The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนางานต่อไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนางานต่อไป

Keywords: การพัฒนาบุคลากร,หลักสูตร,ปี 2564

รายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน

โครงการพฒั นาบคุ ลากรด้านการพฒั นาหลกั สูตร
รายวชิ าเลือกและหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ือง
เพือ่ รองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก

ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

กลุม่ งานพัฒนาการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ภาคตะวันออก

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คานา

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาเลือกและหลักสตู รการศึกษา
ต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีวัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาผู้เข้ารับการอบรมให้มีความรู้การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาต่อเนื่องเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ซ่ึงไดด้ าเนนิ งานตามโครงการ
และจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์
เป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการ
ดาเนินงานตอ่ เนื่อง เพือ่ เป็นข้อมูลในการพฒั นางานตอ่ ไป

กลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิต สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออก หวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการ
พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวันออก จะช่วยพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาในเขตภาคตะวันออกในการพัฒนา
หลกั สูตรต่อไป

กลุ่มงานพฒั นาการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต
พฤศจิกายน ๒๕๖๔



สารบญั

หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง จ
บทท่ี ๑ ๑
บทนา ๑

หลกั การและเหตุผล ๑
วัตถุประสงค์ ๒
เปา้ หมาย ๒
งบประมาณ ๒
เครือขา่ ยการดาเนินงานโครงการ ๒
ดชั นีชี้วดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ ๓
การประเมินโครงการ ๓
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั ๔
บทท่ี ๒ ๔
วธิ ดี าเนนิ งาน
๑. การอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ๕

เพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก ๖
๒. การติดตามผลการจัดการอบรม ๗
๓. การสรปุ ผลและจัดทารายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๗
บทท่ี ๓
ผลการดาเนินงาน ๗
๑. การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาหลกั สูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ ง

เพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก
๑.๑ ขออนมุ ัตโิ ครงการพฒั นาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวชิ าเลือก ๗

และหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก ๘
๑.๒ จดั ทาหลกั สูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพฒั นาหลักสตู รรายวชิ าเลอื ก

และหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก
๑.๓ การพจิ ารณาและกลนั่ กรองหลกั สูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรฯ
๑.๔ การขออนมุ ัติใชห้ ลักสูตรพฒั นาบุคลากรดา้ นการพัฒนาหลักสูตรฯ



สารบญั (ตอ่ )

หน้า

๑.๕ การแต่งตงั้ คณะกรรมการโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลกั สูตรฯ ๘

๑.๖ จัดทาเอกสารประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนาหลักสตู รฯ ๙

๑.๗ จัดทาแบบทดสอบและแบบประเมินความพึงพอใจการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารฯ ๑๒

๑.๘ จดั การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลือกและหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง

เพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะท่ี ๑ ๑๒

๑.๙ จดั การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนาหลกั สตู รรายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

เพื่อรองรบั เขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก รปู แบบออนไลน์ ระยะท่ี ๒ ๑๗

๑.๑๐ ผลการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาหลักสตู รรายวิชาเลอื กและหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง

เพื่อรองรบั เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ๑๙

๑.๑๑ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมท่ีมตี ่อการอบรมฯ ๒๓

๑.๑๒ การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจสาหรบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๒๘

๑.๑๓ จัดทาวฒุ บิ ัตรและเกยี รติบัตรการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาหลักสูตรฯ ๓๖

๒. การติดตามผลการจัดอบรม ๓๖

๒.๑ รูปแบบการติดตามผลการจัดอบรม ๓๖

๒.๒ ผลการตดิ ตามการจัดอบรม ๓๖

๓. การสรุปผลและจดั ทารายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๔๐

๓.๑ สรปุ ผลโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพฒั นาหลักสูตรฯ ๔๐

๓.๒ จดั ทาสรุปรายงานผลการดาเนนิ งาน ๔๐

บทท่ี ๔ ๔๑

สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๔๑

๑. สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ๔๑

๑.๑ การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาหลักสูตรรายวชิ าเลือกและหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ือง

เพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก ๔๑

๑.๒ การติดตามผลการจดั การอบรม ๔๒

๑.๓ การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน ๔๒

๒. ปญั หาอุปสรรค ๔๒

๓. แนวทางในการดาเนินงานตอ่ เน่อื ง ๔๓

๔. ข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาการจดั โครงการต่อไป ๔๓

สารบญั (ตอ่ ) ง

ภาคผนวก หน้า
ภาคผนวก ก โครงการ
ภาคผนวก ข หลกั สตู ร ๔๔
ภาคผนวก ค หนงั สอื ราชการ ๔๕
ภาคผนวก ง แบบทดสอบและแบบประเมนิ ๕๒
ภาคผนวก จ ภาพกจิ กรรม ๖๑
๑๐๖
คณะผู้จัดทา ๑๒๔
๑๓๔



สารบัญตาราง

ตารางท่ี ๑ รายช่อื ผู้เขา้ รบั การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นาหลักสตู ร ฯ หน้า
ตารางท่ี ๒ รายช่ือครูทีป่ รกึ ษาและเจา้ หน้าทข่ี องสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก
ตารางท่ี ๓ คะแนนการแบบทดสอบออนไลนข์ องผ้เู ข้ารับการอบรม ๑๓
ตารางที่ ๔ คะแนนการแบบทดสอบออนไลน์ของผ้เู ขา้ รับการอบรม ๑๕
ตารางที่ ๕ ข้อมูลพื้นฐาน ๒๐
ตารางที่ ๖ ระดับความคิดเหน็ ของผู้เขา้ รบั การอบรม ๒๑
ตารางท่ี ๗ จานวนและร้อยละของปัญหาในการอบรมออนไลน์ ๒๓
ตารางท่ี ๘ ค่าเฉลย่ี ความคิดเหน็ ทีม่ ีต่อการอบรมในภาพรวม ๒๔
ตารางที่ ๙ คา่ เฉลี่ยความคิดเหน็ ทมี่ ตี ่อการอบรมด้านวิทยากร ๒๗
ตารางท่ี ๑๐ ค่าเฉลี่ยความคดิ เห็นทม่ี ีต่อการอบรมด้านส่อื /เอกสารประกอบการอบรม ๒๙
ตารางท่ี ๑๑ คา่ เฉลย่ี ความคดิ เหน็ ท่มี ตี ่อการอบรมด้านความรู้ ความเข้าใจ ๓๐
ตารางที่ ๑๒ คา่ เฉลยี่ ความคดิ เหน็ ทม่ี ีต่อการอบรมด้านทกั ษะท่ีไดร้ บั จากการอบรม ๓๑
ตารางท่ี ๑๓ คา่ เฉลี่ยความคดิ เห็นทีม่ ตี ่อการอบรมดา้ นการนาความรูแ้ ละทกั ษะไปใช้ ๓๒
ตารางท่ี ๑๔ ค่าเฉลยี่ ความคดิ เห็นท่ีมีต่อการอบรมด้านการอบรมรปู แบบออนไลน์ ๓๓
ตารางท่ี ๑๕ ข้อมูลทั่วไป ๓๔
ตารางที่ ๑๖ จานวนและรอ้ ยละของการนาความรู้ไปใช้ ๓๕
ตารางท่ี ๑๗ รายชอ่ื หลกั สูตร/โครงการท่ีจดั ทาหลังผ่านการอบรม ๓๗
๓๗
๓๘

บทท่ี ๑
บทนา

หลักการและเหตุผล

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ สานักงาน กศน. ได้กาหนดวิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสทาง
การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้อง
กับหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑” และได้กาหนด ๑๒ ภารกิจ
“เร่งด่วน” ที่จะต้อง “จับต้องได้” ในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรทุกระดับ ทุกประเภทให้ทันสมัย
สอดคล้องกับบริบทสภาวะปัจจุบันและความต้องการของผู้เรียน และภารกิจต่อเนื่อง ข้อ ๒. ด้าน
หลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และ
การประกันคุณภาพการศึกษา ข้อ ๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และกิจกรรม และสอดคล้องกับนโยบายขับเคลื่อนงาน กศน. WOW ในข้อ ๓ ส่งเสริมการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ: Good Activity เพื่อเร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ
กศน. ใหเ้ ป็นอาชพี รองรับอุตสาหกรรมอนาคต โดยเฉพาะจังหวัดทอี่ ยูใ่ นพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ

หลักสูตร ถือเป็นหัวใจของการจัดการศึกษา เพราะเป็นเครื่องมือสาคัญในการกาหนด
แนวทางการจัดการศึกษา เพื่อที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถพัฒนา
คุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมได้ เพราะหลักสตู รจะบอกใหท้ ราบวา่ ผูเ้ รยี นบรรลุจดุ มุ่งหมายอย่างไร
จะต้องจัดเนื้อหาสาระอย่างไรและใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมินผลอย่างไร ดงั น้ันการจัดการศึกษาท่ีดีจึง
ควรมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพชีวิต และสังคมของผู้เรยี น หลักสูตรจงึ จาเปน็ ตอ้ งปรับปรุงหรือ
พฒั นาให้มคี วามเหมาะสม ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของของสภาพเศรษฐกจิ และสังคมอยูเ่ สมอ

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก มีหน้าที่ภารกิจหลักสาคัญประการหนึ่ง คือ ส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาคุณภาพวิชาการ หลกั สตู ร ส่อื เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการศกึ ษา บุคลากรและระบบข้อมูล
สารสนเทศที่เกี่ยวกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแก่สถานศึกษาในเขตภาค
ตะวนั ออก และภาคีเครอื ข่าย จงึ ได้จดั ทาโครงการพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการพฒั นาหลักสูตรรายวิชาเลือก
และหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้
ข้าราชการครู ครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถพัฒนาหลักสูตรและสามารถจัดการศึกษาได้
สอดคลอ้ งกับบริบทสภาวะปัจจบุ ันและความตอ้ งการของผเู้ รียน

วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาผู้เข้ารับการอบรมให้มีความรู้การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาต่อเน่ืองเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก



เป้าหมาย

๑. เชิงปริมาณ
ข้าราชการครูและครู กศน. จานวน ๓๘ คน

๒. เชิงคุณภาพ
ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา

ตอ่ เนอื่ งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก

งบประมาณ

งบประมาณปี ๒๕๖๔ แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตที่ ๔
ผ้รู ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ กจิ กรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน จานวนท้งั สิ้น ๑๑๐,๐๐๐
บาท (หนงึ่ แสนหน่งึ หมื่นบาทถ้วน)

เครือข่ายการดาเนินงานโครงการ

๑. สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี, ระยอง,
จนั ทบรุ ี, ตราด, ฉะเชิงเทรา, ปราจีนบรุ ี, นครนายก และสระแก้ว

๒. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอในเขตภาคตะวันออก
๓. ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาสระแก้ว
๔. ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว้
๕. ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหารอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ

ดัชนีช้ีวัดผลสาเร็จของโครงการ

๑. ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Outputs)
๑.๑ ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้ารับการอบรมผ่านการอบรมการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก

และหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามเกณฑ์ที่หลักสูตร
กาหนด

๑.๒ รอ้ ยละ ๘๐ ของผเู้ ข้ารับการอบรมในภาพรวมมคี วามพึงพอใจต่อการอบรมในระดับดี
ขึ้นไป



๒. ตัวชีว้ ัดผลลัพธ์ (Outcomes)
ร้อยละ ๖๐ ของผู้เข้ารับการอบรมนาความรู้การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกไปใช้จัดการศึกษาใน
สถานศกึ ษาได้

การประเมินโครงการ

๑. ประเมนิ ความรูโ้ ดยใชก้ ารทดสอบ
๒. ประเมินทักษะการปฏบิ ตั ิโดยใชผ้ ลการปฏิบตั งิ าน (ผลงาน)
๓. ประเมินความคิดเห็นของผ้เู ข้ารบั การอบรมโดยใชแ้ บบสอบถาม
๔. ติดตามการนาความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารบั การอบรมโดยใชแ้ บบติดตามการนาความรู้ไปใช้

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ

๑. บุคลากรที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศึกษาตอ่ เนอื่ งเพอ่ื รองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก

๒. ได้หลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่มีองค์ประกอบครบถ้วน
สอดคลอ้ งกบั บริบทและความต้องการของผ้เู รยี น ชุมชน ท้องถนิ่ และสถานศึกษาในเขตภาคตะวันออก

บทท่ี ๒
วธิ ดี าเนินงาน

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ มวี ิธดี าเนนิ งาน ดงั นี้

กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่ม เป้า พ้ืนที่ ระยะ
๑. การอบรมเชิง เปา้ หมาย หมาย ดาเนินการ เวลา
ปฏิบัติการพัฒนา ๑. ๔๐ คน จังหวัด เม.ย.-พ.ค.
หลักสูตรรายวิชาเลือก เพอื่ พฒั นาบุคลากร ๑. ข้าราชการ ๒. ๑๐ คน ๒๕๖๔
และหลักสูตร ระยอง
การศึกษาต่อเนื่องเพื่อ ใหม้ ีความรกู้ าร ครูและครู กศน. ๑. ๔๐
รองรับเขตเศรษฐกิจ คน
พิเศษภาคตะวันออก พัฒนาหลกั สตู ร ๒. บุคลากร ๒. ๖ คน

๒. การติดตามผล รายวชิ าเลือกและ สถาบนั กศน. ๕ คน
การอบรม
หลักสูตรการศกึ ษา ภาคตะวันออก
๓. การสรปุ ผลและ
จดั ทารายงานสรปุ ผล ตอ่ เนื่องเพื่อรองรับ
การดาเนินงาน
เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ

ภาคตะวันออก

เพอ่ื ติดตามผลการ ๑. ข้าราชการ สถานศกึ ษา มิ.ย.-ส.ค.
กศน. ใน ๒๕๖๔
นาความรูก้ ารพัฒนา ครแู ละครู กศน.
ภาค
หลักสตู รไปจัด ๒. บุคลากร ตะวนั ออก

การศึกษาใน สถาบัน กศน.

