1
2
ค�ำ นำ�
ยคุ ทสี่ งั คมโลกเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ จ�ำ เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะตอ้ งรบั มอื เพอื่ การจดั การศกึ ษา
ให้ทันท่วงที ประเทศไทยเป็นหน่ึงในการก้าวเข้าสู่โลกในศตวรรษที่ 21 ดังเช่นประเทศอื่น ๆ ในโลก
เช่นเดียวกัน การเปล่ียนแปลงในครั้งนี้ส่งผลให้ผู้นำ�ของประเทศไทยได้ประกาศนโยบายการขับเคล่ือน
ประเทศเป็นยุค “ไทยแลนด์ 4.0” ซ่ึงนโยบายดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับ
การจดั การศกึ ษาของไทยทจ่ี ะตอ้ งเปลยี่ นโฉมหนา้ เพอ่ื รบั มอื และสอดคลอ้ งกบั นโยบายหลกั ของประเทศ
เชน่ เดียวกนั ดว้ ย
หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาเหน็ ความส�ำ คญั และความจาํ เปน็
ท่ีต้องนําเทคโนโลยีมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยการใช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(e-Portfolio) เพ่ือการบริหารการศึกษา เพื่อให้ครูพัฒนาผู้เรียน ส่งผลถึงการจัดการเรียนรู้ ได้ครบ
กระบวนการอยา่ งมคี ุณภาพและย่งั ยนื โดยจัดทำ�ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การพฒั นาและประยุกต์
ใช้แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
สำ�หรับครูอาชีวศึกษา เพ่ือให้ครูท่ีเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรคุรุพัฒนาใช้ทบทวน และผู้ท่ีมี
ความสนใจอยากศึกษาเพิ่มเติมได้เรียนรู้สู่การนำ�ไปใช้ นอกจากนี้ยังจัดทำ�ส่ือวิดีโอสาธิตการสร้างแฟ้ม
สะสมผลงานใหค้ รเู ขา้ ใจงา่ ยซงึ่ ไดว้ าง QR CODE ไวใ้ นชดุ นเิ ทศแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองน้ี และไดน้ �ำ เนอ้ื หา
การฝกึ อบรมตามหลักสูตรมาเรยี บเรยี ง ประกอบดว้ ย
หน่วยท่ี 1 แนวคดิ การจดั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
หนว่ ยที่ 2 การประยกุ ตใ์ ชส้ ารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส(์ e - Portfolio)
หนว่ ยที่ 3 การสรา้ งแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ด้วยเว็บไซต์ (Google Sites)
ท้งั นี้ หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
ชุดนิเทศแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่ือง การพัฒนาและประยุกต์ใช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
(e - Portfolio) ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์แก่ ครูอาชีวศึกษา ผู้เรียนอาชวี ศึกษา สถานศึกษา และผู้สนใจ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนและสะท้อนผลงานครูและผู้เรียนอาชีวศึกษาผ่านแฟ้มสะสมผลงาน
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ณ โอกาสนี้ขอขอบคณุ ทกุ ท่านทม่ี สี ่วนรว่ มใหช้ ุดฝึกอบรมนี้ส�ำ เร็จลลุ ่วง
ดว้ ยดี
(ดษุ ฎี น้อยใจบุญ)
ศกึ ษานิเทศก์ช�ำ นาญการพเิ ศษ
มกราคม 2563
3
ค�ำ นิยม
ขอช่ืนชมและขอบคุณ ผู้เขียนในฐานะศึกษานิเทศก์ผู้ประสานงานหลักสูตรคุรุพัฒนาของ
หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก ์ และเปน็ วทิ ยากรหลกั สตู รการพฒั นาแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio)
ที่ได้นำ�ประสบการณ์จาการนิเทศสถานศึกษา การเยี่ยมชั้นเรียน และการเป็นวิทยากรฝึกอบรมมา
รวบรวมองคค์ วามรแู้ ละพฒั นาชดุ นเิ ทศแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เรอ่ื งการพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชแ้ ฟม้ สะสม
ผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning สำ�หรับครู
อาชีวศึกษา เพ่ือให้ครูได้ทบทวนเน้ือหาจากการฝึกอบรมสู่การนำ�ไปใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้และ
การสรา้ งแฟ้มสะสมผลงาน
รายละเอยี ดเนอื้ หาทง้ั หมดในคมู่ อื แบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองนี้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ วธิ กี ารปรบั รปู แบบ
การสอนแบบเดมิ มาเปน็ ครใู นศตวรรษที่ 21 สร้างบรรยากาศการเรยี นรใู้ ห้ผ้เู รียนสร้างองค์ความรจู้ าก
ภายในตนเอง เปลี่ยนการสอนเป็นการใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรจู้ ากกจิ กรรม Active Learning เนือ้ หาส�ำ คัญ
อีกส่วนหนง่ึ คือวธิ ีการสรา้ งแฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio) ทีผ่ เู้ ขียนได้ร้อยเรยี งล�ำ ดับ
ขนั้ การสร้างแฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ให้เข้าใจงา่ ยครูสามารถศึกษาด้วยตนเอง
เป็นการทบทวนหลังจากการฝึกอบรม ความสำ�คัญแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio)
นอกจากจะเกบ็ ประวตั แิ ละผลงานของครแู ละกจิ กรรมของผเู้ รยี นแลว้ ยงั เปน็ สอ่ื การสอนของครแู ละคลงั
ความรู้ท่ีผู้เรียนจะสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาท่ีต้องการศึกษา และเป็นช่องทางการสื่อสารสำ�หรับครู
และผู้เรียนผ่านระบบไอที ขอเป็นกำ�ลังใจในการนำ�ประสบการณ์มาถ่ายทอดและแลกเปล่ียนเรียนรู้
เพื่อพฒั นาการจดั การศึกษาไทยและการพฒั นางานศึกษานเิ ทศก์ต่อไป
(ดร.ผอ่ งพรรณ จรัสจินดารตั น)์
หวั หนา้ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์
4
สารบัญ
ค�ำ ชแี้ จง 4
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 8
หนว่ ยที่ 1 แนวคดิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 17
1.1 การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) 18
1.2 ทักษะในศตวรรษที่ 21 32
1.3 การจัดการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 37
แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยท่ี 1 43
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 1 47
หน่วยที่ 2 การประยุกตใ์ ช้สารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio)) 48
2.1 ความรเู้ บอื้ งต้นเกี่ยวกับแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) 49
2.2 การประยุกต์ใช้แฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) 50
แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 2 57
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 2 61
หนว่ ยที่ 3 การสร้างแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ สด์ ว้ ยเว็บไซต์ (Google Sites) 62
3.1 การสรา้ งเวบ็ ไซต์ด้วย Google Sites 63
3.2 การใชง้ าน Google Drive 83
3.3 การใชง้ าน Google Docs 95
3.4 การใชง้ าน Google Slide 106
3.5 การใช้งาน Google Sheet 118
3.6 การใช้งาน Google Form 126
3.7 การใชง้ าน Google Form ทำ�ข้อสอบ 143
3.8 การใชง้ าน YouTube 153
3.9 การใชง้ าน Google Calendar 162
3.10 การใชง้ าน Google Maps บน Google Sites 170
แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 3 175
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 3 179
ภาคผนวก 180
- วิดีโอสาธิตการสรา้ งแฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) 181
- แบบทดสอบหลงั เรียน 184
- เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน 193
บรรณานุกรม 194
5
ค�ำ ช้แี จง
หลักการ
ชุดนิเทศแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง การพัฒนาและประยุกต์ใช้แฟ้มสะสมผลงาน
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Leaning ส�ำ หรบั ครอู าชวี ศกึ ษา
ครผู สู้ อนสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองได้ โดยใชเ้ วลาในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง จ�ำ นวน 11 วนั ๆ ละ 2 ชวั่ โมง
รวม 22 ชวั่ โมง ซ่งึ มเี น้อื หาสาระสำ�คญั ดังน้ี
หนว่ ยท่ี 1 แนวคิดในการจัดการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21
หนว่ ยที่ 2 การประยุกตใ์ ชส้ ารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio))
หนว่ ยที่ 3 การสรา้ งแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยเวบ็ ไซด์ (Google Sites)
จุดมงุ่ หมาย
1. เพอื่ ใหค้ รผู ู้สอนมคี วามร้คู วามเข้าใจแนวคิดการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
2. เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนประยกุ ตใ์ ชส้ ารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio))
ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Leaning
3. เพอ่ื ใหค้ รผู สู้ อนสามารถสรา้ งแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยเวบ็ ไซด์ (Google Sites)
สว่ นประกอบของชุดนิเทศแบบเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง
1. ค�ำ ชี้แจง
2. เอกสารเนอ้ื หา
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบ
การดำ�เนินการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
การด�ำ เนนิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองดงั กลา่ ว ไดแ้ บง่ ขนั้ ตอนการเรยี นรเู้ ปน็ 2 ขนั้ ตอนดว้ ยกนั คอื
1. ภาคทฤษฎี : ให้ศึกษารายละเอียดของเนื้อหาด้วยตัวครูผู้สอนเองในหน่วยที่ 1 และ
หนว่ ยท่ี 2 เพื่อใหท้ ราบถงึ แนวคดิ ในการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 และการประยกุ ต์ใช้สารสนเทศ
(แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - portfolio)) ในการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Leaning
และความรูท้ ีจ่ ำ�เปน็ ในการนำ�ไปสร้างแฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์
2. ภาคปฏิบัติ : ให้ศึกษาหน่วยที่ 3 เพื่อให้ทราบรายละเอียดข้ันตอนการปฏิบัติการสร้าง
แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเว็บไซด์ (Google Sites) และฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามใบงาน
ประกอบเนือ้ หา เพ่อื ใหค้ รูผสู้ อนไดฝ้ กึ ปฏิบตั สิ ร้างแฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio)
6
บทบาทของผู้เรียนรู้ดว้ ยตนเอง
1. ศกึ ษาคำ�ชีแ้ จงชดุ นเิ ทศแบบเรยี นรู้ด้วยตนเอง
2. วางแผนการเรียนรู้ตามค�ำ ชี้แจง เพอื่ ประสทิ ธภิ าพของการเรียนรูด้ ้วยตนเอง
3. ศกึ ษาท�ำ ความเขา้ ใจในแตล่ ะเนอื้ หา โดยการสรปุ สาระส�ำ คญั ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ของแตล่ ะ
หัวขอ้
4. ปฏบิ ตั ติ ามใบงานของแตล่ ะหวั ขอ้ โดยศกึ ษาขนั้ ตอนรายละเอยี ดใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นลงมอื ปฏบิ ตั ิ
5. เพื่อให้การฝึกปฏิบัติเกิดประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนรู้ด้วยตนเองต้องฝึก
และทบทวนในแตล่ ะใบงานให้เกิดความช�ำ นาญ
6. ให้ประเมินตนเองในแบบตรวจสอบการปฏิบัติงานด้วยตนเองในแบบประเมิน Google
Form
การทดสอบ
การทดสอบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง แบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ คือ
1. การทดสอบก่อนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการประเมินความรู้พื้นฐานของผู้เรียนรู้
ด้วยตนเอง เพือ่ พิจารณาว่าผู้เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองมีความรูค้ วามเข้าใจมากน้อยเพียงใดกอ่ นท่จี ะเร่มิ เรียนรู้
ด้วยค่มู อื เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง จำ�นวน 40 ขอ้
2. การทดลองระหว่างการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นการประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียน
ดว้ ยตนเองจากการฝกึ ปฏบิ ตั ติ ามใบงานประจ�ำ หวั ขอ้ ทไี่ ดเ้ รยี นรใู้ นแตล่ ะหวั ขอ้ เพอื่ พฒั นาความกา้ วหนา้
ของผเู้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
3. การทดสอบเมอ่ื สน้ิ สดุ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองดว้ ยแบบทดสอบหลงั เรยี น เปน็ การประเมนิ
เพื่อสรุปในภาพรวมของการเรียนรู้ด้วยตนเองท้ังในด้านความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการปฏิบัติ
โดยพิจารณาจากผลงานท่ีได้ปฏิบัติ รวมทั้งความรู้สึกจากการเรียนรู้ด้วยคู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเอง
จ�ำ นวน 40 ขอ้
7
ระยะเวลาที่ใชใ้ นการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
ในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองไดก้ �ำ หนดระยะเวลาการเรยี นรทู้ ง้ั ในภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
เน้ือหา/กิจกรรม กจิ กรรม / เวลา
ภาคทฤษฎี ภาคปฏบิ ัติ
1. การทดสอบกอ่ นการเรยี นด้วยตนเองดว้ ยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 40 นาท ี -
เพื่อประเมินความรู้
2. แนวคดิ ในการจัดการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 1.20 ชม. -
3. การประยุกต์ใชส้ ารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 20 นาที -
(e - Portfolio))
4. การสร้างแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ดว้ ยเว็บไซด์
(Google Site)
4.1 การสร้างเวบ็ ไซดด์ ้วย Google Sites 30 นาที 90 นาที
4.2 การใช้งาน Google Drive 30 นาท ี 90 นาที
4.3 การใช้งาน Google Docs 30 นาที 90 นาที
4.4 การใชง้ าน Google Slide 30 นาท ี 90 นาที
4.5 การใชง้ าน Google Sheet 30 นาท ี 90 นาที
4.6 การใชง้ าน Google Form 30 นาท ี 90 นาที
4.7 การใช้งาน Google Form ท�ำ ข้อสอบ 30 นาท ี 90 นาที
4.8 การใช้งาน YouTube 30 นาที 90 นาที
4.9 การใชง้ าน Google Calendar 30 นาท ี 90 นาที
4.10 ผลงานครูต้นแบบในการจดั ทำ�ใช้แฟ้มสะสมผลงาน 60 นาท ี -
อเิ ล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio)
5. การประเมินผลหลงั การเรยี นรูด้ ้วยตนเองด้วยแบบทดสอบหลงั เรียน 40 นาท ี -
รวม 8.30 ชม. 13.30 ชม.
