The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนางานต่อไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนางานต่อไป

Keywords: การพัฒนาบุคลากร,หลักสูตร,ปี 2564

๔๔

ภาคผนวก

๔๕

ภาคผนวก ก

โครงการ

๔๖

๔๗

๔๘

๔๙

๕๐

๕๑

๕๒

ภาคผนวก ข

หลักสูตร

๕๓

หลักสูตรพฒั นาบุคลากรด้านการพัฒนาหลกั สตู รรายวชิ าเลอื กและ
หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่อื งเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก

ความเป็นมา

การเปลี่ยนแปลงบริบทของเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้
Thailand ๔.๐ ด้วยการพฒั นาเชิงพน้ื ที่ทต่ี ่อยอดความสาเร็จมาจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก
(Eastern Seaboard) ซง่ึ ดาเนนิ มาตลอดกวา่ ๓๐ ปีท่ีผา่ นมา มีเป้าหมายหลกั ในการเตมิ เตม็ ภาพรวมใน
การส่งเสริมการลงทนุ ซึง่ จะเป็นการยกระดบั อุตสาหกรรมของประเทศ เพิ่มความสามารถในการแขง่ ขัน
และทาให้เศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาว ซึ่งได้มีการศึกษาถึงผลกระทบด้านการศึกษา พบว่า
๑) ชาวบ้านนาความรู้ไปประยุกต์ใช้จริงตามการปรับใช้ของแต่ละคนและอาชีพ ๒) การเข้ามาของ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมมีประโยชน์ในระดับปานกลาง ๓) การเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะของคนในพื้นท่ี
เปน็ ไปได้ยาก เนื่องจากคนในพนื้ ที่ยงั ยึดติดกับวัฒนธรรมและวิถชี วี ิตแบบเกา่ ๔) สถานศึกษาท่ีจัดตั้งข้ึน
ในโครงการเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมในพื้นที่ตอบสนองประชากรที่มาจากนอกพื้นที่มากกว่าในพื้นที่
๕) การจัดตั้งเขตส่งเสริมการคิดค้นนวัตกรรม ไม่ได้เพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพมากเท่าที่ควร
เนื่องจากอาชีพที่ทาส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็กหรือเกษตรกรรม ๖) การฝึกวิชาชีพมีประโยชน์ใน
ระดับสงู จากการแปรรูปสนิ ค้าเกษตรหรือช่องทางการจาหนา่ ยสินค้าในตลาดที่ใหญ่ขน้ึ และอาจชว่ ยเพ่ิม
มูลค่าให้กับสินค้า ขณะเดียวกันชาวบ้านต้องเพิ่มทักษะทางด้านภาษาเพื่อรองรับงานทางด้าน
อุตสาหกรรมของโครงการมากขึ้น และ ๗) มุ่งเน้นให้ภาครัฐ จัดให้มีหลักสูตรการเรียนการสอนให้
สอดคล้องกับทักษะที่จาเป็น โดยพิจารณาทั้งหลักสูตรปกติและออนไลน์ โดยมุ่งเน้นภาคปฏิบัติเพ่ือ
เสรมิ สร้างทกั ษะประสบการณ์ (พฒั นะ พบสภุ าพ และไอมิ นาคามรู า, ๒๕๖๑)

การจัดการศึกษามีหลักสูตรเป็นหัวใจและเป็นเครื่องมือถ่ายทอดเจตนารมณ์หรือ
เปา้ ประสงคข์ องการศึกษาของชาตลิ งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การทีห่ ลกั สตู รจะบรรลจุ ดุ มุ่งหมายเพยี งใดย่อมข้ึนอยู่
กับขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษาเป็นสาคัญ เพราะสถานศึกษาเป็นหน่วยปฏิบัติที่สาคัญ
ที่สุดที่จะแปลงหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดผลกับผู้เรียน ซึ่งจะต้องเป็นหลักสูตรที่สามารถ
พัฒนาผู้เรียนให้ได้เต็มตามศักยภาพ ตอบสนองต่อความถนัด ความสนใจความต้องการของผู้เรียนตรง
ตามสภาพความจริงมากที่สุด เหมาะสม และสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาในชุมชนนั้น ๆ
ประกอบกับมีการกระจายอานาจให้สถานศึกษามีบทบาทในการพฒั นาหลักสตู ร เพ่ือขับเคลื่อนคุณภาพ
การจัดการศึกษา และเป็นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่กาหนดใน
ระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของบริบทท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้สภาพแวดล้อมในชีวิตจริงของตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน
ตลอดจนสามารถแก้ปญหา พัฒนาชีวติ ตนเอง พัฒนาอาชพี ครอบครวั และสังคมของตนเองได้