สถานศกึ ษา ภาคตะวนั ออก

เพื่อสรุปผลการ บุคลากรสถาบนั สถาบัน ส.ค.
กศน.ภาค ๒๕๖๔
ดาเนินงาน ปญั หา กศน.ภาค ตะวันออก

อปุ สรรคและ ตะวนั ออก

แนวทาง แก้ไข เพอื่

การดาเนนิ งานในปี

ตอ่ ไป

ซง่ึ มีรายละเอยี ดการดาเนนิ งาน ดังน้ี



๑. การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาหลักสูตรรายวิชาเลอื กและหลักสตู รการศกึ ษา
ตอ่ เนอื่ งเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก

ผู้รับผิดชอบโครงการไดว้ างแผนร่วมกับกลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชวี ิต และบุคลากรของ
สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก เพื่อดาเนินการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก
และหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ งเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก ดงั น้ี

๑.๑ ขออนุมัติโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก

๑.๒ จัดทาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาตอ่ เน่ืองเพอ่ื รองรบั เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก

๑.๓ การพิจารณาและกลั่นกรองหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลอื กและหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

๑.๔ การขออนุมัติใช้หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ
หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนื่องเพ่อื รองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก

๑.๕ การแตง่ ต้งั คณะกรรมการโครงการพฒั นาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก
และหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก

๑.๖ จัดทาเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ
หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอื่ งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก

๑.๗ จัดทาแบบทดสอบและแบบประเมินความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา
หลักสูตรรายวชิ าเลอื กและหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนื่องเพ่ือรองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก

๑.๘ จดั การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
เพือ่ รองรบั เขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก รูปแบบออนไลน์ ระยะที่ ๑

๑.๙ จดั การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาหลักสตู รรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง
เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก รปู แบบออนไลน์ ระยะท่ี ๒

๑.๑๐ ผลการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
เพ่อื รองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก รปู แบบออนไลน์

๑.๑๑ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมที่มีต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการ
พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก รูปแบบออนไลน์

๑.๑๒ การวเิ คราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจสาหรับการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
๑.๑๓ จัดทาวุฒิบัตรและเกียรติบัตรการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรายวิชาเลือกและ
หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งเพอื่ รองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รปู แบบออนไลน์



๒. การติดตามผลการจัดการอบรม

ผู้รับผิดชอบโครงการได้วางแผนร่วมกับกลุ่มงานพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชวี ิต และบุคลากรของ
สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก เพื่อติดตามผลการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือกและหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื งเพ่ือรองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก ดงั น้ี

๒.๑ รปู แบบการติดตามผลการจัดการอบรม
๒.๒ ผลการติดตามการจดั การอบรม

๓. การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการได้วางแผนร่วมกบั กล่มุ งานพฒั นาการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และบคุ ลากรของ
สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก เพอื่ สรปุ ผลและจดั ทารายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน ดงั นี้

๓.๑ สรุปผลโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศึกษาต่อเนอ่ื งเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก

๓.๒ จดั ทาสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน

บทที่ ๓
ผลการดาเนนิ งาน

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
เพื่อรองรับเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาผูเ้ ขา้ รับ
การอบรมให้มีความรู้การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขต
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก มีผลการดาเนนิ งาน ดังนี้

๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ต่อเน่อื งเพ่ือรองรบั เขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก

๑.๑ ขออนุมัติโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาตอ่ เน่อื งเพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ขออนุมัติโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก ตามบันทึกข้อความ
ท่ี ๐๐๖๑/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๔

๑.๒ จดั ทาหลกั สูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลือกและหลักสูตร

การศกึ ษาตอ่ เนือ่ งเพ่อื รองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนา

หลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

จานวน ๑ หลักสตู ร ประกอบดว้ ย ๕ เรอื่ ง จานวน ๒๐ ชัว่ โมง ดังนี้

เรอื่ งที่ ๑ องคค์ วามรู้ที่เกย่ี วข้องกบั การพฒั นาหลักสูตร จานวน ๒ ชัว่ โมง

เร่อื งที่ ๒ ความรเู้ บือ้ งต้นการพัฒนาหลกั สตู ร จานวน ๒ ชว่ั โมง

เรอ่ื งท่ี ๓ การรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูลพ้นื ฐาน จานวน ๓ ช่ัวโมง

สาหรบั การพัฒนาหลกั สตู ร

เร่อื งท่ี ๔ การรา่ งหลกั สตู ร จานวน ๑๐ ชั่วโมง

เร่อื งท่ี ๕ การประเมินหลักสตู ร : ตรวจสอบคุณภาพเบ้อื งต้น จานวน ๓ ช่วั โมง

ของหลักสูตร



๑.๓ การพิจารณาและกลัน่ กรองหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพฒั นาหลักสตู รรายวิชา
เลอื กและหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนือ่ งเพ่อื รองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก

ผรู้ ับผิดชอบโครงการ ไดน้ าหลักสตู รเสนอคณะกรรมการเพ่ือพจิ ารณากลน่ั กรองหลักสูตร
ตามบนั ทึกข้อความท่ี ๑๑๙๕/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๔ โดยพจิ ารณาในประเดน็

๑) องค์ประกอบของหลักสูตร
๒) ความสอดคล้องขององค์ประกอบของหลักสูตร
ซงึ่ ผลการพจิ ารณา พบว่า หลกั สตู รมอี งค์ประกอบหลักสตู รครบถว้ นและมีความสอดคล้อง
ขององค์ประกอบหลักสูตรทุกรายการ ตามบันทึกข้อความที่ ๑๒๗๗/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน
๒๕๖๔

๑.๔ การขออนุมัติใช้หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ
หลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ งเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ขออนุมัติใช้หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามบันทึก
ข้อความที่ ๑๒๙๓/๒๕๖๔ ลงวนั ท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔

โดยสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ได้อนมุ ัติใหใ้ ช้หลกั สตู รสาหรบั พฒั นาบุคลากรให้มีความรู้
ความเข้าใจและทักษะในการพฒั นาหลกั สตู รรายวิชาเลือกและหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่องเพ่ือรองรับเขต
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามคาสั่ง สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ที่ ๐๕๔/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๒
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑.๕ การแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลอื กและหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ งเพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้แต่งตั้งคาสั่งคณะกรรมการโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการ
พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก ประกอบด้วย ๑. คณะกรรมการที่ปรึกษา ๒. คณะกรรมการฝ่ายธุรการ การเงิน บัญชี พัสดุ
และยานพาหนะ ๓. คณะกรรมการฝ่ายดาเนินการอบรม ๔. คณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีและดิจิทัล
ทางการศึกษา และ ๕. คณะกรรมการฝ่ายวัดและประเมินผล เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปด้วยความ
เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ตามคาสั่ง สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ที่ ๐๖๔/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๑๕
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔


๑.๖ จัดทาเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ
หลักสูตรการศึกษาต่อเน่อื งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ศึกษาเอกสาร คู่มือ งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร
ดาเนินการวิเคราะห์เนื้อหา รวบรวมและเรียงเรียงตามกรอบหัวเรื่องของหลักสูตร และจัดทารูปเล่ ม
เอกสาร เพ่อื ใชป้ ระกอบการอบรมและเป็นแหล่งข้อมลู ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมไดศ้ ึกษารายละเอยี ดเพิ่มเติม
ดว้ ยตนเอง

ผลการดาเนินการ
๑) จัดทาเอกสารประกอบการอบรมโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อ เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิ จพิเศษภาคตะวัน ออ ก
ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ จานวน ๑ เลม่

https://anyflip.com/shfhq/kldq/

๑๐
๒) จัดทาพาวเวอร์พอยท์นาเสนอ จานวน ๖ เรื่อง เพื่อใช้ประกอบการบรรยายของ
วิทยากรการอบรม

เรื่องที่ ๑.๑ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร : นโยบายด้านการศึกษา
และจุดเน้นการพัฒนา

เรื่องที่ ๑.๒ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร : จิตวิทยาการศึกษาและ
สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยีดิจิทลั ของครู

เรื่องท่ี ๒ ความร้เู บื้องต้นการพฒั นาหลักสูตร

๑๑
เร่ืองท่ี ๓ การรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พื้นฐานสาหรับการพัฒนาหลกั สูตร

เรื่องท่ี ๔ การรา่ งหลักสตู ร

เรือ่ งที่ ๕ การประเมินหลักสตู ร : ตรวจสอบคณุ ภาพเบ้อื งตน้ ของหลกั สูตร

๑๒

๑.๗ จดั ทาแบบทดสอบและแบบประเมนิ ความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นา
หลกั สูตรรายวิชาเลอื กและหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่อื งเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ศึกษาจุดประสงค์ของหลักสูตรและเนื้อหาเอกสารประกอบ
หลักสูตร และดาเนินการจัดทาแบบทดสอบ แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๒๐ ข้อ ในรูปแบบ
Google Form

และจัดทาแบบประเมินความพึงพอใจ แบบมาตราสว่ นประเมินค่า ๕ ระดับ แบ่งออกเปน็
๒ ตอน คือ ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน และตอนที่ ๒ ระดับความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรม จานวน
จานวน ๑ ฉบับ ในรปู แบบ Google Form

๑.๘ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ตอ่ เน่ืองเพือ่ รองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก รปู แบบออนไลน์ ระยะท่ี ๑

ผู้รับผิดชอบโครงการ ดาเนินการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสตู รรายวิชาเลือก
และหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก รปู แบบออนไลน์ ระยะที่ ๑
ซึ่งมีการดาเนนิ การ ดงั น้ี

๑) ขอปรับโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามบันทึกข้อความที่ ๑๐๘๒/๒๕๖๔
ลงวนั ท่ี ๘ มถิ ุนายน ๒๕๖๔

“เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ระลอก
ใหม่ขึ้น ทุกจังหวัดทั่วประเทศ หน่วยงานในสังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการต้องดาเนินการ
ตามมาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ซึ่งส่งผล
ใหไ้ มส่ ามารถดาเนินการตามกิจกรรมที่กาหนดไว้ จึงขอปรับกิจกรรมจากการอบรมรปู แบบชน้ั เรียน เป็น
การอบรมรปู แบบออนไลน์ และการอบรมรูปแบบชัน้ เรียน”

๒) ขออนุมัติจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ตอ่ เน่อื งเพอื่ รองรบั เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก ตามบนั ทึกขอ้ ความที่ ๑๑๕๕/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๒๒
มิถนุ ายน ๒๕๖๔

“โดยกาหนดรูปแบบการจัดอบรม เป็น ๒ รูปแบบ คือ รูปแบบออนไลน์ ในวันที่ ๑๙
กรกฎาคม ๒๕๖๔ และการอบรมรูปแบบชั้นเรียน ในวันที่ ๒ - ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ โรงแรมสตาร์
คอนเวนชัน อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง กลุ่มเป้าหมาย คือ ข้าราชการครู และครู กศน. ท่ี
รบั ผิดชอบงานหลักสูตร”

๑๓

๓) จัดทาหนังสือขอเชิญบุคลากรเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตามหนังสือสถาบนั
กศน.ภาคตะวันออก ท่ี ศธ ๑๒๑๐.๐๙/ว ๑๗๗ และ ว ๑๗๘ ลงวนั ท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๔ พรอ้ มแนบ
สงิ่ ทส่ี ่งมาด้วย คือ กาหนดการอบรม ฯ

โดยสานักงาน กศน. จังหวัดในเขตภาคตะวันออก คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายจาก
สถานศกึ ษาในสังกัดเพ่อื เข้ารบั การอบรม จานวน ๔ คน และแจ้งตอบรับการอบรมทางออนไลน์

และสถานศึกษาขึ้นตรงในเขตภาคตะวันออก คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้ารับการ
อบรม จานวน ๒ คน และแจ้งตอบรับการอบรมทางออนไลน์

๔) ดาเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะที่ ๑ ในวันท่ี
๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk สถาบัน กศน.
ภาคตะวันออก อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง และรายงานผลการอบรม ตามบันทึกข้อความท่ี
๑๔๕๖/๒๕๖๔ ลงวนั ท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔

มผี ลการดาเนินการ ดังนี้
๔.๑) ผูเ้ ขา้ รับการอบรมและคณะกรรมการดาเนนิ การอบรม

(๑) ผู้เข้ารับการอบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาหลักสตู ร ฯ คือ ขา้ ราชการครู และ
ครู กศน. ทร่ี ับผิดชอบงานหลักสตู รของสถานศึกษาในเขตภาคตะวนั ออก จานวน ๓๘ คน ดงั ตารางท่ี ๑

ตารางที่ ๑ รายชอ่ื ผ้เู ขา้ รบั การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพฒั นาหลกั สูตร ฯ