รวมทั้งหมด 22 ชัว่ โมง
8
ตารางการเรียนร้ดู ้วยตนเอง
เวลา ช่ัวโมงที่ 1 ช่ัวโมงท่ี 2
วัน
1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยที่ 2 แนวคิดในการจัดการเรยี นรู้
วนั ท่ี 1 หน่วยท่ี 1 แนวคิดในการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 (ตอ่ )
ในศตวรรษที่ 21 หนว่ ยที่ 3 การประยกุ ตใ์ ชส้ ารสนเทศ
(แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์(e-portfolio))
วนั ท่ี 2 4.1 การสรา้ งเวบ็ ไซด์ด้วย Google Sites 4.1 การสรา้ งเวบ็ ไซด์ Google Sites (ตอ่ )
วันท่ี 3 4.2 การใช้งาน Google Drive 4.2 การใช้งาน Google Drive (ต่อ)
วนั ท่ี 4 4.3 การใชง้ าน Google Docs 4.3 การใช้งาน Google Docs (ตอ่ )
วันท่ี 5 4.4 การใชง้ าน Google Slide 4.4 การใชง้ าน Google Slide (ตอ่ )
วนั ท่ี 6 4.5 การใชง้ าน Google Sheet 4.5 การใชง้ าน Google Sheet (ตอ่ )
วนั ท่ี 7 4.6 การใชง้ าน Google Form 4.6 การใช้งาน Google Form (ต่อ)
วันที่ 8 4.7 การใช้งาน Google Form 4.7 การใช้งาน Google Form
ทำ�ข้อสอบ ท�ำ ขอ้ สอบ (ตอ่ )
วนั ท่ี 9 4.8 การใช้งาน YouTube 4.8 การใชง้ าน YouTube (ต่อ)
วันท่ี 10 4.9 การใช้งาน Google Calendar 4.9 การใชง้ าน Google Calendar (ต่อ)
วันที่ 11 4.10 ผลงานครตู น้ แบบในการจัดท�ำ 5. การทดสอบหล’ั การเรยี นรู้
ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ดว้ ยตนเอง
(e - Portfolio)
หมายเหตุ
ตารางนี้กำ�หนดเพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองให้มีประสิทธิภาพ
ทั้งนสี้ ามารถเปลี่ยนแปลงและยดื หย่นุ ไดต้ ามความเหมาะสมของผู้เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง
9
10
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรอื่ ง การประยุกต์ใช้แฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Portfolio)
ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
คำ�ชแี้ จง 1. แบบทดสอบนเี้ ปน็ แบบทดสอบชนดิ เลอื กตอบ จ�ำ นวน 40 ข้อ เวลา 40 นาที
2. แบบทดสอบในแตล่ ะขอ้ มี 4 ตวั เลือก ก ข ค หรือ ง โดยใหท้ ่านเลอื กท�ำ
เครอื่ งหมาย X ทบั ตัวเลอื ก ก ข ค หรือ ง ที่ถกู ทส่ี ดุ เพียงตวั เลือกเดียวในกระดาษ
คำ�ตอบ
3. กรณีท่านต้องการเปล่ยี นค�ำ ตอบ ให้ท่านท�ำ เครอื่ งหมาย = ทับตวั เลอื กเดิม
และท�ำ เครอื่ งหมาย X ทบั ตวั เลอื กทที่ า่ นเลอื กใหม ่ เชน่ ทา่ นตอ้ งการเปลย่ี นตวั เลอื ก
oก ) เ=Xกป น็ ข ค Xค ง
หนว่ ยท่ี 1 การจดั กจิ กรรมการเรียนรูเ้ ชงิ รุก แบบ Active Learning จ�ำ นวน 15 ข้อ
1. การที่ผู้เรียนไดเ้ รียนร้แู บบ Active Learning จะสง่ ผลดีตอ่ ผู้เรียนในเรอื่ งใดส�ำ คญั ทีส่ ุด
ก. ผ้เู รียนมีความสนกุ สนานจากการเรยี นรู้
ข. ผ้เู รยี นเกดิ การเรียนรอู้ ย่างแท้จรงิ ตามศกั ยภาพ
ค. ผเู้ รียนไดร้ บั ประสบการณ์จากการเรยี นอยา่ งหลากหลาย
ง. ผู้เรยี นไดเ้ รียนรูไ้ ปพร้อมกบั ครูและเพ่ือน ๆ ในชัน้ เรยี น
2. กจิ กรรมการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกบั Active Learning มากทีส่ ุดคือขอ้ ใด
ก. ผเู้ รยี นกรอกแบบสอบถามการเลือกเรียนตามชมรม
ข. ครใู ห้ผู้เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั จากใบความรู้และใบงาน
ค. ครูสาธิตวธิ กี ารจัดท�ำ แฟม้ สะสมผลงาน e - Portfolio
ง. ผู้เรียนท�ำ e - Portfolio โดยใช้ Canva และ Google sites
3. บทบาทของครทู เี่ นน้ การจดั การเรียนรู้เชงิ รุก แบบ Active Learning ควรเปน็ ข้อใด
ก. ครูเปน็ ผกู้ �ำ กับอ�ำ นวยการ ผู้เรยี นเป็นผูแ้ สดง
ข. ครูเปน็ ตวั อย่างและเป็นผู้นำ� ผ้ตู ามทด่ี ี
ค. ครูต้องเปน็ ผรู้ อบรูแ้ ละเรียนรเู้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ
ง. ครูต้องจดั การเรยี นรูเ้ พือ่ เน้นใหผ้ ู้เรียนเข้ามหาวทิ ยาลัยได้
11
4. การจัดการเรยี นการสอนขอ้ ใด ตอบสนองการเรียนรเู้ ชงิ รุกแบบ Active Learning นอ้ ยทส่ี ดุ
ก. การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมอื
ข. การจดั การเรียนการสอนโดยใชเ้ ครือขา่ ยเปน็ ฐาน
ค. การจดั การเรยี นการสอนโดยใชก้ ารวิจยั เป็นฐาน
ง. การจัดการเรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน
5. การจดั การเรียนการสอนขอ้ ใด ทสี่ ่งเสรมิ ทักษะด้านความรู้ (3R) ของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21
ไดต้ รงมากที่สดุ
ก. การจัดการเรยี นการสอนใหร้ ว่ มมอื และท�ำ งานเป็นทีม
ข. การจัดการเรียนการสอนให้เขา้ ใจบทบาทต่างวฒั นธรรม
ค. การจดั การเรียนการสอนให้สร้างสรรค์และปรับนวตั กรรม
ง. การจัดการเรยี นการสอนใหอ้ ่านออก เขยี นได้ และคิดเลขเปน็
6. การจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี 21 ถ้าพดู ถึงกรอบแนวคิด ข้อใดสำ�คญั นอ้ ยท่ีสุด
ก. ครูตอ้ งลดบทบาทการสอนไปเปน็ โคช้
ข. ครูตอ้ งเป็นมืออาชีพให้ได้วิทยฐานะสูงขึ้น
ค. บทบาทของผเู้ รยี นต้องเป็นผู้เรยี นรู้ด้วยตนเอง
ง. ต้องก้าวข้ามสาระวิชาไปสู่การเรียนรศู้ ตวรรษที่ 21
7. การจัดการเรียนการสอนขอ้ ใด ที่ส่งเสริมทกั ษะชีวติ และอาชีพ ของผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21
ได้ตรงมากทส่ี ดุ
ก. การใหผ้ ู้เรยี นไปดูภาพยนต์ท่ีเสนอเก่ียวกับบริษัทท่สี ำ�เรจ็
ข. การใหผ้ ู้เรียนไปฟังบรรยายจากอาจารย์ทม่ี คี วามส�ำ เร็จสงู
ค. การให้ผเู้ รียนปฏิบัตงิ านโครงงานในสถานประกอบการท่ไี ด้มาตรฐาน
ง. การให้ผู้เรยี นออกส�ำ รวจอาชีพทปี่ ระชาชนในทอ้ งถนิ่ ชอบและนับถอื
8. การจดั การเรยี นการสอนในขอ้ ใดที่สง่ เสริมการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรมมากทส่ี ดุ
ก. การเรยี นรแู้ บบโตว้ าที (Student debates)
ข. การเรยี นรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning)
ค. การเรียนรู้แบบการเขยี นบันทึก (Keeping journals or logs)
ง. การเรยี นรแู้ บบผู้เรยี นสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions)
9. บทบาทของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ทเ่ี ปลี่ยนไปจากเดมิ มากทีส่ ุด คอื เร่ืองใด
ก. มีอิสระและเลือกเรยี นสง่ิ ทต่ี นพอใจและตอ้ งการเรยี นรู้
ข. มีอิสระในการเลน่ เกมสนกุ สนานเพราะเปน็ การเรียนรู้
ค. มอี ิสระในการดดั แปลงนวตั กรรมและวธิ ีการเรยี นรู้ของตนเอง
ง. มอี ิสระในการตรวจสอบหาความจริงทุกอยา่ งท่ีต้องการเรยี นรู้
12
10. บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ทเ่ี ปล่ียนไปจากเดิมมากท่สี ุด คอื เร่อื งใด
ก. การลดบทบาทการประเมนิ ผลโดยให้ผ้เู รยี นประเมินตนเอง
ข. การลดบทบาทการบอกความรเู้ ปน็ การกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเรียนรูเ้ อง
ค. การเพม่ิ โอกาสในการเรียนรู้และศึกษาตอ่ เพือ่ พฒั นาตนเอง
ง. การใช้สื่อเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์
11. การจัดการเรียนการสอนในขอ้ ใดทีม่ ุ่งพฒั นาทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking
Skills) ไดม้ ากท่สี ุด
ก. การวเิ คราะห์และน�ำ เสนองานกลุ่มทีเ่ สรจ็ แล้ว
ข. การใหผ้ เู้ รยี นสอบถามอาชีพท่ีน่าสนใจของชมุ ชน
ค. การผเู้ รยี นส�ำ รวจข้อมลู ความสนใจของคนในท้องถ่ิน
ง. การให้ผเู้ รียนวิเคราะหข์ า่ ว/โฆษณา แล้วสรปุ ขอ้ เท็จจรงิ
12. ครูผ้สู อนในขอ้ ใดใช้ทักษะการเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21 มาพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนไดเ้ หมาะสม
ทสี่ ุด
ก. ครแู ดง จัดท�ำ สอ่ื การสอนแบบออนไลนผ์ า่ น Google Sites
ข. ครขู าว สอนและทดสอบผเู้ รียนผา่ นมือถอื ระบบ Andirons
ค. ครเู ขยี ว ให้ผ้เู รียนทำ�แผนภูมิเสนองานดว้ ยโปรแกรม Power Point
ง. ครูเหลอื ง การให้ผูเ้ รียนทำ�ใบงานส่งทาง email หรอื ทาง line
13. ข้อดีของการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning ยกเว้นข้อใด
ก. กิจกรรมท่ีเป็นพลวัตผ้เู รยี นมีสว่ นรว่ มในทุกกจิ กรรม
ข. กจิ กรรมทท่ี า้ ทายและใหโ้ อกาสผู้เรยี นในการเรยี นรู้
ค. กจิ กรรมทีค่ รูมบี ทบาทส�ำ คัญในการขับเคล่ือนการเรยี นรู้
ง. กิจกรรมสะท้อนความต้องการและศกั ยภาพของผเู้ รียน
14. การเรยี นรู้แบบ Active Learning ขอ้ ใด มคี วามหมายความสอดคลอ้ งน้อยทีส่ ดุ
ก. การเรยี นรู้โดยผ่านการลงมอื ทำ�งาน
ข. การเรียนรู้ผ่านการทำ�โครงงาน
ค. การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการแก้ปญั หา
ง. การเรยี นร้จู ากข่าวสารทางสื่อทวี ี
15. การจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ท่ีเนน้ มาตรฐานงานท่เี กี่ยวข้องกบั งานอาชีพ
ผู้สอนต้องให้ความส�ำ คัญเรื่องใดที่สดุ
ก. การใหล้ งมอื ปฏบิ ัติแบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning)
ข. การใหศ้ กึ ษาลักษณะงานท่เี กีย่ วข้องสมั พนั ธอ์ ย่างรอบด้าน
ค. การสอนทีเ่ น้นทกั ษะกระบวนการคดิ (Thinking Based Learning)
ง. การสอนเน้นความสัมพนั ธ์กับหลกั สูตรและสถานประกอบการ
13
หน่วยท่ี 2 การประยกุ ตใ์ ช้แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ (e - Portfolio) จ�ำ นวน 10 ข้อ
16. แฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ใหป้ ระโยชนใ์ นขอ้ ใดนอ้ ยท่สี ดุ
ก. สวยงาม สรา้ งความพึงพอใจให้กบั ผู้เข้าชมผลงาน
ข. ประหยดั ลดปรมิ าณทรพั ยากร เชน่ กระดาษ หมกึ
ค. การเข้าถงึ ผลงานสะดวก รวดเรว็ และเป็นระบบ
ง. เกบ็ สะสมผลงานไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ ภาพ เสยี ง วดิ โี อ ข้อความ
17. แฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ของครมู ีหลายลกั ษณะยกเวน้ ลกั ษณะตามขอ้ ใด
ท่ีครไู ม่นิยมน�ำ มาใชป้ ระโยชน์
ก. เป็นเครอ่ื งมือส�ำ หรับการเรยี นรจู้ ากการบันทึก การค้นควา้ และแสดงความคิดเหน็
ข. เปน็ เคร่ืองมือสำ�หรับแสดงสมรรถนะ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญและความคิดเหน็
ค. เปน็ เครอื่ งมอื ส�ำ หรบั การประเมนิ ความสามารถตนเองแสดงจดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยทคี่ วรพฒั นา
ง. เปน็ เครอ่ื งมอื แสดงถงึ ความสามารถและทกั ษะการใชส้ อ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องเจา้ ของผลงาน
18. การเผยแพร่ผลการจัดการเรยี นรูจ้ ากแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio)
ควรเลอื กใชข้ ้อมูลใดของแฟม้ สะสมผลงาน
ก. ผลงานดีเด่นจากการจดั การเรยี นรู้ทค่ี ัดเลอื กและประเมนิ แล้ว
ข. ผลงานของผู้เรียนท่มี ีคะแนนการประเมนิ สูงกว่าเกณฑท์ ี่กำ�หนด
ค. ผลการวิเคราะห์จดุ เดน่ จุดด้อยของผลงานสะสมท่ีเสนอแนะไว้แลว้
ง. ผลงานภาพถา่ ย กิจกรรมและค�ำ นิยมของเพือ่ นครแู ละผู้บริหาร
19. แฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ของครสู ามารถใช้เป็นแหลง่ เรียนรู้ของผู้เรยี น
ไดห้ รอื ไม่ เพราะอะไร
ก. ไมไ่ ด้ เพราะผ้เู รยี นไมม่ คี วามรู้เร่อื งแฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio)
ข. ได้ เพราะครสู ามารถเกบ็ กจิ กรรมการสอนทดี่ ไี วแ้ ลว้ ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ มาเรยี นรไู้ ดผ้ า่ น Web
ค. ไมไ่ ด้ เพราะแฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) เปน็ ของส่วนตวั
ง. ได้ เพราะครสู ามารถสอ่ื สารกับผเู้ รยี นโดยผา่ นแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
(e - Portfolio) ตลอดเวลา
20. ผลการจดั การเรียนรูจ้ ากแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ที่ใช้เปน็ กจิ กรรม
การเรียนรสู้ �ำ หรับผ้เู รียน ขอ้ ใดเหมาะสมทส่ี ดุ
ก. ไฟล์ วิดีโอการรับรางวัลดเี ดน่ ของผ้เู รียน
ข. ไฟล์ เกยี รตบิ ัตร โลห่ ์ ผลงานดีเด่นของผู้เรียน
ค. ไฟลร์ ูปภาพ กิจกรรมการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นดเี ดน่
ง. ไฟลว์ ิดีโอ การปฏิบัตโิ ครงงานของผู้เรียนดเี ด่น
14
21. แฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio) ของครูให้ประโยชน์โดยตรงกับครูเจา้ ของแฟม้
สะสมในเรือ่ งใดนอ้ ยที่สดุ
ก. ใชเ้ สนอผลการปฏบิ ัติงานเพือ่ ขอความดคี วามชอบประจำ�ปี
ข. ใชเ้ สนอผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ ขอเล่อื นตำ�แหน่ง / วิทยฐานะ
ค. ใช้ในการบนั ทึกความทรงจำ�หรือสง่ิ ดีดใี นชีวติ การปฏิบตั งิ าน
ง. ใชส้ �ำ หรับจดั เก็บตา่ งที่ปฏิบตั แิ ตไ่ ม่ตอ้ งการใหบ้ ุคคลอื่นทราบ
22. การประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นเพอ่ื ตอ้ งการทราบวา่ ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรจู้ รงิ ตามผลการเรยี นรู้
ที่คาดหวงั หรอื ไม่ การปฏิบตั ติ ามข้อใดไดผ้ ลการเรยี นร้ตู ามสภาพจริงมากทส่ี ดุ
ก. การประเมนิ โดยการทดสอบและสอบถามผเู้ รยี นด้วยตนเอง
ข. การประเมนิ นกั เรียน ผปู้ กครองและจากเพื่อนนักเรยี นเสนอ
ค. การประเมินจากแฟ้มสะสมงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio) ของผเู้ รยี น
ง. การประเมนิ จากการทดสอบรอบดา้ นแบบ 360 องศา ของผูเ้ รียน
23. การจัดการเรยี นรตู้ ามข้อใดที่ผ้เู รียนจะมีความรู้ ทกั ษะในเรือ่ งนน้ั ไดน้ านหรอื ตลอดไป
ก. ผู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ตั ิและพัฒนาความรูด้ ว้ ยตนเอง
ข. ผเู้ รยี นไดป้ ฏิบตั ิตามทีค่ รูเสนอแนะและก�ำ หนดแนวทางไว้
ค. ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรูต้ ามความสนใจและความต้องการของตนเองทกุ อยา่ ง
ง. ผ้เู รยี นได้เรยี นรจู้ ากขนั้ ตอนและวิธีการท่ีกำ�หนดอย่างละเอยี ดทุกขนั้ ตอน
24. การน�ำ ผลวจิ ยั การจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ ควรให้
ความส�ำ คัญในเรอ่ื งใดมากทสี่ ดุ
ก. สภาพบริบทของโรงเรยี นและศกั ยภาพของผู้เรียน
ข. การสนับสนนุ ของผบู้ รหิ าร เพ่อื นครูและผู้ปกครอง
ค. ผลกระทบท่จี ะเกิดกับครูผู้สอนทัง้ ในทางบวกและลบ
ง. งบประมาณและสอื่ อปุ กรณส์ นบั สนนุ ในการด�ำ เนินการ
25. การเรยี นรู้แบบ Active Learning ท่กี ล่าววา่ ใหผ้ ู้เรยี นเรียนร้ตู ามความสนใจและตามศักยภาพ
มีความหมายตรงกับขอ้ ใดมากท่ีสดุ
ก. ผู้เรยี นอยากเรยี นอะไร ใชเ้ วลาเรียนเท่าไรก็ได้ตามความสมคั รใจ
ข. ผู้เรยี นเรยี นร้แู ล้วพบวา่ เรียนไมไ่ ด้กเ็ ลกิ เรียนและไปเรยี นเรื่องอื่น
ค. ผู้เรยี นเลอื กวธิ ีการเรยี นเองไดแ้ ละใชเ้ วลาเรยี นตามความสามารถของแต่ละบุคคล
ง. ผู้เรยี นเลือกวิธีการเรยี นเองและเงอ่ื นไขเวลาเรยี นตามความตอ้ งการของตนเองได้
15
หน่วยท่ี 3 การสร้างแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ดว้ ยเวบ็ ไซต์ (Google sites) จ�ำ นวน 15 ขอ้
26. การสมคั รใช้ Google Sites ตอ้ งสมคั รใช้ตามข้อใด
ก. สมัครผา่ น Hotmail.com
ข. สมัครผา่ น Gmail.com
ค. สมคั รผา่ น Google Dive
ง. สมคั รกบั ครูผ้สู อนในแต่ละรายวิชา
