The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานต่อเนื่อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานต่อเนื่อง

Keywords: รายงานสรุปผล,ผู้สูงอายุ,เทคโนโลยีดิจิทัล,2564

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งาน

โครงการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง

หลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรับผสู้ งู อายุ

ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

กลมุ่ งานพัฒนาการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ภาคตะวันออก

สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กระทรวงศึกษาธกิ าร



คานา

โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สาหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อพัฒนาหลักสูตรทักษะความ
เข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล Digital Literacy สาหรับผ้สู ูงอายุ และ ๒) เพื่อพฒั นาผู้สูงอายุ
ให้มีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล Digital Literacy ซึ่งได้รับความร่วมมือจาก
องค์การบริหารส่วนตาบลตะพง และโรงเรียนผู้สูงอายตุ าบลตะพง ในการดาเนินงานกิจกรรม
ตามโครงการ และจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล
วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย วธิ ีการดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางใน
การดาเนนิ งานต่อเน่ือง เพือ่ เป็นข้อมูลในการพฒั นางานตอ่ ไป

กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออก หวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
หลักสตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลสาหรับผูส้ ูงอายุ จะชว่ ยพัฒนาผู้สูงอายุให้มี
คุณภาพชวี ิตที่ดีตอ่ ไป

กล่มุ งานพัฒนาการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต
พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔



สารบัญ

หน้า

คานา ก
สารบญั ข
สารบญั ตาราง จ
บทท่ี ๑ ๑
บทนา ๑

หลกั การและเหตุผล ๒
วตั ถปุ ระสงค์ ๒
เป้าหมาย ๒
งบประมาณ ๒
เครือขา่ ยการดาเนินงานโครงการ ๓
ดชั นีชวี้ ัดผลสาเร็จของโครงการ ๓
การประเมนิ โครงการ ๓
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ ๔
บทท่ี ๒ ๔
วิธีดาเนินงาน ๕
๑. การพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลสาหรับผู้สงู อายุ ๕
๒. จัดการศึกษาต่อเนอื่ งหลกั สตู รทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั สาหรบั ผู้สงู อายุ ๖
๓. การติดตามผลการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง ๖
๔. การสรปุ ผลและจดั ทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงาน ๗
บทที่ ๓ ๗
ผลการดาเนนิ งาน ๗
๑. การพัฒนาหลักสตู รทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลสาหรบั ผู้สงู อายุ

๑.๑ ขออนมุ ัติโครงการจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง หลกั สตู รทกั ษะความเขา้ ใจและ
ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลสาหรับผสู้ งู อายุ ๗

๑.๒ การประชมุ เตรียมการพัฒนาหลักสูตรทกั ษะความเขา้ ใจและ
ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั สาหรบั ผสู้ งู อายุ

๑.๓ การประชุมพัฒนาหลกั สตู รทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลสาหรบั ผู้สงู อายุ



สารบญั (ตอ่ )

หน้า

๑.๔ การแตง่ ต้ังคณะกรรมการโครงการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง หลักสูตรทกั ษะความเข้าใจ

และใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สาหรับผ้สู งู อายุ ๙

๑.๕ การพิจารณาและกลั่นกรองหลกั สตู รทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล

สาหรับผ้สู ูงอายุ ๙

๑.๖ การขออนมุ ัติใช้หลกั สตู รทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรบั ผ้สู ูงอายุ ๑๐

๒. จัดการศึกษาตอ่ เนอื่ งหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลสาหรบั ผสู้ ูงอายุ ๑๐

๒.๑ การรบั สมคั รผู้เรยี นหลกั สตู รทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาหรับผสู้ ูงอายุ ๑๐

๒.๒ การจัดพธิ ลี งนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมอื และการใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง

“การเรียนร้สู ุขภาพออนไลน์สาหรับผ้สู งู อายุ” ๑๐

๒.๓ การอบรมหลักสตู รทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรับผู้สูงอายุ ครง้ั ท่ี ๑ ๑๒

๒.๔ การอบรมหลักสตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรับผสู้ ูงอายุ คร้งั ที่ ๒ ๒๐

๒.๕ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามหลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและ

ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สาหรบั ผู้สงู อายุ ๒๑

๓. การติดตามผลการจดั การศกึ ษาต่อเน่อื ง ๒๘

๓.๑ รปู แบบการตดิ ตามผลการจดั การศึกษาต่อเนือ่ ง ๒๘

๓.๒ ผลการตดิ ตามการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ๒๘

๔. การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน ๒๙

๔.๑ สรุปผลโครงการจดั การศึกษาต่อเน่อื ง หลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและ

ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลสาหรับผู้สงู อายุ ๒๙

๔.๒ จดั ทาสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน ๒๙

บทท่ี ๔ ๓๐

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๓๐

๑. สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๓๐

๑.๑ การพัฒนาหลกั สตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั สาหรับผ้สู งู อายุ ๓๐

๑.๒ จดั การศึกษาต่อเน่ืองหลกั สตู รทกั ษะความเขา้ ใจและ

ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั สาหรบั ผูส้ งู อายุ ๓๐

๑.๓ การติดตามผลการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง ๓๑

๑.๔ การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน ๓๑

สารบญั (ตอ่ ) ง

๒. ปญั หาอุปสรรค หน้า
๓. แนวทางในการดาเนนิ งานตอ่ เนื่อง
๔. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ พัฒนาการจัดโครงการต่อไป ๓๑
ภาคผนวก ๓๑
ภาคผนวก ก โครงการ ๓๒
ภาคผนวก ข หลกั สูตร ๓๓
ภาคผนวก ค หนงั สอื ราชการ ๓๔
ภาคผนวก ง แบบประเมนิ ๔๒
ภาคผนวก จ ภาพกิจกรรม ๕๑
คณะผ้จู ัดทา ๑๑๘
๑๒๑
๑๔๒



สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ ๑ รายชื่อผสู้ ูงอายทุ ล่ี งทะเบียนอบรมหลักสตู รทักษะความเขา้ ใจและ ๑๓
ใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรับผู้สูงอายุ ๑๔
ตารางที่ ๒ รายชื่อครูที่ปรึกษาและเจ้าหน้าทขี่ องสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ๑๕
ตารางที่ ๓ รายช่อื เจา้ หนา้ ทข่ี องกองสวัสดกิ าร องค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะพง ๑๖
ตารางที่ ๔ สถานภาพทว่ั ไป
ตารางท่ี ๕ ความคดิ เหน็ ของผ้สู ูงอายุทม่ี ีตอ่ การอบรมหลกั สูตรทกั ษะความเข้าใจและ ๑๗
ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาหรบั ผู้สูงอายุ ครง้ั ท่ี ๑ ๑๘
ตารางท่ี ๖ ความคดิ เห็นของผสู้ งู อายุทม่ี ีตอ่ การอบรมฯ สาหรับการประกันคุณภาพ ๒๑
ตารางท่ี ๗ ผลการจัดกจิ กรรม “คาศัพท์ทางเทคโนโลยีที่ถกู ต้องวนั ละคา” ๒๖
ตารางท่ี ๘ ผลการจัดกิจกรรม “คาศพั ท์สมุนไพร” ๒๘
ตารางที่ ๙ รายชือ่ ผูส้ ูงอายุที่มกี ารส่ือสารในกล่มุ LINE “กล่มุ ผสอ. ตะพง ๖๔”

บทที่ ๑
บทนา

หลักการและเหตุผล

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงาน กศน. ได้กาหนดวิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสทาง
การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้อง
กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑” และได้กาหนด ๑๒ ภารกิจ
“เร่งด่วน” ที่จะต้อง “จับต้องได้” ในการส่งเสริมการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล Digital Literacy
ให้กับบุคลากร กศน. ทุกระดับและกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม และภารกิจต่อเนื่อง ข้อ ๑. ด้านการจัด
การศึกษาและการเรียนรู้ ข้อ ๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง ๒) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ
ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล
และมุง่ เนน้ ให้ทุกกลมุ่ เป้าหมายมีทักษะการดารงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มี
ความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม
สาหรับการปรบั ตวั ใหท้ ันต่อการเปล่ยี นแปลงของขา่ วสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต

จากการคาดการณ์ว่าประชากรวัยสูงอายุของประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นประมาณ ๑ ใน ๔ ของ
ประชากรทั้งประเทศ ภายในปี ๒๕๗๓ เป็นผลให้การพึ่งพิงของผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ
ประชากรวัยแรงงานที่จะลดลงในอนาคต จึงนาไปสู่ความท้าทายในหลาย ๆ ด้านที่จะต้องเผชิญ อาทิ
บริการทางการแพทย์ที่ไม่สะดวกต่อผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุที่ต้องอยู่ตามลาพัง รวมถึง
ผสู้ งู อายุท่ีห่างไกลเทคโนโลยีท่ีทาให้เกดิ ช่องวา่ งระหวา่ งตนเองและบุตรหลาน

การดาเนินตามนโยบาย Thailand ๔.๐ ซึ่งเน้นการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือใน
การเพิ่มผลผลิต เพิ่มผลงาน และการบริการประชาชน โดยสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยพัฒนา
คุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุในการให้บริการจากภาครัฐ การพัฒนาสมอง การเพิ่มความมีส่วนร่วมกับ
สังคม การติดต่อกับญาติมิตร ฯลฯ แต่จากข้อมูลทางสถิติ พบว่า ผู้สูงอายุใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่าง
สม่าเสมอเพียง ๓.๙ % เท่านั้น ซึ่งการที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่เข้าใจถึงประโยชน์ของเครื่องมือและขาด
ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทาให้ผู้สูงอายุอาจพลาดโอกาสในการเข้าถึงการมีคุณภาพ
ชีวติ ที่ดีได้

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก มีหน้าที่ภารกิจหลักสาคญั ประการหนึ่ง คือ จัดการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยประเภทการศึกษาตอ่ เนื่องให้สอดคล้องกับความจาเป็นและความสนใจของ
กลุ่มเป้าหมายและประชาชนในเขตภาคตะวันออก จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร
ทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั สาหรับผ้สู งู อายุ เพอ่ื สนบั สนนุ การดาเนินงานตามนโยบายของ
สานกั งาน กศน. และเตรียมความพรอ้ มเข้าส่สู งั คมผสู้ ูงอายุตอ่ ไป



วัตถุประสงค์

๑. เพื่อพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล Digital Literacy สาหรับ
ผู้สูงอายุ

๒. เพ่อื พฒั นาผู้สูงอายใุ ห้มีทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั Digital Literacy

เป้าหมาย จานวน ๔๐ คน

๑. เชิงปรมิ าณ
ผู้สงู อายุ

๒. เชิงคุณภาพ
ผู้สูงอายุมีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการเข้าถึงเทคโนโลยีที่เป็น

ประโยชน์ และชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ีขึน้

งบประมาณ

งบประมาณปี ๒๕๖๔ แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ ๔
ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน จานวนทั้งสิ้น ๘๐,๐๐๐
บาท (แปดหม่นื บาทถ้วน)

เครือข่ายการดาเนินงานโครงการ

๑. โรงเรยี นผสู้ งู อายุตาบลตะพง
๒. ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชพี ผู้สงู อายุตาบลตะพง
๓. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลตะพง
๔. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลตะพง
๕. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลบ้านยายดา
๖. สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอเมอื งระยอง
๗. กศน.ตาบลตะพง และ กศน. อาเภอเมอื งระยอง