ที่ ชอื่ -สกุล ตาแหนง่ จังหวดั กศน.อาเภอ
๑ นางสมจิตร แม้นอุดม ครอู าสาสมัครฯ จันทบรุ ี สอยดาว
๒ นางสาวจรยิ า รงุ่ สว่าง ครูผู้ชว่ ย จันทบุรี ทา่ ใหม่
๓ ว่าที่ รต. หญงิ สพุ รรณี เนียมณรงค์ ครู กศน.ตาบล จนั ทบรุ ี โปง่ นา้ ร้อน
๔ นางสาวพิชญา อัชฌาศัย ครผู ูช้ ่วย จนั ทบุรี โป่งนา้ รอ้ น
๕ นางศริ ิญา ปอ้ งเรอื ครู กศน.ตาบล จนั ทบรุ ี เมอื งจันทบรุ ี
๖ นายวริ ัตน์ ปุรเิ กษ ครูผูช้ ่วย ฉะเชงิ เทรา คลองเขอ่ื น
๗ นางสาววิไลรัตน์ ศรีรงุ่ ครผู ชู้ ่วย ฉะเชิงเทรา แปลงยาว
๘ นางนวลถนอม พิขุนทด ครูผู้ชว่ ย ฉะเชงิ เทรา บางคล้า
๙ นางสาวจติ ลดา ละอองแกว้ ครอู าสาสมัครฯ ฉะเชิงเทรา ราชสาส์น

๑๔

ตารางที่ ๑ (ตอ่ ) ตาแหนง่ จงั หวัด กศน.อาเภอ
ครอู าสาสมัครฯ ชลบุรี บ้านบงึ
ท่ี ช่อื -สกุล ครผู ู้ชว่ ย ชลบุรี พานทอง
๑๐ นางสาวอมรา พวงภู่ ครผู ู้ชว่ ย ชลบรุ ี พนสั นิคม
๑๑ นางสาวระพีพร วงคม์ น ครู กศน.ตาบล ชลบรุ ี บอ่ ทอง
๑๒ นางสาวณภษร ศรีบุณยะแก้ว ครผู ้ชู ว่ ย ตราด คลองใหญ่
๑๓ นายสุชน บญุ พิมพ์ ครูผชู้ ่วย ตราด เมอื งตราด
๑๔ นายกฤตนนท์ จันทร์คลาย ครูผู้ชว่ ย ตราด แหลมงอบ
๑๕ นางสาวหงษฟ์ ้า ปสั บาล ครูผ้ชู ่วย ตราด บ่อไร่
๑๖ นายกติ ติกร ภารไสว ครอู าสาสมัครฯ นครนายก บา้ นนา
๑๗ นางสาวกญั ญพทั ร มุตโิ สม ครู กศน.ตาบล นครนายก ปากพลี
๑๘ นายไพรัช ศรีใส ครู กศน.ตาบล นครนายก เมืองนครนายก
๑๙ นางรัตติพร ภาษี ครู กศน.ตาบล นครนายก องครกั ษ์
๒๐ นางสาวพรเพญ็ เกยี งตระกูล นักวิชาการศกึ ษา ปราจนี บุรี สนง.ปราจีนบุรี
๒๑ นายเสกสรรค์ ทองหลุ ครู ปราจนี บุรี ศรีมหาโพธิ
๒๒ นางสาวบบุ ผา แกว้ ประพนั ธ์ ครู ปราจีนบรุ ี เมอื งปราจนี บุรี
๒๓ นางสาวอทิตยา สมคั รชอ่ื ครู ปราจนี บรุ ี นาดี
๒๔ นางสมรกั จิตม่นั ครู กศน.ตาบล ระยอง นคิ มพฒั นา
๒๕ นางสาวรุง่ นภา เฉลยี วศิลป์ นกั วิชาการศกึ ษา ระยอง สนง.ระยอง
๒๖ นางสาวปุญญพัฒน์ ทมิ าตะฤกะ ครู กศน.ตาบล ระยอง บ้านคา่ ย
๒๗ นางสาวพรี ภาว์ นาคเกิด ครผู ู้ช่วย ระยอง วังจันทร์
๒๘ นางสาวอัษณา ฉายกระจา่ ง ครผู ้ชู ่วย สระแกว้ วงั สมบูรณ์
๒๙ นายธรี พล เดือนกลาง ครูผชู้ ่วย สระแก้ว วัฒนานคร
๓๐ นางสาวเพชรปวณี ์ ศิริโชตินอก ครผู ชู้ ่วย สระแกว้ คลองหาด
๓๑ นายสทุ พิ ย์ แสงใส ครู กศน.ตาบล สระแก้ว วงั นา้ เย็น
๓๒ ว่าที่ รต.อรรคเดช ไมส้ ูงเนิน ครผู ชู้ ่วย สระแกว้ ศฝช.สระแกว้
๓๓ นางสาวสณุ ญตา สนสร้อย ครูอาสาสมคั รฯ สระแก้ว ศฝช.สระแก้ว
๓๔ นายนฤรงค์ กันรมั ย์ ครู สระแกว้ ศว.สระแกว้
๓๕ นายพรศักดิ์ สาราญดี ครผู ชู้ ่วย สระแกว้ ศว.สระแกว้
๓๖ นายมนสั ชยั โสคาภา ครู ชลบรุ ี ศฝก.วดั ญาณฯ
๓๗ นายศราวฒุ ิ ภมู าศ
๓๘ นายจรญู ชุมศรี

๑๕

(๒) คณะกรรมการดาเนนิ การอบรม คือ คณะครูท่ีปรึกษาและเจ้าหนา้ ที่
ของสถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก จานวน ๑๕ คน ดังตารางที่ ๒

ตารางที่ ๒ รายชื่อครูทีป่ รึกษาและเจา้ หน้าท่ขี องสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก

ท่ี ช่อื - สกลุ ตาแหนง่
๑ นายสังข์ กาญจนเพิม่ พนู ผอู้ านวยการ

๒ นางสาวธัญญล์ กั ษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผ้อู านวยการ

๓ นางกุลธดิ า รัตนโกศล ครู คศ. ๔
๔ นางญาณิศา เจรีรัตน์ ครู คศ.๓
๕ นางกัญญาทพิ เสนาะวงศ์ ครู คศ.๓
๖ นางสาวสุปรดี า แหลมหลกั ครู คศ.๓
๗ นางสาวอรทัย ปานขาว ครู คศ.๓
๘ นางศิริพรรณ พันจินา ครู คศ.๓
๙ นางสาวพนติ ตา กิจจนศิริ ครู คศ.๓
๑๐ นางสาวคามนต์ นวลมะณีย์ ครู คศ.๓
๑๑ นางสาวบุษยา ปยิ ารมย์ ครู คศ.๓
๑๒ นายธวชั ชัย สนุ ทรสวสั ด์ิ ครู คศ.๒
๑๓ นางกมลชนก วสิ ษิ ฐดารงค์กุล ครูผู้ช่วย
๑๔ นายวชั ระ คาพรม พนักงานขบั รถยนต์ ส ๒
๑๕ นายอภเิ ชษฐ์ ภทู องยอด เจา้ พนงั านธรุ การ

๔.๒) การเปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาตอ่ เนือ่ งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก รูปแบบออนไลน์ ระยะที่ ๑

นายสังข์ กาญจนเพิ่มพูน ผู้อานวยการสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ให้เกียรติ
เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมพร้อมการบรรยายพิเศษ เพื่อสร้างความเข้าใจและความตระหนักใน
บทบาทหน้าที่ของครูที่มีส่วนเกีย่ วข้องในการพัฒนาหลกั สูตร ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญในการพฒั นาผู้เรียนให้
สอดรบั กบั ความเปลย่ี นแปลงของบริบทและสังคมในปจั จบุ นั

นางสาวธัญญ์ลักษณ์ ขจรสกุลวงศ์ รองผู้อานวยการ สถาบัน กศน.ภาค
ตะวนั ออก ให้เกียรตริ ว่ มในพธิ ีเปดิ การอบรม

๑๖

๔.๓) นางสาวบุษยา ปิยารมย์ ผู้รับผิดชอบโครงการฯ รายงานความเป็นมาของ
การอบรมและชี้แจงโครงสร้างหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จานวน ๒๐ ชั่วโมง
ประกอบดว้ ยจดุ มุง่ หมาย โครงสร้างเนอ้ื หา และเกณฑ์การวัดประเมินผลของหลักสูตร

๔.๔) กิจกรรมการอบรม
(๑) ดาเนินการทดสอบก่อนอบรม ดว้ ยแบบทดสอบออนไลน์แบบเลือกตอบ ๔

ตัวเลือก จานวน ๒๐ ข้อ โดยสง่ ทางกลุ่มไลน์ “พฒั นาหลักสูตร ๖๔”
(๒) จัดกิจกรรมการอบรมเรื่องที่ ๑ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา

หลักสูตร : นโยบายด้านการศึกษาและจุดเน้นการพัฒนา โดยวิทยากร คือ นายสังข์ กาญจนเพิ่มพูน
ผูอ้ านวยการสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก

“เป็นการสร้างความรู้ความเขา้ ใจถึงความสาคญั ของการพัฒนาหลักสูตรท่ี
สอดคล้องกบั นโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงาน กศน.”

(๓) จัดกิจกรรมการอบรมเรื่องที่ ๒ ความรู้เบื้องต้นการพัฒนาหลักสูตร โดย
วิทยากร คือ นางสาวบุษยา ปิยารมย์ ครชู านาญการพเิ ศษ

“เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ
องค์ประกอบของหลักสูตร ลักษณะของหลักสูตรที่ดี ระบบการพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจร และ
กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รอย่างมีคณุ ภาพ”

(๔) จัดกิจกรรมการอบรมเรื่องที่ ๓ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
สาหรบั การพฒั นาหลักสูตร โดยวทิ ยากร คอื นางกุลธดิ า รัตนโกศล ครูเช่ียวชาญ

“เพื่อเป็นการโดยเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรกับความ
ตอ้ งการบุคลากรในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ (EEC) ท่ี กศน. สามารถพฒั นาหลกั สตู รทตี่ อบโจทย์ความ
ตอ้ งการของสภาพการณใ์ นปจั จบุ นั และการเขียนความเปน็ มาของหลักสตู ร”

(๕) จัดกจิ กรรมการอบรมเรื่องท่ี ๔ การร่างหลกั สูตร โดยวทิ ยากร คือ นางสาว
บษุ ยา ปิยารมย์ ครชู านาญการพเิ ศษ

“เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาหลักสูตรให้ครบ
องค์ประกอบของโครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย การกาหนดหลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การเลือกและจัดเนื้อหาประสบการณ์ในหลักสตู ร การกาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การกาหนดสื่อ
การเรยี นรู้ ระยะเวลาเรียน การกาหนดการวัดผลประเมนิ ผล และเกณฑ์การจบหลักสตู ร”

๑๗

(๖) มอบหมายกิจกรรมให้กับผู้เข้ารับการอบรมเขียนหลักสูตรการศึกษา
ต่อเนื่อง มาคนละ ๑ หลักสูตร และส่งภายในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ทางช่องทางออนไลน์
https://forms.gle/GbaANUChHZNYcb๘e๘ และมอบหมายงานต่อเนื่องที่จะนาเสนอในวันที่
๒ สิงหาคม ๒๕๖๔

๑.๙ จดั การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาเลอื กและหลกั สูตรการศกึ ษา
ต่อเนอื่ งเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก รปู แบบออนไลน์ ระยะท่ี ๒

ผู้รับผิดชอบโครงการ ดาเนินการจัดการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาหลักสูตรรายวิชาเลือก
และหลักสตู รการศึกษาต่อเน่ืองเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะท่ี ๒
ซ่งึ มกี ารดาเนนิ การ ดงั นี้

๑) ขออนุมัติจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ตอ่ เน่ืองเพื่อรองรับเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก รปู แบบออนไลน์ ระยะที่ ๒ ตามบนั ทึกข้อความท่ี
๑๔๕๗/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และบันทึกข้อความที่ ๑๔๕๘/๒๕๖๔ ลงวันท่ี
๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔

“เนื่องจากมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙)
สถานศกึ ษาตอ้ งดาเนนิ การตามมาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ จึงได้ปรับกิจกรรมเปน็ การอบรมรปู แบบออนไลน์ระหว่างวันท่ี ๒ - ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔
กลุ่มเป้าหมาย คือข้าราชการครแู ละครู กศน. ทร่ี ับผดิ ชอบงานหลกั สตู ร”

๒) จัดทาหนังสือขอเชิญบุคลากรเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์
ระยะท่ี ๒ ตามหนังสอื สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก ท่ี ศธ ๑๒๑๐.๐๙/ว ๒๓๙ และ ว ๒๔๐ ลงวนั ท่ี ๒๑
กรกฎาคม ๒๕๖๔ พรอ้ มแนบส่ิงท่ีสง่ มาด้วย คอื กาหนดการอบรม ฯ

“สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ได้คานึงถึงสถานการณ์ของสถานศึกษาในภาค
ตะวันออกที่ต้องดาเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จึงได้ปรับกิจกรรมเป็นการอบรมรูปแบบออนไลน์ ระหว่างวันที่ ๒ - ๓ สิงหาคม
๒๕๖๔”

๓) ดาเนนิ การจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนาหลักสตู รรายวิชาเลือกและหลกั สตู รการศึกษา
ต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒ - ๓
สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk สถาบัน กศน.ภาค
ตะวันออก อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง และรายงานผลการอบรม ตามบันทึกข้อความที่
๑๕๗๙/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔

มีผลการดาเนินการ ดังน้ี

๑๘

๓.๑) กจิ กรรมการอบรม
(๑) จัดกิจกรรมการอบรมเรื่องที่ ๑ องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา

หลักสูตร : จิตวิทยาการศึกษาและสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของครู โดยวิทยากร คือ
นางสาวธญั ญล์ ักษณ์ ขจรสกลุ วงศ์ รองผอู้ านวยการสถาบนั กศน.ภาคตะวันออก

“เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับ
คณุ ลักษณะของผูเ้ รยี น และความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี าหรบั จัดการเรียนการสอน”

