การศกึ ษา
- งานทุนการศึกษา /แนะแนว - งานพัสดุ
- งานวิจัยส่ือและนวตั กรรมฯ - ฝา ยนโยบายและแผน
-งานทะเบยี น วัดผล ประเมินผล ,งานรบั นร. - งานควบคมุ ภายใน
- งานพัฒนากระบวนการและแหลง เรยี นรู - งานระบบ GFMIS
-งานนเิ ทศการศึกษา ,งานสงเสริมการศกึ ษาฯ - งานสารบรรณฝา ยบริหาร
- งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา งบประมาณและสินทรพั ย
- สงเสริมสนับสนุน ประสานชุมชน
- งานกลุมสาระการเรียนร/ู งานการศึกษาปฐมวยั
- งานการศึกษาสำหรบั เด็กพิเศษ
- งานโครงการพระราชดำริ
- งานจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษา
- งานระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรยี น
- งานเครือคา ยผูป กครองนักเรียน
- งานกจิ การนกั เรียน และวนิ ยั นกั เรียน
- งานปอ งกนั ยาเสพตดิ
- งานสง เสรมิ ระบบประชาธปิ ไตย/สภานักเรียน
- งานกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวทิ ยา (2563-2565) 30

รียนบานแมส ลดิ หลวงวทิ ยา คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

รโรงเรียน

การโรงเรียน

บรหิ ารทวั ไป บริหารบคุ คล
- งานพฒั นาบุคลากร
- งานธุรการ - งานวนิ ยั และรกั ษาวนิ ยั
- งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ - งานสง เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
- งานประสานและพฒั นาเครอื ขา ยการศึกษา - งานสารบรรณฝา ยบรหิ ารงานบคุ คล
- งานประสานราชการกับเขตพ้ืนท่ฯี - งานลูกจางประจำและลูกจา งทว่ั ไป
- งานอนามยั โรงเรียน
- งานโภชนาการอาหาร
- งานรกั ษาความปลอดภยั
- งานจัดบานพัก
- งานบรกิ ารเครอื่ งอัดสำเนาเอกสาร/ส่งิ พมิ พ
- งานการบรหิ ารจดั การอาคารสถานทฯ่ี
- งานกจิ กรรม 5 ส
- งานปฏคิ ม
- งานธนาคารโรงเรยี น
- งานสหกรณโ รงเรยี น
- งานดแู ลหอพักนกั เรยี น
- งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา
- งานประชาสมั พนั ธทางการศึกษา
- งานยานพาหนะ
- งานสาธารณปู โภค
- งานพฒั นางานหอ้ งเรยี นสาขาต่างๆ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมสลิดหลวงวทิ ยา (2563-2565) 31

สวนที่ 3

นโยบายทม่ี ผี ลกระทบกับการบรหิ ารจดั การ
โรงเรียนบานแมสลดิ หลวงวทิ ยา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 32

สวนที่ 3
นโยบายท่ีมีผลกระทบกับการบรหิ ารจดั การ

3.1 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 -2564) ถอื เปน แผนแมบทหลักใน การพัฒนา

ประเทศที่ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนกฎหมายบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง วันที่ 30 กันยายน
2564 นั้น มีหลักการสำคัญคือ “ยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” มุง สรา งคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ีสำหรับคนไทย พัฒนา
คนใหมีความเปนคนที่สมบรู ณม ีวินัย ใฝร ูม ีความรู มีทักษะ มีความคิดสรางสรรค มที ัศนคติทีด่ ี รบั ผิดชอบตอสังคม มี
คุณธรรมและจริยธรรม ซง่ึ กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหนวยงานหลักใน ภาคการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพคน
ของประเทศไดตระหนักถึงความสำคัญดังกลาวดังนั้น ภายใต วิสัยทัศน“มุงพฒั นาผูเรียนใหมีความรูคูคุณธรรม มี
คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม” ของแผนพัฒนา การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
2564) ฉบับนีจ้ ึงไดม กี ารกำหนดยุทธศาสตร และวางเปาหมายทส่ี ามารถตอบสนองการพฒั นาทสี่ ำคญั ในดา นตา ง ๆ คือ

ยุทธศาสตรท ี่ 1 ยทุ ธศาสตรพ ัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและ ประเมินผล ท่มี ุงหวังใหค น
ไทยมีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีภูมคิ ุม กนั ตอการเปลีย่ นแปลงและการพัฒนาประเทศใน อนาคตซึ่งตอบสนองการพัฒนาใน
ดา นคุณภาพและดานการตอบโจทยบ รบิ ทที่เปลย่ี นแปลง

ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรผลิต พัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาที่มงุ หวัง ใหม ีการผลิตครไู ด
สอดคลองกับความตองการในการจดั การศึกษาทุกระดับทุกประเภทและมีสมรรถนะตาม มาตรฐานวิชาชพี สามารถใช
ศกั ยภาพในการสอนไดอ ยา งเตม็ ที่ ซงึ่ ตอบสนองการพฒั นาในดานคณุ ภาพ

ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรผ ลิตและพัฒนาก าลงั คน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคลองกับ ความตองการของการ
พฒั นาประเทศท่ีมงุ หวงั ใหก าลงั คนไดรับการผลติ และพฒั นาเพื่อเสริมสรางศักยภาพการ แขงขนั ของประเทศและมีองค
ความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม สนบั สนุนการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนซงึ่ ตอบสนองการพฒั นาในดานคุณภาพและดาน
การตอบโจทยบรบิ ททเ่ี ปลีย่ นแปลง

ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู อยางตอเนื่องตลอด
ชีวิต ที่มุงหวังใหการบริการการศึกษาแกผูเรียนทุกกลุมทุกวัยในระดับที่เหมาะสมกับสภาพ บริบทและสภาพพื้นที่ซึ่ง
ตอบสนองการพฒั นาในดา นการเขา ถงึ การใหบรกิ าร และดา นความเทา เทียม

ยุทธศาสตร 5 ยุทธศาสตรสงเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ที่มุงหวังใหคนไทยไดรับ
โอกาสในการเรียนรูอยางตอเนือ่ งตลอดชีวิตโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในดา นการเขา ถึงการ
ใหบ รกิ าร ดานความเทาเทียมและดานประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตร 6 ยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัด
การศึกษา ทีม่ ุงหวัง ใหม ีการใชทรัพยากร ทั้งดา นงบประมาณและบุคลากรไดอยางคุมคา ไมเกิดการสูญเปลา และมี
ความคลองตัวซง่ึ ตอบสนองการพัฒนาในดา นประสทิ ธิภาพ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 33

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 34

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 35

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 36

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา นแมสลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 37

3.2 นโยบาย สพฐ.
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปง บประมาณ 2562
บทนำ

รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ไดบ ญั ญัติไวใ นมาตรา 54 วา “รฐั ตอ งดำเนนิ การให เดก็ ทกุ คน
ไดรบั การศกึ ษาเปน เวลาสบิ สองป ต้ังแตก อนวยั เรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยา งมคี ุณภาพโดย ไมเก็บคา ใชจาย”
และคำส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหง ชาติ ที่ 28/2559 เรือ่ ง ใหจัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 15 ป โดยไมเ กบ็ คาใชจ า ย
ไดม ีคำสัง่ ไวใ นขอ 3 วา “ใหสวนราชการทเ่ี กยี่ วของกับการจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
15 ป ใหมมี าตรฐานและคุณภาพ โดยไมเก็บคา ใชจ าย” สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานไดตระหนักถงึ
ภารกิจทีส่ ำคัญในการพฒั นาประชากรของชาตใิ ห เปน “คนไทยในอนาคตจะตองมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญ ญา
มีพฒั นาการท่ดี รี อบดานและมีสขุ ภาวะทดี่ ี ในทุกชว งวยั มจี ิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอ สงั คมและผูอื่น มธั ยัสถ อดออม
โอบออ มอารี มวี ินยั รักษาศลี ธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลกั คิดที่ถูกตอง มีทักษะทีจ่ ำเปน ในศตวรรษที่ 21
มีทักษะสือ่ สารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 และอนุรักษภาษาทอ งถิน่ มีนสิ ยั รักการเรียนรแู ละการพัฒนาตนเองอยาง
ตอ เน่อื งตลอดชวี ิต สู การเปน คนไทย ที่มที กั ษะสงู เปน นวัตกร นกั คิด ผูป ระกอบ การเกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดย
มีสัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง” นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562
โดยไดท ำการศึกษา วเิ คราะห นโยบายการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยของรัฐบาลจาก ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580)
ซง่ึ จะตองนำไปสกู ารปฏิบตั เิ พื่อใหป ระเทศไทยบรรลวุ ิสยั ทัศน “ประเทศไทย มีความมัน่ คง มั่งคั่ง ยง่ั ยืน เปนประเทศ
พฒั นาแลว ดวยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง” แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี
12 (พ.ศ. 2560-2565) ไดกำหนด ทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ในระยะ 5 ป ดานการศึกษาไว
ดังนี้ 1) ใหมีการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรูใหม ีคณุ ภาพ เทาเทียมและทั่วถึง 2) การพัฒนาศักยภาพคน
ในทกุ ชวงวยั ให สนบั สนนุ การเจริญเติบโตของประเทศ และ 3) การพฒั นาผลิตภาพแรงงาน เปนการสรา งความรวมมือ
ระหวาง ภาครัฐและภาคเอกชนในการพฒั นากำลังคนและแรงงาน แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ซ่งึ
แนวคิดการจดั การศึกษา โดยยึดหลกั สำคญั ในการจดั การศึกษา ประกอบดวย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
(Education for All) หลกั การจดั การศึกษาเพ่อื ความเทา เทียมและทว่ั ถงึ (Inclusive Education) หลัก ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) และหลกั การมีสว นรวมของทุกภาคสว นของ สังคม (All for Education)
อกี ทงั้ ยดึ ตามเปาหมายโลกเพอ่ื การพฒั นาท่ยี งั่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs, 2030) ประเด็น
ภายในประเทศ (Local Issues) เชน คุณภาพของคนทุกชว งวยั การเปล่ยี นแปลง โครงสรางประชากรของประเทศ
ความเหลอ่ื มล้ำของการกระจายรายไดแ ละวิกฤตดิ านส่ิงแวดลอม โดยนำ ยทุ ธศาสตรช าติ (National Strategy)
มาเปนกรอบความคดิ สำคญั ในการจัดทำแผนการศกึ ษาแหงชาติ และการปฏิรปู การศึกษาตามแนวทางของ
คณะกรรมการอสิ ระเพื่อปฏิรูปการศกึ ษา

