51
เปน็ ศนู ยก์ ลาง (Teacher Centered) เปน็ เนน้ นกั เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง (student centered) ให้นักเรียน
ไดม้ โี อกาสคดิ วางแผน ลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผน ประเมนิ และปรบั ปรงุ ตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื งการจดั กจิ กรรม
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่เห็นได้ชัดๆ เช่น การเรียนภาษาแบบองค์รวม (Whole
Language Learning) ซง่ึ ดเู หมอื นวา่ คงไมม่ เี ครอ่ื งมอื ชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ ทม่ี ศี กั ยภาพเพยี งพอทจ่ี ะวดั ความ
รู้ ความสามารถ และทักษะของนักเรียนได้ครบถ้วน ดังน้ัน จึงมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งต้องใช้เคร่ืองมือ
วัดผลท่หี ลากหลาย วิธีการทเ่ี หมาะสมทีส่ ุดในการเก็บขอ้ มลู
2.1.2 ความหมาย e - Portfolio
วิรัตน์ หาดคำ� (ม.ป.ป.) กล่าวว่า e - Portfolio หมายถึง ระบบที่ช่วยใน
การสรา้ งและเผยแพรแ่ ฟม้ สะสมงาน (Portfolio) ในระบบ Online ผ่านทาง Internet สำ�หรบั บคุ คล
และองค์กรต่าง ๆ ที่ต้องการสะสมผลงาน เป็นการนำ�เสนอเอกลักษณ์ ปรัชญา เป้าหมาย ทักษะ
ความสามารถ ผลงานของเจ้าของผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลและเนื้อหาสาระมาจากแฟ้มผลงาน
(hard copy portfolio) เพ่อื เก็บไว้เปน็ ข้อมลู สำ�หรับการน�ำ เสนอตรวจสอบการเรียนร้หู รือการทำ�งาน
ว่าประสบความส�ำ เรจ็ ในระดับใด โดยใช้เทคนคิ การนำ�เสนอแบบ web
จนั ทมิ า ปทั มธรรมกลุ . (ม.ป.ป.). กลา่ ววา่ e-Portfolios หรอื แฟม้ สะสมผลงานออนไลน์
คือ แหล่งรวบรวมผลงานในรูปแบบดิจิตอล ทั้งวิธีการ (method) และเครื่องมือ (tool) ในกิจกรรม
การเรียนรู้และการประเมินหลักฐานการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนรวบรวมไว้ตลอดเส้นทางของประสบการณ์
การเรยี นรู้ ใชไ้ ด้ท้ังในระดับรายวิชาและระดับหลักสูตร
ดงั นัน้ การนำ�สื่อนวตั กรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นรมู้ าบูรณาการในการจัดการ
เรยี นรแู้ บบ Active Learning จึงเป็นการส่งเสรมิ ใหก้ ระบวนการจดั การเรียนรูท้ มี่ ีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน
สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ การจดั การเรยี นรเู้ ปน็ ส�ำ คญั ทม่ี งุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ผลู้ งมอื ปฏบิ ตั จิ ดั กระท�ำ เปน็ การ
เปลี่ยนบทบาทในการเรยี นรขู้ องผู้เรียนจากการเปน็ “ผรู้ ับ” มาเป็น “ผ้เู รียน” และเปลยี่ นบทบาทของ
ครจู าก “ผ้สู อน” หรือ “ผู้ถ่ายทอดข้อมลู ความรู้” มาเปน็ “ผจู้ ัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้” ใหผ้ เู้ รยี น
ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงบทบาทนี้ เท่ากับเป็นการเปล่ียนจุดเน้นของการเรียนรู้ว่าอยู่ที่ผู้เรียนมากกว่าอยู่ที่
ผู้สอน ผู้เรียนจึงเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน เพราะบทบาทในการเรียนรู้ส่วนใหญ่จะอยู่ท่ีตัว
ผู้เรยี นเป็นสำ�คญั
2.2 การประยกุ ต์ใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Portfolio)
2.2.1 ประเภทของแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Portfolio)
รงุ่ ทวิ า กติ ตยิ งั กลุ (ม.ป.ป.) จ�ำ แนกประเภทของ e-Portfolio ดังนี้
1) แฟ้มสะสมงานส่วนบุคคล (Personal Portfolio) เป็นแฟ้มที่แสดงข้อมูล
เกยี่ วกบั บคุ คลนน้ั ๆ เช่น พรสวรรค์กีฬา งานอดเิ รก การท่องเท่ียว และการร่วมกจิ กรรมชุมชน
52
2) แฟ้มสะสมงานเชิงวิชาชีพ (Professional Portfolio) เป็นแฟ้มที่แสดง
ผลงานเกย่ี วกบั อาชพี เชน่ แฟม้ สะสมงานเพอื่ ใชใ้ นการสมคั รงาน แฟม้ สะสมงานเพอ่ื เสนอขอเลอื่ นระดบั
3) แฟ้มสะสมงานเชิงวิชาการ (Academic Portfolio) หรือแฟ้มสำ�หรับนักเรียน
(Student Portfolio) เปน็ แฟม้ ทแี่ สดงผลเกยี่ วกบั การเรยี นการสอน เชน่ แฟม้ สะสมงานเพอื่ ใชป้ ระเมนิ
ผลการผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ แฟม้ สะสมงานเพอื่ ใชป้ ระกอบการประเมินผลปลายภาค/ปลายปี
4) แฟม้ สะสมงานส�ำ หรบั โครงการ (Project Portfolio) มลี กั ษณะคลา้ ยภาพยนตร์
สารคดโี ดยเปน็ แฟม้ ทแี่ สดงถงึ ความพยายามหรอื ขนั้ ตอนการทำ�งานในโครงการหนงึ่ ๆ หรอื ในการศกึ ษา
สว่ นบุคคล (Independent Study) เชน่ แฟ้มโครงงานวิทยาศาสตร์ ในแฟม้ ประกอบดว้ ยภาพของวัสดุ
อุปกรณ์ที่ใชแ้ ละแสดงข้ันตอนต่าง ๆ ในการดําเนนิ งานจนไดผ้ ลผลติ ทีต่ ้องการ
5) แฟม้ สะสมงานนกั เรยี น เปน็ แฟม้ สะสมงานของนกั เรยี นแตล่ ะคนทแ่ี สดงถงึ ความ
สามารถ จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย ความส�ำ เรจ็ ตลอดถึงพฒั นาการในการเรียนรู้ของนกั เรียน
2.2.2 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(e - Portfolio)
กระบวนการเรียนรผู้ ่าน e - Portfolio ผูเ้ รยี นจะมีบทบาทในการพัฒนา บนั ทึก แลก
เปล่ยี น และสะท้อนคิด จงึ ท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นรสู้ กึ ถงึ ความเปน็ เจา้ ของ (ownership) Portfolio มากกว่าการ
เป็นผู้ใช้ (user) LMS ซ่ึงผู้สอนควบคุมและตัดสินใจการใช้เครื่องมือดังกล่าวเพื่อให้ผู้เรียนแสดง
หลกั ฐานการเรียนรตู้ ามท่กี ำ�หนด โดยการใช้ e - Portfolio เพอื่ ส่งเสรมิ การเรียนรู้ ครูผสู้ อนสามารถจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ให้มีลักษณะ ดงั น้ี (จนั ทิมา ปทั มธรรมกุล, ม.ป.ป.)
1) Authentic task ใชพ้ อรต์ โฟลโิ อเปน็ เครอื่ งมอื รว่ มกบั การท�ำ โปรเจค็ หรอื การแก้
ปัญหาที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์จริง และเป็นโจทย์แบบปลายเปิด (open-ended) ท่ีให้ผู้เรียนมี
ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง ไม่จำ�กัดท่ีการเรียนรู้ในห้องเรียน ได้สร้างสรรค์วิธีการทำ�งานเพื่อแก้
ปญั หา และรวบรวมออกมาเป็นพอร์ตโฟลิโอท่จี ะแสดงความสามารถของผู้เรียน โดยใช้เทคโนโลยีและ
มัลติมเี ดียเพ่อื เชือ่ มโยงหลกั ฐานการเรียนรตู้ า่ ง ๆ เช่น วดิ โี อ พอดคาสต์ กราฟฟิก ภาพ / ฉากจ�ำ ลอง
สถานการณ์ ภาพน่ิง (slideshow) แทนการใช้วิธีการประเมินมาตรฐานอื่น ๆ เช่น ข้อสอบ ซึ่งอาจ
ไมเ่ หมาะสมกบั บางผลการเรยี นรใู้ นการเรยี นการสอนตามสภาพจรงิ ทคี่ วรใชก้ ารประเมนิ ทเี่ นน้ สมรรถนะ
2) Individual / Multiple - owner e - Portfolios ให้ผู้เรียนสร้างพอร์ต
โฟลโิ อของตน หรือร่วมกนั สรา้ งพอร์ตโฟลิโอด้วยการท�ำ งานเป็นกลมุ่ เพ่อื รวบรวมหลกั ฐานการเรยี นรู้
ตา่ ง ๆ ระหวา่ งการทำ�โปรเจค็ หรอื กิจกรรมกลมุ่ อื่น ๆ พอรต์ โฟลโิ อจะเปน็ พ้นื ทท่ี ส่ี มาชิกกล่มุ รว่ มกัน
สร้างผลงาน ขณะเดียวกันก็เป็นพ้ืนที่ที่พวกเขาสามารถแลกเปลี่ยน และแสดงความคิดเห็นต่องาน
ของเพ่อื นได้ (เชน่ ให้ฟดี แบค็ ต่อเนอื้ หาสว่ นท่ีเปน็ การสะทอ้ นการเรียนรู้ของสมาชิกกล่มุ แตล่ ะคน)
53
3) Learner Autonomy ให้ผู้เรียนตัดสินใจเลือกโดยที่ผู้สอนช่วยให้ฟีดแบ็ค
หรือตกลงร่วมกับผู้สอนว่าจะค้นหา จัดการ และสร้างสรรค์เน้ือหา (content) และนำ�เสนอพอร์ต
โฟลิโออย่างไรเพื่อแสดงให้เห็นถึงสมรรถนะตามโจทย์ท่ีได้รับมอบหมาย เช่น ผู้เรียนที่ไม่ม่ันใจ
ในการเขยี นแตม่ น่ั ใจในการพดู มากกวา่ อาจเลอื กท�ำ เนอ้ื หาสว่ นทเ่ี ปน็ reflection หรอื self-assessment
โดยทำ�เป็นวิดีโอหรือพอดคาสต์แทนการเขียน / พิมพ์ เม่ือผู้เรียนรู้สึกว่าสามารถ personalize
พอร์ตโฟลิโอของตนได้ พวกเขาจะกระตือรือร้น และใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการทำ�งานมากย่ิงขึ้น
(Chau & Cheng, 2010 อ้างอิงจาก จันทิมา ปัทมธรรมกลุ , ม.ป.ป.)
4) Scaffolding approach แม้จะเน้นการให้อิสระแก่ผู้เรียน แต่ผู้สอนไม่ได้
ปล่อยให้เรียนรู้ด้วยตนเองในทุกเร่ือง อาจมีบางส่ิงท่ีผู้เรียนทำ�ได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องการความ
ช่วยเหลือ และบางส่ิงที่ผู้เรียนไม่สามารถทำ�ได้ (ในขณะนั้น) แต่ระหว่างพื้นที่ของสองส่วนนี้มีความ
เป็นไปได้ในการพัฒนาการเรียนรู้ หากว่าผู้เรียนได้รับการชี้แนะและกระตุ้นอย่างเหมาะสมจากผู้ท่ีมี
ความรู้และทักษะมากกว่า (a more knowledgeable person) บทบาทของผู้สอนเปรียบเสมือน
“นั่งร้าน” (Scaffold) ซ่ึงช่วยเสริมต่อการเรียนรู้ในการทำ�พอร์ตโฟลิโอ เช่น ร่วมวางแผนกับผู้เรียน
เพอ่ื ออกแบบโครงสรา้ งเนอื้ หา ใหฟ้ ดี แบค็ ในการเลอื กและรวบรวมหลกั ฐานการเรยี นรู้ อภปิ รายรว่ มกบั
ผู้เรียนเกี่ยวกับเน้ือหาที่ผู้เรียนสะท้อนความคิดมา ต้ังคำ�ถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิด สาธิตการทำ�
กิจกรรมสะท้อนความคิด หรือแสดงตัวอย่าง reflective practice guide เป็นต้น (ดูเพิ่มเติมเร่ือง
scaffolding ได้จากแนวคิด Zone of Proximal Development ของ Lev Semenovich Vygotsky,
1978 อ้างอิงจาก จันทิมา ปทั มธรรมกุล, ม.ป.ป.)