ดัชนีช้ีวัดผลสาเร็จของโครงการ

๑. ตัวชว้ี ัดผลผลิต (Outputs)
๑.๑ ร้อยละ ๖๐ ของผู้สูงอายุมีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล Digital

Literacy สาหรับผูส้ ูงอายุ
๑.๒ ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร

ทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั Digital Literacy สาหรบั ผู้สูงอายใุ นระดับดีขนึ้ ไป
๒. ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ (Outcomes)
๒.๑ หลกั สตู รทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล Digital Literacy สาหรับผ้สู ูงอายุ

สามารถนามาจัดการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้เข้าถึงเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ และพัฒนา
คุณภาพชวี ิตใหด้ ีขึน้ ได้

๒.๒ ร้อยละ ๖๐ ของผูส้ ูงอายุสามารถนาความรู้และใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ไปพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตของผ้สู งู อายุได้

การประเมินโครงการ

๑. ประเมนิ ความร้โู ดยใช้การทดสอบ
๒. ประเมนิ ทักษะการปฏิบตั โิ ดยใชผ้ ลการปฏบิ ัตงิ าน (ผลงาน)
๓. ประเมนิ ความคิดเห็นของผเู้ ข้ารบั การอบรมโดยใช้แบบสอบถาม
๔. ตดิ ตามการนาความรู้ไปใชข้ องผสู้ ูงอายุโดยใชแ้ บบติดตามการนาความร้ไู ปใช้

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ

๑. ช่วยเสริมความพร้อมให้แก่สถานศึกษาของสานักงาน กศน. ที่ต้องการมีหลักสูตรทักษะ
ความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลสาหรับผูส้ ูงอายุ สามารถนาไปใช้จดั กิจกรรมฝึกอบรมให้กับผู้สูงอายุ
ได้

๒. เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุ และ
เหมาะสมกบั ผสู้ ูงอายใุ นแตล่ ะบริบทได้

๓. ผู้สูงอายุได้รับความรู้และมีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นประโยนชน์ต่อ
ตนเองได้

๔. สรา้ งเครอื ข่ายสงั คมการสือ่ สารผ่านเคร่ืองมือเทคโนโลยดี ิจิทลั ของกลุ่มผู้สงู อายุ

บทที่ ๒
วิธดี าเนินงาน

โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีวธิ ดี าเนินงาน ดงั น้ี

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่ม เป้า พ้นื ที่ ระยะ
เป้าหมาย หมาย ดาเนินการ เวลา

๑. การพฒั นาหลักสูตร เพอ่ื พฒั นาหลกั สตู ร ๑. ผสู้ งู อายุ ๑. ๕ คน สถาบนั ก.พ.-เม.ย.

ทักษะความเข้าใจและ ทักษะความเขา้ ใจ ๒. บคุ ลากรของ ๒. ๕ คน กศน.ภาค ๒๕๖๔

ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั และใช้เทคโนโลยี อบต. ตะพง ตะวนั ออก

สาหรบั ผูส้ งู อายุ ดิจิทัลสาหรบั ๓. บคุ ลากรของ ๓. ๑๐ คน

ผสู้ งู อายุ สถาบนั กศน.

ภาคตะวันออก

๒. จดั การศึกษา เพือ่ พัฒนาผู้สูงอายุ ๑. ผสู้ งู อายุ ๑. ๔๐ คน สถาบนั พ.ค.-ก.ค.

ต่อเน่ืองหลักสตู ร ให้มที ักษะความ ๒. บุคลากร กศน.ภาค ๒๕๖๔

ทักษะความเข้าใจและ เขา้ ใจและใช้ สถาบัน กศน. ๒. ๑๐ คน ตะวันออก

ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ภาคตะวนั ออก และโรงเรียน

สาหรบั ผ้สู ูงอายุ ผู้สูงอายุ

ตาบลตะพง

๓. การตดิ ตามผล เพือ่ ติดตามผลการ บคุ ลากรสถาบนั ๑๐ คน สถาบนั ส.ค.

การจดั การศกึ ษา นาทกั ษะความเขา้ ใจ กศน.ภาค กศน.ภาค ๒๕๖๔

ตอ่ เนอ่ื ง และใชเ้ ทคโนโลยี ตะวนั ออก ตะวันออก

ดจิ ิทลั สาหรบั

ผสู้ งู อายไุ ปใช้ในการ

พัฒนาคุณภาพชีวิต

๔. การสรปุ ผลและ เพอื่ สรปุ ผลการ บคุ ลากร ๕ คน สถาบัน กศน. ก.ย.

จัดทารายงานสรปุ ผล ดาเนินงาน ปญั หา สถาบัน กศน. ภาค ๒๕๖๔

การดาเนินงาน อุปสรรคและแนว ภาคตะวนั ออก ตะวนั ออก

ทางแก้ไขเพื่อการ

ดาเนินงานในปีต่อไป

ซ่งึ มีรายละเอียดการดาเนนิ งาน ดงั นี้



๑. การพฒั นาหลักสูตรทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลสาหรับผ้สู งู อายุ

ผู้รับผิดชอบโครงการไดว้ างแผนร่วมกับกลุม่ งานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต และบุคลากรของ
สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก เพื่อพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผสู้ ูงอายุ ดังนี้

๑.๑ ขออนุมัติโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั สาหรับผู้สงู อายุ

๑.๒ การประชุมเตรียมการพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผ้สู งู อายุ

๑.๓ การประชุมพฒั นาหลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาหรับผสู้ ูงอายุ
๑.๔ การแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและ
ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั สาหรับผู้สงู อายุ
๑.๕ การพิจารณาและกลั่นกรองหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผสู้ งู อายุ
๑.๖ การขออนมุ ตั ใิ ช้หลักสตู รทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรบั ผสู้ งู อายุ

๒. จัดการศึกษาตอ่ เนอื่ งหลกั สตู รทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลสาหรบั
ผู้สงู อายุ

ผู้รับผิดชอบโครงการได้วางแผนร่วมกับกลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต และบุคลากรของ
สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก เพื่อจัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดจิ ิทลั สาหรบั ผสู้ ูงอายุ ดังนี้

๒.๑ การรับสมัครผู้เรียนหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
๒.๒ การจัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือและการให้ความรู้เรื่อง “การเรียนรู้สุขภาพ
ออนไลนส์ าหรับผู้สูงอายุ”
๒.๓ การอบรมหลกั สตู รทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลสาหรบั ผสู้ งู อายุ คร้งั ที่ ๑
๒.๔ การอบรมหลกั สูตรทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ครงั้ ท่ี ๒
๒.๕ การจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ตามหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดจิ ิทลั สาหรับผู้สูงอายุ



๓. การติดตามผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการได้วางแผนรว่ มกับกลมุ่ งานพฒั นาการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และบุคลากรของ
สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก เพ่ือติดตามผลการจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง ดงั น้ี

๓.๑ รูปแบบการติดตามผลการจดั การศึกษาต่อเน่อื ง
๓.๒ ผลการตดิ ตามการจัดการศกึ ษาตอ่ เน่ือง

๔. การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน

ผู้รับผิดชอบโครงการได้วางแผนรว่ มกบั กลมุ่ งานพฒั นาการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ และบุคลากรของ
สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก เพ่อื สรปุ ผลและจดั ทารายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งาน ดงั นี้

๔.๑ สรุปการประเมนิ ผลโครงการจดั การศกึ ษาต่อเนือ่ งหลักสูตรทักษะความเขา้ ใจและใช้
เทคโนโลยดี จิ ิทลั สาหรบั ผู้สงู อายุ

๔.๒ จดั ทาสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน

บทที่ ๓
ผลการดาเนนิ งาน

โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล Digital Literacy สาหรับผู้สูงอายุ และ ๒) เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีทักษะความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั Digital Literacy มีผลการดาเนินงาน ดังนี้

๑. การพฒั นาหลกั สูตรทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลสาหรับผสู้ งู อายุ

๑.๑ ขออนุมตั โิ ครงการจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง หลักสตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยี
ดิจทิ ัลสาหรบั ผู้สงู อายุ

ผ้รู ับผิดชอบโครงการ ขออนมุ ตั ิโครงการจดั การศึกษาต่อเนื่อง หลกั สตู รทักษะความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ตามบันทึกข้อความที่ ๐๐๖๑/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๑๓ มกราคม
๒๕๖๔

๑.๒ การประชุมเตรียมการพัฒนาหลักสตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาหรับ
ผสู้ ูงอายุ

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก โดยนางสาวธัญญ์ลักษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผู้อานวยการ
นางสาวบุษยา ปิยารมย์ และคณะ ได้ร่วมประชุมกับเจ้าหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลตะพง ใน
วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลตะพง อาเภอเมืองระยอง จังหวัด
ระยอง ซงึ่ มผี ้เู ข้าร่วมประชมุ จานวน ๙ คน ตามบันทึกข้อความท่ี ๐๒๘๖/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์
๒๕๖๔ มผี ลการประชุม ดงั นี้

๑) กาหนดวนั ประชมุ พฒั นาหลกั สูตรทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั Digital
Literacy สาหรับผูส้ งู อายุ ในวนั ท่ี ๘ มนี าคม ๒๕๖๔ ณ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก

๒) บคุ ลากรจากภาคเี ครือขา่ ยทจี่ ะเขา้ รว่ มการประชมุ ฯ ประกอบด้วย
๒.๑) บคุ ลากรจากโรงเรียนผสู้ งู อายุตาบลตะพง จานวน ๕ คน
๒.๒) บคุ ลากรจากองค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะพง จานวน ๔ คน
๒.๓) บคุ ลากรจาก กศน.ตาบลตะพง จานวน ๑ คน

๓) กลมุ่ เป้าหมาย เนื้อหาและกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย
๓.๑) กลุม่ เป้าหมายผู้สูงอายุ จานวน ๔๐ คน
๓.๒) การให้ความรู้ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยใช้

แอปพลเิ คชัน Line, facebook และกจิ กรรมนันทนาการ เช่น งานประดิษฐ์ เล่นอังกะลุง เป็นตน้
๓.๓) ใชร้ ูปแบบกจิ กรรมให้ลงมือปฏิบัตอิ ย่างมีความสุข
๓.๔) ระยะเวลาการจดั กจิ กรรม จานวน ๕ ครง้ั



๔) ข้อเสนอจากองค์การบริหารส่วนตาบลตะพง
๔.๑) การทาข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างสถาบัน กศน. ภาคตะวันออก

และองค์การบริหารส่วนตาบลตะพง เรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อทักษะความรู้ความเข้าใจและ
ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ซึ่งเสนอให้ทาข้อตกลงในวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ โรงเรียน
ผสู้ ุงอายตุ าบลตะพง

๔.๒) สามารถขอรบั การสนบั สนนุ รถรางขององค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะพงเพื่อใชใ้ น
การรับส่งผสู้ ูงอายุได้

๑.๓ การประชุมพฒั นาหลักสตู รทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรับผู้สูงอายุ
สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก โดยนางสาวธัญญ์ลักษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผู้อานวยการ