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน จงึ ไดกำหนดนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน

พื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพ่ือเปน การเตรียมความพรอ มที่จะเขาสยู ุคของการ เปล่ยี นแปลงการจดั การศกึ ษา

ของประเทศครัง้ สำคัญที่จะพัฒนาประชากรในวัยเรียนทุกคนและทุกกลมุ เปาหมาย ซง่ึ หมายรวมถึง กลุม ผูเรยี นท่มี ี

ความตองการจ าเปน พิเศษ กลมุ ชาตพิ ันธุ กลมุ ผดู อยโอกาส และ กลมุ ท่ีอยใู นพนื้ ท่ีหา งไกลทรุ กนั ดาร ใหม ีความพรอ ม

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 38

ท้ังกาย ใจ สตปิ ญญา มีสุขภาวะทดี่ ใี นทุกชว งวัย มจี ติ สาธารณะ รับผิดชอบตอ สงั คมและผอู ่ืน มธั ยัสถ อดออม โอบ
ออ มอารี มวี นิ ัย รกั ษาศลี ธรรม และเปนพลเมอื ง ดีของชาติ และพลเมืองโลกที่ดมี หี ลักคิดที่ถูกตอง มีทกั ษะทจ่ี ำเปนใน
ศตวรรษที่ 21 มที ักษะสอื่ สาร ภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษภ าษาทอ งถิน่ มีนิสัยรักการเรยี นรแู ละการ
พฒั นาตนเองอยา งตอ เนื่อง ตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยและพลโลกท่ีมีทักษะการคิดข้นั สูง เปนนวัตกรรม นักคดิ
ผูประกอบการ เกษตรกร ยุคใหม โดยมสี ัมมาชพี ตามความถนดั ของตนเอง โดยไดกำหนดนโยบาย วิสัยทศั น พันธกิจ
กลยุทธ เปา ประสงค และแนวทางในการด าเนินการ ดงั นี้

ก. วิสัยทัศน
สรางคณุ ภาพทุนมนษุ ย สูส งั คมอนาคตท่ยี ั่งยนื

ข. พันธกิจ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความม่นั คงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ
2. พฒั นาศักยภาพผูเรยี นเพื่อเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั โดยพฒั นาคณุ ภาพผูเรียนใหม ี ความรู ทักษะ

วิชาการ ทกั ษะชีวิต ทักษะวิชาชพี คุณลกั ษณะในศตวรรษท่ี 21
3. สงเสรมิ การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหเ ปน มอื อาชพี
4. สรางโอกาส ความเสมอภาคลดความเหล่ือมล้ำ ใหผูเรยี นทุกคนไดร บั บริการทางการศึกษาอยาง ทว่ั ถงึ และ

เทา เทียม 5. สง เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตที่เปน มิตรกบั สิง่ แวดลอ ม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ
พอเพียง และเปา หมายโลกเพื่อการพัฒนาท่ียง่ั ยืน (SDGs)

6. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการแบบบูรณาการ และสงเสริมใหทกุ ภาคสวนมสี ว นรว มในการจัด การศกึ ษา

ค. เปา หมาย
1. ผเู รียน เปนบุคคลแหงการเรยี นรู คิดริเรมิ่ และสรางสรรคน วัตกรรม มีความรู มีทกั ษะและคุณลักษณะของ

ผูเรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะทเ่ี หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพ่ึงพา ตนเอง และปรับตัวตอ เปนพลเมือง
และพลโลกที่ดี

2. ผูเรียนทมี่ ีความตองการจำเปนพเิ ศษ กลุมชาติพันธุ กลุมผดู อยโอกาส และกลมุ ทอ่ี ยูใ นพื้นที่ หางไกล
ทรุ กนั ดารไดร บั การศึกษาอยางทั่วถึง เทาเทียม และมีคุณภาพ พรอมกาวสูสากลตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3. ครู เปน ผเู รียนรู มจี ิตวญิ ญาณความเปนครู มคี วามแมนยำทางวชิ าการ และมีทักษะการจัดการ เรยี นรทู ่ี
หลากหลายตอบสนองผเู รยี นเปน รายบุคคล เปน ผูสรา งสรรคนวัตกรรม และทักษะในการใช เทคโนโลยี

4. ผูบ ริหารสถานศึกษา มีความเปนเลิศสว นบคุ คล คิดเชงิ กลยทุ ธแ ละนวัตกรรม มีภาวะผนู ำทาง วิชาการ มี
สำนึกความรบั ผิดชอบ (Accountability) และการบริหารแบบรว มมือ

5. สถานศึกษา มคี วามเปน อสิ ระในการบริหารงานและจดั การเรียนรู รวมมือกับชุมชน ภาคเอกชน และ
ผูเกี่ยวของในการจัดการศกึ ษาระดับพนื้ ที่ จดั สภาพแวดลอมในโรงเรยี นเพื่อการเรยี นรใู นทุกมิติ เปน โรงเรยี นนวตั กรรม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 39

6. สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา มีการบริหารงานเชงิ บรู ณาการ เปน สำนกั งานแหงนวตั กรรมยคุ ใหม ใชขอมูล
สารสนเทศและการวจิ ัยและพัฒนาในการขับเคลือ่ นคุณภาพ กำกบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลอยางเปน ระบบ

7. สำนกั งานสวนกลาง ปรบั เปล่ียนวฒั นธรรมการทำงาน โดย กระจายอำนาจการบรหิ ารงานและการจัด
การศึกษาใหส ถานศกึ ษา บริหารเชงิ บูรณาการ มรี ะบบขอมูลสารสนเทศท่มี ปี ระสิทธิภาพ กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล
และการรายงานผลอยางเปน ระบบ ใชว จิ ัยและนวัตกรรมในการขับเคล่อื น คณุ ภาพ
ง. นโยบาย สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

นโยบายที่ 1 จดั การศึกษาเพ่ือความม่ันคง
นโยบายท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผูเรียน
นโยบายท่ี 3 พฒั นาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
นโยบายที่ 4 สรา งโอกาสในการเขาถงึ บริการการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลื่อมล้ำ
ทางการศึกษา
นโยบายท่ี 5 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ
3.3 นโยบายและกลยุทธของสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
วสิ ยั ทศั น (Vision)
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2 สรางเดก็ ดแี ละเกงสูส งั คม นอมนำพระบรมราโชบาย
ดา นการศกึ ษาสูการปฏิบตั ิ รองรับการพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษตาก
พันธกจิ (Mission)
1. จัดการศึกษาเพอื่ เสรมิ สรางความมั่นคงของสถาบนั หลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข
2. พฒั นาผูเรียนใหมคี วามสามารถความเปนเลศิ ทางวชิ าการเพ่ือสรา งขดี ความสามารถในการแขงขัน
3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผูเรยี นใหม ีสมรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21
4. สรางโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้ำ ใหผ ูเ รียนทกุ คนไดร ับบริการทางการศกึ ษา
อยางทัว่ ถึงและเทาเทียม
5. พฒั นาผูบ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหเปน มืออาชีพตามมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชพี
6. จดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปนมติ รกับสิ่งแวดลอ ม ยดื หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ
เปา หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals:SDGs)
7. ปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาทุกระดบั และจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยี
ดิจิทลั (Digital Technology) เพอื่ พฒั นามุงสู Thailand 4.0