5) Make “invisible learning” visible การเรียนรู้โดยใช้ e - Portfolios
ให้ความสำ�คัญกับกระบวนการท่ีผู้เรียนไตร่ตรอง สะท้อนความคิดของตนเองถึงกระบวนการทำ�งาน
ผลงาน และความก้าวหน้าในแง่การเรียนรู้เป็นการฝึก Meta - cognitive skills หรือทักษะการคิด
ดา้ นการตระหนกั รู้ การควบคุม และการประเมนิ การคิดของตนเอง ส่ิงท่ผี ้เู รียนสะท้อนความคดิ มานน้ั
นับเป็นร่องรอยหลักฐานที่แสดงถึงการเรียนรู้ของพวกเขาได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นสิ่งที่ช้ีให้เห็นว่า
ผู้เรียนรู้หรือไม่ว่าตนเองรู้หรือไม่รู้อะไรเก่ียวกับงานน้ัน ๆ ผู้เรียนรู้หรือไม่ว่าการเรียนรู้ของตนเกิดขึ้น
ไดอ้ ยา่ งไร (an awareness of how they learn) ตัวอยา่ งคำ�ถามทีผ่ ู้สอนสามารถแนะนำ�ใหผ้ ้เู รียน
ถามตนเองเพ่อื ฝกึ Metacognition ในแตล่ ะขั้นตอน เช่น
(1) ขั้นวางแผน:
ก. ฉนั ตอ้ งท�ำ อะไรบา้ ง /อาจารยม์ อบหมายงานอะไร
ข. เปา้ หมายของการทำ�งานนี้คอื อะไร
ค. ฉนั จะใช้วธิ กี ารอะไร
ง. มีวิธีการอะไรทฉ่ี ันเคยใช้ และนา่ จะเป็นประโยชนส์ ำ�หรบั งานนี้
54
(2) ข้ันติดตามความก้าวหน้า:
ก. ตอนนีฉ้ ันรูส้ กึ อยา่ งไรบ้าง
ข. วธิ กี ารทีฉ่ ันใชอ้ ยู่ตอนนไ้ี ดผ้ ลไหม
ค. ฉันควรจะลองเปล่ียนวิธกี ารท�ำ งานไหม
(3) ขั้นประเมนิ ผล:
ก. ฉันวางแผนวิธีการทำ�งานไวอ้ ย่างไร
ข. ฉนั ใช้วธิ กี ารอะไรเมอ่ื ไดป้ ฏิบตั ิจริง มอี ะไรบา้ งท่ีไมไ่ ดผ้ ล และฉนั จะทำ�
อะไรที่แตกต่างออกไปไดบ้ า้ งในคร้งั หน้า
ค. มอี ะไรบ้างทไี่ ดผ้ ลดี และฉันควรจะท�ำ อะไรต่อในครงั้ หน้า จะใชว้ ธิ กี าร
นก้ี ับปญั หาอ่ืน ๆ ไดไ้ หม
ง. มีวธิ กี ารอนื่ ๆ ทฉ่ี ันสามารถใชไ้ ดอ้ ีกไหม
2.2.3 ประโยชนก์ ารของแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio)
แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) มีประโยชน์ในการแสดงหรือ
น�ำ เสนอผลงานของนกั เรยี น ซงึ่ มลี กั ษณะทสี่ อดคลอ้ งกบั ความสามารถทแี่ ทจ้ รงิ ของนกั เรยี น แฟม้ สะสม
งานจงึ สามารถใช้ประโยชนห์ ลายประการ คือ
1) สง่ เสริมการเรียนรูต้ ามศกั ยภาพเป็นรายบคุ คล ในการทำ�แฟ้มสะสมงานนน้ั ควร
ให้นักเรียนจัดทำ�แฟ้มด้วยตนเอง ดังน้ันแต่ละคนจึงสามารถเลือกทำ�งานแต่ละช้ินได้อย่างมีอิสระตาม
ความสนใจและความสามารถของนกั เรยี นและนกั เรยี นสามารถน�ำ ผลงานมาปรบั เปลย่ี นใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ ได้ การ
ท�ำ แฟ้มสะสมงานจึงเหมาะสำ�หรบั สง่ เสรมิ การเรยี นรู้เป็นรายบคุ คล
2) สะท้อนความสามารถรวมออกมาเป็นผลงาน และการสะท้อนให้เห็นถึงวิธีการ
ท�ำ งานของนักเรียนไดท้ กุ ขนั้ ตอน
3) ค้นหาจุดเด่นของนักเรียน แบบทดสอบ ส่วนมากใช้ในการสอบเพื่อหาข้อ
ผดิ พลาด ทำ�ให้นกั เรยี นไม่ชอบการสอบและพยายามหลบเลย่ี งการสอบหรอื ประพฤตทิ จุ รติ ในการสอบ
แฟม้ สะสมผลงานจะทำ�ใหค้ รสู ามารถหาจดุ เดน่ ของนกั เรยี นมากกวา่ จดุ ดอ้ ย และนกั เรยี นสามารถเลอื ก
ตัดสินใจว่าจะใช้งานชิ้นที่ดีท่ีสุดของตนในการประเมิน ดังน้ัน นักเรียนจึงมีความสุขในการทำ�แฟ้ม
สะสมงานของตนมากกว่าการสอบ
4) ใชใ้ นการแจง้ ผลส�ำ เรจ็ ของนกั เรยี นใหบ้ คุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งทราบ รวมทง้ั สามารถน�ำ
ไปใชใ้ นการอภปิ รายความกา้ วหนา้ ของนกั เรยี นกบั ผปู้ กครองได้ การประเมนิ แฟม้ สะสมงานจะมลี กั ษณะ
เปิดเผยตรงไปตรงมา ซงึ่ จะเห็นว่ามคี วามแตกต่างจากการใชแ้ บบทดสอบที่ครูต้องปกปดิ เปน็ ความลบั
5) ใชป้ ระเมนิ พฒั นาการของนกั เรยี น เนอื่ งจากการเกบ็ สะสมผลงานนนั้ งานทกุ ชนิ้
ท่ีพจิ ารณาคดั เลอื กไว้แล้วตอ้ งเขยี นชื่อ วนั เดอื น ปี ไว้ เพอื่ ประเมนิ ความเจริญงอกงามหรือพัฒนาการ
ของนกั เรียนได้
55
กลา่ วโดยสรปุ การประยุกต์ใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ใน
การจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning ส�ำ หรบั ครูอาชวี ศกึ ษา สามารถนำ�มาประยกุ ต์ใชไ้ ดก้ ับ
ผเู้ รยี น สามารถนำ�เสนอความส�ำ เรจ็ ของชน้ิ งานตนเองผ่านหน้าเวบ็ ไซต์ รวบรวมและสะท้อนให้เหน็ ถึง
การท�ำ งานของผ้เู รียน แลกเปลี่ยนประสบการณ์การศึกษาและการทำ�งานของผเู้ รียน สามารถสร้างงาน
แบบไดนามิก สรา้ งแผนของการศึกษาออนไลน์และการท�ำ งานกับที่ปรึกษาของผูเ้ รยี น การประยกุ ตใ์ ช้
กับผ้สู อน สามารถสร้างโครงการ / ผลงานท่ีมเี กณฑ์การใหค้ ะแนน สร้างโครงการร่วมกบั ผสู้ อนรายวชิ า
อื่น สามารถท�ำ งานออนไลน์ ให้ผู้เรยี นความเห็นและให้คะแนนได้ สร้างแฟม้ ผลงานท่ีส่งเสริมการเรยี น
การสอนสำ�หรบั ผเู้ รยี น หรอื ตู้โชว์ความส�ำ เรจ็ เป็นต้น
2.2.4 งานวจิ ัยการจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
โชตกิ า ภาษีผล, ประกอบ กรณกี จิ และพทิ ักษ์ โสตถยาคม (2558) ศึกษาการพัฒนา
รูปแบบแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ที่สะท้อนข้อมูลย้อนกลับในการประเมินพัฒนาการเรียนรู้ของ
นักเรียนในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน พบว่า 1. รูปแบบแฟ้มสะสมงาน
อิเล็กทรอนกิ ส์ฯ สำ�หรับนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษาและระดบั มัธยมศกึ ษา ประกอบด้วย 2 ด้าน คอื
ด้านองค์ประกอบของการพัฒนาแฟม้ สะสมงานอิเล็กทรอนิกสฯ์ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่
1) จดุ มงุ่ หมาย 2) เน้ือหา 3) บทบาทผู้เกย่ี วขอ้ ง 4) เครอื่ งมือในการพฒั นา 5) การให้ข้อมูลย้อนกลบั
6) การประเมนิ ผล และด้านขน้ั ตอนการพัฒนาแฟม้ สะสมงานอเิ ลก็ ทรอนิกสฯ์ ประกอบดว้ ย 7 ขั้นตอน
ไดแ้ ก่ 1) ก�ำ หนดจุดมงุ่ หมาย เน้ือหา และเกณฑก์ ารประเมิน 2) เกบ็ รวบรวมผลงานระหว่างดำ�เนินการ
3) สะท้อนความคดิ ต่อผลงานประเมนิ ตนเองและให้ข้อมูลย้อนกลบั 4) ประเมินและให้ข้อมลู ย้อนกลับ
โดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง 5) คดั เลอื กผลงานเพ่อื จดั ท�ำ แฟ้มสะสมงานสำ�หรบั น�ำ เสนอ 6) เผยแพร่
แฟ้มสะสมงานส�ำ หรับน�ำ เสนอ 7) ประเมนิ แฟ้มสะสมงานสำ�หรบั นำ�เสนอ ระบบจดั การแฟม้ สะสมงาน
อิเล็กทรอนิกส์ฯ สำ�หรับนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาพัฒนาด้วยโปรแกรมภาษา
ASP.NET และฐานขอ้ มลู Microsoft SQL Server ออกแบบโดยแบง่ กลมุ่ ผใู้ ชเ้ ปน็ 4 กลมุ่ ไดแ้ ก่ นกั เรยี น
ครู ผปู้ กครอง และผดู้ แู ลระบบ 2. ส�ำ หรบั นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา การใชแ้ ฟม้ สะสมงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ทส่ี ะทอ้ นขอ้ มลู ยอ้ นกลบั แบบทวั่ ไป สว่ นใหญม่ รี อ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี พี ฒั นาการมากกวา่ ไมม่ พี ฒั นาการ
ในขณะทก่ี ารใชแ้ ฟม้ สะสมงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทีส่ ะทอ้ นข้อมูลชแี้ นะเพื่อการปรับปรงุ สว่ นใหญม่ รี อ้ ยละ
ของนกั เรยี นทม่ี พี ฒั นาการสงู กวา่ ไมม่ พี ฒั นาการ และส�ำ หรบั นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษา การใชแ้ ฟม้ สะสม
งานอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสะท้อนข้อมูลย้อนกลับแบบทั่วไปและแบบชี้แนะเพ่ือการปรับปรุง ส่วนใหญ่มี
ร้อยละของนักเรียนที่มีพัฒนาการสูงกว่าไม่มีพัฒนาการ 3. ผลการประเมินรูปแบบแฟ้มสะสมงาน
อิเล็กทรอนิกส์ฯ ท้ังสำ�หรับนักเรียนระดับประถมศึกษา (M = 4.78, SD = 0.14) และมัธยมศึกษา
(M = 4.63, SD = 0.04) อยใู่ นระดับเหมาะสมมากทีส่ ุด
56
Newbery (2554) ศึกษาเร่ืองแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (E - Portfolio) :
เครอ่ื งมอื สำ�หรับการประเมนิ ของครูและการเรยี นรูเ้ ชิงลกึ ของนกั เรียน (ELECTRONIC PORTFOLIOS
: TOOLS FOR SUPPORTING THE TEACHER’S NEED FOR ASSESSMENT AND THE STUDENT’S
NEED FOR DEEP LEARNING) เป็นการศึกษาการนําระบบแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(E - Portfolio System) เข้ามาเปน็ เครือ่ งมอื ชว่ ยสนับสนนุ การประเมินนักเรียนส�ำ หรบั ครู และชว่ ย
สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ �ำ หรบั นกั เรยี นใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ โดยใชว้ ธิ กี ารวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยการเกบ็ ขอ้ มลู แบบผสม