27. วธิ ีการยอ่ ช่ือใหเ้ ว็บ (Web) สน้ั ลง เพอ่ื จดจำ�ง่าย ต้องผา่ น Web ใด
ก. www.www
ข. Hotmail
ค. gg.gg
ง. Google Dive
28. Google Dive มหี น้าทส่ี ำ�คญั ตามข้อใด
ก. สรา้ งและพฒั นาเวบ็ ไซต์
ข. ตัวควบคมุ Google.com
ค. ตรวจสอบข้อมูลใน Google
ง. พนื้ ที่สำ�หรับเกบ็ ข้อมูลต่างๆ
29. ถ้าเปรียบ Google Dive เปน็ ห้อง ส่วนประกอบภายใน Google Dive ควรเป็นอะไรล�ำ ดบั ต่อไป
ก. Fonder data
ข. Google Map
ค. Google Docs
ง. Memory Dive
30. การสร้างเอกสารออนไลน์ ตอ้ งเลอื กใช้ขอ้ ใด
ก. Google Sheets
ข. Google Map
ค. Google Docs
ง. Google Forms
31. การน�ำ เสนอผลงานการจดั การเรยี นรทู้ ่ีประสบผลส�ำ เรจ็ ไวใ้ นแฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
(e - Portfolio) ควรเลอื กใช้ เมน/ู โปรแกรมใด
ก. Power Point
ข. Google Map
ค. Google Docs
ง. Google Slides
16
32. Google Slides แตกตา่ งจากโปรแกรม Power Point ในเร่อื งใดมากทสี่ ุด
ก. ความสวยงามการนำ�เสนอ
ข. การใชง้ า่ ย / ยากแตกตา่ งกนั
ค. การอบั โหลดออนไลน์ได้โดยตรง
ง. Power Point ตอ้ งตดิ ตง้ั โปรแกรม
33. การสร้างแบบสดสอบออนไลน์ ควรเลอื กใชต้ ามขอ้ ใด
ก. Google Sheets
ข. Google Maps
ค. Google Docs
ง. Google Forms
34. การใชป้ ระโยชนจ์ าก Google Forms ข้อใดใชป้ ระโยชนไ์ ด้น้อยหรือไม่ไดเ้ ลย
ก. สร้างแบบสอบถามสำ�รวจความคิดเหน็ ผา่ น Web
ข. สร้างแบบทดสอบผา่ น Web
ค. สรา้ งแบบลงทะเบยี นออนไลน์
ง. ใช้สมการวิเคราะหข์ ้อมลู ได้
35. การจะใช้ Google Forms ไดต้ อ้ งปฏิบัติตามขอ้ ใด
ก. ซอื้ โปรแกรม Google Forms
ข. ลงชื่อเขา้ ใช้ Gmail หรอื Google Apps
ค. สมคั รสมาชิกผ่านระบบออนไลน์
ง. ลงชื่อเข้าใช้ โปรแกรม Excel
36. กรณีหาเมนู Google Forms ไมพ่ บ ควรด�ำ เนินการตามข้อใด
ก. กลับไป Gmail และคน้ หา Google Forms
ข. ตรวจสอบ Username และ Password
ค. ยกเลกิ แลว้ ปิดเคร่อื งเปดิ ใหม่
ง. เมนู Dive แล้วเพ่มิ Google Forms
37. การใช้ Google Forms สร้างแบบสอบถาม เราสามารถก�ำ หนดตำ�แหนง่ คำ�ตอบกลบั ไดห้ รอื ไม่
ก. ไมไ่ ด้ เพราะโปรแกรมไมไ่ ด้สร้างไว้รองรบั
ข. ได้ โดยเลือกเมนเู ปล่ียนแปลงค�ำ ตอบกลบั
ค. ไม่ได้ ค�ำ ตอบกลบั คำ�ถามควรอย่ใู นทเี่ ดยี วกนั
ง. ได้ แตต่ อ้ ง Copy ไฟล์ค�ำ ตอบไปเกบ็ ไวท้ ีอ่ ่ืน
17
38. การจะใชง้ านและอับโหลดวีดโี อ คลปิ ลง YouTube ที่ถกู ต้องปฏิบัตติ ามตามหลกั เกณฑ์
ยกเว้นขอ้ ใด
ก. ละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ มผี ลเสียตอ่ บคุ คลอ่นื
ข. ตลก เน้นการบนั เทิงเกินไป
ค. สอื่ โป๊ ลามก แสดงถึงความรนุ แรง
ง. เปน็ ภยั ต่อสงั คม ชมุ ชน ชาติ
39. ครูผสู้ อนสามารถใช้ YouTube เพ่ือการเรยี นรสู้ �ำ หรบั ผเู้ รียนไดอ้ ย่างไร
ก. การใช้เพือ่ บนั ทกึ ผลงานดเี ด่นของตนเอง
ข. การใชเ้ พอ่ื หารายไดเ้ พือ่ พัฒนาการสอน
ค. การอับโหลดผลงานดีเด่นผ้เู รียนลง You Tube
ง. การอบั โหลดการสอนลง YouTube ใหผ้ ู้เรียนเรียนรู้
40. ประโยชน์ส�ำ คัญท่ีสุดในการใช้ Google Calendar กบั แฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์
ก. ใช้ในการส่งวดิ โี อการสอน
ข. ใช้จดั ท�ำ ปฏิทินเพ่ือจ�ำ หนา่ ย
ค. ตวั ชว่ ยในการนดั หมายงานส�ำ คญั
ง. การใช้ประโยชน์ในการเสนองาน
18
19
หน่วยที่ 1
แนวคดิ การจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
1.1 การเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning)
1.1.1 ความส�ำ คัญของการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning)
การจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 จะต้องเตรียมให้บุคคลมีทักษะที่จำ�เป็น
ภายใต้สังคมท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การจัดการศึกษาจึงต้องเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญและเปิดโอกาส
ใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ดิ ไดเ้ ผชญิ กบั ปญั หา และสามารถจดั การกบั ปญั หานน้ั ๆ ได้ ผเู้ รยี นจงึ จ�ำ เปน็ จะตอ้ งมคี วาม
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง และเป็นผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ดังเจตนารมณ์
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 4 มาตรา 22 ที่ก�ำ หนดวา่ การจัดการศึกษาตอ้ งยึดหลักผู้เรยี นทุกคน
มคี วามสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองไดแ้ ละถอื วา่ ผเู้ รยี นมคี วามส�ำ คญั ทสี่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษา
ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตรา 24 (1) ต้องจัด
เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำ�นึงถึงความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล (2) ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยกุ ต์
ความรมู้ าใช้เพ่อื ป้องกันและแกไ้ ขปัญหา และ (3) จัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียน ไดเ้ รียนร้จู ากประสบการณจ์ รงิ
ฝกึ การปฏบิ ัติ ให้ท�ำ ได้ คิดเปน็ ทำ�เปน็ รักการอา่ น และเกดิ การใฝร่ ู้อยา่ งตอ่ เน่ือง นอกจากน้ีในมาตรา
24 (5) ยงั กำ�หนดใหผ้ สู้ อนตอ้ งจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มการเรยี นการสอน สอื่ การเรยี น และอำ�นวย
ความสะดวกเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ รวมทง้ั สามารถใชก้ ารวจิ ยั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นร ู้
โดยจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดและความแตกต่างของผู้เรียน
ซงึ่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ทรพั ยากรบคุ คลทมี่ คี ณุ ภาพและเปน็ บคุ คล
แห่งการเรียนรตู้ ลอดชีวติ
20
สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองคกรหลักที่ผลิตและพัฒนา
กําลังคนอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานเขาสู่ตลาดแรงงาน สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมสง ผลตอ การเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ ด้วยเหตุนี้ครผู ูส้ อนอาชีวศกึ ษา
จึงมีความจำ�เป็นที่ตองมีการพัฒนาความรูและทักษะความสามารถในจัดการเรียนการสอนอย่างจริงจัง
เพ่ือใหเป็นครูอาชีวศึกษาในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างสมบูรณ โดยเป้าหมายเป็นบุคคลแหงการเรียนรู
สร้างนวัตกรรม ประกอบไปด้วยทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี
และทักษะชีวิตและอาชีพท้ังสามด้านเป็นทักษะท่ีจำ�เป็นอย่างย่ิง และครูผู้สอนอาชีวศึกษาจะตองมี
ความรูความเขาใจ ทักษะการฝึกปฏิบัติและเจตคติท่ีดีรวมถึงสมรรถนะและความสามารถพ้ืนฐานด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารที่จำ�เป็นสำ�หรับการศึกษาการประยุกตใชใหเกิดประโยชนอย่าง
สร้างสรรค ดงั น้ันเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายดงั กลา่ ว การจัดการศึกษาด้านอาชวี ศึกษาจงึ มุ่งเน้นผเู้ รยี น
เป็นสำ�คัญ โดยการจัดให้ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาตนเองสูงสุดตามกำ�ลังหรือศักยภาพของแต่ละคน
ทงั้ ดา้ นความตอ้ งการ ความสนใจ ความถนดั ประกอบกบั ปจั จบุ นั มอี งคค์ วามรใู้ หมเ่ กดิ ขนึ้ มากมาย ท�ำ ให้
เน้ือหาวิชามีมากเกินกว่าที่จะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซ่ึงการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด
บอก เลา่ ” จึงไมส่ ามารถจะพฒั นาผเู้ รียนให้นำ�ความรู้ท่ไี ด้จากการเรยี นในช้นั เรียนไปปฏิบตั ไิ ดด้ ี ดังน้นั
จึงจำ�เป็นต้องปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลงของสภาพ
แวดลอ้ มทางสงั คมและเทคโนโลยี
โจทย์ความท้าทายด้านการจัดการศึกษาและการออกแบบการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเตรียมผู้เรียนอาชีวศึกษาให้มีความพร้อมกับการมีทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 เป็นเร่ืองท่ีสำ�คัญของกระแสการปรับเปลี่ยนของสังคมท่ีส่งผลต่อวิถีการดำ�เนินชีวิต
ของสังคมอย่างท่ัวถึง ครู อาจารย์ จึงจำ�เป็นต้องต่ืนตัวและเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้
เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะส�ำ หรบั การน�ำ ไปด�ำ รงชวี ติ ในยคุ ปจั จบุ นั น้ี คอื ทกั ษะการเรยี นรู้
(Learning Skill) ทกั ษะการคิด (Thinking Skill) ทีส่ ่งผลให้มีการเปล่ยี นแปลงของการจดั การเรยี นร ู้
ให้ผู้เรียนมีความสามารถและมีทักษะท่ีจำ�เป็นตามท่ีสังคมต้องการต่อไป แนวคิดและหลักการของ
การจัดการเรยี นการสอนที่ท้าทายการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นัน่ คือ การสอนทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ผสู้ อน
ต้องมีคุณสมบัตมิ ากกว่าทำ�หนา้ ท่ใี นการสอน (Instructor) ผ้สู อนต้องมลี กั ษณะของผทู้ ่ีมคี วามสามารถ
ในการชี้แนะการเรียนรู้ (Learning Coaching) ที่สามารถทำ�หน้าท่ีนำ�พาผู้เรียนไปท่องเท่ียวบนโลก
แห่งการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเกิดการเรียนรู้จากการมีส่วนร่วมและเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Active
Learning) (ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2560)
งานวิจัยทางการศึกษาจำ�นวนมากยืนยันว่า การเรียนรู้ท่ีแท้จริงเกิดขึ้นเม่ือผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในการปฏิบัติการเรียนรู้นั้นอย่างจริงจัง (actively involved) แม้แต่การเรียนรู้จากการฟัง
ผู้เรียนก็ต้องได้ปฏิบัติการฟังจริง ๆ อย่างตั้งใจจึงจะเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์
งานวิจัยที่ผ่านมาไม่ต่ํากว่าสองทศวรรษให้ข้อเสนอว่าผู้เรียนต้อง “ทำ�” มากกว่าเพียงแต่ฟัง กล่าวคือ
21
ผเู้ รยี นตอ้ งอ่าน เขยี น อภปิ ราย หรอื แก้ปัญหา ท่สี ำ�คญั ที่สดุ ตอ้ งปฏบิ ัติอยา่ งจรงิ จงั ในงานทีใ่ ชก้ ารคดิ
ขั้นสูงในระดบั วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ (Chickering and Gamson, 1987) จงึ ไดม้ กี ารเสนอ
วา่ กลวธิ ที ่ีสนบั สนนุ การเรียนรเู้ ชิงรกุ (active learning) คือกระบวนการเรียนการสอนทใ่ี ห้นกั เรียนได้
ทำ�และคิดในสิ่งทท่ี �ำ (Bonwell and Eison, 1991) ซง่ึ สอดคล้องกับ Smith (2014) ท่กี ล่าววา่ ค�ำ ถาม
สำ�คัญค�ำ ถามหน่งึ ที่บุคคลในแวดวงการศึกษามักถามตนเองเสมอๆ ว่าในปัจจุบัน คอื “เราสามารถสอน
การคิดใหแ้ ก่ผเู้ รียนได้หรือไม”่ จากค�ำ ถามดงั กล่าว เราจำ�เป็นจะต้องเข้าใจวา่ การคิดคอื อะไร มนุษยม์ ี
ความสามารถในการคิดสงิ่ ต่างๆ และการคดิ เกิดขน้ึ และด�ำ เนินอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดเวลา แม้ว่าบคุ คลจะ
ตระหนักในกระบวนการคิดของตนเองหรือไม่ก็ตาม ความสามารถในการคิดของมนุษย์จะแตกต่างกัน
ในแต่ละบุคคล โดยท่ัวไปบุคคลมักคิดเกี่ยวกับโลกรอบตัว ซ่ึงรวมถึงการพยายามทำ�ความเข้าใจ
และตีความหมายของส่ิงแวดล้อมรอบตัว ส่ิงที่เราต้องการให้เป็นและส่ิงที่เราไม่ต้องการให้เกิดขึ้น
ความคาดหวังของบุคคลต่อโลกรอบตัวจะมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ท้ังนี้เป็นผลมาจาก
ประสบการณ์ (Construct) ข้อมูล ความรู้ ส่ิงที่เรารู้ในปัจจุบันจะไม่เป็นที่เข้าใจได้ถ้าขาดซึ่งการ
เช่อื มโยงกบั สงิ่ ท่เี รารใู้ นอดตี และปจั จบุ ันจะปราศจากความหมายถา้ เราไม่สามารถเชือ่ มโยงกับอนาคต
จงึ เหน็ ไดว้ า่ รปู แบบการเรยี นรแู้ บบ Active Learning เปน็ วธิ กี ารจดั การเรยี นรทู้ ี่มี
แนวทางที่สามารถตอบโจทย์ของการจัดการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงในการก้าวเข้าสู่ยุค
ศตวรรษท่ี 21 ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ดงั นนั้ ผเู้ ขยี นจงึ ขอน�ำ เสนอประเดน็ ทน่ี า่ สนใจของแนวทางการจดั การเรยี น
รแู้ บบ Active Learning เพอ่ื จดั ท�ำ ชดุ นเิ ทศแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เรอื่ ง การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชแ้ ฟม้
สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Portfolio) ในการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ส�ำ หรบั
ครูอาชีวศึกษา ในประเด็นต่าง ๆ เพ่ือสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องในการนำ�ไปปฏิบัติให้เกิดผล
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพได้ต่อไป
1.1.2 ความหมาย “การเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning)”
Active Learning เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบหน่ึงที่สอดคล้องกับการ
ส่งเสรมิ คณุ ลักษณะของผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 และยังสอดคล้องกับยุคไทยแลนด์ 4.0 ดว้ ย โดยเปน็
กระบวนการเรียนการสอนอย่างหน่ึงที่เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือการลงมือทำ� ท้ังน้ีได้มี
นักวิชาการให้ความหมาย ไวด้ ังน้ี
Bonwell (2003), Prince (2004), Felder and Brent (2009), สำ�นักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2562), โรงเรียนบ้านปลาดาว (2564) และศูนย์นวัตกรรม
การเรยี นรู้ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (2565) ไดก้ ลา่ วถงึ ความหมายของการสอนแบบ Active Learning
ไว้ในทิศทางเดียวกัน โดยหมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ�และได้ใช้
กระบวนการคิดเก่ียวกับสิ่งท่ีเขาได้กระทำ�ลงไปปฏิบัติ เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการ
สร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพ่ือช่วยให้
22
ผเู้ รยี นสามารถเชอื่ มโยงความรู้ หรอื สรา้ งความรใู้ หเ้ กดิ ขน้ึ ในตนเอง ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ผา่ นสอ่ื หรอื
กจิ กรรมการเรียนรทู้ ม่ี ีครผู ้สู อนเป็นผู้แนะนำ� กระต้นุ หรืออ�ำ นวยความสะดวกใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้
ขึ้นโดยกระบวนการคดิ ขน้ั สงู กลา่ วคอื ผู้เรยี นมกี ารวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมนิ คา่ จาก
สิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ทำ�ให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและนำ�ไปใช้ในสถานการณ์
อน่ื ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ การจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning หรือใชค้ �ำ ยอ่ วา่ AL เปน็ แนวคิด
คอ่ นขา้ งใหมใ่ นการปฏริ ปู ระบบการศกึ ษาแบบเดมิ ทเี่ นน้ การถา่ ยทอดความรจู้ ากผสู้ อนสผู่ เู้ รยี นโดยตรง
นอกจากน้ี Meyers and Jones (1993) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้แบบ
(Active Learning) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้สมมติฐานพื้นฐาน การเรียนรู้ที่เป็นความ
พยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์ และแนวทางในการเรยี นร้ทู แี่ ตกตา่ งกนั ของแตล่ ะบคุ คล
จงึ สรปุ ไดว้ า่ การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) คอื รปู แบบการจดั การเรยี น
รู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผู้กำ�หนดส่ิงที่ต้องการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ฝึกการวางแผน
การดำ�เนนิ งานที่เป็นระบบ การลงมอื ปฏิบตั ิตามแผน และการสรุปผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึง่ เป็นการ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดเป็น ทำ�เป็น แก้ปัญหาเป็น และมีทักษะในการค้นคว้าศึกษาหาความรู้
โดยผสู้ อนจะเปน็ เพยี งผทู้ �ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผอู้ �ำ นวยความสะดวกใหแ้ กผ่ เู้ รยี น วางแผนและจดั สภาพแวดลอ้ ม
ท่ดี ีใหพ้ ร้อมตอ่ การเรยี นรู้ โดยใหผ้ เู้ รยี นไดม้ โี อกาสพฒั นาทกั ษะความรู้ และความสามารถในการเรียนรู้
ด้วยตนเอง
1.1.3 วธิ ีการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning)
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning)
ครอบคลมุ วิธีการจัดการเรียนรูห้ ลากหลายวิธี (สำ�นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, 2560) ดังนี้
1) การเรยี นรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน (Activity - Based Learning) การเรยี นรโู้ ดย
ใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน (Activity - Based Learning) เป็นวธิ กี ารจดั การเรยี นรทู้ พ่ี ัฒนามาจากแนวคดิ ใน
การจัดการเรยี นการสอนท่เี ผยแพร่ในปลายศตวรรษที่ 20 ทเี่ รยี กว่าการเรยี นรู้ที่เนน้ บทบาทและการมี
ส่วนร่วมของผ้เู รยี น หรือ “การเรียนรเู้ ชงิ รุก” (Active Learning) ซ่งึ “ใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน” หมายถึง
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นที่ต้ังเพ่ือที่จะฝึกหรือพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายที่กำ�หนด
(1) ลกั ษณะสำ�คัญของการเรียนร้โู ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน ดังนี้
ก. สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนมีความต่ืนตัวและกระตอื รอื ร้นด้านการรูค้ ิด
ข. กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้จากตัวผู้เรียนเองมากกว่าการฟังผู้สอน
ในหอ้ งเรียนและการท่องจำ�
ค. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง
ทำ�ให้เกดิ การเรยี นรูอ้ ย่างต่อเนื่องนอกหอ้ งเรยี นอีกดว้ ย
23
ง. ได้ผลลัพธ์ในการถ่ายทอดความรู้ใกล้เคียงกับการเรียนรู้รูปแบบอ่ืน
แตไ่ ด้ผลดีกว่าในการพัฒนาทักษะด้านการคดิ และการเขยี นของผูเ้ รยี น
จ. ผู้เรียนมีความพึงพอใจกับการเรียนรู้แบบน้ีมากกว่ารูปแบบที่ผู้เรียน
เป็นฝา่ ยรับความรู้ ซงึ่ เปน็ การเรียนรู้แบบตั้งรับ (Passive Learning)
ฉ. มุ่งเน้นความรับผิดชอบของผู้เรียนในการเรียนรู้โดยผ่านการอ่าน
เขียนคิด อภิปราย และเข้าร่วมในการแก้ปัญหา และยังสัมพันธ์เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ตามลำ�ดับขั้น
การเรยี นรู้ในดา้ นพทุ ธิพสิ ยั ทักษะพิสยั และจติ พสิ ัย
(2) หลกั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน ดงั นี้
ก. ให้ความสนใจที่ตวั ผเู้ รยี น
ข. เรยี นรู้ผ่านกจิ กรรมการปฏิบัติทีน่ า่ สนใจ
ค. ครูผู้สอนเปน็ เพยี งผูอ้ ำ�นวยความสะดวก
ง. ใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ 5 ในการเรียน
จ. ไมม่ กี ารทดสอบแตป่ ระเมินผลจากพฤติกรรม ความเข้าใจ ผลงาน
ฉ. เพ่ือนในชั้นเรียนชว่ ยส่งเสริมการเรยี น
ช. มีการจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการพัฒนา
ความคิดและเสริมสร้างความม่ันใจในตนเอง
(3) ประเภทของการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานกิจกรรมการเรียนรู้
โดยวิธีใช้กิจกรรมเป็นฐานมีหลากหลายกิจกรรม การนำ�มาใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการจดั กิจกรรมนัน้ ๆ วา่ มงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรู้หรือพฒั นาในเรอ่ื งใด โดยทัว่ ไป สามารถ
จำ�แนกออกเปน็ 3 ประเภทหลัก ๆ คอื
ก. กจิ กรรมเชิงสำ�รวจ เสาะหา คน้ คว้า (Exploratory) ซึ่งเกีย่ วข้องกับ
การรวบรวม สั่งสมความรู้ ความคิดรวบยอด และทกั ษะ
ข. กจิ กรรมเชิงสร้างสรรค์ (Constructive) ซงึ่ เกย่ี วข้องกับการรวบรวม
สั่งสมประสบการณโ์ ดยผา่ นการปฏบิ ตั ิหรือการทำ�งานที่รเิ ริ่มสร้างสรรค์
ค. กิจกรรมเชิงการแสดงออก (Expressional) ได้แก่กิจกรรมที่เก่ียวกับ
การนำ�เสนอ การเสนอผลงาน
(4) กิจกรรมการเรยี นรูท้ ีน่ ยิ มใช้
ก. การอภปิ รายในชนั้ เรยี น (class discussion) ทกี่ ระท�ำ ไดท้ ง้ั ในหอ้ งเรยี น
ปกติ และการอภิปรายออนไลน์
ข. การอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย (Small Group Discussion)
ค. กจิ กรรม “คดิ -จบั ค่-ู แลกเปลยี่ น” (think - pair - share)
ง. เซลลก์ ารเรียนรู้ (Learning Cell)
24
จ. การฝกึ เขยี นข้อความส้ัน ๆ (One - minute Paper)
ฉ. การโตว้ าที (Debate)
ช. บทบาทสมมุติ (Role Play)
ซ. การเรยี นร้โู ดยใชส้ ถานการณ์ (Situational Learning)
ฌ. การเรียนแบบกล่มุ รว่ มแรงรว่ มใจ (Collaborative learning
group)
ญ. ปฏิกริ ยิ าจากการชมวิดิทศั น์ (Reaction to a video)
ฎ. เกมในชั้นเรียน (Game)
ฏ. แกลเลอร่ี วอล์ค (Gallery Walk)
จ. การเรยี นรโู้ ดยการสอน (Learning by Teaching)
2) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem - Based Learning)
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - Based Learning)
เปน็ กระบวนการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นตงั้ สมมตฐิ าน สาเหตแุ ละกลไกของการเกดิ
ปัญหานั้น รวมถึงการค้นคว้าความรู้พื้นฐานท่ีเก่ียวข้องกับปัญหา เพื่อนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาต่อไป
โดยผู้เรียนอาจไม่มีความรู้ในเรื่องน้ัน ๆ มาก่อน แต่อาจใช้ความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่เดิมหรือเคยเรียนมา
นอกจากนี้ยังมุ่งใหผ้ เู้ รียนใฝ่หาความรเู้ พือ่ แกไ้ ขปญั หา ไดค้ ิดเป็น ทำ�เปน็ มกี ารตัดสินใจท่ีดีและสามารถ
เรียนรูก้ ารท�ำ งานเป็นทีม โดยเน้นใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ กิดการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง และสามารถน�ำ ทักษะจากการ
เรยี นมาช่วยแกป้ ัญหาในชีวิต การเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานเป็นการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ โดยเริ่ม
จากการได้ประสบการณ์ตรงจากโจทย์ปัญหา ผ่านกระบวนการคิดและการสะท้อนกลับไปสู่ความรู้
และความคดิ รวบยอด อนั จะน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณใ์ หมต่ อ่ ไป การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานยงั เปน็ การ
ตอบสนองต่อแนวคิด constructivism โดยให้ผู้เรียนวิเคราะห์หรือตั้งคำ�ถามจากโจทย์ปัญหา
ผ่านกระบวนการคดิ และสะท้อนกลับ เนน้ ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งผ้เู รียนในกลุ่ม เนน้ การเรยี นรทู้ มี่ สี ่วนรว่ ม
น�ำ ไปสกู่ ารค้นควา้ หาคำ�ตอบหรือสรา้ งความรใู้ หม่บนฐานความรเู้ ดมิ ท่ผี เู้ รียนมีมาก่อนหน้านี้
(1) การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานยงั เปน็ การสรา้ งเงอื่ นไขส�ำ คญั ทส่ี ง่ เสรมิ
การเรยี นรู้ กล่าวคอื
ก. การเรียนรู้ส่ิงใหม่จะได้ผลดีข้ึน ถ้าได้มีการเช่ือมโยงหรือกระตุ้น
ความรู้เดิมทผ่ี เู้ รยี นมอี ยู่
ข. การเรียนรู้เนื้อหาที่ใกล้เคียงสถานการณ์จริงหรือมีประสบการณ์
ตรงจากโจทยป์ ญั หาจะท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรไู้ ดด้ ขี น้ึ เนอ่ื งจากการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานเปน็ การเรยี น
กลุ่มย่อย การได้แสดงออก แสดงความคิดเห็นหรืออภิปรายถกเถียงกัน จะทำ�ให้ผู้เรียนเข้าใจและ
เรยี นร้สู ง่ิ น้นั ได้ดขี ึ้น
25
ค. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่เกิดข้ึน
จากแนวคดิ ตามทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ บบสรา้ งสรรคน์ ยิ ม (Constructivism) โดยใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งความรใู้ หม่
จากการใชป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ ในโลกเปน็ บรบิ ทของการเรยี นรู้ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์
และคิดแก้ปญั หา รวมทั้งได้ความรูต้ ามศาสตร์ในสาขาวิชาทต่ี นศกึ ษาไปพร้อมกันด้วย
ง. การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐานจงึ เปน็ ผลมาจากกระบวนการท�ำ งาน
ท่ีต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลัก ส่ิงสำ�คัญในการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็น
ฐานคือปัญหา เพราะปัญหาที่ดีจะเป็นส่ิงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจใฝ่แสวงหาความรู้ในการเลือก
ศกึ ษาปัญหาทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
จ. ผู้สอนจะต้องคำ�นึงถึงพื้นฐานความรู้ความสามารถของผู้เรียน
ประสบการณ์ความสนใจและภูมิหลังของผู้เรียน เพราะคนเรามีแนวโน้มท่ีจะสนใจเร่ืองใกล้ตัวมากกว่า
เรื่องไกลตัว สนใจส่ิงที่มีความหมายและความสำ�คัญต่อตนเองและเป็นเรื่องท่ีตนเองสนใจใคร่รู้ ดังนั้น
การกำ�หนดปัญหาจึงต้องคำ�นึงถึงตัวผู้เรียนเป็นหลักรวมถึงสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ ท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียนท่ีเอื้ออ�ำ นวยต่อการแสวงหาความรูข้ องผู้เรยี นด้วย
ฉ. การจดั การเรยี นรใู้ นรปู แบบนจ้ี ะเนน้ การสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื
ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง เผชญิ หนา้ กบั ปญั หาดว้ ยตนเอง เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะในการคดิ หลายรปู แบบ เชน่
การคิดวิจารณญาณ คดิ วเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ เป็นตน้
(2) วตั ถปุ ระสงคห์ รอื ผลลพั ธท์ ค่ี าดหวงั จากการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน
ไดแ้ ก่
ก. ได้ความรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทจรงิ และสามารถนำ�ไปใชไ้ ด้
ข. พฒั นาทักษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ การใหเ้ หตุผล และน�ำ ไป
สแู่ กป้ ัญหาทม่ี ปี ระสทิ ธิผล
ค. ผ้เู รยี นสามารถเรียนร้ไู ดด้ ว้ ยตัวเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง
ง. ผูเ้ รียนสามารถทำ�งานและสื่อสารกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
จ. สรา้ งแรงจูงใจในการเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ูเ้ รียน
ฉ. ความคงอยู่ (Retention) ของความรู้จะนานขึ้น
(3) ลกั ษณะสำ�คญั ของการเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน
ก. ปญั หาทเ่ี หมาะสมกับการนำ�มาจัดกิจกรรมควรมีลกั ษณะดงั นี้
1) เป็นเรื่องจริงเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันท่ีเกิดข้ึนในชีวิตจริง
และเกิดจากประสบการณ์ของผ้เู รียนหรอื ผู้เรียนอาจมีโอกาสเผชญิ กบั ปัญหานนั้
2) ท้าทาย กระตุ้นความสนใจ อาจตื่นเต้นบ้าง เป็นปัญหา
ท่ยี ังไมม่ ีคำ�ตอบ ชดั เจนตายตัวเปน็ ปญั หาทีม่ ีความซับซอ้ น คลมุ เครอื หรอื ผเู้ รียนเกดิ ความสบั สน
26
3) เปน็ ปญั หาทพี่ บบอ่ ย มคี วามส�ำ คญั มขี อ้ มลู ประกอบเพยี งพอ
ส�ำ หรบั การคน้ ควา้ ได้ฝึกทักษะ
4) การตัดสินใจโดยข้อเท็จจริง ข้อมูลข่าวสาร ตรรกะ เหตุผล
ตลอดถึงการตั้งสมมตฐิ าน
5) เชอื่ มโยงความรเู้ ดมิ กบั ขอ้ มลู ใหม่สอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หา/แนวคดิ
ของหลักสูตรมีการสรา้ งความรูใ้ หม่ บรู ณาการระหวา่ งบทเรียน น�ำ ไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้
6) ปัญหาซับซ้อนที่ก่อให้เกิดการทำ�งานกลุ่มร่วมกัน มีการ
แบ่งงานกันทำ�โดยเชอื่ มโยงกันไม่ แยกสว่ น เหมาะสมกบั เวลา เกดิ แรงจูงใจในการแสวงหาความรู้ใหม่
7) ชักจูงให้เกิดการอภิปรายไดก้ ว้างขวาง ปญั หาทเ่ี ป็นประเด็น
ขัดแย้งข้อถกเถียงในสังคมท่ียังไม่มีข้อยุติ เป็นปลายเปิด ไม่มีคำ�ตอบที่ชัดเจน มีหลายทางเลือก/
หลายค�ำ ตอบ สมั พนั ธก์ บั สง่ิ ทเ่ี คยเรยี นรมู้ าแลว้ มขี อ้ พจิ ารณาทแ่ี ตกตา่ ง แสดงความคดิ เหน็ ไดห้ ลากหลาย
8) ปัญหาที่สร้างความเดือดร้อน เสียหาย เกิดโทษภัยเป็นส่ิง
ท่ไี ม่ดีหากใชข้ ้อมูลโดยล�ำ พงั คนเดียวอาจท�ำ ใหต้ อบปัญหาผดิ พลาด
9) ปัญหาที่มีการยอมรับว่าจริง ถูกต้องแต่ผู้เรียนไม่เช่ือจริง
ไม่สอดคลอ้ งกับความคดิ ของผู้เรียน
10) ปัญหาท่ีอาจมีคำ�ตอบหรือแนวทางในการแสวงหาคำ�ตอบ
ได้หลายทางครอบคลมุ การเรียนรูท้ ก่ี ว้างขวางหลากหลายเนื้อหา
11) ปญั หาทม่ี คี วามยากความงา่ ยเหมาะสมกบั พน้ื ฐานของผเู้ รยี น
12) ปัญหาท่ีไม่สามารถหาคำ�ตอบได้ทันที ต้องการการสำ�รวจ
คน้ ควา้ และการรวบรวมข้อมลู หรอื ทดลองดูกอ่ น ไมส่ ามารถทจ่ี ะคาดเดาหรือทำ�นายไดง้ า่ ย ๆ วา่ ตอ้ งใช้
ความรู้อะไร
13) ปัญหาท่ีส่งเสริมความรู้ด้านเนื้อหาทักษะ สอดคล้องกับ
หลกั สูตรการศึกษา
14) ใช้สื่อหลากหลายรูปแบบในการระบุปัญหา เช่น ข้อความ
บรรยายรปู ภาพ วดิ ที ศั นส์ น้ั ๆ ขอ้ มลู จากผลการทดลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ขา่ ว บทความจากหนงั สอื พมิ พ์
วารสาร สิง่ พิมพ์
ข. บูรณาการเนื้อหาความรู้ในสาขาต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับปัญหาน้ัน
ดงั นี้
1) เน้นกระบวนการคดิ อยา่ งมีเหตผุ ลและเป็นระบบ
2) เรียนเป็นกลุ่มย่อย โดยมีครูหรือผู้สอนเป็นผู้สนับสนุนและ
กระต้นุ ให้ผเู้ รียนรว่ มกันสร้าง
3) บรรยากาศทสี่ ่งเสรมิ การเรียนรู้ใหเ้ กิดข้ึนในกลุ่ม
27
4) ผู้เรียนมีบทบาทสำ�คัญในการเรียนรู้ และเรียนโดยการกำ�กับ
ตนเอง (Self-directed learning) กลา่ วคอื สามารถประเมนิ ตนเองและบง่ ช้คี วามตอ้ งการได้ จดั ระบบ
ประเด็นการเรยี นรู้ได้อย่างเทยี่ งตรง รู้จกั เลอื กและใช้แหลง่ เรยี นรู้ท่เี หมาะสม
5) เลือกกิจกรรมการศึกษาค้นคว้า แก้ปัญหา ที่ตรงประเด็น
มีประสิทธิภาพบ่งชี้ข้อมูลที่ไม่เก่ียวข้องได้ และคัดแยกออกได้อย่างรวดเร็ว ประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่
เชิงวิเคราะห์ได้ และรจู้ ักขนั้ ตอนการประเมิน
3) กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน
(1) ขนั้ ตอนในการดำ�เนินการดังน้ี
ขัน้ ที่ 1 กำ�หนดปัญหา
ก. จัดสถานการณ์ต่าง ๆ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และมอง
เหน็ ปญั หา สามารถก�ำ หนดสง่ิ ทเ่ี ปน็ ปญั หาทผี่ เู้ รยี นอยากรู้ อยากเรยี น เกดิ ความสนใจทจี่ ะคน้ หาค�ำ ตอบ
ข. จัดกล่มุ ผ้เู รยี นให้มีขนาดเล็ก (ประมาณ 3 - 5 / 8 - 10 คน)
ค. ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ โดยลักษณะของปัญหา
ท่ีนำ�มาใช้ ควรมีลกั ษณะคลมุ เครือ ไม่ชัดเจน
ง. มวี ธิ แี กไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งหลากหลาย อาจมคี �ำ ตอบไดห้ ลายค�ำ ตอบ
โดยค�ำ นึงถึง
จ. การเชอ่ื มโยงความรใู้ หมเ่ ขา้ กบั ความรเู้ ดมิ ความซบั ซอ้ นของปญั หา
จากงา่ ยไปสยู่ าก ระดบั และประสบการณผ์ เู้ รยี น เวลาทกี่ �ำ หนดใหผ้ เู้ รยี นใชด้ �ำ เนนิ การ และแหลง่ คน้ ควา้
ขอ้ มูล
ขน้ั ที่ 2 ทำ�ความเข้าใจกับปญั หา
ก. ปญั หาที่ต้องการเรียนรู้ ตอ้ งสามารถอธบิ ายส่งิ ต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้อง
กับปัญหาได้
ข. ผเู้ รยี นทำ�ความเข้าใจหรอื ทำ�ความกระจา่ งในค�ำ ศพั ท์ทอ่ี ยู่ในโจทย์
ปัญหาน้ัน เพ่อื ให้เข้าใจตรงกนั
ค. ผู้เรียนจับประเด็นข้อมูลท่ีสำ�คัญหรือระบุปัญหาในโจทย์วิเคราะห์
หาข้อมลู ทีเ่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ความจริงท่ีปรากฏในโจทย์ แยกแยะขอ้ มลู ระหว่างข้อเท็จจริงกับขอ้ คดิ เหน็
จับประเดน็ ปัญหาออกเป็นประเด็นย่อย
ง. ผู้เรียนระดมสมองเพ่ือวิเคราะห์ปัญหา อภิปรายแต่ละประเด็น
ปญั หาวา่ เปน็ อยา่ งไร เกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร ความเปน็ มาอย่างไร โดยอาศัยพนื้ ความรเู้ ดมิ เท่าทผ่ี ู้เรียนมีอยู่
จ. ผู้เรียนร่วมกันตั้งสมมติฐานเพ่ือหาคำ�ตอบปัญหาประเด็นต่าง ๆ
พรอ้ มจดั ลำ�ดบั ความสำ�คญั ของสมมตฐิ านทเ่ี ป็นไปได้อยา่ งมีเหตผุ ล
28
ฉ. จากสมมตฐิ านทตี่ งั้ ขน้ึ ผเู้ รยี นจะประเมนิ วา่ มคี วามรเู้ รอ่ื งอะไรบา้ ง
มเี รอ่ื งอะไรทยี่ งั ไมร่ หู้ รอื ขาดความรู้ และความรอู้ ะไรจ�ำ เปน็ ทจี่ ะตอ้ งใชเ้ พอ่ื พสิ จู นส์ มมตฐิ าน ซงึ่ เชอื่ มโยง
กบั โจทยป์ ญั หาทไ่ี ด้ ขน้ั ตอนนี้กลุ่มจะก�ำ หนดประเด็นการเรยี นร้หู รือวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ เพ่อื จะไป
คน้ คว้าหาข้อมลู ตอ่ ไป
ข้นั ที่ 3 ดำ�เนินการศึกษาคน้ ควา้
ก. ผู้เรียนศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองดว้ ยวิธกี ารหลากหลาย
ข. ผู้เรียนค้นคว้าหาข้อมูลและศึกษาเพิ่มเติมจากทรัพยากร
การเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เชน่ หนังสอื ต�ำ รา วารสาร ส่ือการเรยี นการสอนต่าง ๆ การศึกษาในห้องปฏิบัติการ
คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน อนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ปรกึ ษาผรู้ ใู้ นเนอ้ื หาเฉพาะ เปน็ ตน้ พรอ้ มทง้ั ประเมนิ ความถกู ตอ้ ง
โดยประเมินแหล่งขอ้ มลู ความถกู ต้อง เชอื่ ถือไดข้ องขอ้ มูล
ค. เลอื กน�ำ ความรทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งมาเชอ่ื มโยงวา่ ตรงประเดน็ เพยี งพอทจี่ ะ
แก้ปัญหาอย่างไร หาประเดน็ ความรเู้ พม่ิ เติมถ้าจ�ำ เป็น
ง. สรปุ เตรียมสอื่ เลือกวธิ นี �ำ เสนอผลงาน
ข้ันท่ี 4 สังเคราะห์ความรู้
ก. ผู้เรียนน�ำ ความร้ทู ีไ่ ด้ค้นควา้ มาแลกเปล่ียนเรียนรรู้ ว่ มกนั
ข. ผู้เรียนนำ�ข้อมูลหรือความรู้ที่ได้มาสังเคราะห์ อธิบาย พิสูจน์
สมมติฐานและประยุกตใ์ หเ้ หมาะสมกบั โจทย์ปญั หา พร้อมสรปุ เป็นแนวคดิ หรือหลักการทั่วไป
ค. น�ำ เสนอผลงานกลมุ่ ด้วยสือ่ หลากหลาย
ง. สะท้อนความคิด ให้ข้อมูลย้อนกลับ อภิปราย ทำ�ความเข้าใจ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่มถึงกระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การสร้าง
องค์ความรใู้ หม่
จ. สรปุ ภาพรวมเป็นความรู้ทวั่ ไป
ขน้ั ที่ 5 สรุปและประเมนิ ค่าหาคำ�ตอบ
ก. ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม สรุปผลงานของกล่มุ ตนเอง และประเมินผลงาน
ว่าข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยพยายามตรวจสอบแนวคิดภายในกลุ่ม
ของตนเองอย่างอิสระ ทุกกลมุ่ ช่วยกันสรปุ องค์ความรู้ ในภาพรวมของปญั หาอีกครัง้
ข. ประเมินผลจากสภาพจริง โดยดูจากความสามารถในการปฏบิ ัติ
(2) บทบาทของครใู นการจัดกจิ กรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน
ก. ทำ�หน้าที่ เป็นผ้อู �ำ นวยความสะดวก หรอื ผใู้ หค้ ำ�ปรกึ ษาแนะนำ�
ข. เป็นผู้กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ มิได้เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่
ผเู้ รียนโดยตรง
ค. ใชท้ กั ษะการตงั้ ค�ำ ถามที่เหมาะสม
29
ง. กระตุ้นและส่งเสริมกระบวนการกลุ่ม ให้กลุ่มดำ�เนินการตาม
ขน้ั ตอนของการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน
จ. สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนและเน้นให้ผู้เรียนตระหนักว่า
การเรยี นรเู้ ปน็ ความรับผดิ ชอบของผู้เรยี น
ฉ. กระตุ้นให้ผู้เรียนเอาความรู้เดิมที่มีอยู่มาใช้อภิปรายหรือแสดง
ความคิดเหน็
ช. สนับสนุนให้กลุ่มสามารถต้ังประเด็นหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้/
แกป้ ญั หาไดส้ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ของกิจกรรมทคี่ รกู ำ�หนด
ซ. หลีกเล่ยี งการแสดงความคิดเหน็ หรอื ตดั สินว่าถูกหรือผิด
ฌ. ส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมินการเรียนรู้ของตนเอง รวมทั้งเป็น
ผปู้ ระเมินทักษะของผเู้ รียนและกล่มุ พร้อมการใหข้ อ้ มลู ย้อนกลบั
4) การเรียนรูโ้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project - Based Learning)
การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project - Based Learning)
หมายถึง การเรียนรู้ที่จัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการทำ�งานในชีวิตจริง
อย่างมีระบบ เพ่อื เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้มีประสบการณ์ตรง ไดเ้ รียนรูว้ ิธีการแกป้ ญั หา วิธีการหาความ
ร้คู วามจริงอย่างมีเหตผุ ล ไดท้ �ำ การทดลอง ได้พิสจู น์สิง่ ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง ร้จู ักการวางแผนการทำ�งาน
ฝกึ การเปน็ ผนู้ �ำ ผตู้ าม ตลอดจนไดพ้ ฒั นากระบวนการคดิ โดยเฉพาะการคดิ ขน้ั สงู และการประเมนิ ตนเอง
โดยมผี สู้ อนเปน็ ผกู้ ระตนุ้ เพอื่ น�ำ ความสนใจทเี่ กดิ จากตวั ผเู้ รยี นมาใชใ้ นการท�ำ กจิ กรรมคน้ ควา้ หาความรู้
ด้วยตวั เอง น�ำ ไปสกู่ ารเพิม่ ความรทู้ ่ีไดจ้ ากการลงมอื ปฏิบตั ิ การฟังและการสงั เกตจากผู้รู้ โดยผเู้ รียนมี
การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการทำ�งานเป็นกลมุ่ ทจี่ ะน�ำ มาสู่การสรุปความรใู้ หม่ มีการเขียนกระบวนการจดั
ทำ�โครงงานและได้ผลการจัดกิจกรรมเป็นผลงานแบบรูปธรรม นอกจากน้ีการจัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานเปน็ ฐาน ยงั เนน้ การเรยี นรทู้ ใี่ หผ้ เู้ รยี นไดร้ บั ประสบการณช์ วี ติ ขณะทเ่ี รยี น ไดพ้ ฒั นาทกั ษะตา่ งๆ
ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั หลักพัฒนาการตามลำ�ดบั ขนั้ ความร้คู วามคดิ ของบลูม ทง้ั 6 ข้นั คอื 1) ความรู้ความจ�ำ
2) ความเข้าใจ 3) การประยุกต์ใช้ 4) การวเิ คราะห์ 5) การสงั เคราะห์ และ 6) การประเมินคา่ และ
การคดิ สรา้ งสรรค์ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเป็นฐาน ถอื ได้วา่ เป็นการจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผเู้ รียน
เป็นสำ�คัญ เนื่องจากผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะต่างๆ ด้วยตนเองทุกข้ันตอนโดยมีผู้สอนเป็น
ผู้สง่ เสรมิ สนับสนุน
(1) ลักษณะสำ�คญั ของการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน ดังนี้
ก. ยึดหลกั การจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำ�คัญ ทีเ่ ปดิ โอกาส
ใหผ้ เู้ รียนได้ทำ�งานตามระดบั ทักษะทต่ี นเองมอี ยู่
ข. เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นบทบาท
และการมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน (Active Learning)
ค. เปน็ เร่อื งท่ผี ูเ้ รียนสนใจและรู้สกึ สบายใจที่จะท�ำ
30
ง. ผเู้ รยี นไดร้ บั สทิ ธใิ นการเลอื กวา่ จะตงั้ ค�ำ ถามอะไร และตอ้ งการ
ผลผลติ อะไรจากการทำ�โครงงาน
จ. ผสู้ อนท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ ผสู้ นบั สนนุ อปุ กรณแ์ ละจดั ประสบการณใ์ ห้
แก่ผเู้ รียน สนบั สนุนการแกไ้ ขปัญหา และสร้างแรงจงู ใจใหแ้ กผ่ ู้เรียน
ฉ. ผู้เรียนกำ�หนดการเรียนรู้ของตนเองเช่ือมโยงกับชีวิตจริง
สิ่งแวดล้อมจริง
ช. มีฐานจากการวจิ ยั ศึกษา ค้นควา้ หรอื องคค์ วามร้ทู ีเ่ คยมี ใช้
แหลง่ ขอ้ มูลหลายแหล่ง ฝังตรงึ ดว้ ยความรู้และทักษะต่าง ๆ
ซ. สามารถใชเ้ วลามากพอเพยี งในการสรา้ งผลงานมีผลผลิต
(2) ประเภทของโครงงาน
โครงงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น อาจจ�ำ แนกได้
เปน็ 2 ประเภทหลกั ๆ คอื โครงงานท่แี บง่ ตามระดบั การใหค้ �ำ ปรึกษาของครู และโครงงานทแ่ี บง่ ตาม
ลกั ษณะกิจกรรมดงั น้ี
ก. โครงงานทแ่ี บง่ ตามระดบั การใหค้ �ำ ปรกึ ษาของผสู้ อนหรอื ระดบั
การมบี ทบาทของผูเ้ รยี น ดงั นี้
1) โครงงานประเภทครนู �ำ ทาง (Guided Project) มขี นั้ ตอน
ดังน้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 ผสู้ อนก�ำ หนดปัญหาให้
ขนั้ ตอนที่ 2 ผสู้ อนออกแบบการรวบรวมขอ้ มลู ก�ำ หนดวธิ ี
ทำ�กจิ กรรม
ข้ันตอนท่ี 3 ผเู้ รียนปฏบิ ัติกิจกรรมตามวิธีการทกี่ �ำ หนด
ขน้ั ตอนท่ี 4 ตคี วามหมายจากข้อมูล
ขัน้ ตอนท่ี 5 สรุปผลข้อมลู
2) โครงงานประเภทครลู ดการนำ�ทาง - เพม่ิ บทบาทผูเ้ รยี น
(Less – guided Project)
ขน้ั ตอนท่ี 1 ผ้สู อนและผเู้ รียนร่วมกันระบปุ ัญหา
ขั้นตอนท่ี 2 ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันออกแบบข้อมูล
การรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือหาค�ำ ตอบ
ขัน้ ตอนท่ี 3 ผู้เรยี นใชเ้ ครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
ขน้ั ตอนท่ี 4 ตคี วามจากข้อมลู
ขน้ั ตอนที่ 5 สรปุ ขอ้ มูล
31
3) โครงงานประเภทผู้เรียนนำ�เอง ครูไม่ต้องนำ�ทาง
(Unguided Project)
ขั้นตอนที่ 1 ผูเ้ รียนระบปุ ญั หาตามความสนใจ
ขั้นตอนที่ 2 ผู้เรียนออกแบบรวบรวมข้อมูลเพ่ือค้นหา
ค�ำ ตอบดว้ ยตนเอง
ขัน้ ตอนที่ 3 ผู้เรยี นใชเ้ คร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ขัน้ ตอนที่ 4 ตีความหมายจากขอ้ มลู
ขั้นตอนที่ 5 สรปุ ผลข้อมลู
ข. โครงงานทแ่ี บง่ ตามลกั ษณะกิจกรรม
1) โครงงานเชิงส�ำ รวจ (Survey Project) ลกั ษณะกิจกรรม
คือผู้เรียนสำ�รวจและรวบรวมข้อมูลแล้วนำ�ข้อมูลเหล่านั้นมาจำ�แนกเป็นหมวดหมู่ และนำ�เสนอ
ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอื่ ใหเ้ หน็ ลักษณะหรอื ความสมั พนั ธใ์ นเรอื่ งทต่ี อ้ งการศึกษาได้ชดั เจนยิ่งข้นึ
2) โครงงานเชงิ การทดลอง (Experiential Project) ขนั้ ตอน
การดำ�เนินงานของโครงงานประเภทนี้จะประกอบด้วยการกำ�หนดปัญหา การกำ�หนดจุดประสงค์
การตง้ั สมมตฐิ าน การออกแบบการทดลอง การด�ำ เนนิ การทดลอง การรวบรวมขอ้ มลู การตคี วามหมาย
ข้อมลู และการสรปุ
3) โครงงานเชิงพัฒนาสร้างสิ่งประดิษฐ์แบบจำ�ลอง
(Development Project) เป็นโครงงานเก่ียวกับการประยุกต์องค์ความรู้ ทฤษฎี หรือหลักการ
ทางวทิ ยาศาสตร์หรอื ศาสตร์ดา้ นอ่นื ๆ มาพัฒนาสร้างสง่ิ ประดษิ ฐ์ เคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ อปุ กรณ์ แบบ
จ�ำ ลอง เพ่ือประโยชน์ใช้สอยต่าง ๆ ซง่ึ อาจจะเปน็ สง่ิ ประดษิ ฐใ์ หม่ หรือปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงของเดมิ
ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึนก็ได้ อาจจะเป็นด้านสังคม หรือด้านวิทยาศาสตร์ หรือการสร้าง
แบบจำ�ลองเพื่ออธิบายแนวคิดตา่ ง ๆ
4) โครงงานเชิงแนวคิดทฤษฎี (Theoretical Project)
เป็นโครงงานนำ�เสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของสูตรสมการ หรือ
คำ�อธิบายก็ได้ โดยผเู้ สนอได้ตั้งกตกิ าหรอื ขอ้ ตกลงขน้ึ มาเอง แล้วน�ำ เสนอทฤษฎี หลักการหรือแนวคิด
หรือจินตนาการของตนเองตามกติกาหรือข้อตกลงน้ัน หรืออาจจะใช้กติกาหรือข้อตกลงเดิมมาอธิบาย
กไ็ ด้ ผลการอธบิ ายอาจจะใหมย่ งั ไมม่ ใี ครคดิ มากอ่ น หรอื อาจจะขดั แยง้ กบั ทฤษฎเี ดมิ หรอื อาจจะเปน็ การ
ขยายทฤษฎี หรือแนวคิดเดิมก็ได้ การทำ�โครงงานประเภทนี้ต้องมีการศึกษาค้นคว้าพื้นฐานความรู้
ในเรื่องนั้น ๆ อย่างกวา้ งขวาง
32
5) โครงงานดา้ นบรกิ ารสงั คมและสง่ เสรมิ ความเปน็ ธรรมในสงั คม
(Community Service and Social Justice Project) เปน็ โครงงานทม่ี งุ่ ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาคน้ ควา้ ประเดน็
ทเี่ ปน็ ปญั หา ความตอ้ งการในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ และด�ำ เนนิ กจิ กรรมเพอื่ การใหบ้ รกิ ารทางสงั คม หรอื รว่ มกบั
ชุมชน องค์กรอื่น ๆ ในการแก้ปัญหา หรือพฒั นาในเรอ่ื งนัน้ ๆ
6) โครงงานด้านศิลปะและการแสดง (Art and Performance
Project) เป็นโครงงานท่ีมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า นำ�ความรู้ท่ีได้จากการเรียนตามหลักสูตร
โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านภาษาและสังคม มาต่อยอดสร้างผลงานด้านศิลปะและการแสดง เช่น
งานศิลปกรรม ประติมากรรม หนังสือการ์ตูน การแต่งเพลง ดนตรี แสดงคอนเสิร์ต การแสดงละคร
การสร้างภาพยนตร์สนั้ ฯลฯ
7) โครงงานเชงิ บรู ณาการการเรยี นรู้ เปน็ โครงงานทม่ี งุ่ สง่ เสรมิ ให้
ผู้เรียนบูรณาการเช่ือมโยงความรู้จากต่างสาระการเรียนรู้ต้ังแต่สองสาขาวิชาข้ึนไปมาดำ�เนินการ
แกป้ ัญหา หรอื สร้างประเด็นการศกึ ษาคน้ คว้า ทัง้ ในแงม่ ิติเชิงประวตั ศิ าสตร์ ทกั ษะการประกอบอาชีพ
ขา้ มสาขาวชิ า การแก้ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม สังคม ท่ตี ้องน�ำ ความรูต้ ่างสาขามาประยุกต์ใช้ การคดิ ค้นสร้าง
นวัตกรรมจากการบูรณาการความรู้ ฯลฯ
ค. การประเมินผลโครงการ
1) ประเมนิ ตามสภาพจรงิ โดยผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั ประเมนิ
ผลว่ากิจกรรมท่ีทำ�ไปนน้ั บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ทีก่ ำ�หนดไวห้ รอื ไม่ อย่างไร ปญั หาและอุปสรรคทพี่ บคือ
อะไรบา้ ง ไดใ้ ชว้ ธิ กี ารแก้ไขอย่างไร ผู้เรียนไดเ้ รียนรอู้ ะไรบ้างจากการท�ำ โครงงานน้นั ๆ
2) ประเมนิ โดยผเู้ กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่
- ผเู้ รยี นประเมนิ ตนเอง
- เพือ่ นช่วยประเมนิ
- ผูส้ อนหรอื ครูทปี่ รึกษาประเมิน
- ผปู้ กครองประเมนิ
- บุคคลอื่น ๆ ท่สี นใจและมีส่วนเก่ียวข้อง
ง. บทบาทของครผู ู้สอน
1) ใชค้ �ำ ถามกระตนุ้ การเรยี นรู้ ค�ำ ถามทใี่ ชใ้ นการกระตนุ้ การเรยี น
ร้นู น้ั ต้องเปน็ ค�ำ ถามที่มลี กั ษณะเป็นค�ำ ถามปลายเปดิ เพ่ือให้ผูเ้ รยี นได้อธบิ าย โดยขน้ึ ตน้ ว่า “ทำ�ไม”
หรือ ลงท้ายว่า “อยา่ งไรบา้ ง” “อะไรบา้ ง” “เพราะอะไร”
2) ทำ�หน้าท่ีเป็นผู้สังเกต ครูจะต้องคอยสังเกตว่า ผู้เรียน
แต่ละคนมีพฤติกรรมอย่างไรขณะปฏิบัติกิจกรรมเพื่อหาทางช้ีแนะ กระตุ้น หรือยับยั้งพฤติกรรม
ทไ่ี ม่เหมาะสม
33
3) สอนใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรกู้ ารตง้ั ค�ำ ถาม เมอ่ื ผเู้ รยี นสามารถตง้ั ค�ำ ถาม
ได้ จะท�ำ ให้ผูเ้ รยี นรู้จักถามเพอื่ ค้นควา้ ขอ้ มูล รจู้ กั รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่นื และรว่ มแสดงความคิด
เห็นของตนเองในเร่ือง ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเรียนรู้
4) ใหค้ �ำ แนะน�ำ เมอื่ ผเู้ รยี นเกดิ ขอ้ สงสยั ครจู ะตอ้ งเปน็ ผคู้ อยแนะน�ำ
ชี้แจง ให้ข้อมูลต่าง ๆ หรือยกตัวอย่างเหตุการณ์ใกล้ตัวต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจำ�วันของผู้เรียน
เชอื่ มโยงไปสคู่ วามรดู้ า้ นอน่ื ๆ ในขณะท�ำ กจิ กรรมเมอื่ ผเู้ รยี นเกดิ ขอ้ สงสยั หรอื ค�ำ ถามโดยไมบ่ อกค�ำ ตอบ
5) เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นคดิ หาค�ำ ตอบด้วยตนเอง สังเกตและคอย
กระตนุ้ ดว้ ยคำ�ถามใหผ้ ูเ้ รียนไดค้ ิดกจิ กรรมทอี่ ยากเรียนร้แู ละหาคำ�ตอบในสิง่ ทส่ี งสัยดว้ ยตนเอง
6) เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานอยา่ งอสิ ระตามความคดิ
และความสามารถของตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้จินตนาการและความสามารถของตนเองในการคิด
สรา้ งสรรค์อย่างเต็มท่ี
1.2 ทักษะในศตวรรษท่ี 21
1.2.1 ความหมายทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
ศตวรรษท่ี 21 (21st) หมายถึง ช่วงเวลาระหว่าง ค.ศ.2001 – ค.ศ.2100 หรือ
พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2643 (ทรูปลูกปัญญา, 2552) ท้ังน้ีได้มีนักวิชาการให้ความหมายของทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ไวด้ งั นี้
Pearson Education,Inc. (2009) ไดใ้ หค้ วามหมายของทักษะในศตวรรษที่ 21 ไว้
ว่า ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 หมายถงึ ความสามารถพิเศษท่ีเด็กจะตอ้ งพฒั นาเพ่ือให้สามารถเตรียมตัว
ส�ำ หรับความท้าทายในการทำ�งานและการดำ�รงชวี ติ ในศตวรรษที่ 21
ภาคเี พอ่ื ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 (Partnership for 21st Century Skills, 2011)
ได้ใหค้ วามหมายของทักษะในศตวรรษท่ี 21 ไว้ว่า ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 หมายถงึ ทักษะทส่ี �ำ คญั ท่ี
นกั เรยี นพึงมีเพ่อื ใหป้ ระสบความส�ำ เรจ็ ในการเรยี น การทำ�งาน และการด�ำ รงชีวิต
วิจารณ์ พานิช (2555 : 18 - 19) ได้ให้ความหมายของทักษะในศตวรรษที่ 21
ไว้วา่ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 หมายถึง ทกั ษะการดำ�รงชีวติ ท่คี นในศตวรรษท่ี 21 ทุกคนจะตอ้ งเรียนรู้
ตั้งแต่ช้ันอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัยและตลอดชีวิต เพ่ือเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว รุนแรง
พลิกผัน และคาดไมถ่ งึ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
วิภาวี ศิริลักษณ์ (2557 : 15) ได้ให้ความหมายของทักษะในศตวรรษท่ี 21
ไว้ว่า ทักษะในศตวรรษที่ 21 หมายถึง ความสามารถที่บุคคลพึงมีเพ่ือเตรียมตัวสำ�หรับการดำ�รงชีวิต
อย่างมปี ระสิทธิภาพภายใต้ความทา้ ทายของสภาวะการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็วในศตวรรษท่ี 21
34
จากความหมายของทักษะในศตวรรษท่ี 21 ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า
ความสามารถและทักษะที่สำ�คัญที่บุคคลพึงมีเพ่ือเตรียมตัวสำ�หรับการดำ�รงชีวิตในศตวรรษท่ี 21
ท่ีทุกคนจะตอ้ งเรียนรู้ เพือ่ ให้ประสบความส�ำ เรจ็ ในการเรียน การทำ�งาน และการดำ�รงชวี ติ
1.2.2 กรอบแนวคิดทกั ษะในศตวรรษที่ 21
ทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะที่จำ�เป็นสำ�หรับการดำ�รงชีวิตในศตวรรษที่ 21
(วจิ ารณ์ พานชิ , 2555) กรอบแนวคดิ ทีน่ �ำ เสนอโดยเครือขา่ ยความร่วมมือเพอ่ื พฒั นาทกั ษะในศตวรรษ
ที่ 21 (Partnership for 21st century skills) ในสหรัฐอเมริกา กำ�หนดองค์ประกอบของทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ที่จ�ำ เป็นคือ 3R8C โดยแบง่ เปน็ 3 หมวด ไดแ้ ก่ 1) ทักษะการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรม
(Learning and Innovation skills) ได้แก่ การอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) การคิดเลข
(Arithmetic) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และความคิดสร้างสรรค์ (Creative
Thinking) 2) ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ ได้แก่ ทักษะการประกอบอาชีพ (Career) ความ
ร่วมมือและการท�ำ งานเป็นทมี (Collaboration and Teamwork) และการเข้าใจในความแตกตา่ งของ
วฒั นธรรม (Cross - Cultural understanding) และ 3) ทักษะดา้ นสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี
(ICT, Media and Technology skills) ได้แก่ การรู้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Computing and ICT literacy) และการสอื่ สาร สารสนเทศ และการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื (Communication,
Information, and Media literacy) สำ�หรับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ในประเทศไทย
กระทรวงศึกษาธกิ ารไดก้ ำ�หนด 3R8C เป็นเปา้ หมายดา้ นผเู้ รียน (Learner aspiration) ในแผนพฒั นา
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 โดยคุณลักษณะด้านความเมตตากรุณา (Compassion)
มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมวี นิ ยั (ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2560) ซงึ่ ลกั ษณะของผเู้ รยี นและ
การใช้ชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 นัน้ นอกจากจะต้องมีความรพู้ ้ืนฐานแล้ว ยงั ตอ้ งมที ักษะในด้านการคิดและ
การส่ือสารในระดับสากล รวมถึงทักษะการจัดการข้อมูลสารสนเทศ และการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี
ตา่ ง ๆ ดงั นนั้ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามพรอ้ มในการใชช้ วี ติ และทกั ษะการท�ำ งาน การออกแบบการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้ในสถานศึกษาเทคนิคและอาชีวศึกษาจึงจำ�เป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน
โดยส่วนหน่ึงทำ�ให้ผู้สอนและตัวผู้เรียนเองต้องเข้าใจถึงการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน และการเรียนรู้ท่ี
ตอบสนองต่อสงั คมที่เปลี่ยนแปลงไป
35
ภาพ : ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3R8C
ทีม่ า : http://www.bict.moe.go.th/2019/ (เข้าถึงขอ้ มลู เม่อื 13/3/2565)
1.2.3 องค์ประกอบทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
Bernie Trilling and Charles fade (2009) ได้กลา่ วทักษะสำ�คัญในศตวรรษที่ 21
คอื 3Rs + 7Cs
1) 3Rs หมายถงึ ทักษะการเรียนรูท้ ีป่ ระกอบดว้ ย
(1) การอ่าน Reading
(2) การเขียน (W) Writing
(3) คดิ เลขเป็น (A) Rithmetic
2) 7Cs ประกอบดว้ ย
(1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ และทักษะในการแกป้ ญั หา)
(2) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม)
(3) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่าง
วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน)์
(4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมอื
การทำ�งานเปน็ ทีม และภาวะผ้นู ำ�)
(5) Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะดา้ นการ
สือ่ สารสารสนเทศ และร้เู ทา่ ทนั สอ่ื )
(6) Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)
(7) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นร)ู้
36
ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์และคณะ (2557) กล่าววา่ แนวคิดทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 มอี ยูใ่ นทกั ษะ
กลุ่มหลัก 7 กลุ่มส�ำ คญั ดังนี้
1) ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยี (Computing and ICT Literacy)
2) ความสนใจใคร่รู้ และมจี นิ ตนาการ (Curiosity and Imagination)
3) การคิดวิจารณญาณ และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)
4) ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และพฒั นานวตั กรรม (Creativity and Innovation)
5) ทักษะในการสื่อสาร และการร่วมมือกัน (Communications and
Collaboration)
6) การคดิ เชงิ ธรุ กจิ และทกั ษะประกอบการ (Corporate and entrepreneurial
Spirit)
7) ทักษะการเรยี นรูข้ า้ มวัฒนธรรม และการสนใจตอ่ โลก (Cross - cultural and
Global Awareness)
วิจารณ์ พาณิช (2556) ได้กว่าวว่า ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 สามารถแจกแจงออกได้เป็น
3Rs+ 8Cs และ 2Ls ดงั น้ี
1) 3Rs คือ
(1) การอ่าน (Reading)
(2) การเขยี น (Writing)
(3) คณิตศาสตร์ (A Rithmetic)
2) 8Cs คือ
(1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่าง
มีวจิ ารณญาณ และทักษะในการแก้ปญั หา)
(2) Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม)
(3) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื
การท�ำ งานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ �ำ )
(4) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่าง
วัฒนธรรมต่างกระบวนทศั น)์
(5) Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะดา้ นการ
สื่อสารสารสนเทศ และร้เู ท่าทันสอ่ื )
(6) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร)
(7) Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นร)ู้
(8) Change (การเปลย่ี นแปลง)
37
3) 2Ls คอื
(1) Learning Skills (ทกั ษะการเรียนร)ู้
(2) Leadership (ภาวะผูน้ �ำ )
พิมพนั ธ์ เตชะคุปต์ และคณะ (2557) กลา่ วถงึ ทักษะศตวรรษที่ 21 ของเดก็ ไทยควรมที ักษะ
ดงั น้ี E (4R + 7C) โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี
1) E คือ Ethical Person ผมู้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม
2) 4R คือ Reading Writing Arithmetic และ Reasoning
3) 7C คอื
(1) Creative Problem-Solving Skills ทักษะการแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
(2) Critical Thinking Skills ทักษะการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
(3) Collaborative Skills ทักษะการท�ำ งานร่วมกนั อย่างมีพลงั
(4) Communicative skills ทักษะการสื่อสาร
(5) Computing Skills ทกั ษะการใชค้ อมพิวเตอร์
(6) Career and Life Skills ทกั ษะอาชพี และทักษะการใช้ชีวิต
(7) Cross-cultural Skills ทกั ษะการใช้ชีวิตข้ามวฒั นธรรมขา้ มสังคม
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 (2560) ระบุว่า ทักษะสำ�คัญในโลกแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย
1) 3Rs คือ
(1) การอ่าน (Reading)
(2) การเขียน (Writing)
(3) คณิตศาสตร์ (ARithmetic)
2) 8Cs คือ
(1) ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ญั หา (Critical
Thinking and Problem Solving)
(2) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
(3) ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ (Collaboration,
Teamwork and Leadership)
(4) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross
cultural Understanding)
(5) ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ (Communications,
Information, and Media Literacy)
38
(6) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
(Computing and ICT Literacy)
(7) ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills)
(8) ทักษะการเห็นอกเหน็ ใจ (Compassion) คือ มีความเมตตา กรุณา วนิ ยั
คณุ ธรรม จริยธรรม
1.3 การจัดการเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะในศตวรรษที่ 21
1.3.1 บทบาทของครูและนกั เรียน
ปัญหาสำ�คัญของการจดั การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 คอื บทบาทของครูและนักเรียน
ในแต่ละข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ไม่ชัดเจน ทำ�ให้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันไม่เอ้ืออำ�นวย
ให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองหรือเรียนรู้ร่วมกัน แต่เป็นไปในเชิงควบคุม ส่ังการ และถ่ายทอดความรู้
มากกวา่ จะใหน้ กั เรยี นสรา้ งความรดู้ ว้ ยตนเอง สง่ ผลใหน้ กั เรยี นขาดแรงบนั ดาลใจในการเรยี นรู้ ไมใ่ ฝเ่ รยี นรู้
ไมร่ สู้ กึ สนกุ ไมม่ ีความสขุ ในการเรยี นรู้ (วิจารณ์ พานิช, 2556) ดงั น้ัน การจดั การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21
ต้องไม่อยู่เฉพาะในห้องเรียนเท่าน้ัน นักเรียนต้องเป็นผู้ค้นพบหรือสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจากการ
ลงมอื ปฏิบัติ (Learning by doing) ในสถานการณ์ต่าง ๆ ผสู้ อนเปลี่ยนบทบาทจากผ้ถู า่ ยทอดความรู้
เป็นผู้อำ�นวยการเรียนรู้ (Facilitator) และเป็นครูฝึก (Coach) ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และ
สถานการณป์ ัญหา กระต้นุ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหเ้ กดิ การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ยกระดับ
การเรียนรู้ของนกั เรยี นดว้ ยการตง้ั คำ�ถามและประเมินผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้อย่างต่อเนอื่ ง (วจิ ารณ์ พานิช,
2555) ซึ่งศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2565), สำ�นักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน (2562) ไดก้ ลา่ วถงึ ลกั ษณะการเรียนแบบ Active Learning ไว้ดงั น้ี
1) เปน็ การพฒั นาศกั ยภาพการคดิ การแกป้ ญั หาและการน�ำ ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้
2) ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั ระบบการเรยี นรแู้ ละสรา้ งองคค์ วามรโู้ ดยมปี ฏสิ มั พนั ธ์
รว่ มกนั ในรปู แบบของความรว่ มมือมากกวา่ การแข่งขนั
3) เปิดโอกาสให้ผ้เู รยี นมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด
4) เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศสู่ทักษะการคิด
วเิ คราะหส์ ังเคราะหแ์ ละประเมินคา่
5) ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรคู้ วามมีวนิ ยั ในการทำ�งานร่วมกบั ผ้อู ืน่
6) ความรเู้ กิดจากประสบการณ์และการสรปุ ของผู้เรียน
7) ผู้สอนเป็นผู้อำ�นวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเป็น
ผู้ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง
39
โดยสรุป สิ่งสำ�คัญของการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 สำ�หรับ
ผเู้ รยี นเทคนคิ และอาชวี ศกึ ษา จงึ ใหค้ วามสำ�คญั กบั การพฒั นาครเู พอื่ ใหค้ รสู ามารถออกแบบและจดั การ
เรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เปลี่ยนจากผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้อำ�นวยการเรียนรู้ (Facilitator)
และเปน็ ครฝู กึ (Coach) ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชน้ วตั กรรมการเรยี นรเู้ ชิงรกุ กระตนุ้
และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านโลกออนไลน์ (online learning) เป็นต้น แล้วนำ�ความรู้
เหลา่ นน้ั ไปสรา้ งสรรคโ์ ครงงานหรือนวตั กรรมทผ่ี ู้เรยี นสนใจ สอนให้น้อยลง (Teach Less) แต่ให้ผ้เู รยี น
เรียนรู้และปฏิบัติด้วยตนเองในการแสวงหาข้อมูลความรู้ทำ�กิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือค้นพบองค์ความรู้ให้
มากขน้ึ (Learn More) ตลอดจนออกแบบการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรหู้ รอื พฒั นาทกั ษะ
ไปตามศักยภาพที่แตกต่างกันของแต่ละคน จึงเป็นการเรียนรู้ที่มุ่งตอบสนองความต้องการเรียนรู้
ส่วนบคุ คล (Personalized Learning) ซ่ึงเป็นการเสรมิ พลงั การเรยี นรู้ (Empowered) ใหก้ ับผู้เรียน
แต่ละคน และตดั สินผลการเรียนโดยพิจารณาจากร่องรอยความสามารถในการปฏิบตั ิ (Evidence of
Mastery) จึงไมย่ ึดตดิ กับเวลาเรยี นในชัน้ เรยี นแตอ่ ยา่ งใด (Competency works, 2019 อา้ งองิ จาก
ชุมพล คำ�เทียน และพิชญาภา ยืนยาว) น่ีคือโอกาสสำ�คัญท่ีสถานศึกษาจะเตรียมพร้อมผู้เรียนด้าน
อาชีวศึกษาให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นกำ�ลังสำ�คัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ให้เปน็ ผทู้ ่สี ามารถ สรา้ งงานและประกอบอาชพี
1.3.2 ลกั ษณะการจดั การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
ในการจัดการเรียนการสอนหรือการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นไปตามแนวทางของ
Active Learning นั้น สามารถทำ�ไดห้ ลากหลาย เชน่ การท�ำ งานเป็นกลุ่ม การอภปิ ราย การส่อื สาร
ระหวา่ งกนั การแสดงบทบาทสมมติ การมีส่วนร่วมในช้นั เรยี น การร่วมกันเขียนบทความสั้น
Brookfield (2005) ได้เสนอตัวอย่างการจัดกิจกรรม Active Learning
พอสรปุ ได้ ดังน้ี
1) Class discussion มีการสนทนากนั แบบตัวต่อตัว หรอื ทาง Online เม่อื จบการ
เรียนรู้เร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ผู้สอนจะกำ�หนดหัวข้อเพื่ออภิปรายร่วมกัน และอาจจะช่วยกันกำ�หนดหน้าท่ี
ของแต่ละคน ซึง่ จะทำ�ให้ผ้เู รยี นมีความเข้าใจในเรอื่ งเรียนมากขึน้ เปน็ การฝกึ ทกั ษะการคิดและพัฒนา
ความคดิ สงั เคราะห์ โดยการหลอมรวมสงิ่ ตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั
2) Thinking - Pair - Share หลังจากผู้เรยี นได้เรยี นรเู้ รอ่ื งใดเรื่องหน่งึ จบแลว้ จะใช้
เวลาในการจบั คู่อภิปราย หรืออภิปรายร่วมกนั ทุกคนจะได้ทำ�กจิ กรรม สนุกสนานในการอภิปรายรว่ ม
กนั กจิ กรรมนี้จะประหยดั เวลา ผเู้ รียนสามารถสรปุ เนอ้ื หาสาระไดอ้ ย่างรวดเร็วแต่อาจจะเหมาะสมกบั
ห้องเรียนทม่ี ผี เู้ รียนจำ�นวนนอ้ ย ๆ
3) Short writing exercise กิจกรรมน้ีเป็นการทบทวนเรื่องที่เรียนรู้มาแล้ว
ผู้สอนจะให้ผเู้ รยี นเขียนขอ้ ความ/บทความ สน้ั ๆ ภายใน 1 นาที (a one - minute paper) หรอื อาจ
จะใช้เวลา 10 นาที ข้ึนอยกู่ บั ความพรอ้ มของผู้เรียนและเนื้อหาสาระ
40
4) Collaborative Learning group เป็นการทำ�งานกลุ่ม ๆ ละ 3 - 6 คน
ในการทำ�งานจะมีการแบ่งหน้าที่เป็นผู้นำ� และผู้จดบันทึกข้อมูล ผู้สอนอาจจะกำ�หนดเรื่องที่ให้ผู้เรียน
ศึกษาคน้ คว้า แล้วน�ำ เสนอหนา้ ชนั้ เรียนหรอื จัดทำ�เป็นลกั ษณะของโครงงาน
5) Student debate ผสู้ อนก�ำ หนดเรอ่ื งใหผ้ เู้ รยี น ผเู้ รยี นท�ำ หนา้ ทน่ี �ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดร้ บั
มาอภิปรายรว่ มกัน
6) Reaction to a Video เปน็ การแบง่ ใหผ้ เู้ รยี นท�ำ งานเปน็ กลมุ่ หรอื เปน็ คเู่ ปน็ การ
ให้ผู้เรียนดู Video เนื้อหาตรงตามเร่ืองท่ีเรียน และแจกคำ�ถาม 2 - 3 คำ�ถามก่อนดู Video
เมื่อดู Video จบ แลว้ อภปิ รายและเขยี นสรปุ แสดงความคิดเห็นตามประเด็นค�ำ ถามท่ีผสู้ อนมอบให้
7) Small group discussion เป็นการจดั กลุม่ เล็ก ๆ ในหอ้ งเรยี นท่ีมผี ู้เรยี นจ�ำ นวน
มาก ผสู้ อนจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ปน็ เกม หรอื การแขง่ ขนั เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นท�ำ งานรว่ มกนั มกี ารแสดงความ
คิดเห็น และแสดงออกถึงการได้รับความร้ใู นกลุม่ ของตนเอง
8) Class game เป็นการทบทวนความรู้ความเข้าใจก่อนการเรียน ผู้สอนอาจให้
ผเู้ รยี นไดเ้ ลน่ เกมอกั ษรไขว้ (Crossword puzzles) หรอื เกมตา่ ง ๆ จะท�ำ ใหผ้ เู้ รยี นสนกุ สนานและเปน็ การ
ทบทวนความรู้
ส�ำ นกั งานวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา (2560) ไดอ้ ธบิ ายเกยี่ วกบั แนวทางการจดั
กิจกรรมการเรยี นร้แู บบเชิงรกุ Active Learning ไวด้ ังน้ี
1) มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้
(1) ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในการตง้ั ค�ำ ถาม หาคำ�ตอบ และนำ�เสนอ
(2) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอธิปราย แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน
ความคิดเหน็
3) ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการเสนอรปู แบบการจดั กิจกรรมและช้ินงาน
4) ผู้เรยี นมีโอกาสได้ทำ�งานกลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่ และเป็นคู่
2) คดิ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ สงั เคราะห์
(1) ผู้เรียนไดค้ ิดวเิ คราะห์
(2) ผู้เรยี นไดส้ ังเคราะห์
(3) ผเู้ รียนไดค้ ิดอย่างมวี ิจารณญาณ
(4) ผู้เรียนได้ประเมินค่า
3) สรา้ งการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
(1) ผ้เู รยี นออกแบบการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Self - directed)
(2) ผ้เู รยี นไดส้ รา้ งสรรค์ชิน้ งาน/ผลงาน (Creation or innovative task)
(3) ผู้เรียนไดป้ ระเมนิ ตนเองเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ (self - evaluation)
(4) ผเู้ รยี นก�ำ กบั ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรขู้ องตนเอง (self - management)
41
4) น�ำ ความรูไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ และเชอื่ มโยงสภาพแวดล้อมใกลต้ ัว ปัญหาชุมชนสงั คม
หรอื ประเทศชาติ
(1) น�ำ ความรูป้ ระยกุ ตใ์ ช้ในสถานการณใ์ หม่
(2) เช่ือมโยงความรู้กับสภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปัญหาของชุมชน สังคมหรือ
ประเทศชาติ
1.3.3 งานวิจัยการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ Active Learning
รสิตา รักสกุล (2557) ทำ�การศึกษาสัมฤทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบ
บรู ณาการโดยใช้ Active Learning โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาสมั ฤทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอน
แบบบูรณาการโดยใช้ Active Learning ประเมินคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
โดยใช้ Active Learning เปรียบเทียบสัมฤทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้
บูรณาการโดยใช้ Active Learning และเพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เรยี นตอ่ การจดั การเรียนการ
สอนแบบบูรณาการโดยใช้บูรณาการโดยใช้ Active Learning พบวา่ 1) คุณภาพของการจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการโดยใช้ Active Learning มีคุณภาพอยูใ่ นระดบั ดีมาก 2) ผลการเปรยี บเทยี บ
สมั ฤทธผิ ลของผเู้ รียนด้วยวธิ ีการจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการโดยใช้ Active Learning หลงั การ
จัดการเรียนการสอนมีสัมฤทธิผลสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนการสอนอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่
ระดับ .05 ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้บูรณาการ
โดยใช้ Active Learning มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก
จลุ พจน์ จริ วชั รเดช, เอกรตั น์ รวยรวย, อนศุ ษิ ฏ์ อนั มานะตระกลู , ชดิ พร วรวมิ ตุ และ
วิศิษฏ์ ศรีวิยะรัตน์ (2559) ได้ทำ�การศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกท่ีใช้รูปแบบห้องเรียนกลับทาง
รว่ มกบั เทคนคิ กระบวนการในรายวชิ าพน้ื ฐานทางดา้ นวศิ วกรรมโยธา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื น�ำ เสนอวธิ ี
การจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุกในรายวิชาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา สำ�หรับวิธีการ
จัดการเรียนรู้เชิงรุกผู้วิจัยได้เลือกใช้รูปแบบห้องเรียนกลับทางร่วมกับเทคนิคของกระบวนการมา
ผสมผสานเข้าด้วยกัน วิธีการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางช่วยให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาวิชามา
ล่วงหน้าตามที่ผู้สอนได้เตรียมไว้ ส่วนเทคนิคของกระบวนการช่วยให้ผู้สอนสามารถสร้างกระบวนการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้เรียน เกิดการอภิปรายร่วมกันอย่างลงลึก สามารถแก้โจทย์ปัญหาที่มีความ
ซบั ซอ้ นได้ นอกจากนน้ั ทกั ษะของกระบวนการยงั ชว่ ยใหผ้ สู้ อนเปลย่ี นบทบาทจากผบู้ รรยายเปน็ ผอู้ �ำ นวย
ความสะดวกไดส้ ำ�เร็จ สง่ ผลให้ผเู้ รยี นกล้าที่จะคดิ กลา้ ท่จี ะถามผู้สอนในประเด็นทีย่ งั มคี วามลงั เลสงสัย
ยุภาลัย มะลิซ้อน และกาญจน์ เรืองมนตรี (2563) ทำ�การวิจัยเร่ือง การพัฒนา
สมรรถนะครดู า้ นการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ในสถานศกึ ษา สงั กดั ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
มหาสารคาม เขต 2 โดยมวี ตั ถุประสงค์ เพื่อ (1) ศกึ ษาสภาพปจั จุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการ
จัดการเรียนรูเ้ ชิงรกุ ในสถานศกึ ษา สังกดั สำ�นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2
42
และ (2) พัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในสถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 2 ผลการวจิ ัย พบว่า (1) สภาพปัจจุบันของการจดั การเรียนรู้
เชงิ รกุ ในสถานศกึ ษา สงั กดั สำ�นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรวมอยู่
ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน ซ่ึงด้านท่ีมีค่าเฉลี่ย
สงู สดุ คอื การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ สว่ นสภาพทพ่ี งึ ประสงคข์ องการจดั การเรยี นรู้
เชิงรุกในสถานศกึ ษา สงั กดั สำ�นักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรวมอยู่
ในระดบั มากทสี่ ดุ เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ทกุ ดา้ น ซง่ึ ดา้ นทม่ี คี า่ เฉลยี่ สงู สดุ
คอื การออกแบบการเรยี นรู้ (2) การพฒั นาสมรรถนะครดู า้ นการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ในสถานศกึ ษา สงั กดั
สำ�นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ดำ�เนินการ 2 วงรอบ ดังนี้ วงรอบท่ี 1
โดยใชก้ ลยทุ ธใ์ นการพฒั นาสมรรถนะครู คอื การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร และการนเิ ทศภายใน พบวา่ กลมุ่
เปา้ หมายสามารถจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ตามทก่ี �ำ หนดไวใ้ นแผนการจดั การเรยี นรู้ สรปุ โดยรวมมกี ารปฏบิ ตั ิ
อยู่ในระดบั มาก ถ้าพจิ ารณารายข้อ พบว่า กลมุ่ เปา้ หมายสามารถจัดการเรยี นรู้เชิงรุกอย่ใู นระดับมาก
ที่สดุ 2 รายการ และมีการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุกอยใู่ นระดบั มาก 8 รายการ รายการทม่ี คี า่ เฉลย่ี สรุปโดย
รวมมากท่ีสดุ คือ ผสู้ อนกำ�หนดวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายในการเรียนรู้ และรายการท่มี คี ่าเฉล่ียสรปุ
โดยรวมน้อยทสี่ ุด คอื ผ้สู อนจัดการเรยี นร้ทู ี่เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดว้ ิเคราะหว์ จิ ารณแ์ ละอภปิ รายอยา่ ง
กว้างขวาง และวงรอบท่ี 2 โดยใชก้ ลยทุ ธ์ในการพฒั นาสมรรถนะครู คอื การนเิ ทศแบบพเ่ี ล้ยี ง พบวา่
ครูเป้าหมายสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุกตามที่กำ�หนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ โดยรวมเฉลี่ยมีการ
ปฏบิ ัติอยู่ในระดบั มาก ถ้าพจิ ารณารายขอ้ พบว่า ครูเปา้ หมายสามารถจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ อย่ใู นระดบั
มากท่ีสดุ 5 รายการ และมีการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุกอยู่ในระดบั มาก 5 รายการ รายการทมี่ ีคา่ เฉลี่ยสรุป
โดยรวมมากท่ีสุด คือ ผู้สอนกำ�หนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการเรียนรู้ และรายการท่ีมีค่าเฉล่ีย
สรุปโดยรวมน้อยทส่ี ุด คอื ผ้สู อนจัดการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ให้ผู้เรยี นเกิดทกั ษะการคดิ ขัน้ สูง และคดิ แก้ปัญหา
พลตรี สงั ขศ์ รี (2561) ศกึ ษาการพฒั นาการจดั การเรยี นรายวชิ างานเชอ่ื มและโลหะแผน่ รหสั
วิชา 3100-0007 โดยใช้เอกสารคำ�สอนประกอบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สำ�หรับนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สูง สงั กัดส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา พบว่า 1) การจดั การเรียน
รายวิชางานเช่ือมและโลหะแผ่น รหัสวิชา 3100 - 0007 โดยใช้เอกสารคำ�สอนประกอบการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก สำ�หรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา มปี ระสิทธิภาพ E1 / E2 = 81.90 / 81.03 2) ดชั นปี ระสิทธิผล (Effectiveness Index :
E.I.) ของการจดั การเรียนรายวชิ างานเชอื่ มและโลหะแผน่ รหัสวิชา 3100 - 0007 โดยใช้เอกสารค�ำ สอน
ประกอบการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สงู สงั กัดสำ�นกั งาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษามคี ่าเท่ากบั 0.57 แสดงวา่ นกั ศกึ ษามคี วามรเู้ พิม่ ขน้ึ 0.57 3) ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของการจดั การเรยี นรายวชิ างานเชอื่ มและโลหะแผน่ รหสั วชิ า 3100 - 0007 โดยใชเ้ อกสาร
คำ�สอนประกอบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สำ�หรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สังกัด
43
ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาหลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05
และ 4) ประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาทม่ี ตี อ่ การจดั การเรยี นรายวชิ างานเชอ่ื มและโลหะแผน่ รหสั
วิชา 3100-0007 โดยใช้เอกสารคำ�สอนประกอบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก สำ�หรับนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก
จากการสังเคราะหเ์ อกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งพบวา่ การจดั การเรียนรู้เพือ่ พฒั นาทกั ษะ
ในศตวรรษที่ 21 แบบ Active Learning ซึ่งเปน็ รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่สี ามารถพัฒนา
คณุ ลกั ษณะและทกั ษะ 3R8C ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ไดท้ กุ ระดบั ชน้ั ทกุ สาขา โดยบทบาททส่ี �ำ คญั
คอื ครผู ู้สอนผู้ออกแบบแผนการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning จะต้องค�ำ นึงถึงประเดน็ ส�ำ คัญท่ี
จะเป็นการขบั เคลอื่ นใหก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning เกดิ ประสทิ ธิภาพอย่างสูงสดุ กล่าวคือ
1. ครผู สู้ อนจะตอ้ งลดบทบาทของตนเองใหเ้ ปน็ เพยี งผชู้ แี้ นะ คอยแนะนำ�และอ�ำ นวยความสะดวกใหแ้ ก่
ผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้และสามารถตอบสนองต่อวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 2. ครผู สู้ อนจะ
ต้องสร้างบรรยากาศในการมีส่วนร่วมและการปฏิสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างผู้เรียนในชั้นเรียน และระหว่าง
ผูเ้ รยี นกับผู้สอน เพอื่ ผ้เู รยี นจะได้เกดิ พฤตกิ รรมการกลา้ แสดงความคิดเห็น กลา้ พดู กลา้ คิด กลา้ วิพากษ์
วิจารณ์เพ่ือเป็นการสะท้อนคิด 3. ครูผู้สอนจะต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกล้าคิด คอยกระตุ้นให้
ผู้เรียนค้นคว้าหาคำ�ตอบด้วยตนเองและมีความมั่นใจในตนเองมากข้ึน 4. ครูผู้สอนจะต้องมีใจกว้าง
ยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผเู้ รยี นและคอยสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นรูใ้ หแ้ กผ่ ู้เรยี น 5. ครูผสู้ อนจะต้อง
ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือคิด ลงมือปฏิบัติ ลงมือทำ�ด้วยตนเองเพื่อ
สะท้อนความคิดในสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง นำ�ไปสู่การพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาให้เป็น
นวัตกร หรือพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาที่สามารถสร้างและผลิตนวัตกรรม เพื่อนำ�ไปสู่สินค้าเพ่ือการ
จ�ำ หนา่ ยได้ และส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนมองเห็นภาพงานอาชีพตา่ ง ๆ โดยม่งุ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นรจู้ ักตนเอง สาํ รวจ
ความสนใจความถนัดและมองเห็นเส้นทางชีวิตในอนาคต เพ่ือวางแผนในการศึกษาต่อหรือเข้าสู่ตลาด
แรงงานไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ มที กั ษะและศกั ยภาพสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานดา้ นทกั ษะ
ฝีมือด้านร่างกายและจิตใจด้านลักษณะ นิสัยในการทำ�งาน (ขยัน อดทน กระตือรือร้น ซ่ือสัตย์และ
รบั ผดิ ชอบ) ให้สามารถก้าวสู่โลกแห่งการทำ�งานหรือศึกษาต่อ ซ่ึงสาขาอาชีพแห่งอนาคต การจะเป็น
ผู้ชำ�นาญเป็นผู้เช่ียวชาญนอกจากจะต้องมีความรู้ในเรื่องของเทคโนโลยีการมีความคิดสร้างสรรค์แล้ว
(วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์, 2560) ยังจะต้องมีทักษะความเก่งอยู่ 4 ด้านด้วยกัน คือ ต้องเก่งการเรียนรู้
ตอ้ งเรยี นรใู้ นเร่อื งทตี่ นเองสนใจ ไมใ่ ช่เรยี นไปตามหลกั สูตร ต้องเรียนเรอื่ งท่ตี นเองมีความหวงั แลว้ สรา้ ง
ความรขู้ องตนเองให้ได้ เกง่ ท่ี 2 คือ การเกง่ งาน เก่งในการทำ�งานร่วมกับผู้อน่ื เกง่ ในเรื่องของการนำ�
เทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นการทำ�งาน และเกง่ ในการนำ�เสนอการพดู ใหค้ นเขา้ ใจได้ เกง่ ท่ี 3 คอื การเกง่ คิด
ต้องคิดเป็น โลกในยุคน้ีต้องการนวัตกรรม ทุกองค์กรต้องการนักคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสุดท้ายคือ
การเก่งชวี ิต เชน่ ความอดทน เป็นตน้
44
45
แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรื่อง การประยุกต์ใชแ้ ฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio)
ในการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning
หน่วยท่ี 1 แนวคิดการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
ค�ำ ชีแ้ จง 1. แบบทดสอบนี้เปน็ แบบทดสอบชนดิ เลอื กตอบ จ�ำ นวน 15 ข้อ เวลา 15 นาที
2. แบบทดสอบในแตล่ ะขอ้ มี 4 ตวั เลอื ก ก ข ค หรอื ง โดยใหท้ า่ นเลอื กท�ำ เครอ่ื งหมาย
X ทับตัวเลอื ก ก ข ค หรือ ง ทถี่ ูกทีส่ ดุ เพียงตัวเลือกเดยี วในกระดาษค�ำ ตอบ
3. กรณที ่านต้องการเปล่ียนค�ำ ตอบ ใหท้ ่านทำ�เคร่ืองหมาย = ทบั ตวั เลอื กเดมิ
และท�ำ เครอ่ื งหมาย X ทับตัวเลือกที่ท่านเลือกใหม่ เช่น ทา่ นตอ้ งการเปลยี่ นตัวเลอื ก
= ก เปน็ ค
o) Xก ข Xค ง
1. การที่ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรู้แบบ Active Learning จะสง่ ผลดีต่อผเู้ รียนในเร่ืองใดสำ�คัญทีส่ ดุ
ก. ผเู้ รียนมคี วามสนกุ สนานจากการเรียนรู้
ข. ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรอู้ ย่างแทจ้ รงิ ตามศกั ยภาพ
ค. ผู้เรยี นได้รับประสบการณจ์ ากการเรยี นอยา่ งหลากหลาย
ง. ผเู้ รียนได้เรยี นรไู้ ปพร้อมกับครแู ละเพอ่ื นๆ ในช้นั เรยี น
2. กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอนท่ีสอดคล้องกบั Active Learning มากทสี่ ุดคือขอ้ ใด
ก. ผ้เู รียนกรอกแบบสอบถามการเลือกเรยี นตามชมรม
ข. ครูให้ผเู้ รยี นทำ�แบบฝกึ หดั จากใบความรู้และใบงาน
ค. ครูสาธิตวิธกี ารจัดทำ�แฟม้ สะสมผลงาน e-portfolio
ง. ผ้เู รยี นจำ�ทำ� e-portfolio โดยใช้ Canva และ Google sites
3. บทบาทของครูท่ีเนน้ การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ แบบ Active Learning ควรเป็นข้อใด
ก. ครเู ป็นผู้ก�ำ กับอำ�นวยการ ผ้เู รียนเป็นผแู้ สดง
ข. ครเู ปน็ ตวั อย่างและเปน็ ผนู้ �ำ ผตู้ ามท่ีดี
ค. ครูตอ้ งเป็นผูร้ อบรแู้ ละเรยี นรเู้ ทคโนโลยใี หม่ๆ
ง. ครูตอ้ งจดั การเรยี นรเู้ พ่ือเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ มหาวิทยาลยั ได้
4. การจดั การเรยี นการสอนข้อใด ตอบสนองการเรยี นรูเ้ ชงิ รกุ แบบ Active Learning น้อยท่สี ดุ
ก. การจดั การเรยี นการสอนแบบร่วมมือ
ข. การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้เครอื ขา่ ยเป็นฐาน
ค. การจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ารวจิ ยั เป็นฐาน
ง. การจดั การเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
46
5. การจัดการเรยี นการสอนข้อใด ทส่ี ่งเสริมทกั ษะด้านความรู้ (3R) ของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21
ได้ตรงมากที่สุด
ก. การจดั การเรียนการสอนใหร้ ว่ มมือและทำ�งานเป็นทีม
ข. การจดั การเรยี นการสอนใหเ้ ข้าใจบทบาทต่างวฒั นธรรม
ค. การจดั การเรียนการสอนใหส้ รา้ งสรรคแ์ ละปรับนวัตกรรม
ง. การจดั การเรยี นการสอนใหอ้ า่ นออก เขยี นได้ และคดิ เลขเปน็
6. การจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษท่ี 21 ถ้าพดู ถึงกรอบแนวคิด ขอ้ ใดสำ�คัญน้อยทีส่ ุด
ก. ครูต้องลดบทบาทการสอนไปเปน็ โค้ช
ข. ครูต้องเป็นมอื อาชพี ใหไ้ ดว้ ทิ ยฐานะสูงขึน้
ค. บทบาทของผูเ้ รียนต้องเป็นผูเ้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
ง. ต้องก้าวขา้ มสาระวชิ าไปสู่การเรยี นรู้ศตวรรษท่ี 21
7. การจัดการเรียนการสอนข้อใด ท่สี ่งเสรมิ ทักษะชีวติ และอาชีพ ของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21
ไดต้ รงมากที่สุด
ก. การใหผ้ เู้ รยี นไปดภู าพยนตท์ ี่เสนอเกีย่ วกบั บรษิ ัททส่ี �ำ เรจ็
ข. การใหผ้ ้เู รียนไปฟงั บรรยายจากอาจารย์ทีม่ ีความส�ำ เรจ็ สูง
ค. การใหผ้ ้เู รียนปฏบิ ัติงานโครงงานในสถานประกอบการทไ่ี ดม้ าตรฐาน
ง. การให้ผเู้ รยี นออกสำ�รวจอาชีพท่ีประชาชนในท้องถิน่ ชอบและนบั ถอื
8. การจัดการเรยี นการสอนในขอ้ ใดทส่ี ่งเสริมการเรยี นรดู้ า้ นทักษะการเรียนร้แู ละนวัตกรรมมากที่สุด
ก. การเรยี นรแู้ บบโต้วาที (Student debates)
ข. การเรยี นรแู้ บบ PBL (Problem-Based Learning)
ค. การเรียนรูแ้ บบการเขียนบนั ทกึ (Keeping journals or logs)
ง. การเรียนรู้แบบผเู้ รยี นสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions)
9. บทบาทของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 ทีเ่ ปล่ยี นไปจากเดิมมากทส่ี ุด คอื เรอ่ื งใด
ก. มีอิสระและเลือกเรยี นสงิ่ ที่ตนพอใจและต้องการเรียนรู้
ข. มีอสิ ระในการเล่นเกมสนุกสนานเพราะเป็นการเรียนรู้
ค. มอี สิ ระในการดัดแปลงนวตั กรรมและวธิ กี ารเรียนร้ขู องตนเอง
ง. มอี ิสระในการตรวจสอบหาความจริงทุกอย่างท่ีตอ้ งการเรียนรู้
10. บทบาทของครูในศตวรรษท่ี 21 ทเ่ี ปลย่ี นไปจากเดิมมากท่สี ุด คอื เรื่องใด
ก. การลดบทบาทการประเมนิ ผลโดยให้ผูเ้ รยี นประเมนิ ตนเอง
ข. การลดบทบาทการบอกความรเู้ ปน็ การกระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นเรียนรู้เอง
ค. การเพ่ิมโอกาสในการเรียนรูแ้ ละศึกษาตอ่ เพือ่ พัฒนาตนเอง
ง. การใช้ส่อื เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์
47
11. การจดั การเรยี นการสอนในขอ้ ใดทม่ี งุ่ พฒั นาทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ (Critical Thinking
Skills) ไดม้ ากทส่ี ดุ
ก. การวเิ คราะห์และน�ำ เสนองานกลมุ่ ท่เี สรจ็ แลว้
ข. การใหผ้ ้เู รียนสอบถามอาชีพท่ีนา่ สนใจของชมุ ชน
ค. การผ้เู รยี นส�ำ รวจขอ้ มลู ความสนใจของคนในทอ้ งถ่ิน
ง. การให้ผเู้ รียนวเิ คราะห์ขา่ ว/โฆษณา แล้วสรปุ ขอ้ เท็จจรงิ
12. ครูผู้สอนในขอ้ ใดใชท้ กั ษะการเรยี นรู้ศตวรรษที่ 21 มาพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนไดเ้ หมาะสม
ทีส่ ุด
ก. ครแู ดง จดั ท�ำ ส่ือการสอนแบบออนไลนผ์ ่าน Google Sites
ข. ครูขาว สอนและทดสอบผู้เรยี นผา่ นมอื ถอื ระบบ Andirons
ค. ครูเขยี ว ให้ผูเ้ รียนท�ำ แผนภูมิเสนองานด้วยโปรแกรม Power Point
ง. ครเู หลอื ง การให้ผเู้ รยี นทำ�ใบงานสง่ ทาง email หรือทาง line
13. ขอ้ ดขี องการจัดการเรียนรูแ้ บบ Active Learning ยกเวน้ ข้อใด
ก. กจิ กรรมที่เปน็ พลวัตผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในทุกกจิ กรรม
ข. กจิ กรรมท่ีท้าทายและให้โอกาสผเู้ รยี นในการเรยี นรู้
ค. กิจกรรมท่คี รูมีบทบาทส�ำ คญั ในการขับเคลอื่ นการเรียนรู้
ง. กิจกรรมสะท้อนความตอ้ งการและศักยภาพของผเู้ รยี น
14. การเรยี นร้แู บบ Active Learning ขอ้ ใด มีความหมายความสอดคลอ้ งน้อยท่สี ดุ
ก. การเรียนรูโ้ ดยผา่ นการลงมอื ท�ำ งาน
ข. การเรียนรู้ผา่ นการท�ำ โครงงาน
ค. การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการแกป้ ญั หา
ง. การเรียนรู้จากข่าวสารทางสือ่ ทวี ี
15. การจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ทีเ่ น้นมาตรฐานงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกับงานอาชีพ
ผสู้ อนต้องใหค้ วามส�ำ คัญเรอื่ งใดทีส่ ุด
ก. การให้ลงมอื ปฏิบัตแิ บบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning)
ข. การให้ศึกษาลกั ษณะงานท่เี กีย่ วขอ้ งสัมพันธอ์ ยา่ งรอบด้าน
ค. การสอนทเี่ นน้ ทกั ษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning)
ง. การสอนเนน้ ความสัมพนั ธก์ บั หลกั สตู รและสถานประกอบการ
48
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
หน่วยที่ 1 แนวคิดการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
ชดุ นเิ ทศแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง เร่อื ง การพฒั นาและประยกุ ต์ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์
(e - Portfolio) ในการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สำ�หรบั ครูอาชวี ศกึ ษา
ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย
1 ข 11 ง
2 ง 12 ก
3 ก 13 ค
4 ข 14 ง
5 ง 15 ก
6 ข
7 ค
8 ข
9 ก
10 ข
49
50
หน่วยท่ี 2
การประยกุ ต์ใชส้ ารสนเทศ (แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ (e - Portfolio)
2.1 ความรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกบั แฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
2.1.1 ความสำ�คัญของการใช้แฟ้มสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e - Portfolio)
การนำ�สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
แบบ Active Learning จึงเป็นการส่งเสริมให้กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากข้ึน
สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ การจดั การเรยี นรเู้ ปน็ ส�ำ คญั ทมี่ งุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ผลู้ งมอื ปฏบิ ตั จิ ดั กระท�ำ เปน็ การ
เปล่ยี นบทบาทในการเรยี นรู้ของผเู้ รียนจากการเปน็ “ผูร้ บั ” มาเป็น “ผเู้ รยี น” และเปลี่ยนบทบาทของ
ครจู าก “ผสู้ อน” หรอื “ผ้ถู ่ายทอดขอ้ มลู ความรู้” มาเปน็ “ผู้จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู”้ ให้ผู้เรยี น
ซ่ึงการเปล่ียนแปลงบทบาทน้ี เท่ากับเป็นการเปล่ียนจุดเน้นของการเรียนรู้ว่าอยู่ที่ผู้เรียนมากกว่าอยู่ที่
ผู้สอน ผู้เรียนจึงเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน เพราะบทบาทในการเรียนรู้ส่วนใหญ่จะอยู่ท่ีตัว
ผ้เู รียนเป็นสำ�คัญ
การใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) เป็นแนวทางการเก็บรวบรวมผลงานของตนเอง
หรือบางส่วนของหลักฐานท่แี สดงถึงผลสัมฤทธิ์ ความรู้ ความสามารถ ความพยายาม และความถนัด
ของบุคคล เป็นต้น ในปัจจุบันนี้การจัดทำ�แฟ้มสะสมงานกำ�ลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะ
เป็นการสรา้ งแฟ้มสะสมงานเพ่อื ประเมนิ ผลการเรยี นของผเู้ รยี นไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ เพือ่ รวบรวมผลงาน
นำ�เสนอศักยภาพและความสามารถในการสะสมประสบการณ์ที่โดดเด่นในการทำ�งานท่ีผ่านมาของ
ตนเอง ปจั จุบนั หนว่ ยงานและบุคคลต่าง ๆ เล็งเหน็ ถงึ ประโยชน์และความส�ำ คญั ของการทำ�แฟ้มสะสม
งานกนั มากข้นึ (ทวีวฒั น์ แซเ่ ฮง, 2557)
ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมงานนนั้ จะเนน้ บทบาทของผเู้ รยี น
ในการสรา้ งความเขา้ ใจดว้ ยตนเองและสามารถประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของตนเองได้ ซงึ่ กจ็ ะสามารถเหน็
ทงั้ กระบวนการและผลผลติ ของงานทน่ี กั เรยี นท�ำ ได้ อยา่ งไรกต็ าม การทนี่ กั เรยี นจะท�ำ แฟม้ สะสมผลงาน
ได้ผลเป็นอย่างดีนั้น รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องเปล่ียนแปลงไปจากการเนน้ ครู