(๒) จัดกิจกรรมการนาเสนอหลักสูตรจากตัวแทนของผู้เข้ารับการอบรม และ
รบั การวพิ ากษ์หลักสตู รจากคณะวิทยากรทีป่ รกึ ษาประจากลมุ่

(๒.๑) กลุ่มที่ ๑ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรีและจันทบุรี ตัวแทนนาเสนอ
หลักสูตร คือ นายวิรัตน์ ปุริเกษ กศน. อาเภอคลองเขื่อน จ.ฉะเชิงเทรา และรับฟังการวิพากษ์หลกั สตู ร
จากวทิ ยากรประจากลุ่ม คือ นางสาวสุปรดี า แหลมหลัก ครชู านาญการพิเศษ และนางสาวอรทัย ปานขาว
ครูชานาญการพิเศษ

(๒.๒) กลุ่มที่ ๒ จังหวัดนครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว ตัวแทน
นาเสนอหลกั สูตร คอื นายไพรชั ศรีใส กศน.อาเภอบ้านนา จ.นครนายก และรบั ฟงั การวิพากษ์หลักสูตร
จากวทิ ยากรประจากลุ่ม คือ นางสาวคามนต์ นวลมะณีย์ ครชู านาญการพิเศษ และนายธวัชชัย สุนทรสวัสดิ์
ครูชานาญการ

(๒.๓) กลุ่มที่ ๓ จังหวัดระยอง และตราด ตัวแทนนาเสนอหลักสูตร คือ
นายกิตติกร ภารไสว กศน. อาเภอแหลมงอบ จ.ตราด และรับฟังการวิพากษ์หลักสูตรจากวิทยากร
ประจากลมุ่ คอื นางสาวบุษยา ปิยารมย์ ครูชานาญการพเิ ศษ

(๒.๔) กลุ่มที่ ๔ ศว.สระแก้ว ศฝช.สระแก้ว และศฝก.วัดญาณฯ ตัวแทน
นาเสนอหลักสูตร คือ นายศราวุฒิ ภูมาศ ศว.สระแก้ว และรับฟังการวิพากษ์หลักสูตรจากวิทยากร
ประจากลมุ่ คือ นางกลุ ธิดา รตั นโกศล ครูเชย่ี วชาญ

(๓) จดั กิจกรรมการอบรมเร่ือง การวพิ ากษ์หลักสตู ร โดยวทิ ยากร คอื นางสาว
บุษยา ปยิ ารมย์ ครชู านาญการพเิ ศษ

“เพื่อสรุปข้อค้นพบจากการตรวจผลงานการพัฒนาหลักสูตรของผู้เข้ารับ
การอบรม ในประเด็น หลักการ จดุ มุ่งหมาย การเขียนโครงสร้างหลักสตู ร จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หา
การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และตอบข้อซักถามของผเู้ ข้ารับการอบรม ซ่ึงจะช่วย
สรา้ งความรู้ความเข้าใจเพิ่มเติมในการพัฒนาหลกั สูตร”

๑๙

(๔) จัดกิจกรรมการอบรมเรื่อง ๕ การประเมินหลักสูตร : ตรวจสอบคุณภาพ
เบื้องต้นของหลกั สูตร โดยวทิ ยากร คือ นางสาวอรทัย ปานขาว ครชู านาญการพเิ ศษ

“เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจการประเมินหลักสูตร ในรูปแบบของการ
ประเมินเอกสารหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จาหลักสูตรที่ได้พัฒนาแล้วไปใช้จัดการเรียนการสอน
และตอบข้อซักถามของผเู้ ข้ารบั การอบรม”

(๕) จัดกิจกรรมการอบรมเรื่อง การเขียนหลักสูตรรายวชิ าเลือก โดยวิทยากร
คือ นางสาวบุษยา ปยิ ารมย์ ครชู านาญการพเิ ศษ

“เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกให้
เป็นไปตามแนวทางของสานักงาน กศน. และขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกตามรูปแบบ
กาหนดของคาอธบิ ายรายวชิ า และรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา ”

(๖) ดาเนนิ การทดสอบหลังการอบรมด้วยแบบทดสอบออนไลน์ แบบเลือกตอบ
๔ ตวั เลือก จานวน ๒๐ ขอ้ โดยส่งทางกลุ่มไลน์ “พฒั นาหลกั สูตร ๖๔”

(๗) ดาเนินการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการอบรมด้วยแบบประเมินความ
พึงพอใจออนไลน์ โดยสง่ ทางกลมุ่ ไลน์ “พัฒนาหลกั สตู ร ๖๔”

๓.๒) การปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาต่อเนอื่ งเพ่อื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์

นายสังข์ กาญจนเพิ่มพูน ผู้อานวยการสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ให้เกียรติ
เป็นประธานในพิธีปิดการอบรม พร้อมให้คาแนะนาแก่ผู้เข้ารับการอบรมให้นาความรู้ไปสู่การปฏิบัติ
และพัฒนาหลกั สตู รรายวชิ าเลือกและหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่องให้มคี ณุ ภาพต่อไป

๑.๑๐ ผลการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศกึ ษา
ต่อเนื่อง เพื่อรองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก รปู แบบออนไลน์

ผู้เข้ารับการอบรมร่วมกิจกรรมการอบรม และประเมินผลการอบรมด้วยแบบทดสอบ
ออนไลน์ แบบฝกึ ปฏบิ ัติเขียนหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่อง ซงึ่ มผี ลการอบรม ดังนี้

๑) ด้านความรู้
ผ้เู ข้ารบั การอบรมไดท้ าแบบทดสอบออนไลน์ในรปู แบบ google form (เกณฑก์ ารผ่าน

ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ แสดงว่า คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ๑๒ คะแนน)
ผลคะแนนการทดสอบของผ้เู ข้ารับการอบรม ดังตารางท่ี ๓

๒๐

ตารางที่ ๓ คะแนนการแบบทดสอบออนไลน์ของผเู้ ข้ารับการอบรม

ที่ ชื่อ-สกุล กศน.อาเภอ จงั หวดั คะแนน (๒๐)
๑ นางสมจิตร แม้นอดุ ม สอยดาว จนั ทบุรี ๑๘
๒ นางสาวจรยิ า รุ่งสว่าง ท่าใหม่ จันทบรุ ี ๑๖
๓ วา่ ท่ี รต. หญิงสพุ รรณี เนียมณรงค์ โปง่ น้าร้อน จนั ทบรุ ี ๑๕
๔ นางสาวพิชญา อชั ฌาศยั โป่งนา้ รอ้ น จนั ทบุรี ๑๗
๕ นางศิริญา ปอ้ งเรอื เมืองจนั ทบรุ ี จนั ทบรุ ี ๑๓
๖ นายวริ ตั น์ ปรุ เิ กษ คลองเขื่อน ฉะเชิงเทรา ๑๙
๗ นางสาววไิ ลรัตน์ ศรรี ุง่ แปลงยาว ฉะเชงิ เทรา ๑๗
๘ นางนวลถนอม พิขุนทด บางคล้า ฉะเชิงเทรา ๑๘
๙ นางสาวจติ ลดา ละอองแกว้ ราชสาสน์ ฉะเชงิ เทรา ๑๗
๑๐ นางสาวอมรา พวงภู่ บ้านบึง ชลบุรี ๑๒
๑๑ นางสาวระพีพร วงคม์ น พานทอง ชลบุรี ๑๕
๑๒ นางสาวณภษร ศรบี ณุ ยะแกว้ พนัสนคิ ม ชลบุรี ๑๕
๑๓ นายสุชน บญุ พิมพ์ บ่อทอง ชลบุรี ๑๙
๑๔ นายกฤตนนท์ จนั ทรค์ ลาย คลองใหญ่ ตราด ๑๘
๑๕ นางสาวหงษฟ์ ้า ปัสบาล เมอื งตราด ตราด ๑๖
๑๖ นายกิตติกร ภารไสว แหลมงอบ ตราด ๑๘
๑๗ นางสาวกญั ญพทั ร มตุ ิโสม บอ่ ไร่ ตราด ๑๘
๑๘ นายไพรัช ศรีใส บา้ นนา นครนายก ๑๓
๑๙ นางรัตติพร ภาษี ปากพลี นครนายก ๑๖
๒๐ นางสาวพรเพญ็ เกยี งตระกลู เมอื งนครนายก นครนายก ๑๖
๒๑ นายเสกสรรค์ ทองหลุ องครกั ษ์ นครนายก ๑๔
๒๒ นางสาวบุบผา แก้วประพันธ์ สนง.ปราจนี บรุ ี ปราจนี บุรี ๑๔
๒๓ นางสาวอทิตยา สมัครชื่อ ศรมี หาโพธิ ปราจีนบรุ ี ๑๖
๒๔ นางสมรกั จิตม่ัน เมอื งปราจีนบรุ ี ปราจีนบรุ ี ๑๔
๒๕ นางสาวรุ่งนภา เฉลยี วศิลป์ นาดี ปราจนี บรุ ี ๑๒
๒๖ นางสาวปญุ ญพัฒน์ ทิมาตะฤกะ นิคมพฒั นา ระยอง ๑๔
๒๗ นางสาวพรี ภาว์ นาคเกิด สนง.ระยอง ระยอง ๑๒
๒๘ นางสาวอษั ณา ฉายกระจา่ ง บา้ นค่าย ระยอง ๑๓
๒๙ นายธรี พล เดือนกลาง วงั จนั ทร์ ระยอง ๑๗

๒๑

ตารางท่ี ๓ (ต่อ)

ที่ ชอื่ -สกุล กศน.อาเภอ จงั หวัด คะแนน (๒๐)
สระแกว้ ๑๔
๓๐ นางสาวเพชรปวณี ์ ศิริโชตนิ อก วงั สมบรู ณ์ สระแกว้ ๒๐
สระแกว้ ๒๐
๓๑ นายสุทิพย์ แสงใส วฒั นานคร สระแกว้ ๑๗
สระแกว้ ๑๖
๓๒ วา่ ที่ รต.อรรคเดช ไมส้ ูงเนิน คลองหาด สระแกว้ ๑๕
สระแกว้ ๑๖
๓๓ นางสาวสณุ ญตา สนสร้อย วงั นา้ เย็น สระแกว้ ๑๘
ชลบรุ ี ๑๘
๓๔ นายนฤรงค์ กนั รมั ย์ ศฝช.สระแกว้
๑๕.๙๕
๓๕ นายพรศักด์ิ สาราญดี ศฝช.สระแกว้

๓๖ นายมนัสชัย โสคาภา ศว.สระแกว้

๓๗ นายศราวฒุ ิ ภมู าศ ศว.สระแกว้

๓๘ นายจรูญ ชุมศรี ศฝก.วดั ญาณฯ

คา่ เฉล่ีย

จากตารางที่ ๓ ผู้เข้ารับการอบรม ได้ทาแบบทดสอบออนไลน์ คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน
ได้คะแนนเฉลีย่ ๑๕.๙๕ คะแนน คะแนนสงู สดุ ๒๐ คะแนน คะแนนต่าสดุ ๑๒ คะแนน

๒) ดา้ นทักษะ
ผู้เข้ารับการอบรมได้ทาแบบฝึกปฏิบัติเขียนหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง คนละ ๑

หลกั สตู ร ซ่งึ มีวิทยากรประจากลุ่มประเมนิ ผล (เกณฑ์การผ่านไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ แสดงว่า คะแนน
เต็ม ๓๐ คะแนน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ๑๘ คะแนน) ผลคะแนนการประเมินแบบฝึกปฏิบัติของ
ผูเ้ ข้ารับการอบรม ดงั ตารางท่ี ๔

ตารางที่ ๔ คะแนนการแบบทดสอบออนไลน์ของผูเ้ ขา้ รับการอบรม

ท่ี ชื่อ-สกุล กศน.อาเภอ จงั หวัด คะแนน (๓๐)
๑ นางสมจิตร แม้นอดุ ม สอยดาว จันทบรุ ี ๒๒
๒ นางสาวจรยิ า รุ่งสวา่ ง ท่าใหม่ จนั ทบรุ ี ๒๕
๓ ว่าท่ี รต. หญิงสุพรรณี เนียมณรงค์ โปง่ น้ารอ้ น จนั ทบุรี ๒๓
๔ นางสาวพิชญา อัชฌาศยั โป่งนา้ รอ้ น จนั ทบรุ ี ๒๓
๕ นางศิรญิ า ปอ้ งเรอื เมืองจันทบรุ ี จนั ทบุรี ๒๑
๖ นายวิรัตน์ ปุริเกษ คลองเขอ่ื น ฉะเชิงเทรา ๒๖
๗ นางสาววไิ ลรัตน์ ศรรี งุ่ แปลงยาว ฉะเชิงเทรา ๒๒
๘ นางนวลถนอม พขิ นุ ทด บางคลา้ ฉะเชงิ เทรา ๒๓
๙ นางสาวจติ ลดา ละอองแก้ว ราชสาส์น ฉะเชงิ เทรา ๒๕

๒๒

ตารางที่ ๔ (ต่อ)

ที่ ช่ือ-สกุล กศน.อาเภอ จงั หวัด คะแนน (๓๐)
ชลบุรี ๒๔
๑๐ นางสาวอมรา พวงภู่ บ้านบงึ ชลบรุ ี ๒๒
ชลบรุ ี ๒๒
๑๑ นางสาวระพีพร วงคม์ น พานทอง ชลบุรี ๒๐
ตราด ๒๕
๑๒ นางสาวณภษร ศรบี ณุ ยะแก้ว พนสั นคิ ม ตราด ๒๐
ตราด ๒๘
๑๓ นายสุชน บญุ พมิ พ์ บ่อทอง ตราด ๒๖
นครนายก ๒๘
๑๔ นายกฤตนนท์ จันทรค์ ลาย คลองใหญ่ นครนายก ๒๒
นครนายก ๒๗
๑๕ นางสาวหงษ์ฟา้ ปัสบาล เมอื งตราด นครนายก ๒๓
ปราจนี บรุ ี ๒๕
๑๖ นายกิตติกร ภารไสว แหลมงอบ ปราจีนบรุ ี ๒๘
ปราจนี บรุ ี ๒๖
๑๗ นางสาวกัญญพัทร มตุ โิ สม บ่อไร่ ปราจีนบรุ ี ๒๕
ระยอง ๒๓
๑๘ นายไพรัช ศรใี ส บา้ นนา ระยอง ๒๖
ระยอง ๒๕
๑๙ นางรัตติพร ภาษี ปากพลี ระยอง ๒๗
สระแกว้ ๒๗
๒๐ นางสาวพรเพญ็ เกียงตระกลู เมืองนครนายก สระแก้ว ๒๔
สระแกว้ ๒๔
๒๑ นายเสกสรรค์ ทองหลุ องครักษ์ สระแก้ว ๒๕
สระแกว้ ๒๖
๒๒ นางสาวบบุ ผา แกว้ ประพันธ์ สนง.ปราจีนบรุ ี สระแกว้ ๒๖
สระแกว้ ๒๕
๒๓ นางสาวอทิตยา สมัครชื่อ ศรีมหาโพธิ สระแก้ว ๒๗
ชลบุรี ๒๖
๒๔ นางสมรกั จติ มน่ั เมืองปราจนี บรุ ี
๒๔.๕๓
๒๒ นางสาวบบุ ผา แก้วประพนั ธ์ สนง.ปราจนี บรุ ี

๒๖ นางสาวปญุ ญพัฒน์ ทมิ าตะฤกะ นิคมพฒั นา

๒๗ นางสาวพีรภาว์ นาคเกิด สนง.ระยอง

๒๘ นางสาวอษั ณา ฉายกระจ่าง บา้ นค่าย

๒๙ นายธรี พล เดือนกลาง วงั จนั ทร์

๓๐ นางสาวเพชรปวณี ์ ศิริโชตนิ อก วงั สมบรู ณ์

๓๑ นายสุทิพย์ แสงใส วฒั นานคร

๓๒ ว่าท่ี รต.อรรคเดช ไมส้ ูงเนิน คลองหาด

๓๓ นางสาวสุณญตา สนสร้อย วงั นา้ เย็น

๓๔ นายนฤรงค์ กันรัมย์ ศฝช.สระแกว้

๓๕ นายพรศกั ด์ิ สาราญดี ศฝช.สระแกว้

๓๖ นายมนัสชัย โสคาภา ศว.สระแกว้

๓๗ นายศราวฒุ ิ ภูมาศ ศว.สระแกว้

๓๘ นายจรูญ ชมุ ศรี ศฝก.วดั ญาณฯ

คา่ เฉล่ยี

๒๓

จากตารางที่ ๔ ผู้เข้ารับการอบรม มีผลการประเมินแบบฝึกปฏิบัติการเขียนหลักสูตร
ต่อเนื่อง คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ได้คะแนนเฉลีย่ ๒๔.๕๓ คะแนน คะแนนสูงสุด ๒๘ คะแนน คะแนน
ต่าสดุ ๒๐ คะแนน

๒) ดา้ นเวลา
ผู้เข้ารับการอบรมได้ลงเวลาเข้ารับอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก

และหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะท่ี
๑ ในวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และระยะที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒ – ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องอบรม
https://meet.google.com/gje-bzob-bbk สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก อาเภอเมืองระยอง จังหวัด
ระยอง

ผลการลงเวลา พบว่า ผู้เข้ารับการอบม จานวน ๓๘ คน ผ่านเกณฑ์การประเมินด้าน
เวลา จานวน ๓๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ โดยลงเวลาเขา้ รับการอบรมไมน่ ้อยกว่า ๑๖ ชวั่ โมง

๑.๑๑ ผลการประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รับการอบรมที่มีต่อการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ
พัฒนาหลกั สูตรรายวิชาเลอื กและหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ งเพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาค
ตะวันออก รูปแบบออนไลน์

ผู้เข้ารับการอบรมทาแบบประเมินความพึงพอใจออนไลน์ โดยส่งทางกลุ่มไลน์ “พัฒนา
หลักสตู ร ๖๔” ซึ่งแบบประเมินความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รบั การอบรม แบง่ ออกเป็น ๒ ตอน คือ ตอนที่ ๑
ข้อมูลพืน้ ฐาน และตอนที่ ๒ ระดบั ความคดิ เห็นของผเู้ ขา้ รบั การอบรม

ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจานวน ๓๘ คน ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ
๑๐๐ และนามาวเิ คราะหข์ อ้ มลู แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ ดังตารางที่ ๕ - ๗

สัญลกั ษณแ์ ละอักษรยอ่ ท่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
N แทน จานวนผเู้ ขา้ รับการอบรม

X แทน ค่าเฉลย่ี

S.D. แทน ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน

ตารางท่ี ๕ ขอ้ มูลพื้นฐาน

ตวั แปร ระดบั N (คน) ร้อยละ
เพศ
๑. ชาย ๑๔ ๓๖.๘๔
รวม ๒. หญงิ ๒๔ ๖๓.๑๖
๓๘ ๑๐๐.๐๐

๒๔

ตารางที่ ๕ (ต่อ)

ตัวแปร ระดับ N (คน) รอ้ ยละ
อายุ ๑. น้อยกวา่ ๓๐ ปี
๒. ๓๑ - ๔๐ ปี ๔ ๑๐.๕๓
รวม ๓. ๔๑ - ๕๐ ปี ๑๓ ๓๔.๒๑
ระดบั การศึกษา ๔. มากกวา่ ๕๐ ปี ๑๘ ๔๗.๓๗
๓ ๗.๘๙
รวม ๑. ปริญญาตรี ๓๘ ๑๐๐.๐๐
ตาแหน่ง ๒. ปรญิ ญาโท ๓๑ ๘๑.๕๘
๗ ๑๘.๔๒
รวม ๑. ข้าราชการครู ๓๘ ๑๐๐.๐๐
๒. ครูอาสาสมัคร ๒๒ ๕๕.๒๗
๓. ครู กศน.ตาบล ๕ ๑๕.๗๙
๔. นกั วชิ าการศกึ ษา ๙ ๒๓.๖๘
๒ ๕.๒๖
๓๘ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๕ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็น
ร้อยละ ๖๓.๑๖ เพศชาย คิดเปน็ ร้อยละ ๓๖.๘๔ มอี ายุระหว่าง ๔๑ – ๕๐ ปี มากทส่ี ดุ คดิ เป็นร้อยละ
๔๗.๓๗ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ ๘๑.๕๘ ทางานในตาแหน่ง ข้าราชการครู
มากท่สี ุด คดิ เป็นร้อยละ ๕๕.๒๗

ตารางท่ี ๖ ระดับความคดิ เห็นของผเู้ ข้ารับการอบรม

รายการ  S.D. ระดบั การประเมนิ

ดา้ นวิทยากร ๔.๗๖ ๐.๔๓ มากทส่ี ดุ
๑. การถา่ ยทอดความรู้ ทักษะของวทิ ยากรมีความชดั เจน ๔.๖๓ ๐.๔๙ มากที่สุด
๒. การเช่ือมโยงเนอ้ื หาในการอบรมกบั การปฏบิ ัตจิ ริง ๔.๖๓ ๐.๕๔ มากท่ีสดุ
๓. การตอบขอ้ ซกั ถามในการอบรม ๔.๖๘ ๐.๔๙ มากทส่ี ุด

รวม ๔.๖๓ ๐.๕๔ มากทสี่ ุด
ดา้ นส่ือ/เอกสารประกอบการอบรม ๔.๗๑ ๐.๔๖ มากทีส่ ุด
๑. เอกสารการอบรมมคี วามเหมาะสม ๔.๕๗ ๐.๕๐ มากทส่ี ดุ
๒. การใชเ้ ทคโนโลยีและส่อื เสริมการเรียนรู้มคี วามเหมาะสม

รวม

๒๕

ตารางท่ี ๖ (ตอ่ )

รายการ  S.D. ระดบั การประเมิน

ดา้ นความร้คู วามเขา้ ใจท่ไี ดร้ ับจากการอบรม

๑. เรอื่ งองค์ความรู้ทเี่ กย่ี วข้องกบั การพฒั นาหลกั สูตร ๔.๕๐ ๐.๕๑ มากทีส่ ุด

๒. เรอ่ื งความรเู้ บื้องตน้ การพัฒนาหลักสูตร ๔.๕๐ ๐.๕๑ มากทสี่ ุด

๓. เรอ่ื งการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู พื้นฐานสาหรบั การ ๔.๕๐ ๐.๕๑ มากที่สดุ
พฒั นาหลกั สูตร

๔. เร่อื งการรา่ งหลักสูตร ๔.๕๓ ๐.๕๖ มากทส่ี ดุ

๕. เรื่องการประเมนิ หลักสตู ร : ตรวจสอบคณุ ภาพเบ้ืองตน้ ๔.๔๗ ๐.๕๑ มากที่
ของหลกั สตู ร

รวม ๔.๕๐ ๐.๕๑ มากทส่ี ุด

ดา้ นทกั ษะทีไ่ ด้รับจากการอบรม

๑. มที กั ษะการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานสาหรบั ๔.๓๙ ๐.๕๐ มาก
การพฒั นาหลกั สตู ร

๒. มที ักษะการร่างหลกั สูตร ๔.๔๕ ๐.๕๕ มาก

๓. มีทักษะตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน้ ของหลักสตู ร ๔.๔๒ ๐.๕๐ มาก

รวม ๔.๔๒ ๐.๕๑ มาก

ด้านการนาความรแู้ ละทักษะไปใช้

๑. คาดวา่ สามารถนาความรู้ทไี่ ด้รับไปใช้ในการปฏิบตั ิงานได้ ๔.๖๓ ๐.๔๙ มากท่สี ดุ

๒. คาดว่าสามารถนาความรไู้ ปถา่ ยทอดใหแ้ ก่ผอู้ น่ื ได้ ๔.๓๖ ๐.๕๙ มาก

รวม ๔.๕๑ ๐.๕๕ มากที่สดุ

การอบรมรูปแบบออนไลน์

๑. มคี วามสุขในการอบรมออนไลน์ ๔.๓๔ ๐.๖๗ มาก

๒. เขา้ ใจเน้อื หาจากการอบรมออนไลน์ ๔.๓๒ ๐.๕๗ มาก

๓. ตอ้ งการให้มีการอบรมออนไลน์ ๔.๑๓ ๐.๙๑ มาก

รวม ๔.๒๖ ๐.๗๓ มาก

รวมท้ังหมด ๔.๕๐ ๐.๕๗ มากทีส่ ดุ

๒๖

จากตารางที่ ๖ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม มีความคิดเห็นต่อการอบรมในภาพรวมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด ( X = ๔.๕๐) โดยมีความคิดเห็นระดับมากที่สุด ๔ ด้าน คือ ด้านวิทยากร ( X = ๔.๖๘),
ด้านส่อื /เอกสารประกอบการอบรม ( X = ๔.๕๗), ดา้ นการนาความรู้และทักษะไปใช้ ( X = ๔.๕๑) และ
ดา้ นความรู้ความเข้าใจทไ่ี ดร้ ับจากการอบรม( X = ๔.๕๐) ตามลาดบั

เมือ่ พิจารณาความคิดเห็นเปน็ รายด้าน พบว่า
๑. ด้านวิทยากร ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับมากที่สุดทุก รายการ คือ
การถ่ายทอดความรู้ ทกั ษะของวิทยากรมีความชดั เจน ( X = ๔.๗๖) รองลงมา คอื การเช่อื มโยงเนื้อหา
ในการอบรมกบั การปฏิบตั ิจริง และการตอบขอ้ ซักถามในการอบรม ( X = ๔.๖๓) ตามลาดบั
๒. ด้านสื่อ/เอกสารประกอบการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับมาก
ที่สุดทุกรายการ คือ การใช้เทคโนโลยีและสื่อเสริมการเรียนรูม้ ีความเหมาะสม ( X = ๔.๗๑) รองลงมา
คอื เอกสารการอบรมมีความเหมาะสม ( X = ๔.๖๓) ตามลาดบั

๓. ด้านความรู้ความเข้าใจที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นใน
ระดับมากที่สุด ๔ รายการ คือ เรื่องการร่างหลักสูตร ( X = ๔.๕๓) รองลงมา คือ เรื่ององค์ความรู้ท่ี
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร, เรื่องความรู้เบื้องต้นการพัฒนาหลักสูตร และเรื่องการรวบรวมและ
วิเคราะหข์ ้อมลู พ้ืนฐานสาหรบั การพฒั นาหลักสูตร ( X = ๔.๕๐) ตามลาดบั

๔. ด้านทักษะที่ได้รับจากการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับมากทุก
รายการ คือ มีทักษะการร่างหลักสูตร ( X = ๔.๔๕) รองลงมา คือ มีทักษะตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น
ของหลักสูตร ( X = ๔.๔๒) และมีทักษะการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการพัฒนา
หลกั สูตร ( X = ๔.๓๙) ตามลาดบั

๕. ด้านการนาความรู้และทักษะไปใช้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับมาก
ท่สี ุด ๑ รายการ คือ คาดว่าสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานได้ ( X = ๔.๖๓)

๖. ด้านการอบรมรูปแบบออนไลน์ ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นในระดับมากทุก
รายการ คือ มีความสุขในการอบรมออนไลน์ ( X = ๔.๓๔) รองลงมา คือ เข้าใจเนื้อหาจากการอบรม
ออนไลน์ ( X = ๔.๓๒) และต้องการให้มกี ารอบรมออนไลน์ ( X = ๔.๑๓) ตามลาดับ

๒๗

ตารางที่ ๗ จานวนและร้อยละของปญั หาในการอบรมออนไลน์

รายการ จานวน รอ้ ยละ ลาดับ

๑. สภาพบรรยากาศไม่เอื้ออานวย ๖ ๑๕.๗๙ ๓

๒. ความพรอ้ มของอุปกรณ์ ๖ ๑๕.๗๙ ๓

๓. สัญญาณอนิ เทอร์เน็ต ๑๕ ๓๙.๔๗ ๒

๔. ภาระงานท่เี ขา้ มาระหว่างการอบรม ๒๓ ๖๐.๕๓ ๑

๕. ไม่ประสบปัญหา ๘ ๒๑.๑๐ ๕

จากตารางท่ี ๗ พบว่า ผู้เขา้ รบั การอบรม มีปัญหาในการอบรมออนไลน์ อนั ดบั หน่งึ คอื
ภาระงานที่เขา้ มาระหว่างการอบรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖๐.๕๓ รองลงมาคือ สญั ญาณอินเทอรเ์ น็ต คดิ เป็น
ร้อยละ ๓๙.๔๗ , สภาพบรรยากาศไม่เอื้ออานวยและความพร้อมของอุปกรณ์ คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๙
ตามลาดบั

ขอ้ เสนอแนะ ผูเ้ ข้ารบั การอบรมมีข้อเสนอแนะ ดงั นี้
๑. อยากอบรมแบบออนไซต์, ควรให้มกี ารจดั อบรมแบบ on site ซ้าอกี รอบ, เนือ้ หา
สาระท่ีเนน้ ทักษะ อยากให้มีการจดั ในลกั ษณะ On-Site
๒. ขอใหจ้ ัดการอบรมอย่างต่อเนื่องค่ะ, ควรมกี ารอบรมเพือ่ เพ่ิมศักยภาพและพัฒนาต่อ
ยอดในปตี ่อๆไปอีกในรูปแบบ อบรม แบบปกติ
๓. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ได้ครบถ้วนมากค่ะ บรรยายไดช้ ัดเจนคลอบคลุมกระชับเข้าใจง่าย
๔. ดีมาก ๆ เข้าการพัฒนาหลกั สูตรมากย่งิ ข้ึน ปีหนา้ จดั อีกนะคะ สดุ ยอดเลย
๕. อยากให้บุคลากร กศน.อาเภอทกุ อาเภอหรือ จนท.ที่เก่ยี วข้องได้เขา้ รบั การอบรม ครบ
ทกุ อาเภอ และควรมีเจ้าหน้าทขี่ องจังหวดั ทีรบั ผิดชอบเรื่องหลกั สตู รมาเขา้ รบั การอบรมด้วย
๖. ดว้ ยระยะเวลาอนั จากัด บางเนอ้ื หาก็ไปเร็วเกินไป แตส่ ามารถศึกษายอ้ นหลงั ได้
๗. อยากเข้ารับการอบรมในเรอื่ งอ่ืน ๆ ต่อไป
๘. คร้ังต่อไปควรมีการอบรม ท้งั ๒ รปู แบบ คือ แบบออนไลน์ และแบบออนไซน์
๙. มภี าระงานเข้ามาระหว่างการอบรม ออนไลน์ทาให้เสียสมาธิ
๑๐. ข้อดี เป็นการอบรมได้ทุกที่ วิทยากรมีประสบการณ์ถ่ายทอดความรู้อย่างเหมาะสม
รวมท้งั เทคโนโลยีท่ใี ชใ้ นการอยรมออนไลน์ ใช้ไดด้ ีมาก ขอ้ เสยี ในการวิพากษ์การทาหลักสตู รควรมีการ
เสนอแนะแตล่ ะบคุ คลเพ่ือจะได้เหน็ ภาพที่ขัดเจนและนามาปรับปรงุ พัฒนาคุณภาพไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

๒๘

ความต้องการพัฒนา ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามตอ้ งการได้รับการพัฒนาในเรื่องต่อไปน้ี
๑. วิการเขียนหลักสูตร รายวชิ าชาเลือก
๒. การจดั ทาวจิ ยั ในช้นั เรยี นสาหรับครู กศน.ตาบล
๓. เทคโนโลยที างออนไลน์, การเพิ่มประสทิ ธิภาพการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
๔. การเขียนหลักสตู รรายวชิ าตอ่ เนือ่ ง
๕. แผนการสอน, การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรูร้ ปู แบบออนไลน์
๖. การนาเทคโนโลยีมาใช้ในหลกั สตู ร
๗. การสรา้ งส่อื การเรยี นรู้/สอื่ การสอน
๘. เทคโนโลยสี ารสนเทศ
๙. การประเมินหลักสูตร
๑๐. เกี่ยวกบั โปรแกรมการทาคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน หรอื CAI
๑๑. หลักสตู รสถานศกึ ษา/แนวทางการดาเนินการหลักสูตรฐานสมรรถนะของ กศน.
๑๒. การจดั ทาคลปิ วดี ีโอ
๑๓. หลักสตู ร
๑๔. การวัดและประเมนิ ผล

๑.๑๒ การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ความพึงพอใจสาหรับการประกันคุณภาพการศึกษา

การวิเคราะห์ผลความคิดเห็นของผูเ้ ข้ารบั การอบรมที่มีต่อการอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนา

หลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก มี

เกณฑ์การประเมนิ ตามแนวทางการประกนั คุณภาพภายใน ดังนี้

๔.๕๐ - ๕.๐๐ แปลว่า ดมี าก

๓.๗๕ – ๔.๔๙ แปลว่า ดี

๓.๐๐ – ๓.๗๔ แปลว่า พอใช้

๒.๕๐ – ๒.๙๙ แปลวา่ ตอ้ งปรบั ปรงุ

๐.๐๐ – ๒.๔๙ แปลว่า ต้องปรับปรงุ เรง่ ดว่ น

ผลการวเิ คราะหค์ วามคิดเหน็ ของผู้เข้ารับการอบรม ดงั ตารางท่ี ๘ – ๑๔

๒๙

ตารางท่ี ๘ คา่ เฉลย่ี ความคดิ เห็นท่มี ตี ่อการอบรมในภาพรวม

ท่ี คา่ เฉล่ยี ระดับการประเมิน ที่ ค่าเฉลีย่ ระดบั การประเมิน
๑ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๐ ๔.๓๓ ดี
๒ ๓.๘๓ ดี ๒๑ ๔.๘๓
๓ ๔.๙๔ ดมี าก ๒๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๔ ๔.๗๒ ดีมาก ๒๓ ๔.๑๑ ดมี าก
๕ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๔ ๔.๒๒
๖ ๔.๒๒ ดี ๒๕ ๕.๐๐ ดี
๗ ๔.๔๔ ดี ๒๖ ๕.๐๐ ดี
๘ ๔.๒๒ ดี ๒๗ ๔.๔๔ ดีมาก
๙ ๔.๕๐ ดีมาก ๒๘ ๔.๘๓ ดีมาก
๑๐ ๔.๖๗ ดมี าก ๒๙ ๔.๗๘ ดี
๑๑ ๓.๙๔ ดี ๓๐ ๔.๕๖ ดีมาก
๑๒ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๑ ๔.๒๒ ดมี าก
๑๓ ๓.๘๓ ดี ๓๒ ๔.๓๙ ดมี าก
๑๔ ๔.๔๔ ดี ๓๓ ๔.๔๔ ดี
๑๕ ๔.๗๒ ดมี าก ๓๔ ๔.๑๗ ดี
๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕ ๔.๔๔ ดี
๑๗ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๖ ๔.๗๘ ดี
๑๘ ๔.๑๗ ดี ๓๗ ๔.๑๑ ดี
๑๙ ๔.๒๘ ดี ๓๘ ๔.๒๘ ดมี าก
ดี
ดี

จากตารางท่ี ๘ พบว่า ผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามคดิ เหน็ ต่อการอบรมในภาพรวม ดงั น้ี
มีความพึงพอใจในระดบั ดีมาก จานวน ๑๗ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๔.๗๔
มคี วามพึงพอใจในระดบั ดี จานวน ๒๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๕.๒๖
ดงั น้ัน ผูเ้ ขา้ รับการอบรม จานวน ๓๘ คน มคี วามคดิ เหน็ ตอ่ การอบรมในภาพรวม ระดบั
ดีข้นึ ไป จานวน ๓๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐

๓๐

ตารางท่ี ๙ ค่าเฉล่ียความคิดเหน็ ท่มี ีต่อการอบรมดา้ นวิทยากร

ท่ี ค่าเฉล่ีย ระดบั การประเมนิ ท่ี ค่าเฉลี่ย ระดบั การประเมนิ
๑ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๐ ๔.๖๗ ดมี าก
๒ ๔.๐๐ ดี ๒๑ ๕.๐๐ ดมี าก
๓ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๔ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๓ ๔.๓๓ ดี
๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๔ ๕.๐๐ ดมี าก
๖ ๔.๓๓ ดี ๒๕ ๕.๐๐ ดมี าก
๗ ๔.๓๓ ดี ๒๖ ๕.๐๐ ดีมาก
๘ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๗ ๔.๓๓ ดี
๙ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๘ ๔.๖๗ ดีมาก
๑๐ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๙ ๕.๐๐ ดมี าก
๑๑ ๔.๐๐ ดี ๓๐ ๔.๖๗ ดีมาก
๑๒ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๑ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๓ ๔.๐๐ ดี ๓๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๔ ๔.๐๐ ดี ๓๓ ๔.๖๗ ดีมาก
๑๕ ๔.๓๓ ดี ๓๔ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕ ๔.๖๗ ดมี าก
๑๗ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๖ ๔.๖๗ ดมี าก
๑๘ ๔.๐๐ ดี ๓๗ ๔.๐๐ ดี
๑๙ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๘ ๕.๐๐ ดมี าก

จากตารางท่ี ๙ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมคี วามคดิ เห็นต่อการอบรมด้านวิทยากร ดังนี้
มีความพึงพอใจในระดับดีมาก จานวน ๒๖ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖๘.๔๒
มคี วามพึงพอใจในระดับดี จานวน ๑๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๑.๕๘
ดงั นน้ั ผเู้ ข้ารับการอบรม จานวน ๓๘ คน มีความคิดเห็นต่อการอบรมด้านวทิ ยากร
ในระดับดีข้นึ ไป จานวน ๓๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐

๓๑

ตารางที่ ๑๐ ค่าเฉลีย่ ความคิดเหน็ ท่ีมีตอ่ การอบรมด้านสือ่ /เอกสารประกอบการอบรม

ที่ ค่าเฉล่ีย ระดับการประเมนิ ท่ี ค่าเฉล่ยี ระดบั การประเมนิ
๑ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๐ ๔.๕๐ ดีมาก
๒ ๔.๐๐ ดี ๒๑ ๕.๐๐ ดีมาก
๓ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๔ ๔.๐๐ ดี ๒๓ ๕.๐๐ ดีมาก
๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๔ ๔.๕๐ ดีมาก
๖ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๕ ๕.๐๐ ดีมาก
๗ ๔.๕๐ ดมี าก ๒๖ ๕.๐๐ ดีมาก
๘ ๔.๕๐ ดมี าก ๒๗ ๕.๐๐ ดมี าก
๙ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๘ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๐ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๙ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๑ ๓.๕๐ พอใช้ ๓๐ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๒ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๑ ๔.๕๐ ดีมาก
๑๓ ๔.๐๐ ดี ๓๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๔ ๔.๕๐ ดีมาก ๓๓ ๔.๕๐ ดีมาก
๑๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๔ ๔.๐๐ ดี
๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๗ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๖ ๔.๕๐ ดีมาก
๑๘ ๔.๐๐ ดี ๓๗ ๔.๐๐ ดี
๑๙ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๘ ๕.๐๐ ดีมาก

จากตารางท่ี ๑๐ พบวา่ ผ้เู ขา้ รบั การอบรมมคี วามคดิ เหน็ ต่อการอบรมดา้ นส่ือ/เอกสาร
ประกอบการอบรม ดังนี้

มีความพึงพอใจในระดับดีมาก จานวน ๓๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๗๘.๙๕
มคี วามพึงพอใจในระดบั ดี จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๔๒
ดังนนั้ ผู้เข้ารับการอบรม จานวน ๓๘ คน มคี วามคดิ เห็นต่อการอบรมดา้ นส่ือ/เอกสาร
ประกอบการอบรม ในระดบั ดีข้นึ ไป จานวน ๓๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๓๗

๓๒

ตารางที่ ๑๑ ค่าเฉลย่ี ความคิดเห็นที่มตี ่อการอบรมดา้ นความรู้ ความเข้าใจท่ีได้รับจากการอบรม

ท่ี คา่ เฉลย่ี ระดบั การประเมนิ ท่ี คา่ เฉล่ีย ระดับการประเมนิ
๑ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๐ ๔.๒๐ ดี
๒ ๔.๐๐ ดี ๒๑ ๕.๐๐
๓ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๒ ๕.๐๐ ดมี าก
๔ ๔.๔๐ ดี ๒๓ ๔.๐๐ ดมี าก
๕ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๔ ๔.๐๐
๖ ๔.๒๐ ดี ๒๕ ๕.๐๐ ดี
๗ ๔.๖๐ ดีมาก ๒๖ ๕.๐๐ ดี
๘ ๔.๐๐ ดี ๒๗ ๔.๔๐ ดมี าก
๙ ๔.๖๐ ดีมาก ๒๘ ๔.๘๐ ดีมาก
๑๐ ๔.๖๐ ดมี าก ๒๙ ๔.๔๐ ดี
๑๑ ๔.๐๐ ดี ๓๐ ๕.๐๐ ดมี าก
๑๒ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๑ ๔.๒๐ ดี
๑๓ ๓.๘๐ ดี ๓๒ ๔.๐๐ ดมี าก
๑๔ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๓ ๔.๖๐ ดี
๑๕ ๔.๖๐ ดมี าก ๓๔ ๔.๐๐ ดี
๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕ ๔.๔๐ ดีมาก
๑๗ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๖ ๕.๐๐ ดี
๑๘ ๔.๖๐ ดมี าก ๓๗ ๔.๖๐ ดี
๑๙ ๔.๐๐ ดี ๓๘ ๔.๐๐ ดีมาก
ดีมาก
ดี