คา นยิ ม(Value)
องคกรทมี่ ชี ีวติ พรอมจติ อาสา

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 40

เปา ประสงค(Goal)
1. ผูเรยี นมคี วามรกั ในสถาบนั หลักของชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย

ทรงเปน ประมขุ มีทัศนคติท่ถี ูกตอ งตอบานเมือง มหี ลกั คดิ ท่ถี กู ตอง และเปนพลเมืองทดี่ ีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม
มคี า นยิ มท่พี งึ ประสงค มจี ิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสงั คมและผอู ื่น

2. ผเู รียนทมี่ คี วามสามารถพิเศษดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และอื่นๆ ไดร ับการ
พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ

3. ผเู รียน มคี ุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคแ ละเปน บุคคลแหง การเรยี นรู คดิ รเิ ร่ิมและสรา งสรรคนวตั กรรม มคี วามรู
มีทักษะ มสี มรรถนะตามหลักสูตร และคณุ ลักษณะของผเู รียนในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะทีเ่ หมาะสมตามวยั มี
ความสามารถในการพึง่ พาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปน พลเมอื ง พลโลกทดี่ ี (Global
Citizen) พรอมกาวสูสากล นำไปสูการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ

4. ผเู รยี นทม่ี คี วามตอ งการจำเปนพิเศษ (ผูพกิ าร) กลุมชาติพนั ธุ กลมุ ผูดอยโอกาสและกลุมทีอ่ ยใู นพ้ืนท่ี
หา งไกลกนั ดาร ไดรบั การศึกษาอยางทวั่ ถึง เทาเทียม และมคี ุณภาพ

5. ผบู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปน บุคคลแหงการเรียนรู มคี วามรแู ละจรรยาบรรณตามมาตรฐาน
วิชาชพี

6. สถานศึกษาจดั การศึกษาเพือ่ การบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยัง่ ยนื (Sustainable Development
Goals:SDGs)

7. สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา มีระบบประกันคุณภาพไดมาตรฐาน บริหารจัดการตามมาตรฐานสำนกั งาน
ยทุ ธศาสตร(Strategic)

ยุทธศาสตรท ่ี 1 ดานการจัดการศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คงของมนุษยแ ละของชาติ
ยุทธศาสตรท ี่ 2 ดา นการจัดการศึกษาเพื่อเพมิ่ ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ
ยุทธศาสตรที่ 3 ดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
ยุทธศาสตรท ่ี 4 ดา นการสรา งโอกาสในการเขา ถึงบริการการศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพมมี าตรฐานและลดความเหลื่อม
ล้ำทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 ดานการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน มติ รกับส่ิงแวดลอ ม
ยุทธศาสตรท ่ี 6 ดานการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา
จดุ เนน การดำเนนิ งาน
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2 กำหนดจุดเนนการดำเนินการในปงบประมาณ พ.ศ.
2563 โดยแบง เปน 3 สวนดังนี้
สวนที่ 1 จุดเนน ดานผเู รียน
1.1 นกั เรียนมีสมรรถนะสำคัญ และความสามารถทางวชิ าการ เพ่ือพรอ มเขาสปู ระชาคมอาเซยี น (Students’
Competencies) ดังตอไปน้ี

1.1.1 นกั เรียนปฐมวยั มพี ฒั นาการดานรา งกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ท่สี มดลุ
เหมาะสมกับวยั และเรียนรูอ ยางมีความสขุ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบา นแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 41

1.1.2 นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท ่ี 6 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นจากการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET)กลุมสาระหลกั เพ่ิมข้นึ เฉล่ียไมนอ ยกวา รอ ยละ 3

1.1.3 นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 3 มคี วามสามารถดา นภาษา ดา นคำนวณ และดานการใช เหตผุ ล
1.1.4 นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3 สามารถแสวงหาความรูดวยตนเอง
1.1.5 นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 6 มีสมรรถนะในการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพ
1.1.6 นักเรียนมีทักษะชวี ิต ทักษะการคดิ วเิ คราะห คิดสรางสรรค และทกั ษะการส่ือสารอยาง
สรางสรรคอยางนอย 2 ภาษา ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเปน เคร่อื งมือในการเรยี นรู เหมาะสมตามชว งวัย
1.2 นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม รกั ความเปนไทย มีคุณลักษณะและทกั ษะทางสังคมท่ีเหมาะสม
(Students’ Characteristics & Social Skills) ดังตอไปน้ี
1.2.1 นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา ใฝเรยี นรู ใฝด ี และอยรู วมกับผอู ่ืนได
1.2.2 นกั เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตน มที กั ษะการแกป ญหา และอยูอยา งพอเพียง
1.2.3 นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มีความมุงมัน่ ในการศกึ ษาและการทำงานและสามารถ
ปรบั ตวั เขากับพหุวฒั นธรรม บนพืน้ ฐานวฒั นธรรมท่ีดีงามของไทย
1.3 นกั เรียนทมี่ ีความตอ งการพเิ ศษไดร บั การสงเสริม และพัฒนาเต็มศักยภาพ(Students with Special
Needs)
1.3.1 เดก็ พิการไดรับการพฒั นาศักยภาพเปนรายบคุ คลดวยรปู แบบทีห่ ลากหลาย
1.3.2 เดก็ ดอ ยโอกาสไดรับโอกาสทางการศกึ ษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู ของหลกั สตู ร
และอตั ลักษณแหงตน
1.3.3 นักเรียนทมี่ ีความสามารถพิเศษ ไดร ับการสง เสริมใหมีเปน เลิศดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร คณติ ศาสตร ภาษา กีฬา ดนตรีและศลิ ปะ
1.3.4 นักเรยี นท่ีเรยี นภายใตการจัดการศกึ ษาโดยครอบครวั สถานประกอบการ องคก รเอกชน และ
สถานศกึ ษาทางเลอื ก ไดรบั การพฒั นาอยา งมคี ณุ ภาพ
1.3.5 เด็กกลุมทต่ี องการการคุมครองและชว ยเหลอื เปนกรณีพเิ ศษ ไดร ับการคุมครองและชวยเหลือ
เยียวยา ดวยรปู แบบท่หี ลากหลาย

สว นท่ี 2 จดุ เนน ดานครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
2.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน และพฒั นาตนเองอยา

ตอเนือ่ ง (Continuous Professional Development)
2.1.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพฒั นาตนเองอยา ง

ตอเนือ่ ง เพื่อยกระดบั คุณภาพผเู รยี นและพรอมเขาสปู ระชาคมอาเซยี น และประชาคมโลก
2.1.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีความรู ความสามารถตามมาตรฐานทกี่ ำหนด และสามารถ

จัดการเรียนการสอน ทีส่ ง ผลใหนกั เรียนพฒั นาอยางเต็มศกั ยภาพ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนบานแมส ลดิ หลวงวิทยา (2563-2565) 42

2.1.3 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สามารถใชภาษาอังกฤษ และภาษาของประเทศสมาชกิ อาเซียน
ในการสอ่ื สาร อยา งนอ ย 1 ภาษา

2.1.4 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีทกั ษะดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ เปน เครือ่ งมือในการจัดการ
เรยี นรู

2.2 การพฒั นาระบบแรงจูงใจ เพือ่ สงเสริมใหครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มขี วัญและกำลังใจ และแสดง
ศักยภาพในการจัดการเรยี นการสอนอยางมคี ุณภาพ (Incentives and Rewarding System)

2.2.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีขวัญกำลงั ใจในการพัฒนาตนเองตามมาตรฐานคุณวุฒิ
2.2.2 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มีขวัญกำลังใจ ไดร บั การจงู ใจในการพัฒนาผเู รยี นเตม็ ศักยภาพ
2.2.3ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มผี ลงานการสอนท่ีแสดงศักยภาพการสอนอยางมืออาชพี เปนเชิง
ประจักษ และไดรับการเชิดชูเกยี รตอิ ยา งเหมาะสม
2.3 การสง เสรมิ ใหค รแู ละบุคลากรทางการศึกษามีวนิ ยั มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณตามมาตรฐาน
วิชาชพี เปนแบบอยางทด่ี ีแกส ังคม (Professional Ethics)
2.3.1 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มวี นิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณตามมาตรฐาน
วชิ าชพี
2.3.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มจี ิตวิญญาณ และอดุ มการณ ท่ีมุงพัฒนาการศกึ ษาของชาติ
และเปน แบบอยา งทด่ี แี กส ังคม
2.3.3 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา มีทักษะในการเขาถึงและดแู ลชว ยเหลือนกั เรียน