นางกุลธิดา รัตนโกศล หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต นางสาวบุษยา ปิยารมย์ และคณะ
ได้ร่วมประชุมกับบุคลากรของโรงเรียนผู้สูงอายุตาบลตะพง องค์การบริหารส่วนตาบลตะพง และกศน.
อาเภอเมืองระยอง ในวันจันทร์ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก อาเภอเมืองระยอง
จังหวัดระยอง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม จานวน ๒๐ คน ตามบันทึกข้อความที่ ๐๔๑๓/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๘
มีนาคม ๒๕๖๔

ผลการประชมุ ได้กรอบการจัดทาหลักสตู รทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรบั
ผสู้ งู อายุ

๑) กลุ่มเปา้ หมาย คือ ผสู้ งู อายุ จานวน ๔๐ คน ทมี่ ีโทรศพั ทส์ มารต์ โฟน
๒) รปู แบบของหลกั สูตร เป็นหลกั สูตรกจิ กรรมและประสบการณ์

เป็นหลักสูตรที่ยึดเอากิจกรรม ความสนใจและประสบการณ์แวดล้อมมาเป็นแนวทาง
ในการจัดลาดับประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนาความรู้ไปใช้ได้ในชีวิตจริง โดยเน้น
การพัฒนาผู้สูงอายุมากกว่าปริมาณความรู้ความจา โดยมีข้อดี คือ สนองความต้องการและความสนใจ
ของผู้สงู อายุเปน็ การเรยี นอยา่ งมีความหมาย

๓) กรอบทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล ใชต้ ามกรอบโครงการพฒั นาทกั ษะ
ดจิ ทิ ัลของกระทรวงศึกษาธกิ าร จานวน ๔ เร่ือง คือ

๓.๑) การใช้อปุ กรณ์สมารต์ โฟน
๓.๒) การใชส้ อ่ื อนิ เทอร์เน็ต
๓.๓) ความปลอดภัยในการใชส้ อื่ ดิจิทัล
๓.๔) การใช้เทคโนโลยีหรือแอบพลิเคชนั เพือ่ เช่ือมต่อกบั สังคมและบคุ คลรอบขา้ ง
๔) ใช้กิจกรรมที่ผู้สูงอายุสนใจ และกิจกรรมทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ี
ผู้สงู อายคุ วรเรียนรู้ เปน็ ตัวกาหนดเนอื้ หาและโครงสร้าง



๑.๔ การแตง่ ต้ังคณะกรรมการโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาหรับผสู้ ูงอายุ

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้แต่งตั้งคาสั่งคณะกรรมการโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ๑. คณะกรรมการที่
ปรึกษา ๒. คณะกรรมการฝ่ายพัฒนาและบรรณาธิการหลักสูตร ๓. คณะกรรมการฝ่ายดาเนินการและ
ครูที่ปรึกษา ๔. คณะกรรมการฝ่ายธุรการ การเงิน บัญชี พัสดุและยานพาหนะ ๕. คณะกรรมการฝ่าย
เทคโนโลยีและดิจิทัลทางการศึกษา และ ๖. คณะกรรมการฝ่ายวัดและประเมินผล เพื่อให้การ
ดาเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ตามคาสั่ง สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ท่ี
๐๒๒/๒๕๖๔ ลงวนั ท่ี ๑๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑.๕ การพิจารณาและกลัน่ กรองหลกั สตู รทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั สาหรับ
ผ้สู งู อายุ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตร
ทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลสาหรับผ้สู งู อายุ จานวน ๑ หลักสูตร ประกอบด้วย ๕ เร่ือง
จานวน ๔๐ ชั่วโมง ดงั น้ี

เรอ่ื งที่ ๑ การใช้อปุ กรณ์สมาร์ตโฟน “แฮนดเ์ มด สร้างสรรค์”
เร่อื งที่ ๒ การใชส้ ือ่ อินเทอร์เนต็ “สุขภาพออนไลน์ของผสู้ งู อาย”ุ
เรอ่ื งท่ี ๓ ความปลอดภยั ในการใช้สือ่ ดิจทิ ัล “นักชอปวยั เก๋า”
เร่ืองท่ี ๔ การใช้แอปพลิเคชนั เพ่อื พัฒนาอาชพี “ตลาดสินค้าออนไลน์”
เรื่องที่ ๕ การใช้แอปพลิเคชันเพื่อเชื่อมต่อกบั สงั คม “ดนตรีสร้างสขุ ออนไลน์”
(รายละเอยี ดหลกั สูตร ดงั ภาคผนวก ข)
และนาหลกั สูตรเสนอคณะกรรมการเพ่ือพจิ ารณากล่ันกรองหลักสูตร ตามบันทึกข้อความ
ที่ ๐๕๓๔/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๔ โดยพิจารณาในประเดน็
๑) องค์ประกอบของหลกั สตู ร
๒) ความสอดคล้องขององคป์ ระกอบของหลักสตู ร
ซงึ่ ผลการพจิ ารณา พบว่า หลกั สูตรมีองคป์ ระกอบหลักสตู รครบถว้ นและมีความสอดคล้อง
ขององค์ประกอบหลักสูตรทุกรายการ ตามบันทึกข้อความที่ ๐๕๕๘/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม
๒๕๖๔

๑๐

๑.๖ การขออนุมตั ิใช้หลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลสาหรับผูส้ ูงอายุ
ผู้รับผิดชอบโครงการได้ขออนุมัติใช้หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

สาหรับผ้สู ูงอายุ ตามบันทึกข้อความที่ ๐๖๑๕/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๓๐ มนี าคม ๒๕๖๔
โดยสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ได้อนุมัติให้ใช้หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้

เทคโนโลยดี ิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ เพือ่ ใชเ้ ป็นหลักสูตรสาหรับจัดการศึกษาต่อเน่ืองเพื่อพฒั นาผู้สูงอายุให้
มีความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ตามคาสั่ง สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ที่ ๐๒๙/๒๕๖๔ ลงวันท่ี
๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๒. จดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งหลักสตู รทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลสาหรบั
ผูส้ งู อายุ

๒.๑ การรับสมคั รผเู้ รียนหลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลสาหรบั ผูส้ ูงอายุ
ผ้รู ับผิดชอบโครงการและคณะ ดาเนินการรับสมัครผู้เรียนหลักสตู รทักษะความเข้าใจและ

ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลสาหรบั ผสู้ ูงอายุ ในวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ โรงเรยี นผู้สงู อายุตาบลตะพง อาเภอ
เมืองระยอง จังหวัดระยอง ตามบันทกึ ขอ้ ความท่ี ๐๔๕๐/๒๕๖๔ ลงวนั ท่ี ๑๕ มนี าคม ๒๕๖๔

ผลการจัดกิจกรรม
๑) ประชาสัมพนั ธแ์ ละช้แี จงวัตถุประสงค์ของหลักสตู รทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลสาหรบั ผ้สู ูงอายุ ใหก้ ับผู้สูงอายุ จานวน ๙๐ คน โดยนางสาวบุษยา ปยิ ารมย์
๒) ให้ผ้สู งู อายุทาแบบสอบถามพฤตกิ รรมการใช้โทรศัพท์สมาร์ตโฟน จานวน ๔๕ คน โดย
นางสาวบษุ ยา ปยิ ารมย์, นางสาวคามนต์ นวลมะณีย์ และนกั ศกึ ษาฝกึ งาน
๓) ดาเนนิ การรับสมคั รผู้สูงอายุ เป้าหมาย จานวน ๔๐ คน โดยแจกใบสมัครให้ผู้สูงอายุท่ี
สนใจกรอกขอ้ มลู ตามแบบฟอร์ม พรอ้ มเขา้ กลมุ่ ไลน์ “ผสอ.ตะพง ๖๔” จากการสแกน QR-Code
ผลการรบั สมัคร มผี ู้สงู อายุที่พรอ้ มสมคั รและลงทะเบยี นเขา้ กลุ่มทนั ที จานวน ๒๒ คน และผู้สงู อายุได้
นาใบสมัครกลับไปพิจารณา และจะสง่ ใบสมัครกลบั มาในวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔ ต่อไป

๒.๒ การจดั พิธลี งนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือและการให้ความร้เู ร่อื ง “การเรียนรู้
สขุ ภาพออนไลนส์ าหรบั ผู้สงู อายุ”

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเร่ือง
การขับเคลื่อนและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ระหว่างสถาบัน กศน.
ภาคตะวันออก กบั องค์การบริหารสว่ นตาบลตะพง และการให้ความรู้เรื่อง “การเรยี นรสู้ ขุ ภาพออนไลน์
สาหรบั ผู้สูงอายุ” ในวันที่ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๔ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบ้านยาย
ดา ตาบลตะพง อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ตามบันทึกข้อความที่ ๐๕๘๕/๒๕๖๔
ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔

๑๑

ผลการจดั กจิ กรรม

๑) การจัดพธิ ีลงนามบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ

๑.๑) ผู้ลงนามบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ

นายสงั ข์ กาญจนเพมิ่ พูน ผ้อู านวยการ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

นายทวีป แสงกระจา่ ง นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลตะพง

๑.๒) พยานบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมอื

นางสาวธญั ญ์ลักษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผอู้ านวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก

นางฐชวรรณ แย้มกลิ่น นักวชิ าการสาธารณสุข

๒) จดุ มุ่งหมายของบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก และองค์การบริหารส่วนตาบลตะพง ลงนามบันทึก

ข้อตกลงความร่วมมือขับเคลื่อนการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุร่วมกัน ด้วยมีความตระหนกั

และเล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ เพื่อจัดการศึกษา พัฒนา

ทักษะชวี ติ ให้กบั กลุ่มเป้าหมายผสู้ งู อายุ ได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้

อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและ

เทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมการใช้เทคโนโลยี

ดิจิทัลเบื้องต้นในชีวิตประจาวัน การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต กิจกรรมการนันทนาการ

เพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เพอ่ื ใหผ้ ้สู ูงอายอุ ยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข

๓) กจิ กรรมการให้ความรู้เรื่อง “การเรยี นรู้สุขภาพออนไลนส์ าหรบั ผู้สูงอายุ”

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก จัดกิจกรรม “การเรียนรู้สุขภาพออนไลน์สาหรับ

ผูส้ งู อายุ” ให้กับผู้สงู อายุ จานวน ๖๗ คน ประกอบด้วย ๒ กิจกรรม คือ

๓.๑) กจิ กรรมเกม KAHOOT เรอื่ ง สุขภาพออนไลนส์ าหรับผูส้ ูงอายุ

โดยนางกมลชนก วสิ ษิ ฐดารงคก์ ุล เปน็ วทิ ยากรหลัก และนายธวัชชัย สนุ ทรสวัสดิ์

เป็นวิทยากรผู้ช่วย พร้อมด้วย นางสาวอินทิรา บุญหนัก และนางสาวสุภาพร หมื่นท้าว นักศึกษา

ฝกึ งาน วทิ ยาลยั เทคโนโลยีไออารพ์ ซี ี เปน็ ทีมดแู ลผ้สู งู อายุ

๓.๒) การให้ความรู้ เรือ่ ง การเรียนรู้ “สขุ ภาพออนไลน์สาหรับผสู้ ูงอาย”ุ

โดยนางสาวบุษยา ปิยารมย์ เป็นวิทยากรหลัก และนายธวัชชัย สุนทรสวัสด์ิ

เปน็ วทิ ยากรผชู้ ว่ ย ซ่ึงเป็นการบรรยายประกอบการนาเสนอ powerpoint ประกอบดว้ ยเน้อื หา

(๑) พฤติกรรมการใชส้ ่ือของผู้สงู อายุ

(๒) ประเภทเนอื้ หาสือ่ ออนไลน์สาหรับผสู้ ูงอายุ

(๓) ชอ่ งทางการรับสื่อออนไลน์เพ่ือสขุ ภาพสาหรับผู้สูงอายุพร้อมตวั อย่าง

๑๒

๒.๓ การอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั สาหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ ๑
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ดาเนนิ การอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

สาหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ ๑ ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ณ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ตาบลตะพง
อาเภอเมืองระยอง จงั หวดั ระยอง ซึ่งมีการดาเนนิ การ ดงั นี้

๑) ขออนุมัติจัดอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
คร้งั ท่ี ๑ ตามบนั ทึกขอ้ ความที่ ๐๕๑๘/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๔

๒) จัดทาหนังสือเชิญเข้าอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผู้สูงอายุ ครั้งที่ ๑ ตามหนังสือสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ที่ ศธ ๑๒๑๐.๐๙/๑๐๓ ลงวันที่ ๒๔
มนี าคม ๒๕๖๔ พรอ้ มแนบสงิ่ ท่ีส่งมาด้วย คอื กาหนดการอบรม ฯ

๓) จัดทาหนังสือเชิญร่วมการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สาหรบั ผ้สู งู อายุ ครงั้ ที่ ๑ และขอสนบั สนุนรถรางรับส่งผสู้ ูงอายุ ตามหนังสอื สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก
ที่ ศธ ๑๒๑๐.๐๙/๑๐๕ ลงวนั ท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๔ พรอ้ มแนบสิง่ ทส่ี ง่ มาดว้ ย คอื กาหนดการอบรม ฯ

๔) ดาเนินการจดั อบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
คร้ังที่ ๑ ในวนั ที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ณ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก ตาบลตะพง อาเภอเมืองระยอง
จังหวัดระยอง กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้สูงอายุ จานวน ๔๐ คน และรายงานผลการอบรม ตามบันทึก
ขอ้ ความที่ ๐๗๐๖/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๔

ข้ันตอนการอบรม
๔.๑) การเปิดการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผสู้ งู อายุ ครง้ั ที่ ๑ มีขั้นตอนการอบรม ดงั น้ี

นายสังข์ กาญจนเพิ่มพูน ผู้อานวยการสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ให้เกียรติ
เปน็ ประธานในพธิ เี ปิดการอบรมพรอ้ มบรรยายพิเศษเก่ียวกบั การพฒั นาผู้สงู อายดุ ว้ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั

โดยมีนางสาวธัญญ์ลักษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผู้อานวยการสถาบัน กศน.
ภาคตะวนั ออกกลา่ วรายงาน

และนางสาวบุษยา ปิยารมย์ ผู้รับผิดชอบโครงการฯ ได้ชี้แจงวัตถปุ ระสงค์และ
รูปแบบของกิจกรรม เรื่อง การใช้แอปพลิเคชันเพื่อเชื่อมต่อกับสังคม “ดนตรีสร้างสุขออนไลน์”
ประกอบดว้ ย กจิ กรรมการพัฒนาความรดู้ า้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั และกจิ กรรมนันทนาการ (ดนตรีอังกะลุง)
นามาประสานร่วมกันเพื่อพัฒนากิจกรรมสาหรับผู้สูงอายุที่เน้นความชอบและความสนใจของผู้สูงอายุ
เป็นหลกั

๑๓

๔.๒) ผ้เู ขา้ ร่วมการอบรม
(๑) กลมุ่ เป้าหมาย คือ ผู้สงู อายุเข้ารับการอบรมหลักสตู รทักษะความเข้าใจ

และใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลสาหรบั ผูส้ งู อายุ ครั้งท่ี ๑ จานวน ๔๐ คน ดงั ตารางท่ี ๑

ตารางท่ี ๑ รายชื่อผูส้ ูงอายุท่ีลงทะเบียนอบรมหลกั สูตรทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั
สาหรบั ผสู้ งู อายุ

ท่ี ชอ่ื - สกลุ อายุ ท่ีอยู่ การศกึ ษา
๑ นายมานติ กระแสสนิ ธ์ุ
๒ นางกรรณน์ ิกา มงิ่ มติ ร ๖๙ ๑๒๖/๗ ม.๑๒ ป.๔
๓ นายบญุ เลศิ ธรรมสนุ ทร
๔ นางนวลลออ ธรรมสุนทร ๖๔ ๗๘/๒ ม.๖ ปวส.การบัญชี
๕ นางอาพร เฉยสวสั ดิ์
๖ นางวรรณา ทรงธรรม ๗๖ ๕๑/๗ ม.๑๐ ปรญิ ญาตรี
๗ นางมาลยั พุฒศรี
๘ นางวรรณา บารุง ๗๕ ๕๑/๗ ม.๑๐ ปรญิ ญาโท
๙ นางสมโภช เกิดมณี
๑๐ นางอุษา สายสน่นั ๗๘ ๙/๖ ม.๕ ป.๔
๑๑ นางดวงพร สารโพธ์ิ
๑๒ นางสมคดิ พงษว์ ารินทร์ ๗๓ ๑๔๒/๑๒ ม.๑๒ ป.๔
๑๓ นางวิมลวรรณ พงษ์วารินทร์
๑๔ นางสาวคานึง ไชยรัตน์ ๖๙ ๘๗/๒ ม.๙ ปรญิ ญาตรี
๑๕ นางกรองทอง สรอ้ ยสนุ ทร
๑๖ นางสมดาว ผลศิริ ๖๗ ๑๔๗/๒ ม.๓ ปรญิ ญาตรี
๑๗ นายชชั วาล เขียดชื่น
๑๘ นางราตรี ทิพนาค ๖๙ ๔๒/๒๖ ม.๑๓ ป.๔
๑๙ นางสัมฤทธิ์ สมทุ รเสน
๒๐ นางลาใย จนั ทร์สว่าง ๗๙ ๒๓๒/๑๐๓ ป.๔
๒๑ นางสาวสังเหวยี น ปราณนัทธี
๒๒ นายโกเมต บุญสนอง ๖๕ ๑๓๔/๑๑ ม.๑๖ ม.๓
๒๓ นายวิชัย จนั ทรพ์ ทิ กั ษ์
๒๔ นางรัตนา จนั ทรพ์ ิทักษ์ ๖๔ ๑๑/๑ ม.๑ ป.๔
๒๕ นางสาวสมหมาย สุ่มสม
๖๔ ๗๔/๕ ม.๑ ป.๗

๖๙ ๑๖๒/๑ ม.๑๒ ป.๔

๖๑ ๑/๔ ม.๘ ป.๔

๕๘ ๖๔/๖ ม.๖ ป.๔

๗๑ ๖๓/๕ ม.๑๔ ม.๓

๗๓ ๓๕ ม.๑๓ ป.๔

๗๒ ๑๖๑/๓ ม.๙ ป.๔

๗๙ ๙๖ ม.๘ ป.๔

๗๐ ๙๕ ม.๘ ป.๔

๖๗ ๔๙ ม.๙ ปรญิ ญาโท

๖๖ ๑๕๑/๒ ม.๗ ป.๔

๖๓ ๑๕๑/๒ ม.๗ ป.๔

๖๑ ๑๗๗/๒ ม.๑๕ ป.๔

๑๔

ตารางที่ ๑ (ตอ่ ) อายุ ที่อยู่ การศกึ ษา

ที่ ชื่อ - สกลุ ๖๔ ๑๒๙/๑ ม.๑๒ ป.๗
๒๖ นางนวลศรี บญุ มาก
๒๗ นางศรัณยา ไชยสิทธ์ิ ๕๘ ๒๒/๗ ม.๕ ป.๔
๒๘ นายบุญเพง็ พลัง
๒๙ นางเซ่ยี งไหล่ ชลประดิษฐ ๖๑ ๘๖/๑๑ ม.๙ ม.๓
๓๐ นางปลายฝน บศุ ยศริ ิ
๓๑ นางอนญั ญา จนั ทร์พิทักษ์ ๗๑ ๒๒๐ ม.๗ ป.๔
๓๒ นางสนุ ทร บูชา
๓๓ นางเทยี ม สโมสร ๖๐ ๖๒/๗ ม.๑๔ ปรญิ ญาตรี
๓๔ นายพดั บชู า
๓๕ นางเอ่ยี ม วงศ์บุปผา ๗๐ ๑๕๑/๒ ม.๗ ป.๔
๓๖ นางเสนาะ จันทร์พ้อ
๓๗ นางสมหมาย วเิ ชียรลา้ ๖๘ ๘/๔ ม.๖ ป.๔
๓๘ นายสนาน กระจ่างแจง้
๓๙ นางจา้ ย กระจา่ งแจง้ ๖๕ ๑๖๖/๙ ม.๖ ป.๗
๔๐ นายเผอิญ ศิริเบญ็ นรตั
๗๒ ๘/๔ ม.๖ ป.๔

๗๓ ๘๑/๑๒ ม.๑๒ ป.๔

๖๔ ๑๕๔ ม.๑๒ ป.๗

๗๑ ๑๕/๗ ม.๑๐ ป.๔

๖๘ ๙๘/๒ ม.๘ ป.๔

๖๖ ๑๒๗/๑ ม.๘ ป.๔

๖๓ ๓๒ ม.๑ ป.๗

(๒) คณะครทู ีป่ รึกษาและเจา้ หนา้ ทข่ี องสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก จานวน
๑๓ คน ดงั ตารางที่ ๒

ตารางที่ ๒ รายชอ่ื ครูที่ปรึกษาและเจา้ หน้าทขี่ องสถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

ท่ี ชอื่ - สกลุ ตาแหนง่
๑ นายสงั ข์ กาญจนเพ่มิ พนู ผ้อู านวยการ

๒ นางสาวธัญญ์ลกั ษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผ้อู านวยการ

๓ นางกุลธดิ า รตั นโกศล ครู คศ. ๔
๔ นางญาณิศา เจรีรัตน์ ครู คศ.๓
๕ นางกญั ญาทพิ เสนาะวงศ์ ครู คศ.๓
๖ นางสาวสุปรดี า แหลมหลัก ครู คศ.๓
๗ นางสาวอรทยั ปานขาว ครู คศ.๓
๘ นางศริ ิพรรณ พนั จินา ครู คศ.๓

๑๕

ตารางที่ ๒ (ตอ่ ) ตาแหน่ง

ที่ ช่อื - สกลุ ครู คศ.๓
๙ นางสาวพนิตตา กจิ จนศิริ ครู คศ.๓
๑๐ นางสาวคามนต์ นวลมะณยี ์ ครู คศ.๓
๑๑ นางสาวบุษยา ปยิ ารมย์ ครู คศ.๒
๑๒ นายธวชั ชัย สุนทรสวสั ด์ิ จนท.เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๓ นายอภิเชษฐ์ ภูทองยอด

(๓) คณะเจ้าหน้าทีข่ องกองสวัสดิการ องค์การบริหารสว่ นตาบลตะพง จานวน
๙ คน ดังตารางท่ี ๓

ตารางที่ ๓ รายชอ่ื เจ้าหนา้ ทขี่ องกองสวัสดิการ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลตะพง

ท่ี ช่อื - สกลุ ตาแหนง่
๑ นางสาวจริญญา จาปากุล
หวั หนา้ ฝ่ายสงั คมสงเคราะห์
๒ นางสาวกชพร เนยี มมณี
ผชู้ ว่ ยนักพฒั นาชุมชน
๓ นางสาวธนทร อบั ดุลลอ
๔ นางสาววลิ าวรรณ คชรินทร์ ผู้ช่วยนักพฒั นาชุมชน
๕ นางสาวจตพุ ร ชวนชดิ ผชู้ ว่ ยนักพฒั นาชมุ ชน
๖ นายบุญธรรม แสงกระจ่าง ผ้ชู ่วยเจ้าพนกั งานธรุ การ
๗ นายสุนทร ปอ้ งสีดา พนกั งานขบั รถยนต์
๘ นายสุรพงษ์ เขยี วสภุ าพ พนกั งานขบั รถยนต์
๙ นางสาวฐานวีร์ บศุ ยศิริ พนกั งานขับรถยนต์
เจ้าหน้าท่ี รพ.สต. ต.ตะพง

๔.๓) กิจกรรมการอบรม
(๑) จัดกิจกรรมการให้ความรู้ เรื่อง การใช้แอปพลิเคชันเพื่อเชื่อมต่อกับสังคม

“ดนตรีสร้างสุขออนไลน์” เป็นกิจกรรมการบรรยายและฝึกปฏิบัติ โดย นางกัญญาทิพ เสนาะวงศ์
ครูชานาญการพิเศษ เป็นวทิ ยากรหลกั และคณะครทู ป่ี รกึ ษา เปน็ ทมี ดแู ลผสู้ งู อายุ ประกอบด้วยเนอ้ื หา

๔.๑) ความหมายของแอปพลิเคชัน
๔.๒) การเช่ือมเครือขา่ ยดว้ ย WIFI
๔.๓) การเช่อื มต่อกับสังคมด้วยเฟซบุ๊ก
๔.๔) การเขา้ กลมุ่ LINE “ผสอ.ตะพง ๖๔”

๑๖

(๒) จัดกจิ กรรมการบนั ทึกการแสดงและถ่ายทอดสดผา่ นเฟซบุ๊ก จากกิจกรรม
การแสดง “ดนตรีอังกะลุง”โดยผู้สูงอายุ

(๓) ทาแบบประเมินความพึงพอใจ ครั้งที่ ๑ รูปแบบ google form ผ่านกลุ่ม
LINE “ผสอ.ตะพง ๖๔” ซึ่งแบบประเมินความพึงพอใจของผ้สู งู อายุ แบ่งออกเป็น ๒ ตอน คือ ตอนท่ี ๑
สถานภาพท่วั ไป และตอนที่ ๒ ความคดิ เห็นทม่ี ีต่อการอบรม

ผลการประเมินความพึงพอใจ มดี งั นี้
สัญลกั ษณ์และอักษรยอ่ ทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล
N แทน จานวนผเู้ ข้ารบั การอบรม

X แทน ค่าเฉลี่ย

S.D. แทน ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ตารางที่ ๔ สถานภาพท่วั ไป

ตวั แปร ระดบั N (คน) รอ้ ยละ

เพศ ๑. ชาย ๖ ๑๕.๐๐
รวม ๒. หญิง ๓๔ ๘๕.๐๐
๔๐ ๑๐๐.๐๐
อายุ ๑. ตา่ กวา่ ๖๐ ปี ๒ ๕.๐๐
๒. ๖๐ - ๖๙ ปี ๒๔ ๖๐.๐๐
รวม ๓. ๗๐ - ๗๙ ปี ๑๔ ๓๕.๐๐
๔๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๔ พบว่า ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๐๐ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๐๐ มีอายุระหว่าง ๖๐-๖๙ ปี มากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ ๖๐.๐๐

๑๗

ตารางที่ ๕ ความคิดเหน็ ของผู้สงู อายุทีม่ ีต่อการอบรมหลกั สตู รทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยี
ดิจทิ ลั สาหรบั ผู้สงู อายุ ครัง้ ท่ี ๑

รายการ  S.D. ระดับการประเมิน
๑. กิจกรรมในการอบรมมีความเหมาะสม ๔.๗๘ ๐.๔๒ มากทส่ี ุด

๒. ทา่ นได้รบั ความรู้จากการร่วมกิจกรรมการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั ๔.๗๕ ๐.๔๔ มากทส่ี ดุ
มากทส่ี ดุ
๓. วทิ ยากรมคี วามรู้ ความชานาญในเร่ืองทีบ่ รรยาย ๔.๘๐ ๐.๔๑

๔. วิทยากรสามารถถ่ายทอดความร้ไู ดด้ ี ๔.๘๓ ๐.๓๘ มากทส่ี ดุ

๕. ระยะเวลาท่ีใช้ในการอบรมมคี วามเหมาะสม ๔.๕๐ ๐.๕๑ มากทีส่ ดุ

๖. มกี ารจดั ส่งิ อานวยความสะดวกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๔.๖๕ ๐.๔๘ มากทสี่ ุด

๗. ท่านสามารถนาความร้ทู ี่ได้รบั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ๔.๗๓ ๐.๕๑ มากทสี่ ดุ

รวม ๔.๗๒ ๐.๔๖ มากที่สุด

จากตารางที่ ๕ พบว่า ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมฯ มีความคิดเห็นต่อการ
อบรมในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (  = ๔.๗๒) โดยมีความคิดเห็นมากที่สุดทุกรายการ คือ
วิทยากรสามารถถ่ายทอดความรู้ได้ดี (  = ๔.๘๓) รองลงมา คือ วิทยากรมีความรู้ ความชานาญใน
เรื่องที่บรรยาย (  = ๔.๘๐) รองลงมา คือ กิจกรรมในการอบรมมีความเหมาะสม (  = ๔.๗๘)
ตามลาดบั

ข้อคน้ พบ
๑. อปุ กรณ์สมารต์ โฟนของผสู้ ูงอายุมสี มรรถภาพไม่เทา่ กัน จงึ ตอ้ งใช้ระยะเวลา
ในการสอนนานกวา่ ท่กี าหนดไว้
๒. การจดั กิจกรรมใหก้ ับผสู้ งู อายุจะต้องไปอยา่ งชา้ ๆ และสอนครั้งละเรื่อง
๓. การพูดคุยกับผู้สงู อายตุ ้องพดู เพราะและไม่ใช้น้าเสยี งท่ีคาดคั้นใหป้ ฏบิ ตั ิตาม

๑๘

การวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่มีต่อการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและ

ใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาหรับผสู้ ูงอายุ ครง้ั ท่ี ๑ สาหรบั การประกันคุณภาพ มีเกณฑ์การประเมนิ ดงั น้ี

๔.๕๐ - ๕.๐๐ แปลว่า ดมี าก

๓.๗๕ – ๔.๔๙ แปลวา่ ดี

๓.๐๐ – ๓.๗๔ แปลว่า พอใช้

๒.๕๐ – ๒.๙๙ แปลว่า ต้องปรับปรงุ

๐.๐๐ – ๒.๔๙ แปลว่า ต้องปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน

ผลการวเิ คราะห์ความคิดเห็นของผ้สู ูงอายุท่ีมีต่อการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและ

ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลสาหรับผสู้ ูงอายุ ครั้งท่ี ๑ สาหรบั การประกนั คณุ ภาพ ดงั ตารางที่ ๖

ตารางที่ ๖ ความคิดเห็นของผสู้ ูงอายุท่มี ีตอ่ การอบรมฯ สาหรบั การประกนั คุณภาพ

คนท่ี คา่ เฉลี่ย ระดบั การประเมนิ
๑ ๔.๑๔ ดี
๒ ๕.๐๐
๓ ๔.๘๖ ดีมาก
๔ ๔.๑๔ ดีมาก
๕ ๔.๒๙
๖ ๔.๗๑ ดี
๗ ๔.๕๗ ดี
๘ ๔.๔๓ ดมี าก
๙ ๔.๘๖ ดีมาก
๑๐ ๕.๐๐ ดี
๑๑ ๕.๐๐ ดมี าก
๑๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๓ ๔.๗๑ ดมี าก
๑๔ ๔.๗๑ ดีมาก
๑๕ ๕.๐๐ ดมี าก
๑๖ ๕.๐๐ ดมี าก
๑๗ ๔.๘๖ ดีมาก
๑๘ ๔.๗๑ ดมี าก
ดีมาก
ดีมาก

๑๙

ตารางที่ ๖ (ต่อ)

คนท่ี ค่าเฉลี่ย ระดบั การประเมนิ
๑๙ ๕.๐๐ ดีมาก
๒๐ ๔.๕๗ ดีมาก
๒๑ ๕.๐๐ ดมี าก
๒๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๒๓ ๔.๗๑ ดีมาก
๒๔ ๔.๕๗ ดีมาก
๒๕ ๔.๘๖ ดีมาก
๒๖ ๔.๗๑ ดีมาก
๒๗ ๔.๒๙ ดี
๒๘ ๔.๘๖ ดีมาก
๒๙ ๔.๘๖ ดมี าก
๓๐ ๔.๗๑ ดมี าก
๓๑ ๔.๒๙ ดี
๓๒ ๔.๒๙ ดี
๓๓ ๕.๐๐ ดีมาก
๓๔ ๕.๐๐ ดีมาก
๓๕ ๔.๗๑ ดมี าก
๓๖ ๔.๕๗ ดีมาก
๓๗ ๔.๘๖ ดีมาก
๓๘ ๔.๗๑ ดีมาก
๓๙ ๔.๒๙ ดี
๔๐ ๔.๘๖ ดมี าก

จากตารางท่ี ๖ พบวา่ ผสู้ งู อายุมีความคิดเห็นต่อการอบรมฯ ในภาพรวม ดงั น้ี
มีความพึงพอใจในระดับดีมาก จานวน ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๐.๐๐
มีความพึงพอใจในระดบั ดี จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๐๐
ดังน้ัน ผู้สูงอายุ จานวน ๔๐ คน มีความคดิ เหน็ ต่อต่อการอบรมฯ ในภาพรวม
ระดับดขี ึ้นไป จานวน ๔๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐

๒๐

๔.๔) จัดทาหนังสือขอบคุณองค์การบริหารส่วนตาบลตะพง ที่ให้การสนับสนุนและ
ร่วมจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ตามบันทึกข้อความที่ ๐๖๘๕/๒๕๖๔
ลงวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๔

๒.๔ การอบรมหลักสตู รทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั สาหรับผู้สงู อายุ คร้งั ท่ี ๒

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ดาเนินการจัดอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ครั้งที่ ๒ ในวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๔ ณ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก ตาบล
ตะพง อาเภอเมอื งระยอง จังหวัดระยอง ซงึ่ มกี ารดาเนนิ การ ดังน้ี

๑) ขออนุมัติจัดอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
คร้ังที่ ๒ ตามบนั ทึกข้อความที่ ๐๗๕๒/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๔