๕๔

สถานศึกษาซึ่งมีบทบาทในการจัดการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ซ่ึงโครงสรา้ งรายวิชาของระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีรายวิชาให้เลือกเรียนจานวน ๑๒, ๑๖ และ ๓๒
หน่วยกิต ตามลาดับ ในส่วนรายวิชาที่ให้เลือกนั้น ผู้เรียนสามารถเลือกได้ตามความต้องการ หรือตาม
ปญั หาของสังคม หรอื ของผเู้ รยี นในขณะนน้ั โดยรายวชิ าเลือกเหล่านี้อาจจะได้มาจากที่สานกั งาน กศน.
หรอื ท่สี ถานศกึ ษาพฒั นาข้ึนตามความตอ้ งการของผเู้ รียน สาหรบั การจัดการศึกษาต่อเน่อื ง สถานศกึ ษา
สามารถพัฒนาหลักสูตรที่ยึดหลักความสอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย
เป็นไปตามสภาพบริบทชุมชนและสังคม ซึ่งผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรคือ ครู เนื่องจาก
ครูมีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร ดังนี้ ๑) ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจนเข้าใจกระจ่าง ๒)
ศึกษาหลักการ วิธีการพัฒนาหลักสูตร ๓) ร่วมวางแผน และร่วมพัฒนาหลักสูตร ๔) ตรวจสอบความ
สอดคล้องสัมพันธ์กันของสาระที่จัดทาขึ้นตามสภาพปัญหา/ความต้องการของชุมชน และภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ๕) วางแผนการจัดการเรียนการสอนตามขอบข่ายเนื้อหาสาระ สัดส่วนของเวลา และหน่วยการ
เรียนรู้ ๖) นาหลักสตู รไปปฏบิ ตั โิ ดยเลอื กใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายสอดคล้องกับธรรมชาติของ
สาระการเรียนรู้และเหมาะสมกับผู้เรียน ๗) วางแผนและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่ี
แสดงความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน และ ๘) ร่วมประเมินผลการใช้หลักสูตรกับสถานศึกษา (กรม
วิชาการ, ๒๕๔๓) เพ่อื ให้ได้หลักสตู รที่มีคุณภาพ จึงจาเป็นต้องพัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
การพัฒนาหลักสูตรและมีความสามารถเพียงพอที่จะนาความรู้ไปใชพ้ ัฒนาหลักสูตรด้วยตนเองได้ ทั้งน้ี
โดยหวังวา่ หลกั สตู รท่ีพัฒนาขึ้น จะทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องราวท่เี ปน็ จริง สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไป
ใช้ประโยชน์ได้

จากความสาคัญและความจาเป็นของหลักสูตรที่มีบทบาทในการพัฒนาการศึกษา ทั้ง
การศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน และการศึกษาต่อเนื่อง ในการนี้ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก ซึ่งมี
หน้าที่ภารกิจหลัก คือ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพวิชาการ หลักสูตร สื่อ เทคโนโลยี
นวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากรและระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยแก่สถานศึกษาในเขตภาคตะวันออก และภาคีเครือข่าย จึงได้จัดทาหลักสูตร
พัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขต
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ข้าราชการครู ครู กศน. และบุคลากรท่ี
เกี่ยวข้องสามารถพัฒนาหลักสูตรและสามารถจัดการศึกษาได้สอดคล้องกับบริบทสภาวะปัจจุบันและ
ความต้องการของผ้เู รียน

หลกั การ

๑. เปน็ หลักสตู รท่ีส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นร้แู ละพฒั นาศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล
๒. เป็นหลกั สตู รทม่ี ีการจัดกระบวนการเรยี นรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning)
๓. เป็นหลกั สูตรทสี่ ่งเสริมให้สถานศกึ ษาและภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลกั สูตร

๕๕

จุดม่งุ หมาย

๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
รายวชิ าเลือกและหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง

๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ต่อเนือ่ ง

๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทัศนคติที่ดีในการพัฒนาพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและ
หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง

เป้าหมาย

ข้าราชการครแู ละครู กศน.