ทง้ั เชงิ คณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณ ผลการศกึ ษาพบวา่ ระบบแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E - Portfolio
System) สามารถช่วยสง่ เสรมิ การเรยี นรูข้ องเด็กนกั เรยี นได้เป็นอย่างดี โดยช่วยใหน้ ักเรียนสามารถตง้ั
เปา้ หมายในการเรยี นรขู้ องตนเอง นาํ เสนอจดุ เดน่ และคน้ หาจดุ ออ่ นเพอื่ การปรบั ปรงุ พฒั นาดว้ ยตนเอง
ท้ังยงั เป็นการสรา้ งแรงจงู ใจในการเรียนรู้ การสร้างสรรคผ์ ลงาน อันทำ�ให้เกดิ กระบวนการเรียนร้เู ชิงลึก
ได้อีกด้วย สำ�หรับคุณครูก็ง่ายต่อการนําผลงานท่ีนักเรียนทำ�แล้วนั้นมาประเมินผลสรุป เพื่อสนับสนุน
การเรยี นร้ขู องนกั เรียนเป็นรายบุคคล หรอื วางแผนพฒั นาการเรียนการสอนตอ่ ไป
ประกอบ กรณกี จิ และพทิ กั ษ์ โสตถยาคม (2554) ท�ำ การวจิ ยั เรอ่ื งเพอ่ื พฒั นารปู แบบ
แฟม้ สะสมงานอเิ ลก็ ทรอนกิ สส์ �ำ หรบั ครเู พอื่ สง่ เสรมิ ความสามารถในการจดั การเรยี นรขู้ องคร ู ใน
สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผลการวิจัย พบว่ารูปแบบแฟ้มสะสมงาน
อิเล็กทรอนิกส์สำ�หรับครูฯ ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ และขั้นตอนการพัฒนาแฟ้มสะสมงาน
อเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ำ�หรบั ครู ประกอบดว้ ย 9 ขนั้ ตอน และกลมุ่ ทดลองมีความสามารถในการจัดการเรยี นรู้
และการวางแผนพัฒนาตนเองสูงกว่าครูกลุ่มควบคุมและมีความเห็นว่ารูปแบบแฟ้มสะสมผลงานมี
ความเหมาะสมในการนาํ ไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนมากที่สดุ
กลุ ลดา สคุ นธปฏมิ า (2553) ไดศ้ กึ ษาเกย่ี วกบั การพฒั นาครปู ระจาํ การดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ เรอ่ื ง แฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ : การศกึ ษาเชิงคณุ ภาพ พบวา่
1) ความรคู้ วามสามารถทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศของครปู ระจาํ การในการสรา้ ง
แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์นนั้ สรุปได้วา่ ครปู ระจาํ การส่วนใหญม่ ีความรู้ความเขา้ ใจและสามารถ
สร้างแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นได้เพ่ือนําไปต่อยอดในการสร้างแฟ้มสะสมผลงาน
อิเลก็ ทรอนกิ สป์ ระเภทอืน่ ๆ ทช่ี ่วยสนบั สนนุ และเพิม่ ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนมากยง่ิ ขึ้น แตม่ ี
ครูประจําการส่วนน้อยที่แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ยังไม่ผ่านเกณฑ์ อยู่ในระดับควรปรับปรุง
จาํ ตอ้ งมกี ารพัฒนาชน้ิ งาน
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูประจําการหลังจากเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์
เรอ่ื ง แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซงึ่ ครปู ระจาํ การสว่ นใหญม่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั แฟม้ สะสม
ผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ ากขนึ้ สามารถเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งแฟม้ สะสมผลงานกบั แฟม้ สะสม
ผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ดช้ ดั เจนขน้ึ แตม่ คี รปู ระจาํ การสว่ นนอ้ ยทยี่ งั ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั แฟม้ สะสม
ผลงานอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ พิ่มเตมิ
57
3) ความพงึ พอใจของครปู ระจาํ การทม่ี ตี อ่ บทเรยี นออนไลน์ เรอ่ื ง แฟม้ สะสมผลงาน
อิเล็กทรอนิกส์ สรุปแล้วครูประจําการมีความพึงพอใจต่อบทเรียนออนไลน์ เร่ือง แฟ้มสะสม
ผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
4) ปัญหาของครูประจําการที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แฟ้มสะสมผลงาน
อิเลก็ ทรอนกิ สพ์ บว่าครปู ระจาํ การทกุ คนมคี วามตง้ั ใจ ใส่ใจและเห็นคุณค่าในบทเรียนออนไลน์นี้
โดยสรุปการวิจัยส่วนใหญ่พบว่า แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์เป็นเคร่ืองมือ
สนบั สนุนการเรียนรูท้ ่สี ามารถบอกถึงพัฒนาการ ความก้าวหน้า ส่งเสริมกระบวนการคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ ง
มีวิจารณญาณ ส่งเสริมกระบวนการปฏิบัติงานในการเรียนรู้ อีกทั้งแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
สามารถช่วยในการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทราบถึงจุดเด่นและจุดด้อยในช้ินงานของตนเอง เพื่อมาพัฒนา
ปรบั ปรุงผลงานและการเรยี นรู้ในอนาคตได้ ซงึ่ ส่งผลใหผ้ ู้เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผูเ้ รียนดีขึน้
มีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ และระบบการเรียนรู้แบบเพอ่ื นช่วยเพ่ือนเป็นวิธีการเรียนรู้ท่ี
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน ผลการวิจยั เหลา่ นี้ สามารถนําหลักการหรือวิธกี ารตา่ งๆ
ไปปรับใชก้ ับการพัฒนาและประยกุ ตใ์ ชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ในการจดั การ
เรียนการสอนแบบ Active Learning ส�ำ หรบั ครอู าชีวศึกษาได้
58
59
แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรือ่ ง การประยุกตใ์ ชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)
ในการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning
หน่วยท่ี 2 การประยุกตใ์ ช้สารสนเทศ (แฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e - portfolio))
ค�ำ ชแ้ี จง 1. แบบทดสอบนเ้ี ปน็ แบบทดสอบชนดิ เลือกตอบ จ�ำ นวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที
2. แบบทดสอบในแตล่ ะข้อ มี 4 ตัวเลอื ก ก ข ค หรอื ง โดยใหท้ า่ นเลอื กท�ำ เครอื่ งหมาย
X ทับตวั เลือก ก ข ค หรอื ง ท่ีถูกท่สี ดุ เพียงตวั เลอื กเดยี วในกระดาษค�ำ ตอบ
3. กรณีทา่ นต้องการเปลย่ี นคำ�ตอบ ให้ทา่ นท�ำ เคร่อื งหมาย = ทับตัวเลอื กเดมิ
และทำ�เคร่ืองหมาย X ทบั ตวั เลือกท่ีทา่ นเลอื กใหม ่ เชน่ ท่านต้องการเปล่ียนตัวเลือก
ก เป็น ค
o) =Xก ข คX ง
1. แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio) ใหป้ ระโยชน์ในข้อใดน้อยทสี่ ุด
ก. สวยงาม สร้างความพงึ พอใจใหก้ ับผ้เู ขา้ ชมผลงาน
ข. ประหยดั ลดปริมาณทรพั ยากร เชน่ กระดาษ หมกึ
ค. การเขา้ ถึงผลงานสะดวก รวดเร็ว และเปน็ ระบบ
ง. เกบ็ สะสมผลงานไดห้ ลายรปู แบบ เช่น ภาพ เสยี ง วิดีโอ ขอ้ ความ
2. แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Portfolio) ของครมู ีหลายลักษณะยกเวน้ ลกั ษณะตามข้อใด
ท่ีครไู ม่นยิ มน�ำ มาใชป้ ระโยชน์
ก. เปน็ เครือ่ งมอื สำ�หรบั การเรียนรู้จากการบนั ทึก การคน้ คว้าและแสดงความคดิ เหน็
ข. เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ หรับแสดงสมรรถนะ ความสามารถ ความเชีย่ วชาญและความคดิ เหน็
ค. เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั การประเมนิ ความสามารถตนเองแสดงจดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยทค่ี วรพฒั นา
ง. เปน็ เครอ่ื งมอื แสดงถงึ ความสามารถและทกั ษะการใชส้ อ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องเจา้ ของผลงาน
3. การเผยแพรผ่ ลการจัดการเรียนรจู้ ากแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) ควรเลอื กใช้
ขอ้ มลู ใดของแฟม้ สะสมผลงาน
ก. ผลงานดเี ดน่ จากการจดั การเรยี นรู้ที่คดั เลือกและประเมนิ แลว้
ข. ผลงานของผู้เรยี นทมี่ คี ะแนนการประเมนิ สูงกว่าเกณฑ์ท่กี �ำ หนด
ค. ผลการวิเคราะห์จดุ เดน่ จุดดอ้ ยของผลงานสะสมทเี่ สนอแนะไว้แล้ว
ง. ผลงานภาพถ่าย กจิ กรรมและค�ำ นิยมของเพือ่ นครูและผู้บรหิ าร
60
4. แฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio) ของครสู ามารถใชเ้ ป็นแหล่งเรียนรขู้ องผู้เรียน
ไดห้ รือไม่ เพราะอะไร
ก. ไม่ได้ เพราะผู้เรยี นไม่มีความรู้เรื่องแฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio)
ข. ได้ เพราะครสู ามารถเกบ็ กจิ กรรมการสอนทดี่ ไี วแ้ ลว้ ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ มาเรยี นรไู้ ดผ้ า่ น Web
ค. ไม่ได้ เพราะแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) เป็นของสว่ นตัว
ง. ได้ เพราะครสู ามารถส่ือสารกบั ผเู้ รียนโดยผ่านแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(e - Portfolio) ตลอดเวลา
5. ผลการจัดการเรยี นรูจ้ ากแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ท่ใี ช้เปน็ กิจกรรม
การเรียนรสู้ �ำ หรบั ผเู้ รยี น ข้อใดเหมาะสมที่สดุ
ก. ไฟล์ วดี โี อการรบั รางวลั ดีเดน่ ของผู้เรยี น
ข. ไฟล์ เกยี รตบิ ตั ร โลห่ ์ ผลงานดีเด่นของผเู้ รียน
ค. ไฟล์รูปภาพ กจิ กรรมการเรยี นรู้ของผ้เู รยี นดีเดน่
ง. ไฟล์วดี ีโอ การปฏบิ ตั ิโครงงานของผู้เรยี นดเี ด่น
6. แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio) ของครใู หป้ ระโยชน์โดยตรงกับครเู จ้าของ
แฟ้มสะสมในเรอื่ งใดนอ้ ยทส่ี ดุ
ก. ใช้เสนอผลการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ขอความดคี วามชอบประจ�ำ ปี
ข. ใชเ้ สนอผลการปฏบิ ัติงานเพ่อื ขอเลือ่ นตำ�แหนง่ / วิทยฐานะ
ค. ใช้ในการบันทกึ ความทรงจำ�หรอื สิง่ ดดี ีในชวี ิตการปฏบิ ัตงิ าน
ง. ใชส้ ำ�หรับจัดเกบ็ ตา่ งที่ปฏิบัติแตไ่ มต่ อ้ งการใหบ้ คุ คลอน่ื ทราบ
7. การประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นเพอ่ื ตอ้ งการทราบวา่ ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรจู้ รงิ ตามผลการเรยี นรู้
ทีค่ าดหวงั หรอื ไม่ การปฏิบตั ติ ามข้อใดไดผ้ ลการเรยี นรูต้ ามสภาพจริงมากทสี่ ุด
ก. การประเมินโดยการทดสอบและสอบถามผเู้ รียนดว้ ยตนเอง
ข. การประเมนิ นกั เรียน ผูป้ กครองและจากเพอื่ นนักเรียนเสนอ
ค. การประเมนิ จากแฟม้ สะสมงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ของผู้เรยี น
ง. การประเมนิ จากการทดสอบรอบด้านแบบ 360 องศา ของผ้เู รยี น
8. การจัดการเรยี นรู้ตามข้อใดทผี่ เู้ รยี นจะมีความรู้ ทกั ษะในเรือ่ งนั้นได้นานหรือตลอดไป
ก. ผเู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏิบัติและพัฒนาความรูด้ ้วยตนเอง
ข. ผูเ้ รยี นได้ปฏิบัตติ ามทีค่ รเู สนอแนะและกำ�หนดแนวทางไว้
ค. ผู้เรียนได้เรียนร้ตู ามความสนใจและความต้องการของตนเองทกุ อย่าง
ง. ผู้เรียนไดเ้ รยี นรจู้ ากขั้นตอนและวธิ กี ารท่กี �ำ หนดอยา่ งละเอียดทุกขั้นตอน
61
9. การน�ำ ผลวจิ ยั การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ ควรใหค้ วามส�ำ คญั
ในเรื่องใดมากทส่ี ดุ
ก. สภาพบรบิ ทของโรงเรยี นและศกั ยภาพของผูเ้ รียน
ข. การสนบั สนนุ ของผู้บริหาร เพื่อนครแู ละผ้ปู กครอง
ค. ผลกระทบท่จี ะเกิดกบั ครผู ูส้ อนทั้งในทางบวกและลบ
ง. งบประมาณและสอ่ื อุปกรณ์สนบั สนนุ ในการดำ�เนนิ การ
10. การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ทีก่ ลา่ วว่า ใหผ้ ู้เรยี นเรียนรูต้ ามความสนใจและตามศกั ยภาพ
มคี วามหมายตรงกบั ข้อใดมากท่สี ุด
ก. ผเู้ รยี นอยากเรยี นอะไร ใช้เวลาเรียนเทา่ ไรกไ็ ด้ตามความสมัครใจ
ข. ผเู้ รยี นเรียนรูแ้ ล้วพบวา่ เรียนไม่ไดก้ เ็ ลกิ เรยี นและไปเรยี นเรอ่ื งอื่น
ค. ผูเ้ รียนเลอื กวธิ กี ารเรียนเองไดแ้ ละใช้เวลาเรยี นตามความสามารถของแต่ละบุคคล
ง. ผเู้ รยี นเลือกวธิ กี ารเรียนเองและเงอ่ื นไขเวลาเรียนตามความตอ้ งการของตนเองได้
62
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
หนว่ ยท่ี 2 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - portfolio))
ชดุ นิเทศแบบเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การพฒั นาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(e - Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำ�หรบั ครูอาชีวศกึ ษา
ขอ้ เฉลย
1 ก
2 ง
3 ก
4 ข
5 ง
6 ง
7 ค
8 ก
9 ก
10 ง
63
64
หน่วยที่ 3
การสรา้ งแฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ยเวบ็ ไซต์ (google sites)
3.1 การสร้างเวบ็ ไซตด์ ว้ ย Google sites
3.1.1 ขอบเขตและการใหบ้ รกิ าร
Google Sites คือโปรแกรมของ Google ทใ่ี ห้บรกิ ารสรา้ งเวบ็ ไซตฟ์ รี สามารถสร้าง
เว็บไซต์ได้ง่าย ปรับแต่งรูปลักษณ์ได้อย่างอิสระ และรวบรวมความหลากหลายของข้อมูลไว้ใน
ท่ีเดียว เช่น วิดีโอปฏิทินเอกสารอ่ืน ๆ ทำ�ให้ช่วยอํานวยความสะดวกได้เป็นอย่างมาก ในการแก้ไข
หนา้ เว็บ จะเปน็ กลุ่ม หรือท้งั องคก์ รกไ็ ด้ ซ่ึง Google Sites
1) ใหบ้ ริการครั้งแรก เดือนพฤษภาคม 2551
2) ให้บริการฟรี ไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย
3) พืน้ ทจ่ี ดั เกบ็ 10 GB
4) ขนาดไฟล์ทใ่ี ชใ้ นการจดั เกบ็ สูงสดุ 10 MB
5) เฉพาะพ้ืนที่เว็บไซต์ไม่เกิน 100 MB แต่หากรวมเป็นสมาชิกบริการอ่ืน ๆ
ของ Google ตวั อ่นื ๆ เชน่ YouTube calendar Picasa ไมเ่ กิน 10 GB
6) มี Gadget มากมาย และสามารถท�ำ ในรูปแบบท่ีเราต้องการได้
7) ใชง้ านรว่ มกับ CSS (Cascading Style Sheet) ที่ออกแบบเองไม่ได้
8) เวบ็ ไซตอ์ ยู่ภายใต้ Google ท�ำ ใหต้ ั้งช่ือ domain name ยาวได้
9) ยงั มีปญั หาเร่ืองการใชง้ านรว่ มกับ script อื่น ๆ
10) การใช้งาน Google Sites ทำ�ไดเ้ ฉพาะเมื่อเช่อื มตอ่ อนิ เทอร์เน็ตเทา่ นัน้
65
3.1.2 การสร้าง e - Portfolio
การพัฒนาและประยุกต์ใช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio)
ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ Google sites ช่วยในการเรยี นการสอนของ
ครูทำ�ใหเ้ ชือ่ มโยงเนอ้ื หาสาระของศาสตร์ต่าง ๆ ได้ง่ายย่งิ ขึ้น โดยสามารถเช่อื มโยงเนื้อหา แหล่งความรู้
ตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไฟลเ์ อกสาร วดี ีโอ หรือไฟล์เสียงเขา้ สูร่ ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ (Internet) และ
ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่ายย่ิงขึ้น จะช่วยให้กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ตามความสนใจความสามารถท่ีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สามารถนำ�
ความรู้ ทักษะ และเจตคติไปสร้างงาน แก้ปัญหาและใช้ในชีวิตประจำ�วันได้ง่ายยิ่งข้ึน Google sites
สามารถใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางในจดั การเรยี นการสอนของครู โดยเฉพาะครผู สู้ อนทไี่ มเ่ ชย่ี วชาญในดา้ นเทคโนโลยี
การสื่อสาร โดยเว็บไซตท์ ่ีสรา้ งด้วย Google sites เป็นเวบ็ ไซต์อย่างง่าย ไม่ซับซ้อน ครผู ้สู อนสามารถ
เรียนรู้ใช้งานได้ไม่ยากนัก อีกทั้งครูยังสามารถตรวจผลงานของนักเรียนได้อย่างรวดเร็ว ทันใจ การนำ�
เสนอเน้อื หาในรายวิชาต่าง ๆ เป็นไปได้งา่ ย ไมว่ ่านกั เรยี นอยู่ ณ แห่งหนใดกส็ ามารถเรยี นรผู้ า่ นระบบ
อินเทอรเ์ นต็ ได้
ที่มา : https://sites.google.com/a/strisuksa.ac.th/ekkarin/home
66
ที่มา : https://sites.google.com/view/sirirat-kat16/home 3939
3.31 .3.13..13ก.3ากรา รก1L)oาL รogigใnLหino้ gL3io.n1g.i3n กดา้วรยLeog-imn ail ของ Gmail โดยผ่านเว็บ sites.google.com
2) การเปล่ียนภาษาในการใช้งาน sites.google เม่ือได้ Login เข้า Sites
แล้วสามารถเปล่ียนภาษาในการใชง้ านให้เปน็ ภาษาไทยหรอื ภาษาอังกฤษไดท้ ีเ่ มนูหมายเลข 1
ให้เลือกเมนหู มายเลข 2lUser settings และปฏบิ ัติตามลำ�ดบั ขนั้ ตอนท่ี 3, 4, 5
40
67 40
40
3) เม่อื Login ดว้ ย Gmail แลว้ ใหพ้ ิมพ์ URL:gg.gg/vec_teacher เป็นการเลือก
ใช้เทมเพลต e - Portfolio ครูผู้สอน และ URL:gg.gg/vec_student เป็นการเลือกใช้เทมเพลต
e - Portfolio สำ�หรับผูเ้ รยี น
การเลอื กใชเ้ ทมเพลต e - Portfolio ส�ำ หรับครผู ูส้ อน
การเลือกใช้เทมเพลต e - Portfolio ส�ำ หรับผู้เรยี น
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เร่อื ง การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
ช(eุด-ฝPoึกrอtบfoรlมioด)ว้ ใยนตกนาเรอจงดั เกราอ่ื รงเรกยี านรพกาัฒรนสาอแนลแะบปบระAยcกุtiตv์ใeชแ้Leฟa้มrสnะinสgมผสลำหงารนบั อคิเรลอู ก็ าทชรีวอศนกึ ิกษสา์
(ชeุด-ฝPoกึ rอtบfoรlมioด)ว้ ใยนตกนาเรอจงัดเกรา่อื รงเรกยี านรพกาัฒรนสาอแนลแะบปบระAยcุกtiตv์ใeชแ้Leฟaม้ rสnะinสgมผสลำหงารนบั อคเิรลอู ก็ าทชรีวอศนกึ กิษสา์
68 41
41
(1) เม่ือเลือกใชเ้ ทมเพลตแลว้ ให้ตงั้ ชอ่ื เว็บ e - Portfolio
(2) เมื่อทำ�ตามข้ันตอนนี้แล้วไม่สามารถสร้างเว็บได้ แสดงว่าช่ือท่ีต้ังนี้
มีผอู้ น่ื ใช้แลว้ ใหเ้ ปลย่ี นชือ่ เวบ็ ใหม่ จะได้ผลลัพธด์ งั ภาพ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรือ่ ง การพฒั นาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์
(ชeดุ -ฝPoกึ rอtบfoรlมioด)้วใยนตกนาเรอจงัดเกราอ่ื รงเรกยี านรพกาัฒรนสาอแนลแะบปบระAยcุกtiตv์ใeช้แLeฟaม้ rสnะinสgมผสลำหงารนับอคเิรลอู ก็ าทชรีวอศนกึ ิกษสา์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา
69 42
4) เม่ือได้เว็บ e - Portfolio แล้ว ให้เปล่ียนภาพและช่ือประจำ�ตัว โดยคลิกปุ่ม
การทำ�งานอื่น ๆ เลอื ก “แก้ไขการออกแบบไซด์” แล้วปฏิบตั ิตามลำ�ดับข้ันตอนที่ 3 ถงึ 14
ดังภาพ
เรอ่ื ง การพัฒนาและประยกุ ต์ใช้แฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การพฒั นาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์
(e-Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา
70 43
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง เรอื่ ง การพัฒนาและประยุกตใ์ ชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา
44
71
44 44
44
5) การแกไ้ ขหนา้ เพจโดยคลกิ ปุ่มแกไ้ ขหนา้ เว็บ ในสว่ นของการจัดการ
หนา้ เพจนั้น มีดงั น้ี
(1) แถบเมนูและฟังก์ช่ันเพิ่มลูกเล่น รวมไปถึงเครื่องมือต่าง ๆ ในการจัดการ
หน้าเพจ
(2) เมนู “แทรก” เป็นเมนูที่ควบคุมเกี่ยวกับการใช้มีเดีย เช่น การใส่รูปภาพ
ลงิ ก์ วิดโี อ และแกดเจ็ทอ่นื ๆ จึงท�ำ ให้เมนูนีถ้ กู ใชง้ านบ่อยท่ีสุด
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง เรือ่ ง การพฒั นาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชีวศึกษา
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื ง การพัฒนาและประยุกตใ์ ช้แฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา
��มู �� ก�ร�ัด��� แ��ม���ม����น��เ��ก�ร�น�ก�� 8 72
ค ําส่งั เ5ด5.ยี.33ว กเแเมมนัถนนบกูู บัเ““มรแรนปููปถ ู แแบบบเมบบ(น3””)ู เเปปเ�นน�มเเนมมู นน“ู�ู�ร��ี��ีปู ��แ�กก� บ������บนน”ดดรเรปูปปู นแแบเบมบบน��ทู ��ีใ่��ช��ก�ัววั ําู�ม��ห�� ักกักน���รดร�รรดั�ปู��������แเแปเบ�ปน� ม�บ�นร�ขรูป�ูปอ�แมงแบ�ตบ�บัว�บ��อ�น�� ัก���ษ�เ���รก���ั �เ�ั� ดรซเด�ยี ่ึงนียวเ�กปกว�กนัน� ันกรูปกับ8ับแบบ
แถบเมนู
5.4 เ เมมนน�ู ู���รร�� �� เเปป(น�น�4เเ)มม นนเมู��ู น�ี���ี ��ูต���� ารรร����า��ง��เปรร����น ��เัดมดั กนก��ทู รรี่ใ��ช����สมมร�ู ้าู��ง�นนหรรปูรปู แอื แบจบัดบบก��า��รรร�ข��อ�มลู ในรูปแบบตาราง
5.4
73
(5) เมนู “การจัดวาง” เปนเมนูที่ใชคสูม� ำ�ือหการรับจัดกทําา� หแ�นม�ด�ร�ูป�มแ�บลบงากนาอริเลจ�กัดทวราองนคกิ �อ� ลมั 9น
ในหน5า.เ5พเจมนู “การจดั วาง” เป�นเมนูท�่ี �� �า�รบั กา� �นดรูปคแมู� บือบกากรจาัดรทจ�าัดแ�ว�มา�ง�ค�อมล�ลัมงนาน��อนเิ ล��กนทารอเพนิกจ�� 9
5.5 เมนู “การจดั วาง” เปน� เมนทู ่�ี ��า� �รับก�า�นดรปู แบบการจัดวางคอลัมน�� น�นาเพจ
44
ป ฏ6บิ.6 ตัท.กติ่ีทาก1าร่ีา1มเรถพ ขเงึถพ่มิ นั้ งึ ม่ิ6รต6ูปรอปู ภนภา ทาพี่พบ1บน(ถน6�ึง�) น6นากา เาเพพรจเจพ��มิ่��รคคปู ลลภิกิกาปปพุมมุ บนหนาเพจ ให“ค้“แลแกกิก� ป�ขขมุ�� น นา าเ วเ ว�บ บ�” ” แ แล วล“ปว แปฏกิบฏไ ขตับิ หิตตั นาิตมาาขเมวน้ั ขบ็ ตนั้”อตนแอลนว
1 คลิกปมุ แทรก
1 คลิกปมุ แทรก
2 คลกิ เลือกรูปภาพ
2 คลกิ เลอื กรูปภาพ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เร่อื ง การพัฒนาและประยกุ ต์ใช้แฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา
คูม คือมู กือารก�า�ัร�ท�ัา� แท�า� แ�ม���ม� ��ม���ลมง�าลนงอาเินลอก� ิเทลรก� อทนรกิ อ�น� กิ ��10 1704
3 คลคกิลปกิ ุมปอุมัพอ�ัพ��ล��ลภ�าภพาพ เล4อื เลกคือภลกากิภพปา�พุม ากO�นาpก้ันeนใn�น้ั ใ�
3 4 คลกิ ปมุ Open
5 คลกิ ปมุ ตกลง
5 คลกิ ปมุ ตกลง
�ามา ร��ั� รูปแบบ ของภสามพา��รถ �จ�ัดยรเลูปือแกบรบูปขแอบงบภทาพี่ตอไดงก โาดรย�เาลกือpกoรูปpuแpบบททข่ี ่ีต้นึ อภงากยาใรตจร าปู กภาpพopup ท่ีขึ้น
ภ�าายมใาตรร �ปู �ภ�ั ารพปู แบบของภาพ�� ��ยเลอื กรปู แบบท่ีตอ งการ�าก popup ท่ีขึ้นภายใตร ปู ภาพ
เมื่อปรบั แตง 6
ครูปลเรมภกิปู อื่ปาภพปุม าเรบพ�บั นัเร�แ��ทรตแกึ ��งลแ� ลใ��ใ � 6
คลกิ ปมุ บันทึก
คมู อื การจด� ท�าแ�ม� �ะ�ม�ลงานอเิ ล�กทรอนกิ � 1175
7. การ เ�ิ่มลิงก เชื่อ(ม7�)� งลกงิ ากร�เพา�่มิ ใลนงิ เกว��เช�่ือ�มตโ ยใ�งลค ิงลกกิ ภ ปาุมคยูมใือนกาเรวจ็บด� ไทซา� แต� ม�ใ�หะ้ค�มล�“กิ ลแปงากมุน�อ � ิเ ล� �ก นท ร า อ เ นว กิ �� � ” เ 1ล “1ือแกกไข
หนาเว7ป.็บุม ”“กเแลาทรือเรก�กป่มิ ”ลุม ิงแก“ลเแวชทเอ่ื ลรมือก�ก�”เงมลแนงิลกูว “�เลลา�ือิงกใกน”เเมวน�� ู�“�ลตงิ ใก�”ค ลิกปุม
ปมุ “แทรก” แลวเลอื กเมนู “ล1ิงก” คลกิ ปุม แทรก “แก� ��นาเว��” เลือก
1 คลิกปุม แทรก
2 คลิกเลือกลิงก
2 คลิกเลือกลิงก
ป เชมุ ่ือม“ โ7ตย.ก1ง7ล.จจ1งซ ะ”าึ่งจปจกสะาราปกแามร�กาแานฏร�ก �ถนฏDง�ด��iDูไง�a� ด�ilaต�oจlต าogแกgแลbแกลbะoผ.ะกo xนกจxาาผ�ระ�รเรังปเปรไาปาซรลงลงาตล่�ีลี่�กิงน งินฏกแกแแล ปเปเDะลลลลกืออืiงงaากก��lร�o�ออ เนมgปนมาลูาลูลเbลเวี่ยลวาo��นา���x��แุด��ดุ�ป�ตส�ตลทนรนทงเ่ตีาวขเี่ตงอ��วอลอง���กมิงง��ากกูลต�ราล ตจเรเา�ะลจเสรเ�ือะชจ�ุดรเกือ่แบชจ� หมล่อืนแ�วนม�เลเวาลง�ว ็บ�เือเว�ลไงก็บง่�ซือป��ตไกมุาซง่� ปม�ตเ“าสุมาทตรมรก�่ีต“็จาดลตอแรงู�ก�งลด”กดลวางู�เลดร”ือจ กะ
1 เลเลอื อื กก��นนา า เเวว������อองง����ตต
1
22 เลเลอื อื กก��นนาเาวเ��ว��� ��ต� ต
ตอตงอ กงการารใ�ใ�ล ล ิงงิ กกเเปปดด ใในน��นนาาตตาางงชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เรื่อง การพัฒนาและประยกุ ต์ใช้แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ใ�ใ�มม ใ �ใ�คค ลลิกกิ ใในนชชออ งง “เปด ลิงกกน(นe้ี-ี้ Portfolio) ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรับครอู าชีวศกึ ษา
3 3 ในใน��นนาาตตา า งงใใ��ม”
44 คคลลกิิกปปุมุมตตกกลลงง
เใเใม�ม�ื่อคื่อค เลเลลลิกือิกือปกปกมุลมุล�งิ �กิง�นกแ�นทแลท�กวลก� ว 5 5
Dial7o77 ..g.222bซซซกoก่งึกึ่ง ึ่งาxใาาใในรนรนรสเทเเทชทชรชี่นื่อี่นาี่นอื่อื่ ้จีงมจี้ี้จมมละ โะะโโยเงิยเยเลกลงลงงอืลอืือลล ซกงิกงิกงิ งึ่กใกกใใใชจชชจนจแาแแาาทบกขบกบกีน่�บ.�บ�บ ี้จาากา“ะย““ยยาทเนททนนลร่ีออ่อีอ่ีอือเยกชยยกกูเ่ืเูอเูวใใววใชใบ็�ม็บ�็บ�แ ”ทโ”ท”ทบยา� �า�าบงตตตลาาา“ิงมมมทกขขขอ่ีอจออยาูเกว777คภ็บคคูมแูมูมแ”าแือลอืือยลลกกกวาวนวาาจรจรจรอจะจจะะด� �ดกด�ปปทปททรา�รร�า�าแใาแาแา�หก��กก�มฏ้ม�ทม�ฏฏ���ําะะะD�ตD�D�มiมมาiai�aa��มlลlลlลooงoขงงาgาgาgนอนนอออเิbเิbเิลb7ลลo็กo็กoก็ ทxททxแxรรรอลออน�นน�ว�กิ รกิกิจรร��า�าาะงงงปลลลิง1รงิ1ิง1ก2กาก22ก7ฏ6
11 เเเลลลืออือื กกกททท่อี อี่อี่ ยยยเู เููเวววบ็ บ็บ็ 22 พพพิมมิมิ พพพชชช ือ่ ่ืออ่ื ลลลิงิงงิ กกก
1 2
ใตตใตใ4�4�4อ�ออ มงมมงงกกกใใใใใใา�นาา�น�นรรรค�ค�ใค�ใใ�ลน�ล�นลนิกลาิกลกิาลา ใตงิใติงใตงินกนนากกาาชงเชชงเงเปใปอปใอใอ�ด��งดดงงมใมมใใ“น“”น“น””เ�เเ�ป�ปปนนดนดดาลาาลลตตติงิงงิากาากกงงนงนน ้ี ้ีี้ ตตต33อ3ออ งงงกกกพพพาาามิรมิมิรรเพเพเพชชช ่อืือ่Uอื่UUมมมRRRโโโLยLLยยงงทงทที่ ่ีี่
55 คคคลลลกิ กิิกปปปมุ ุมุมตตตกกกลลลงงง
5
ใเใเเใม�ม�ม�่อืคอ่ืื่อคคเลเเลลลลลกิ ิกอืกิอือื ปปกปกกุมลมุุมลลบงิบบงิิงก�นกก�นน� แทแแททลลึกลึกกึว วว 66
6
ด888า..น.กขกกขบข าอาอาอนรรงรงงขเ�เเพ��พพวนน่ิมน า่ิม่มิ าข�าา��จจจอนนอนอองา าาหเเเพพนพ จาจจเจเเวววอ็บ็บ็บ(�8��ซซ)ซ ตตตเเเรรรก่ิมิ่ม่มิาตตตรน นเน พ���ิ่รมรราหาางงงน���านนนเาาพาเเเพจพพจเจจว็บโโโดดดไยซยยคตคคลเลลรกิ ิกิกิ่มทททตี่ป่ปีป่ีนุมุมมุ ส���รรรราา าางงงงห���นนนนาา าา เพจ โดยคลิกทดดดาี่ปาา นนนุมบบบสนนนรขาขขวงววาหาานา
คคคลลลกิ ิกกิ ทททีป่ ปี่่ีปมุ ุมมุ ���รรรา าา งงง���นนนา าา 11
1
ค�มือการ�ัดทําแ�ม� ���ม�ลงานอิเลก� ทรอนกิ � 13 77
ค�มอื การ�ัดทําแ�ม� ���ม�ลงานอเิ ลก� ทรอนิก� 13
3 คลิกปุม�ราง
3 คลิกปมุ �ราง
2 พิมพ� ่อื �นา เพ�
2 พิมพ�่อื �นา เพ�
เเมม่ือื่อปปรรากฏ�ห�นา้ เพพ�จ�ใ�หมม� ่ 4
แแเลมล่ือ้ว�ใป�ห�รค้า กล�กิ �ปนมุ่ าบเนัพท�ทกึ�กึ �ม� 4
แล���ค ลกิ ปมุ บนั ทึก