สวนที่ 3 จุดเนน ดานการบริหารจัดการ
3.1 โรงเรยี นและสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา บริหารจัดการโดยเนน การมีสวนรวม และมีความรับผิดชอบตอ

ผลการดำเนินงาน (Participation and Accountability)
3.1.1 โรงเรียนทีไ่ มผานการรับรองคุณภาพภายนอก และท่ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนตำ่

กวาคา เฉล่ยี ของประเทศ ไดร บั การแกไขแทรกแซง ชวยเหลอื นิเทศ ติดตาม เพอ่ื ยกระดับคุณภาพ การจัดการเรยี น
การสอน โดยสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาทำหนาท่สี ง เสรมิ สนับสนุนและเปนผปู ระสานงานหลัก เพ่ือใหโ รงเรียนทำ
แผนพัฒนาเปนรายโรงรว มกับผูปกครองชมุ ชน และองคก รอื่น ๆ ท่เี กย่ี วของ

3.1.2 โรงเรยี นบรหิ ารจดั การโดยมงุ การมสี ว นรวม ความรบั ผิดชอบตอผลการดำเนนิ งาน เพ่ือ
ประโยชนสูงสุดของนักเรยี น สรา งความเชอ่ื ม่ันแกผูใ ชบรกิ ารและสังคม

3.1.3 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา บรหิ ารจัดการ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลอยา งเขม แขง็ โดยมงุ
การมีสว นรว ม และความรับผิดชอบตอ ผลการดำเนนิ งาน เพ่ือประโยชนส งู สุดของนักเรยี น สรา งความเช่ือมน่ั แก
ผูใ ชบ รกิ ารและสังคม

3.1.4 องคค ณะบคุ คลที่เกี่ยวขอ งกับการจดั การศึกษา ดำเนินการ และติดตามประเมิน
การดำเนินการของหนว ยงานท่ีเกี่ยวของอยางเขมแข็ง เพอื่ ประโยชนส งู สดุ คือคุณภาพการจดั การเรียนรู เพอ่ื นกั เรยี นได
พัฒนาตนเองอยา งเตม็ ศักยภาพ

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นบา นแมส ลิดหลวงวิทยา (2563-2565) 43

3.2 โรงเรียนและสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา จดั การศกึ ษาอยา งมีคุณภาพ ตามระดับมาตรฐาน
(Management with Quality and Standards)

3.2.1 โรงเรยี น จดั การศึกษาอยางมีคุณภาพตามระดับมาตรฐานท่ีสูงขน้ึ เทยี บเคยี งกับประเทศผูนำ
ดา นคุณภาพการศึกษาในภูมภิ าคอาเซียน

3.2.2 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา สง เสรมิ สนับสนนุ ใหมีจัดการศกึ ษาที่มีคุณภาพตามระดบั
มาตรฐานท่สี งู ขึ้น เทียบเคียงกบั ประเทศผนู ำดานคุณภาพการศกึ ษาในภมู ภิ าคอาเซยี น

โดยมีกลุมงานในสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 ท้งั 7 กลมุ ขบั เคลอ่ื นตาม
ขอเสนอแนะองคค ณะบคุ คลท้ัง 5 คณะไดแก

1. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
2. คณะอนุกรรมการขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
3. คณะกรรมการติดตาม ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
4. คณะกรรมการลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
5. คณะกรรมการคุรสุ ภาสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
พรอมโรงเรยี นในสังกดั ท้ังของรฐั บาลจำนวน จำนวน116โรงเรียน 7 โรงเรียนสาขา
หอ งเรยี นสาขาจำนวน 59 หองเรยี นสาขาสงั กัดโรงเรยี นเอกชน 13 โรงเรยี น และศูนยก ารจดั การศึกษาเดก็ ตางดา ว
จำนวน 66 ศนู ยก ับศูนยสาขา 4 ศูนยสาขา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนชว ยขับเคล่ือนนโยบายกระทรวง
ศึกษาธิการสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานและสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2


Click to View FlipBook Version