ระยะเวลา

จานวน ๒๐ ชัว่ โมง

โครงสร้างหลักสตู ร

หลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพื่อรองรับเขต

เศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก ประกอบด้วย ๕ เร่ือง จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ดงั น้ี

เร่อื งท่ี ๑ องคค์ วามรทู้ ีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาหลกั สูตร จานวน ๒ ชั่วโมง

เรื่องท่ี ๒ ความร้เู บ้ืองตน้ การพฒั นาหลักสูตร จานวน ๒ ชว่ั โมง

เรื่องท่ี ๓ การรวบรวมและวิเคราะหข์ อ้ มูลพ้นื ฐาน

สาหรบั การพัฒนาหลักสตู ร จานวน ๓ ชวั่ โมง

เรื่องที่ ๔ การร่างหลกั สตู ร จานวน ๑๐ ชั่วโมง

เรือ่ งที่ ๕ การประเมนิ หลักสตู ร : ตรวจสอบคุณภาพเบอื้ งต้น จานวน ๓ ชัว่ โมง

ของหลักสตู ร

๕๖

รายละเอียดโครงสร้างหลักสตู ร

เร่ืองท่ี ๑ องค์ความรูท้ ี่เกย่ี วข้องกับการพัฒนาหลักสูตร

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ผ้เู ข้ารับการอบรมสามารถ
๑. อธบิ ายการเปลีย่ นแปลงบรบิ ทโลก สงั คมไทยทส่ี ง่ ผลต่อการพฒั นาหลักสตู รได้
๒. บอกนโยบายด้านการศกึ ษาที่เกยี่ วข้องกบั การพฒั นาหลักสตู รได้
๓. อธิบายทฤษฎกี ารเรียนร้ผู ู้ใหญ่ และจติ วทิ ยาวยั รุ่นที่สมั พันธ์กบั การพัฒนาหลักสตู รได้
๔. อธิบายความสาคญั การนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพือ่ จัดการเรยี นรู้มาใช้ในการพฒั นาหลักสูตรได้

เน้อื หา กิจกรรมการ สอ่ื การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล จำนวนชวั่ โมง
เรียนรู้
วิธกี าร เครื่องมือ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

๑. การเปลยี่ นแปลง - บรรยาย - PowerPoint -การ -แบบ ๒ -

บรบิ ทโลก สงั คมไทย - การแลกเปล่ยี น - เอกสารประกอบ ทดสอบ ทดสอบ

๒. นโยบายด้านการศึกษา เรียนรู้ การบรรยาย -สงั เกต -แบบ

๓. ทฤษฎีการเรียนร้ผู ู้ใหญ่ พฤติกรรม สงั เกต

และจติ วทิ ยาวัยรนุ่

๔. เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือ

การจัดการเรยี นรู้

เรอื่ งที่ ๒ ความรู้เบื้องตน้ การพฒั นาหลักสตู ร

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ผู้เขา้ รบั การอบรมสามารถ
๑. บอกความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของหลกั สูตรได้
๒. อธิบายความหมายการพัฒนาหลักสตู รได้
๓. บอกกระบวนการพัฒนาหลักสตู รได้
๓. บอกโครงสรา้ งของหลักสตู รรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนื่องได้

เน้อื หา กจิ กรรมการ สอ่ื การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล จำนวนช่วั โมง
เรียนรู้
๑. หลักสูตร วิธีการ เครอื่ งมือ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
๒. การพฒั นาหลักสูตร
๓. หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก - บรรยาย - PowerPoint -การ -แบบ ๒ -
๔. หลกั สตู รการศกึ ษา
ตอ่ เน่อื ง - การแลกเปลย่ี น - เอกสารประกอบ ทดสอบ ทดสอบ

เรยี นรู้ การบรรยาย -สงั เกต -แบบ

พฤติกรรม สงั เกต

๕๗

เร่อื งที่ ๓ การรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลพ้นื ฐานสาหรับการพฒั นาหลกั สูตร

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ผเู้ ข้ารบั การอบรมสามารถ
๑. บอกขอ้ มลู พ้ืนฐานในการพฒั นาหลักสูตรได้
๒. เลอื กเครือ่ งมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลสาหรับการพัฒนาหลักสูตรได้
๓. วเิ คราะหข์ ้อมลู พื้นฐานสาหรบั การพฒั นาหลักสตู รได้

เน้ือหา กิจกรรมการ สอ่ื การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล จำนวนชั่วโมง
เรียนรู้
๑. ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการ วิธีการ เคร่ืองมอื ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
พัฒนาหลกั สตู ร
๒. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู - บรรยาย - PowerPoint -การ -แบบ ๑ ๒
๓. การวิเคราะหข์ ้อมูล
- การฝกึ ปฏิบัติ - เอกสารประกอบ ทดสอบ ทดสอบ

- การแลกเปลี่ยน การบรรยาย -ประเมิน -แบบ

เรียนรู้ - ใบงาน ช้ินงาน ประเมนิ

-สงั เกต -แบบ

พฤติกรรม สงั เกต

เร่ืองท่ี ๔ การร่างหลกั สูตร

จุดประสงค์การเรียนรู้
ผูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถ
๑. อธิบายหลกั การและจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตรได้
๒. อธิบายการเลอื กและจดั เนอื้ หาประสบการณ์ในหลกั สตู รได้
๓. อธบิ ายตัวช้ีวดั และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ได้
๔. อธบิ ายการประเมินผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นได้
๕. เขยี นหลักสตู รรายวชิ าเลอื กหรอื หลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่อื งได้

๕๘

เน้อื หา กิจกรรมการ สอ่ื การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล จำนวนชวั่ โมง
เรยี นรู้
วิธีการ เครือ่ งมอื ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

๑. กาหนดหลกั การและ - บรรยาย - PowerPoint -การ -แบบ ๒ ๘

จุดมุ่งหมายของหลักสตู ร - การฝึกปฏิบัติ - เอกสารประกอบ ทดสอบ ทดสอบ

๒. การเลือกและจัดเนอ้ื หา - การแลกเปลี่ยน การบรรยาย -ประเมิน -แบบ

ประสบการณ์ในหลักสตู ร เรียนรู้ - ใบงาน ชน้ิ งาน ประเมนิ

๓. กาหนดตัวช้วี ัดและ -สงั เกต -แบบ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ พฤติกรรม สงั เกต

๔. กาหนดกระบวนการ

เรียนรู้ สื่อการเรยี นรแู้ ละ

เวลาเรียน

๕. กาหนดแนวทางการ

ประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี น และเกณฑ์

การจบหลักสตู ร

๖. การเขียนหลกั สตู ร

เรอื่ งท่ี ๕ การประเมินหลักสูตร : ตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน้ ของหลกั สตู ร

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ผเู้ ข้ารับการอบรมสามารถ
๑. บอกความหมายของการประเมนิ หลักสูตรได้
๒. บอกจุดม่งุ หมายของการประเมนิ หลักสูตรได้
๓. อธบิ ายความสาคัญของการประเมนิ หลกั สูตรได้
๔. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมการประเมินใน
กระบวนการ พฒั นาหลกั สตู รได้
๕. ตรวจสอบคณุ ภาพเบ้ืองต้นของหลักสตู รรายวชิ าเลอื กหรือหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ืองได้

๕๙

เนื้อหา กิจกรรมการ สอ่ื การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล จำนวนชั่วโมง
เรยี นรู้
วิธีการ เครอื่ งมอื ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
๑. ความหมาย - บรรยาย - PowerPoint
-การ -แบบ ๑ ๒
จดุ มงุ่ หมายและ - การฝึกปฏิบัติ - เอกสาร ทดสอบ ทดสอบ
-ประเมิน -แบบ
ความสาคญั ของการ - การแลกเปลี่ยน ประกอบ การ ชนิ้ งาน ประเมนิ
-สงั เกต -แบบ
ประเมนิ หลกั สตู ร เรียนรู้ บรรยาย พฤติกรรม สังเกต

๒. ความสมั พันธ์ระหว่าง - ใบงาน

กิจกรรมการพัฒนา

หลักสูตร และกจิ กรรมการ

ประเมินในกระบวนการ

พฒั นาหลักสตู ร

๓. การตรวจสอบคุณภาพ

เบอ้ื งตน้ ของหลักสตู ร

การวดั ผลประเมนิ ผลหลกั สูตร

ประเดน็ ตัวชวี้ ดั เกณฑ์การ วธิ ีการ เครื่องมอื ท่ีใช้ ความ
การประเมนิ ความสำเร็จ ผา่ น ประเมิน สอดคล้องกับ
จดุ มุ่งหมาย
ดา้ นความรู้ ผู้เขา้ รบั การ ไมน่ อ้ ยกวา่ การทดสอบ แบบทดสอบ
ด้านทักษะ อบรมาได้ รอ้ ยละ ๖๐ ๑
ด้านเจตคติ คะแนนการ - การประเมิน - แบบ
ทดสอบตาม ไม่นอ้ ยกวา่ ชนิ้ งาน ประเมิน ๒
เกณฑ์ที่ ร้อยละ ๖๐
กาหนด ชิ้นงาน ๓
ผ้เู ข้ารบั การ ไมน่ ้อยกว่า - การสังเกต - แบบสงั เกต
อบรมได้ รอ้ ยละ ๘๐
คะแนนการ การสารวจ แบบสอบถาม
ฝึกปฏบิ ตั ิตาม ความคิดเห็น ความคิดเห็น
เกณฑ์ที่
กาหนด ผ้เู ขา้ รบั การ
ผู้เข้ารับการ
อบรมมคี วาม
พึงพอใจต่อ

๖๐

การอบรมใน ของผ้เู ขา้ รับ ของผูเ้ ข้ารับ อบรมที่มตี ่อ
ภาพรวมระดบั การอบรม การอบรม การอบรม
ดขี ึน้ ไป

ประเด็น ตัวชวี้ ดั เกณฑก์ าร วิธกี าร เครื่องมอื ทใี่ ช้ ความ
สอดคลอ้ งกบั
การประเมิน ความสำเร็จ ผ่าน ประเมิน บญั ชีรายชอ่ื ผู้ จุดม่งุ หมาย
เขา้ รับการ
เวลา มเี วลาเขา้ รบั ไมน่ อ้ ยกวา่ การลงเวลา อบรม -

การอบรมตาม ร้อยละ ๘๐ เขา้ รับการ

เกณฑ์ท่ี ( ๑๖ ชม.) อบรม

กาหนด

เกณฑ์การจบหลกั สตู ร

ผู้เข้ารับการอบรมจะจบหลักสูตรได้เมื่อสอบผ่านผลการเรียนตามเกณฑ์การผ่านที่กาหนด
ทง้ั ๔ ดา้ น และจะได้รับวฒุ บิ ตั รหลังอนมุ ตั ผิ ลการอบรม

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
วฒุ ิบตั รการอบรม ออกโดยสถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

๖๑

ภาคผนวก ค

หนังสือราชการ

๖๒

๖๓

๖๔

๖๕

๖๖

๖๗

กาหนดการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นาหลกั สูตรรายวชิ าเลือกและหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่อง
เพือ่ รองรับเขตเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก
รูปแบบออนไลน์ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔

ณ หอ้ งอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk

วันที่ เวลา กจิ กรรม
๑๙ ๐๘.๓๐–๐๙.๐๐ น. • ลงทะเบียนอบรมออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet
กรกฎาคม ๐๙.๐๐–๐๙.๓๐ น. • เปิดการอบรม โดย นายสังข์ กาญจนเพ่ิมพูน
๒๕๖๔
ผอู้ านวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก
• ช้ีแจงหลกั สูตร โดย นางสาวบษุ ยา ปยิ ารมย์

๐๙.๓๐–๐๙.๔๕ น. • ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นออนไลน์
๐๙.๔๕–๑๐.๑๕ น. • การบรรยายเรอ่ื งความร้เู บื้องต้นการพฒั นาหลักสตู ร

โดย นางสาวบษุ ยา ปิยารมย์

๑๐.๑๕-๑๐.๓๐ น. • พัก
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. • การบรรยายเรอื่ งการรวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มูลพ้นื ฐานสาหรับ

การพฒั นาหลกั สูตร โดย ดร.กุลธดิ า รัตนโกศล
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. • พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. • การบรรยายเร่ืองการรา่ งหลักสูตร โดย นางสาวบษุ ยา ปยิ ารมย์

• การอภิปราย ซักถามข้อสงสัยและมอบหมายงาน

หมายเหตุ ขอใหผ้ ู้เขา้ รับการอบรมเขา้ ร่วมกลุ่มไลน์ “ พัฒนาหลักสูตร ๖๔ ”
เพอ่ื ๑. เป็นชอ่ งทางในการสือ่ สาร
๒. รับแจ้งการลงทะเบียนหอ้ งเรยี นออนไลน์

๖๘

๖๙

๗๐

๗๑

๗๒

๗๓

๗๔

๗๕

๗๖

๗๗

๗๘

๗๙

๘๐

๘๑

รายงานผลการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาหลกั สตู รรายวชิ าเลอื กและ
หลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ืองเพ่อื รองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก รปู แบบออนไลน์

วนั ที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ณ ห้องอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก อาเภอเมืองระยอง จังหวดั ระยอง

--------------------------------------------------------------------------

๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพ่ือ
รองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก รปู แบบออนไลน์มผี ้เู ขา้ รับการอบรม จานวน ๓๘ คน

ที่ ชอ่ื -สกุล ตาแหนง่ จังหวดั กศน.อาเภอ
๑ นางสมจติ ร แมน้ อดุ ม ครอู าสาสมคั รฯ จันทบุรี สอยดาว
๒ นางสาวจริยา รุ่งสวา่ ง ครผู ชู้ ่วย จนั ทบรุ ี ท่าใหม่
๓ วา่ ท่ี รต. หญิงสุพรรณี เนียมณรงค์ ครู กศน.ตาบล จันทบุรี โป่งน้ารอ้ น
๔ นางสาวพชิ ญา อชั ฌาศยั ครผู ู้ชว่ ย จันทบรุ ี โปง่ นา้ รอ้ น
๕ นางศริ ญิ า ป้องเรอื ครู กศน.ตาบล จันทบรุ ี เมืองจนั ทบรุ ี
๖ นายวริ ัตน์ ปุรเิ กษ ครผู ู้ชว่ ย ฉะเชิงเทรา คลองเขอื่ น
๗ นางสาววิไลรัตน์ ศรีรุง่ ครูผู้ช่วย ฉะเชิงเทรา แปลงยาว
๘ นางนวลถนอม พขิ ุนทด ครผู ชู้ ว่ ย ฉะเชงิ เทรา บางคลา้
๙ นางสาวจิตลดา ละอองแกว้ ครูอาสาสมคั รฯ ฉะเชงิ เทรา ราชสาส์น
๑๐ นางสาวอมรา พวงภู่ ครูอาสาสมคั รฯ ชลบรุ ี บ้านบึง
๑๑ นางสาวระพพี ร วงค์มน ครผู ชู้ ่วย ชลบรุ ี พานทอง
๑๒ นางสาวณภษร ศรบี ุณยะแกว้ ครูผชู้ ว่ ย ชลบรุ ี พนัสนคิ ม
๑๓ นายสชุ น บญุ พมิ พ์ ครู กศน.ตาบล ชลบุรี บอ่ ทอง
๑๔ นายกฤตนนท์ จันทรค์ ลาย ครูผู้ชว่ ย ตราด คลองใหญ่
๑๕ นางสาวหงษฟ์ า้ ปสั บาล ครผู ชู้ ่วย ตราด เมอื งตราด
๑๖ นายกิตตกิ ร ภารไสว ครูผู้ชว่ ย ตราด แหลมงอบ
๑๗ นางสาวกัญญพัทร มตุ ิโสม ครูผูช้ ว่ ย ตราด บ่อไร่
๑๘ นายไพรชั ศรใี ส ครอู าสาสมัครฯ นครนายก บ้านนา
๑๙ นางรตั ตพิ ร ภาษี ครู กศน.ตาบล นครนายก ปากพลี
๒๐ นางสาวพรเพญ็ เกยี งตระกูล ครู กศน.ตาบล นครนายก เมืองนครนายก
๒๑ นายเสกสรรค์ ทองหุล ครู กศน.ตาบล นครนายก องครกั ษ์

๘๒

ท่ี ช่ือ-สกุล ตาแหนง่ จังหวดั กศน.อาเภอ

๒๒ นางสาวบบุ ผา แกว้ ประพนั ธ์ นักวิชาการศึกษา ปราจีนบุรี สนง.ปราจนี บรุ ี

๒๓ นางสาวอทิตยา สมัครชื่อ ครู ปราจีนบุรี ศรมี หาโพธิ

๒๔ นางสมรกั จติ มั่น ครู ปราจนี บรุ ี เมอื งปราจนี บุรี

๒๕ นางสาวร่งุ นภา เฉลยี วศลิ ป์ ครู ปราจีนบรุ ี นาดี

๒๖ นางสาวปุญญพัฒน์ ทมิ าตะฤกะ ครู กศน.ตาบล ระยอง นิคมพัฒนา

๒๗ นางสาวพีรภาว์ นาคเกดิ นกั วิชาการศึกษา ระยอง สนง.ระยอง

๒๘ นางสาวอษั ณา ฉายกระจา่ ง ครู กศน.ตาบล ระยอง บา้ นคา่ ย

๒๙ นายธรี พล เดือนกลาง ครผู ชู้ ว่ ย ระยอง วงั จันทร์

๓๐ นางสาวเพชรปวณี ์ ศริ ิโชตินอก ครูผู้ช่วย สระแกว้ วังสมบรู ณ์

๓๑ นายสุทิพย์ แสงใส ครูผชู้ ่วย สระแก้ว วัฒนานคร

๓๒ ว่าที่ รต.อรรคเดช ไมส้ ูงเนิน ครผู ู้ช่วย สระแก้ว คลองหาด

๓๓ นางสาวสณุ ญตา สนสร้อย ครู กศน.ตาบล สระแกว้ วังน้าเยน็

๓๔ นายนฤรงค์ กนั รัมย์ ครูผชู้ ่วย สระแกว้ ศฝช.สระแกว้

๓๕ นายพรศักด์ิ สาราญดี ครูอาสาสมัครฯ สระแก้ว ศฝช.สระแกว้

๓๖ นายมนัสชัย โสคาภา ครู สระแกว้ ศว.สระแกว้

๓๗ นายศราวุฒิ ภูมาศ ครผู ู้ช่วย สระแกว้ ศว.สระแก้ว

๓๘ นายจรญู ชมุ ศรี ครู ชลบุรี ศฝก.วัดญาณฯ

ขอ้ มูลการลงเวลาเขา้ ห้องอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk ตามเอกสารดงั แนบ ๑

๒. นายสังข์ กาญจนเพ่มิ พนู ผู้อานวยการสถาบนั กศน.ภาคตะวันออก เปน็ ประธานเปิดการ
อบรมและบรรยายเร่ืองที่ ๑ องค์ความรู้ท่เี กี่ยวข้องกับการพฒั นาหลักสูตร : นโยบายด้านการศึกษาและ
จุดเน้นการพัฒนา เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจถึงความสาคัญของการพัฒนาหลักสูตรท่ี
สอดคลอ้ งกับนโยบายการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ และสานกั งาน กศน.

๘๓
๓. นางสาวบุษยา ปิยารมย์ ผู้รับผิดชอบโครงการฯ รายงานความเป็นมาของการอบรมและ
ชี้แจงโครงสร้างหลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษา
ตอ่ เน่ืองเพ่ือรองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก จานวน ๒๐ ชั่วโมง จุดมุ่งหมาย โครงสร้างเนื้อหา
และเกณฑ์การวัดประเมินผลของหลกั สตู ร

๔. ดาเนินการทดสอบ ด้วย แบบทดสอบออนไลน์ จานวน ๒๐ ข้อ โดยส่งทางกลุ่มไลน์
“พฒั นาหลักสตู ร ๖๔”

๘๔

๕. นางสาวบุษยา ปิยารมย์ ครูชานาญการพิเศษ เป็นวิทยากรบรรยายเรื่องที่ ๒ ความรู้
เบือ้ งตน้ การพัฒนาหลกั สตู ร เพือ่ เป็นการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับ

๑) ความหมาย ความสาคญั องคป์ ระกอบของหลักสตู ร และลกั ษณะของหลักสูตรทดี่ ี
๒) ความหมาย ระบบการพัฒนาหลักสตู รแบบครบวงจร และกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
อย่างมคี ุณภาพ
และเป็นวิทยากรบรรยายเรือ่ งที่ ๔ การร่างหลักสูตร เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเขา้ ใจใน
การพฒั นาหลกั สตู รเกี่ยวกับ
๑) การกาหนดหลักการและจุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร
๒) การเลือกและจดั เนอื้ หาประสบการณ์ในหลักสตู ร
๓) การกาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
๔) การกาหนดสื่อการเรยี นรู้ ระยะเวลาเรยี น
๕) การกาหนดการวัดผลประเมนิ ผล และเกณฑ์การจบหลกั สตู ร

๘๕
๖. นางกุลธิดา รัตนโกศล ครูเชี่ยวชาญ เป็นวิทยากรบรรยายเรื่องที่ ๓ การรวบรวมและ
วิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐานสาหรับการพัฒนาหลักสูตร โดยเชือ่ มโยงข้อมูลพ้นื ฐานในการพัฒนาหลักสูตรกับ
ความต้องการบุคลากรในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ (EEC) ที่ กศน. สามารถพัฒนาหลักสตู รท่ีตอบโจทย์
ความตอ้ งการของสภาพการณใ์ นปจั จุบนั และการเขยี นความเป็นมาของหลกั สูตร

๕. นางสาวบษุ ยา ปิยารมย์ ครูชานาญการพิเศษ มอบหมายกิจกรรมให้กบั ผ้เู ขา้ รับการอบรม
เขียนหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง มาคนละ ๑ หลกั สตู ร และส่งภายในวนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ทาง
ช่องทางออนไลน์ https://forms.gle/GbaANUChHZNYcb๘e๘ และมอบหมายงานต่อเนื่องที่จะ
นาเสนอในวันที่ ๒ สงิ หาคม ๒๕๖๔ ตอ่ ไป

๘๖

งานตอ่ เนื่อง
๑. นางสาวบุษยา ปิยารมย์ ผู้รับผิดชอบโครงการ จัดทาหนังสือราชการแจ้งไปยังสานักงาน

กศน. จังหวดั ทง้ั ๘ จงั หวัดและสถานศกึ ษาขึ้นตรง ท้ัง ๓ แห่ง เพ่อื แจ้งการปรับกิจกรรมการอบรมของ
วันที่ ๒-๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ จากรูปแบบชั้นเรียนเป็นรูปแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นการดาเนินงานตาม
มาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙

๒. ชี้แจงการประเมินผลงานหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองของผู้เข้ารับการอบรม กับวิทยากรท่ี
ปรึกษาประจาจงั หวดั จานวน ๕ ท่าน

๓. ประสานตัวแทนจังหวัดที่จะนาเสนอหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ให้จัดส่งไฟล์เอกสารมา
ให้ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ เพื่อใช้ในการดาเนนิ การจดั กิจกรรมอบรม ในวันท่ี ๒ สิงหาคม ๒๕๖๔

๘๗

๘๘

๘๙

๙๐

๙๑

กาหนดการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลอื กและหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง

เพ่อื รองรับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์

ระหวา่ งวนั ท่ี ๒ - ๓ สิงหาคม ๒๕๖๔

ณ หอ้ งอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk

***************************************

วนั ที่ เวลา กจิ กรรม

๒ สิงหาคม ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. • ลงทะเบยี น
๒๕๖๔ ๐๙.๐๐-๑๐.๓๐ น.
• องค์ความรู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การพัฒนาหลักสตู ร : จิตวทิ ยาการศกึ ษา
และสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของครู
โดย นางสาวธัญญ์ลกั ษณ์ ขจรสกุลวงศ์
รองผอู้ านวยการ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก

๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. • นาเสนอผลงานการพฒั นาหลักสตู รการศึกษาต่อเนื่อง

• วิพากษห์ ลกั สตู ร โดย ดร.กุลธิดา รตั นโกศล และคณะ

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐น. • พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน

๑๓.๐๐–๑๖.๓๐ น. • นาเสนอผลงานการพฒั นาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง

• วิพากษห์ ลกั สตู ร โดย ดร.กุลธิดา รัตนโกศล และคณะ

• ตอบข้อซกั ถามและแลกเปลย่ี นความรู้

๓ สิงหาคม ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. • ลงทะเบียน

๒๕๖๔ ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. • การพฒั นาหลักสตู รรายวิชาเลือกและการฝึกปฏิบตั ิ

โดย นางสาวบุษยา ปยิ ารมย์

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐น. • พักรบั ประทานอาหารกลางวนั

๑๓.๐๐-๑๕.๓๐ น. • การประเมนิ หลักสูตร : ตรวจสอบคณุ ภาพเบอ้ื งตน้ ของหลักสูตร

โดย นางสาวอรทัย ปานขาว

๑๕.๓๐-๑๕.๔๕ น. • ทาแบบทดสอบหลังการอบรม

๑๕.๔๕-๑๖.๓๐ น. • ปดิ การอบรมและการบรรยายสรุป

โดย นายสังข์ กาญจนเพ่ิมพูน

ผู้อานวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก

หมายเหตุ ๑. พักรบั ประทานอาหารว่างและเครือ่ งด่มื ภาคเชา้ เวลา ๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น.
และภาคบ่ายเวลา ๑๔.๔๕-๑๕.๐๐ น.

๒. ตารางน้สี ามารถเปล่ียนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม

๙๒

๙๓

รายงานผลการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลือกและ
หลักสตู รการศึกษาต่อเน่ืองเพื่อรองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ ระยะท่ี ๒

ระหวา่ งวนั ที่ ๒ - ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๔
ณ หอ้ งอบรม https://meet.google.com/gje-bzob-bbk

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก อาเภอเมืองระยอง จังหวดั ระยอง

--------------------------------------------------------------------------

การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องเพ่ือ
รองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รูปแบบออนไลน์ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาผู้เข้ารับการอบรมให้มี
ความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกและหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประกอบด้วย กจิ กรรมการบรรยาย การฝึกปฏิบตั ิ การนาเสนอผลงาน การวิพากษ์ และการแลกเปล่ียน
เรยี นรู้ มผี ลการอบรม ดังนี้

๑. วนั ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๔ มีผู้เขา้ รบั การอบรม ซง่ึ เป็นบุคลากรของสานักงาน กศน. จังหวัด
๘ จงั หวัดและสถานศึกษาข้ึนตรงท้ัง ๓ แหง่ จานวน ๓๘ คน เข้าห้องอบรมออนไลน์
(แสดงข้อมูลการลงเวลาเข้ารบั การอบรม ตามเอกสารดังแนบ ๑


Click to View FlipBook Version