๒) จัดทาหนังสือเชิญเข้าอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผู้สงู อายุ ครง้ั ที่ ๒ ตามหนงั สือสถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก ที่ ศธ ๑๒๑๐.๐๙/๑๒๐ ลงวนั ท่ี ๘ เมษายน
๒๕๖๔ พร้อมแนบสิ่งท่ีส่งมาด้วย คอื กาหนดการอบรม ฯ

๓) จัดทาหนังสือเชิญร่วมการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สาหรับผสู้ งู อายุ คร้ังที่ ๒ และขอสนับสนรุ ถราง รบั ส่งผ้สู งู อายุ ตามหนังสือสถาบนั กศน.ภาคตะวันออก
ศธ ๑๒๑๐.๐๙/๑๒๑ ลงวันท่ี ๘ เมษายน ๒๕๖๔ พร้อมแนบสง่ิ ท่ีส่งมาดว้ ย คือ กาหนดการอบรม ฯ

๔) จัดทาหนงั สือเลอ่ื นการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั สาหรับ
ผู้สูงอายุ ครั้งที่ ๒ ตามบันทึกข้อความที่ ๐๗๘๔/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๖๔ และแจ้งไปยัง
โรงเรียนผู้สูงอายุตาบลตะพง ตามหนังสือสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ศธ ๑๒๑๐.๐๙/๑๒๗ ลงวันท่ี
๑๖ เมษายน ๒๕๖ และแจ้งไปยังองค์การบริหารส่วนตาบล ตามหนังสือสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก
ศธ ๑๒๑๐.๐๙/๑๒๘ ลงวนั ท่ี ๑๖ เมษายน ๒๕๖๔

“เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ระลอก
ใหม่ขึ้น ทุกจังหวัดทั่วประเทศ และกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศมาตรการป้องกันและควบคุม
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยให้หน่วยงานในสังกัดและในกากับของ
กระทรวงศึกษาธิการ เลือ่ นการจัดประชุม การฝกึ อบรม หรือการสัมมนาออกไปกอ่ น ดงั นัน้ ผู้รบั ผดิ ชอบ
โครงการ จึงขอแจ้งเลื่อนการอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
คร้ังท่ี ๒ ไปยังโรงเรยี นผู้สูงอายตุ าบลตะพง และองค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะพง”

๒๑

๒.๕ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตามหลักสตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใช้
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลสาหรับผูส้ ูงอายุ

จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ในจงั หวัดระยอง ต่อเน่ือง
มาตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๖๔ จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๖๔ จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมการอบรมให้กับ
ผสู้ งู อายุได้

ผู้รับผิดชอบโครงการ จึงได้ปรับกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความ
เข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ในรูปแบบการอบรม มาเป็นการจัดกิจกรรมการศึกษา
ตามอัธยาศัยสาหรับผู้สูงอายุ ๒ กิจกรรม คือ ๑) กิจกรรม “คาศัพท์ทางเทคโนโลยีที่ถูกต้องวันละคา”
และ ๒) กิจกรรม“คาศัพท์ สมุนไพร” โดยใช้ช่องทางการสื่อสาร LINE “กลุ่ม ผสอ. ตะพง ๖๔” ซึ่งมี
จานวนสมาชิกในกลุ่ม จานวน ๔๔ คน ประกอบด้วย ครูที่ปรึกษา จานวน ๖ คน และผู้สูงอายุ จานวน
๓๘ คน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้สูงอายุในหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สาหรบั ผสู้ ูงอายุ มีรายละเอยี ดดังนี้

๑) กิจกรรม “คาศัพท์ทางเทคโนโลยีที่ถูกต้องวันละคา” ดาเนินการในระหว่างวันที่ ๒๐
พฤษภาคม – ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ โดยมีคาศัพท์ทางเทคโนโลยี จานวน ๖๐ คา และมีสมาชิกใน
กลุม่ ไลนผ์ สู้ ูงอายทุ ี่ไดอ้ ่านคาศัพท์ ดังตารางที่ ๗

ตารางที่ ๗ ผลการจัดกจิ กรรม “คาศพั ท์ทางเทคโนโลยีท่ีถกู ต้องวันละคา”

ที่ คาศพั ทเ์ ทคโนโลยี ความหมาย จานวนผูอ้ า่ น
(คน)
๑ Online = ออนไลน์ การเชอ่ื มต่อผา่ นระบบเครือข่ายทาง ๔๑

คอมพิวเตอร์ ๔๑

๒ Offline = ออฟไลน์ ไมเ่ ชอ่ื มต่อกับเคร่ืองคอมพวิ เตอรใ์ น ๔๑

เครือข่าย ๔๑

๓ Digital = ดจิ ิทลั ดจิ ิทัล เชงิ เลข หรือเปน็ ระบบเครอ่ื งมือท่ี ๔๑

ใชส้ ญั ญาณเปน็ เลขโดด (digit)

๔ Website = เวบ็ ไซต์ ทอ่ี ย่ขู องเว็บบนระบบค้นหาและ

เขา้ ถึงขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ น็ต

๕ Smartphone = สมาร์ตโฟน โทรศพั ท์มอื ถอื ทมี่ หี น้าจอเป็นระบบสัมผัส

มคี วามสามารถคลา้ ยคอมพิวเตอรแ์ ละ

สามารถเชือ่ มตอ่ กบั อนิ เทอร์เนต็ ได้

๒๒

ตารางท่ี ๗ (ต่อ)

ท่ี คาศพั ทเ์ ทคโนโลยี ความหมาย จานวนผู้อา่ น
(คน)
๖ Application = แอปพลิเคชัน โปรแกรมประยุกต์ ๔๑
๔๑
๗ line = ไลน์ แอปพลิเคชันสาหรบั การสอื่ สาร ๔๒

๘ Facebook = เฟซบุ๊ก เว็บไซตท์ ใ่ี ห้บริการเครือขา่ ยสังคม ๔๒
๔๒
ออนไลน์ ๔๒
๔๒
๙ Comment = คอมเมนต์ แสดงความคดิ เหน็ ๔๒
๔๒
๑๐ Share = แชร์ แบ่งปัน
๔๒
๑๑ Chat = แชต การสนทนาผ่านทางเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
๔๒
๑๒ Like = ไลก์ ถกู ใจ ชอบ ๔๒

๑๓ Post = โพสต์ แจ้ง ประกาศ ๔๒

๑๔ Tag = แทก็ ตดิ ป้าย ถ้าใช้ในเฟซบ๊กุ เมอื่ คุณแท็กใคร ๔๒
๔๒
พวกเขาจะได้รบั การแจ้งเตอื น ๔๒
๔๒
๑๕ Refresh = รีเฟรช คาสงั่ ใหจ้ อภาพแสดงภาพใหมต่ ามข้อมลู ๔๒
๔๒
ลา่ สุด ๔๒

๑๖ Update = อปั เดต ปรับให้เปน็ ปัจจบุ ัน

๑๗ Upload = อปั โหลด บรรจุขนึ้ หรอื ส่งข้อมูลจากเครอื ข่ายไปยัง

แม่ข่าย

๑๘ download = ดาวนโ์ หลด บรรจลุ ง หรือการโอนยา้ ยข้อมลู

เช่น ดาวนโ์ หลดเพลง ดาวน์โหลดหนัง

๑๙ E-mail = อเี มล ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์

๒๐ Link = ลงิ ก์ เช่อื มโยง

๒๑ Message = เมสเซจ ข้อความ หรอื ขา่ วสาร

๒๒ Profile = โพรไ์ ฟล์ ขอ้ มลู สว่ นตัว

๒๓ Video = วิดโี อ ภาพโทรทศั น์

๒๔ Copy = ก๊อบป้ี สาเนา

๒๕ Game = เกม เกม การแข่งขัน

๒๓

ตารางที่ ๗ (ตอ่ ) ความหมาย จานวนผ้อู ่าน
ท่ี คาศพั ท์เทคโนโลยี (คน)
๒๖ Friend = เฟรนด์ เพ่อื น , ความหมายบน Facebook ๔๒
๒๗ Un-friend = อันเฟรนด์ คอื คน หรอื ช่ือบัญชีออนไลน์ทเี่ รามอี ยู่ ๔๒
เลิกเป็นเพื่อน , ความหมายบน
๒๘ Status = สเตตัส Facebook คอื การที่ลบบญั ชีผ้ใู ชน้ ้ันออก ๔๒
จากบัญชีเพ่ือนของเรา
๒๙ Timeline = ไทม์ไลน์ สถานะ, ความหมายบน Facebook ๔๒
๓๐ Inbox = อินบ๊อกซ์ คือ การอัพเดท สร้างความเคล่อื นไหวบน ๔๒
พืน้ ทข่ี องเรา
๓๑ Check-in = เชก็ อนิ ลาดับเวลา, ความหมายบน Facebook ๔๒
คือ ลาดบั การแสดงบนหนา้ เว็บของเรา
๓๒ Favorite = เฟเวอรร์ ิท กล่องข้อความ , ความหมายบน ๔๒
๓๓ Home = โฮม Facebook คือ พน้ื ท่ีท่ีเราไว้คุยกนั ๔๒
๓๔ find friends = ไฟน์ เฟรนด์ เฉพาะคน หรือ ข้อความส่วนตวั ๔๒
๓๕ friend requests รายงานตัว หรอื การปักหมดุ บน ๔๒
Facebook วา่ ตอนนเ้ี ราอยทู่ ี่นี่ เชน่ ๔๒
= เฟรนด์ รีเควส ร้านอาหาร รา้ นกาแฟ ๔๒
๓๖ notifications = โนตฟิ เิ คชัน เป็นท่ชี ืน่ ชอบ , ความหมายบน
๓๗ add photo = แอด โฟโต้ Facebook คอื รายการโปรด , ชน่ื ชอบ
บ้าน , ความหมายบน Facebook คือ
หนา้ แรก หรือหนา้ บ้าน
ความหมายบน Facebook คือ
คน้ หาเพื่อน
ความหมายบน Facebook คือ
คาร้องขอเปน็ เพ่ือน
ความหมายบน Facebook คือ
การแจ้งเตือน
ความหมายบน Facebook คือเพิ่ม
รูปภาพ

๒๔

ตารางที่ ๗ (ต่อ) ความหมาย จานวนผู้อา่ น
(คน)
ที่ คาศัพท์เทคโนโลยี กลมุ่ ๔๒
หน้าหนงั สอื หรือหน้าเว็บ ๔๒
๓๘ group = กร๊ปุ เรียกทบั ศัพท์วา่ หน้าเพจ
๓๙ page = เพจ หนา้ จอของเวบ็ ไซต์ ๔๒
เวบ็ เพจหน้าหลกั ซงึ่ เป็นหนา้ แรกของ ๔๒
๔๐ Web Page = เวบ็ เพจ เว็บไซต์
๔๑ Home Page = โฮมเพจ รหัสผ่าน ๔๑
ลมื รหสั ผ่าน ๔๑
๔๒ Password = พาสเวริ ด์
๔๓ Forget Password = เข้าใช้งาน ๔๑
ออกจากระบบ ๔๑
ฟอรเ์ ก็ต พาสเวริ ์ด บนั ทึกข้อมลู ทเี่ ราเขยี นข้ึนมา ๔๑
๔๔ Login = ล็อกอนิ สมดุ โทรศพั ท์ทีแ่ สดงรายช่ือเพ่อื น ๔๑
๔๕ Logout = ล็อกเอาท์ พรอ้ มเบอรต์ ดิ ต่อ
๔๖ Notes = โน้ต ส่วนท่ีแสดงอลั บ้มั รูปภาพของเรา ๔๑
๔๗ Phonebook = โฟนบ๊กุ สว่ นทใ่ี ชเ้ ก็บรปู ภาพ ๔๑
สรา้ ง ๔๑
๔๘ Photos = โฟโต้ สร้างอลั บมั้ รูปภาพ ๔๑
๔๙ Album = อลั บมั้
๕๐ Create = ครีเอท รายชอื่ ทเ่ี พิ่งเข้าร่วมเปน็ เพ่ือนกบั เรา ๔๑
๕๑ Create Photo Album =
ส่วนท่ีใชก้ าหนดรายละเอียดส่วนตวั ๔๑
ครเี อท โฟโต้ อลั บั้ม ของเรา สาหรบั การตั้งคา่ ความปลอดภัย
๕๒ Recently Added = การเพ่ิมเพ่ือนจากคาแนะนาของ ๔๑
Facebook
รเี ซนทลิ แอด อพั เดตสถานะ ๔๑
๕๓ Settings = เซตติ้ง
ข้อความใหม่ ๔๑
๕๔ Suggestions = ซกั เจสเชิน

๕๕ update status
= อัพเดต สเตตัส

๕๖ new messages =
นิว เมสเซจ

๒๕

ตารางที่ ๗ (ต่อ)

ที่ คาศัพท์เทคโนโลยี ความหมาย จานวนผู้อา่ น
(คน)
๕๗ topic = ทอปปิก หัวขอ้ เร่ือง ๔๑
๕๘ Invite Friends = การเชญิ ชวนเพอื่ นๆ มารว่ มเล่น ๔๑
Facebook
อนิ ไวท์ เฟรนด์ ใน Facebook คือ ปฏทิ ินกจิ กรรมหรอื ๔๑
๕๙ Event = อีเวน้ ท์ เหตุการณ์ท่ีกาลงั จะเกิดขนึ้
ตวั เลือก, ทางเลอื ก ๔๑
๖๐ option = ออปชัน คา่ เฉลี่ย ๔๑.๕๖

จากตารางท่ี ๗ พบวา่ สมาชิกในกลมุ่ ไลน์ผสู้ งู อายุท่ีอ่าน “คาศัพทท์ างเทคโนโลยีที่ถูกต้อง
วันละคา” มคี ่าเฉลีย่ ๔๑.๕๖

เอกสาร “คาศพั ทท์ างเทคโนโลยีท่ีถูกต้องวันละคา”

URL: shorturl.asia/DoLmX

๒๖

๒) กิจกรรม “คาศัพท์สมุนไพร” ดาเนินการในระหว่างวันที่ ๒ – ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๔
โดยมีคาศัพท์ทางเทคโนโลยี จานวน ๓๕ คา และมีสมาชิกในกลุ่มไลน์ผู้สูงอายุที่ได้อ่านคาศัพท์
ดงั ตารางท่ี ๘

ตารางที่ ๘ ผลการจดั กิจกรรม “คาศัพท์สมนุ ไพร”

ที่ คาศพั ทส์ มนุ ไพร สรรพคณุ จานวนผู้อ่าน
(คน)
๑ คาฝอย ลดไขมนั ในเสน้ เลอื ด ๔๐
๒ กระเจยี๊ บแดง ลดไขมนั ในเส้นเลอื ด ๔๐
๓ เสาวรส ลดไขมนั ในเส้นเลือด ๔๑
๔ แคดอกขาว แคดอกแดง แกไ้ ข้ ลดความร้อน ๔๑
๕ ฟ้าทะลายโจร แกไ้ ข้ ลดความร้อน ๔๐
๖ ยา่ นาง แกไ้ ข้ ลดความรอ้ น ๔๐
๗ บอระเพ็ด แกไ้ ข้ ลดความร้อน ๔๐
๘ ลกู ใต้ใบ แกไ้ ข้ ลดความรอ้ น ๔๐
๙ ประคาดีควาย แก้ไข้ ลดความรอ้ น ๔๐
๑๐ ระยอ่ มน้อย ลดความดันโลหติ สงู ๓๙
๑๑ บวั บก ลดความดันโลหติ สูง ๓๙
๑๒ มะขาม ลดความดันโลหติ สงู ๓๘
๑๓ ชะพลู (ชา้ พลู) ลดนา้ ตาลในเลือด ๓๗
๑๔ บัวหลวง บารุงหวั ใจ ๓๖
๑๕ เตยหอม บารุงหวั ใจ ๓๖
๑๖ มะลลิ า บารุงหัวใจ ๓๖
๑๗ ชะเอมไทย ขบั เสมหะ แกไ้ อ ๓๖
๑๘ มะดนั ขบั เสมหะ แก้ไอ ๓๖
๑๙ มะขามป้อม ขบั เสมหะ แก้ไอ ๓๔
๒๐ มะอึก ขับเสมหะ แกไ้ อ ๓๔
๒๑ มะนาว ขับเสมหะ แก้ไอ ๓๔
๒๒ โหระพา แก้ท้องขน้ึ ท้องอืด ท้องเฟอ้ ๓๔
๒๓ กานพลู แก้ท้องขึน้ ท้องอดื ท้องเฟอ้ ๓๔
๒๔ ดีปลี แกท้ ้องขึ้น ท้องอืด ท้องเฟ้อ ๓๓
๒๕ พรกิ ไทย แกท้ ้องข้นึ ท้องอืด ท้องเฟ้อ ๓๓

๒๗

ตารางท่ี ๘ (ต่อ)

ที่ คาศัพทส์ มนุ ไพร สรรพคุณ จานวนผ้อู า่ น
(คน)
๒๖ มะรุม แก้ท้องขน้ึ ท้องอดื ท้องเฟอ้ ๓๓
๒๗ ไพล แกท้ ้องขึ้น ท้องอดื ท้องเฟ้อ ๓๓
๒๘ กระวาน แกท้ ้องขึน้ ท้องอืด ท้องเฟ้อ ๓๓
๒๙ ขเี้ หล็ก ยากลอ่ มประสาท ทาให้นอนหลบั ๓๓
๓๐ ชมุ เห็ดไทย ยากล่อมประสาท ทาให้นอนหลบั ๓๓
๓๑ พวงชมพูดอกขาว ยากลอ่ มประสาท ทาใหน้ อนหลับ ๓๓
๓๒ มะตูม แก้อ่อนเพลยี บารุงกาลัง บารุงธาตุ ๓๒
๓๓ รางจดื ใชป้ รุงเป็นยาถอนพิษไข้ เป็นยาพอก ๓๒
บาดแผล น้ารอ้ นลวก ไฟไหม้
๓๔ วา่ นหางจระเข้ รักษาแผลนา้ ร้อนลวก ไฟไหม้ ถอนพิษ ๓๒
๓๕ เทียนบา้ น แกฝ้ แี ละแผลพุพอง ๓๑
ค่าเฉล่ยี ๓๕.๘๙

จากตารางท่ี ๘ พบว่า สมาชิกในกลมุ่ ไลน์ผูส้ ูงอายุที่อ่าน “คาศัพทส์ มุนไพร”
มคี า่ เฉลย่ี ๓๕.๘๙

เอกสาร “คาศพั ท์สมนุ ไพร”

URL: shorturl.asia/i๑Rds

๒๘

๓. การติดตามผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

๓.๑ รปู แบบการตดิ ตามผลการจัดการศกึ ษาตอ่ เน่ือง
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในจังหวัดระยองได้

ตอ่ เนือ่ งมาตั้งแตเ่ ดือนเมษายน ๒๕๖๔ จนถึงเดือนกันยายน ๒๕๖๔ ส่งผลให้ไมส่ ามารถจัดกิจกรรมการ
อบรมให้กับผสู้ งู อายุได้จนครบหลักสูตร

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้จัดกิจกรรมการอบรมเพียง ๑ ครั้ง ซึ่งเป็นการให้ความรู้กับ
ผู้สูงอายุในการเข้าแอปพลิเคชัน LINE “กลุ่ม ผสอ. ตะพง ๖๔” ตั้งแต่วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ถึงวันท่ี
๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ จึงใช้รูปแบบการติดตามจากพฤติกรรมการสื่อสารทาง LINE “กลุ่ม ผสอ. ตะพง
๖๔”

๓.๒ ผลการตดิ ตามการจัดการศึกษาต่อเนอื่ ง
จากสมาชิกท่ีเป็นผู้สูงอายุในกลุ่ม LINE “กลุ่ม ผสอ. ตะพง ๖๔” มีผู้สูงอายุที่แสดง

พฤติกรรมการสือ่ สารและมีปฏสิ ัมพันธ์อย่างต่อเน่ือง ด้วยการสง่ รปู สตกิ เกอร์ การพิมพข์ ้อความ ส่งลิงค์
ข้อมูล ดังตารางท่ี ๙

ตารางท่ี ๙ รายชื่อผ้สู ูงอายทุ ่ีมีการสอ่ื สารในกลมุ่ LINE “กล่มุ ผสอ. ตะพง ๖๔”

ที่ ชือ่ - สกลุ LINE ส่งรปู สติก พมิ พ์ สง่ ลิงค์
เกอร์ ขอ้ ความ

๑ นายมานิต กระแสสินธุ์ มานติ 

๒ นายบญุ เลศิ ธรรมสุนทร Boonlert

๓ นางนวลลออ ธรรมสุนทร นวลลออ 
 
๔ นางอาพร เฉยสวสั ดิ์ อาพร เฉยสวัสดิ์  
 
๕ นางวรรณา ทรงธรรม เจ๊ วรรณา 

๖ นางอษุ า สายสน่ัน ยายอุษา 

๗ นางดวงพร สารโพธ์ิ Duangporn S. 

๘ นางวิมลวรรณ พงษ์วารนิ ทร์ วิมลวรรณ

๙ นางสมดาว ผลศิริ สมดาว

๑๐ นางลาใย จนั ทรส์ วา่ ง ลาใย 

๑๑ นายชัชวาล เขยี ดช่นื Chatchawan k.

๑๒ นางอนญั ญา จันทร์พิทักษ์ อนญั ญา จนั ทร์พทิ ักษ์

๑๓ นางศรัณยา ไชยสิทธิ์ ศรณั ยา ไชยสทิ ธ์ิ

๑๔ นายบุญเพ็ง พลงั บญุ เพง็

๑๕ นางเซยี่ งไหล่ ชลประดิษฐ ปา้ ไหล่ ๗๐๔๔ 

๒๙

ตารางท่ี ๙ (ต่อ)

ที่ ช่ือ - สกลุ LINE สง่ รปู สตกิ พมิ พ์ สง่ ลิงค์
เกอร์ ขอ้ ความ
๑๖ นางปลายฝน บุศยศิริ
๑๗ นายพัด บชู า ฝน  
๑๘ นางจา้ ย กระจา่ งแจ้ง พัด
๑๙ นายโกเมต บุญสนอง จ้าย  
๒๐ นายวชิ ัย จันทร์พิทกั ษ์ โกเมต บญุ สนอง 
๒๑ นางรัตนา จนั ทร์พิทักษ์ วชิ ัย  
ซม้ิ 






จากตารางที่ ๙ พบวา่ จากสมาชิกผสู้ ูงอายุทงั้ หมดท่ีอยใู่ นกลุ่มไลน์ จานวน ๓๘ คน
มผี ูส้ งู อายทุ ี่มีการส่งรปู สติกเกอร์ การพมิ พ์ข้อความ การส่งลิงค์ จานวน ๒๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ
๕๕.๒๖

๔. การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน

๔.๑ สรปุ ผลโครงการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง หลักสตู รทกั ษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยี
ดจิ ิทลั สาหรับผู้สูงอายุ

ผู้รับผิดชอบโครงการ ดาเนินการจัดทาโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะ
ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ตามขั้นตอนการดาเนินงาน รวบรวมและวิเคราะห์
ผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ผลการประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยและ
พฤติกกรรมการอ่านและการมีส่วนร่วมในกลุ่มไลน์ “ผสอ. ตะพง ๖๔” ของผู้สูงอายุ นาข้อมูลทุกด้านมา
สรุปผลโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผสู้ งู อายุ

๔.๒ จัดทาสรุปรายงานผลการดาเนนิ งาน
ผู้รับผิดชอบโครงการ จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการจดั การศึกษาต่อเนื่อง

หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และพัฒนา
เป็นส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ e-book เผยแพรใ่ นชนั้ หนังสอื ของสถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก

https://anyflip.com/shfhq/nfzs/

บทที่ ๔
สรปุ ผลการดาเนินงาน

โครงการจัดการศึกษาต่อเนือ่ ง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรบั
ผสู้ ูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีสรปุ ผลการดาเนนิ งานดงั นี้

๑. สรุปผลการดาเนินงาน

๑.๑ การพฒั นาหลกั สตู รทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สาหรับผู้สูงอายุ
๑) การประสานเตรียมการจัดประชุมพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้

เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลสาหรับผ้สู งู อายุวนั ที่ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ ณ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลตะพง
อาเภอเมอื งระยอง จงั หวดั ระยอง

๒) การประชุมพัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผู้สูงอายุ ในวันจันทร์ที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก อาเภอเมืองระยอง จังหวัด
ระยอง

๓) พัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
จานวน ๔๐ ชั่วโมง ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตร และสถาบัน กศน.
ภาคตะวันออก ไดอ้ นมุ ตั ิให้ใชห้ ลกั สูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั สาหรบั ผสู้ ูงอายุ

๑.๒ จัดการศึกษาตอ่ เนือ่ งหลักสตู รทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับ
ผูส้ ูงอายุ

๑) ประชาสมั พนั ธแ์ ละรับสมัครผู้เรียนหลักสูตรทกั ษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ในวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนผูส้ ูงอายุตาบลตะพง อาเภอเมืองระยอง
จังหวัดระยอง

๒) จัดอบรมหลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ
ครงั้ ที่ ๑ ในวนั ที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๔ ณ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก ตาบลตะพง อาเภอเมืองระยอง
จังหวัดระยอง ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้สูงอายุ จานวน ๔๐ คน มีความคิดเห็นต่อต่อการ
อบรมฯ ในภาพรวม ระดับดขี ้นึ ไป จานวน ๔๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐

๓) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้กับผู้สูงอายุ โดยใช้ช่องทางการสื่อสาร
LINE “กลุ่ม ผสอ. ตะพง ๖๔” จานวน ๒ กิจกรรม

๓.๑) กิจกรรม “คาศัพท์ทางเทคโนโลยที ถ่ี กู ตอ้ งวนั ละคา” ระหวา่ งวนั ที่ ๒๐
พฤษภาคม- ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ จานวน ๖๐ คา ผลการจัดกิจกรรม สมาชิกในกลุ่มไลน์ผู้สูงอายุได้
อา่ นคาศัพท์ มคี า่ เฉล่ีย ๓๕.๘๙

๓.๒) กิจกรรม “คาศัพท์ สมุนไพร” ระหว่างวันที่ ๒ - ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๔
จานวน ๓๕ คา ผลการจดั กิจกรรม สมาชกิ ในกล่มุ ไลน์ผู้สงู อายไุ ด้อ่านคาศพั ท์ มีคา่ เฉลย่ี ๓๕.๘๙

๓๑

๑.๓ การติดตามผลการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง
๑) รูปแบบการตดิ ตามผลการจัดการศึกษาต่อเน่อื ง
ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ใชร้ ูปแบบการติดตามจากพฤติกรรมการส่ือสารของ LINE

“กลุ่ม ผสอ. ตะพง ๖๔” เช่น การสง่ รปู สตกิ เกอร์ การพิมพ์ขอ้ ความ การส่งลงิ ค์ ของผ้สู งู อายุ
๒) ผลการตดิ ตามการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง
สมาชิกที่เป็นผู้สูงอายุในกลุ่มไลน์ จานวน ๓๘ คน มีผู้สูงอายุที่มีการส่งรูป

สติกเกอร์ การพิมพข์ ้อความ การสง่ ลงิ ค์ จานวน ๒๑ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๕.๒๖

๑.๔ การสรุปผลและจัดทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงาน
จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะ

ความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และพัฒนาเป็นส่ือ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ e-book เผยแพร่ในช้ันหนังสอื ของสถาบนั กศน.ภาคตะวันออก

๒. ปัญหาอุปสรรค

๒.๑ ผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID- ๑๙) ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรม
การอบรมแบบ ON-SITE ให้กับผู้สูงอายุได้ เนื่องจากเป็นข้อกาหนดการจัดกิจกรรมของประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการแล้ว ยังร่วมกับแนวการปฏิบัติของจังหวัดระยอง และองค์การบริหารส่วนตาบล
ตะพงด้วย

๒.๒ ผู้สูงอายุมีอุปกรณ์สมาร์ตโฟนมีสมรรถนะไม่เท่ากัน จึงต้องใช้ระยะเวลาในการสอนนาน
กว่าที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นสม์ตโฟนที่นามาไม่ใช่ของตนเองแต่เป็นของลูก จึงไม่ได้พกไว้ใช้
ตลอดเวลา จะนามาใช้ตอนอบรมเทา่ นน้ั

๓. แนวทางในการดาเนินงานต่อเน่ือง

๓.๑ ดาเนินการขอจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สาหรับผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และศึกษาผลการนาหลักสูตรไปใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนา
หลกั สตู รต่อไป

๓.๒ ประสานกับครูที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่ของสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ที่สนใจจัด
กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับผู้สูงอายุ ในรูปแบบการให้ความรู้ผ่านช่องทางการสื่อสาร LINE
“กลมุ่ ผสอ. ตะพง ๖๔” ในปงี บประมาณ ๒๕๖๕

๓๒

๔. ข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาการจัดโครงการต่อไป

๔.๑ ควรสอบถามความต้องการของผู้สูงอายุเกี่ยวกับประเด็นเรื่องที่จะนามาจัดกิจกรรม
การศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก้ บั ผู้สงู อายุ

๔.๒ ควรศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมสาหรับผูส้ ูงอายุ และศึกษาผลการนาหลักสูตรไปใช้เพ่ือ
ปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สูตรตอ่ ไป

๓๓

ภาคผนวก

๓๔

ภาคผนวก ก

โครงการ

๓๕

๓๖

๓๗

๓๘

๓๙

๔๐

๔๑

๔๒

ภาคผนวก ข

หลักสูตร

๔๓

หลกั สตู รทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัลสาหรบั ผู้สงู อายุ

ความเปน็ มา
ด้วยปัจจบุ นั ประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวยั จากจานวนประชากรผู้สูงอายุท่ีมีเพิ่ม

มากข้ึนอยา่ งรวดเร็ว ซึง่ มกี ารคาดการณ์ว่าประชากรวยั สงู อายุของประเทศไทยจะเพ่มิ ขึน้ ประมาณ ๑ ใน
๔ ของประชากรทั้งประเทศ ภายในปี ๒๕๗๓ เป็นผลให้การพึ่งพิงของผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ
ประชากรวัยแรงงานที่จะลดลงในอนาคต จึงนาไปสู่ความท้าทายในหลาย ๆ ด้านที่จะต้องเผชิญ อาทิ
บริการทางการแพทย์ที่ไม่สะดวกต่อผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุที่ต้องอยู่ตามลาพัง รวมถึง
ผู้สูงอายุทีห่ ่างไกลเทคโนโลยที ีท่ าให้เกดิ ชอ่ งว่างระหวา่ งตนเองและบตุ รหลาน

การดาเนินตามนโยบาย Thailand ๔.๐ ซึ่งเนน้ การนาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใชเ้ ป็นเครือ่ งมือใน
การเพม่ิ ผลผลติ เพ่มิ ผลงาน และการบรกิ ารประชาชน โดยรัฐไดก้ าหนดใหม้ ียุทธศาสตรเ์ กย่ี วข้องกับการ
ส่งเสริมและสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ และให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารและสื่อความรู้ได้สะดวกยิ่งขึ้น สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับ
ผู้สูงอายุในการรับบริการจากภาครัฐ การพัฒนาสมอง การเพิ่มความมีส่วนร่วมกับสังคม แต่จากข้อมูล
ทางสถิติ พบว่า ผู้สูงอายุใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างสมา่ เสมอเพียง ๓.๙ % เท่านั้น ซึ่งการที่ผู้สูงอายุสว่ น
ใหญ่ไม่เข้าใจถงึ ประโยชน์ของเครอ่ื งมือและขาดทกั ษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล ทาใหผ้ สู้ ูงอายุ
พลาดโอกาสในการเข้าถึงการมีคุณภาพชีวิตทีด่ ีได้ ทงั้ นี้ การเสริมสร้างความร้คู วามเขา้ ใจและการใช้งาน
เทคโนโลยีดิจิทัล จึงเป็นสิ่งจาเป็นท่ีจะช่วยให้ผู้สูงอายุใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีได้อย่างสร้างสรรค์
และเกิดประโยชน์ต่อการใช้งาน อีกทั้งยังมีความรู้เท่าทันโลก สามารถหาข้อมูลที่ถูกต้องได้ด้วยตนเอง
และไมต่ กเป็นเหยอื่ ของมิจฉาชพี

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก มีหน้าที่ภารกิจหลักสาคัญประการหน่ึง คือ จัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประเภทการศึกษาต่อเนื่องให้สอดคล้องกับความจาเป็นและความ
สนใจของกลุ่มเป้าหมายและประชาชนในเขตภาคตะวันออก จึงได้พัฒนาหลักสูตรทักษะความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั สาหรับผสู้ ูงอายุ เพ่อื จดั การศึกษาต่อเนือ่ งใหก้ ับผ้สู งู อายุต่อไป

หลกั การ
๑. เป็นหลักสูตรท่ีสง่ เสริมใหผ้ ้สู ูงอายุไดพ้ ฒั นาและเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง
๒. เป็นหลกั สูตรที่ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สงู อายเุ รียนรู้จากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ
๓. เปน็ หลักสูตรทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้สงู อายมุ ีทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล

จุดมงุ่ หมาย
๑. เพ่ือใหผ้ ู้สงู อายุมีความรู้ความเขา้ ใจการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล
๒. เพือ่ ให้ผสู้ ูงอายุมีทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั และนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั เบ้ืองต้นได้
๓. เพื่อใหผ้ ้สู ูงอายุมที ศั นคติที่ดใี นการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล


Click to View FlipBook Version