จากตารางที่ ๑๑ พบว่า ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามคดิ เห็นต่อการอบรมดา้ นความรู้ ความ
เขา้ ใจที่ได้รับจากการอบรม ดังน้ี

มีความพึงพอใจในระดับดีมาก จานวน ๒๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๒.๖๓
มีความพึงพอใจในระดับดี จานวน ๑๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๗.๓๗
ดังนน้ั ผ้เู ขา้ รบั การอบรม จานวน ๓๘ คน มคี วามคดิ เห็นต่อการอบรมดา้ นความรู้ ความ
เขา้ ใจท่ีได้รับจากการอบรม ในระดบั ดีขึ้นไป จานวน ๓๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐

๓๓

ตารางท่ี ๑๒ คา่ เฉลย่ี ความคิดเหน็ ที่มตี อ่ การอบรมดา้ นทักษะทไ่ี ดร้ บั จากการอบรม

ท่ี คา่ เฉลีย่ ระดบั การประเมนิ ที่ ค่าเฉล่ีย ระดบั การประเมนิ
๑ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๐ ๔.๓๓ ดี
๒ ๔.๐๐ ดี ๒๑ ๕.๐๐
๓ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๒ ๕.๐๐ ดีมาก
๔ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๓ ๔.๐๐ ดมี าก
๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๔ ๔.๐๐
๖ ๔.๐๐ ดี ๒๕ ๕.๐๐ ดี
๗ ๔.๖๗ ดีมาก ๒๖ ๕.๐๐ ดี
๘ ๔.๐๐ ดี ๒๗ ๔.๓๓ ดมี าก
๙ ๔.๐๐ ดี ๒๘ ๔.๖๗ ดมี าก
๑๐ ๔.๖๗ ดีมาก ๒๙ ๔.๖๗ ดี
๑๑ ๔.๐๐ ดี ๓๐ ๔.๓๓ ดีมาก
๑๒ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๑ ๔.๐๐ ดีมาก
๑๓ ๓.๖๗ พอใช้ ๓๒ ๔.๐๐ ดี
๑๔ ๔.๐๐ ดี ๓๓ ๔.๐๐ ดี
๑๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๔ ๔.๐๐ ดี
๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕ ๔.๐๐ ดี
๑๗ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๖ ๕.๐๐ ดี
๑๘ ๔.๐๐ ดี ๓๗ ๔.๖๗ ดี
๑๙ ๔.๐๐ ดี ๓๘ ๔.๐๐ ดมี าก
ดีมาก
ดี

จากตารางท่ี ๑๒ พบวา่ ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามคิดเหน็ ต่อการอบรมดา้ นทกั ษะทีไ่ ด้รบั
จากการอบรม ดงั นี้

มคี วามพึงพอใจในระดับดีมาก จานวน ๑๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๔.๗๔
มคี วามพึงพอใจในระดบั ดี จานวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๖๓
ดงั น้ัน ผู้เขา้ รบั การอบรม จานวน ๓๘ คน มคี วามคดิ เห็นตอ่ การอบรมดา้ นทักษะทไี่ ด้รับ
จากการอบรม ในระดบั ดขี ึ้นไป จานวน ๓๗ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๙๗.๓๗

๓๔

ตารางที่ ๑๓ คา่ เฉล่ยี ความคดิ เหน็ ท่มี ีตอ่ การอบรมด้านการนาความรแู้ ละทักษะไปใช้

ที่ คา่ เฉล่ีย ระดับการประเมิน ท่ี คา่ เฉลยี่ ระดับการประเมนิ
๑ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๐ ๔.๐๐ ดี
๒ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๑ ๕.๐๐
๓ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๒ ๕.๐๐ ดมี าก
๔ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๓ ๔.๕๐ ดมี าก
๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๔ ๔.๐๐ ดมี าก
๖ ๔.๐๐ ดี ๒๕ ๕.๐๐
๗ ๔.๐๐ ดี ๒๖ ๕.๐๐ ดี
๘ ๔.๐๐ ดี ๒๗ ๔.๕๐ ดมี าก
๙ ๔.๐๐ ดี ๒๘ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๐ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๙ ๕.๐๐ ดีมาก
๑๑ ๔.๐๐ ดี ๓๐ ๕.๐๐ ดมี าก
๑๒ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๑ ๔.๕๐ ดีมาก
๑๓ ๓.๕๐ พอใช้ ๓๒ ๔.๕๐ ดีมาก
๑๔ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๓ ๔.๕๐ ดีมาก
๑๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๔ ๔.๐๐ ดีมาก
๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕ ๔.๐๐ ดมี าก
๑๗ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๖ ๔.๐๐
๑๘ ๔.๕๐ ดีมาก ๓๗ ๔.๐๐ ดี
๑๙ ๔.๐๐ ดี ๓๘ ๔.๐๐ ดี
ดี
ดี
ดี

จากตารางที่ ๑๓ พบว่า ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมีความคิดเห็นต่อการอบรมด้านการนาความรู้
และทักษะไปใช้ดังนี้

มคี วามพึงพอใจในระดับดีมาก จานวน ๒๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๐.๕๓
มีความพึงพอใจในระดบั ดี จานวน ๑๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๖.๘๔
ดงั นน้ั ผ้เู ข้ารบั การอบรม จานวน ๓๘ คน มคี วามคิดเห็นตอ่ การอบรมด้านการนาความรู้
และทักษะไปใช้ ในระดับดขี ึน้ ไป จานวน ๓๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๙๗.๓๗

๓๕

ตารางท่ี ๑๔ คา่ เฉล่ียความคดิ เหน็ ทม่ี ตี อ่ การอบรมดา้ นการอบรมรปู แบบออนไลน์

ท่ี ค่าเฉล่ีย ระดับการประเมิน ท่ี คา่ เฉล่ยี ระดับการประเมนิ
๔.๓๓ ดี
๑ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๐ ๔.๐๐ ดี
๕.๐๐
๒ ๒.๓๓ ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ น ๒๑ ๓.๓๓ ดีมาก
๔.๐๐ พอใช้
๓ ๔.๖๗ ดมี าก ๒๒ ๕.๐๐
๕.๐๐ ดี
๔ ๕.๐๐ ดีมาก ๒๓ ๔.๓๓ ดมี าก
๕.๐๐ ดีมาก
๕ ๕.๐๐ ดมี าก ๒๔ ๕.๐๐
๓.๓๓ ดี
๖ ๔.๐๐ ดี ๒๕ ๓.๓๓ ดีมาก
๔.๓๓ ดีมาก
๗ ๔.๓๓ ดี ๒๖ ๔.๓๓ พอใช้
๔.๐๐ พอใช้
๘ ๔.๐๐ ดี ๒๗ ๔.๖๗
๕.๐๐ ดี
๙ ๔.๓๓ ดี ๒๘ ๓.๐๐ ดี
๔.๐๐ ดี
๑๐ ๔.๐๐ ดี ๒๙ ดีมาก
ดีมาก
๑๑ ๔.๐๐ ดี ๓๐ พอใช้
ดี
๑๒ ๕.๐๐ ดีมาก ๓๑

๑๓ ๔.๐๐ ดี ๓๒

๑๔ ๔.๐๐ ดี ๓๓

๑๕ ๔.๖๗ ดีมาก ๓๔

๑๖ ๔.๐๐ ดี ๓๕

๑๗ ๕.๐๐ ดมี าก ๓๖

๑๘ ๓.๖๗ พอใช้ ๓๗

๑๙ ๔.๐๐ ดี ๓๘

จากตารางที่ ๑๔ พบว่า ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความคิดเหน็ ต่อการอบรมด้านการอบรม
รูปแบบออนไลน์ ดงั นี้

มคี วามพึงพอใจในระดบั ดีมาก จานวน ๑๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๖.๘๔
มคี วามพึงพอใจในระดับดี จานวน ๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๓๗
ดงั นน้ั ผเู้ ขา้ รบั การอบรม จานวน ๓๘ คน มคี วามคดิ เหน็ ตอ่ การอบรมด้านการอบรม
รปู แบบออนไลน์ ในระดับดีข้ึนไป จานวน ๓๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๔.๒๑

๓๖

๑.๑๓ จดั ทาวฒุ ิบตั รและเกียรติบตั รการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาหลกั สูตรรายวิชาเลือกและ
หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนื่องเพ่อื รองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก

จากการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาเลอื กและหลักสูตรการศึกษาต่อเน่อื ง
เพ่อื รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก มีผู้เข้ารบั การอบรม จานวน ๓๘ คน ซง่ึ ผ้เู ขา้ รับการอบรม
ได้ผ่านเกณฑ์การอบรมของหลักสูตร ซึ่งทางผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทาวุฒิบัตรและเกียรติบัตร ตาม
บนั ทกึ ขอ้ ความที่ ๑๖๗๔/๒๕๖๔ ลงวนั ที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๔ ดงั นี้

๑) วุฒิบัตรสาหรับผ้เู ข้ารับการอบรม จานวน ๓๘ ราย
เลขที่ ๖๘๘/๒๕๖๔ – ๗๒๕/๒๕๖๔

๒) เกยี รติบัตรวทิ ยากร จานวน ๕ ราย เลขที่ ๑๗๖/๒๕๖๔ – ๑๘๐/๒๕๖๔
๓) เกียรตบิ ัตรวทิ ยากรประจากลุ่ม จานวน ๓ ราย เลขท่ี ๑๘๑/๒๕๖๔ – ๑๘๓/๒๕๖๔
๔) เกยี รติบัตรคณะกรรมการดาเนนิ การอบรม จานวน ๒๐ ราย

เลขท่ี ๑๘๔/๒๕๖๔ – ๒๐๓/๒๕๖๔
และดาเนินการมอบวุฒิบัตรผู้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก ตามหนังสือสถาบัน
กศน.ภาคตะวันออก ที่ ศธ ๐๒๑๐.๐๙/ว๒๘๗ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๔

๒. การติดตามผลการจัดอบรม

๒.๑ รปู แบบการติดตามผลการจัดอบรม
การติดตามผู้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร

การศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ในวันท่ี
๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และระหว่างวันที่ ๒ – ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องอบรมออนไลน์
https://meet.google.com/gje-bzob-bbk สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก อาเภอเมืองระยอง จังหวัด
ระยอง โดยได้สง่ แบบติดตามการนาความรไู้ ปใช้ออนไลน์ ผา่ นทางกล่มุ ไลน์ “พัฒนาหลกั สตู ร ๖๔”

๒.๒ ผลการติดตามการจัดอบรม
จากการสง่ แบบติดตามการนาความรู้ไปใช้ออนไลน์ ใหก้ ับผผู้ า่ นการอบรม จานวน ๓๘ คน

ระหวา่ งวนั ที่ ๑๕ – ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔ ไดร้ ับแบบสอบถามกลบั คนื มา จานวน ๓๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ
๑๐๐ ผลการวิเคราะห์ ดังตารางท่ี ๑๕ - ๑๗

๓๗

ตารางท่ี ๑๕ ข้อมูลทั่วไป ระดับ จานวน(คน) ร้อยละ
ตวั แปร
๑. ชาย ๑๔ ๓๖.๘๔
เพศ ๒. หญิง ๒๔ ๖๓.๑๖
รวม ๓๘ ๑๐๐.๐๐
๑. ข้าราชการครู ๒๒ ๕๗.๘๙
ตาแหนง่ ๒. ครูอาสาสมคั ร ๕ ๑๓.๑๖
๓. ครู กศน.ตาบล ๙ ๒๓.๖๘
รวม ๔. นักวชิ าการศกึ ษา ๒ ๕.๒๖
๓๘ ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๑๕ พบว่า ผผู้ ่านการอบรมส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญิง คิดเปน็ ร้อยละ ๖๒.๑๖
เพศชาย คดิ เป็นร้อยละ ๓๗.๘๔ ทางานในตาแหนง่ ข้าราชการครูมากท่ีสุด คดิ เป็นร้อยละ ๕๗.๘๙

ตารางที่ ๑๖ จานวนและรอ้ ยละของการนาความรูไ้ ปใช้

รายการ จานวน (คน) รอ้ ยละ
๓ ๗.๙๐
๑. ไม่ไดน้ าไปใช้

๒. นาไปใช้ประโยชน์ ๓๕ ๙๒.๑๑

๒.๑ นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาตนเอง ๓๐ ๗๘.๙๕

๒.๒ นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนางาน ๒๙ ๗๖.๓๒

๒.๓ นาไปใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาหน่วยงาน ๑๑ ๒๘.๙๕

๒.๔ นาไปเผยแพร่/ถา่ ยทอด ๑๑ ๒๘.๙๕

๓. นาความรู้ไปสรา้ งชิ้นงานรูปแบบใด

๓.๑ จะดาเนินการพัฒนาหลักสตู รการศึกษาต่อเน่อื งใน ๓ ๗.๘๙
ปงี บประมาณ ๒๕๖๕

๓.๒ จัดทาหลักสตู รสถานศึกษาการศกึ ษาต่อเน่ือง ๑ ๒.๖๓

๓.๓ จดั ทาหลักสูตรและปรบั การเขียนหลักสูตรต่อเนื่อง ๑๗ ๔๔.๗๔
ในหลกั สตู รอาชพี ระยะสัน้ กลุ่มสนใจ
ศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน

๓๘

ตารางที่ ๑๖ (ต่อ)

รายการ จานวน (คน) ร้อยละ
๓.๔ นาไปเผยแพร่ใหก้ ับบุคลากรในสถานศกึ ษาใช้ ๖ ๑๕.๘๐

ปรับปรงุ การเขียนหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ๑ ๒.๖๓
สาหรับการจดั กิจกรรมในปีงบประมาณถดั ไป ๒ ๕.๒๖
๓.๕ จดั ทาหลักสูตรรายวชิ าเลือกเสรีของสถานศึกษา
ในปงี บประมาณ ๒๕๖๕
๓.๖ โครงการพัฒนาบคุ ลากรและพโครงการพัฒนา
ผ้เู รยี น ในปีงบประมาณ ๒๕๖๕

จากตารางที่ ๑๖ พบว่า ผู้ผ่านการอบรมนาความรู้ไปใช้ คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๑๑ เมื่อ
พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้ผ่านการอบรมนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเองมากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ ๗๘.๙๕ รองลงมา คือ นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๓๒ รองลงมา
คือ นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาหน่วยงานและนาไปเผยแพร่/ถ่ายทอด คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๙๕
ตามลาดับ

ผู้ผ่านการอบรมนาความรู้ไปจัดทาหลักสูตรและปรับการเขียนหลักสูตรต่อเนื่อง ใน
หลักสูตรอาชีพระยะสั้น กลุ่มสนใจ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๗๔ รองลงมา
นาไปเผยแพร่ให้กับบุคลากรในสถานศึกษาใชป้ รับปรุงการเขียนหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสาหรับการ
จัดกิจกรรมในปงี บประมาณถัดไป คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๕.๘๐

ตารางท่ี ๑๗ รายช่ือหลกั สูตร/โครงการทจ่ี ัดทาหลังผา่ นการอบรม

ที่ ชื่อ-สกุล หลักสตู ร/โครงการ
๑ นางสมจติ ร แมน้ อดุ ม ๑. หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง หลักสตู ร การทาไมก้ วาดดอก
หญา้ จานวน ๒๐ ชัว่ โมง
๒ นางสาวพชิ ญา อัชฌาศัย ๒. หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง หลกั สตู ร การทาไส้กรอก
๓ นางสาวพีรภาว์ นาคเกดิ อีสานและไสอ้ ั่ว จานวน ๑๐ ช่วั โมง
๓. หลกั สตู รการศึกษาต่อเนื่อง หลักสตู ร งานสานเชอื กมัด
ฟาง จานวน ๔๕ ชว่ั โมง
หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอโปง่ น้าร้อน
๑. หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง หลักสูตร โคก หนอง นา
โมเดล จานวน ๘ ชว่ั โมง
๒. โครงการ พัฒนาบุคลากรดา้ นการพัฒนาหลกั สตู รรายวิชา
เลือกและหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนื่อง ปงี บประมาณ ๒๕๖๕

๓๙

ตารางที่ ๑๗ (ตอ่ ) เอกสารทีแ่ นบ
ที่ ชอ่ื -สกุล หลกั สตู รการศึกษาต่อเนือ่ ง หลักสูตร ผลติ ภัณฑ์หมอนยาง
๔ นางสาวอัษณา ฉายกระจ่าง
๕ นางสาวปญุ ญพัฒน์ ทมิ าตะฤกะ จากน้ายางพารา จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
๖ นางสาวรุ่งนภา เฉลียวศิลป์ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร การแปรรูปสับปะรด
๗ นางสาวจติ ลดา ละอองแกว้ จานวน ๔๐ ชั่วโมง
๘ ว่าที่ รต.อรรคเดช ไมส้ ูงเนนิ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือ
๙ นายสชุ น บญุ พิมพ์ การคา้ ขายและบรกิ าร จานวน ๓๐ ชั่วโมง
๑๐ นายวิรตั น์ ปุรเิ กษ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์
๑๑ นางสาวพรเพญ็ เกยี งตระกูล จากตน้ กก (จานวน ๔๐ ชวั่ โมง)
๑๒ นายเสกสรรค์ ทองหลุ หลกั สตู ร การแปรรปู ผลติ ภณั ฑก์ ล้วย จานวน ๕ ช่วั โมง
๑๓ นายไพรชั ศรใี ส หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรอาชีพ วิชาการแปรรูป
ผลิตภัณฑเ์ หด็ จานวน ๕ ชั่วโมง
๑๔ นางรัตตพิ ร ภาษี โครงการติวเขม้ เตมิ เต็มความรู้
๑๕ นางสมรกั จติ มั่น หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร การทาไม้กวาดดอก
๑๖ นางสาวอมรา พวงภู่ หญา้ (ดา้ มไม)้ จานวน ๓๕ ช่วั โมง
๑๗ นายมนสั ชยั โสคาภา หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่อง กลมุ่ อาชีพเฉพาะทาง
หลักสูตรการทาขนมถั่วแปบจิว๋ เพื่อการคา้ จานวน ๕ ชั่วโมง
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรการถักเปลญวณ
จานวน ๕ ชั่วโมง
รปู การจัดกิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร การทาน้ายาปรับ
ผ้านมุ่ จานวน ๓ ชว่ั โมง
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร การทาสวนถาด
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตร อาหารว่าง จานวน
๔๐ ชว่ั โมง
หลักสูตรสถานศกึ ษา การศึกษาตอ่ เนือ่ ง
ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาสระแก้ว

๔๐

ตารางท่ี ๑๗ (ตอ่ )

ที่ ชอื่ -สกุล เอกสารที่แนบ
๑๘ นายนฤรงค์ กันรัมย์ หลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื ง หลักสตู ร “ฟา้ ทลายโจร
สมนุ ไพร”ต้านภยั โควิด-๑๙ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง
๑๙ นายพรศักด์ิ สาราญดี หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง หลกั สตู รการทาเจลแอลกอฮอล์
สมนุ ไพรว่านเหลอื ง ป้องกันโควิด จานวน ๕ ชัว่ โมง
๒๐ นายจรูญ ชุมศรี หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอื่ ง หลกั สตู รการทาดนิ ปลูก จานวน
๕ ชว่ั โมง

จากตารางที่ ๑๗ พบว่า ผู้ผ่านการอบรมนาความรู้ไปใช้ในการจัดทาหลักสูตรการศึกษา
ต่อเนื่อง หลักสูตรสถานศึกษา และโครงการที่จะดาเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ จานวน ๒๐ คน
จากผูผ้ า่ นการอบรม จานวน ๓๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๒.๖๓

๓. การสรุปผลและจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน

๓.๑ สรุปผลโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพฒั นาหลกั สตู รรายวิชาเลอื กและหลกั สตู ร
การศึกษาต่อเนือ่ งเพื่อรองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก

ผู้รับผิดชอบโครงการ ดาเนินการจัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามขั้นตอน
การดาเนินงาน รวบรวมและวิเคราะห์ผลการอบรมทั้งด้านความรู้ ทักษะ เวลา ผลการประเมินความ
พึงพอใจ และผลการติดตามการนาความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารับการอบรม นาข้อมูลทุกด้านมาสรุปผล
โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพ่ือ
รองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก

๓.๒ จดั ทาสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน

ผู้รับผิดชอบโครงการ จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้าน
การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวนั ออก ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ และพฒั นาเปน็ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ e-book เผยแพรใ่ นช้ันหนังสือของ
สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก

https://anyflip.com/shfhq/dami/

บทท่ี ๔
สรุปผลการดาเนินงาน

โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ต่อเนื่องเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีสรุปผลการดาเนินงาน
ดังนี้

๑. สรุปผลการดาเนินงาน

๑.๑ การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาหลกั สูตรรายวิชาเลือกและหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
เพอ่ื รองรับเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก

๑) พัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตร
การศกึ ษาต่อเนือ่ งเพ่ือรองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ซงึ่ ผา่ นการพิจารณา
จากคณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตร และสถาบัน กศน.ภาคตะวันออก ได้อนุมัติให้ใช้พัฒนาบุคลากร
ด้านการพฒั นาหลกั สตู รรายวชิ าเลือกและหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ งเพือ่ รองรบั เขตเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก

๒) จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ต่อเนื่อง เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะที่ ๑ และ ระยะที่ ๒ ใน
วันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และระหว่างวันที่ ๒ – ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔

๓) ผลการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ตอ่ เนือ่ ง เพอ่ื รองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก

๓.๑) ด้านความรู้ ผู้เข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ คิดเป็นร้อยละ
๑๐๐ โดยผู้เข้ารับการอบรมาได้คะแนนการทดสอบจากคะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน ได้คะแนนเฉล่ีย
๑๕.๙๕ คะแนน คะแนนสงู สุด ๒๐ คะแนน คะแนนตา่ สดุ ๑๒ คะแนน

๓.๒) ด้านทักษะ ผู้เข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินทักษะ คิดเป็นร้อยละ
๑๐๐ ตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยผู้เข้ารับการอบรมาได้คะแนนการประเมินแบบฝึกปฏิบัติการเขียน
หลักสูตรต่อเนื่อง จากคะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย ๒๔.๕๓ คะแนน คะแนนสูงสุด ๒๘
คะแนน คะแนนต่าสุด ๒๐ คะแนน

๓.๓) ด้านเวลาที่เข้ารับการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินด้าน
เวลา คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ โดยลงเวลาในการเข้ารบั การอบรมไม่น้อยกว่า ๑๖ ชั่วโมง

๓.๔) ดา้ นการประเมนิ ความพงึ พอใจ
๓.๓.๑) ผเู้ ข้ารบั การอบรม มคี วามคิดเห็นตอ่ การอบรมในภาพรวมอยู่ในระดับ

มากทีส่ ดุ ( X = ๔.๕๐)
๓.๓.๒) ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการอบรมในภาพรวมระดับ

ดีข้นึ ไป คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐

๔๒

๑.๒ การติดตามผลการจดั การอบรม
๑) รปู แบบการติดตามผลการจัดการอบรม
รูปแบบการติดตาม เป็นการส่งแบบตดิ ตามการนาความรู้ไปใช้ออนไลน์ ผ่านทาง

กล่มุ ไลน์ “พัฒนาหลกั สตู ร ๖๔”
๒) ผลการตดิ ตามการจดั การอบรม
๒.๑) ผูผ้ า่ นการอบรมนาความรไู้ ปใช้ คิดเปน็ ร้อยละ ๙๒.๑๐
๒.๒) ผู้ผ่านการอบรมนาความรู้ไปจัดทาหลักสูตรและปรับการเขียนหลักสูตร

ตอ่ เนอ่ื งในหลักสูตรอาชีพระยะส้นั กลมุ่ สนใจ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนมากทสี่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๔.๗๔
๒.๓) ผู้ผ่านการอบรมนาความรู้ไปใช้ในการจัดทาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

หลักสูตรสถานศกึ ษา และโครงการทีจ่ ะดาเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๖๕ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๒.๖๓
๑.๓ การสรุปผลและจัดทารายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งาน
จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตร

รายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และพัฒนาเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-book เผยแพร่ในชั้นหนังสือของสถาบัน
กศน.ภาคตะวันออก

๒. ปัญหาอุปสรรค

เนื่องจากมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ระลอกใหม่ขึ้น ทุก
จังหวัดทั่วประเทศ หน่วยงานในสังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการต้องดาเนินการตาม
มาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และมีจังหวัด
ในภาคตะวันออกอยูใ่ นพื้นที่ควบคุมสูงสุด ๕ จังหวัด (ข้อมูล ณ วันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔) ซึ่งส่งผลให้
ไม่สามารถดาเนนิ การจัดกจิ กรรมที่กาหนดไว้

ผู้รับผิดชอบโครงการ จึงได้ปรับกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก
และหลกั สตู รการศึกษาต่อเนอ่ื งเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก เปน็ รูปแบบออนไลน์ โดย
แบ่งเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะที่ ๑ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และระยะที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒ – ๓
สิงหาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องอบรมออนไลน์ https://meet.google.com/gje-bzob-bbk สถาบัน กศน.
ภาคตะวันออก อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ซึ่งกิจกรรมประกอบด้วย ๑) การบรรยายเนื้อหา
ความรู้ในการอบรมออนไลน์ ๒) ฝึกปฏิบัติตามใบงาน ๓) นาเสนอและวิพากษ์ผลงานในการอบรม
ออนไลน์ ๔) การทดสอบและประเมนิ ความพึงพอใจออนไลน์

๔๓

๓. แนวทางในการดาเนินงานต่อเน่ือง

๓.๑ พัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องในรูปแบบออนไซต์สาหรับ
บุคลากรท่ผี ่านการอบรมจากรูปแบบออนไลน์ในครัง้ นี้ เพ่ือเสรมิ ความรแู้ ละทกั ษะในการพัฒนาหลักสูตร
มากขน้ึ

๓.๒ ขยายผลการพฒั นาบคุ ลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่องในเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก (EEC) ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ เพื่อพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรให้ครอบคลุม
ทกุ กศน.อาเภอ ท่ีอยใู่ นเขตภาคตะวันออก

๔. ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการจัดโครงการต่อไป

๔.๑ นาข้อเสนอแนะและความต้องการที่ได้จากการตอบแบบสอบถาม มาปรับหัวเรื่องเนื้อหา
หรอื ปรับกิจกรรมเพ่อื พัฒนาบคุ ลากรด้านการพัฒนาหลกั สูตร

๔.๒ ศึกษาผลการนาหลักสูตรไปใช้ ซึ่งเป็นผลจากการนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่ได้
พฒั นาขึน้ นาไปใชจ้ ัดการเรียนการสอนให้กับกลมุ เป้าหมายของสถานศกึ ษาต่อไป


Click to View FlipBook Version