9. การ�รา งเมน�ทางซายโดยปฏบิ ัติตามลาํ ดับขน้ั ตอนท่ี 1 ถึง 7 ตามภาพ
9 . การ �รางเมน ท� าง(ซ9า)ย โดกยาปรฏสบิ รัตา ติงเามมนลทูําดาคับงลซขิกาัน้ ปยตุม โอดกนายทรปที่ ฏ1ําบิงถาตัึงนติ 7อานื่ ตมาลๆมาํ ภดาบั 1พขั้นตอนที่ 1 ถึง 7 ตามภาพ
คลกิ ปมุ การทํางานอนื่ ๆ 1
เลือกแกไขการออกแบบไซต 2
เลอื กแกไขการออกแบบไซต 2
78
คูม ือการ��� ทาํ ��ม� ���ม�ลงานอิเลก� ทรอนิก� 14
คลกิ ปมุ เคร่ือง�มาย��ก 3
4 เลือกการนําทาง
คลกิ ปมุ เพมิ่
คลกิ การนําทางเพ่อื 6 พิมพชอื่ กลุมเมนู
��งช่ือ�ล���รา� งเมนู
เชอื่ มโยงลิงก 5 7 คลิกเลอื กการ�ร�างเมนู
1. เพ่ิม�น�าเ���ภาย�น
2. เช่ือมโยงลงิ กภ ายนอก
12
คค�ม�ม ืออื กกาา�������� ��า� �า����ม� �ม������มม��ลลงางนานออิเลิเก�ล�ก� ��อ�นอกิน�กิ � 1515 79
9.91.1 กกา�า����า�าง เงมเมนน �เพเ� พ����นกนา.า ภภกาาายยรใในสนเรเ��า ����งใเใ�ม�เนเลลูเือือพกกจห““เเนพพา ม่ิม่ิ ภ��านนยาาใเเน����เ��ว””บ็ ใหเ้ ลือก “เพมิ่ หนา เว็บ”
11 คคลลกิ ิกเลเลอื อื กกเพเพ่มิ มิ่ ��นนา าเเ������ 2 เลเลืออื กก��นนาาเพเพ����ต่� ต่�อ องกงกา�า�
2
4 คคลลิกกิปปุมุม ตตกกลลงง 3 คคลลิกกิ ปปุม มุ ตตกกลลงง
4 3
เม่อื ��างเมน��ล� 5
ใเ�มคอื่ ล�ิก�ปา งมุ เปม��น�� ล� 5
9.2กา���างเมน�เช่อื มโยงก�� เ��� ภายนอกใ�เลือก “เพิม่ URใ�L”คลกิ ปมุ ป��
9.2ก า���า ง เมน�เ ชอื่ มโยขง.ก ��กเา�ร�� สภรา ยงนเมอนกเู ใช�อ่ื เมลือโยกง“กเับพเ่ิมว็บUภRLา”ยนอกให้เลอื ก “เพ่มิ URL”
2 พิมพช่ือ���งเมน�
2 พิมพชื่อ���งเมน�
ถาตอ งกา�ใ�ลงิ กเป�� ใน 4 5 คลกิ ปมุ ตกลง 3 พิมพ URL
ถา�ตนอา งตกาาง�ใ�ใ�มล ใงิ �กคเปลิก��ใในนชอ4ง 5 คลิกปมุ ตกลง เช3ือ่ มโพยงิมภพา ยUนRอLก
�“นเาปต��า ลงิงใ�กนมใ� นใ��คนลา ิกตใานงใช�อมง” เช่ือมโยงภายนอก
“เป��ลิงกน ใ� น�นาตางใ�ม”
1 คลิกเลือกเพม่ิ URL
6 คลิกปมุ ตกลง 1 คลกิ เลอื กเพม่ิ URL
6 คลกิ ปุม ตกลง
เมื่อ��า งเมน�� ล� 7
ใเ�มคอ่ื ล�ิก�ปางุม เปม��น�� ล� 7
ใ�ค ลกิ ปุมป��
คม� อื กา��ดั ��า��ม� ���ม�ลงานอิเลก็ ��อนิก� 16
10. วิ��กา�ยอช่อื เวบ็ ใ�� ั้นลง เพ่ือใ��ามา���ด��าไดง าย��้น �ดย�านเว็บไ�ต gg.gg
80
10g .gว.g�ิ gก� า�ยอ ชอ่ื เวบ็ ใ��ั้น(1ล0ง) เพวธิ ่อื ีกใา�ร�ยาอมชาื่อ�เ�ว�็บดให�้ส�าัน้ไ1ดลง งายเคคพ��ม ื่อัดือน�้ ใกลหา��ดส้อ�ายดั กม��า�าา�รUน�ถเม�Rจว�ด็บL�จไ��ํามไต�ดล งgงาาgนย.gอขgิเลึ้น็ก�โด�อยนผิกา �น เว็บ1ไ6ซต
1 คดั ลอก URL
2 พิมพ gg.gg ว3าง URL
2 พมิ พ gg.gg ว3าง URL
ตคลง้ั ชิกอ่ื ในเวชบ็ องคตเพลงั้ ชิกื่อ่อืในเวชบ็ อ 4งเพอื่ 4 5 พิมพ5ช ่อื เพวบ็ ิมพช อื่ เว็บ
66 คคลลิกกิปมุปSุมhoSrhteonrUteRLn URL
11. เมอ่ื ไดต 1ั้ง1ชต .าอ่ืเมมเรอ่ื วปูไบ็ดใหตยเ้ัง้ ปอชลอ่ืบ่ยี เนวน็บชยื่อ gอใgหบ.ม(นg1 g1g)g เ.�gเมg�่ือเ็��ได��ต็�ลั้�งชวลื่อ�วเ�ว��็บปปย��อาาบกกน���gน�gา.gนดgังา �เด�ปสรัง�็จ�าแ�ปไลมว� �จน้� ะาตปไารมมา��กป� ฏ�้นให�ตนเ ปาาลมด�ย่ัง�รน�ปูปชอ่ืใถ�ใ�าเไมปม ขล้ึนย่� นชอื่ ใ�ม
81
ชื่องาน การสร้างแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ สด์ ว้ ยเวบ็ ไซต์ Google Sites
จุดประสงค์ท่วั ไป
1. ปฏิบัตกิ ารสร้างเว็บไซตด์ ้วย Google Sites
จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. Login เข้าใชง้ านได้
2. ใชค้ ำ�สง่ั เปลย่ี นภาษาได้
3. เลือกใช้เทมเพลตได้
4. แกไ้ ขออกแบบไซต์ได้
5. จดั การหน้าเพจได้
6. ใชเ้ มนแู ทรกได้
7. เชอ่ื มโยงลิงคภ์ ายในเวบ็ ไซต์ได้
8. เพม่ิ หน้าเพจเวบ็ ไซต์ได้
9. สร้างเมนใู นเว็บไซต์ได้
10. ย่อชือ่ และต้ังชอื่ เว็บไซต์ได้
เครอื่ งมอื วัสดุ - อปุ กรณ์
1. เครอื่ งคอมพวิ เตอรพ์ ร้อมสัญญาณอินเตอร์เนต็
2. บัญชอี ีเมลของ Google
3. รูปภาพและขอ้ มูลของเจ้าของแฟ้มสะสมผลงาน
ลำดับข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน 82
1. ให้ log in ดว้ ย e-mail ของ Google โดยผ่าน site.google.com
2. พมิ พ์ url:gg.gg/VEC_teacher เพื่อเลอื กเทมเพลตแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์
3. ตั้งชือ่ แฟ้มสะสมผลงาน
4. เมื่อได้แฟม้ สะสมผลงานแล้วให้เปลยี่ นรปู ภาพและชอ่ื ประจำตัว
ลำ�ดบั ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน
1. ให้ log in ดว้ ย e - mail ของ Google โดยผา่ น site.google.com
2. พมิ พ์ url:gg.gg/VEC_teacher เพือ่ เลือกเทมเพลตแฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์
3. ต้งั ช่ือแฟ้มสะสมผลงาน
4. เมื่อได้แฟ้มสะสมผลงานแล้วให้เปลีย่ นรปู ภาพและชอื่ ประจำ�ตัว
5. เม่ือปฏบิ ตั งิ านตามล�ำ ดบั ขั้นตอนในงานท่กี ำ�หนดเรียบร้อยแลว้ ให้ท่านตรวจสอบ
การปฏบิ ตั งิ านดว้ ยแบบตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านดว้ ยตนเอง เพอื่ เปน็ แนวทางการพฒั นา
ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ิงานคร้งั ตอ่ ไป
ขอ้ ควรระวงั
1. ควรเลอื กใช้รปู ภาพใหเ้ หมาะสมขนาดของแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
ข้อเสนอแนะ
1. ควรศึกษาข้นั ตอนการสร้างแฟ้มสะสมผลงานอยา่ งละเอียดทุกข้ันตอน เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิด
ความสับสนในขณะปฏบิ ตั งิ าน
2. ควรเปดิ ดูค่มู อื เรียนรดู้ ว้ ยตนเองหวั ขอ้ การสรา้ งเว็บไซดด์ ้วย Google Site ประกอบการ
ปฏิบัตติ ามใบงาน
83
แบบตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านดว้ ยตนเอง
ใบงานที่ 1
ชอ่ื งาน การสร้างแฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกสด์ ้วยเว็บไซต์ Google Sites
ชื่อผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน ...................................................................................................................................................................................
วนั / เดอื น / ปี ..................................................................................................................................................................................
ค�ำ ช้แี จง ใหท้ ำ�เครอื่ งหมาย P ในช่องการปฏิบัติ ซง่ึ จะแบง่ ปฏบิ ัติไมไ่ ด้ และปฏบิ ัตไิ ด้
รวจสอบการปฏบิ ตั ิงานดว้ ย ตนเอง โดยในรายการปฏบิ ตั ิได้ให้ทา่ นประเมนิ ตนเองวา่ ปฏิบัตไิ ดใ้ นระดับใด ดังน้ี
1 ปฏิบัตไิ ด้โดยมีบคุ คลอื่นหรือเพอ่ื นครแู นะนำ�
ใบงานที่ 1 2 ปฏิบัตไิ ด้ ด้วยตนเองแต่ยงั ไม่ชำ�นาญ
เง..ล..ก..็ก..า...ท.ร....ปร....อ..ฏ...น..ิบ...กิ..ัต...ส..ิ...ซ์ด....่ึง้ว....จ.ย...ะ..เ..ว.แ...็บ..บ....ไ.ง่.ซ...ป..ต...ฏ..์...G.บิ ....oัต.....o.ิไ..ม..g....่ไl..ดe......้. ป .Sแ....i.ล.tร...e.ะ.ับ...sป....ป.ฏ.....ิบ.ร.....ตังุ....ิ.ไกแ...ด...าล.้...โ.ร..ะด...ป..ยห.....ใฏ..า.น....ิบก.ร....า.ม.ัต..ย....ีขงิก....าา.้อ...ร..น..คป....ต.3.ิดฏ....อ่ .ิบ.เ...ห.ัตไ....ป..ไิน็ ดปต้ ฏ่อกิบาตั รไิ ปดฏด้ ้วิบยตั ตใิ หนใ้เอสงข่ ดอ้ ้วคยดิ คเหวาน็ มลชงำ�ในนชาญอ่ ง ข อ้ คิดเห็น เพ่ือเปน็ แนวทางพฒั นา
บตั ิได้ในระดับใด ดังน้ี
ยมีบุคคลอ่ืนหรือเพือ่ นครูแนะนา การปฏิบัติ
วยตนเองแต่ยังไม่ชานาญ ข้อท่ี รายการประเมนิ ปฏบิ ัตไิ ด้ ปฏบิ ัติ ขอ้ คดิ เห็น
วยตนเองดว้ ยความชานาญ 1 2 3 ไมไ่ ด้
ต่อการปฏิบัตใิ หใ้ ส่ข้อคิดเหน็ ลงในช่องข้อคิดเห็น เพื่อเป็นแนวทาง
1 Login เขา้ ใชง้ านได้
ปฏบิ กตั าิไรดป้ ฏบิ ัติ 2ป ฏบิ ัติ ใชค้ �ำ ขสอ้ ง่ั คเดิปเหลน็ี่ยนภาษาได้
1 2 3 3ไ ม่ได้ เลอื กใชเ้ ทมเพลตได้
4 แก้ไขออกแบบไซตไ์ ด ้
5 จัดการหน้าเพจได ้
6 ใช้เมนแู ทรกได้
7 เชอ่ื มโยงลงิ ค์ภายในเวบ็ ไซต์ได ้
8 เพิ่มหนา้ เพจเว็บไซต ์
9 สรา้ งเมนใู นเวบ็ ไซตไ์ ด้
10 ย่อชอื่ และต้ังชื่อเว็บไซต์ได ้ รวม = /30
ชื่อ ................................................. .... รวม
(...................................................) SCANSCเAพN่อื เพทื่อ�ำ ทแาแบบบบตตรวรจวสจอบสอบ
ผู้ประเมิน
https:/h/tftopsr:m//fso.rgmlse.g/leL/6L6DDzzddWWWWB6BeP6fkejpPqf9kjpq9 ลงชือ่ .....................................................
(...................................................)
ผู้ประเมิน
45
84
ไ3กก ด.าากส3จ2้จรรดััญ.า าสเ2 กรรกกญรีสยาาก้าทาอรรนางุกณเในแรกอชทกใลกอแากง้ช่ีทาราะินบสาง้รรส่ีมจเนบาาพพทอัดีสรนัฒอัฒGนAขกัญรอcาแoGนนญเ์tรงบoนoาาiเvาแแบgอ็ตoGณelลลกดgoeะอLAะlสว้oeปeินปยDcาgaรรtอเรlDriทeะrขiุปvะvnrยออeยiกeทivกุnงรุกรที่e์ตgเLณตนGำใ์e์โใใช็์ตทoชดaห้แดี่หo้rแยส้ ฟn้วลgใฟาi้มยชlามn้มe้อสกาgGสะุปหรทะoสถโลกี่ทสoดมใารชมำ�gยผยณใlไ้ผใลeหฟช์ทซลง้ส้ลDาี่ห่งึงGา์นสาrลแมioานอvาบามoeิเอกรล่งาgิเหถป็กเรลlปลใถeทนั็กช็นนาไรท้ไยฟDกอำฟรมาลrนอลiซรา์แvกิ์นใ่ึปงลeสแหิกสระ์บ้บสา(ะเแe่งปม์รยกป-(็ินกากุPไ้eันรขากตoถไรไ์าใr-ฟฟพtนชรfลล้ใำPใื�้นoนห์แ์รมolทiว่ก้ลบoาrี่สมาtะปร)fำรกแิกoรใหปันนกะาlรฏiไร้กไยoับดขิพบาุก)้จไกรั้ืนตตฟาาจใิง์ใทกนลรัดชาี่สสท์รกกน้ใ่วำร�นุกาาขมห้ารรทกองกเจราี่รแงับันัดทรยีคล ่ี มน ะร ีู
ปฏเชิบ่นัติงกาานรขจอัดงทคำรู eเ-ชP่นorกtfาoรliจoัดขทอำ� งนeัก-เรPียoนrtกfoาlรiจoัดขเกอ็บงไนฟักลเร์ขีย้อนมูลกผาลรกจัดารเกเร็บียไนฟลก์ขา้อรมแูลบผ่งลปกันาไรฟเรลีย์แนล ะ
กาเรผแยบแ่งพปรนัเ่ อไฟกสลา์แรลปะรเผะกยอแพบกร่เาอรกสสอานรหปรรอื ะแกผอนบกกาารรสสออนนหรือแผนการสอน
ทม่ี า : https://www.admissionpremium.com/it/news/5360
ที่มา : https://www.admissionpremium.com/it/news/5360
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เรื่อง การพัฒนาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชีวศึกษา
85 46
การใช้งาน Google Drive
3.2.1 แนะนำ� Google Drive
Google Drive เป็นบรกิ ารจาก Google ทที่ �ำ ใหเ้ ราสามารถน�ำ ไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้
กบั Google ซง่ึ ท�ำ ให้เราสามารถใช้ไฟล์เหลา่ นน้ั ทไ่ี หนกไ็ ด้ ไมเ่ พยี งแค่ฝากไฟลไ์ ด้เทา่ นน้ั คุณยังสามารถ
แบ่งปนั ไฟล์กับคนท่ตี ้องการและสามารถแกไ้ ขรว่ มกนั ได้จากอุปกรณ์หลายประเภท เช่น อปุ กรณม์ อื ถอื
อุปกรณ์แทปเลตหรือคอมพวิ เตอร์ส�ำ หรับพน้ื ท่ี ๆ Google ใหเ้ ราใช้บรกิ ารฟรนี ้นั อยทู่ ี่ 5GB และหาก
ต้องการพื้นท่ีมากข้ึนก็สามารถซือ้ พ้ืนทจ่ี ดั เก็บข้อมลู เพมิ่ ได้ สว่ นราคากข็ ึ้นอยูก่ ับขนาดของพ้ืนท่ีการจะ
ใช้งาน Google Drive หรือบริการต่าง ๆ ของ Google น้ัน เราจำ�เป็นจะต้องมีบัญชีอีเมลกับทาง
Gmail ก่อนถึงจะใช้งานได้ หากจะใช้บัญชีอีเมลที่ไม่ใช่ของ Gmail ก็จะใช้งานได้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
เหมอื นกับการใช้บญั ชีอเี มลของ Gmail
3.2.2 การเข้าเวบ็ ไซด์ของ Google Drive
ให้ Login ด้วย e - mail ของ Gmail โดยสามารถได้ 2 วธิ ี คือเข้าผา่ น Google App
และเขา้ ผา่ นเว็บ drive.google.com
1) การเข้า Google Drive ผ่าน Google App ไดต้ ามขั้นตอนที่ 1 ถงึ 3 ตามภาพ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การพฒั นาและประยกุ ต์ใช้แฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา
2) การเข้า Google Drive ผา่ นเวบ็ drive.google.com 86 47
47
3.2.3 การตงั้ คา่ Google Drive
การเปลยี่ นเมนเู ปน็ ภาษาไทยใน Google Drive ไดท้ เ่ี มน ู ใหเ้ ลือก Settings
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การพฒั นาและประยุกตใ์ ชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์
(ช(eeุด--ฝPPoึกorอrttบffooรlมliioดo)้ว)ใยในนตกกนาาเรอรช(จeงจุดัด-ัดเPฝกรกoึกา่อื ารrองรtเบเfรกรoรียายีlมนiรนoดพกก)้วาฒั าใยรนรนตสสกานออาแนเนรอลแจแงะบัดบปเบกรบราอื่ ะAรAงยเccรุกกttียiตาvivนร์ใeeชพกแ้LาัฒLeฟรeนสa้มaาอrสrnแnนะiลniแสnะgบมgปบผสสรลำะำAหงหยcารุกรtนบั iับตvอค์ใคeเิชรลรอู้แLอูก็ าeฟาทชaชม้ รวีrีวสอnศศะนiึกnึกสิกษgษมสาาผส์ ลำหงารนับอคิเรลูอก็ าทชรวี อศนกึ กิษสา์
48
87
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง เรอื่ ง การพัฒนาและประยุกตใ์ ชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา
88 49
3.2.4 การอัพโหลดขอ้ มลู สู่ Google Drive และการสร้างโฟลเ์ ดอร์ 49
1) การอพั โหลดขอ้ มลู จากเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ สู่ Google Drive สามารถอพั โหลด
ไฟลต์ ่าง ๆ ไดเ้ ช่น ไฟล์ World ไฟล์ PowerPoint ไฟล์ VDO เป็นต้น โดยท�ำ ตามขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้
โปรแกรมจะปรากฏหน้าต่างแสดงผลการอัพโหลดไฟล์ให้รอการอัพโหลดจนเสร็จ
ไฟลใ์ นการอพั โหลดจะไปปรากฏท่ี Google Drive
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื ง การพัฒนาและประยกุ ตใ์ ช้แฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ช(eดุ -ฝPึกoอrtบfoรlมioด)้วใยนตกนาเรอจงัดเกรื่อารงเรกียานรพกาฒั รนสาอแนลแะบปบระAยcกุ tiตv์ใeช้แLฟeaม้ rสnะinสgมผสลำหงารนับอคเิ รลูอก็ าทชรีวอศนึกิกษสา์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรับครอู าชีวศึกษา
2) การสร้างโฟลเดอร์ 89 50
3) การลบโฟลเดอร์ 50
4) การเปล่ียนชื่อโฟลเดอร์ 50
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เร่ือง การพัฒนาและประยกุ ตใ์ ช้แฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์
(e-Porชtุดfoฝlึกioอ)บใรนมกดา้วรยจตดั นกาเอรงเรเยี รนื่อกงากราสรอพนัฒแนบาบแAลcะtปivรeะยLกุ eตa์ใrชnแ้inฟgม้ สสำะหสรมับผคลรงูอาานชอีวเิ ลศ็กึกทษราอนิกส์
(ชeดุ-Pฝoึกrอtfบoรliมoด) ว้ ใยนตกนารเอจงัดกเราอ่ื รงเรกียานรกพาฒั รสนอานแแลบะปบรAะcยtุกivตe์ใชL้แeฟaม้rnสiะnสgมสผำลหงราบันคอรเิ ลอู ก็าชทวีรศอึกนษกิ าส์
5) การเปล่ียนสีโฟลเดอร์ 90 51
51
ปรากฏสใี หเ้ ลือกสที ่ี
3.2.5 การดาวน์โหลดไฟลจ์ าก Google Drive ไปคอมพิวเตอร์
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เรือ่ ง การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรื่อง การพัฒนาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
3.2.6 การแชรไ์ ฟลใ์ ชร้ ว่ มกนั 91 52
1) การแชร์ไฟลใ์ หก้ บั ผอู้ นื่ 52
2) การแชร์ไฟล์ให้บคุ คลท่ัวไปเขา้ ถึงไฟลท์ ต่ี ้องการแชร์
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอื่ ง การพฒั นาและประยุกต์ใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
ชดุ ฝึก(อeบ-Pรoมrดtfว้ oยliตoน)เใอนงกเารรื่อจงัดกกาารรพเรฒั ยี นนกาแาลรสะอปนระแยบุกบตA์ใชcแ้tiฟveม้ สLะeสaมrnผiลnงgานสำอหิเลร็กบั ทครรอูอนาชกิ ีวสศ์ กึ ษา
92 53 53 5
53
3.2.7 การนำ�ลงิ คไ์ ฟล์ท่แี ชรไ์ ปไวใ้ นเวบ็ e - Portfolio
ใหไ้ ปทแี่ ก้ไขหน้าเว็บ แลว้ ให้เลอื กเพ่ิมหรอื น�ำ ลิงค์ออก
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรอ่ื ง การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
ชดุ ฝึกอ(บeร-Pมoดrว้ tยfoตช(lนeiุดo-เฝPอ) oึกงในช(rอเetกรดุบf-ือ่oาPฝรงรloมึกiจorอดกดัt)บว้าfกoใรยรนาพlตมiรกoนฒัดเา)รเว้ นรอียใยจนางนตดัแกกเนกลราาเาอื่ะรรอรปจงสงเัดรอรกเะกยีนรายานอื่รแรุกงพกบเตารัฒกบใ์รยี าชนสนAร้แาอพกcฟแนtาัฒลiม้ แรvะนสสeบปะาอบLแรสนeะลมAแaยะผcบrกุปtลnบiตvรงin์ใาะeAชgนยcแ้Lกุอสteฟiติเำvลa้มใ์หerก็ชสnรท้แLะับineฟรสคgอaม้ รนrผสสูอnกิลำะาinสหสชงgา์มรวี นบัศผสอึกคลำิเหษรงลาอูรา็กนาบั ทชอครีวเิรอลศอู น็กึกาทิกษชสรีวาอ์ศนกึ ิกษสา์
93
ชื่องาน การสร้างโฟลเดอรจ์ ัดเก็บขอ้ มูลในแฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกสด์ ้วยการใช้งาน
Google Drive
จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. ปฏิบัตกิ ารใชง้ าน Google Drive
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. เขา้ ใช้งาน Google Drive ได้
2. การตั้งค่า Google Drive ได้
3. จัดการโฟลเดอร์และขอ้ มูลใน Google Drive ได้
4. แชรไ์ ฟล์ขอ้ มูลใน Google Drive ได้
5. ดาวนโ์ หลดข้อมูลจาก Google Drive ได้
6. น�ำ ลิงค์ไฟล์ทแี่ ชร์ไปวางใน e - Portfolio ได้
เครื่องมอื วสั ดุ - อปุ กรณ์
1. เครอื่ งคอมพวิ เตอรพ์ รอ้ มสัญญานอินเตอร์เนต็
2. บัญชอี เี มลของ Google
3. ไฟล์ขอ้ มลู ของเจา้ ของแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เช่น ขอ้ มลู การศกึ ษา
ขอ้ มูลการท�ำ งาน ขอ้ มลู ประสบการณท์ ำ�งาน ขอ้ มูลท่อี ยู่ เป็นตน้
ลำ�ดับขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน
1. ให้ log in ด้วย e - mail ของ Google ซง่ึ สามารถท�ำ ได้ 2 วิธี คือ เข้าผ่าน
Google App และเขา้ ผา่ นเวบ็ drive.google.com
2. สรา้ งโฟลเดอรพ์ รอ้ มกบั ตง้ั ชอ่ื และอปั โหลดไฟลข์ อ้ มลู ทต่ี อ้ งการจากเครอื่ งคอมพวิ เตอร์
เขา้ สู่ Google Drive โดยสามารถอัปโหลดไดท้ ง้ั ไฟล์ word ไฟล์ Power Point
ไฟล์ VDO เป็นต้น
3. ลบไฟล์ที่ไม่ต้องการออกจากไดร์
94
ขอ้ ควรร ะ1 ว. ังไม่ควรแชร54์ข..อ้ ม นแลู ชำ�ทลรเ่ีไ์ิงปฟก็นไ์ลปข์ดใอ้ว้ สมยไ่ กลูวใ้เาอนรกนแสฟำ�าล้มริงสสกะ่ว์สสน่งมไตปผวั ลใหเงชา้ผ่นน้อู ขื่นบอทัตง่ตีรตป้อนงรเกะอาชงราชน ทะเบียนบ้าน เป็นต้น
ขอ้ เสนอ แ12..นกคะวารรตเตง้ั รชีย่ือมเอ 6ขก.้อส มกกเามูลาาร่อืใรรคหปปพว้พฏฏฒัรรติบบิ น้อ้ังตััตามใิงิงปหกาาร้เ่อนนหบั นตดมปกาว้ ารมายะงุรลแสกอ�ำบมาัปดบรกโับปตบัหขฏรขล้นัวบิอ้ดจตมัตไสอปูิงลอนาทบเนใ่ไีพนดกคอื่งราราค์ร้ังนวปตทาอ่ฏมก่ีไิบปเ�ำ ขตั หา้งิ นใาจนดงเดา่รว้ยียยตบต่อรนก้อเายอรแงคลน้เ้วพหื่อใาหเขป้ท้อน็า่ มนแูลนตใวรนวทแจาฟสงม้อสบะสม
ข้อผคลวงรารนะอิ วิเังล ก็ ทรอนิกส์
3. ควรเปดิ ดูค1มู่ .อื เไรมีย่คนวรู้ดแว้ชยรต์ขนอ้ มเอูลงทหเ่ี วัปขน็ อ้ ขกอ้ ามรลูใชเอง้ ากนสาGรoสoว่ นglตeัวDเชriน่veบปัตระปกรอะบจำ�กตารัวปฏระบิ ชัตาติ ชานมใบงาน
ทะเบียนบ้าน--เ-ป--น็--ต--้น------------------------------
ข้อเสนอแนะ
1. ควรเตรยี มข้อมลู ใหพ้ ร้อมกอ่ นการอัปโหลดไปทีไ่ ดร์
2. การตง้ั ชอื่ เอกสารควรตง้ั ใหเ้ หมาะสมกบั ขอ้ มลู เพอื่ ความเขา้ ใจงา่ ยตอ่ การคน้ หาขอ้ มลู
ในแฟม้ สะสมผลงานนอิ เิ ล็กทรอนิกส์
3. ควรเปิดดคู ู่มือเรยี นรดู้ ้วยตนเองหวั ข้อการใชง้ าน Google Drive ประกอบการปฏิบตั ิ
ตามใบงาน
รปฏบิ ัติงานด้วยตนเอง 95
งานที่ 2 แบบตรวจสอบการปฏบิ ัติงานดว้ ยตนเอง
ใบงานท่ี 2
ผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ ้วยการใชง้ าน Google Drive
...........................................ช..อ่ื...ง..า..น....ก..า..ร..ส...ร..า้ .ง..โ..ฟ..เ..ด..อ..ร..จ์...ดั ..เ.กบ็ ขอ้ มลู ในแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยการใชง้ าน Google Drive
...........................................ช...่ือ..ผ...ู้ป..ฏ...บิ ...ัต..ิง..า..น..........................................................................................................................................................................................................
งจะแบง่ ปฏิบตั ิไม่ได้ และปฏวิบนั ตั /ิไดเ้ดโอืดนยใน/ รปาี ย...ก...า..ร...ป....ฏ...บิ....ตั ...ไิ ..ด...้....................................................................................................................................................
ด ดังนี้ ค�ำ ชแี้ จง ใหท้ ำ�เคร่ืองหมาย P ในชอ่ งการปฏบิ ตั ิ ซง่ึ จะแบง่ ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้ และปฏบิ ตั ิได้
รอื เพอ่ื นครูแนะนา โดยในรายการปฏบิ ัตไิ ด้ใหท้ า่ นประเมินตนเองวา่ ปฏิบัติได้ในระดบั ใด ดงั นี้
ไม่ชานาญ 1 ปฏบิ ตั ไิ ด้โดยมบี คุ คลอ่นื หรือเพอ่ื นครูแนะนำ�
วามชานาญ 2 ปฏบิ ัตไิ ด้ ด้วยตนเองแต่ยงั ไม่ชำ�นาญ
หใ้ ส่ขอ้ คดิ เห็นลงในช่องขอ้ ค ิดเห็น เพื่อเปน็ แนวทาง3 ปฏบิ ตั ไิ ด้ดว้ ยตนเองดว้ ยความชำ�นาญ
และหากมขี อ้ คดิ เห็นตอ่ การปฏบิ ัตใิ หใ้ สข่ ้อคิดเหน็ ลงในชอ่ งขอ้ คิดเหน็ เพอ่ื เป็นแนวทางพฒั นา
ปรับปรุงการปฏบิ ตั งิ านตอ่ ไป
การปฏิบัติ ปไฏมข่ไบิ ด้อัต้ทิ ี่ ข้อคดิ เหน็ การปฏบิ ตั ิ
ปฏิบตั ไิ ด้ รายการประเมนิ ปฏบิ ตั ิได้ ปฏิบตั ิ
1 2 3 ไม่ได้ ข้อคิดเห็น
123
1 เขา้ ใชง้ าน Google Drive ได้
2 การต้งั ค่า Google Drive ได้
3 จัดการโฟลเดอรแ์ ละขอ้ มูล
ใน Google Drive ได้
4 แชร์ไฟลข์ อ้ มูลใน Google Drive ได้
5 ดาวน์โหลดข้อมูลจาก Google Drive ได้
6 น�ำ ลงิ คไ์ ฟลท์ แ่ี ชรไ์ ปวางใน e - Portfolio ได้
.................................... รวม
...................................)
ผปู้ ระเมิน SCSACNANเพเพื่อื่อททำ�าแแบบบบตตรรววจจสสออบบ
ลงช่อื .....................................................
(...................................................)
ผปู้ ระเมนิ
htthpttsp:/s/:/fo/fromrms.sg.lgele//UUoommccYYzzuuppkkKK5555wwuussQQ66
54
96
กเ3เจ3 จเรรอ.ััดด.ายีีย33กรกกลลสสกาา กไไารรอททาารเเรนมมรรอไใกยีใ์ส์แกดชชาสนกาบส้เ้งรง้ามหกาาาบพามารรามนนัฒารไรพAือดรถสGนัGฒcนถ้เปอหtoาoปนนiรแvมoMoรับแาeลือgับgiแปบะclนlปLeลrปรบeeoรุงMะรdaุงsDAปะแoiแroccoยnรกfกcrtกุtciะoi้ไn้ไsvsขตขwยsgeเ์ใoเุกปoปชซfLตrลแ้tลึ่งde์ใี่ยฟยี่wกaชนนแ้มrา้oแnแลแสรrฟiปdใะะปn้ชมสลใgลแ้หสมงงGลซระ้รผผะงึ่oูปูปสลู้ใกใoแชแงมหาgบา้งบผรผ้ lนาบeใบลู้ใชนอชตตงD้ิเ้งลาGลลสาoอนก็oอนรcดอทoด้าsสจิเรจgงเลนรlอนปeา้บ็กกนก็งนัทนาDกิาโรบทรรสoปแันแอ์ึcกทร(ททนseแรแกึริ-กเกกPกปกสรรแoร็น้ไ์ูปมกrูปขโ(tภทไ้ปeภfขแoาี่มราพลlแแ-พีคioะลกวตP)นะรตาาoใมนําามนรทrราํเาสกtสาเม่ีงfสาางนoีคมนรหอlหวจาอiรใาoดัรรในือมืนอ)ถกสรสสราจูใง่ิปารปูิ่งัดนอมเแอแกรนื่กาบ่ืนบยีาราบๆนบๆถรร
รรว่่วมมกกนัันเเพพ่อื่ือใใหห้ง้งาานนเเออกกสสาารรมมีคีคววาามมสสมมบบรู ณูรณ์ย์ยงิ่ ขิ่งึ้นข้ึนแลแะลทะ่ีสทำ่ีสคำ�ัญคผัญูใ้ ผชู้ใ้ ชG้ oGoogoleglDeocDsoสcาsมสาารมถคารวถบคควุมบกคาุมร
ใกชา้งราใชนง้ พานร้อพมรเอ้ ผมยเแผพยแร่งพารนง่ เาปน็นเปหน็ นหา้ นเวา้ ็บเวไบ็ด้ไใดน้ ใกนากรานรํานาํGoGogolgeleDDoocscsไปไปใใชช้ใใ้นนกกาารรจจัดดั กกาารเรยี นการสอน
เช่น ททำำ�สสอื่ ื่อตตา่ ่างงๆ ๆใบงใาบนงาในบคใวบาคมวรู้าแมบรบู้ แทบดสบอทบดสแอบบบฝแกึ บหบดั ฝฯึกลหฯัดทฯ่ีสลามฯารทถ่ีสทาำมราว่ รมถกทนั ำ�ไรด่ว้แมลกะันสไาดม้แาลรถะ
นสาํ มไปาใรชถ้ในนาํ เไชปิงใบชร้ใิหนาเชริงจบัดรกิหาารรจเชัดน่ กากรารเชจ่นดั วการาะรจกัดารวปาระกชามุ รปเอรกะสชามุ รกเอากรปสารระกชามุ รเปพรือ่ ะรชะมุดเมพส่ือมรอะงดรม่วสมมกอันง
กรว่ามรบกันันท กึกการาบรปนั รทะกึ ชกมุ าทรที่ปุกระคชนุมมทสี ที่่วนุกคร่วนมมสีเปว่ ็นนตรว่้นม เป็นต้น
ภาพ : โปรแกรม Google docs
ภาพ : โปรแกรม Google docs
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การพัฒนาและประยุกตใ์ ชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครูอาชีวศึกษา
97 55
การใชง้ าน Google Docs
3.3.1 แนะนำ� Google Documents
Google Documents หรอื ที่เรียกสนั้ ๆ วา่ Google Docs เป็นบรกิ ารออนไลนท์ ี่ให้
เราสามารถจดั การเอกสารไดแ้ บบไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยเพยี งแคเ่ รามอี เี มลของ Gmail และเชอ่ื มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็
ระหว่างการใช้งาน เพียงเทา่ น้ีเรากส็ ามารถสรา้ ง แก้ไข เผยแพร่เอกสารไดโ้ ดยไมจ่ ำ�เปน็ ต้องมกี ารตดิ ตง้ั
โปรแกรมงานเอกสาร เช่น Microsoft Office หรือ Open Office ลงในเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ ลย และ
ท่ีสำ�คัญเราสามารถแชร์เอกสารให้กับเพ่ือนเพ่ือให้ช่วยแก้ไขข้อมูลไปพร้อม ๆ กันได้ ไม่ต้องเสียเวลา
ในการส่งอีเมลกลับไปกลับมาหรอื ประสบปญั หาอีเมลเต็มผู้รบั ไม่ได้รบั
Google Docs เป็นบริการออนไลน์ที่ไม่คิดค่าใช้จ่าย เป็นส่วนหน่ึงในชุดบริการ
ออนไลน์ Google Apps ซงึ่ ประกอบดว้ ย Gmail, Google Sites, Google Calendar และ Google
Docs
3.3.2 การเข้าเว็บไซดข์ อง Google Drive
ให้ Login ด้วย e-mail ของ Gmail โดยสามารถท�ำ ได้ 2 วธิ ี คือ เขา้ ผ่าน Google
App และเขา้ ผ่านเวบ็ drive.google.com เพื่อท�ำ บน Google Docs
1) การเขา้ Google Drive ผา่ น Google App
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรือ่ ง การพฒั นาและประยุกตใ์ ชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา
2) การเข้า Google Drive ผ่านเวบ็ drive.google.com 98 56
56
3.3.3 การเขา้ ใช้งาน Google Docs
เม่ือ Login เข้าสู่ Google Drive แล้วให้คลิกที่ “ไดรฟ์ของฉัน” แล้วให้เลือก
Google เอกสารจะไดเ้ อกสารพร้อมท่ีจะทำ�งาน
3.3.4 การต้งั ค่าเอกสาร
เอกสารท่ีจะได้จะไม่มีช่ือ (Untitled document) มีพื้นที่ทำ�งาน เมนู และแถบ
เครื่องมือที่มีลักษณะเหมือนกับโปรแกรม Microsoft Word สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การกำ�หนด
ลักษณะขอ้ ความ แบบตวั อกั ษร ขนาดตัวอกั ษร ตวั หนา ตวั เอียง ตวั ขดี เส้นใต้ ต�ำ แหน่งของขอ้ ความ
แทรกตาราง หรอื แมก้ ระทง่ั แทรกภาพ เป็นต้น
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การพัฒนาและประยุกต์ใช้แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์
(ชeุด-Pฝoกึ rอtfบoรlมioด)้วใยนตกนาเรอจงัดเกราือ่ รงเรกยี านรกพาฒั รสนอาแนลแะบปบระAยcุกtiตveใ์ ชL้แeฟa้มrสniะnสgมสผำลหงารนับอคเิรลูอ็กาทชรวี อศนกึ ิกษสา์
57
99 57
3.3.5 การใช้งานเมนไู ฟล์ (File)
เมนูไฟล์จะมีเมนูย่อยใช้งานในการแชร์เอกสาร (Share) การสร้างหน้าเอกสารใหม่
(New) การเปิดไฟล์งานเดิม (Open) หรอื นำ�เขา้ ไฟล์ Word จากทอี่ ่นื ๆ การเปล่ยี นชอ่ื ไฟล์ (Rename)
การทำ�สำ�เนา (Make a copy) การย้ายไฟลไ์ ปถังขยะ (Move to trash) เปน็ ต้น
3.3.6 การใช้งานเมนูแทรก (Insert)
เมนแู ทรก (Insert) มเี มนูย่อยส�ำ หรบั ใชแ้ ทรกรปู ภาพ (Image) ลง้ิ ค์ (Link) สมการ
(Equation) ภาพวาด (Drawing) และแทรกสิ่งอื่น ๆ โดยคลิกเลือกได้ตามต้องการ เช่น เชิงอรรถ
หรอื การอ้างองิ (Footnote) การาแทรกลิงค์ (Link) (เพอื่ เชอ่ื มโยงหลายมิต)ิ เปน็ ต้น
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เร่อื ง การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ช้แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์
(ชeดุ -Pฝoึกrอtบfoรlมioด)้วใยนตกนาเรอจงัดเกราื่อรงเรกยี านรกพาฒั รนสอาแนลแะบปบระAยcกุtiตvใ์eชL้แeฟaม้ rสnะinสgมสผำลหงารนับอคเิรลอู ็กาทชรีวอศนึกิกษสา์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำหรับครอู าชวี ศึกษา
58
100
58
การแทรกภาพ (Insert) สามารถแทรกภาพโดยการคลิกที่เมนู “แทรก” (Insert) จากน้ัน
จะปรากฏหน้าต่างเพอื่ ให้ “แทรกภาพ” (Insert Image) โดยเลือกว่าจะน�ำ ภาพมาจากที่ใด ใหก้ ดป่มุ
เลอื กภาพทจ่ี ะอพั โหลด “Choose an image toup lode” เพอ่ื อพั โหลลดรปู ทีจ่ ะใชแ้ ทรกภาพจาก
คอมพิวเตอร์
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรอื่ ง การพัฒนาและประยุกต์ใช้แฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
(e-Portfolio) ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรับครอู าชวี ศึกษา
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง เรอ่ื ง การพัฒนาและประยกุ ตใ์ ช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์
(e-Portfolio) ในการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา