45
ทั้งนี้ กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนนี้มิใช่หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็น
เพียงองคป์ ระกอบหน่งึ ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทมี่ ีความสำคัญมาก เพราะเปน็ เป้าหมายใน
การพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการออกแบบหลักสตู รสถานศึกษา การออกแบบรายวชิ าหรือกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน หรือในระดับการเรียนการสอนในชั้นเรียน ทั้งนี้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการดำเนินการนำสมรรถนะ
ไปสู่การจัดการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียดในการเชื่อมโยงสมรรถนะหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ และแนวทางในการนำกรอบสู่การจดั การเรียนการสอน ดังนี้
การเชอื่ มโยงสมรรถนะหลกั สำหรบั
ผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
กับกล่มุ สาระการเรียนรู้
สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก
7 สมรรถนะ (Core Competency) สำหรับผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนำไปใช้พัฒนาผู้เรียน
ผ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในช่วงเวลา
ของการเปล่ียนผ่านไปสกู่ ารนำหลักสตู รฐานสมรรถนะได้ ทงั้ ในลกั ษณะของการพัฒนาสมรรถนะหลักตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยครูผู้สอนในแตล่ ะรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ สามารถพิจารณาสมรรถนะหลัก
และสมรรถนะย่อยที่เกี่ยวข้อง เพื่อมุ่งเน้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะหลัก
ดงั กลา่ ว หรือในลกั ษณะการนำสมรรถนะหลกั มาพฒั นาให้เกิดการเรียนรู้มากขึน้ ลุ่มลึก มีความหมาย และเพิ่ม
มิติในการเรียนรู้มากขึ้น นอกจากน้ียังสามารถนำสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐานและสมรรถนะหลัก
7 สมรรถนะ ในการพัฒนาผู้เรียนข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ หรือนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
การเรียนรู้ต่าง ๆ ในชีวิตจริงได้ เพื่อให้ผู้อ่านเห็นความสัมพันธ์เชื่อมโยงได้ชัดเจนขึ้น จึงขอแสดงตัวอย่าง
การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสมรรถนะหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับแนวทางการพัฒนาผู้เรียนในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ว่าผู้สอนตอ้ งสร้างโอกาสในการเรียนรู้หรือการลงมือปฏิบัติแก่ผู้เรียนในประเด็นใดบ้าง
ดงั นี้
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
46
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี น
สมรรถนะ
1) สมรรถนะหลัก - ใช้ภาษาไทยในการอ่าน ฟัง และดู ผา่ นช่องทางหลากหลาย และทำความเข้าใจ ตีความ
ด้านภาษาไทยเพื่อ แปลความ และขยายความสิ่งทอ่ี า่ น ฟัง และดู ได้อย่างมีวจิ ารญาณ เพ่ือมาสิ่งทไ่ี ด้มาใชใ้ น
การสื่อสาร (Thai การพฒั นาตน ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน
Language for - ใชภ้ าษาไทยในการเขียน พูด เพ่อื นำเสนอข้อมลู ในรปู แบบตา่ ง ๆ และชอ่ งทางท่ี
Communication) หลากหลายอยา่ งถูกต้อง เหมาะสม มีเจคติท่ดี ี ในการรายงานผลการค้นคว้า เสนอทศั นะ
โต้แย้ง โนม้ นา้ ว และแสดงแนวคดิ อยา่ งมีเหตุผล
- ใชร้ ูปแบบ และหลกั การทางภาษาไทยที่เหมาะสมกบั บริบท สงั คม วัฒนธรรมและใชเ้ พ่ือ
บรรลวุ ัตถุประสงคเ์ ฉพาะ
- ใชภ้ าษาไทยในวิเคราะหว์ ิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม เพือ่ ให้เข้าใจภมู ปิ ัญญาและ
วฒั นธรรมไทย
2) สมรรถนะหลัก - ใชภ้ าษาองั กฤษเกี่ยวกบั คำสำคัญ หรอื นยิ ามคำสำคัญเกย่ี วกบั ภาษาไทย ความเปน็ ไทย
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน ด้านภาษาองั กฤษ และวัฒนธรรมไทย
(Competencies in Basic Literacy)
เพ่อื การสือ่ สาร - ใช้ภาษาองั กฤษเกี่ยวกับข้นั ตอน หรือการดำเนินการเกี่ยวกบั ความเป็นไทย และ
(English for วฒั นธรรมไทย
Communication) - ใชภ้ าษาองั กฤษท่ีเปน็ เนอ้ื หาเกีย่ วกับภาษาไทย ความเป็นไทย และวฒั นธรรมไทยเปน็
ขอ้ ความหรือบทอ่านสั้นๆ
- สบื คน้ ข้อมูลจากตำราหรืออินเทอรเ์ นต็ ที่เป็นภาษาองั กฤษเพื่อการศึกษาความรเู้ กี่ยวกับ
ความเปน็ ไทย และวฒั นธรรมไทย
- ใช้สมรรถนะภาษาองั กฤษด้านการฟัง หรืออา่ น และจดบันทึกยอ่ ๆ เกยี่ วกับความเป็น
ไทย และวฒั นธรรมไทย
3) สมรรถนะหลัก - เรียนรู้ สัญลักษณ์ และรูปแบบคณิตศาสตร์ผ่านการอ่าน และการเขียนโดยใช้ภาษาไทย
ดา้ นคณติ ศาสตรใ์ น แลกเปลี่ยนความคิด หรือสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสัญลักษณ์ และรูปแบบ
ชีวิตประจำวัน คณติ ศาสตร์ โดยใชภ้ าษาไทย
(Mathematics in
Everyday Life)
4) สมรรถนะหลัก - สบื สอบความรู้และมโนทัศน์เกย่ี วกับภาษาไทยที่สนับสนนุ ด้วยหลกั ฐานเชิงประจักษ์
ด้านการสืบสอบ - ใชเ้ หตผุ ลสนบั สนุนหรือคัดค้านในประเด็นถกเถยี งในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เช่น
ทางวทิ ยาศาสตร์ การอภปิ รายและการโตว้ าที
และจิตวิทยาศาสตร์ - สรา้ งผลผลิตหรอื ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ดว้ ยกระบวนการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมท่ีถ่ายทอด
ความร้สู กึ นกึ คดิ คา่ นยิ ม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความงดงามของภาษา เพอ่ื อนุรกั ษ์
ความเป็นไทย
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
47
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผูเ้ รียน
1) สมรรถนะหลกั - เรยี นร้กู ารจดั การชีวติ การพ่ึงพาและพฒั นาตนเองผา่ นการฟงั และอ่านจากแหล่งความรู้
ดา้ นทกั ษะชวี ิตและ ต่าง ๆ
ความเจริญแหง่ ตน - ถ่ายทอดความร้แู ลกเปลย่ี นความคิดเกีย่ วกับการจัดการชีวติ การพึง่ พาและพัฒนาตนเอง
(Life Skills and ท่ีสมดุลผา่ นการพดู และการเขียนในลกั ษณะต่าง ๆ
Personal Growth) - รบั รู้ ชน่ื ชมเห็นคุณคา่ ในความงดงามของภาษาและวัฒนธรรมไทย
2) สมรรถนะหลัก - เรยี นรู้การทำงาน อาชีพ และการประกอบการผ่านการฟัง อ่าน และแสวงหาความรู้จาก
ด้านทกั ษะอาชพี แหลง่ ความรู้ตา่ ง ๆ
และการเป็น - ถา่ ยทอดความรู้ แลกเปลย่ี นความคดิ ประสบการณ์เกย่ี วกับการทำงาน อาชีพ และ
ผปู้ ระกอบการ การประกอบการผา่ น การพดู และการเขยี นในลักษณะต่าง ๆ
(Career Skills and
Entrepreneurship)
3) สมรรถนะหลัก - วเิ คราะห์และประเมนิ สารท่ีใช้ในการส่ือสารท้ังการฟัง การพดู การอา่ น และการเขยี น
สมรรถนะหลัก ดา้ นทกั ษะการคดิ สรุปสารตามความเขา้ ใจของตนเองและให้ความเหน็ ของตนเองที่มีตอ่ สารในเร่ืองน้นั ๆ
(Core Competencies)
ขั้นสูงและ -พฒั นาทักษะในการตัดสนิ ใจเร่อื งต่าง ๆ บนฐานของข้อมูลเหตุผลและหลกั ฐานอยา่ ง
นวตั กรรม (Higher- รอบดา้ นและเหมาะสมตามบริบทเชิงวัฒนธรรม ผา่ นการใช้ภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร ทั้ง
order Thinking การฟัง การพดู การอ่าน และการเขียน
Skills and - ระบุปญั หาตา่ ง ๆ รวมถึงวเิ คราะหส์ าเหตุของปัญหา หาวิธีการแกป้ ัญหาและเลอื กวธิ กี าร
Innovation แก้ปญั หาท่เี หมาะสมท่ีสุดโดยใชภ้ าษาไทย
Development) - อธบิ ายกระบวนการแก้ปัญหาทตี่ นเองไดล้ งมือปฏิบตั ิอย่างเป็นข้นั ตอนและเป็นระบบ
: HOTS Critical โดยใช้ภาษาไทย
Thinking, - ปรบั ความคิดของตนเองให้มีความยืดหยุ่นสามารถมอง/คิดและให้ความเหน็ ในเรื่อง
Problem Solving, ตา่ ง ๆ อยา่ งหลากหลายแงม่ ุมด้วยการใช้ภาษาไทยในการส่อื สาร ท้งั การฟงั การพดู
Creative Thinking การอ่าน และการเขยี น
- พฒั นาความคิดรเิ ร่ิมส่ิงใหม่ ๆ และสือ่ สารด้วยรูปแบบแตกตา่ งจากเดิม
4) สมรรถนะหลัก - ใช้สื่อสารสนเทศที่พบเห็นในชวี ติ ประจำวันในการพฒั นาทกั ษะการฟงั และการอา่ น
ดา้ นการรู้เท่าทนั สอ่ื - เรียนร้รู ปู แบบการใชภ้ าษาของสื่อและกลวิธกี ารใช้ภาษาในส่อื และตีความจุดประสงค์
สารสนเทศ และ และรปู แบบการสอื่ สารของโฆษณา ละคร และข่าว
ดิจิทลั (Media,
Information and
Digital Literacy:
MIDL)
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
48
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผู้เรียน
5) สมรรถนะหลัก - รับสารผา่ นการอ่าน ฟัง และดู จากช่องทางหลากหลาย และทำความเข้าใจ ตีความ
ดา้ นการสอื่ สาร แปลความ และขยายความส่ิงทีอ่ า่ น ฟัง และดู ไดอ้ ย่างมวี ิจารญาณ เพ่ือมาสง่ิ ที่ได้มาใชใ้ น
(Communication) การพฒั นาตน ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวัน อยา่ งมมี ารยาท
- ส่งสารผา่ นการ พูด เขียน ในรปู แบบต่าง ๆ เพื่อให้ขอ้ มูล แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น
และโนม้ น้าวได้อย่างมเี หตุผลและเหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใช้เทคนคิ ในการสื่อสารเพอ่ื ให้เกดิ ความเขา้ ใจและการถา่ ยทอดข้อความได้ผลดยี ่ิงขน้ึ
6) สมรรถนะหลัก - ปฏิบัติงานร่วมกนั เพ่ือเรียนรคู้ ำศัพท์ท่เี กี่ยวขอ้ งการสร้างความสัมพนั ธ์อันดี การทำงาน
ด้านการทำงานแบบ ร่วมกนั การใชภ้ าวะผู้นำ และการปฏิบัติหน้าท่ใี นฐานะสมาชิกกลุ่ม
รวมพลังเปน็ ทมี และ - ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกันเพื่อเรยี นร้แู ละพัฒนาทกั ษะการฟังพูดอา่ นเขยี น และการสื่อสาร
มีภาวะผูน้ ำ เรอื่ งราวทีเ่ กี่ยวข้องกบั การสร้างความสัมพันธอ์ ันดี การรวมพลังทำงานรว่ มกนั การใช้
สมรรถนะหลัก (Collaboration ภาวะผนู้ ำ และการปฏิบตั ิหน้าทใ่ี นฐานะสมาชิกกลมุ่
(Core Competencies)
Teamwork and
Leadership)
7) สมรรถนะหลัก - ศึกษาและเรยี นรวู้ งคำศัพท์และรปู แบบภาษาเกี่ยวกบั การเมอื งการปกครอง รฐั ศาสตร์
ดา้ นการเปน็ กฎหมาย
พลเมืองตืน่ รู้ท่มี ี - สือ่ สารเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจในการอยรู่ ว่ มกนั อย่างปรองดอง สมานฉันท์ ยุติความขัดแย้ง
สำนึกสากล - อ่านวรรณกรรมประจำชาติ และวรรณกรรมเปรยี บเทยี บท้ังในระดับภูมิภาคอาเซียนและ
(Active Citizens โลกเพื่อสร้างความเขา้ ใจในการอยู่ร่วมกันอย่างปรองดอง สมานฉนั ท์
with Global
Mindedness)
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
49
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รียน
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน 1) สมรรถนะหลัก - ฟังพดู อ่านและเขียนคำศัพท์ภาษาไทยที่เกีย่ วข้องกับคณิตศาสตรแ์ นวคดิ และ
(Competencies in Basic Literacy) ดา้ นภาษาไทยเพื่อ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์และคำทว่ั ไปท่มี ีความหมายเฉพาะในบรบิ ททางคณติ ศาสตร์
การส่อื สาร (Thai - ใชภ้ าษาไทยทัง้ วจนภาษา อวจั นภาษา และสัญลักษณท์ างคณิตศาสตร์ เพื่อส่ือ
Language for ความหมายและนำเสนออยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
Communication) - พูดอภปิ ราย แสดงความคดิ ความเห็นเก่ยี วกับความคิดทางคณติ ศาสตร์
2) สมรรถนะหลกั - ใช้ภาษาองั กฤษเกี่ยวกับคำสำคญั หรือนยิ ามคำสำคัญทเ่ี กี่ยวข้องกับคณิตศาสตรแ์ นวคดิ
ดา้ นภาษาองั กฤษ และกระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ละคำทว่ั ไปทีม่ ีความหมายเฉพาะในบรบิ ททาง
เพอ่ื การส่อื สาร คณติ ศาสตร์
(English for - ใชภ้ าษาองั กฤษเกี่ยวกบั ข้นั ตอน หรอื การดำเนนิ การท่เี ก่ียวขอ้ งกบั คณิตศาสตรแ์ นวคดิ
Communication) และกระบวนการทางคณิตศาสตร์
- ใชภ้ าษาอังกฤษที่เป็นเนื้อหาทีเ่ ก่ยี วข้องกับคณิตศาสตร์แนวคิดและกระบวนการทาง
3) สมรรถนะหลัก คณติ ศาสตร์และคำท่วั ไปทม่ี ีความหมายเฉพาะในบรบิ ททางคณติ ศาสตรเ์ ป็นข้อความหรือ
ดา้ นคณติ ศาสตร์ใน บทอ่านส้ันๆ
ชวี ิตประจำวนั - สืบคน้ ข้อมลู จากตำราหรืออินเทอร์เนต็ ที่เปน็ ภาษาองั กฤษเพ่ือการศึกษาความรทู้ ี่
(Mathematics in เก่ียวขอ้ งกบั คณิตศาสตร์แนวคิดและกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ ละคำทั่วไปท่ีมี
Everyday Life) ความหมายเฉพาะในบริบททางคณิตศาสตร์
- ใชส้ มรรถนะภาษาอังกฤษด้านการฟงั หรือการอ่าน และจดบนั ทึกย่อๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับ
4) สมรรถนะหลัก คณิตศาสตร์แนวคดิ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์และคำทวั่ ไปท่มี ีความหมายเฉพาะ
ด้านการสบื สอบทาง ในบริบททางคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ - สรา้ งกฎเกณฑ์ทางคณติ ศาสตร์วิเคราะห์ตรวจสอบกระบวนการคณิตศาสตร์
จิตวทิ ยาศาสตร์ วิธแี กป้ ัญหา และการไดม้ าของกฎเกณฑ์นัน้ โดยใชว้ ิธกี ารให้เหตุผลเชิงอุปนัย
- ให้เหตุผลเชิงนิรนยั หรือตรรกศาสตร์เพอื่ ตรวจสอบ ข้อโต้แยง้ ในวชิ าคณติ ศาสตร์
- สืบคน้ ผลกระทบของสมมติฐานในกระบวนการคณิตศาสตร์ วธิ แี กป้ ญั หา หรือการสรปุ
- อธบิ าย เปรียบเทยี บ แปลความหมายของแผนภูมิรปู ภาพจากส่ือต่างๆ เพ่ือตอบปญั หา
ในชีวติ ประจำวันของตนออกแบบแผนภมู ริ ปู ภาพ หรือตารางโดยใชเ้ ทคโนโลยี
- สบื สอบมโนทัศนท์ างคณิตศาสตร์ ทสี่ นับสนุนด้วยหลักฐานเชงิ ประจักษ์
- รวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมลู เกย่ี วกับตวั เลขท่ีพบเห็นในชีวิตประจำวัน
- ใชก้ ระบวนการเชิงวิศวกรรม ออกแบบสิ่งประดษิ ฐ์ นวตั กรรมอย่างงา่ ยเพือ่ แกป้ ญั หา
คณติ ศาสตรเ์ ชิงสร้างสรรค์ในชีวติ ประจำวนั
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
50
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผ้เู รียน
1) สมรรถนะหลกั - แก้ปญั หาชวี ติ การจัดการและดำเนนิ ชีวิตให้พอดี มคี วามสมดลุ ทกุ ดา้ นโดยใชค้ วามรู้
ดา้ นทกั ษะชีวิตและ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ความเจริญแห่งตน
(Life Skills and
Personal Growth)
2) สมรรถนะหลกั - พฒั นาทกั ษะทำงาน การประกอบอาชีพ และการประกอบการโดยเฉพาะการปฏิบตั ิงาน
ดา้ นทักษะอาชีพและ การบริหารจดั การ และการจัดการด้านการเงนิ โดยใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทาง
การเป็น คณิตศาสตร์
ผปู้ ระกอบการ
(Career Skills and
Entrepreneurship)
3) สมรรถนะหลัก - วเิ คราะห์วิพากษแ์ ละประเมินขอ้ มูลทางคณิตศาสตรโ์ ดยเฉพาะข้อมูลทเ่ี ป็นจำนวนให้
สมรรถนะหลัก ด้านทกั ษะการคิดขัน้ เหตุผลตลอดจนสอ่ื สารความหมายทางคณิตศาสตร์ตามที่ตนเองมีความเข้าใจและให้
(Core Competencies)
สงู และนวตั กรรม ความเห็น
(Higher-order - ตดั สนิ ใจหาข้อสรปุ ทางคณติ ศาสตรบ์ นฐานของการเช่อื มโยงความรูต้ า่ งๆ
Thinking Skills ทางคณิตศาสตร์อย่างรอบด้าน
and Innovation - ระบุปญั หาทางคณติ ศาสตร์ทีพ่ บในชีวติ ประจำวันวิเคราะห์องค์ประกอบของปัญหาโดย
Development): ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์รวมถงึ หาวิธีการแกป้ ัญหาที่หลากหลายและเลือกวิธกี าร
HOTS Critical แกป้ ญั หาท่เี หมาะสมที่สุด
Thinking, Problem - ลงมอื แกป้ ัญหาด้วยตนเองอยา่ งเป็นข้ันตอนและเปน็ ระบบโดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์
Solving, Creative หรือความรูเ้ กีย่ วกบั สถติ แิ ละความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจลงมอื แก้ปญั หาในขน้ั ตอน
Thinking ต่างๆ
- ฝึกฝนใหม้ ีความยืดหยุ่นทางความคดิ มอง/คดิ และให้ความเหน็ ในปญั หาหรอื สถานการณ์
ท่ีเกย่ี วข้องกับคณติ ศาสตรท์ ี่หลากหลายแงม่ มุ โดยเฉพาะการพิจารณาปญั หาและการ
แก้ไขปญั หาทางคณติ ศาสตร์
- คดิ รเิ ริ่มวิธีการแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ในรูปแบบใหมๆ่ ส่ือสารและนำเสนอการส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจและนำเสนอความคิดนนั้ อย่างเป็น
รูปธรรม
4) สมรรถนะหลัก - ใชส้ ่อื สารสนเทศทพ่ี บเห็นในชีวติ ประจำวนั ในการเรยี นรู้การนำเสนอข้อมูลด้วย
ดา้ นการรู้เท่าทันสอื่ สญั ลกั ษณ์ รปู แบบทางคณิตศาสตร์ ทส่ี ามารถสร้างการรับรูท้ ี่แตกต่างกนั
สารสนเทศ และ - ใชห้ ลกั การความน่าจะเป็นเพอื่ หาวธิ ีการออกแบบรหสั ความลับสำหรับเข้าไปในโลก
ดิจทิ ลั ดจิ ิทลั เพื่อรักษาข้อมูลสว่ นตัว
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
51
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผู้เรยี น
สมรรถนะห ัลก 5) สมรรถนะหลัก - รับสารผ่านการอา่ น ดู เพื่อตคี วาม แปลความ ทำความเข้าใจ สัญลักษณ์ แผนภูมิ กราฟ
(Core Competencies) ด้านการส่ือสาร ทางคณิตศาสตร์
(Communication) - ส่งสารผา่ นการพดู เขียน เพ่ืออธิบายและนำเสนอ ขอ้ มลู จำนวน สญั ลักษณ์ แผนภมู ิ
กราฟ แบบจำลอง การคาดการณ์ วธิ กี ารคำนวณ กระบวนการและการแก้ปัญหาทาง
คณติ ศาสตร์ ให้สอดคล้องกบั บคุ คล กาลเทศะ
6) สมรรถนะหลกั ด้าน - ปฏบิ ตั ิงานร่วมกนั แบบรวมพลงั เพ่ือเรยี นรู้ และพฒั นาทักษะกระบวนการทาง
การทำงานแบบรวม คณิตศาสตร์และนำกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการทำงานรว่ มกัน
พลัง เปน็ ทีมและมี
ภาวะผนู้ ำ
(Collaboration,
Teamwork and
Leadership)
7) สมรรถนะหลัก - เรียนรู้ภาษาสัญลกั ษณ์และรูปแบบคณติ ศาสตร์ไดแ้ ก่กราฟแผนผังเพอ่ื เปน็ ฐานขอ้ มูล
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง และใชใ้ นการสื่อสารความคดิ รณรงค์หรอื สรา้ งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองการ
ตน่ื รู้ทม่ี สี ำนึกสากล ปกครอง รัฐศาสตร์ กฎหมาย
(Active Citizens
with Global
Mindedness)
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี น
1) สมรรถนะหลัก - ฟงั พูด อา่ นและเขียนคำศพั ท์ภาษาไทยทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับความรมู้ โนทัศน์ แนวคิด
ด้านภาษาไทยเพื่อ หลักการ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสื่อสาร (Thai - ใช้ภาษาไทยเพื่อนำเสนอและแลกเปลีย่ นแบ่งปันความคิดท่ีเก่ยี วกับความรู้ แนวคิด
Language for หลกั การ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการพฒั นากระบวนการประดษิ ฐ์คดิ ค้น
Communication)
2) สมรรถนะหลกั - ใช้ภาษาอังกฤษเก่ียวกบั ความรู้มโนทัศน์ แนวคดิ หลักการ และกระบวนการ
ดา้ นภาษาองั กฤษ ทางวทิ ยาศาสตร์
เพอ่ื การส่อื สาร - ใช้ภาษาอังกฤษเก่ียวกบั ขัน้ ตอน หรือกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
(English for - ใชภ้ าษาองั กฤษทีเ่ ปน็ เน้อื หาเกี่ยวกบั ความรู้มโนทัศน์ แนวคดิ หลักการ และ
Communication) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เปน็ ขอ้ ความหรือบทอ่านส้ันๆ
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
สมรรถนะ 52
แนวทางการพัฒนาผู้เรียน
- สบื คน้ ขอ้ มลู จากตำราหรืออินเทอร์เนต็ ท่ีเปน็ ภาษาอังกฤษเพ่ือการศึกษาความรู้
มโนทัศน์ แนวคดิ หลักการ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
- ใชส้ มรรถนะภาษาองั กฤษด้านการฟงั หรือการอ่าน และจดบนั ทกึ ย่อๆ เกีย่ วกบั
ความรมู้ โนทศั น์ แนวคิด หลักการ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
3) สมรรถนะหลัก - สรา้ งกฎเกณฑท์ างคณิตศาสตรว์ เิ คราะห์ตรวจสอบกระบวนการคณติ ศาสตร์
ดา้ นคณิตศาสตร์ใน วิธแี กป้ ญั หา และการไดม้ าของกฎเกณฑน์ ัน้ โดยใช้วิธกี ารให้เหตุผลเชงิ อปุ นัย
ชวี ติ ประจำวัน - ให้เหตุผลเชงิ นิรนยั หรือตรรกศาสตรเ์ พ่ือตรวจสอบ ขอ้ โต้แย้งในวชิ าวิทยาศาสตร์
(Mathematics in -สบื คน้ ผลกระทบของสมมติฐานในกระบวนการคณิตศาสตร์ วิธีแกป้ ัญหา หรือ
Everyday Life) การสรปุ
- อธิบาย เปรยี บเทยี บ แปลความหมายของแผนภมู ิรปู ภาพจากสือ่ ต่างๆ เพ่ือตอบ
ปญั หาในชวี ิตประจำวันของตนออกแบบแผนภมู ริ ูปภาพ หรอื ตารางโดยใช้เทคโนโลยี
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน 4) สมรรถนะหลกั ด้าน - ตง้ั คำถามสำคญั เก่ียวกับเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา วางแผนการสำรวจตรวจสอบตามความคดิ
(Competencies in Basic Literacy) การสืบสอบทาง ของตวั เองและของกล่มุ เลือกและใช้วัสดุอปุ กรณ์หรือเครือ่ งมอื ในการสำรวจตรวจสอบ
วทิ ยาศาสตร์และ เปรยี บเทยี บข้อมูล นำเสนอผลการจัดกระทำข้อมูล อธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบ
จิตวทิ ยาศาสตร์ ด้วยหลกั ฐานเชิงประจักษ์และสรปุ คำอธบิ ายดว้ ยแผนภาพประกอบข้อความ
(Scientific Inquiry - เรียนรธู้ รรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรม เร่ืองราวในธรรมชาติ
and Scientific เรือ่ งราวท่ีมีการเปล่ียนแปลงจากการกระทำของมนุษย์ รวมทง้ั เทคโนโลยี
Mind) ในสถานการณท์ เ่ี กยี่ วข้องกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน โดยมีหลกั ฐานสนับสนุนไดอ้ ย่าง
สมเหตุสมผล
- ออกแบบและสรา้ งแบบจำลองอย่างง่ายดว้ ยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
ใชแ้ บบจำลองเพ่ืออธบิ ายเร่ืองราวในธรรมชาติ
-แสดงความคดิ เหน็ สนับสนุนหรอื คัดค้านด้วยหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์อย่างมเี หตผุ ล
ตรวจสอบหลกั ฐานต่าง ๆ จากแหล่งที่มาให้เปน็ ทเี่ ช่ือถือ
- ระบุปญั หาและบรบิ ทของปัญหา ออกแบบตน้ แบบส่ิงประดิษฐ์ ดว้ ยการวาดภาพ
และสร้างตน้ แบบของวิธีการแก้ปัญหาทเ่ี ลือกไว้ ระบวุ สั ดอุ ุปกรณท์ เ่ี หมาะสมที่จะนำมา
สรา้ งตน้ แบบ และดำเนนิ การทดสอบต้นแบบ ปรบั ปรุง ออกแบบซำ้ เพือ่ ให้ต้นแบบที่
เหมาะสมทสี่ ดุ พร้อมทัง้ บนั ทึกผลการทดสอบ และอธิบายผลอย่างใชเ้ หตผุ ล
1) สมรรถนะหลัก -พัฒนาทักษะชีวิต การสร้างความสมดุลของชีวิต และสร้างสุขภาวะโดยใช้องค์ความรู้
ดา้ นทกั ษะชีวิตและ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ความเจรญิ แหง่ ตน
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
53
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี น
(Life Skills and - เรียนรู้การแก้ปัญหา การจัดการและดำเนนิ ชีวติ ให้พอดี มีความสมดุลด้วยหลกั เหตุผล
Personal Growth) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2) สมรรถนะหลกั - พฒั นาทกั ษะทำงาน การประกอบอาชีพ และการประกอบการโดยใช้องค์ความรู้
ดา้ นทกั ษะอาชีพและ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และหลกั เหตผุ ล
การเป็น - สร้างนวัตกรรมและกระบวนการสรา้ งผลิตภณั ฑ์เชิงสร้างสรรคใ์ นการประกอบการโดย
ผู้ประกอบการ ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการใชเ้ ทคโนโลยี
(Career Skills and
Entrepreneurship)
3) สมรรถนะหลกั - วิเคราะห์วพิ ากษ์ประเมนิ ขอ้ มลู และเหตผุ ลด้วยการสบื เสาะหาความรู้ท่หี ลากหลาย
ด้านทกั ษะการคดิ ข้ัน - ระบุปญั หาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอย่างเปน็ เหตุเปน็ ผลผ่านการสบื สอบความรทู้ ่ี
สูงและนวัตกรรม หลากหลายเพื่อนำไปสู่การหาวธิ ีการแก้ปญั หาผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
สมรรถนะหลัก (Higher-order เลอื กวิธีการแก้ปัญหาท่ีมีความเหมาะสมที่สดุ
(Core Competencies)
Thinking Skills and - ตดั สินใจเรื่องต่างๆบนฐานข้อมูลเหตผุ ลหลกั ฐานอย่างรอบด้านและเหมาะสมกับ
Innovation บรบิ ทผา่ นการสืบสอบหาความรู้ทีห่ ลากหลายผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Development) - ใชค้ วามร้แู ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาต่างๆด้วยตนเองอย่างเปน็
: HOTS Critical ข้ันตอนและเป็นระบบ
Thinking, Problem - มีความยดื หยุ่นทางความคิดมอง/คิด และให้ความเห็นในการแกป้ ัญหาต่างๆท่ี
Solving, Creative หลากหลายแง่มมุ ผา่ นการสบื สอบหาความรทู้ ่ีหลากหลายและผา่ นการใชค้ วามรู้และ
Thinking กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- คดิ รเิ ร่ิมส่งิ ใหมๆ่ ทแ่ี ตกต่างจากเดิมดว้ ยการใช้ความรูแ้ ละกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรโ์ ดยอธิบายความคดิ ทเ่ี ปน็ ส่ิงใหมแ่ ละขยายผลตอ่ ยอดความคิดนน้ั ให้เปน็
รปู ธรรม
4) สมรรถนะหลัก - ใชเ้ ครอ่ื งมือ โปรแกรมหรือแอบพลเิ คชันชว่ ยในการพฒั นาทกั ษะกระบวนการทาง
ด้านการรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสร้างนวัตกรรม
สารสนเทศ และ
ดิจิทัล (Media,
Information and
Digital Literacy:
MIDL)
5) สมรรถนะหลัก - รับสารผา่ นการอา่ น ดู ฟงั ในการสืบคน้ ข้อมูลท่เี กย่ี วข้องทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้
ด้านการสือ่ สาร แหล่งข้อมูลอ้างอิงทีน่ ่าเชอ่ื ถือ วเิ คราะห์ ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ของขอ้ มูล
(Communication)
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
54
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี น
- ส่งสารผา่ นการพดู เขียน โดยใช้ทงั้ ขอ้ ความ สญั ลักษณ์ แบบจำลอง เพ่ือ อธบิ าย
นำเสนอ อภิปราย หลักการ แนวคดิ ขอ้ มูล ผลการทดลอง ผลการสืบคน้ กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ด้วยกลวิธีท่ีเหมาะสม
- สง่ สารผา่ นการพดู เขียน เพื่อแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ อย่างอิสระ สรปุ สิง่ ท่ีท่ไี ด้เรยี นรู้
บันทกึ ผลทง้ั การทดลองและการสบื ค้น
6) สมรรถนะหลักด้าน - ปฏบิ ตั งิ านร่วมกนั แบบรวมพลงั เพื่อเรยี นรู้ และพฒั นาทักษะกระบวนการทาง
สมรรถนะห ัลก การทำงานแบบรวม วิทยาศาสตรแ์ ละนำหลักเหตุผลมาใช้
(Core Competencies)
พลงั เป็นทีม และมี - ปฏบิ ัติงานรว่ มกัน ส่งเสรมิ และแลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหว่างกนั โดยใช้เทคโนโลยีอย่าง
ภาวะผ้นู ำ รเู้ ทา่ ทนั
(Collaboration,
Teamwork and
Leadership)
7) สมรรถนะหลัก - ใช้กระบวนการสืบสอบทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มหรือสร้าง
ดา้ นการเปน็ พลเมอื ง การเปลยี่ นแปลง
ตน่ื รูท้ ม่ี สี ำนึกสากล - ใช้ความรเู้ กี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ ม ปรากฏการณธ์ รรมชาติ เพ่ือเสนอแนวทางการใช้
(Active Citizens สงิ่ แวดลอ้ มอย่างรคู้ ุณค่าและรกั ษาให้เกดิ ความย่ังยืน
with Global
Mindedness)
กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผเู้ รียน
1) สมรรถนะหลัก - ฟงั พูด อา่ นและเขียน คำศัพทภ์ าษาไทยทเี่ ก่ียวขอ้ งกับ ข้อมลู หลกั การ แนวคดิ มโน
ด้านภาษาไทยเพื่อ ทศั น์ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั สงั คม ศาสนา และวัฒนธรรม
การสอ่ื สาร (Thai - ใช้ภาษาไทยถ่ายทอดความคิดหรอื สนบั สนนุ จดุ ยนื ทางความคิดของตนในประเดน็ ท่ี
Language for เกีย่ วข้อง กับสังคม ศาสนา และวฒั นธรรมด้วยทีท่าท่ีเหมาะสม
Communication) - ใชภ้ าษาไทยในการสนทนาโตแ้ ยง้ นำเสนอความคดิ ทส่ี รา้ งสรรคแ์ ลกเปล่ยี นแบง่ ปัน
ความคิดมุมมองในหัวข้อ/หัวเร่ืองประเดน็ ต่าง ๆ เก่ยี วกบั สงั คม ท้องถ่นิ ศาสนา และ
วัฒนธรรมหรือระเบยี บแบบแผนตา่ ง ๆโดยคำนึงถึงความเหมาะสมกบั มุมมองทศั นคติ
ของกล่มุ ผู้ชม/ผูฟ้ ังและบริบท
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
55
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รียน
- ใชภ้ าษาไทยในการเรียนรู้เร่ืองราวเร่อื งเล่ารายละเอียดรายงานรายการคำอธิบาย
โต้แยง้ ภาพประกอบตารางแผนท่แี ผนภูมิตารางรูปถ่ายรวมทัง้ ภาพจากระยะไกลภาพ
จากดาวเทียมและภาพเสมือนจรงิ
- ใชภ้ าษาไทยท้งั วจั นภาษาและอวจั ภาษาทางสังคมศาสตร์ ในการนำเสนอแนวคดิ
หลักการ มโนทัศน์ ทางสงั คม ศาสนาและวฒั นธรรม
2) สมรรถนะหลัก - ใชภ้ าษาองั กฤษที่เกีย่ วข้องกับประวัติศาสตรภ์ มู ิศาสตร์พลเมืองและการเปน็ พลเมือง
ดา้ นภาษาองั กฤษ เศรษฐศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม
เพอ่ื การส่อื สาร - ใชภ้ าษาอังกฤษเกี่ยวกบั ลำดับช่วงเวลา/ขัน้ ตอนท่เี กี่ยวข้องกับประวตั ิศาสตร์
(English for ภมู ศิ าสตร์ พลเมืองและการเป็นพลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม
Communication) - ใช้ภาษาอังกฤษทเ่ี ปน็ เน้ือหาเกยี่ วกบั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์ภูมศิ าสตร์พลเมือง
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน และการเป็นพลเมือง เศรษฐศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมเปน็ ขอ้ ความหรือบทอา่ น
(Competencies in Basic Literacy)
ส้ันๆ
- สืบค้นขอ้ มลู จากตำราหรืออินเทอร์เนต็ ที่เปน็ ภาษาอังกฤษเพ่ือการศึกษาความรู้
เกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ พลเมอื ง และการเปน็ พลเมอื งเศรษฐศาสตร์ ศาสนา
และวัฒนธรรม
- ใชส้ มรรถนะภาษาองั กฤษด้านการฟังหรืออา่ นและจดบันทึกย่อเก่ยี วกับประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์ พลเมืองและการเป็นพลเมอื ง เศรษฐศาสตร์ ศาสนา และวฒั นธรรม
3) สมรรถนะหลัก - ใชแ้ นวคดิ และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ในการอธบิ าย แนวโนม้ แบบรปู และ
ด้านคณติ ศาสตร์ใน แก้ปัญหาทีเ่ กิดข้ึนจรงิ ในสงั คม ชมุ ชน ท้องถน่ิ
ชวี ิตประจำวนั - ใชแ้ นวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรใ์ นการตัดสินใจแกป้ ญั หา หรือ
(Mathematics in การเปล่ียนแปลงในชุมชน
Everyday Life) - เรียนรแู้ นวคิดทางคณติ ศาสตรแ์ ละสร้างความคดิ รวบยอด ผ่านเนอ้ื หา สาระเกย่ี วกับ
สงั คมศึกษา ศาสนา วฒั นธรรมและบริบท
4) สมรรถนะหลัก - สืบสอบความรู้ มโนทศั นด์ ้านสังคม ศาสนา และวฒั นธรรม จากเรือ่ งราว บริบท
ด้านการสบื สอบทาง รอบตัว แหล่งส่ือตา่ ง ๆ และดิจิทลั หลักฐานเชงิ ประจักษ์
วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
จติ วิทยาศาสตร์
(Scientific Inquiry
and Scientific Mind)
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
56
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผเู้ รียน
1) สมรรถนะหลัก - แก้ปญั หาในชวี ติ ปรับตวั ต่อสภาพความเปลย่ี นแปลง และดำเนินชวี ิตใหพ้ อดี
ด้านทกั ษะชีวติ และ มคี วามสมดลุ ทุกดา้ น โดยการน้อมนำหลักศาสนาทย่ี ดึ ถือมาใช้
ความเจริญแห่งตน - ปฏบิ ัติตนเป็นส่วนหนึ่งของสังคม วางตนได้เหมาะสมกับบทบาทและหน้าทขี่ องตน
(Life Skills and ทมี่ ีตอ่ ครอบครัวและสงั คม
Personal Growth) - ช่นื ชมความงามของและศิลปวัฒนธรรม มีส่วนร่วมในกจิ กรรม และรว่ มสบื ทอด
ส่งตอ่ ทะนบุ ำรงุ รกั ษาให้ดำรงสบื ไป
2) สมรรถนะหลัก - เรียนรกู้ ารเป็นผู้ประกอบการท่มี ีคณุ ธรรม รบั ผดิ ชอบต่อสังคมพรอ้ มเก้ือกูลสังคม
ดา้ นทักษะอาชีพและ และมจี รรยาบรรณ
การเป็น - พัฒนาอาชีพ และการประกอบการแบบใหม่ โดยใชบ้ ริบททางสังคม และทนุ ทาง
ผู้ประกอบการ วฒั นธรรม
(Career Skills and
สมรรถนะหลัก Entrepreneurship)
(Core Competencies)
3) สมรรถนะหลกั - วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ และประเมนิ ข้อมูลและเหตผุ ลสรปุ และใหค้ วามเห็นทน่ี ำไปสู่การอยู่
ด้านทักษะการคิดขนั้ ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสนั ตสิ ขุ
สงู และนวตั กรรม - ฝึกฝนตัดสนิ ใจเก่ยี วกับการอยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยและสงั คมโลกอย่างสันตสิ ขุ บน
(Higher-order ฐานขอ้ มลู เหตผุ ลและหลักฐานอยา่ งหลากหลายเหมาะสมกับบริบททางวฒั นธรรม
Thinking Skills and - ระบปุ ญั หาทางสังคมหรอื สง่ิ แวดล้อมวเิ คราะหส์ าเหตขุ องปัญหาหาวธิ ีการแกป้ ญั หา
Innovation และเลือกวิธกี ารแก้ปัญหาท่ีเหมาะสมท่ีสุดโดยท่ีไม่สง่ ผลใดๆตอ่ ความสันตสิ ุขใน
Development) สงั คมไทยและสังคมโลก
: HOTS Critical - ลงมือแก้ปัญหาทางสังคมหรือสิ่งแวดล้อมดว้ ยตนเองอย่างเปน็ ข้ันตอนและเป็นระบบ
Thinking, Problem ดว้ ยสำนกึ ของการเปน็ พลเมืองดี
Solving, Creative - มคี วามยืดหยุ่นทางความคิด มอง/คิด และให้ความเห็นในเรอื่ งตา่ งๆที่เป็นประเด็นทาง
Thinking สงั คมวฒั นธรรมและสิง่ แวดล้อม เปดิ ใจยอมรบั ความแตกต่างทางสังคมวัฒนธรรมท่มี ี
แงม่ ุมทห่ี ลากหลาย
- คดิ รเิ รมิ่ สงิ่ ใหม่ ๆ แบบแผนการดำรงชีวติ ในสงั คมรปู แบบใหม่ ๆ ท่แี ตกต่างจากเดิม
และเหมาะสมกับบรบิ ททางสังคมทีเ่ ปล่ียนแปลงไป โดยอธิบายความคิดหรือแบบแผน
การดำรงชวี ิตรปู แบบใหมน่ ้นั
4) สมรรถนะหลัก - เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจแนวคิดของสทิ ธิเสรภี าพในการนำเสนอข่าวสารในโลกออนไลน์
ดา้ นการรเู้ ท่าทนั ส่ือ - ศกึ ษาและเรยี นรู้กลไกของการละเมิดสิทธิในโลกไซเบอร์ (Cyber Bullying) และ
สารสนเทศ และ แสวงหาวิธปี ้องกันแก้ไข
ดิจิทลั
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
57
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี น
สมรรถนะหลัก 5) สมรรถนะหลัก - รับสารผ่านการอา่ น ฟงั ดู เพอ่ื นำข้อมูล มาใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกบั
(Core Competencies) ดา้ นการส่ือสาร สงั คม วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต ศาสนา
(Communication) - ส่งสารผ่านการ พดู เขยี น เพื่ออธิบาย นำเสนอ ข้อมูล มโนทศั น์ หลักการ แนวคิด
แนวทาง กระบวนการทเ่ี กยี่ วข้องกับสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ในรปู แบบที่
6) สมรรถนะหลกั หลากหลายและเหมาะสมกับกาลเทศะ
ดา้ นการทำงานแบบ - แลกเปลีย่ นสารดว้ ยการพดู เขยี น เพื่ออภิปรายความรู้ ความคิดเหน็ เก่ียวกับ ข้อมลู
รวมพลัง เป็นทีม มโนทศั น์ หลักการ แนวคิด ท่ีเก่ียวขอ้ งกับ สังคม ศาสนา และวฒั นธรรม โดยคำนึงถงึ
และมีภาวะผู้นำ ความเหมาะสม และการเปน็ ท้ังผู้รบั ข้อมลู และผูน้ ำเสนอท่ีดี
(Collaboration, - เขียน เพอื่ บันทกึ รายการต่าง ๆ ทางเศรษฐศาสตร์
Teamwork and - อยรู่ ว่ มกนั และมสี ่วนร่วมทำงานแบบรวมพลงั ตามบทบาทเพื่อบรรลุเปา้ หมายท่ี
Leadership) กำหนดร่วมกัน
- สรา้ งความเป็นผู้นำที่สามารถแกป้ ัญหาและใช้มนุษยสมั พันธ์ที่ดเี พื่อชีแ้ นะแนวทางให้
7) สมรรถนะหลัก ไปส่เู ปา้ หมายสร้างแรงบันดาลใจใหผ้ ู้อืน่ ได้พฒั นาตนเองและนำจุดเดน่ ของแตล่ ะคน
ดา้ นการเปน็ พลเมือง เพือ่ ให้บรรลผุ ลสำเร็จร่วมกันท้ังการเรียนรู้เกย่ี วกับสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ต่ืนรทู้ มี่ สี ำนกึ สากล และการพัฒนาชุมชน สังคม ทอ้ งถนิ่
(Active Citizens - ปฏบิ ัตติ นในฐานะสมาชิกท่ีดขี องสังคม/ชุมชน ไว้วางใจเปดิ ใจ รับฟงั ความคดิ เหน็
with Global มุมมองและเคารพความคิดเห็นที่แตกตา่ งอยา่ งเตม็ ใจ
Mindedness) - สนบั สนุน แบง่ ปนั แลกเปลย่ี นความรู้ และความคิด ใส่ใจในการประสานความคิด
ประนปี ระนอม เสนอทางเลือกและแนวปฏิบตั ิที่ทกุ ฝา่ ยยอมรับ
- สรา้ งและรักษาความสัมพนั ธ์ทางบวกกับสมาชิกในสังคม
- น้อมนำหลกั ธรรมทีน่ บั ถอื มาใช้เพื่อให้อยรู่ ่วมกนั ด้วยความสนั ตสิ ขุ
- เคารพความคิด ความเช่ือ และการปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาทน่ี บั ถือ
- ใชป้ ระเด็นทางสงั คม (Controversial issue) ในการอภปิ รายสานเสวนา (Dialogue)
การแลกเปลีย่ นความคิดเห็นอย่างเป็นเหตุเป็นผล
- ศกึ ษาเรียนรู้เกีย่ วกับนโยบายสาธารณะ (Public policy) เพอื่ นำเสนอทางเลอื กใหม่
หรอื สง่ เสรมิ ใหม้ ีการบงั คับใชใ้ หเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทน่ี ำไปสู่สงั คมทีเ่ ทา่ เทยี มและเป็น
ธรรม
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
58
กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผู้เรยี น
1) สมรรถนะหลักดา้ น - ฟงั พดู อา่ นและเขียนคำศพั ท์ภาษาไทย ที่เกี่ยวข้องกบั การสร้างสขุ ภาวะและส่งเสริม
ภาษาไทยเพ่อื การ สขุ ภาพ ท้ังทางอารมณส์ ตปิ ญั ญารา่ งกายสงั คมและจิตวิญญาณ
ส่อื สาร (Thai - ใชภ้ าษาไทยในการแลกเปลี่ยนความคิดเพ่ือหาแนวทางในการสร้างสุขภาวะและ
Language for ส่งเสริมสุขภาพ
Communication) - ใช้ภาษาไทยทง้ั ทีเ่ ปน็ คำพดู และภาษาทา่ ทางในการส่ือสาร สร้างความสัมพันธ์ และ
ลดความขดั แย้ง
- ใชภ้ าษาไทยถ่ายทอดความคิด ความต้องการ ความรูส้ กึ อารมณ์และความคดิ ของตน
2) สมรรถนะหลกั - ใชภ้ าษาอังกฤษเก่ียวกับคำสำคญั หรอื นยิ ามคำสำคัญเก่ียวกบั สขุ ภาพพลานามยั
สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน ด้านภาษาอังกฤษเพ่ือ - ใชภ้ าษาองั กฤษเก่ียวกับขั้นตอน หรือการดำเนินการเก่ียวกับสขุ ภาพพลานามยั
(Competencies in Basic Literacy)
การสอื่ สาร - ใชภ้ าษาองั กฤษที่เปน็ เนอ้ื หาเกีย่ วกับสุขภาพพลานามยั เป็นข้อความหรือบทอ่านส้ันๆ
(English for - สบื คน้ ขอ้ มลู จากตำราหรอื อินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษาองั กฤษเพือ่ การศึกษาความรู้
Communication) เก่ียวกบั สุขภาพพลานามัย
- ใชส้ มรรถนะภาษาอังกฤษด้านการฟัง หรืออ่าน และจดบันทกึ ย่อๆ เกีย่ วกับสขุ ภาพ
พลานามัย
3) สมรรถนะหลัก - ใชแ้ นวคิด และความคิดรวบยอดทางคณติ ศาสตร์ในการกำหนดเป้าหมาย การสรา้ ง
ด้านคณติ ศาสตร์ใน สขุ ภาวะและส่งเสรมิ สขุ ภาพ ทั้ง ทางอารมณส์ ตปิ ัญญา ร่างกาย สงั คมและจติ วญิ ญาณ
ชีวิตประจำวัน
(Mathematics in
Everyday Life)
4) สมรรถนะหลกั - สืบสอบความรดู้ ้วยหลักฐานสนบั สนุนเชงิ ประจกั ษเ์ ร่ืองราวเกย่ี วกบั สุขภาวะทง้ั ด้าน
ดา้ นการสบื สอบทาง สุขภาพกายและสุขภาพจิต
วิทยาศาสตร์และ - สรา้ งผลติ ภณั ฑ์ทีเ่ กย่ี วข้องกับสขุ ภาวะด้วยองค์ความรู้ และกระบวนการทาง
จิตวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
(Scientific Inquiry
and Scientific Mind)
สมรรถนะห ัลก 1) สมรรถนะหลัก - เรยี นรู้ พัฒนาทักษะ และเจตคตใิ นการสรา้ งสขุ ภาวะและส่งเสริมสขุ ภาพ ท้งั ทาง
(Core Competencies) ด้านทกั ษะชวี ติ และ อารมณ์ สตปิ ญั ญา รา่ งกาย สังคม และจิตวิญญาณของตนเองและผู้อ่ืน
ความเจริญแหง่ ตน - เรยี นรู้ พฒั นาทักษะ และเจตคตใิ นการปอ้ งกันภัย โรคต่าง ๆ และการปฏิบตั ติ นใหม้ ี
(Life Skills and สุขภาวะ
Personal Growth)
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
59
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี น
2) สมรรถนะหลัก - เรยี นรู้เกีย่ วกับ โรคภยั ทเ่ี กิดจากการทำงาน การประกอบอาชีพ และ
ดา้ นทกั ษะอาชีพและ การประกอบการ
การเป็น - วางแผน ปฏบิ ัตกิ ารป้องกันภัย โรคต่าง ๆ และการปฏบิ ัติตนให้มีสขุ ภาวะใน
ผูป้ ระกอบการ การทำงาน การประกอบอาชีพ และการประกอบการ
(Career Skills and - วางแผน ปฏิบตั ิการฝกึ ฝนสร้างอาชพี และการประกอบการท่เี กี่ยวกับการสร้างสขุ
Entrepreneurship) ภาวะและส่งเสรมิ สขุ ภาพ ทงั้ ทางอารมณ์ สตปิ ัญญา ร่างกาย สงั คม และจติ วญิ ญาณ
3) สมรรถนะหลกั - ตดั สนิ ใจเร่ืองตา่ งๆเกี่ยวกับสุขภาพพลานามัยของตนเองและบุคคลรอบตวั
ด้านทกั ษะการคดิ ขนั้ บนฐานขอ้ มูล เหตผุ ล และหลักฐานท่สี ืบคน้ ดว้ ยการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งรอบดา้ นและ
สงู และนวตั กรรม เหมาะสมกบั บริบททางสังคมไทย
(Higher-order - วเิ คราะห์ วิพากษ์ และประเมนิ ขอ้ มูลและเหตุผลสรุป และใหค้ วามเห็นในเรอื่ งที่
Thinking Skills and เกี่ยวขอ้ งกับสุขภาพพลานามัยของตนเองและบุคคลรอบตัว
Innovation - ระบปุ ัญหาท่เี กิดข้ึนเกี่ยวกับสขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและบุคคลรอบตัว วเิ คราะห์
Development) สาเหตขุ องปัญหา หาวธิ กี ารแก้ปญั หา และเลือกวิธีการแก้ปัญหาทเี่ หมาะสมท่สี ดุ
สมรรถนะหลัก : HOTS Critical - ลงมือวางแผนในการปอ้ งกันหรอื แกป้ ญั หาทีเ่ กิดขนึ้ เกี่ยวกับสขุ ภาพพลานามัยของ
(Core Competencies)
Thinking, Problem ตนเองและบคุ คลรอบตัวดว้ ยตนเองอย่างเป็นข้นั ตอนและเปน็ ระบบ
Solving, Creative - มคี วามยืดหยุ่นทางความคิดมอง/คิดและให้ความเห็นเกย่ี วกับการป้องกันและ
Thinking การดแู ลรักษาสุขภาพพลานามยั ของตนเองและบุคคลรอบตัวด้วยแง่มุมทห่ี ลากหลาย
- คดิ รเิ รม่ิ ส่ิงใหมๆ่ เก่ยี วกบั การป้องกนั การดูแลรกั ษาและส่งเสรมิ สุขภาพพลานามยั ของ
ตนเองและบุคคลรอบตวั ท่แี ตกตา่ งจากเดมิ
4) สมรรถนะหลกั ด้าน - จดั การเวลาในการใชส้ ื่อเพ่ือใหเ้ กดิ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพและการพักผ่อน
การรูเ้ ท่าทันสอื่ - ศึกษาและวเิ คราะหผ์ ลติ ภัณฑด์ ้านสขุ ภาพโฆษณาและสื่อออนไลน์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อ
สารสนเทศ และดิจทิ ลั สขุ ภาพ
(Media, Information
and Digital Literacy:
MIDL)
5) สมรรถนะหลักด้าน - รบั สารผ่านการอ่าน ฟัง ดู เพ่ือรบั ข้อมลู ในการวิเคราะห์เก่ียวกับ การดำรงชีวติ
การส่อื สาร การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและการพัฒนาคุณภาพชวี ติ
(Communication) - รบั สารผา่ นอ่าน ฟงั ดู เพื่อทำความเข้าใจในกฎ กติกา ข้อตกลงในการเสรมิ สร้าง
สขุ ภาพทางร่างกาย
- สง่ สารผา่ นพูด เขียน เพ่ือ อธิบาย นำเสนอ ข้อมลู แนวคิด หลักการ มโนทัศน์
กิจกรรมเกีย่ วกบั การดำรงชวี ิต การสรา้ งเสรมิ สุขภาพและการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
ทัง้ รา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม สตปิ ัญญา
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
60
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี น
6) สมรรถนะหลกั ด้าน - ปฏิบตั ิงานร่วมกนั ในการป้องกนั ภัย โรคต่าง ๆ ของตน และผอู้ น่ื
การทำงานแบบรวม -เปน็ ผ้นู ำ และ/หรอื รว่ มกันสร้างสภาพปลอดโรค ปลอดภัย และสรา้ งส่ิงแวดลอ้ มที่
พลงั เป็นทมี และมี สง่ เสรมิ สขุ ภาวะของคนในชุมชน
ภาวะผู้นำ
สมรรถนะห ัลก (Collaboration,
(Core Competencies)
Teamwork and
Leadership)
7) สมรรถนะหลักดา้ น - ใช้ความร้เู กยี่ วกบั สขุ ภาพอนามยั เพื่อนำเสนอไปสู่การปฏิบัติและยกระดบั ไปสู่
การเปน็ พลเมืองตื่นรู้ การเปลย่ี นแปลงในครอบครวั ชมุ ชน และสังคม
ทม่ี สี ำนกึ สากล - นำระบบประกันสุขภาพไปใช้ในฐานะทเ่ี ป็นกลไกพัฒนาคุณภาพทางกายและจติ ใจ
(Active Citizens ของประชาชน
with Global
Mindedness)
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผู้เรียน
(Competencies in Basic Literacy) 1) สมรรถนะหลักดา้ น - เรยี นรคู้ ำศัพท์เฉพาะภาษาไทยในวิชาศลิ ปะ และใช้คำศัพท์นำเสนอความคิดและ
ภาษาไทยเพ่ือ จนิ ตนาการผลงานศลิ ปะประเภทตา่ ง ๆ
การสอ่ื สาร (Thai - ใช้ภาษาไทยในการพดู เขยี นเพ่อื แลกเปลย่ี นแบ่งปันความคิดและจินตนาการผ่าน
Language for ดนตรีการเตน้ รำและระบำ การละคร หรือทัศนศิลป์
Communication) - ใชภ้ าษาไทยในการสร้างสรรคต์ ีความผลงาน (representations) ทางศลิ ปะ
เพอ่ื การเข้าใจหรือการถ่ายทอด/แสดงออกถงึ ความคดิ และจินตนาการ
2) สมรรถนะหลกั ด้าน - ใช้ภาษาองั กฤษเกี่ยวกับคำศัพท์เฉพาะในวชิ าศลิ ปะ และใชค้ ำศัพท์นำเสนอความคิด
ภาษาองั กฤษเพ่ือ และจินตนาการผลงานศลิ ปะประเภทตา่ ง ๆ
การสอื่ สาร (English - ใชภ้ าษาองั กฤษเก่ียวกับขนั้ ตอน หรือการดำเนินการเกย่ี วกบั การสร้างงานศิลปะ
for ประเภทต่าง ๆ
Communication) - ใช้ภาษาอังกฤษที่เป็นเนอ้ื หาในวชิ าศลิ ปะ และการนำเสนอความคดิ และจนิ ตนาการ
ผลงานศิลปะประเภทตา่ ง ๆ เปน็ ขอ้ ความหรอื บทอา่ นสน้ั ๆ
- สืบค้นขอ้ มูลจากตำราหรืออินเทอรเ์ นต็ ท่ีเปน็ ภาษาอังกฤษเพ่ือการศึกษาความรู้
เกี่ยวกับคำศพั ท์เฉพาะในวิชาศิลปะ และใชค้ ำศัพทน์ ำเสนอความคดิ และจนิ ตนาการ
ผลงานศิลปะประเภทตา่ ง ๆ
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
61
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผู้เรยี น
- ใช้สมรรถนะภาษาอังกฤษด้านการฟัง หรืออา่ น และจดบันทกึ ยอ่ ๆ เกยี่ วกบั คำศัพท์
เฉพาะในวชิ าศลิ ปะ และใชค้ ำศพั ทน์ ำเสนอความคดิ และจนิ ตนาการผลงานศิลปะ
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ืพ้นฐาน ประเภทต่าง ๆ
(Competencies in Basic Literacy)
3) สมรรถนะหลักดา้ น - ใชแ้ นวคิด และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรส์ ญั ลักษณ์ หลกั คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ใน รปู ทรงเรขาคณติ ในการออกแบบงานศิลปะต่าง ๆ
ชีวิตประจำวนั
(Mathematics in
Everyday Life)
4) สมรรถนะหลักด้าน - สบื สอบความรแู้ ละมโนทัศน์เก่ียวกับทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ ด้วยหลักฐาน
การสบื สอบทาง เชิงประจกั ษ์
วิทยาศาสตร์และ - สรา้ งสรรค์ผลิตภณั ฑ์ วิธีการใหมใ่ นทัศนศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศิลปด์ ้วยกระบวนการ
จิตวิทยาศาสตร์ สรา้ งงานเชงิ นวตั กรรม และสามารถแสดงเหตผุ ลและวธิ ีการในการปรับปรงุ งานของ
(Scientific Inquiry ตนเอง
and Scientific Mind) - ให้เหตุผลเพ่ือสนบั สนุนหรือถกเถยี งในคุณค่าของความงามสกู่ ารตัดสนิ ในการ
ประเมิน
1) สมรรถนะหลกั ด้าน - รบั รู้ และช่นื ชมความงามของศลิ ปวัฒนธรรม
ทกั ษะชีวติ และความ - พฒั นาสนุ ทรียภาพของตนและผู้อ่นื ผ่านการสร้างงานศลิ ปะ
เจริญแหง่ ตน (Life
Skills and Personal
Growth)
สมรรถนะหลัก 2) สมรรถนะหลกั ด้าน - ส่งเสรมิ การทำงาน การประกอบอาชีพ และการประกอบการโดยใชห้ ลกั การทาง
(Core Competencies)
ทักษะอาชพี และการ ศิลปะ สนุ ทรียะความงดงามของธรรมชาติ และศิลปวฒั นธรรมมาเพิ่มมลู ค่าใน
เป็นผู้ประกอบการ ผลติ ภัณฑ์
(Career Skills and
Entrepreneurship)
3) สมรรถนะหลกั ด้าน - วเิ คราะหว์ พิ ากษ์และประเมินขอ้ มลู และเหตุผลสรปุ และใหค้ วามเห็นทเี่ ก่ียวข้องกับ
ทกั ษะการคิดขัน้ สงู งานศิลปะและสุนทรียภาพ
และนวัตกรรม - ฝกึ ฝนตดั สินใจเกย่ี วกับศลิ ปะและสนุ ทรยี ภาพบนฐานข้อมูลเหตุผลและหลกั ฐานท่ี
(Higher-order สืบคน้ ดว้ ยการใช้เทคโนโลยอี ย่างรอบด้านและเหมาะสมกบั บริบททางสงั คมไทย
Thinking - ระบปุ ระเดน็ ปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้นที่เกี่ยวข้องกบั งานศิลปะและสุนทรียภาพวเิ คราะห์
สาเหตุของปัญหาหาวธิ กี ารแก้ปัญหาและเลือกวิธกี ารแก้ปัญหาที่เหมาะสมทสี่ ดุ
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
62
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผ้เู รยี น
Skills and - ลงมือวางแผนในการแก้ปัญหาทเี่ กิดขน้ึ ท่เี กย่ี วข้องกบั งานศลิ ปะและสนุ ทรียภาพดว้ ย
Innovation ตนเองอยา่ งเปน็ ขั้นตอนและเปน็ ระบบ
Development) - มีความยดื หยุน่ ทางความคดิ มอง/คดิ และใหค้ วามเหน็ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับงานศิลปะและ
: HOTS Critical สุนทรยี ภาพด้วยแงม่ มุ ทห่ี ลากหลาย
Thinking, Problem -คิดรเิ รมิ่ ส่ิงใหม่ๆท่ีเก่ยี วข้องกับงานศลิ ปะและสุนทรียภาพที่แตกตา่ งจากเดิม
Solving, Creative
Thinking
4) สมรรถนะหลกั ด้าน - ศึกษาองคป์ ระกอบทางศิลปะท่ใี ชใ้ นส่ือทมี่ ผี ลต่ออารมณ์และความร้สู กึ ของผู้รบั สาร
การร้เู ท่าทันส่ือ - ใช้ความรูเ้ ก่ียวกับการประกอบสร้าง (Construct) ของสอื่ มานำเสนอด้วยรูปแบบ
สารสนเทศ และดิจทิ ัล ของศิลปะตา่ ง ๆ เพื่อสื่อสารความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั การรู้เทา่ ทนั สอื่
(Media, Information
and Digital Literacy:
MIDL)
5) สมรรถนะหลักด้าน - รับสารผา่ นการดู ฟัง งานทางทัศนศลิ ป์ ดนตรี และนาฎศลิ ป์ อย่างตง้ั อกตั้งใจ
การส่ือสาร มีวจิ ารณญาณ เพอ่ื เปรยี บเทียบ วิเคราะหค์ ณุ ค่าความงานทางศลิ ปะ
สมรรถนะหลัก (Communication) - ส่งสารผ่านการพูด เขยี น เพื่อนำเสนอ ข้อมูล ท่ีมา หลักการ แนวคดิ องค์ประกอบ
(Core Competencies)
ทางดา้ นทัศนศลิ ป์ ดนตรี และนาฎศลิ ป์
- ส่งสารผา่ นพูด เขยี น เพ่ือแสดงความคดิ เห็น วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณค่าเกีย่ วกับงาน
ทศั นศิลป์ ดนตรี และ นาฏศลิ ป์ ให้เหมาะสมกบั บคุ คล กาลเทศะ และเลอื กใชข้ ้อมูล
ท่ีมคี วามน่าเช่ือถือในการสนับสนุน
- แลกเปลีย่ น ผ่านการพดู เขียน เพอ่ื อภิปราย เกี่ยวกับ งานทศั นศลิ ป์ ดนตรี และ
นาฏศลิ ป์ โดยคำนงึ ถงึ บทสนทนาและอารมณค์ วามรู้สึกในการสื่อสารเพ่ือสร้าง
บรรยากาศท่ีดรี ะหวา่ งการสนทนาได้
6) สมรรถนะหลกั ด้าน - ปฏบิ ัติงานรว่ มกนั ในการสร้างสรรค์งานศลิ ปะ
การทำงานแบบรวมพลัง - ใชง้ านศิลปะในการเรียนร้แู นวคิดการอยู่รวมกนั แบบรวมพลงั และการสร้าง
เปน็ ทีม ความสมั พันธท์ ่ีดี
และมีภาวะผูน้ ำ
7) สมรรถนะหลักดา้ น - ใช้รูปแบบทางศิลปะ ดนตรี การแสดง ละคร เป็นเคร่อื งมือในการสื่อสารความคดิ
การเป็นพลเมืองตน่ื รู้ ท่ี ความเขา้ ใจเชิงการเมือง
มสี ำนกึ สากล - เช่อื มโยงสมั พันธ์งานศลิ ปะของศลิ ปนิ /บุคคลในระดับชาติ อาเซยี น และโลก ใน
ฐานะท่เี ป็นอารยธรรมรว่ มกันของมนุษยชาติ
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
63
กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผู้เรียน
1) สมรรถนะหลัก - ฟังพูดอ่านและเขยี นคำศัพท์ภาษาไทยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทำงาน การประกอบ
ดา้ นภาษาไทยเพ่ือ อาชพี การประดิษฐค์ ดิ ค้น และการสรา้ งสรรค์ผลงาน
การสือ่ สาร (Thai - ใชภ้ าษาไทยในการแลกเปล่ียนแบ่งปันความคิด และข้อมูลเพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ
Language for กระบวนการทำงาน การประกอบอาชีพ การประดิษฐค์ ดิ ค้น และการสร้างสรรคผ์ ลงาน
Communication) อนั นำไปสู่การค้นพบความถนัดทีจ่ ะไปสูก่ ารประกอบอาชีพในอนาคต โดยแสดงถึง
การเคารพในสทิ ธิและผลงานของผู้อื่น
2) สมรรถนะหลกั - ใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับคำสำคญั หรือนิยามคำสำคัญเก่ียวกบั กระบวนการทำงาน
ดา้ นภาษาองั กฤษ การประกอบอาชพี การประดิษฐค์ ิดคน้ และการสร้างสรรค์ผลงาน
เพ่อื การสื่อสาร - ใชภ้ าษาอังกฤษเกี่ยวกบั กระบวนการทำงาน การประกอบอาชพี การประดิษฐค์ ิดค้น
(English for และการสรา้ งสรรค์ผลงาน
Communication) - ใช้ภาษาอังกฤษทเ่ี ป็นเนอื้ หาเกย่ี วกบั กระบวนการทำงาน การประกอบอาชพี
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน การประดิษฐ์คิดคน้ และการสร้างสรรค์ผลงานเปน็ ข้อความหรือบทอ่านส้นั ๆ
(Competencies in Basic Literacy)
- สืบค้นข้อมลู จากตำราหรืออินเทอร์เนต็ ที่เป็นภาษาองั กฤษเพื่อการศึกษาความรู้
เกยี่ วกบั กระบวนการทำงาน การประกอบอาชีพ การประดิษฐ์คิดค้น และ
การสร้างสรรคผ์ ลงาน
- ใช้สมรรถนะภาษาองั กฤษด้านการฟัง หรืออ่าน และจดบันทกึ ย่อๆ เกี่ยวกบั
กระบวนการทำงาน การประกอบอาชีพ การประดิษฐค์ ิดค้น และการสร้างสรรคผ์ ลงาน
3) สมรรถนะหลัก - ใช้แนวคดิ และความคิดรวบยอดทางคณติ ศาสตร์ ในการสรา้ งพืน้ ฐานในการประกอบ
ดา้ นคณิตศาสตร์ใน อาชพี ตา่ ง ๆ
ชีวติ ประจำวัน - นำคณติ ศาสตร์ไปใช้ในการเป็นผูป้ ระกอบการท้งั การบริหารคน การบริหารทุน
(Mathematics in การบรหิ ารทรัพยากร บริหารเวลา และการตลาดอย่างมีจรรยาบรรณ และรับผิดชอบ
Everyday Life) ตอ่ สงั คม
- ใชค้ วามรเู้ กี่ยวกบั ปริมาณ ความถ่ี การจัดพนื้ ที่ การวดั และสถิติ เพื่อสรา้ งทางเลือก
ในการทำงาน และการสร้างอาชพี
4) สมรรถนะหลกั ด้าน - ใช้วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์เพอ่ื สืบสอบความรู้เกย่ี วกับสงิ่ ของและเคร่ืองใชใ้ น
การสืบสอบทาง ชีวิตประจำวัน รวมทัง้ บม่ เพาะทักษะการทำงาน ทักษะการสรา้ งงาน การมลี ักษณะ
วทิ ยาศาสตร์และ นสิ ัยทำงานอยา่ งกระตือรือร้น ตรงเวลา ประหยัด ปลอดภยั สะอาด รอบคอบ และ
จติ วิทยาศาสตร์ จติ สำนึกในการอนุรักษส์ ิง่ แวดล้อม
(Scientific Inquiry
and Scientific Mind)
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
64
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผู้เรียน
1) สมรรถนะหลกั - บริหารจดั การชีวิตในดา้ นการทำงานการประกอบอาชีพ ที่เหมาะสม และสมดลุ พอดี
ดา้ นทกั ษะชีวติ และ โดยนอ้ มนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ความเจรญิ แห่งตน
(Life Skills and
Personal Growth)
2) สมรรถนะหลัก - นำขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความสนใจ ความถนดั ของตนเองมาใชใ้ นการเลือกอาชพี ทเี่ หมาะสม
ดา้ นทักษะอาชีพและ - พฒั นาทกั ษะในการทำงานด้วยตนเอง โดยยดึ หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใน
การเป็นผู้ประกอบการ การปฏิบัติงาน การบริหารจดั การ และการจดั การด้านการเงนิ
(Career Skills and
Entrepreneurship)
3) สมรรถนะหลัก - วิเคราะหว์ พิ ากษ์และประเมินข้อมลู และเหตุผลสรปุ และใหค้ วามเห็นเกยี่ วกบั
ด้านทักษะการคิดข้ัน การทำงาน การประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต
สูงและนวตั กรรม - ฝกึ ฝนการตัดสนิ ใจเก่ียวกบั การทำงานการประกอบอาชีพและการดำรงชวี ติ โดยใช้
สมรรถนะหลัก (Higher-order ข้อมูลเหตผุ ลและหลักฐานทส่ี ืบค้นด้วยการใช้เทคโนโลยีอยา่ งรอบดา้ น และเหมาะสม
(Core Competencies)
Thinking Skills and กบั บรบิ ททางสังคมไทย
Innovation - ระบปุ ญั หาทเ่ี กิดขึ้นในการทำงานการประกอบอาชพี หรอื การดำรงชีวิตวิเคราะห์
Development): สาเหตุของปัญหาหาวิธกี ารแก้ปญั หาและเลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาท่ีเหมาะสมทส่ี ดุ
HOTS Critical - ลงมอื แก้ปัญหาท่ีเกิดขึน้ ในการทำงานการประกอบอาชีพหรือการดำรงชวี ติ ดว้ ยตนเอง
Thinking, Problem อยา่ งเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ
Solving, Creative - มคี วามยดื หยุ่นทางความคิดมอง/คิดและใหค้ วามเหน็ ในการทำงานการประกอบอาชพี
Thinking หรือการดำรงชวี ิตด้วยแง่มมุ ที่หลากหลาย คิดริเริม่ สงิ่ ใหม่ ๆ ในการทำงานการประกอบ
อาชีพ
4) สมรรถนะหลักดา้ น - เรยี นร้แู นวทางคา้ ขายและทำธุรกรรมในโลกออนไลน์
การรู้เท่าทนั สอ่ื
สารสนเทศ และดจิ ิทลั
(Media, Information
and Digital Literacy)
5) สมรรถนะหลัก - รบั สารผ่านการอา่ น ดู ฟัง ข้อมลู เพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ เก่ยี วกับแนวทาง
ดา้ นการสื่อสาร การดำรงชีวิตและการประกอบอาชพี
(Communication) - สง่ สารผ่านการพูด/เขียนเพื่ออภิปราย แลกเปลยี่ นความรู้ ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับ
การดำรงชวี ติ ครอบครัว และการประกอบอาชพี โดยเคารพความคดิ เหน็ ท่แี ตกต่างกนั
- ส่งสารผา่ นพูด นำเสนอผลงานทเ่ี กยี่ วข้องกบั การดำรงชวี ิต
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
65
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผูเ้ รยี น
6) สมรรถนะหลกั ด้าน - กำหนดเป้าหมาย และปฏิบัติงานรว่ มกนั แบบรวมพลงั ในการทำงาน การประกอบ
การทำงานแบบรวม อาชพี การประดิษฐค์ ิดค้น และการสร้างสรรคผ์ ลงาน จนบรรลุเป้าหมาย
พลังเปน็ ทมี และมี - ใช้ภาวะผนู้ ำในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหผ้ ้อู น่ื ให้ความร่วมมือในการทำงาน
ภาวะผู้นำ การประกอบอาชพี การประดิษฐ์คิดค้น และการสร้างสรรค์ผลงาน จนบรรลุเปา้ หมาย
สมรรถนะห ัลก (Collaboration, - ใชส้ นั ติวิธใี นการจัดการปญั หาความขัดแย้ง ความคิดเห็นท่ีแตกต่าง เกย่ี วกบั
(Core Competencies)
Teamwork and การทำงาน การประกอบอาชีพ
Leadership)
7) สมรรถนะหลัก - วเิ คราะหง์ านอาชีพที่ไม่เป็นธรรม แรงงานเด็กและผูห้ ญงิ และเสนอแนวทาง
ด้านการเป็นพลเมอื ง การแก้ปัญหา
ตนื่ รู้ ทมี่ ีสำนึกสากล - เรียนรูก้ ลไกทางวชิ าชพี และสหภาพแรงงาน ในการพฒั นาวิชาชพี และดูแลสวัสดิการ
(Active Citizens ของคนทำงาน
with Global
Mindedness)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
สมรรถนะ แนวทางการพัฒนาผู้เรียน
1) สมรรถนะหลัก - ใชภ้ าษาไทยในการฟัง พูด อ่านเขียน คำศัพท์ และสาระในบทอา่ นต่าง ๆ
ดา้ นภาษาไทยเพ่ือ - ใชภ้ าษาไทยในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรอื่ งราวตา่ ง ๆ
การส่ือสาร (Thai
สมรรถนะในความฉลาดรู้ ้พืนฐาน Language for
(Competencies in Basic Literacy)
Communication)
2) สมรรถนะหลัก - ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการฟงั พดู อ่านเขียน คำศัพท์ และสาระในบทอ่านต่าง ๆ
ด้านภาษาอังกฤษเพื่อ - ใชภ้ าษาต่างประเทศในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้เรอื่ งราวตา่ ง ๆ
การสอื่ สาร
(English for
Communication)
3) สมรรถนะหลัก - เรยี นรู้คำศัพท์ และสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ ผา่ นภาษาต่างประเทศ
ดา้ นคณติ ศาสตร์ใน - สนทนาเกี่ยวกบั แนวคิดทางคณิตศาสตรโ์ ดยใช้ภาษาต่างประเทศ
ชวี ิตประจำวนั - ใช้ภาษาสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตรใ์ นการสื่อสาร ส่ือความหมาย สรุปผลและ
(Mathematics in นำเสนอท่ถี ูกต้องโดยใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
Everyday Life)
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
66
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผู้เรียน
4) สมรรถนะหลกั ด้าน - สืบสอบความรแู้ ละมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ภาษาตา่ งประเทศ
การสืบสอบทาง - เรยี นรู้แบบจำลอง เช่น ประโยค ภาพ สญั ลกั ษณ์ ที่ชว่ ยอธิบายจากความคิดใหเ้ หน็
วิทยาศาสตรแ์ ละ เป็นรปู ธรรม โดยใช้ภาษาตา่ งประเทศ
จติ วิทยาศาสตร์ - สรา้ งผลผลติ หรอื ผลิตภณั ฑใ์ หม่ และสอ่ื สารความคิดโดยใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
(Scientific Inquiry
and Scientific Mind)
1) สมรรถนะหลัก - เรยี นรู้การจดั การชีวิต การพึ่งพาและพฒั นาตนเอง จากการแสวงหา/สบื คน้ ข้อมลู
ดา้ นทกั ษะชวี ติ และ เก่ียวกบั ข้อมลู ดว้ ยภาษาตา่ งประเทศ
ความเจรญิ แหง่ ตน
(Life Skills and
Personal Growth)
2) สมรรถนะหลกั - เรียนร้กู ารทำงาน อาชีพ และการประกอบการจากการแสวงหา/สบื คน้ ข้อมลู ท่เี ป็น
ดา้ นทกั ษะอาชพี และ ภาษาตา่ งประเทศ
การเปน็ ผูป้ ระกอบการ
(Career Skills and
สมรรถนะหลัก Entrepreneurship)
(Core Competencies)
3) สมรรถนะหลัก - วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ และประเมินเน้อื หาทเี่ ป็นภาษาต่างประเทศ สรปุ เนอ้ื หา และเสนอ
ดา้ นทกั ษะการคิดขัน้ ความเหน็ ของตนเองเปน็ ภาษาต่างประเทศ
สูงและนวัตกรรม - ตัดสนิ ใจในเร่ืองตา่ ง ๆบนฐานของขอ้ มลู เหตผุ ลและหลกั ฐานอยา่ งรอบด้านและ
(Higher-order เหมาะสมตามบรบิ ทเชงิ วัฒนธรรมผ่านการใช้ภาษาตา่ งประเทศ
Thinking Skills and - ระบปุ ัญหาวเิ คราะหส์ าเหตุของปัญหาหาวิธกี ารแกป้ ัญหาและเลือกวธิ กี ารแก้ปัญหาที่
Innovation เหมาะสมทีส่ ดุ สอื่ สารโดยใชภ้ าษาต่างประเทศ
Development): - อธบิ ายกระบวนการแกป้ ัญหาทตี่ นเองไดล้ งมือปฏบิ ัติอย่างเป็นขัน้ ตอนและเปน็ ระบบ
HOTS Critical โดยใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
Thinking, Problem - ปรบั ความคิดของตนเองให้มีความยืดหยุน่ หลากหลายแง่มุม และสือ่ สารด้วยการใช้
Solving, Creative ภาษาตา่ งประเทศ
Thinking - คดิ รเิ ร่มิ ส่งิ ใหม่ ๆ ดว้ ยการใชภ้ าษาตา่ งประเทศในรปู แบบแตกต่างจากเดิม
4) สมรรถนะหลัก - ศึกษาเรียนรู้ภาษาและลกั ษณะที่มาของการส่ือสารผา่ นสื่อ และเทคโนโลยีดิจิทลั
ดา้ นการรู้เท่าทันสื่อ
สารสนเทศ และ
ดิจทิ ัล (MIDL)
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
67
สมรรถนะ แนวทางการพฒั นาผู้เรยี น
5) สมรรถนะหลัก - รบั สารผา่ นการอา่ น ฟัง และดู จากชอ่ งทางหลากหลาย และทำความเข้าใจ ตคี วาม
ดา้ นการสอื่ สาร แปลความ และขยายความสง่ิ ท่อี า่ น ฟัง และดู ไดอ้ ย่างมวี จิ ารญาณ เพื่อมาส่งิ ทไี่ ด้มาใช้
(Communication) ในการพัฒนาตน ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั อย่างมมี ารยาท
- ส่งสารผา่ นการ พดู เขยี น ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่ือให้ข้อมูล แสดงความร้สู กึ
ความคดิ เหน็ และโน้มน้าวได้อย่างมเี หตุผลและเหมาะสมกับกาลเทศะ
- ใช้เทคนคิ ในการสือ่ สารเพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและการถา่ ยทอดข้อความไดผ้ ลดีย่ิงขนึ้
6) สมรรถนะหลกั ด้าน - ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั เพื่อเรยี นรคู้ ำศพั ทท์ ่เี กี่ยวขอ้ งการสร้างความสัมพันธ์อันดี
สมรรถนะห ัลก การทำงานแบบ การทำงานรว่ มกนั การใช้ภาวะผนู้ ำ และการปฏิบัตหิ นา้ ท่ใี นฐานะสมาชิกกลุ่ม
(Core Competencies)
รวมพลงั เปน็ ทีม - ปฏิบตั ิงานรว่ มกันเพื่อเรียนร้แู ละพัฒนาทักษะการฟงั พูดอา่ นเขยี น และส่ือสารดว้ ย
และมีภาวะผู้นำ ภาษาต่างประเทศผา่ นเร่ืองราวทเี่ กยี่ วข้องกบั การสรา้ งความสมั พันธ์อันดี การทำงาน
(Collaboration, ร่วมกนั การใช้ภาวะผนู้ ำ และการปฏบิ ัติหน้าท่ีในฐานะสมาชิกกลุม่
Teamwork and
Leadership)
7) สมรรถนะหลัก - เรียนรู้คำศัพทเ์ กี่ยวกบั การเมอื งการปกครอง กฎหมาย สิง่ แวดลอ้ มแรงงาน
ด้านการเปน็ พลเมอื ง สนธิสญั ญา
ตนื่ รู้ ทม่ี สี ำนึกสากล - เรยี นรู้งานเขียนและวรรณกรรมคลาสสกิ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมใน
(Active Citizens ระดับชาติและสากล
with Global
Mindedness)
ตารางแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic
Literacy) และสมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะ (Core Competency) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับแนวทาง
การพัฒนาผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ สำหรับผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการนำเสนอใน
ช่วงเวลาของการเปลี่ยนผ่านการพัฒนาหลักสูตรอิงมาตรฐานไปสู่หลักสูตรฐานสมรรถนะ ซึ่งครูผู้สอนท่ี
รบั ผดิ ชอบกล่มุ สาระการเรียนรู้ หรอื ขอบขา่ ยการเรยี นรู้ต่าง ๆ สามารถนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ตามความเหมาะสม
กับสถานการณก์ ารเรยี นรู้ท่ีเกดิ ข้ึนในชวี ิตจรงิ ของผูเ้ รียนที่สอดคล้องกับหลักสตู รที่กระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
68
แนวทางในการนำสมรรถนะหลกั
ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
และระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4-6
สกู่ ารจัดการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ เป็นการเรียนการสอนที่มีจุดประสงค์การเรียนรู้ฐาน
สมรรถนะเป็นเปา้ หมาย คือ มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทักษะ เจตคติ และ
คณุ ลักษณะต่างๆ อย่างเปน็ องค์รวมในการปฏิบัติงาน การแกป้ ญั หาและการใช้ชวี ิต เป็นการเรียนการสอน
ท่ีเช่ือมโยงกับชีวติ จริง เรยี นรู้เพ่ือใช้ประโยชน์ ไม่ใช่การเรียนเพ่อื รู้เทา่ น้นั
การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะเนน้ “การปฎิบัต”ิ โดยมชี ุดของเน้ือหาความรู้ ทักษะ เจตคติ
และคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการนำไปสู่สมรรถนะที่ต้องการ จึงทำให้สามารถลดเวลาเรียนเนื้อหาที่จำเป็น
เพอื่ การนำไปสูส่ มรรถนะที่ตอ้ งการพัฒนา เอือ้ ใหผ้ เู้ รียนมีเวลาในการเรยี นรู้เนอื้ หาทจี่ ำเป็นในระดับท่ีลึกซ่ึง
ขึ้น และมีโอกาสได้ฝึกฝนการใช้ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะในระดับ
ชำนาญหรือเชี่ยวชาญ และเป็นการเรียนการสอนท่ีมีการบูรณาการองค์ความรู้ข้ามศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ
การปฏิบตั งิ านใดงานหน่งึ เพื่อความ สำเรจ็ ตอ่ การนำไปใชใ้ นการปฏิบัติงานและการจัดเรยี นการสอนที่เป็น
การบรู ณาการมากข้นึ
การจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะน้ัน ผู้เรยี นสามารถใชเ้ วลาในการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะ
ที่เป็นคลวกั าษมณก้าะวสหำคนัญ้าขขอองงตกนารเตรายี มนคกวาารมสถอนนฐัดาแนลสะมครวราถมนสะาดมังากรลถ่าทวี่อจาึงจเปพน็ัฒกนาารไเดสน้เรอ็วแหนรวือทชา้างแกตารกนตำ่าสงมกรันรไถดน้ ะ
การใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับแก่ผู้เรียนจึงเป็นการปรบั ปรุงพัฒนา และเป็นปัจจยั สำคญั ท่ีชว่ ยให้เกดิ การเรยี นร้โู ดย
ใชส้ มรรถนะเป็นฐานทป่ี ระสบความสำเร็จ
แนวทางการนำสมรรถนะหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะที่
เน้น “งานและการปฏิบัติ” ครูผู้สอนจึงควรศึกษาแนวทางการส่งเสริมสมรรถนะผู้เรียนและการออกแบบ
กจิ กรรมการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ฐานสมรรถนะเพิ่มเติม ท้ังนีเ้ พราะการสง่ เสรมิ สมรรถนะให้แกผ่ ู้เรียนจะ
มีความแตกต่างจากการสอนในแบบแนวทางการสอนเดิมที่ครูส่วนใหญ่มักนำมาใช้อยู่ ดังตารางที่ 4 และ
ตารางท่ี 5 (สุจิตรา ปทมุ ลงั การ,์ 2552)
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
69
ตารางที่ 4 การเปรียบเทยี บลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนแบบฐานสมรรถนะและแบบด้งั เดมิ
(สุจิตรา ปทุมลงั การ์, 2552)
แบบฐานสมรรถนะ แบบดัง้ เดมิ
-การกำหนดผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes/ Course -การเรียนการสอนยึดตำราเรียนเปน็ หลกั หรือ
Outcomes) หรอื เรยี กวา่ สมรรถนะ หรือ ภาระงาน สือ่ ตา่ ง ๆ เพอ่ื นำมากำหนดเปน็ เนอื้ หารายวิชา
(Competencies or Tasks) อย่างชดั เจน ซงึ่ สมรรถนะท่ี ซึง่ อาจไมเ่ กี่ยวขอ้ งกบั อาชพี และความสามารถ
กำหนดขนึ้ เปน็ สง่ิ จำเปน็ กับการศกึ ษาและการปฏบิ ตั งิ านใน ผู้เรียนไมท่ ราบชดั เจนว่าต้องทำอะไรได้เมื่อจบ
อาชีพตา่ ง ๆ ทคี่ าดหวังวา่ ผู้เรียนจะสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้เมื่อจบ หลกั สตู ร ผ้สู อนยึดเน้ือหาตามตำราเรยี น บท
หลกั สูตร ผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามสมรรถนะที่ ตอ่ บท หรือ หน่วยต่อหน่วย
กำหนด
-การออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ -การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามท่ี
เลอื กใชส้ ถานการณ์ตา่ ง ๆ สือ่ ทหี่ ลากหลาย และอปุ กรณ์ท่จี ะ ผ้สู อนกำหนด ผสู้ อนเปน็ ผสู้ าธติ บรรยาย
ชว่ ยให้ผ้เู รียนปฏิบัติภาระงาน (Task-Oriented Activities) ได้ (Instructor-Centered Learning Activities)
สำเร็จตามสมรรถนะท่กี ำหนด เนน้ กระบวนการเรียนรู้ ให้ ผ้เู รียนไดร้ บั ข้อมลู ยอ้ นกลบั น้อย
ข้อมลู ย้อนกลับ (Feedback) แก่ผ้เู รียนเปน็ ระยะ เพื่อให้
ผ้เู รยี นได้ปรบั ปรงุ แก้ไขการปฏิบัตงิ านให้ไดต้ ามเกณฑ์
-การให้เวลาผูเ้ รียนแต่ละคนเพยี งพอทจ่ี ะปฏบิ ัติภาระงานหนงึ่ ๆ -การให้เวลาผเู้ รียนทกุ คน ภายในเวลาทกี่ ำหนด
ให้สำเรจ็ กอ่ นท่จี ะไปส่ภู าระงานตอ่ ไป เทา่ กันและเรยี นบทเรยี นตอ่ ไปพรอ้ มกัน ซง่ึ อาจ
มากไป หรือนอ้ ยไปสำหรับผู้เรยี นแต่ละคนท่มี ี
ศกั ยภาพแตกต่างกัน
-การใหผ้ ู้เรียนแต่ละคนปฏบิ ตั ิภาระงานให้สำเร็จตามเกณฑก์ าร -การใชข้ ้อสอบวดั ผลแบบอิงกลมุ่ (Norm
ปฏบิ ัตงิ านทกี่ ำหนด โดยใชก้ ารวัดผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced) หรอื ใบงาน/รายงาน โดย
Referenced) ในการประเมนิ ผลความสำเรจ็ ของผเู้ รยี นแต่ละ การเปรียบเทยี บผลการปฏบิ ัตกิ ับผเู้ รยี นในกลมุ่
คน
ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบแนวทางการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผลแบบดั้งเดิมและแบบ
ฐานสมรรถนะ (สุจิตรา ปทุมลังการ์, 2552)
กิจกรรม แบบด้งั เดิม แบบฐานสมรรถนะ
กิจกรรมกอ่ นเรยี น (traditional approach) (competency-based approach)
ผู้เรียนไมต่ อ้ งเชื่อมโยง ผ้เู รียนเชือ่ มโยงความรู้และประสบการณ์ท่ีมีมาใช้
ประสบการณ์และความรทู้ ่มี ผี ู้สอน ผูส้ อนให้ความร้แู ละประสบการณ์ที่เชอื่ มโยงกับ
เปน็ ผจู้ ดั ประสบการณ์และ ความคดิ และคา่ นิยมของผเู้ รยี น
การเรียนรู้
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต
70
กจิ กรรม แบบดั้งเดมิ แบบฐานสมรรถนะ
กิจกรรมระหว่าง (traditional approach) (competency-based approach)
เรยี น ผูส้ อนใหป้ ระสบการณแ์ ละความรู้ ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ใหมแ่ ล้วนำมา
กับผ้เู รียน เชือ่ มโยงกับความรู้และประสบการณเ์ ดิม
กิจกรรมหลงั เรยี น ผู้เรยี นกล่ันกรองความร้แู ละคา่ นยิ มท่ไี ดร้ บั ใหม่
ผเู้ รยี นฟัง ทดลองทำตามแบบ ผเู้ รียนทดลองใช้ความรูแ้ ละประสบการณท์ ไ่ี ด้รบั
ศึกษาเพ่มิ เติมและนำเสนอ ใหมท่ ัง้ ในสถานการณ์จำลองและในชีวิตจรงิ
ผเู้ รียนทดลองความรู้ และ ผ้เู รยี นใชค้ วามรแู้ ละประสบการณใ์ หม่เพอ่ื เป็น
ประสบการณใ์ หมใ่ นชวี ิตจริงหลงั พืน้ ฐานในการเรยี นและการหาความรู้ ประสบการณ์
เรยี นจบ ตอ่ ไป
ผู้เรยี นประยกุ ต์ใช้ความรแู้ ละนำไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ
จากตารางการเปรยี บเทยี บแนวทางการออกแบบการจัดการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะและการสอน
แบบดั้งเดิมที่มคี วามแตกตา่ งกนั ครูผู้สอนจึงควรคำนึงถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับความรู้
ทักษะและประสบการณเ์ ดิมของผู้เรียน โดยครูมีการกำหนดผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ที่คาดหวัง
ว่าจะเกิดสมรรถนะกับผู้เรียนเมื่อสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือเมื่อจบหลักสูตร และ
การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะที่ต้องการ โ ดยเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนศึกษาเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะสำคัญจากสถานการณ์ที่หลากหลาย โดยใช้สื่อ
เทคโนโลยี แหล่งเรยี นร้แู ละภมู ปิ ัญญาที่มีในทอ้ งถิน่ มีการกำหนดภาระงานและช่วงเวลาเหมาะสมที่เปดิ โอกาส
ให้ผู้เรียนทุกคนได้มีเวลาในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้เพื่อการปฏิบัติ
ภาระงานอยา่ งเพียงพอตามเกณฑก์ ารปฏบิ ัติงานอิงสมรรถนะทไ่ี ด้กำหนดไว้ร่วมกนั ระหวา่ งครูและผู้เรียน
จะเหน็ ได้วา่ ลกั ษณะสำคัญของการเรียนการสอนฐานสมรรถนะดังกล่าว เปน็ การเสนอแนวทางการนำ
สมรรถนะความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะ สู่
ห้องเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะต่าง ๆ ซึ่งในการนำกรอบสมรรถนะหลักสู่การพัฒนาผู้เรียนนั้นมี
หลักการสำคญั ดงั น้ี
1. สมรรถนะหลักทุกด้านสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ตามเป้าหมายหลายลักษณะ โดยการพัฒนาผ่าน
กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมที่ผู้เรียนปฏิบัติเป็นกิจวัตรในโรงเรียน และ
กิจกรรมในชวี ติ ประจำวนั
2. สมรรถนะหลักทุกด้านสามารถพัฒนาผู้เรียนผ่านสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ในทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ และอาจจะเกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระต่าง ๆ (Subjects / Disciplines/ Areas) ได้ไม่เท่ากัน
นอกจากน้ยี ังพฒั นาผ่านสาระท่ีเป็นเร่ืองราวเหตุการณ์และประเดน็ สำคัญในปัจจบุ ัน (Current Issues) บริบท
(Context) รวมท้งั ประสบการณแ์ ละกจิ กรรม (Experiences & Activities)
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
71
3. การออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอาจจะผสานและบูรณาการหลายๆ สมรรถนะทั้งที่เป็น
สมรรถนะย่อยในสมรรถนะหลกั น้ัน หรอื สมรรถนะย่อยในสมรรถนะหลกั อื่น ๆ
4. การออกแบบกิจกรรมเพ่อื พัฒนาผู้เรียนใหเ้ กดิ สมรรถนะใด ๆ ผู้สอนตอ้ งวิเคราะหส์ ่ิงต่าง ๆ ดังนี้
4.1 ความรู้ที่จำเป็นต่อการเกิดสมรรถนะที่ต้องการ ซึ่งเลือกมาจากเนื้อหาสาระ มโนทัศน์ของ
ศาสตร์สาขาวชิ าตา่ ง ๆ
4.2 ทักษะที่จำเป็นต่อการเกิดสมรรถนะที่ต้องการ ซึ่งเลือกมาจากทักษะสำคัญของศาสตร์
สาขาวิชาตา่ ง ๆ และทักษะท่เี ป็นองคป์ ระกอบหลักของสมรรถนะ
4.3 เจตคติ คณุ ลักษณะนิสยั แรงจงู ใจ ฯลฯ ทีจ่ ำเปน็ ตอ่ การเกิดสมรรถนะ
4.4 สถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะนำสมรรถนะท่ีต้องการไปใช้ หลังจากนั้นจึงนำกรอบสมรรถนะหลัก
มาพฒั นาเปน็ สมรรถนะย่อยตามระดบั การเรียนรู้เพ่ือการออกแบบผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes/
Specific Competencies) และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ (Learning Experiences) ที่จะส่งเสริมให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้และเกิดความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณลักษณะ และสามารถนำความรู้ ทักษะ เจตคติคุณลักษณะ
ไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
ทั้งนี้จากแนวทางการนำสมรรถนะมาสู่การพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางการจัดการเรียนการสอน
ทั้ง 6 แนวทาง ข้างต้น สามารถนำมาจัดกลุ่มการนำสมรรถนะมาใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือ
พฒั นาผเู้ รียนโดยใชแ้ นวทางการจดั การเรียนการสอนท่ีแบ่งออกได้เปน็ 3 กลุม่ ดังน้ี
กลมุ่ ที่ 1: การนำกรอบสมรรถนะหลกั สู่การพัฒนาผเู้ รยี นบนฐานหลักสตู รอิงมาตรฐาน แบง่ เปน็
แนวทาง 2 แนวทาง ได้แก่
แนวทางที่ 1 : ใชง้ านเดมิ เสรมิ สมรรถนะ
แนวทางท่ี 2 : ใช้งานเดิม ต่อเตมิ สมรรถนะ
แนวทางในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับใช้จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนในสถานศึกษาที่ยังใช้หลักสูตร
เดิมที่มีลักษณะเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานเปน็ หลัก หรือสำหรับผูท้ ี่สนใจและเพิ่งเริ่มต้นจัดการเรียนรู้แบบฐาน
สมรรถนะ เนื่องจากมีลักษณะที่อิงกับวิธีคิดในการออกแบบการเรียนการสอนเช่นเดิมเป็นหลัก ไม่แตกต่างไป
จากทไ่ี ด้ดำเนนิ การอยูม่ ากนัก
กลมุ่ ท่ี 2: การนำกรอบสมรรถนะหลักสกู่ ารพฒั นาผเู้ รียนโดยอิงฐานสมรรถนะหรือหลกั สูตรอิง
มาตรฐาน แบ่งเปน็ แนวทาง 2 แนวทาง ได้แก่
แนวทางที่ 3 : ใชร้ ูปแบบการเรียนรู้ สกู่ ารพัฒนาสมรรถนะ
แนวทางที่ 4 : สมรรถนะเป็นฐาน ผสานตวั ชว้ี ดั
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
72
แนวทางในกลุ่มน้ีเหมาะสมสำหรับใช้จดั การเรยี นรู้แกผ่ ูเ้ รียนในสถานศึกษาที่ยังใชห้ ลกั สูตร
เดมิ ท่ีมลี ักษณะเป็นหลักสตู รอิงมาตรฐานก็ได้ หรอื ใชใ้ นสถานศึกษาทีม่ ่งุ เน้นการจัดการศึกษาฐานสมรรถนะก็
ไดเ้ ชน่ กนั เน่ืองจากมีลักษณะที่ยดื หย่นุ สามารถปรบั ใช้ไดต้ ามแต่บรบิ ทของสถานศึกษา
กลมุ่ ที่ 3: การนำกรอบสมรรถนะหลกั สู่การพฒั นาผเู้ รียนบนฐานสมรรถนะ แบง่ เปน็ แนวทาง 4
แนวทาง ไดแ้ ก่
แนวทางที่ 5 : บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ
แนวทางที่ 6 : สมรรถนะชวี ิตในกจิ วตั รประจำวัน
แนวทางที่ 7 : การเรียนรู้สมรรถนะแบบผสมผสาน (Hybrid Competency Learning)
แนวทางที่ 8 : เช่ือมงาน ประสานการเรียนรู้สู่การพัฒนาสมรรถนะท้ังโรงเรยี น
(Whole-School Learning)
แนวทางในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับใช้จัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนในสถานศึกษา ที่มุ่งเน้นการจัด
การศึกษาฐานสมรรถนะเป็นหลัก เนอ่ื งด้วยกำหนดเปา้ หมายในการพัฒนาผูเ้ รียนให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะตามที่
กำหนดเป็นสำคญั และมีลักษณะของออกแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการทัง้ การบูรณาการระหว่างสาระต่าง ๆ
บรู ณาการการพัฒนาสมรรถนะ และการบูรณาการกับวิถีชีวติ ของผู้เรยี น
การนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทั้ง 3 กลุ่ม ข้างต้น เป็นการเสนอทางเลือกสำหรับสถานศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการนำสมรรถนะไปสู่
การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนตามความพร้อมและจุดเน้นตามบริบทของสถานศึกษาที่แตกต่างกัน
ในช่วงระยะเวลาที่อยู่ระหว่างการศึกษาทดลองในการวิจัยพัฒนา เพื่อก้าวสู่ความเปลี่ยนแปลงไปสู่การใ ช้
หลักสูตรแกนกลางฐานสมรรถนะระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเต็มรูปแบบ โดยมีรายละเอียดของ
แนวทางการดำเนินการการนำกรอบสมรรถนะหลักสูก่ ารพฒั นาผู้เรยี นในแต่ละกลุม่ ดงั นี้
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
73
กล่มุ ท่ี 1: การนำกรอบสมรรถนะหลักสู่การพฒั นาผู้เรยี นบนฐานหลักสูตรองิ มาตรฐาน
การนำกรอบสมรรถนะหลักความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะ
หลัก 7 สมรรถนะ (Core Competency) สู่การพัฒนาผู้เรียนบนฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานของกลุ่มแนวคิดน้ี เป็นการออกแบบการจัดการเรียนการสอน
จากการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้เดิม โดยมีมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปีที่ครูกำหนดไว้ในหน่วย
การเรียนรู้เดิมในการเรียนการสอนปกติ แล้วนำมาปรับปรุงพัฒนาวิเคราะห์สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับ
ผู้เรยี น โดยการเพิ่มสมรรถนะเข้ามาบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอนไปพร้อมกนั ดังตัวอย่างต่อไปน้ี
แนวทางที่ 1 : ใชง้ านเดิม เสรมิ สมรรถนะ
การนำสมรรถนะเขา้ มาพัฒนาผู้เรียนในการสอนปกติ โดยปรับหรือเพ่มิ กจิ กรรม เพ่อื ส่งเสรมิ ให้
การเรียนรู้ของผู้เรียนให้เข้มข้น มคี วามหมายย่ิงขน้ึ
➢ ลกั ษณะ
การออกแบบการสอนแนวทางที่ 1 นี้เป็นการสอนตามปกติท่ีสอดแทรกสมรรถนะ ซึ่งครูเห็นว่า
สอดคล้องกับบทเรียนนั้นเข้าไปและอาจปรับกิจกรรม หรือคิดกิจกรรมต่อยอด ซึ่งเหมาะกับครูที่เริ่มนำ
สมรรถนะมาทดลองใชบ้ ูรณาการเข้าไปในแผนการสอนเดิมทีต่ นมีอยู่ เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนได้พฒั นาสมรรถนะนั้นเพ่ิม
มากยิ่งขึ้น หรือได้สมรรถนะอื่นเพิ่มมากขึ้น เป็นการช่วยเพิ่มการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เข้มข้น มีความหมาย
และเกดิ สมรรถนะทีต่ ้องการ
การออกแบบการสอนแนวทางน้ีเหมาะสมสำหรับครูท่เี นน้ การจัดการเรียนการสอนท่สี ง่ เสริมผู้เรียนให้
มีทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยระบุเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูยัง
สามารถใช้แผนการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการสอนของตนเองที่มีอยู่เดิม เพียงแต่พิจารณาว่ามี
สมรรถนะตัวใดที่สอดคล้องกับการสอนของตน เช่น สมรรถนะหลักด้านทักษะการคิดขั้นสูงและ
นวัตกรรม สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร เป็นต้น แล้วนำสมรรถนะด้านนั้นมาบรรจุไว้ใน
แผนการจดั การเรยี นการสอนของตน การทำเชน่ น้ีจะช่วยกระตนุ้ ให้ครตู ระหนักในสมรรถนะน้ัน และกระตุ้นให้
นักเรียนเกิดสมรรถนะนั้นในระหว่างเรียนไปพร้อมกับการพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ช้นั ปีตามหนว่ ยการเรียนรปู้ กตขิ องตนมากยง่ิ ขน้ึ
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
74
➢ ข้ันตอนการออกแบบการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะโดยใช้แผนการสอนเดมิ เสรมิ สมรรถนะ
1) ทบทวนสมรรถนะความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก
7 สมรรถนะ (Core Competency) ให้เข้าใจและพร้อมนำไปใช้ในการออกแบบกิจกรรม (สำหรับครูที่เริ่มทำ
อาจทำเป็นตารางวิเคราะห์และวิเคราะห์ทีละกิจกรรม เพราะจะช่วยให้วิเคราะห์ได้ง่ายขึ้น แต่เมื่อคล่องขึ้น
ก็อาจเพียงแค่วิเคราะห์ในใจ หรือเขียนโน้ตสั้นๆกำกับไว้ โดยไม่ต้องระบุอย่างเป็นทางการในแผนการจั ด
การเรียนการสอนก็ได้)
2) นำมาเทียบกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี จุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมการเรี ยน
การสอนของตน
3) เลือกสมรรถนะที่สอดคลอ้ งกับตัวชี้วดั ช้ันปี จุดประสงค์การเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนการสอน
ของตนมาระบุไวใ้ นตอนต้นของแผนการจัดการเรียนการสอนของตน
4) คิดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ เ่ี สริมสร้างสมรรถนะนั้นโดยบรู ณาการเข้าไปในกิจกรรมเดิมอย่างกลมกลืน
5) ปรับจุดประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้ครอบคลุมสมรรถนะท่ีเพ่มิ เติม
6) ระบุวิธกี ารวดั และประเมนิ สมรรถนะทเ่ี พ่ิมเตมิ
ในแนวทางที่ 1 น้ี เปน็ แนวทางทอี่ อกแบบเพ่ือนำมาใช้ในช่วงรอยเช่ือมต่อท่ียงั ใช้หลักสตู รสถานศึกษา
และแผนการเรียนการสอนปัจจุบันของครตู ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ของ 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ โดยครูเริ่มต้นจากการทบทวนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เดิมของตนและเพ่ิม
ความตระหนักให้แก่ตนเองด้วยการเพิ่มสมรรถนะที่สอดคล้อง เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่
กำหนดเข้าไปในแผนของตนเอง ทั้งนี้เมื่อครูเริ่มวิเคราะห์สมรรถนะได้อย่างชำนาญขึ้น จึงไม่จำเป็นต้องระบุ
การวเิ คราะห์กิจกรรมทีละกิจกรรม แต่สามารถคดิ ในใจ หรอื บนั ทึกสัน้ ๆ กเ็ พียงพอ
อย่างไรก็ตาม ครูจำนวนมากมักเป็นห่วงเนื้อหาสาระและตัวชี้วัด จนบางครั้งอาจละเลย
หรือไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสมรรถนะที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตให้แก่ผู้เรียน และเม่ือ
วเิ คราะหแ์ ผนการจัดการเรียนการสอนของตน โดยเทยี บกับสมรรถนะหลกั ต่าง ๆ แลว้ ครหู ลายท่านก็จะพบว่า
ตนสามารถปรับการเรียนการสอนบางส่วนของตนให้เข้มข้นยิ่งขึ้น และสามารถประเมินสมรรถนะหลักของ
ผู้เรียนที่ออกแบบไว้ไปพร้อม ๆ กับตัวชี้วัดชั้นปีที่สอดคล้องกันในระหว่างการจัดการเรียนการสอนและเมื่อ
ส้นิ สดุ หนว่ ยการเรียนรู้ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาทกุ ๆ ดา้ นไปพรอ้ มกันอย่างสมดลุ น่ันกค็ ือครสู ามารถก้าวเข้าสู่
การจดั การเรียนการสอนทีม่ ีความเข้มขน้ ในการใชส้ มรรถนะเปน็ ฐานตามแนวทางอ่นื ๆ ได้ต่อไป
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
75
ตัวอย่างแผนการจดั การเรยี นการสอน
แนวทางที่ 1: ใชง้ านเดมิ เสริมสมรรถนะ
ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ท่นี ำเสนอน้ี เปน็ ตัวอยา่ งของครผู ู้สอนทา่ นหน่งึ ท่ีมีแผนการจัดการเรียน
การสอนเดิมอยู่แล้ว และเมื่อนำงานเดิมมาวิเคราะห์และเสริมสมรรถนะที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม ทำให้มีการจัด
การเรียนการสอนทสี่ ง่ เสรมิ สมรรถนะผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ดังจะเหน็ ไดจ้ ากแผนการสอนเดมิ ของครูตอ่ ไปน้ี
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 13 กลอนสี่
1. แนวคิดหลัก
กลอนส่ี เป็นกลอนประเภทหนึ่ง ซึ่งลักษณะคำประพันธ์ของภาษาไทย ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ เป็น
บท ใช้ถ้อยคำและทำนองเรียบ ๆ ซึ่งนับได้ว่ากลอนส่ีเป็นกลอนหลักของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพื้นฐานของ
กลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสี่ ก็สามารถเข้าใจกลอนอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น เราสามารถใช้กลอนสี่ในการแต่ง
เร่ืองราวต่าง ๆ เพ่ือใช้ในการสื่อสารความคิดของตนเองใหก้ ับผอู้ ื่นไดต้ ามจนิ ตนาการ
2. มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดช้ันปี
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความและเขียนเร่ืองราวในรปู แบบต่าง ๆ
เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี ป 4/2 เขยี นสอื่ สารโดยใช้คำได้ถกู ต้องชัดเจน และเหมาะสม
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ปิ ัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัดช้นั ปี ป 4/5 แตง่ บทรอ้ ยกรองและคำขวัญ (กลอนสี่)
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 จดุ ประสงค์ปลายทาง
นกั เรยี นสามารถแต่งคำประพันธป์ ระเภทกลอนสี่ได้ถูกตอ้ ง เพอื่ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ (C)
3.2 จุดประสงค์นำทาง
1. บอกลักษณะของกลอนส่ี (K)
2. เตมิ คำคลอ้ งจองลงในช่องว่างให้เป็นกลอนสี่ได้อย่างถกู ต้อง (K)
3. เรยี งคำประพันธ์เป็นกลอนสอ่ี ยา่ งถูกตอ้ ง (P)
4. ช่ืนชมในความไพเราะของบทกลอน (A)
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
76
4. การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้
4.1 นักเรียนร่วมกันสนทนาถึงลักษณะของบทร้อยกรองที่ครูยกมา
4.2 ครแู จกใบงานให้นกั เรียนแต่ละคน โดยในหน่งึ ใบงานท่ีมีทุกกิจกรรมท่รี ว่ มกนั เรยี น
4.3 นกั เรยี นฝกึ คดิ คำสมั ผัสคลอ้ งจองโดยเติมคำในชอ่ งว่าง
4.4 นกั เรียนแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 4 คน
4.5 นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ช่วยกันเรียงคำประพันธ์ 4 วรรคใหเ้ ปน็ กลอน 4 หนึ่งบท และเขยี นลงใน
ใบงานของตนเอง
4.6 นักเรยี นรว่ มกันสรุปความรู้
5. การวัดผลประเมินผล
5.1 การตอบคำถามของนกั เรียน
5.2 การประเมินการทำใบงาน
5.3 การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
จากแผนการจัดการเรยี นรู้ตามหน่วยการเรียนรู้ข้างต้น ครูผู้สอนได้วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดชนั้
ปีตามแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง และนำมาพิจารณาปรับเพิ่มสมรรถนะที่สอดคล้องเกี่ยวข้อง โดยมี
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติภาระงานให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะที่กำหนดและปรับการวัดผลประเมินผล
เน้นสมรรถนะให้มีความสอดคล้องกัน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่ต้องการในหน่วยการเรียนรู้
“กลอนส่ี” ดงั น้ี
1) สมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy)
1.1 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ระดับ 2
สมรรถนะที่ 1 การรับสาร สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมอื ในการรบั ข้อมลู ความรู้ ความรู้สึก
จากสอ่ื ท่ีมีภาพ สัญลกั ษณ์ จากแหล่งข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ เพื่อรับทราบข้อมลู เรียนรู้ สรา้ งความเพลดิ เพลนิ แก่
ตนเองและผ้อู น่ื โดยใชก้ ารฟัง ดู อา่ น
สมรรถนะที่ 2 การสง่ และถา่ ยทอดสาร สามารถใชว้ จนภาษาทีม่ ีการรวมความ หรอื ซ้อนความ ใน
การถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ ความร้สู กึ ความคดิ เหน็ ประสบการณ์และจนิ ตนาการในการสอ่ื สารกับตนเองและ
ผอู้ ื่นอยา่ งถกู ต้องตามโครงสร้างทางภาษา
2) สมรรถนะหลัก (Core Competency)
2.1 ทักษะชีวิตและความเจริญแหง่ ตน ระดบั 2
สมรรถนะย่อยท่ี 1 การรู้จกั ตนเองและเข้าใจผอู้ น่ื ตัดสนิ ใจเลือกทำกิจกรรมที่สนใจตามความ
ถนดั และความสามารถอยา่ งม่ันใจ แสดงออกและตอบสนองตอ่ อารมณ์และความร้สู ึกของตนเองและผอู้ ื่นใน
ทางบวก
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
77
2.2 การทำงานแบบรวมพลังเปน็ ทีมและภาวะผนู้ ำ ระดับ 2
สมรรถนะย่อยที่ 2 การส่อื สารท่ีมปี ระสิทธิผล เปดิ ใจรบั ฟัง ยอมรบั และเคารพความคิดเหน็ ใน
มุมมองท่ีแตกต่าง
4. การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้
4.1 นักเรียนรว่ มกนั สนทนาถึงการเขียนรูปแบบต่าง ๆ และลกั ษณะของบทร้อยกรอง “กลอนส่ี” ท่คี รู
ยกนำมายกตวั อยา่ ง
4.2 นักเรียนร่วมกนั ศึกษาโครงสรา้ งการแต่งกลอนสจ่ี ากแผนภมู ิ และอภิปรายรว่ มกนั
4.3 ครูแจกใบงานใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคน ให้นักเรียนฝกึ คิดคำสัมผสั คล้องจองโดยเติมคำในช่องว่าง
4.4 ให้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 3-4 คน ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มชว่ ยกันเลอื กสถานการณ์ ข่าว
เหตุการณท์ ีน่ ักเรยี นสนใจและพบในชวี ติ ประจำวนั เพ่ือนำมาใช้เป็นข้อมูลในการแตง่ กลอนสี่ตามจนิ ตนาการ
และแนวคดิ ของกลมุ่
4.5 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันเรียงคำประพนั ธ์ 4 วรรคให้เป็นกลอน 4 จำนวนหน่ึงบท และเตรียม
นำเสนอผลงานถงึ แนวคิดการแตง่ กลอนสี่จากสถานการณ/์ ส่อื ที่สนใจโดยครูและเพื่อนร่วมแสดงความคิดเห็น
ตอ่ ผลงาน ในด้าน - เขยี นสือ่ สารโดยใชค้ ำได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม (ท 2.1 ป.4/2)
- แต่งบทรอ้ ยกรอง กลอนสี่ ได้ไพเราะและถูกตอ้ งตามโครงสร้าง (ท 4.1 ป.4/5)
4.6 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั สรปุ ความรู้ และนำข้อคดิ เห็นของครูและเพื่อนไปปรบั ปรงุ ผลงาน
5. การวัดผลประเมินผล (ปรับเพือ่ เสริมการวัดผลประเมินผลดา้ นสมรรถนะ)
5.1 การตอบคำถามของนักเรียน
5.2 การประเมินผลงานการแต่งกลอนสี่ และการนำเสนอ
1) สามารถใช้ภาษาไทยเปน็ เครอื่ งมือในการรับข้อมลู ความรู้ ความร้สู กึ จากส่ือทีม่ ีภาพ
สัญลกั ษณ์ จากแหลง่ ข้อมลู รูปแบบตา่ ง ๆ (ท 2.1 ป.4/2)
2) สามารถใช้วจนภาษาทมี่ กี ารรวมความ หรอื ซ้อนความ ในการถ่ายทอดข้อมลู ความรู้ ความรสู้ กึ
ความคดิ เหน็ ประสบการณ์และจินตนาการในการส่อื สารกับตนเองและผู้อืน่ อยา่ งถกู ต้องตามโครงสร้างทาง
ภาษา (ท 4.1 ป.4/5)
5.3 การสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้
1) ตดั สินใจเลอื กทำกิจกรรมท่สี นใจตามความถนดั และความสามารถอยา่ งม่ันใจ แสดงออกและ
ตอบสนองตอ่ อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อืน่ ในทางบวก
2) เปิดใจรบั ฟัง ยอมรบั และเคารพความคดิ เหน็ ในมุมมองท่ีแตกต่าง
จะเห็นได้ว่าการนำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนมาใช้โดยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ตาม
แนวทางที่ 1 นี้ ครูผู้สอนสามารถนำสมรรถนะที่กำหนดมาพัฒนา โดยการวิเคราะห์เชื่อมโยงสมรรถนะท่ี
สอดคล้องกับความสัมพนั ธ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัดชั้นปี ในช่วงเวลาของรอการปรบั หลักสูตรเป็น
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
78
หลักสูตรฐานสมรรถนะ โดยการออกแบบบูรณาการแนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน และการวัดผล
ประเมินผลที่เน้นฐานสมรรถนะได้พร้อม ๆ กับการพัฒนาผู้เรียนตาม K P A ที่เป็นไปตามตัวชี้วัดและ
จุดประสงค์การเรียนรเู้ ดมิ ได้เปน็ อยา่ งดี
แนวทางท่ี 2 : ใชง้ านเดมิ ต่อเติมสมรรถนะ
การพัฒนาการสอนเดิมของครูผา่ นการสอนทเ่ี นน้ สมรรถนะให้มากขน้ึ โดยการขยายตอ่ ยอดงาน
เดิม เพ่ิมสถานการณแ์ ละประสบการณใ์ หผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ ใช้ความรู้ ทักษะ และเจตคติให้มากขน้ึ
การสอนแนวทางนี้เป็นการต่อยอดและพัฒนามาจากแนวทางที่ 1 กล่าวคือเมื่อครูเริ่มคุ้นเคยกับ
สมรรถนะมากขึน้ แลว้ และตอ้ งการให้ผเู้ รยี นได้รับประโยชนจ์ ากสมรรถนะมากย่ิงขึ้นครูกส็ ามารถตัดสินใจว่าตน
จะนำสมรรถนะใดเข้ามาในบทเรียน และออกแบบกิจกรรมเพิ่มเติมโดยใช้สถานการณ์ต่างๆ เพื่อต่อยอดให้
ผู้เรียนได้นำความรู้ ทักษะ และเจตคติ ไปประยุกต์ใช้ การสอนแบบเดิมที่แยกความรู้ (K) ทักษะ (S) และ
เจตคติ (A) ยังไปไม่ถึงสมรรถนะ จึงตอ้ งตอ่ เติมงาน/สถานการณ์ และจัดกจิ กรรมเพิ่มเติมให้ผเู้ รยี นได้นำความรู้
ทักษะ เจตคติ ไปประยุกต์ใช้ กล่าวคือ เพม่ิ ขัน้ ประยุกต์ใชต้ ่อยอดเข้าไปจากกจิ กรรมเดมิ ซ่งึ ย่งิ มีสถานการณ์ให้
ประยกุ ต์ใชห้ ลายสถานการณย์ ่ิงดี เป็นการพัฒนาการจดั การเรยี นร้เู ดิมของครสู ู่การเนน้ สมรรถนะท่มี ากขึ้นจาก
งานเดิม ออกแบบงานหรือสถานการณ์ถึงขั้นการฝึกฝน การนำความรู้ ทักษะ และเจตคติไปประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ที่หลากหลาย เพ่ือพฒั นาผู้เรียนให้มสี มรรถนะในเรื่องทีเ่ รยี นรนู้ ั้นมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนใช้
ความรู้ ทกั ษะไดจ้ ริงในสถานการณ์ทห่ี ลากหลาย และพฒั นาสมรรถนะของผู้เรียนได้มากข้นึ ตามขัน้ ตอน ดงั น้ี
➢ ขนั้ ตอนการออกแบบการจัดการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะโดยใช้แผนการสอนเดมิ ตอ่ เตมิ สมรรถนะ
1) พจิ ารณากิจกรรมท่ีกำหนดไว้เดมิ แลว้ วเิ คราะห์วา่ ผเู้ รียนสามารถใชค้ วามรู้ ทักษะ และ เจตคติท่ีได้
เรยี นรู้แล้วให้เปน็ ประโยชนไ์ ด้อย่างไร
2) เลือกสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่จะชว่ ยให้ผู้เรยี นได้ใช้ ความรู้ ทกั ษะ และ เจตคตทิ ่ีได้เรยี นรู้แลว้
3) ออกแบบกจิ กรรมท่ีจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกให้ผู้เรยี นใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และ เจตคติ เพ่ือพัฒนาให้เกิด
สมรรถนะในสถานการณท์ ี่กำหนด
4) ปรับจุดประสงค์การเรยี นรู้ใหค้ รอบคลมุ สมรรถนะที่ได้ฝึกเพ่มิ ขึน้
5) เพมิ่ วิธีการวดั ประเมินผลสมรรถนะทีไ่ ด้ฝึกเพิ่มเตมิ
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
79
ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นการสอน
แนวทางที่ 2: ใช้งานเดิม ต่อเตมิ สมรรถนะ
โรงเรยี นทงุ่ มหาเมฆ กรุงเทพมหานคร
ตวั อย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ า ท 15101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื งภาษาถนิ่ ...บอกความเป็นไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 2
……………………………………….
1. แนวคิดสำคัญ การใช้ภาษาไทยในการสื่อสารมีความแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค คนไทยทุกคนจึงควร
เรียนรู้ภาษาถิ่น เพื่อเป็นการช่วยอนุรักษ์ภาษา สืบทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยภูมิภาค และทำให้
สามารถติดต่อสื่อสารกับคนในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้ในฐานะผู้รับสารและผู้ส่งสารได้ตามความหมายของภาษา
อารมณ์และความรู้สกึ นึกคิด เพอื่ ทำใหเ้ กดิ ความรักสามัคคขี องคนไทยในทุกภมู ิภาค
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั
2.1 มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และ
พลงั ของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
2.2 ตัวชว้ี ดั ท 4.1 ป. 5/3 เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถน่ิ
การวิเคราะห์ความสอดคล้องและเพ่ิมเติมสมรรถนะกับแผนการจัดการเรียนรู้เดมิ
3. สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy)
3.1 สมรรถนะหลกั ภาษาไทยเพอ่ื การส่ือสาร ระดบั 2 (Thai Language for Communication)
- สมรรถนะท่ี 4 การสืบสาน (ระดบั 2) สามารถใชภ้ าษาไทยในการรับรภู้ มู ิปญั ญาและวฒั นธรรม
ไทยภูมภิ าค จากแหล่งข้อมลู ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทั้งส่ือของจริง สื่อส่ิงพิมพ์ วทิ ยุ โทรทศั น์ และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์
4. สมรรถนะหลัก (Core Competency)
๏ สมรรถนะหลักด้านการสอื่ สาร (Communicative Competency)
- สมรรถนะท่ี 1 การรับสาร (ระดับ 2) เลือกใช้กลวิธีทเ่ี หมาะสมในการรบั สารได้สอดคลอ้ งกบั
รูปแบบของสารและเป้าหมาย ในการฟงั การดู การพูด และการอา่ น ตคี วามสาร พฤติกรรม และทำความ
เข้าใจความคดิ มุมมอง อารมณ์ ความรู้สกึ เพื่อทำความเขา้ ใจของผู้รบั สารและส่งสาร
5. สาระสำคญั การเรยี นรู้ภาษาถนิ่ ทำให้สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารกบั คนในท้องถ่นิ นัน้ ๆ ได้ดีขน้ึ การเรียนรู้ภาษา
ถ่นิ เปน็ การช่วยอนรุ กั ษภ์ าษา และชว่ ยให้เกดิ ความรักสามัคคี ความรู้สึกเปน็ พวกพ้องเดียวกัน
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
80
6. จดุ ประสงค์การเรียนรู้เชงิ สมรรถนะ (C)
สามารถใชภ้ าษาไทยในรปู แบบภาษาถ่นิ แต่ละภมู ภิ าคง่ายๆ จากสถานการณใ์ นชีวติ ประจำวัน และ
จากส่ือท่ีหลากหลาย และเลือกใช้กลวธิ ีทเี่ หมาะสมในการสื่อสารโดยใช้ภาษาถิน่ และเขา้ ใจความหมาย
ความคดิ มุมมอง อารมณ์ ความรู้สึก เพ่ือทำความเข้าใจข้อมูลในฐานะผู้รับสารและส่งสาร (C)
6.1 บอกประโยชนข์ องการเรียนรู้คำภาษาถ่นิ (K)
6.2 จำแนกภาษาถิน่ แต่ละภาค และใชภ้ าษาถนิ่ ในการส่ือความหมายกับผูอ้ ื่นได้ในสถานการณ์ใกลต้ ัว (P/S)
6.3 เหน็ ความสำคญั ของภาษาถน่ิ (A)
5. สาระการเรียนร้แู กนกลาง ภาษาถน่ิ
6. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
6.1 ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ช้คำถามทา้ ทาย ดังนี้
๏ การรู้จกั คำภาษาถิน่ ต่าง ๆ มปี ระโยชน์ต่อเราอยา่ งไร ใครเคยมีประสบการณเ์ กี่ยวกบั ภาษาถน่ิ บ้าง
อยา่ งไร
6.2 ข้ันสอน
1) ครกู ำหนดสถานการณ์วา่ “จะพานักเรียนไปเท่ยี วตา่ งจงั หวดั 4 ภาค” โดยใหน้ ักเรียนช่วยกัน
เลือกจงั หวดั ทีน่ ักเรียนอยากไปทอ่ งเทีย่ ว ภาคละ 1 จงั หวัด
2) ครูแบง่ นกั เรยี นเปน็ 4 กลุ่มและจบั ฉลากเลือกจงั หวดั ที่เปน็ ตัวแทนภาคจากมติของเพ่ือน ๆ
และให้นกั เรียนคน้ ควา้ คำศัพท์ภาษาถน่ิ ท่ีนักเรยี นร้จู ัก แล้วบันทกึ ลงในบญั ชีคำของกลมุ่ และออกมานำเสนอ
ผลงานของกลุ่ม โดยใหเ้ พื่อนๆ ทายความหมายของคำศัพท์ ภาษาถ่ิน ที่กลุ่มรวบรวมมาและฝึกการออกเสียง
สำเนียงของภาษาถนิ่ น้ันๆ
3) ครูกำหนดสถานการณ์ “นกั เรยี นแสดงบทบาทสมมติว่า รบั ประทานสม้ ตำจานนี้แลว้ รู้สกึ ตดิ ใจ
อรอ่ ยมากจนอยากไปเล่าใหเ้ พ่อื น ๆ ที่มาจากแต่ละภูมิภาคฟงั เริม่ จากภาษาไทยมาตรฐาน เป็นตัวอย่าง”
๏ วา้ ว ! สม้ ตำจานนอี้ ร่อยมาก รสเด็ดจรงิ ๆ
จากนัน้ ให้นกั เรียนที่สามารถใชภ้ าษาถิน่ ตามภมู ลิ ำเนาของตนเอง หรืออาสาสมัครออกมาแสดง
บทบาทสมมุติ โดยพดู ประโยคขา้ งตน้ ใหต้ รงกบั สถานการณ์ทก่ี ำหนดให้ จากน้ันให้นักเรียนทุกคนรว่ มกัน
พิจารณาคำพดู วา่ ถกู ต้องตรงตามภาษาถ่นิ นั้น ๆ หรือไม่ ครจู ะช่วยแนะนำเพ่มิ เตมิ ความรู้ใหถ้ ูกต้องย่งิ ขน้ึ เช่น
- ภาษาถนิ่ เหนอื : “ตำส้มจานน้ีลำขะหนาดเจ้า”
- ภาษาถ่ินอีสาน : “ตาบกั หงุ่ จานนี้แซบอีหลเี ด้อ”
- ภาษาถิ่นใต้ : “สม้ ตำจานนีห้ รอยจังฮู”้
4) ครูแนะนำท่วงทำนอง ลีลาการพูดในถ่ินต่าง ๆ
๏ ภาคเหนือ มักพดู ลากเสยี งยาว ชา้ ๆ ทาเสยี งเจ้าให้อ่อนหวานน่าฟงั
๏ ภาคอีสาน มักพูดคอ่ นข้างเร็วใช้เสียงสูง ๆ
๏ ภาคใต้ มกั พูดเรว็ ๆ ส้ัน ๆ หรือสาเนยี งห้วนส้นั กวา่ ภาคอนื่
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
81
5) ครูทำตาราง 4 ชอ่ ง ให้นักเรยี นเติมคำภาษาถ่นิ ต่าง ๆ เท่าทท่ี ราบ หรือ เคยเรียนมาแล้ว แลว้
ร่วมกนั ตรวจสอบความถูก ต้อง ช่วยกันแก้ไข และอา่ นทบทวน
6) นักเรยี นเล่นปริศนาคำทายในภาษาถิ่นตา่ ง ๆ เช่น
๏ กะ..............อะไร คนอสี านเรยี กขานกง้ิ ก่าของภาษาไทยมาตรฐาน (กะปอม)
๏ กา๋ ง...........อะไรเจ้า หมายถงึ ท่งุ นาของจาวเหนอื (ก๋างต้ง)
๏ ยา..............อะไร ไมใ่ ช่ยาของหมอ คนใต้นห้ี นอใชเ้ รียกสับปะรด (ยานดั )
๏ แม่.............อะไร ไม่ใชแ่ ม่จรงิ หมายถงึ ผหู้ ญิงสูงอายุ เชน่ ย่า ยาย ทวดในภาษาเหนอื (แมอ่ ๊ยุ )
7) นกั เรยี นทำใบงานเรอ่ื ง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ โดยให้นักเรียนศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่ง
เรยี นรู้ ส่ือเทคโนโลยี และภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินท่ีนกั เรยี นไปสำรวจและเก็บข้อมลู
8) ครูมอบหมายภาระงานให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม แต่งเรือ่ งส้นั ๆ ที่เก่ียวกับชวี ิตประจำวนั ของคนไทย
แตล่ ะภูมิภาค แลว้ ร่วมกนั ฝกึ ซ้อมการออกเสยี งตามสำเนียงภาษาถิน่ แตล่ ะภาคตามบทบาทในเร่อื งทีน่ ักเรยี น
แตง่ ขนึ้ (นักเรยี นสามารถไปขอคำปรึกษาจากบุคคล/ภูมปิ ญั ญาทมี่ ีภูมิลำเนาอย่ใู นภมู ภิ าค เพ่ือให้คำปรึกษา
สำเนยี งการพูด)
9) ครกู ำหนดสถานการณ์ “การแสดงละครส้ันวิถีชีวิตของคนไทย 4 ภูมิภาค” และใหน้ กั เรยี นทุกกล่มุ
ออกมาแสดงบทบาทท่นี ำเสนอบทพูดของตัวละครเป็นภาษาถน่ิ ตามทีน่ ักเรยี นไดว้ างแผนฝึกซอ้ มไว้ (ใช้เวลา
ในการแสดงไมเ่ กนิ กลุ่มละ 10 นาท)ี
10) ครปู ระเมินผลงานนกั เรยี นในการแสดงความสามารถใช้ภาษาถ่นิ ในการส่ือสารงา่ ยๆ และให้
เพื่อนๆ รว่ มกนั เสนอแนะเพิม่ เติม (กรณีทมี่ ภี มู ปิ ัญญาท่มี ีแตล่ ะภูมิภาค อาจเชิญมาร่วมเปน็ ผู้ตดั สินการแสดง)
6.3 ขนั้ สรุป นักเรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายสรุปความรู้ ดังน้ี
๏ การเรียนรู้ภาษาถิ่นทำให้สามารถติดตอ่ สื่อสารกบั คนในทอ้ งถน่ิ นั้น ๆ ได้ดีข้ึน การเรยี นรู้ภาษาถน่ิ
เป็นการชว่ ย อนรุ ักษภ์ าษา และช่วยใหเ้ กดิ ความรักสามัคคี ความรสู้ กึ เปน็ พวกพ้องเดียวกนั
7. ส่อื การเรียนรู้
7.1 วสั ดุอปุ กรณ์ เครื่องแตง่ กายในการแสดงละคร/บทบาทสมมติ
7.2 ปรศิ นาคำทาย
7.3 ภูมปิ ัญญาภาษาถ่นิ ภาคต่างๆ
7.4 ใบงานเรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน
8. ช้นิ งาน/ภาระงาน
การแสดงบทบาทสมมติ 3 ภาษา คอื ภาษาถนิ่ เหนอื ภาษาถิน่ อสี าน และภาษาถ่นิ ใต้
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
82
9. การวดั ผลและประเมนิ ผล
ผลลพั ธ์การเรียนรู้ วธิ วี ดั เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมนิ
แบบประเมนิ เร่ือง ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60
การประเมนิ ระหวา่ งเรยี น ตรวจผลงาน ภาษาไทยมาตรฐาน ขึน้ ไป
และภาษาถ่นิ
9.1 เข้าใจความหมายและบอก ผลงานกลุ่ม การ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60
รวบรวมคำศพั ทภ์ าษา ขึ้นไป
ประโยชน์ในการสอ่ื สาร คำ ถนิ่ แต่ละภูมิภาค
การประเมนิ การสื่อสาร ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ
ภาษาถนิ่ (K) ตรวจผลงาน ดว้ ยภาษาถ่นิ ระดบั ดี ขึน้ ไป
9.2 จำแนกคำและสำเนียง
ภาษาถ่นิ แตล่ ะภาค (P/S)
การประเมินหลังเรียน การแสดงบทบาทสมมติ
9.3 การสื่อสารโดยใชภ้ าษาถิ่น “ละครสัน้ 4 ภมู ิภาค”
และเขา้ ใจความหมาย ความคิด
มุมมอง อารมณ์ ความรู้สึก เพื่อ
ทำความเข้าใจข้อมูลในฐานะ
ผู้รับสารและส่งสาร
เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลรวบยอด (Summative Assessment)
รายการประเมนิ ดี (สูงกว่าเกณฑ์) ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง (กำลงั พฒั นา)
สมรรถนะ การแสดงบทบาทสมมติ พอใช้ (ตามเกณฑ์) การแสดงบทบาทสมมติ
“ละครส้นั 4 ภูมิภาค” การแสดงบทบาทสมมติ “ละครส้ัน 4 ภูมภิ าค”
การวัดและประเมนิ ผล สอ่ื สารโดยใชภ้ าษาถน่ิ “ละครสน้ั 4 ภูมิภาค” สือ่ สารโดยใชภ้ าษาถน่ิ ตาม
รวบยอด (Summative ตามสำเนยี งภาษาได้ สอื่ สารโดยใชภ้ าษาถิน่ ตาม สำเนียงภาษายงั ไม่ได้ และ
Assessment) ชดั เจน และแสดงออก สำเนยี งภาษาได้ และ แสดงออกโดยไม่เข้าใจ
-การส่ือสารโดยใชภ้ าษา อยา่ งเข้าใจความหมาย แสดงออกอยา่ งเขา้ ใจ ความหมาย ส่ือสาร
ถิน่ และเข้าใจความหมาย ความคดิ อารมณ์ และ ความหมาย ความคิด ความคดิ อารมณ์ และ
ความคดิ มุมมอง อารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้อง อารมณ์ และความร้สู ึกได้ ความรสู้ กึ ยังไมส่ อดคลอ้ ง
ความรู้สกึ เพ่ือทำความ กบั เรื่อง สอดคลอ้ งกบั เรื่องได้เปน็ กับเรอื่ ง
เขา้ ใจข้อมูลในฐานะผ้รู บั ส่วนใหญ่
สารและส่งสาร
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
83
การใช้แผนการสอนเดิมท่ีครใู ช้อยู่ มาปรับปรุงพัฒนาเพิ่มสมรรถนะทีต่ ้องการเน้นตามแนวทางท่ี 2
เป็นวิธีการที่เหมาะสมกับบริบทโรงเรียนที่คงยังต้องจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางฯ
ในชว่ งเวลารอการเปลย่ี นแปลงไปส่กู ารใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะในอนาคต…”
ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนการสอน “ภาษาถิ่น...บอกความเป็นไทย”นี้ เปน็ แผนการสอนท่ีครูใช้สอนอยู่
เดิม และนำมาออกแบบกิจกรรมที่พัฒนาสมรรถนะเพิ่มเติม โดยนำสถานการณ์ต่างๆ มาต่อยอดให้ผู้เรียนได้
ประยุกต์ใช้ความรู้ และพัฒนาทักษะในการใชภ้ าษาถิ่นของภาคตา่ งๆ ซึ่งเป็นสถานการณ์จำลองที่ครูออกแบบ
เพ่อื ปลูกฝงั ให้เกดิ เจตคติทด่ี ีต่อการใชภ้ าษาถ่ินดว้ ยกจิ กรรมต่างๆ ทีท่ ำให้เกดิ สมรรถนะที่ต้องการอย่างค่อย
เปน็ คอ่ ยไป ขอ้ สังเกต คอื แผนการสอนนี้มคี วามสมบูรณ์ข้ึนเนื่องจากครูได้วเิ คราะห์และเลือกตดั สินใจว่าจะใช้
สมรรถนะใดบ้างในการพัฒนาผู้เรียนจากบทเรียนเดิมที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนนี้ โดยสามารถปรับเพ่ิม
กิจกรรม เพิ่มสถานการณ์ และปรบั เพิ่มการประเมินสมรรถนะด้วยสถานการณใ์ หมไ่ ด้อย่างสอดคล้องกลมกลนื
ตัวอย่างท่ี 2 ที่ได้นำเสนอต่อไปนี้ เป็นการใช้แนวทางที่ 2 คือ เป็นการต่อยอดจากงานเดิมหรือแผน
การสอนเดิม ซึ่งครูได้ให้ความรู้เก่ียวกับหลักโภชนาการอาหาร 5 หมู่และวิธีการปรุงอาหารด้วยไข่ที่มีคุณค่า
ทางอาหารสูงโดยครูได้สอนวิธีเจียวไข่เด็กๆ ดูและลองทำตามเพื่อต่อยอดความรู้ และทักษะของเด็กให้ไปสู่
สมรรถนะ ซึ่งเป็นความสามารถที่สูงขึ้น ครูสามารถเพิ่มจุดประสงค์การเรียนรู้สมรรถนะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและ
สาระการเรยี นรูเ้ พ่ิมเตมิ แล้วจัดกจิ กรรมต่อยอด เพอื่ ใหเ้ ด็กได้มีประสบการณ์ในการฝึกและพัฒนาสมรรถนะได้
ดงั น้ี
ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนการสอน
แนวทางที่ 2: ใช้งานเดมิ ตอ่ เตมิ สมรรถนะ
สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5
เรื่อง โภชนาการและการปรุงอาหาร (ไขเ่ จียว)
(เวลาเรียนขึน้ อยูก่ บั สมรรถนะทต่ี ้องการพฒั นา การกำหนดเวลาเรยี นในโครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา และ
การออกแบบกจิ กรรมในรายละเอยี ด)
……………………………………….
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้เชงิ สมรรถนะ (เฉพาะท่เี พ่มิ เตมิ จากแผนการสอนเดมิ )
1. นักเรียนสามารถคิดสูตรไข่เจียวและทำไข่เจียวสูตรของตนเองได้ รวมทั้งอธิบายสูตรและวิธีทำ
ไขเ่ จียวของตนให้ผูอ้ ่นื เขา้ ใจได้
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
84
2. นักเรียนสามารถนำไข่เจียวมาประกอบอาหารจานเดียวให้มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่สำหรับแขก
ท่ีมาเย่ยี ม
3. นักเรียนร่วมกันทำอาหารด้วยไข่เจียวจำหน่ายเพื่อหาเงินช่วยน้องที่อยู่ในภาวะยากลำบากได้
ด้วยภมู ใิ จ
สมรรถนะทต่ี อ้ งการพฒั นา
1. รู้จักและเลือกใช้เครื่องมือ และแหล่งสื่อสารสนเทศเพ่ือการสืบค้นแสวงหาความรู้และเข้าถงึ ข้อมลู
ทีต่ อ้ งการ
2. พูดสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวัน บอกความรู้สึกนึกคิดของตน เล่าเรื่องและ
เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ต้งั คำถามและตอบคำถามให้ผู้อ่นื เข้าใจได้ มมี ารยาทในการพดู โดยคำนึงถึงความเหมาะสมกับ
กาลเทศะและผ้รู ับฟัง
3. รู้จักแบ่งปัน และชว่ ยเหลือผูอ้ ่ืน
4. ทำงานด้วยความเอาใจใส่ มีความเพียร อดทน พยายามทำงานใหด้ ีท่สี ุดตามความสามารถ
5. คิดริเริ่มสิ่งใหม่และอธบิ ายความคดิ ให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจ
6. สรา้ งผลงานท่แี ตกต่างจากผูอ้ ่ืน มีการทบทวนกระบวนการทำงานและมคี วามภมู ิใจในผลงาน
7. ร่วมทำงานกลมุ่ กับเพ่ือน ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำงาน รับผดิ ชอบต่อหน้าท่ที ี่ไดร้ บั มอบหมาย
สาระการเรียนรู้
1. ลักษณะ ประโยชน์ วตั ถุดิบ วิธกี ารทำไขเ่ จยี ว
2. การทำอาหารจานเดยี ว
3. ขั้นตอนการทำงาน
4. การจัดการทำงาน
5. การทำงานรว่ มกับคนอนื่
6. ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการทำงาน
กระบวนการเรยี นการสอน
ในส่วนกระบวนการเรียนการสอนที่ออกแบบเพื่อให้ผเู้ รยี นพัฒนาสมรรถนะมี 4 ขน้ั ตอน ลักษณะของ
กิจกรรมการเรียนรู้ทอี่ อกแบบแตล่ ะขน้ั ตอน มดี งั น้ี
ขั้นตอนท่ี 1 จดั การเรยี นรู้ให้รู้จรงิ ทำได้จริง
ขั้นตอนน้ีเปน็ ข้ันท่ที ำใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ในเร่ืองนัน้ ๆอย่างแทจ้ ริง ซึ่งเกิดได้จากการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
ตา่ งๆ หลากหลาย ได้ปฏิบตั ิจริงดว้ ยความสนใจจนมีความรู้ที่ชัดเจนได้ฝกึ ฝนส่ิงนัน้ จนชำนาญ และมีความรู้สึก
ชอบผกู พัน ภมู ิใจ และเห็นความหมายในสิ่งนัน้
กิจกรรม ครู/ผู้ปกครองให้ข้อมูลหรือให้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวลักษณะ ประโยชน์ วัตถุดิบ วิธีการทำ
ไขเ่ จยี ว โดยอาจใหด้ ูรปู และอธิบายจนกระทั่งนักเรียนสามารถบอกไดว้ า่ การทำไข่เจียวมีขนั้ ตอนอะไรบา้ ง
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
85
หมายเหตุ ขั้นท่ี 1 เปน็ ข้นั ท่ีครูสอนแลว้ ตามแผนการสอนเดิม
ขนั้ ตอนท่ี 2 การจดั สถานการณใ์ หไ้ ดใ้ ช้ สงิ่ ที่รู้ สิง่ ทท่ี ำได้ อย่างต้ังใจ
เห็นคุณคา่ และประโยชน์ : ข้ันตอนนีเ้ ปน็ การออกแบบกิจกรรมท่จี ะทำให้ผูเ้ รยี นนำความรู้ ทักษะ และ
คุณลักษณะไปใช้ ซึ่งอาจเป็นสถานการณ์ที่ไม่ซับซ้อนมาก แต่เป็นสถานการณ์ที่ผู้เรียนเห็นคุณค่า และ
ประโยชน์ทเี่ กิดข้ึน
กิจกรรม ครู/ผู้ปกครองให้ข้อมูลหรือให้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะประโยชน์ วัตถุดิบ วิธีการทำไข่
เจียว และให้นักเรียนฝึกทำไข่เจียว สูตรต่างๆชิม และปรับสูตรจนเป็นสตู รที่ตนพอใจและนำเสนอสูตรไข่เจียว
ของตนเองให้เพอ่ื นฟงั
ขัน้ ตอนที่ 3 จัดสถานการณ์ใหม่ๆทซี่ บั ซอ้ และนำไปใช้ไดใ้ นชวี ติ
ขั้นตอนนี้เป็นการออกแบบสถานการณ์ให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นำความรู้ ทักษะ และ
คุณลักษณะไปใช้ร่วมกันในสถานการณ์ที่ยาก ซับซ้อน และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ซึ่งขั้นนี้อาจจะตรวจสอบว่า
ผูเ้ รยี นมีสมรรถนะในระดบั ใด และเตมิ เตม็ พฒั นาผเู้ รยี นให้มีสมรรถนะในระดบั ท่ีสูงข้นึ
กิจกรรม ครู/ผู้ปกครองให้นักเรียนนำไข่เจียวมาประกอบอาหารอย่างอื่น ให้เป็นอาหารจานเดียวที่มี
สารอาหารครบ 5 หมู่ เพือ่ เปน็ อาหารสำหรบั แขกท่ีมาเย่ียม โดยใหล้ องทำ ฝกึ ฝนจนม่ันใจ และให้นักเรียนได้มี
โอกาสสอบถามแขกเก่ยี วกบั รสชาติของอาหาร และคำแนะนำเพ่ือการปรบั ปรงุ ในโอกาสต่อไป
ข้นั ตอนที่ 4 การจดั สถานการณ/์ งานใหญ่ ซับซ้อน ท่ีเช่อื มโยงกบั ความรู้ สาระเรอ่ื งราวและสมรรถนะอ่ืน
ขั้นตอนนี้เป็นการออกแบบสถานการณ์ให้ผู้เรียนพัฒนาสมรรถนะโดยเชื่อมโยงกับสมรรถนะอื่น ซึ่ง
เปน็ สิ่งท่ียาก ซบั ซ้อนมากขึน้ ข้ันน้ี ผ้เู รยี นแต่ละคนอาจจะพบกบั สถานการณ์ไมเ่ หมอื นกันขึน้ อยู่กบั ความสนใจ
ความถนดั และระดับสมรรถนะกไ็ ด้
กิจกรรม ครู/ผู้ปกครอง ให้นักเรียนรวมกลุ่มกับเพื่อนช่วยกันทำอาหารที่ปรุงด้วยไข่ ประกอบกับ
อาหารอย่างอื่น จำหน่ายเพื่อหาเงินไปช่วยน้องๆที่อยู่ในภาวะยากลำบาก และนำเงินไปบริจาค พร้อมทั้งให้
นักเรียนสะท้อนความคิด ความรู้สึกที่เกิดขึ้นทั้งในช่วงทำงานร่วมกันเพื่อหาเงนิ ไปบริจาค และช่วงที่นำเงินไป
บริจาคชว่ ยเหลือนอ้ งๆ
กิจกรรมข้างต้น ครู/ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้ในการพัฒนานักเรียนได้ ทำให้นักเรียนเรียนรู้
อย่างตื่นตัว ทั้งทางกาย สติปัญญา สังคม จิตใจและอารมณ์ ส่งผลให้นักเรียนเกิดความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ
และยังมีโอกาสนำความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่เรียนรู้นั้นไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งมีความยากมากข้ึน
เข้นข้นมากขึ้น และมีความหมายมากยิ่งขึ้น ทำให้เกิดสมรรถนะหลายสมรรถนะมากขึ้น และสมรรถนะต่างๆ
เกิดอยา่ งมน่ั คงมากขึน้ ดว้ ย
จะเห็นได้ว่า การสอนตามแผนเดิม (ที่มักทำกันโดยทั่วไป) มักจะจบอยู่ที่การให้ความรู้และการฝึก
ทักษะ (เพียงเล็กน้อย) ทำให้นักเรียนยังไม่เกิดสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การเพิ่มขั้นตอนที่ 2-4 จะช่วย
พฒั นาสมรรถนะท่ตี อ้ งการได้
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
86
กลมุ่ ที่ 2: การนำกรอบสมรรถนะหลักสกู่ ารพัฒนาผ้เู รียนโดยอิงฐานสมรรถนะและ
หลักสูตรอิงมาตรฐาน
การนำสมรรถนะความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก
7 สมรรถนะ (Core Competency) สู่การพัฒนาผู้เรียนของกลุ่มแนวคิดนี้ ครูผู้สอนสามารถออกแบบการจัด
การเรียนรู้บนฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน
โดยตั้งต้นจากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดชั้ปี หรือเริ่มต้นจากกำหนดสมรรถนะของผู้เรียนที่ต้องการโดยอิง
กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนก็ได้ โดยครูวิเคราะห์ความสอดคล้องของสมรรถนะและตัวชี้วัดชั้นปีมาใช้ใน
การออกแบบการสอนบูรณาการกิจกรรมพัฒนารว่ มกัน เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้ท้ังเนอ้ื หาสาระและทักษะตามที่
ตวั ชีว้ ดั กำหนดไปพร้อมกบั การพัฒนาสมรรถนะหลักทีจ่ ำเป็นต่อชีวิต ท้งั น้ีครูสามารถเลอื กใช้รปู แบบการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาสมรรถนะและชว่ ยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ไปด้วยกัน
แนวทางในกลุม่ น้ีแบง่ เปน็ แนวทาง 2 แนวทาง ไดแ้ ก่ แนวทางท่ี 3 และแนวทางท่ี 4 ดังนี้
แนวทางที่ 3 : ใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้ สู่การพฒั นาสมรรถนะ
การออกแบบการสอนตามปกติทม่ี กี ารนำรูปแบบการเรยี นรูท้ ี่ใชเ้ ดิมมาวเิ คราะห์เช่ือมโยงกับ
สมรรถนะทสี่ อดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้ ซง่ึ ช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์ของรูปแบบ
การเรียนรู้ และเกิดสมรรถนะทมี่ ุ่งพัฒนาไปพร้อมกนั
การนำรูปแบบการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะ เป็นการสอนตามปกติที่มีการนำรูปแบบ
การเรียนรู้หรือนวัตกรรมการสอนที่ใช้อยู่เดิม มาวิเคราะห์เชื่อมโยงโดยใช้สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน
(Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะ (Core Competency) ที่สอดคล้อง
กับรูปแบบการเรียนรู้ทีค่ รูนำมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด และเกิดสมรรถนะทีเ่ ปน็ เปา้ หมายการพฒั นาผเู้ รยี น
➢ ลักษณะ
การสอนตามแนวทางท่ี 3 น้ี เป็นการสอนทมี่ กี ระบวนการตามรูปแบบการสอนทค่ี รูคดั สรรแล้วว่า
สามารถพฒั นาสมรรถนะผู้เรยี นได้ โดยมกี ารพจิ ารณาความสอดคล้องระหว่างจุดม่งุ หมายของรูปแบบการสอน
แนวคิดทฤษฎพี ืน้ ฐาน และขั้นตอนการสอนของรูปแบบการสอนกับสมรรถนะท่ีมุ่งพัฒนา พิจารณาว่าสามารถ
ปรับหรือเพ่ิมขั้นตอนย่อยๆ ในรูปแบบการสอน เพื่อเพิ่มหรือเน้นทักษะสำคัญๆของสมรรถนะได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพและครอบคลมุ เป้าหมาย
หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
87
รูปแบบการสอนเป็นชุดของความสัมพันธ์ของความรู้ต่าง ๆ ที่อธิบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดย
รูปแบบการสอนที่นักการศึกษาพัฒนาข้ึนส่วนใหญ่มีองค์ประกอบสำคัญคือ จุดหมาย แนวคิดทฤษฎีพื้นฐาน
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ หลักในการแสดงออกของครู ระบบสังคมในการเรียน ระบบสนับสนุนรูปแบบ และ
ผลที่เกิดกับผู้เรียน โดยองค์ประกอบต้องสัมพันธ์กัน ครูผู้ใช้รูปแบบจึงต้องเข้าใจกระจ่างว่ารูปแบบการสอน
ต่าง ๆ ล้วนมีจุดหมายหลักต่างกัน การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนให้บรรลุจุดหมายต้องใช้แนวคิดทฤษฎีและมี
ขั้นตอนการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกัน และทำให้เกิดผลที่ผู้เรียนได้ตามจุดหมาย อาทิ รูปแบบซิปปา
(CIPPA) ใช้ทฤษฎี Constructivism เป็นพื้นฐาน สามารถเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงและ
นวัตกรรมได้ รูปแบบสะเต็มศึกษามีแนวคิดพื้นฐานให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้หลายวิชา ทักษะหลายด้านใน
การเรียนที่เน้นประสบการณ์ มีผลผลิตจากการเรียน ใช้ในชีวิตประจำวันหรือในการทำงานได้ จึงสามารถใช้
รูปแบบนพี้ ัฒนาทักษะชวี ิตและความเจรญิ แห่งตนไดน้ อกจากน้ีครยู ังสามารถปรบั หรือเพิ่มข้ันตอนหรือใช้แหล่ง
เรียนรู้ผู้เชยี่ วชาญเพื่อนำไปสู่การพฒั นาการรเู้ ทา่ ทันสื่อ สารสนเทศและดิจิทัล ทักษะอาชีพและผู้ประกอบการ
ทักษะการคดิ ระดับสูงและนวัตกรรมได้ เป็นตน้
การมีรูปแบบการสอนที่มีจุดหมายหลักเป็นฐาน ตรงกับสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน
(Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะ (Core Competency) ครูจึงสามารถ
เลือกใช้ได้โดยตรง อาทิ รูปแบบการสอนแบบสืบสอบ รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เป็นต้น ครูที่
ต้องการใช้รูปแบบการสอนหรือรูปแบบการเรียนรู้สู่การพัฒนาสมรรถนะในระยะเริ่ม ไม่จำเป็นต้องพัฒนา
หลายสมรรถนะโดยใช้รูปแบบเดียวและไม่จำเป็นต้องใช้หลายรูปแบบ เพราะครูต้องทำความเข้าใจรูป
แบบอย่างถ่องแท้ ในการสอนตามรูปแบบควรเน้นความสามารถของผู้เรียนที่ปฏิบัติได้ แสดงออกได้
ทำไดใ้ นชวี ติ จรงิ
➢ ขั้นตอนการออกแบบการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะโดยใชร้ ปู แบบการสอน
1) เลือกรูปแบบการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสม สอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้
2) การออกแบบกิจกรรมการสอนอาจมีการปรับหรือเพิ่มข้ันตอนในการฝกึ ทักษะหรือสมรรถนะย่อย
ที่เน้นการให้ผู้เรียนแสดงความสามารถออกมาให้เห็นผลจริง เช่น เพิ่มข้ันตอนการประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
ใหม่หรือในชีวติ จรงิ
3) กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการ/ขน้ั ตอนของรูปแบบการเรียนรู้
4) ศกึ ษาสมรรถนะตา่ ง ๆ และพจิ ารณาว่าในกระบวนการ/กจิ กรรมที่กำหนด มสี มรรถนะใดทสี่ ามารถ
นำมาบรู ณาการได้
5) คิดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพัฒนาสมรรถนะทน่ี ำมาบรู ณาการ
6) ปรบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้ครอบคลุมสมรรถนะที่นำมาเพ่ิมเตมิ
7) เพิม่ เตมิ วธิ กี ารวดั และประเมินสมรรถนะท่ีนำมาบูรณาการ
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
88
ตัวอย่างแผนการจัดการเรยี นการสอน
แนวทางท่ี 3: ใช้รปู แบบการเรยี นรู้ ส่กู ารพฒั นาสมรรถนะ
ตัวอย่างท่ี 1 แนวทางการใช้รูปแบบการสอนมโนทัศน์ (Concept Attainment Model) เพื่อพัฒนา
สมรรถนะการคดิ ขนั้ สงู
รปู แบบการสอนมโนทัศน์มงุ่ ฝกึ ให้ผเู้ รียนคดิ สรา้ งมโนทศั นจ์ ากการหาลักษณะสำคญั ที่เป็นลักษณะร่วม
ของกลมุ่ ส่ิงของหรอื เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ไดฝ้ ึกการคดิ จำแนกสง่ิ ต่าง ๆ ออกเป็นพวกๆอยา่ งมีหลกั เกณฑ์ ฝึกการหา
ทางเลือก การตั้งสมมติฐาน การทดสอบสมมติฐานและการอ้างเหตุผลแนวคิดพื้นฐานอธิบายว่า มโนทัศน์ใด
มโนทัศน์หนึ่งประกอบด้วยชื่อ ตัวอย่างมโนทัศนแ์ ละลกั ษณะสำคัญ เช่น ผลไม้ (ชื่อมโนทัศน์) เช่น ส้ม แตงโม
แอปเปิล ฝรั่งฯลฯ (เปน็ ส่วนท่อี ธบิ ายต่อไปนีเ้ ป็นลักษณะสำคัญ) ผลของพืชทีก่ นิ ไดเ้ ลยโดยไมต่ ้องปรุงประกอบ
กับสิ่งอื่น นิยมกินเมื่อสุกซึ่งมีรสชาติเฉพาะ เช่น หวาน เปรี้ยว มัน อาจมีกลิ่นเฉพาะ เช่น หอม ฉุน ส่วนมาก
เป็นผลของพืชยนื ตน้
ขนั้ ตอน/กจิ กรรม สมรรถนะ/ทักษะยอ่ ย
1. ขนั้ นำเสนอ ทักษะการคดิ ขน้ั สูงและนวัตกรรม
ครูเสนอภาพและหุน่ จำลองหรือของจริง ได้แก่ สมรรถนะที่ 2 การคิดวจิ ารณญาณ
กลว้ ย มะละกอ ฝรง่ั มะมว่ ง มะยม เงาะ ส้ม มังคดุ 2) สรปุ ความเขา้ ใจของตนและแสดงความคิดเห็น
แกว้ มงั กรฯลฯ ใหน้ ักเรียน ดู จับ ดม ชมิ (ครไู มบ่ อก อย่างมเี หตุผลเกีย่ วกับเรือ่ งทไ่ี ด้จากการต้ังคำถาม
ว่าจะเรยี นเกย่ี วกบั ผลไม้ ครูไมเ่ ปน็ คนบอกชือ่ มโน การฟัง/อ่านข้อมูล เรื่องราวที่หลากหลายมมุ มองท่ี
ทัศน์และอธบิ ายลักษณะสำคัญ) ตอ้ งอาศัยการวิเคราะห์และการตีความ
ใหน้ ักเรียนพิจารณาและบอกเกี่ยวกับกล้วย
มะละกอ ฝรงั่ ..(ครตู งั้ คำถามเพือ่ ให้พิจารณาอย่าง
ละเอยี ด)
2. ขน้ั ทดสอบและระบุลักษณะสำคัญ
ครถู ามวา่ พวกเหล่าน้เี ป็นอะไร มคี วาม 3) อธิบายเหตุผลของการตดั สินใจในเร่อื งต่าง ๆ ใน
เหมอื นกันแบบใด ครนู ำผลมะเขือ มะนาว ผักกาด ชีวิตประจำวนั ของตน และบอกไดว้ า่ การตัดสนิ ใจ
ถั่วฝักยาวแอปเปิล ลองกองฯลฯ เสนอทลี ะชนดิ และ ของตนมคี วามเหมาะสม โดยสามารถระบุหลักฐาน
ถามวา่ จัดเขา้ พวกเดียวไหม เมอ่ื นักเรียนตอบ ครู สนบั สนนุ ความคดิ ได้
ยนื ยัน (แอปเปลิ กบั ลองกอง เขา้ พวกแต่มะเขือ
มะนาว ผกั กาด ถัว่ ฝกั ยาว ไม่ใชพ่ วกนี้)
ใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั บอกความเหมือนหรือ
ลกั ษณะรว่ มเพ่ิมเตมิ ครเู ขียนเมื่อนกั เรียนระบุ
ลกั ษณะสำคญั ตามท่ีนักเรียนพดู ได้ชดั เจน เขียนตาม
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
89
ขั้นตอน/กิจกรรม สมรรถนะ/ทกั ษะยอ่ ย
คำพดู ของนักเรียนเพอื่ ใหน้ กั เรียนกล้าคดิ เพราะครู
ยอมรับความคิดของนักเรยี น ครอู าจถามเพ่อื สมรรถนะท่ี 3 การคิดแกป้ ญั หา
ตรวจสอบวา่ นักเรยี นพจิ ารณาจากตวั อย่างทเ่ี สนอ 4) ระบปุ ญั หาที่ยาก ซบั ซอ้ น บอกความเกย่ี วข้อง
ระหวา่ งปญั หากบั ตนเอง ผู้อน่ื สังคม คิดหาสาเหตุ
ครถู ามกระตนุ้ การคดิ อาจใช้คำถามเจาะจง และวิธกี ารแก้ไขปัญหาที่หลากหลายและเป็นไปได้
มากขึ้นเมือ่ นักเรียนระบลุ ักษณะสำคัญบางลกั ษณะ จริงในทางปฏิบตั แิ ละคาดการณ์ผลกระทบ ทง้ั
ไมไ่ ด้ เชน่ ถามวา่ เมื่อเราจะกินมะนาวกับกนิ ส้ม ทางบวกและทางลบที่จะเกดิ ขึ้น อนั เปน็ ผลจาก
ต่างกันอยา่ งไร วิธีการแก้ไขปญั หาเหลา่ นัน้ ทเ่ี หมาะสมท่ีสุด
ถ้ามนี กั เรียนบางคนบอกว่าพวกน้เี ป็นผลไมค้ รู
กเ็ ขยี นคำว่าผลไม้ เปน็ หวั ขอ้ หลัก (ครูไมค่ วรบอกวา่
จะเรียนเร่อื งผลไม้ ในชว่ งเรม่ิ เรียน เพือ่ ไมใ่ ห้
นักเรยี นระบลุ กั ษณะสำคญั จากความจำหรือความรู้
เดมิ )
เมื่อเขียนลักษณะสำคัญครอบคลุมมโนทัศน์ท่ี
นกั เรียนระดบั นั้นเรยี นรู้ได้ ครูกบั นักเรยี นช่วยกัน
เรียบเรียงคำอธบิ ายวา่ ผลไม้คืออะไร
3. ขน้ั วเิ คราะหก์ ลวธิ กี ารคิด
ครูถามนกั เรียนบางคนท่ีระบลุ กั ษณะสำคัญได้
ชดั เจน เช่น
- นกั เรยี นคิดได้อยา่ งไรวา่ ..เปน็ พวกท่ีกนิ ได้เลย
ไมต่ ้องเอาไปทำกบั ขา้ ว
- นักเรียนรู้สกึ อยา่ งไรเม่ือบอกวา่ เป็นพืชสวนแต่
ครูไม่ได้เขียนส่งิ ที่นักเรยี นพูด
ตัวอยา่ งที่ 2 แนวทางการใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project–Based Learning)
เพ่อื พฒั นาทักษะการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์
การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานมีแนวคิดสำคัญคือเมื่อผู้เรียนได้ใช้ความ รู้และทักษะ
หลายด้าน (บูรณาการ) จะสามารถสร้างหรือพัฒนาความรู้ใหมไ่ ด้ เป็นการแก้ปญั หาและสร้างสรรค์ที่ใชไ้ ด้จริง
และมีแนวคิดวามเชื่อพื้นฐานว่าการเรียนรู้จากการปฏิบัติ จากประสบการณ์ตรงจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
นำความรแู้ ละทกั ษะไปประยุกต์ใช้ได้
ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต
90
ขนั้ ตอน/กจิ กรรม สมรรถนะ/ทักษะยอ่ ย
1. ขน้ั กำหนดโจทย์/ปญั หาความต้องการจำเปน็ ใน การสบื สอบทางวิทยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตร์
การทำโครงงาน ระดบั 2
ครเู สนอสถานการณ์ทน่ี ่าสนใจ/นา่ สงสยั / สมรรถนะที่ 1 การเชือ่ มโยงเหตุและผล
ท้าทายใหแ้ ก้ปญั หาดว้ ยความร้แู ละทกั ษะท่เี รยี น 1) ระบุเหตแุ ละผลของปรากฎการณืทเ่ี กิดขน้ึ ใน
ให้นักเรียนระดมความคิดอาจคน้ หาข้อมูลที ชีวิตประจำวัน
เกี่ยวข้อง แสดงความคิดเก่ยี วกบั ปัญหาคำสำคัญใน สมรรถนะที่ 2 การเช่อื มโยงเหตุและผล
สถานการณน์ ั้น กำหนความสนใจ 2) อธบิ ายได้ว่าความสัมพนั ธใ์ ด ๆ อาจเป็นหรือไม่
และความจำเป็นในการทำโครงงาน เป็นความสมั พันธใ์ นเชงิ เหตุและผล
2. ข้นั วางแผนเตรยี มการ สมรรถนะที่ 3 การสบื เสาะหาความรู้
นกั เรยี นรว่ มกนั วางแผนการทำโครงงานโดยใช้ 5) ต้ังคำถามเก่ียวกับปรากฏการณต์ ่างๆท่ีพบ
ทงั้ ความร้แู ละทักษะทีม่ หี รือสบื คน้ เพม่ิ เพ่ือให้ ในชวี ิตประจำวัน ซ่ึงเปน็ คำถามทนี่ ำไปสู่การสืบ
สมเหตสุ มผล ครอบคลุม นำไปสู่การบรรลุ เสาะหาความรู้ สามารถหาคำตอบไดโ้ ดยมหี ลกั ฐาน
วัตถปุ ระสงค์ ครูกระต้นุ การคิดอย่างสมเหตุสมผล สนับสนนุ หรอื คดั คา้ น
กระต้นุ ให้วางแผนอย่างครบกระบวนการทจี่ ะนำไป 6) ออกแบบแนวทางการสบื เสาะหาความรู้ โดย
ปฏบิ ตั ิได้ ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันเตรยี มการทั้งดา้ น คำนงึ ถึงความเป็นไปได้ในการดำเนนิ การใน
อุปกรณ์ สถานท่ี คนรบั ผิดชอบ และอ่นื ๆ ชีวิตประจำวนั
3. ขน้ั ทำโครงงาน สมรรถนะที่ 4 การโต้แย้งในประเด็นสำคัญ
การรวบรวมข้อมูลมาคิดตอ่ เพ่ือตอบโจทย์ อาจ 7) สนทนาดว้ ยการรบั ฟงั และใหค้ วามคดิ สนับสนนุ
เป็นการทำการทดลองในห้องทดลองในสถาน หรือคัดค้านเกย่ี วกบั ขอ้ กลา่ วอ้าง และยอมรับในข้อ
ประกอบการในสถาน ทจ่ี รงิ หรือวิธีการอื่น ๆทเ่ี น้น กล่าวอา้ งที่มหี ลกั ฐานสนบั สนนุ โดยไม่ลำเอียง แม้
การให้ผู้เรียนสัมผัสขอ้ มูลเองปฏบิ ตั ิเอง ข้อกล่าวอ้างนนั้ จะแตกต่างจากข้อกล่าวอา้ ง ของ
บทบาทสำคัญของผู้เรียน คือ รวบรวมข้อมลู ตนเองโดยมีหลักฐานประกอบ เพอ่ื ใชป้ ระเมนิ ความ
นำขอ้ มลู ไปประมวล วเิ คราะห์ สรา้ งข้อสรปุ หรอื นา่ เชอื่ ถอื ของข้อกล่าวอ้าง
คำอธบิ ายหรอื สรา้ งผลงาน/ชนิ้ งานท่ีใชง้ านใช้
แกป้ ัญหาได้ มีการแสดงความรูค้ วามคิดฟงั ผู้อน่ื มี
การรว่ มกันตดั สินใจเลือกแนวทางหรือข้อสรุปท่ีมี
ข้อมลู อ้างองิ และม่งุ มัน่ สคู่ วามสำเรจ็ ของโครงงาน
บทบาทครคู ือผู้อำนวยความสะดวก และที่
ปรึกษา ครูควรแสดงออกใหผ้ เู้ รยี นรสู้ ึกวา่ ครเู ปน็ ผู้
ร่วมเรียนรู้กับทีมผทู้ ำโครงงาน
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
91
ขั้นตอน/กิจกรรม สมรรถนะ/ทักษะย่อย
4. ขั้นนำเสนอโครงงาน
ครอู ำนวยความสะดวกในการนำเสนอผลงาน
โครงงาน ผู้ทำโครงงานออกแบบวางแผนเตรียมการ
ฝกึ การนำเสนอและจัดการนำเสนอ อาจมผี ู้ชม
การนำเสนอบุคคลอื่นๆ เช่นผู้ปกครอง ผู้รู้ คนใน
ชุมชน ในขน้ั นี้ควรเนน้ การเสนอผลงาน
กระบวนการทำโครงงาน และการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ เน้นให้ผทู้ ำโครงงานมโี อกาสไดร้ บั
ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการพัฒนาปรับปรงุ
ตวั อย่างท่ี 3 แนวทางการใช้รปู แบบซิปปาเพือ่ พัฒนาสมรรถนะหลัก
รูปแบบซิปปา (CIPPA Model) เป็นรูปแบบที่มีแนวคิดพื้นฐาน 5 ประการ คือ 1) แนวคิดการสร้าง
ความรู้ 2) แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ 3) แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมใน
การเรียนรู้ 4) แนวคิดเกีย่ วกับการเรียนรู้กระบวนการ 5) แนวคดิ เกี่ยวกบั ถา่ ยโอนการเรียนรู้
ขั้นตอน/กจิ กรรม สมรรถนะ/ทกั ษะย่อย
1. การทบทวนความรเู้ ดิม ภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สาร ระดับ 2
สมรรถนะที่ 1 การรบั สาร
ครใู ชว้ ธิ ีการท่หี ลากหลายเพอ่ื กระตนุ้ ใหค้ ิดถึง 1) สามารถใชภ้ าษาไทยเป็นเครื่องมือในการรบั
ความรู้เดิมในเร่ืองท่ีมุ่งสอนออกมาเพื่อใหผ้ ูเ้ รยี น ขอ้ มูล ความรู้ ความรสู้ กึ ความคิดเหน็ จากส่ือท่ีมี
พร้อมทจ่ี ะเชื่อมโยงไปสรา้ งความรู้ใหม่ท่มี ุ่งสอน ภาพ สญั ลักษณ์ คำศัพท์ที่ไม่ตรงความหมายที่
ผเู้ รยี นได้เสนอความรเู้ ดมิ ไดฟ้ ังจากเพ่ือนๆ ส่งผา่ นอวัจนภาษาของผูส้ ่งสารจากแหล่งข้อมลู
รูปแบบตา่ ง ๆ อย่างกระตือรือรน้ มเี หตุผล
สมรรถนะท่ี 2 การส่ง/ถา่ ยทอดสาร
2) สามารถใชภ้ าษาท่มี ีถา่ ยทอดข้อมลู ความรู้
ความรสู้ กึ ความคิดเห็น ประสบการณ์ จนิ ตนาการ
ผ่านช่องทางรปู แบบตา่ ง ๆ ในการสอื่ สารกบั ตนเอง
ระหว่างบุคคล กลุ่ม ที่ประชุม ในลกั ษณะการสื่อสาร
ทางเดียวอยา่ งถกู ตอ้ งตามโครงสรา้ งทางภาษา
หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
92
ขั้นตอน/กิจกรรม สมรรถนะ/ทกั ษะย่อย
2. การแสวงหาความรู้ใหม่ การร้เู ท่าทนั ส่อื สารสนเทศ และดิจิตลั ระดับ 2
สมรรถนะที่ 1 เลือกใชเ้ ครอื่ งมือ ส่ือสารสนเทศ
นกั เรียนต้องได้ปฏบิ ัติการแสวงหาข้อมูล และดิจิตลั และเรยี นรู้ทกั ษะเบ้ืองต้นของการผลิต
จากแหลง่ ตา่ ง ๆ อาจใช้เครื่องมอื สือ่ สารออนไลน์ สอ่ื
เพ่อื คน้ หาข้อมูลท่ีเกยี่ วข้องกับเรอ่ื งทเ่ี รียน 1) เลอื กใชเ้ คร่ืองมอื ส่ือสารสนเทศ และดิจิตัลเพื่อ
การสบื คน้ และเข้าถึงข้อมูลที่ตอ้ งการอยา่ งเหมาะสม
3. การศึกษาทำความเขา้ ใจข้อมูล/ ความรู้ใหม่ เพอ่ื นำมาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชนต์ ่อตนเองและ
และเชอ่ื มโยงความรู้ใหม่กับความรูเ้ ดมิ ครอบครัว
ทกั ษะความคดิ ขั้นสงู และนวัตกรรม ระดบั 2
ครูมบี ทบาทสำคัญในการกระตุ้นการคิด สมรรถนะท่ี 2 การคดิ วิจารณญาณ
ของผ้เู รยี นใหเ้ ช่ือมโยงความรเู้ ดมิ กับข้อมลู ใหม่ๆ 2) สรุปความเขา้ ใจของตนและแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลท่ีไดร้ ับเพิ่มแลว้ เกิดความเขา้ ใจใหม่ทช่ี ัดเจน อย่าง มเี หตุผลเกยี่ วกับเรือ่ งนั้นไดจ้ ากการต้ังคำถาม
ขน้ึ หรอื เป็นความรใู้ หมข่ องผูเ้ รยี น การฟัง/อา่ นข้อมลู เร่ืองราวท่ีหลากหลายมุมมอง ซง่ึ
ต้องอาศัยการวเิ คราะห์และการตีความ
ผ้เู รยี นอาจเรียนรูเ้ ป็นกลมุ่ ย่อยซึง่ จะชว่ ยให้ 3) อธิบายเหตผุ ลของการตัดสนิ ใจในเรื่องต่าง ๆ ใน
การเสนอความคิดการแลกเปลี่ยนความคิด ชีวติ ประจำวนั ของตน และบอกได้ว่าการตัดสินใจ
การสรา้ งความเขา้ ใจใหมๆ่ ได้ความคดิ ท่ีมากพอ ของตนมีความเหมาะสม โดยสามารถระบหุ ลักฐาน
ครอบคลุมจนผเู้ รียนแต่ละคนสร้างความหมายหรือ และความคดิ ได้
ความเข้าใจในตนเองได้
4. การแลกเปล่ยี นความรู้ความเขา้ ใจกับกลุ่ม ทักษะการคดิ ข้ันสูงและนวตั กรรม
สมรรถนะท่ี 4 การคิดสรา้ งสรรค์
เนน้ ใหผ้ ้เู รียนตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง 6) แสดงความคิดเห็นในเร่ืองต่าง ๆ บอกเลา่
กบั สมาชกิ กลุ่มครตู ้องสามารถสงั เกตและพิจารณา ความคิด จินตนาการของตนเองทีแ่ ปลกใหม่ไปจาก
ไดว้ ่าปฏิสมั พนั ธ์ในกลุ่มเกิดการตรวจสอบความรู้
ใหม่หรือขยายความรู้
5. การสรุปและจดั ระเบียบความรู้
ครกู ระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเรยี บเรยี งหรอื จดั ระบบ
ระเบียบผลงานการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
สมเหตุสมผลมคี วามถูกต้องและเขา้ ใจสื่อไดช้ ัดเจน
6. การปฏิบัติการและ/หรอื การแสดงผลงาน
ผเู้ รยี นสรา้ งและแสดงผลงานการเรยี นรโู้ ดย
ผเู้ รียนสร้างความเข้าใจหรือความรทู้ ีเ่ ป็นผลงานนั้น
ครูควรสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นใชค้ วามคิดสรา้ งสรรคด์ ้วย
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต
93
ข้นั ตอน/กจิ กรรม สมรรถนะ/ทกั ษะย่อย
ส่งิ รอบตัวของตนเองและบริบทแวดล้อม และตอ่
7. การประยกุ ต์ใช้ความรู้ ยอดความคิดของตนเองให้แตกต่างไปจากเดิม
ครูสร้างสถานการณ์ใหม่ให้ผู้เรียนใชค้ วามรใู้ หม่ ทักษะการคิดขั้นสูงและนวตั กรรม
สมรรถนะที่ 3 การคดิ แกป้ ญั หา
หรือแกป้ ญั หาในสถานการณโ์ ดยใชค้ วามรนู้ ้นั อาจ 5) ลงมอื แกป้ ญั หาดว้ ยตนเองดว้ ยวธิ กี ารท่คี ัดเลอื ก
เชอื่ มโยงกับความร้อู ่ืนเพือ่ ให้การประยุกต์ใชค้ วามรู้ ไว้ และดำเนนิ การตามข้นั ตอนของวธิ กี ารจนปัญหา
บรรลตุ ามเปา้ หมายที่ต้องการ ไดร้ ับการแกไ้ ข
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนฐานสมรรถนะตามแนวทางที่ 3 โดยการใช้รูปแบบ
การสอนซึง่ เป็นนวัตกรรมการสอนท่ีครูใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนตามจุดเน้นท่ีต้องการ ครูจึงควร
วิเคราะห์และเลือกสมรรถนะที่สอดคล้องกับกิจกรรมที่จัดขึ้นตามขั้นตอนการสอนของรูปแบบนั้น ๆ
ที่ครูคาดหวังให้เกิดสมรรถนะที่ต้องการ จะทำให้สามารถส่งเสริมสมรรถนะผู้เรียนไปพร้อม ๆ กับ
การพฒั นาจดุ เน้นที่ต้องการผ้เู รยี นตามรปู แบบการสอนได้ในคราวเดยี วกนั
แนวทางท่ี 4 : สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตวั บง่ ช้ี
แนวทางนี้เป็นการสอนโดยนำสมรรถนะและตัวชี้วัดที่สอดคล้องกันมาออกแบบก ารสอน
ร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทั้งเนื้อหาสาระและทักษะตามที่ตัวชี้วัดกำหนด ไปพร้อมกับ
การพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นต่อชีวติ
➢ ลกั ษณะ
การออกแบบการสอนแนวทางที่ 4 นี้ เป็นการนำสมรรถนะมาเป็นฐานในการวางแผนออกแบบ
การจัดการเรียนการสอน โดยการพิจารณาความสอดคล้องของสมรรถนะกับตัวชี้วัดที่สอดคล้องกันมาใช้ใน
การออกแบบการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรูท้ ัง้ เนื้อหาสาระ ทักษะและเจตคติ ค่านิยมตามที่ตัวช้ีวัดกำหนด
ไปพร้อมกับการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นต่อชีวิตของเขา วิธีการนี้เหมาะสำหรับครูท่ี ได้ทดลองนำ
สมรรถนะเข้ามาใช้ในการเรียนการสอนปกติตามแนวทางที่ 1-2 มาระยะหนึ่ง จนมีความมั่นใจมากขึ้น และ
พร้อมที่จะก้าวออกจากการสอนแบบเดิมๆไปสู่การสอนที่เน้นสมรรถนะอย่างเต็มตัว หรือครูที่เห็นประโยชน์
ของสมรรถนะและต้องการจะออกแบบแผนการสอนของตน โดยใช้สมรรถนะเป็นตัวนำในการวางแผนเพื่อ
พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน แต่ขณะเดยี วกันกค็ รอบคลมุ ตัวช้ีวัดท่หี ลักสตู รสถานศึกษากำหนดไวอ้ ย่างครบถว้ น
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
94
ลักษณะของแผนการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ คือ การเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนที่มี
การบูรณาการสมรรถนะสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ครูต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให้มีการจัด
การเรียนรู้ที่หลายหลาย เน้นให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกการประยุกต์ใชค้ วามรู้ ฝึกทักษะ และพัฒนาคุณสมบัติต่างๆ ผ่าน
การปฏบิ ัติจรงิ ในสถานการณต์ า่ งๆอย่างกว้างขวาง
ทม่ี าของหวั ข้อ / หัวเร่ือง
ในช่วงแรกของการเริ่มต้นปรับแนวทางการจัดการเรียนการสอน การคิดออกแบบจากสมรรถนะ
ความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และสมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะ (Core
Competency) เป็นฐานในการจัดทำแผนการสอนอาจเป็นสิ่งที่ครูยังไม่คุ้นเคย จึงมีข้อเสนอแนะว่า ครู
สามารถเริม่ ตน้ ไดด้ ว้ ยวิธกี ารหลายวธิ ี เช่น
1. เร่ิมจากปัญหาสงั คม ประเดน็ ปัญหาหรือเหตุการณท์ ่ีเกดิ ขึ้นระดบั โรงเรียน ระดบั ชมุ ชน ระดับชาติ
ระดับนานาชาติ และออกแบบแผนการจัดการเรียนการสอน โดยนำสมรรถนะที่ครูวิเคราะห์ความสอดคล้อง
และเอือ้ ใหผ้ ู้เรียนเกิดประสบการณต์ รงท่เี กย่ี วข้องกับประเด็นนั้น ๆ และเปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ท่วี างไว้
2. เริ่มจากแนวคิด (Concept) เนื้อหาสาระ ความรู้ (Content/ Knowledge) สำคัญที่ต้องการให้
นักเรียนได้เรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ ได้มีประสบการณ์ตรง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ที่สามารถ
เชอื่ มโยงแนวคิดหรอื ความรู้นนั้ ๆ ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตประจำวัน ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้อย่างแทจ้ ริง
➢ ขนั้ ตอนการออกแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมรรถนะเปน็ ฐานและตวั ชว้ี ัดชัน้ ปี
1) กำหนดสมรรถนะที่ต้องการพัฒนาผู้เรียน กำหนดสมรรถนะหลักและสมรรถนะฉลาดรู้พื้นฐาน
ทตี่ อ้ งการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นจากหน่วยการเรยี นรู้ หวั เรอ่ื ง ประเด็นปัญหาที่กำหนด
2) พิจารณาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรในแต่ละรายวิชา/ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และตัวชี้วัด
ทสี่ อนในหลักสูตร ทีส่ อดคลอ้ งกับสมรรถนะที่เลือก
3) กำหนดหัวข้อ / หัวเรื่อง ความรู้ ทักษะ และเจตคติสำคัญ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้ ซึ่งสามารถกำหนดจากปัญหา แนวคิด จุดเน้น หรือเนื้อหาสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดย
เริ่มจากแนวคิด ความรู้สำคัญที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ มีประสบการณ์ตรง เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้อย่างมีความหมายสามารถเชื่อมโยงแนวคิดหรือความรู้นั้นๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
อยา่ งแทจ้ ริง
4) กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ใหค้ รอบคลุมสมรรถนะที่กำหนด
5) ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีเอื้อใหผ้ ู้เรียนไดเ้ กิดสมรรถนะทีต่ ้องการพฒั นา เนน้ การจัดการเรยี นรู้
เชิงรุก จัดประสบการณ์ที่มีความหมาย และส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความรู้ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะที่ได้
เรียนรู้แล้ว ในสถานการณ์ต่างๆในชีวิตจริง เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และเป็นไปตามวัตถุประสงค์
ทก่ี ำหนดไว้ โดยมขี น้ั ตอนยอ่ ยดังนี้
ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต