The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการนำกรอบสมรรถนะไปใช้ (มิ.ย. 2564)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2021-11-14 22:53:58

คู่มือการนำกรอบสมรรถนะไปใช้ (มิ.ย. 2564)

คู่มือการนำกรอบสมรรถนะไปใช้ (มิ.ย. 2564)

95

3.1 กำหนดหัวข้อ/ หัวเรื่อง และแนวคิดสำคัญ และวิเคราะห์ว่าเกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระใดใน
รายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดมากที่สุด ทั้งนี้ อาจเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้
2-3 กลุ่มสาระกเ็ ปน็ ได้

ในขั้นต้น หากครูมีภาระการสอนที่แยกแต่ละรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และยังไม่
คุ้นเคยกับการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ การเลือกวิธีการจัดการเรียนการสอนบูรณาการภายใน
รายวชิ าของกล่มุ สาระการเรียนร้เู ดียวกนั อาจง่ายกว่า แตถ่ า้ ครมู ีประสบการณ์การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
การเรียนรู้มาแล้วหรือมีภาระงานสอนของตนเองหลายรายวิชา การบูรณาการหลายๆกลุ่มสาระการเรียนรู้เข้า
เปน็ หวั ข้อ/ หวั เรอื่ งเดียวกนั จะช่วยการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรู้และพัฒนาสมรรถนะหลายด้านเป็นองค์รวม
และเป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายยิ่งขึ้น การสอนตามเนื้อหาสาระในหัวข้อ/หัวเรื่อง แต่ละรายวิชาของกลุ่ม
สาระการเรียนร้กู จ็ ะกลมกลนื กันยง่ิ ข้ึนด้วย

3.2 กำหนดขอบเขตเนื้อหาสาระ ทักษะ เจตคติ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระ
ที่สัมพันธ์กบั หวั ขอ้ / หัวเรื่องที่เลือกมาออกแบบการจัดการเรียนการสอน และควรพิจารณาว่า สมรรถนะหลัก
ใดที่สัมพันธ์กับเนื้อหาสาระ ทักษะ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในกลุม่ สาระการเรียนรู้น้ัน ๆ ในขั้นตอนนี้เมื่อเริ่มทำใหม่ ๆ
ครอู าจต้องพจิ ารณากลบั ไปกลบั มาระหว่างตัวช้ีวัดชน้ั ปีตามหลักสูตรกับสมรรถนะหลัก แต่เม่ือชำนาญขึ้นก็จะ
สามารถคดิ ท้งั สองเร่ืองไปพรอ้ มกนั ได้โดยอตั โนมตั ิ

3.3 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงสมรรถนะที่เลือกมาซึ่งสัมพันธ์กับ ขอบเขตเนื้อหา
ทักษะ เจตคติ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดชั้นปีตามรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับหัวข้อ/ หัวเรื่องที่กำหนด
ครูควรทำความเข้าใจให้ชัดเจนเกี่ยวกับสมรรถนะหลักและสมรรถนะย่อยที่เลือกมาว่า สมรรถนะนั้น ๆ
ต้องการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์อะไร แล้วจึงเริ่มออกแบบกิจกรรมการสอนโดยนำสมรรถนะมาเชื่อมโยง
กบั กิจกรรมและงานท่ใี ห้ผู้เรียนไดป้ ฏิบัติเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นบรรลตุ ามผลลัพธก์ ารเรียนรู้ท่ีกำหนด

3.4 กำหนดคำถามสำคัญๆ ที่จะใช้ในการถามนำความคิดและเชื่อมโยงประสบการณ์ของผู้เรียน
เพื่อสร้างความตระหนักและให้แนวทางแก่ผู้เรียนในการเรยี นรู้แต่ละหัวขอ้ ย่อย โดยครูช่วยอาจถามกระต้นุ ให้
ผู้เรียนได้ตั้งเป้าหมายในการหาคำตอบจากบทเรียนนั้น ๆ ด้วยตนเองด้วยวิธีการและสื่อสารสนเทศที่
หลากหลาย

นอกจากนี้ เนื่องจากการสอนแบบสมรรถนะเป็นฐาน เน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้
ความรู้และทักษะในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตจริงอย่างหลากหลาย ครูจึงต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนกล้าลอง และ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้ความรู้และทักษะของตน ในการลงมือปฏิบัติจริงจากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ตนยังไม่
คุ้นเคยหรือม่ันใจ โดยรับฟงั และพร้อมให้ข้อคดิ และคำแนะนำเพมิ่ เติม โดยไม่ดว่ นตัดสนิ หรือบอกว่าผิด คิดไม่
เป็น เช่น “ถ้าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้น นักเรียนจะทำอย่างไร” หากผู้เรียนไม่สามารถอธิบายได้อย่างครบถ้วน
สมบรู ณ์ ครูควรชว่ ยถามนำตะล่อมความคิดของนักเรียน เร่มิ ต้นให้ พดู ให้กำลงั ใจ หรือกระตุน้ ใหผ้ ูเ้ รียนช่วยกัน
คิด ช่วยกันวางแผน เช่น “นักเรียนลองคดิ ด้วยตนเองดูก่อน แล้วแลกเปล่ียนกับเพือ่ นขา้ ง ๆ ว่าคิดเหมอื นกนั
หรือไม่เหมือนกันอย่างไร” “สิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นก็มีบางส่วนถูกแล้ว ลองขอความเห็นจากเพื่อนๆ ให้ช่วย
เติมเต็มคำตอบนี้ มีนักเรียนคนใดจะช่วยให้เหตุผลเพิ่มเติมได้ไหมคะ” จึงเห็นได้ว่า การสอนแบบสมรรถนะ

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

96

เป็นฐาน ซึ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้และทักษะตามที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัดชั้นปีของหลักสูตร ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ อย่างหลากหลายนัน้ มคี วามสัมพันธ์กับทกั ษะการคิดและการทำงานรว่ มกันทเี่ ปน็ การส่งเสริมสมรรถนะ
ผเู้ รียนอยตู่ ลอดเวลา

6) วางแผนการประเมินผล โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ให้
สอดคล้องและตอบรับวัตถุประสงค์เชงิ สมรรถนะทีก่ ำหนดไว้ตั้งแต่ต้น โดยวางแผนให้มีการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้หลายด้านและผู้เรียนได้แสดงสมรรถนะที่หลากหลาย เป็นงานที่ชัดเจน ยืดหยุ่นได้ สามารถทำได้
หลายวิธี และอยใู่ นความสนใจของผ้เู รียน ซงึ่ ครูควรระบุเงอื่ นไขความสำเรจ็ ของงานอยา่ งชดั เจน เพอ่ื ใหเ้ อื้อต่อ
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ที่ใช้สมรรถนะเป็นฐานและสัมพันธ์กับตัวชี้วัดชั้นปีที่ครูได้วิเคราะห์ความ
สอดคลอ้ งไว้ เม่ือผ้เู รียนสามารถปฏิบตั ิได้ แสดงว่ามคี วามรคู้ วามสามารถหรอื มกี ารเรยี นรูเ้ รอื่ งนัน้ แล้ว

สมรรถนะเป็นความสามารถที่เป็นผลรวมของความรู้ ทักษะและคุณลักษณะหลายส่วนเข้า
ดว้ ยกัน ครจู ึงไมส่ ามารถประเมินอย่างชดั เจนไดภ้ ายในเวลา 1 – 2 บทเรียน/หนว่ ยการเรียนรู้ หากแต่
สมรรถนะของผู้เรียนจะพัฒนาขึ้น เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงได้ลงมือกระทำ ผ่าน
กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ที่ผสมผสานกันระหว่างสาระความรู้ กระบวนการ คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์อย่างต่อเนื่อง เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสมที่ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะต่อเน่ื อง ครูจึง
ประเมนิ ได้ว่าผ้เู รียนมีสมรรถนะนน้ั ๆ

ตวั อย่างแผนการจัดการเรียนการสอน
แนวทางท่ี 4: สมรรถนะเป็นฐาน ผสานตวั บ่งชี้

โรงเรียนประชาราษฎรบ์ ำเพ็ญ สำนักงานเขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพมหานคร
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

หนว่ ยการเรยี นรู้ ธ ธง คนนิยม เวลา 20 ช่ัวโมง

1. แนวคดิ สำคญั
ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์แกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวันให้เหมาะสมกบั วยั โดยใชก้ ระบวนการแก้ปัญหา

ทางคณิตศาสตร์อย่างเหมาะสม และคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ อธิบายความรู้หรือหลักการ
อย่างงา่ ยที่สะท้อนให้เห็นถงึ ความเช่ือมโยงภายในคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตร์อ่ืน ๆ ตัดสินใจ
เลือกทำกิจกรรมท่ีตนสนใจตามความถนัด และความสามารถอยา่ งมัน่ ใจ แสดงออกและตอบสนองต่ออารมณ์
และความรูส้ กึ ของตนเองและผู้อื่นในทางบวก เปน็ ผู้นำและเปน็ สมาชิกที่ดขี องกลุ่มแสดงออกได้อย่างเหมาะสม
มีแรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองให้เป็นทไี่ วว้ างใจ

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

97

2. สมรรถนะหลักท่ตี ้องการพัฒนา (Core competency)

2.1 สมรรถนะในความฉลาดรพู้ น้ื ฐาน (Competencies in Basic Literacy)
2.1.1 สมรรถนะหลักคณิตศาสตร์ในชวี ติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life)
สมรรถนะท่ี 1 การแกป้ ัญหาใช้ความร้ทู างคณิตศาสตร์ทม่ี แี ก้ปัญหา ในชีวิตประจำวนั ให้

เหมาะสมกับวัย โดยใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตรอ์ ย่างเหมาะสม และคำนึงถึงความสมเหตสุ มผล
ของคำตอบท่ีได้

สมรรถนะที่ 4 อธิบายความรู้หรอื หลกั การอย่างง่ายที่สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ความเชือ่ มโยงภายใน
คณิตศาสตร์ เชอื่ มโยงคณิตศาสตร์กับศาสตรอ์ ื่น ๆ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์กับชีวติ ประจำวนั อยา่ ง
สมเหตสุ มผลตามวัย

2.2 สมรรถนะหลกั (Core Competency)
2.2.1 สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth)
สมรรถนะท่ี 1 ตดั สินใจเลือกทำกิจกรรมท่ตี นสนใจ ตามความถนดั และความสามารถ

อยา่ งมนั่ ใจ แสดงออก ตอบสนองต่ออารมณ์และความรู้สกึ ของตนเองและผ้อู ่นื ในทางบวก
2.2.2 สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลังเป็นทมี และมีภาวะผูน้ ำ (Collaboration,

Teamwork and Leadership)
สมรรถนะท่ี 1 เป็นผ้นู ำและเป็นสมาชิกทด่ี ขี องกลุม่ แสดงออกได้อย่างเหมาะสม มีแรง

บนั ดาลใจในการพัฒนาตนเองให้เปน็ ทไี่ ว้วางใจ

3. มาตรฐาน ตัวชีว้ ัดช้ันปี และสาระการเรยี นรู้
มาตรฐาน ค 2.1 ป.6/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกับความยาวรอบรูปและพืน้ ทข่ี อง

รปู หลายเหลี่ยม
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง : การสร้างรูปสามเหล่ียม
มาตรฐาน ค 2.2 ป.6/1 : จำแนกรูปสามเหลีย่ มโดยพจิ ารณาจากสมบัติของรูป
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง : ชนิดและสมบตั ขิ องรปู สามเหลี่ยม
มาตรฐาน ค 2.2 ป.6/2 : สรา้ งรปู สามเหล่ียมเมื่อกำาหนดความยาวของดา้ นและขนาดของมมุ
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง : การสร้างรูปสามเหล่ยี ม

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรฐู้ านสมรรถนะ
ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่อง รูปสามเหลี่ยม โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหา

อย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้ อธิบายความรู้หรือหลักการอย่างง่ายท่ีสะท้อน
ใหเ้ ห็นถึงความเช่ือมโยง คณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อน่ื ๆ ตัดสนิ ใจเลอื กทำกจิ กรรมทต่ี นสนใจ ตามความถนัด และ
ความสามารถอย่างมั่นใจ แสดงออกและตอบสนองต่ออารมณ์ และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่นในทางบวก
เป็นผู้นำและเปน็ สมาชิกที่ดีของกลุ่มแสดงออกได้อยา่ งเหมาะสม และมีแรงบันดาลใจในการพฒั นาตนเอง

ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

98

1) ศึกษาและนำความรู้เรือ่ ง รูปสามเหลย่ี ม การสรา้ งรปู สามเหล่ียม การหาความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ี
รปู สามเหลีย่ มมาใช้ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตรอ์ ยา่ งสมเหตสุ มผล

2) รวบรวม สำรวจข้อมลู โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรข์ องบุคคลที่ทุกคนชน่ื ชมยกย่อง
3) ออกแบบธง รูปสามเหลี่ยมขนาดต่างๆ โดยใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และการทำงานเป็นทีม
พร้อมทงั้ นำเสนอผลงานที่สร้างแรงบนั ดาลใจในการทำงาน
4) เผยแพรผ่ ลงานทเี่ กิดประโยชนใ์ หแ้ กผ่ อู้ ื่น

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชวั่ โมงที่ 1-5 สถานการณ์: ศึกษาเรียนรู้ เรื่อง รูปสามเหลยี่ ม ลกั ษณะ และชนดิ ของรปู สามเหลี่ยม มุม

ภายในของรปู สามเหลี่ยม การสร้างรูปสามเหลยี่ ม
ชั่วโมงที่ 1
1) นกั เรยี นสนทนาลักษณะท่ัวไปชองรูปสามเหลี่ยม แลว้ ชว่ ยกันสรปุ ว่ารูปสามเหลีย่ มมลี ักษณะเฉพาะ

อยา่ งไร (มีด้านสามด้าน มมี ุมสามมมุ ) ร่วมกันอภปิ รายถึงการกำหนดด้าน จุดยอดมุม ดา้ นประกอบมุมยอด
และสรุปร่วมกนั

2) นักเรียนแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 5-6 คน ครแู จกรปู สามเหลยี่ มชนิดต่าง ๆ ให้นักเรียนทุกกลุ่ม (ชนิดละ
2 รูป) ช่วยกันค้นหาคำตอบ ชื่อด้านสามเหลี่ยมแต่ละด้าน มุมแต่ละมุม การวัดขนาดของด้าน และขนาดของ
มมุ ของรูปสามเหล่ยี มแต่ละชนิด

3) นักเรียนทกุ กลมุ่ นำเสนอผลการจำแนกของแต่ละกลุ่มแลว้ อภิปรายร่วมกันถึงความถกู ต้องของ
ข้อมูล พร้อมทั้งสรุปรูปสามเหล่ียมทีแ่ บ่งตามลักษณะของด้าน 3 ชนิด (รูปสามเหลี่ยมดา้ นเทา่ รูปสามเหลี่ยม
หน้าจั่ว และรปู สามเหลย่ี มด้านไม่เทา่ )

4) นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ แบง่ รูปสามเหลี่ยมตามลกั ษณะของมุม นำเสนอผลการจำแนกของแตล่ ะกล่มุ แล้ว
อภิปรายร่วมกันถึงความถกู ต้องของขอ้ มูล พร้อมทั้งสรุปร่วมกัน ได้รูปสามเหลี่ยมที่แบ่งตามลักษณะของมุม 3
ชนดิ ดงั น้ี คือ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก รปู สามเหล่ยี มมมุ แหลม และรูปสามเหลี่ยมมุมป้าน

5) นกั เรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกันสรุปลักษณะของรูปสามเหลย่ี มท่ีจำแนกตามลักษณะของด้านและมุม
และจำแนกรูปสามเหลยี่ มที่ครแู จกให้อีกคร้ัง พรอ้ มทั้งฝึกทักษะเพ่มิ เติม โดยทำใบงานท่ี 1 นักเรียนช่วยกนั
ตรวจสอบความถูกต้อง ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรม

ชั่วโมงท่ี 2
6) นักเรียนศกึ ษาการหามมุ ภายในของรูปสามเหล่ียมจากส่ือวสั ดุและแหลง่ ความรู้ท่ีหลากหลาย เช่น
หนงั สือเรียน อนิ เตอร์เนต็ แล้วสรุปร่วมกันถงึ ขนาดของมุมภายในของรปู สามเหล่ียม พร้อมทงั้ ได้ขอ้ สรปุ
รว่ มกันวา่ มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 องศา
7) นกั เรียนฝึกทกั ษะปฏิบัติการหามุมภายใน ทำใบงานท่ี 2 ใหน้ กั เรียนช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง
และรว่ มกันเฉลยกิจกรรม

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

99

ช่ัวโมงท่ี 3-4
8) นักเรยี นศกึ ษาการสรา้ งรูปสามเหลยี่ มชนิดตา่ งๆ และจัดหาวสั ดุเพ่อื ฝึกการสร้างรูปสามเหลยี่ มโดย
การนำหลกั การทางคณติ ศาสตร์มาประยุกต์ใช้
ช่วั โมงที่ 5
9) นกั เรียนนำรูปรูปสามเหล่ียมชนดิ ตา่ งๆ ทส่ี รา้ งขน้ึ แลว้ นำมาแลกเปลยี่ นกับเพ่ือน เพ่ือร่วมกนั หา
คำตอบวา่ เป็นรปู สามเหล่ียมชนดิ ใด ความยาวรอบรูปเท่าไร พรอ้ มทัง้ ร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และสรุป
วิธหี าความยาวรอบรูปรว่ มกัน
10) นักเรยี นฝกึ หาความยาวรอบรปู ของรปู สามเหลีย่ ม จากวัสดุ สงิ่ ของเคร่อื งใช้ สิ่งแวดลอ้ มต่าง ๆ
รอบตัวท่ีบ้านและที่โรงเรียน พรอ้ มท้ังตรวจสอบความถูกต้องร่วมกนั
ช่วั โมงที่ `6-12 สถานการณ์ การประยกุ ตใ์ ช้ความรู้สรา้ งรปู สามเหลี่ยมและหาความยาวรอบรปู
11) ครูให้นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง การหาพ้นื ท่ีรปู สามเหลีย่ ม พร้อมทั้งอภิปรายวิธกี ารร่วมกัน
12) นักเรียนฝกึ หาพ้ืนทรี่ ปู สามเหลยี่ มจากแบบฝึกหัด และโดยให้นักเรยี นรว่ มกันสรา้ งรปู สามเหลี่ยม
ขนาดตา่ ง ๆ กลุ่มละ 5-10 รูปพรอ้ มท้งั เฉลยคำตอบ แล้วนำผลงานมาใหเ้ พ่ือน ๆ ฝกึ หาความยาวรอบรูป
สามเหลยี่ มทีก่ ำหนด โดยการหมนุ เวียนกนั ทุกกลมุ่ โดยนักเรียนเจ้าของผลงาน เฉลยคำตอบใหเ้ พอ่ื น ๆ ได้
ทราบเพื่อตรวจสอบความถกู ต้อง
13) นักเรยี นตรวจสอบความถกู ต้อง สรปุ และอภิปรายรว่ มกัน
ชัว่ โมงท่ี 13-14 สถานการณ์ : การคน้ หาเพอื่ นทีเ่ ราควรยกย่องชื่นชมนิยมชมชอบในห้องเรยี น
14) ครสู นทนากับนกั เรยี นเกย่ี วกับบุคคลท่เี ราควรให้การยกย่อง ชนื่ ชม ควรมลี ักษณะเช่นใด ด้วย
ประเด็นคำถาม ดงั นี้

- นักเรียนคิดว่าบคุ คลใดทีน่ ักเรยี นรู้จักควรไดร้ ับการชน่ื ชม ยกย่อง เพราะเหตุใด
- นกั เรยี นคดิ ว่าในหอ้ งเรยี นมีคนที่น่าชื่นชมยกยอ่ งหรอื ไม่มากน้อยเพียงใด
15) ครูให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ตามความสนใจ รว่ มคิดว่าเพอื่ นๆ ในห้องทน่ี ักเรยี นยกย่อง ชืน่ ชมต้องมี
คุณสมบัติอย่างไร พร้อมทั้งสรุปคุณลกั ษณะรว่ มกนั ทั้งห้องเพยี ง 1 อยา่ ง

16) นกั เรยี นร่วมกนั เลือกเพื่อนท่ีตนยกย่องในกลมุ่ ร่วมกันสรปุ รายชื่อที่นักเรียนทม่ี คี ณุ สมบัตติ าม
ต้องการ พรอ้ มทงั้ ให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ รวบรวมข้อมลู ทีเ่ ก็บได้และเตรียมการจัดกระทำขอ้ มูลต่อไป

ชั่วโมงที่ 15-17 สถานการณ์ : การสรุปขอ้ มลู และนำเสนอข้อมลู ดว้ ยภาษาทางคณิตศาสตร์
17) นกั เรยี นรว่ มกันประยุกต์ใช้ความรเู้ ร่ืองรปู สามเหลย่ี มมาออกแบบสัญลักษณ์เปน็ ธงรูป

สามเหลีย่ ม เพื่อให้ทุกคนมอบให้กบั คนที่มคี ุณสมบัติไดร้ บั ความนิยมชมชอบในห้องเรยี น
18) ครูและนกั เรยี นร่วมกนั กำหนดเวลาในการจัดทำธงสามเหล่ียมใหม้ ีขนาดและพ้ืนท่ีตามท่ีกำหนด

พร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกต้องร่วมกนั
19) เม่อื นักเรียนทุกคนเตรียม ธ ธง คนนิยม เรียบรอ้ ยแล้ว ให้นักเรยี นกำหนดวิธีการมอบให้กับคน

ท่นี ิยมชมชอบ แล้วใหน้ กั เรียนนำธงมอบให้กบั คนทม่ี ีคุณลกั ษณะที่กำหนดไว้

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

100

20) ครูทบทวนกิจกรรม และอภิปรายรว่ มกัน ดังนี้
- เราจะมวี ิธีการจัดข้อมลู เปน็ อย่างไร ก่อนทจ่ี ะนำเสนอข้อมลู ตามท่ีวางแผนไว้

21) นกั เรียนร่วมกันหาคำตอบคนท่ไี ดร้ บั ความนยิ มในหอ้ งเรยี นโดยใชต้ ารางแจกแจงความถ่ี และ
เปลี่ยนค่าของข้อมูลเป็นรปู ร้อยละหรอื เปอร์เซ็นต์ โดยให้นักเรียนใช้วิธีหาพืน้ ที่ของธงรูปสามเหล่ยี มในแต่ละธง
ทรี่ บั ทีม่ ีพน้ื ที่ไม่เท่ากัน ใครได้พนื้ ท่รี วมมากทีส่ ุดแสดงวา่ เป็นผทู้ ่ไี ด้รับความช่ืนชมมากทสี่ ุด

22) นักเรียนอภปิ รายร่วมกนั ว่า เราตอ้ งปฏิบตั ิตนอย่างไรจงึ จะมคี นชน่ื ชมยกยอ่ งและเห็นคุณค่า
23) นกั เรยี นบนั ทึกการปฏิบตั ิตนในแต่ละวนั และนำมาอภิปรายร่วมกนั โดยสามารถเพ่ิมเตมิ
พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ตั ิจากการสงั เกตพฤติกรรมจากเพื่อนๆได้ และให้นักเรยี นคัดเลอื กเพื่อนทจ่ี ะไดร้ บั ธ ธงคน
นยิ มอกี ครั้ง
ชัว่ โมงท่ี 18-20 สถานการณ์ : การอธบิ าย สอื่ สารขอ้ มูลหรือข้อเท็จจริงใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจและเผยแพร่
ผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผู้อ่ืน
24) นักเรียนนำเสนอข้อมลู ใหก้ บั เพ่ือนนักเรียนด้วยกนั ได้รับทราบขอ้ มูล สรปุ ขอ้ มูลที่พบและรว่ มกนั
อภิปรายถึงประเด็นปญั หา
25) นักเรียนแต่ละกลมุ่ วางแผนเตรียมจดั บอรด์ แสดงผลงาน ร่วมชมผลงานที่ตนเองและเพื่อนๆ
นำเสนอผา่ นบอรด์ แสดงผลงาน
26) นกั เรียนแต่ละกลุ่มสำรวจข้อมูลความพึงพอใจจากผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้อง รว่ มกันสรปุ ประโยชนท์ ่ี
ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรู้นี้ เพื่อนำขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าพฒั นางานตอ่ ไป

6. ส่อื เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
1) ใบความรู้
2) ใบงาน
3) สอื่ เทคโนโลยี จาก Website ต่างๆ
4) วสั ดอุ ปุ กรณส์ ร้างรูปสามเหลีย่ ม และธง
5) แบบสำรวจความพึงพอใจ

7. การวดั และประเมินผล
7.1 การประเมินสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐานและสมรรถนะหลักที่ต้องการพัฒนา
การประเมินการปฏบิ ตั งิ านตามสภาพจริงเกย่ี วกบั
1) การประยุกต์ใช้ความรู้เรื่อง รปู สามเหล่ียม ไปใชใ้ นการทำกจิ กรรม ธ.ธง คนนิยม
2) การรวบรวม ออกแบบจัดกระทำข้อมลู นำเสนอข้อมลู อย่างสร้างสรรคโ์ ดยใช้กระบวนการ

ทางคณิตศาสตร์
3) อธบิ ายเหตกุ ารณ์ ส่อื สารข้อมลู /ข้อเท็จจรงิ ทจี่ ดั ทำขน้ึ ใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจไดเ้ หมาะสมกบั เน้ือหา

และสถานการณ์อย่างสมเหตุสมผล และเผยแพรผ่ ลงานดว้ ยภาษาทางคณิตศาสตรใ์ ห้ผูอ้ ่ืนเข้าใจ

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

101

7.2 การประเมนิ ตวั ชว้ี ัดชนั้ ปีจากการตรวจผลงานท่ไี ดจ้ ากการปฏบิ ตั จิ ริงระหว่างสอน
มาตรฐาน ค 2.1 ป.6/2: แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรปู และพืน้ ที่

ของรูปหลายเหลี่ยม
มาตรฐาน ค 2.2 ป.6/1: จำแนกรปู สามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัตขิ องรูป
มาตรฐาน ค 2.2 ป.6/2: สรา้ งรปู สามเหลยี่ มเมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมมุ

เกณฑก์ ารให้คะแนนประเมนิ สมรรถนะในความฉลาดรู้พน้ื ฐาน
คณติ ศาสตรใ์ นชีวิตประจำวัน

รายการประเมิน 5 : ดีมาก เกณฑก์ ารให้คะแนน 2 : พอใช้ 1: ปรับปรุง
4 : ดี 3 : ปานกลาง

สมรรถนะที่ 1 การ -แกป้ ัญหา โดยใช้ -แกป้ ัญหา โดยใช้ความรู้ -แก้ปญั หา โดยใช้ -แก้ปญั หา โดยใช้ ทำได้ไมถ่ ึงเกณฑ์
แกป้ ัญหาใชค้ วามรู้ทาง ความร้ทู าง ทางคณิตศาสตรท์ ม่ี ี ความรู้ทาง ความรทู้ าง ข้างตน้ หรือไมม่ ี
คณติ ศาสตร์ที่มใี น คณิตศาสตร์ทม่ี ีในการ แก้ปญั หา ใน คณิตศาสตรท์ ่ีมี คณติ ศาสตรท์ ีม่ ี ร่องรอย
ชีวิตประจำวนั ได้ แก้ปญั หาใน ชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ ง แก้ปัญหา แก้ปญั หา ใน การดำเนินการ
เหมาะสมกับวยั ชวี ิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสมกบั วัย ในชีวติ ประจำวนั ได้ ชวี ติ ประจำวนั ได้ แก้ปญั หา
โดยใชก้ ระบวนการ เหมาะสมกับวัย และ และคำนงึ ถงึ ความ อยา่ งเหมาะสม เปน็ บางเร่ืองอย่าง
แก้ปญั หาทาง คำนึงถึงความ สมเหตสุ มผลของ กับวยั และคำนงึ ถงึ และคำนงึ ถึงความ
คณติ ศาสตรอ์ ย่าง สมเหตสุ มผลของ คำตอบท่ีได้ ความสมเหตสุ มผล สมเหตุสมผลของ
เหมาะสม และคำนงึ ถงึ คำตอบท่ีได้ - ใช้ยทุ ธวธิ ดี ำเนินการ ของคำตอบทไี่ ด้ คำตอบท่ไี ด้
ความสมเหตสุ มผลของ -ใช้ยุทธวิธดี ำเนนิ การ แกป้ ัญหาสำเร็จ - ใช้ยทุ ธวิธีดำเนนิ การ - มรี อ่ งรอย
คำตอบทไ่ี ด้ แก้ปญั หาสำเร็จอย่าง - อธิบายถึงเหตผุ ล แก้ปัญหา สำเร็จเพียง การแกป้ ัญหา
มปี ระสทิ ธภิ าพ ในการใชว้ ธิ ีการได้ บางสว่ น อธบิ ายถึง บางสว่ น เร่มิ คดิ ว่า
-อธบิ ายถงึ เหตุผลใน ชดั เจนเปน็ ส่วนใหญ่ เหตผุ ลในการใช้วธิ กี าร ทำไมจงึ ตอ้ งใช้
การใชว้ ธิ กี ารดังกล่าว ดังกลา่ วไดบ้ างสว่ น วิธกี ารนั้นแลว้ หยดุ
ได้เขา้ ใจชัดเจน อธิบายต่อไมไ่ ด้
แกป้ ญั หาไมส่ ำเรจ็

สมรรถนะที่ 4 อธบิ าย มกี ารอ้างอิง เสนอ มีการอา้ งองิ ทถ่ี กู ตอ้ ง เสนอแนวคิดไม่ -มีความพยายาม ไมม่ ีแนวคดิ
ความรู้หรอื หลักการ แนวคิดประกอบการ บางสว่ น และเสนอ สมเหตสุ มผลในการ เสนอแนวคิด ประกอบการ
อย่างง่ายที่สะทอ้ นให้ ตดั สินใจอย่างมีเหตผุ ล แนวคดิ ประกอบการ ประกอบการตัดสนิ ใจ ประกอบการ ตดั สนิ ใจ ไมม่ กี าร
เห็นถึงความเชอื่ มโยง -นำความร้หู ลักการ ตดั สินใจ -นำความรู้ ตดั สนิ ใจ เช่อื มโยงกับสาระอ่ืน
ภายในคณติ ศาสตร์ และใช้วิธกี ารทาง -นำความรู้ หลักการ หลักการ และวิธีการ -นำความรู้ ใด
เช่อื มโยงคณติ ศาสตร์กับ คณติ ศาสตร์ในการ และใช้วธิ กี ารทาง ทางคณิตศาสตรไ์ ป หลกั การ และ
ศาสตรอ์ ืน่ ๆ และ เชื่อมโยงทาง คณติ ศาสตรใ์ นการ เช่ือมโยงทาง วิธีการทาง
เช่ือมโยงคณติ ศาสตรก์ บั คณิตศาสตรไ์ ดด้ ีกบั เชอ่ื มโยงทาง คณติ ศาสตร์ไดบ้ า้ ง คณติ ศาสตรใ์ นการ
ชวี ิตประจำวนั อยา่ ง สาระอืน่ ใน คณติ ศาสตร์ได้เปน็ สว่ น บางสว่ น เชอ่ื มโยงยงั ไมไ่ ดเ้ ป็น
สมเหตุสมผลตามวยั ชีวิตประจำวนั เพื่อ ใหญ่กบั สาระอน่ื ใน สว่ นใหญ่
ชว่ ยในการแกป้ ญั หา ชวี ิตประจำวนั เพอ่ื ช่วย
หรือประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ในการแกป้ ัญหา หรือ
อย่างสอดคลอ้ งและ ประยุกต์ใช้ได้บางส่วน
เหมาะสมดี

ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

102

เกณฑ์การให้คะแนนประเมนิ สมรรถนะหลัก
สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth)

รายการประเมิน 5 : ดีมาก เกณฑ์การใหค้ ะแนน 2 : พอใช้ 1: ปรบั ปรุง
4 : ดี 3 : ปานกลาง

สมรรถนะที่ 1 ตดั สินใจเลอื กทำ ตดั สนิ ใจเลอื กทำ ตดั สนิ ใจเลือกทำ ไมส่ ามารถตดั สนิ ใจ ไมส่ ามารถตดั สินใจ
ตดั สินใจเลอื กทำ กิจกรรมทต่ี นสนใจ
กจิ กรรมที่ตนสนใจ ตามความถนดั และ กจิ กรรมทต่ี นสนใจ กจิ กรรมทต่ี นสนใจ เลอื กทำกิจกรรมที่ เลอื กทำกจิ กรรมที่
ตามความถนัด และ ความสามารถอย่าง
ความสามารถอย่าง ม่นั ใจ แสดงออกและ ตามความถนดั และ ตามความถนดั และ ตนสนใจตาม ตนสนใจตาม
ม่ันใจ แสดงออก ตอบสนองตอ่ อารมณ์
และตอบสนองต่อ และความรสู้ กึ ของ ความสามารถ แตย่ ังขาด ความสามารถได้ แต่ ความถนดั และความ ความถนดั และ
อารมณ์ และ ตนเองและผ้อู ืน่ ใน
ความร้สู ึกของตนเอง ทางบวกได้ ความมัน่ ใจอยบู่ า้ ง ขาดความม่ันใจ สามารถ ขาดความ ความ สามารถ
และผู้อ่ืนในทางบวก
แสดงออกและ แสดงออกและ มนั่ ใจ แสดงออก ขาดความมนั่ ใจ ไม่

ตอบสนองตอ่ อารมณ์ ตอบสนองต่ออารมณ์ และตอบสนองตอ่ สามารถแสดงออก

และความรู้สึกของ และความรู้สึกของ อารมณ์ และ และตอบสนองตอ่

ตนเองและผ้อู ่ืนใน ตนเองและผ้อู ื่นใน ความรสู้ ึกของตนเอง อารมณ์ และ

ทางบวกได้ ทางบวกได้เปน็ เป็น และผู้อ่ืนในทางบวก ความรสู้ ึกของตนเอง

ส่วนใหญ่ ไดเ้ ปน็ บางครงั้ และผูอ้ นื่ และมัก

แสดงออกในทางลบ

เกณฑก์ ารให้คะแนนประเมินสมรรถนะหลัก
สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลงั เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ

(Collaboration, Teamwork and Leadership)

รายการประเมิน 5 : ดีมาก เกณฑก์ ารให้คะแนน 2 : พอใช้ 1: ปรับปรุง
4 : ดี 3 : ปานกลาง

สมรรถนะท่ี 1 เป็นผู้นำและเปน็ เป็นผนู้ ำและเป็น เปน็ ผู้นำและเป็น เปน็ ผ้นู ำและเป็น เป็นผูน้ ำและเป็น
เป็นผูน้ ำและเป็น สมาชกิ ทีด่ ขี องกลุ่ม สมาชิกท่ีดขี องกลมุ่ สมาชิกทด่ี ีของกลมุ่ สมาชกิ ที่ดีในบาง สมาชกิ ทีไ่ มด่ ีทุก
สมาชกิ ที่ดีของกล่มุ แสดงออกไดอ้ ย่าง แสดงออกไดอ้ ย่าง แสดงออกไดอ้ ย่าง สถานการณ์ สถานการณ์
แสดงออกได้อย่าง เหมาะสม มแี รง เหมาะสม มีแรง เหมาะสม แต่ขาด จะแสดงออกได้ จะแสดงออกได้
เหมาะสม มแี รง บันดาลใจ ใน บนั ดาลใจ ใน แรงบันดาลใจใน อยา่ งเหมาะสม อย่างเหมาะสม
บันดาลใจ ใน การพฒั นาตนเอง การพัฒนาตนเองเมอื่ การพฒั นาตนเอง โดยตอ้ งอาศัยผู้ โดยตอ้ งอาศัย
การพัฒนาตนเองให้ ให้เปน็ ที่ไวว้ างใจ มผี ู้อน่ื ชีแ้ นะ ช้แี นะเป็นบางคร้ัง ผู้ชี้แนะทุกคร้ัง
เป็นท่ไี ว้วางใจ

ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

103

การออกแบบการจัดการเรียนการสอนแนวทาง 4 ที่ใช้สมรรถนะเป็นฐาน โดยการนำตัวชี้วดั
ของหลักสูตรอิงมาตรฐานท่ีสอดคล้องมาบูรณาการเพ่ือการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนควบคู่กนั ไป เป็น
แนวทางหนึง่ ทีท่ ำให้ครูผู้สอนสามารถนำมาใช้ในช่วงระหว่างการเปลี่ยนแปลงในการปรบั หลกั สตู รอิง
มาตรฐานไปสู่หลักสูตรฐานสมรรถนะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่ต้องการได้จาก
ภาระงาน การปฏบิ ตั จิ รงิ และประสบการณท์ ี่ผู้เรียนได้รับอย่างหลากหลาย

 กลุ่มท่ี 3: การนำกรอบสมรรถนะหลกั สู่การพฒั นาผู้เรียนบนฐานสมรรถนะ

การนำกรอบสมรรถนะหลักสกู่ ารพฒั นาผู้เรยี นบนฐานสมรรถนะของกลุม่ แนวคิดนี้ เปน็ การวเิ คราะห์
กรอบสมรรถนะหลักของสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) และ
สมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะ (Core Competency) เป็นฐาน ไปสู่การพัฒนาผู้เรียนช่วงเปลี่ยนผ่านสู่
การพัฒนาโดยอิงฐานสมรรถนะตามหลักสูตรฐานสมรรถนะในอนาคตอย่างเต็มรูปแบบ กลุ่มแนวคิดนี้เป็น
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้กรอบสมรรถนะหลักมาเป็นฐานหลักในการจัดการเรียนการสอน
ฐานสมรรถนะ (Competency-based Instruction: CBI) ซึ่งเป็นการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน
ในลักษณะการบรู ณาการ ดงั นี้

แนวทางท่ี 5 : บูรณาการผสานหลายสมรรถนะ
แนวทางท่ี 6 : สมรรถนะชีวติ ในกจิ วัตรประจำวนั
แนวทางท่ี 7 : การเรียนรู้สมรรถนะแบบผสมผสาน (Hybrid Competency Learning)
แนวทางที่ 8 : เช่ือมงาน ประสานการเรียนรู้สกู่ ารพฒั นาสมรรถนะท้ังโรงเรยี น

(Whole-School Learning)

แตล่ ะแนวทางมรี ายละเอยี ดดังน้ี

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

104

แนวทางท่ี 5 : บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ

การออกแบบการสอนฐานสมรรถนะแบบบูรณาการช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะใน
ความฉลาดรู้พื้นฐาน และสมรรถนะหลัก 7 สมรรถนะอย่างครบถ้วน ได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะ
คุณลกั ษณะที่ดีจากกลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่าง ๆ อย่างมีความหมาย อกี ทง้ั ชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถนำสิ่งที่
เรยี นร้ไู ปใช้ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ...รู้จริง เขา้ ใจชดั และใช้เป็น...

➢ ลักษณะ

แนวทางที่ 5“บูรณาการผสานหลายสมรรถนะ” เป็นการสอนโดยนำสมรรถนะในความฉลาดรู้
พื้นฐาน และสมรรถนะหลักทั้ง 7 สมรรถนะ เป็นตัวตั้ง และวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปีที่เกี่ยวข้อง แล้วออกแบบ
การสอนที่มีลักษณะเป็นหน่วยบูรณาการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเป็นธรรมชาติที่เหมาะสมตามช่ วงวัย
และเห็นความสมั พันธร์ ะหว่างรายวชิ า/กลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ

การบูรณาการ เป็นการจัดการเรียนรู้แบบองค์รวมที่นำสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในชีวิต สังคม และโลก
เช่น สถานการณ์ ประเด็นสำคัญในสังคม ปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้เรียนมาเชื่อมโยงกับเนื้อหา
ทักษะ และเจตคติในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง
การเรียนและประยุกต์ใช้กับประสบการณ์ในชีวิต สร้างประสบการณ์ ความรู้และความสามารถ เพื่อให้เกิด
สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน และสมรรถนะหลักทั้ง 7 สมรรถนะ และสามารถนำใช้ได้จริงในสถานการณ์
ต่าง ๆ อย่างมีความสุขและเป็นพลเมืองไทยผู้ใส่ใจสังคม การสอนแบบบูรณาการจึงเป็นแนวทางการสอน ท่ี
สอดคลอ้ งกับปรัชญาการสอนแบบสมรรถนะเป็นฐานมากทส่ี ดุ

➢ ขั้นตอนการออกแบบการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้การบรู ณาการหลายสมรรถนะ

1. ทบทวนสมรรถนะในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน และสมรรถนะหลกั ทั้ง 7 สมรรถนะและวิเคราะห์เนื้อหา
สาระ ความรู้ ทักษะทกี่ ำหนดเป็นตัวช้ีวดั ช้นั ปขี องของกลมุ่ สาระการเรยี นร้ตู ่าง ๆ

2. กำหนดหน่วยการเรียนรู้ ที่สามารถสร้างความเชื่อมโยงกับเนื้อหาการเรยี นรู้ที่สัมพันธแ์ ละน่าสนใจ
เหมาะสมกับวัยของผเู้ รียน หรือเปน็ หน่วยการเรยี นรู้ทเ่ี ปน็ ภูมิปัญญา วธิ ีการคดั เลือกหน่วยการเรยี นรู้ สามารถ
ทำได้หลายวิธี เชน่

2.1 เรม่ิ จากส่ิงท่ผี ู้เรียนสนใจหรือสงิ่ ที่สามารถกระตนุ้ ใหส้ นใจไดง้ า่ ย
2.2 เริ่มจากปญั หาท่ีพบในผู้เรียน ในโรงเรียน ในสงั คม และออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เอ้ือ
ให้ผ้เู รยี นไดเ้ กิดประสบการณ์จากกจิ กรรมท่คี รูออกแบบและเปน็ ไปตามจุดประสงคท์ ี่วางไว้
2.3 เริ่มจากปัญหาสังคม ประเด็นทางสังคม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในระดับโรงเรียน
ระดับชมุ ชนระดบั ชาติ หรือระดบั โลก
2.4 เริ่มจากแนวคิด (Concept) สำคัญที่ต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ สร้างองค์ความรู้ และ
นำแนวคดิ นัน้ ไปใช้ในการดำเนินชีวติ ประจำวนั

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

105

3. กำหนดแนวคิดและคำถามสำคญั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวคิด เน้ือหา และตงั้ คำถามทโ่ี ตแ้ ย้งได้ เพ่ือให้
ผเู้ รียนไดฝ้ กึ คดิ วเิ คราะหจ์ ากสถานการณ/์ ประเด็นปญั หาต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชวี ิตจริง

4. กำหนดขอบเขตเนื้อหาสาระการเรียนรู้ ทักษะ เจตคติ ทีเ่ ปน็ ตัวชีว้ ัดชัน้ ปแี ตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้
ทีส่ ัมพันธ์กับหน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ และการประเมินผล

5. กำหนดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยนำสมรรถนะมาเชื่อมโยงกับกิจกรรมที่จัดใหน้ ักเรียน เพื่อให้
บรรลจุ ดุ ประสงค์

ในการวางแผนน้ัน เน่ืองจากครูมักคิดถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ของการจัดการเรียนการสอนไปพร้อม ๆ
กัน โดยคำนึงถึงผู้เรียน สื่อ ทรัพยากรที่มีอยู่บริบทของตน การเรียงลำดับการออกแบบแผนการจัดการเรียน
การสอน จงึ อาจสลบั หรือยดื หยุ่นไดต้ ามความถนดั ของครู สอ่ื ที่มแี ละบรบิ ทของโรงเรียน

6. ดำเนินการจัดการเรียนการสอนและนำข้อมูล ข้อสังเกตจากการสอนมาประเมิน เพื่อปรับปรุง
พัฒนาแผนการสอนระหว่างทำการสอนและปรับปรุงหลังการสอน เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นหรือพัฒนา
สมรรถนะได้มากข้ึน

การสอนแบบบูรณาการนี้ เป็นแนวทางการสอนที่ให้ความสำคัญกับความสนใจ และความต้องการ
จำเป็นของผู้เรียนในชีวิตจริงเป็นสำคัญ จึงอาจมีการปรับ เพิ่มหรือลด เนื้อหาสาระ กิจกรรม สื่อ และวิธีการ
วัดผลประเมนิ ผล หลังจากสอนไปสักระยะ ซ่งึ ครูสามารถยืดหยุ่นไดต้ ามความเหมาะสม

ตวั อย่างแผนการจดั การเรียนการสอน
แนวทางที่ 5 : บูรณาการผสานหลายสมรรถนะ

โรงเรียนสุจิปุลิ จังหวดั ฉะเชิงเทรา สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
หน่วยการเรยี นรบู้ ูรณาการ เร่อื ง “แพช่วยชวี ิต”
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 เวลา 10 ช่วั โมง

…………………………………………………………………………………………………………………………………
1. แนวคดิ สำคญั : การสรา้ งนวัตกรรมในการแก้ปญั หาแบบรวมพลัง เป็นการทำงานรว่ มกนั ตามบทบาทเพ่ือให้
บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกัน มีความสัมพันธ์ทางบวก โดยผู้เกี่ยวข้องตระหนักในการสนับสนุน แบ่งปัน
แลกเปลี่ยนความรู้และความคิด พร้อมสนับสนุน เกื้อกูลกันทุกด้าน สร้างและรักษาความสัมพันธ์ทางบวก
นำจดุ เดน่ และความคดิ เหน็ ของแต่ละคนมาใช้ปฏิบตั งิ านเพ่อื ใหบ้ รรลผุ ลสำเร็จรว่ มกัน

2. สมรรถนะหลัก (Core competency)

⚫ สมรรถนะหลกั ด้านการทำงานแบบรวมพลงั  สมรรถนะหลักดา้ นการสบื สอบทาง

เป็นทีม และมภี าวะผ้นู ำ วิทยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์

⚫ สมรรถนะหลกั ด้านทักษะการคิดขัน้ สูง  สมรรถนะหลกั ดา้ นคณิตศาสตร์ใน

และนวตั กรรม ชวี ิตประจำวัน

 สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

106

2.1 สมรรถนะหลักดา้ นการทำงานแบบรวมพลงั เป็นทีม และมภี าวะผู้นำ (Collaboration Teamwork
and Leadership)

- เป็นผู้นำและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มแสดงออกได้อย่างเหมาะสม มีแรงบันดาลใจในการพัฒนา
ตนเองใหเ้ ป็นทไ่ี วว้ างใจ

- เปิดใจ รับฟัง ยอมรับ และเคารพความคิดเห็นในมุมมองที่แตกต่าง สนับสนุนหรือโต้แย้งความ
คดิ เหน็ ของผู้อืน่ อย่างมีเหตผุ ล

- ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย มีกระบวนการทำงานกลุ่มที่สอดคล้องกับเป้าหมาย และรับผิดชอบตาม
บทบาทหน้าที่ด้วยความใส่ใจ มีความพยายามเพื่อให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน อย่างเต็มใจ ช่วยเหลือกนั
ประเมนิ การทำงานรว่ มกันเป็นระยะ เพื่อนำไปปรับปรงุ ใหบ้ รรลุตามเป้าหมายทก่ี ำหนด

- ปรบั และประสานความคดิ ในการแกไ้ ขปัญหาดว้ ยสันติวธิ ี
- สร้างและรักษาความสัมพันธ์อันดีในกลุ่ม ให้ความไว้วางใจและยอมรับผลที่เกิดจากการทำงาน
รว่ มกนั ด้วยความเตม็ ใจ

2.2 สมรรถนะหลักด้านทักษะการคิดข้ันสงู และนวตั กรรม (Higher Order Thinking Skills and
Innovation Development)

- ระบุปัญหาที่เกิดขึ้น บอกความเกี่ยวข้องระหว่างปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเองและผู้อื่น คิดหาสาเหตุ
และวิธีการแก้ไขปัญหาที่หลากหลายและมีความเป็นไปได้จริงในทางปฏิบัติ และคาดเดาผลที่จะเกิดขึ้นจาก
วธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาเหล่าน้นั

- ลงมือแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง ดว้ ยวธิ ีการท่คี ัดเลือกไว้และดำเนินการตามขั้นตอนของวิธีการจนปัญหา
ได้รับการแก้ไข

- แสดงความคิดในเรื่องต่างๆ บอกเล่าความคิดจินตนาการหรือความคิดของตนเองที่แปลกใหม่ไปจาก
สิง่ รอบตวั ของตนเองและบริบทแวดล้อม และต่อยอดความคดิ ของตนเองใหแ้ ตกตา่ งไปจากเดิม

- ใช้ความคิดหรือจนิ ตนาการออกแบบนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือเพื่อนำไปใชไ้ ด้จริงในชีวิตประจำวัน
โดยนวัตกรรมนั้นตอบสนองความต้องการจำเป็นหรือสภาพปัญหาในบริบท และสามารถระบุจุดเด่นหรือ
ข้อจำกัดของนวัตกรรมได้

2.3 สมรรถนะหลกั ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and
Scientific Mind)

1) ตั้งคำถามทีน่ ำไปสูก่ ารสำรวจตรวจสอบตามการออกแบบที่กำหนด หรือออกแบบ และนำเสนอ
วิธกี ารสำรวจตรวจสอบ โดยใช้เครือ่ งมือชว่ ยในการสำรวจตรวจสอบและสรปุ เพื่อตอบคำถาม

- รวบรวมขอ้ มลู ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา กำหนดเกณฑ์ อุปสรรคและขอ้ จำกัดท่ีสอดคล้องและตรงกับ
ประเดน็ ปัญหา นำสกู่ ารพิจารณาวธิ กี ารใหม่ในการแกป้ ัญหาท่ีเปน็ ไปได้ ปรบั ปรุงแนวทางการแก้ปญั หานั้นโดย
ใช้ข้อมลู จากการทดสอบ

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

107

2.4 สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชีวิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life)
1) อธบิ ายความรแู้ ละหลกั การทางคณติ ศาสตร์อย่างง่าย ทส่ี ะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความเชื่อมโยงภายใน

คณติ ศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่นื ๆ และ เช่อื มโยงคณิตศาสตร์กบั ชีวติ ประจำวนั อย่าง
สมเหตุสมผลตามวยั

2.5 สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication)
เขียนสื่อสารเพื่อแสดงความรู้ ความรู้สึก ความคิด อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัตถุประสงค์และรูปแบบ

ของงานเขียนในสื่อประเภทต่างๆ โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และใช้หลักภาษาได้อย่างถูกต้องตามหลักภาษา คำนึงถึง
ผลกระทบ ความเหมาะสม กาลเทศะและผรู้ ับสาร

3. ผลลพั ธ์การเรียนรู้ (specific learning outcomes)

สามารถสรา้ งแพช่วยชีวิตท่มี ีประสทิ ธภิ าพในการใช้งานไดจ้ ริง โดยสมาชิกในทีม
เขา้ ใจเป้าหมายและบทบาทหนา้ ที่ของตนในการสร้างนวตั กรรมร่วมกนั แบบร่วมมือรวมพลัง

1) เขยี นคำเชิญชวนใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจในวตั ถุประสงค์ท่ตี ้องการส่ือสารและโน้มนา้ วใจใหม้ ีส่วนรว่ มในการ
ดำเนนิ การได้

2) ใชค้ วามรูใ้ นการจำแนกประเภท ขนาดและปริมาตรของวัสดุทีจ่ ะนำมาใชใ้ นการสร้างแพไดอ้ ย่าง
เหมาะสม

3) วางแผนและออกแบบแพที่ต้องการสรา้ งข้นึ และสามารถสอื่ สารให้ผอู้ ืน่ เข้าใจแนวความคิดได้
4) สรา้ งแพต้นแบบ โดยใช้เครื่องมือและอปุ กรณ์ได้อย่างเหมาะสมตามลักษณะงานและมีความปลอดภัย
5) นำเสนอผลงานและทดสอบแพต้นแบบ โดยนำผลจากการทดสอบและการให้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั ไปใช้ใน

การพฒั นาปรบั ปรุงต่อไป
6) ปรบั ปรงุ และพัฒนาแพตน้ แบบ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ ดว้ ยการทำงานร่วมกันแบบรว่ มมือรวมพลัง
7) ทดสอบและนำเสนอแพท่ผี ่านการปรบั ปรุงประสิทธิภาพเพ่ือใหใ้ ชง้ านได้จรงิ
8) สะทอ้ นคิดจากประสบการณ์ทไ่ี ดร้ บั ท้ังหมด สามารถสรุปประเด็นการเรยี นรู้ทต่ี นไดร้ ับ เพื่อนำไปใช้

ประโยชน์ต่อไป

4. สาระการเรยี นรู้ ด้านทักษะ (S) ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
ด้านความรู้ (K) 1) ทักษะการทำงานเป็นทมี แบบร่วมมือ 1) ความเป็นผนู้ ำ
รวมพลัง
1) หนว่ ยการวัดปรมิ าตร 2) ทกั ษะในการแก้ไขปัญหา สามารถ และผู้ตามที่ดีของกลุ่ม
และหน่วยการวัดนำ้ หนัก วเิ คราะห์ปัญหาและแกป้ ญั หาไดอ้ ย่าง 2) ความม่งุ มนั่
สรา้ งสรรค์
2) การเปรียบเทียบ ตัง้ ใจ อดทน และ
ปรมิ าตรน้ำในภาชนะท่ี พยายาม
แตกต่างกัน

ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

108

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นทกั ษะ (S) ดา้ นคุณลักษณะ (A)
3) การจมและการลอย 3) ทกั ษะการวางแผน การเลือกวธิ กี ารและ 3) ความรบั ผดิ ชอบ
ของวตั ถุ การออกแบบสงิ่ ประดิษฐ์
4) แรงพยุงและแรงลอยตวั 4) ทักษะในการสรา้ งและรกั ษา ตอ่ งานที่ไดร้ บั
5) หลกั การในการคิดเชิง ความสมั พนั ธ์อนั ดีในกลุ่ม ให้ความไว้วางใจและ มอบหมาย
ออกแบบเพ่ือสร้างนวตั กรรม ยอมรับผลท่ีเกิดจากการทำงานร่วมกนั ด้วย
6) กระบวนการออกแบบ ความเตม็ ใจ 4) ความคดิ แบบ
ทางวศิ วกรรม ประเภทและ 5) ทกั ษะการใช้กระบวนการสบื สอบทาง ยดื หยุ่นและไม่ยอมแพ้
รูปแบบสิง่ ประดิษฐ์ทาง วิทยาศาสตร์ และคน้ หาความรดู้ ้วยตนเอง ตอ่ ความล้มเหลว
วศิ วกรรม 6) ทกั ษะการประยุกต์ใช้ความรู้
7) วธิ กี ารใช้วัสดุ อปุ กรณ์ 7) ทักษะในการบริหารความผดิ พลาด 5) ชุดความคิดแบบ
ได้อยา่ งเหมาะสม คมุ้ คา่ และ 8) ทกั ษะการนำเสนอผลงาน และสื่อสาร เติบโต พร้อมเรยี นรู้สิง่
ปลอดภยั ให้ผอู้ น่ื เกดิ ความเข้าใจ ใหมๆ่ เสมอ
8) หลักการนำเสนอ 9) ทักษะการสะท้อนคิด และการปรับปรงุ
ผลงานรปู แบบต่างๆ งานโดยใชข้ อ้ มูลป้อนกลับเพื่อใหเ้ กดิ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน

5. งานการเรียนรู้ (learning tasks)
การใช้กระบวนการทำงานแบบรวมพลัง เป็นทีมและมีภาวะผนู้ ำ เพื่อสร้างนวตั กรรมในการแก้ปญั หา

ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ โดยผูเ้ ก่ียวข้องตระหนกั ในการสนบั สนุน แบ่งปนั แลกเปลยี่ นความรู้
และความคิด พร้อมสนบั สนนุ เกื้อกลู กนั ทกุ ดา้ น สร้างและรักษาความสัมพันธ์ทางบวกนำจุดเดน่ และความ
คิดเหน็ ของแตล่ ะคนมาใชป้ ฏิบัตงิ านเพื่อให้บรรลผุ ลสำเร็จร่วมกนั

เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะข้างต้น ผู้เรยี นจำเป็นตอ้ งทำงานการเรยี นรู้ รวม 8 งาน โดยมหี ลักฐาน
การเรียนร้แู ต่ละงาน ดงั นี้

งานการเรียนรู้ (Learning Tasks) หลกั ฐานการเรยี นรู้

งานท่ี 1 การเขยี นคำเชญิ ชวนใหผ้ ูอ้ นื่ เข้าใจใน 1.1 แผ่นปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ การขอรบั บริจาค

วัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการส่อื สารและโนม้ นา้ วใจใหม้ ี ขวดนำ้ เพื่อนำมาเป็นวสั ดุในการประดษิ ฐแ์ พ

สว่ นร่วมในการดำเนินการได้ 1.2 ผลลัพธ์ในความรว่ มมอื จากผ้ปู กครองและเพอ่ื นนกั เรยี น

งานที่ 2 การจำแนกประเภทขวดนำ้ ทไ่ี ดร้ บั 2.1 ผลงานการคดั แยกและจำแนกประเภทขวดนำ้ ตามขนาด

บริจาค ตามขนาด และปรมิ าตร รวมถึงประเภทและ และปรมิ าตร

วสั ดุได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เพ่ือเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ในการ 2.2 แผนผังการระดมความคิด การเลอื กวัสดุ อุปกรณใ์ นการ

สรา้ งแพ สร้างแพชว่ ยชวี ติ

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

109

งานการเรยี นรู้ (Learning Tasks) หลกั ฐานการเรยี นรู้

งานท่ี 3 การวางแผนและออกแบบแพที่ 3.1 ผลงานการออกแบบแพชว่ ยชีวิต

ต้องการสร้างขน้ึ และสามารถสอื่ สารให้ผ้อู ื่นเข้าใจ 3.2 การนำเสนอความคดิ เก่ยี วกับแพทต่ี อ้ งการสร้าง โดยชี้แจง

แนวความคดิ ได้ วัสดอุ ปุ กรณ์ จำนวน และรูปแบบ (งานกลุ่ม)

งานท่ี 4 การสรา้ งแพตน้ แบบ โดยใช้เคร่ืองมอื 4.1 ผลงานแพตน้ แบบทสี่ รา้ งขน้ึ ตามทไ่ี ด้ออกแบบไว้

และอุปกรณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสมตามลกั ษณะงานและมี (งานกลุม่ )

ความปลอดภัย

งานท่ี 5 การนำเสนอผลงานและทดสอบแพ 5.1 ผลการนำเสนอและสะท้อนการทำงาน ปญั หาและวธิ ี

ตน้ แบบ โดยนำผลจากการทดสอบและการให้ข้อมลู แกป้ ญั หาเก่ียวกับการสรา้ งแพ การประเมินผลงานแพที่สรา้ งขนึ้

ป้อนกลบั ไปใชใ้ นการพัฒนาปรบั ปรงุ ต่อไป เมื่อเทียบกับท่อี อกแบบไว้ 5.2 ผลการทดสอบแพช่วยชีวติ คร้งั ท่ี 1

งานที่ 6 การปรับปรงุ และพัฒนาแพต้นแบบ 6.1 ผลการปรบั ปรงุ และพัฒนาแพช่วยชวี ติ

ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ ด้วยการทำงานรว่ มกนั 6.2 คณุ ลกั ษณะของผู้เรยี น

แบบรว่ มมือรวมพลัง 1) มีความเปน็ ผนู้ ำและผตู้ ามทด่ี ีของกลุ่ม

2) มีความมุ่งมนั่ ตง้ั ใจ อดทน และพยายาม

3) มีความรับผิดชอบ ต่องานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

4) มคี วามคดิ แบบยดื หยุ่นและไม่ยอมแพต้ ่อความลม้ เหลว

5) มชี ุดความคิดแบบเตบิ โต พรอ้ มเรยี นรูส้ ่งิ ใหม่ๆ เสมอ

งานท่ี 7 การทดสอบและนำเสนอแพที่ผา่ นการ 7.1 ผลการนำเสนอและสะท้อนการทำงาน ปญั หาและวธิ ี

ปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพเพ่อื ให้ใช้งานได้จรงิ แก้ปญั หาเก่ยี วกบั การสร้างแพ การประเมินผลงานแพท่สี รา้ งขนึ้

เมื่อเทยี บแพต้นแบบในการทดสอบคร้งั ทีผ่ า่ นมา (งานกลุม่ )

7.2 ผลการทดสอบแพชว่ ยชีวติ คร้ังที่ 2

งานท่ี 8 การสะทอ้ นคิดจากประสบการณท์ ี่ 8.1 ผลการเขยี นสะทอ้ นคดิ การสรุปประเดน็ ในการเรียนรู้

ได้รบั ทง้ั หมด สามารถสรปุ ประเดน็ การเรยี นรทู้ ีต่ น (รายบุคคล)

ไดร้ บั เพ่อื นำไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

6. การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้

ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ หลกั ฐานแสดงผลลัพธ์ กจิ กรรมการเรยี นรู้
การเรียนรู้
(specific learning
outcomes)

1) เขียนคำเชิญชวน 1.1 แผน่ ปา้ ย ชั่วโมงท่ี 1

ให้ผอู้ น่ื เข้าใจในวัตถุ ประชาสัมพนั ธ์ การ 1.ให้นกั เรียนดูวีดโี อการเดินทางทา

ประสงคท์ ่ีตอ้ งการส่อื สาร ขอรบั บรจิ าคขวดนำ้ โบราณและสนทนากบั นักเรียนเก่ยี วกับภ

และโนม้ นา้ วใจให้มสี ่วน เพือ่ นำมาเป็นวัสดใุ น ร่วมกัน

ร่วมในการดำเนนิ การได้ การประดิษฐ์แพ 2.นักเรยี นคดิ และออกแบบในการท

1.2 ผลลัพธ์ใน ประชาสมั พนั ธก์ ารขอรบั บรจิ าคขวดนำ้

ความรว่ มมือจาก สร้างแพ

ผู้ปกครองและเพ่อื น 3. นกั เรียนวางระบบการรับบรจิ าค

นักเรยี น วธิ ีการในการประชาสัมพนั ธ์ การรบั บริจ

และการเก็บรักษา

2) ใช้ความรู้ในการ 2.1 ผลงานการ ชว่ั โมงท่ี 2

จำแนกประเภท ขนาด คดั แยกและจำแนก 1.แบง่ กลุ่มนกั เรียนกลุม่ ละ 3-4 คน

และปรมิ าตรของวสั ดทุ ี่ ประเภทขวดน้ำตาม นักเรียนประยกุ ตใ์ ช้ความรู้เร่ืองปรมิ าตร

จะนำมาใชใ้ นการสรา้ ง ขนาดและปริมาตร การจำแนกประเภทขวดนำ้ ตามขนาดแล

แพได้อยา่ งเหมาะสม 2.2 แผนผังการ 2. นักเรยี นจัดสรรเวลาในการจำแน

ระดมความคิด การ ดำเนนิ การเพอื่ ให้แล้วเสรจ็ ตามกำหนด

เลอื กวัสดอุ ปุ กรณใ์ น 3. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมระดมควา

การสรา้ งแพช่วยชวี ติ เลือกวสั ดุอปุ กรณใ์ นการสรา้ งแพชว่ ยชีว

แผนผงั ความคดิ พร้อมตารางการวางแผ

110

สอื่ / สถานการณ์ วธิ ีการวัดและประเมินผล

สื่อ Formative

างนำ้ ในสมยั 1. คลปิ วีดีโอการคมนาคมทาง Assessment

ภารกิจทจ่ี ะทำ นำ้ ในสมัยโบราณ (เพือ่ ส่งเสรมิ พฒั นาผู้เรยี น

2. กระดาษ/สี และอปุ กรณท์ ำ ระหว่างการจัดกิจกรรมตาม

ทำแผน่ ปา้ ย ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ เป้าหมายผลลพั ธก์ ารเรียนรู้)

เพอ่ื นำมา สถานการณ์ 1. สังเกตการรว่ มกจิ กรรม

1. การจดั หาวัสดุอปุ กรณ์ใน 2. สงั เกตพฤติกรรม

ค ชอ่ งทางและ การสร้างแพช่วยชวี ติ ท่ีสามารถนำ 3. ตรวจผลงาน

จาคขวดนำ้ นกั เรียนขา้ มน้ำไดจ้ ริง เปน็

ระยะทาง 12 เมตร

สื่อ Formative

น ครใู ห้ 1. ขวดนำ้ ทไ่ี ด้รบั การบรจิ าค Assessment

รของวัสดุ ใน 2. อปุ กรณ์ในการคดั แยก (เพือ่ สง่ เสรมิ พัฒนาผู้เรยี น

ละปรมิ าตร ประเภท ระหวา่ งการจัดกิจกรรมตาม

นกและ สถานการณ์ เปา้ หมายผลลัพธ์การเรยี นร)ู้

1. การคดั แยกและจำแนกขวด 1. การประเมินความ

ามคิดการ น้ำ ตามขนาดและปรมิ าตร เพอื่ วาง ถูกต้องในการแยกและจำแนก

วติ และเขียน แผนการเตรี ยมวัสดอุ ุปกรณใ์ นการ ขวดนำ้

ผนการทำงาน สรา้ งแพชว่ ยชีวติ ทีส่ ามารถนำ

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ หลักฐานแสดงผลลพั ธ์ กิจกรรมการเรียนรู้
การเรียนรู้
(specific learning
outcomes)

3) วางแผนและ 3.1 ผลงานการ ช่วั โมงที่ 3
ออกแบบแพท่ีตอ้ งการ ออกแบบแพชว่ ยชวี ติ 1. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ วางแผน
สรา้ งขน้ึ และสามารถ แพตน้ แบบของแพช่วยชวี ติ ลงในกระด
สอ่ื สารใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ 3.2 การนำเสนอ 2. ให้นักเรยี นนำเสนอต้นแบบท่รี
แนวความคิดได้ ความคดิ เกย่ี วกับแพท่ี สะทอ้ นถึงที่มา แนวคดิ และความสรา้
ต้องการสร้าง โดย แบบร่าง พรอ้ มทง้ั คำนวณวสั ดุ อปุ กรณ
ช้แี จงวัสดุอปุ กรณ์ ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย พร้อมท้งั แผนก
จำนวน และรปู แบบ จนสำเร็จ
(งานกลมุ่ ) 3. ให้เพอื่ นนกั เรียนรว่ มวิพากษแ์

4) สรา้ งแพตน้ แบบ 4.1 ผลงานแพ ช่วั โมงที่ 4 – 5
โดยใชเ้ คร่ืองมอื และ ตน้ แบบที่สรา้ งขึ้น
อปุ กรณ์ได้อย่าง

111

สอื่ / สถานการณ์ วิธีการวดั และประเมินผล

นกั เรยี นข้ามน้ำได้จริง เปน็ 2. การตรวจผลงาน
ระยะทาง 12 เมตร “แผนผงั การระดมความคิด”

3. การสงั เกตพฤติกรรม
ระหว่างการทำงาน

ส่ือ Formative Assessment

นและออกแบบ 1. กระดาษ Flipchart แผน่ (เพ่อื สง่ เสรมิ พัฒนาผู้เรียน

ดาษ ใหญ่ สำหรับการร่างแบบ กล่มุ ละ 1 ระหวา่ งการจดั กิจกรรมตาม

รา่ งขนึ้ โดย แผน่ เปา้ หมายผลลัพธก์ ารเรยี นร)ู้

างสรรคข์ อง 2. สีประเภทต่างๆ 1. การสังเกตพฤติกรรมใน

ณท์ ี่จะใช้ สถานการณ์ การทำงานรว่ มกนั ในกลุ่ม และ

การดำเนนิ การ 1. การร่างแบบแพชว่ ยชวี ิต การนำเสนอผลงาน

ทส่ี ามารถใช้งานได้จรงิ ในการนำ 2. การประเมินผลงาน

แพตน้ แบบ นกั เรียนข้ามสระนำ้ เปน็ ระยะทาง แบบรา่ งของแพตน้ แบบใน

12 เมตร กระดาษ

2. การวางแผนการทำงาน

การเตรียมวัสดอุ ปุ กรณ์ ระยะเวลา

ในการทำงาน และงบประมาณทใ่ี ช้

สอ่ื Formative Assessment

1. เครอื่ งมือ วสั ดุ และ

อปุ กรณท์ ี่ใช้ในการสรา้ งแพตน้ แบบ

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ หลักฐานแสดงผลลัพธ์ กจิ กรรมการเรียนรู้
การเรยี นรู้
(specific learning 1. นกั เรยี นลงมือปฏิบัติ สรา้ งแพ
outcomes) ใชเ้ ครื่องมอื วสั ดุ และอุปกรณ์ตามแผ
ดำเนินการทวี่ างไว้
เหมาะสมตามลกั ษณะ ตามทไี่ ดอ้ อกแบบไว้
2. ดำเนนิ การสะท้อนและตรวจส
งานและมีความปลอดภัย (งานกลมุ่ ) จรงิ กบั แผนทว่ี างไว้เปน็ ระยะๆ

3. เกบ็ ขอ้ มลู และจดั ทำงบประมา
ดำเนนิ การจรงิ

5) นำเสนอผลงาน 5.1 ผลการ ชวั่ โมงที่ 6
1. นักเรียนนำเสนอผลงานแพต
และทดสอบแพต้นแบบ นำเสนอและสะทอ้ น กลุ่มสร้างขึ้น พร้อมระบุปัญหาและ
แก้ไขปัญหาระหว่างดำเนนิ การ
โดยนำผลจากการ การทำงาน ปญั หาและ 2. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นำแพต้นแ
ในสถานการณ์จริง พร้อมบันทึกวีดีโ
ทดสอบและการใหข้ อ้ มลู วธิ แี กป้ ญั หาเกยี่ วกบั เพื่อนำมาสะท้อนและเรียนรู้เพื่อน
ปรับปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป
ปอ้ นกลบั ไปใช้ในการ การสร้างแพ การ

พฒั นาปรบั ปรงุ ต่อไป ประเมินผลงานแพที่

สร้างขน้ึ เม่อื เทยี บกบั

ท่อี อกแบบไว้ (งาน

กลุ่ม)

5.2 ผลการ

ทดสอบแพช่วยชีวติ

ครงั้ ท่ี 1

112

สอื่ / สถานการณ์ วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล

พตน้ แบบ โดย (เพอ่ื ส่งเสรมิ พัฒนาผเู้ รยี น
ผนการ สถานการณ์ ระหวา่ งการจัดกิจกรรมตาม
เปา้ หมายผลลพั ธก์ ารเรยี นร)ู้
1. การสรา้ งแพช่วยชวี ิต ท่ี
สอบการทำงาน สามารถใชง้ านไดจ้ ริง ในการนำ 1. การสงั เกตพฤตกิ รรมใน
การทำงานรว่ มกันในกลุ่ม
นักเรียนข้ามสระนำ้ เปน็ ระยะทาง
าณทใ่ี ชใ้ นการ 12 เมตร

สือ่ Formative Assessment

ต้นแบบที่แต่ละ 1. กล้องวดี ีโอ หรอื (เพ่อื ส่งเสรมิ พัฒนาผเู้ รียน

ะวิธีการในการ โทรศัพท์มือถอื สำหรบั บนั ทกึ วดี โี อ ระหว่างการจัดกจิ กรรมตาม

ภาพขณะทำการทดสอบของแตล่ ะ เป้าหมายผลลัพธก์ ารเรยี นรู)้

แบบไปทดสอบ กล่มุ 1. ประเมินการนำเสนอ

โอการทดสอบ แหล่งเรยี นรู้ ผลงาน

นำไปใช้ในการ 1. สระว่ายนำ้ ขนาด 12 เมตร 2. ประเมินผลการทดสอบ

สถานการณ์ แพต้นแบบของแตล่ ะกลุม่ โดย

1. การทดสอบแพต้นแบบ ใน คณุ ครู นักเรยี น และเพือ่ น

สถานการณจ์ รงิ ในการนำนักเรียน นกั เรียน ประเมนิ ผลร่วมกนั

ขา้ มสระนำ้ เปน็ ระยะทาง 12 เมตร

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

ผลลัพธ์การเรียนรู้ หลักฐานแสดงผลลัพธ์ กจิ กรรมการเรียนรู้
การเรยี นรู้
(specific learning
outcomes) 6.1 ผลการ ชัว่ โมงท่ี 7 – 8
6) ปรบั ปรงุ และ
ปรับปรงุ และพฒั นาแพ 1. ครูชวนนักเรียนสะท้อนผลการท
พัฒนาแพต้นแบบ ให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากข้ึน ช่วยชีวิต ตน้ แบบครั้งท่ี 1 ในความสำเรจ็ และคว
ดว้ ยการทำงานร่วมกนั
แบบร่วมมือรวมพลงั 6.2 คณุ ลักษณะ เกดิ ขนึ้ เพือ่ ร่วมกนั หาวิธกี ารในการแก้ไ

ของผเู้ รยี น 2. นกั เรียนทำงานรว่ มกันแบบร่วมม

1) มีความเปน็ เพือ่ วางแผน และดำเนนิ การในการปรับ

ผนู้ ำและผตู้ ามที่ดีของ ตน้ แบบ ใหเ้ ปน็ ผลงานแพชว่ ยชวี ติ ตามเ

กลุม่ ไว้ โดยใชท้ รพั ยากรอย่างจำกดั

2) มีความมุง่ มน่ั

ตัง้ ใจ อดทน และ

พยายาม

3) มีความ

รับผิดชอบ ต่องานท่ี

ได้รับมอบหมาย

4) มคี วามคิดแบบ

ยดื หยุน่ และไมย่ อมแพ้

ต่อความล้มเหลว

5) มชี ดุ ความคิด

แบบเติบโต พรอ้ ม

เรียนรู้สิง่ ใหมๆ่ เสมอ

113

ส่อื / สถานการณ์ วธิ ีการวัดและประเมินผล

สอ่ื Formative Assessment

ทดสอบแพ 1. เคร่ืองมอื วัสดุ และ (เพอื่ ส่งเสริมพฒั นาผูเ้ รียน
วามผดิ พลาดท่ี
ไข อปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการปรับปรงุ แกไ้ ข ระหว่างการจัดกิจกรรมตาม
มอื รวมพลัง
บปรงุ แกไ้ ขแพ แพช่วยชีวติ เปา้ หมายผลลัพธก์ ารเรยี นรู้)
เป้าหมายทต่ี ั้ง
สถานการณ์ 1. การสงั เกตพฤติกรรมใน

1. ปรับปรุงแกไ้ ขแพตน้ แบบ การทำงานร่วมกันในกลุม่

ใหส้ ามารถเป็นแพช่วยชีวิตได้จรงิ

ข้ามสระวา่ ยนำ้ ขนาด 12 เมตรได้

จริง โดยใช้ทรัพยากรท่ีมอี ย่าง

จำกัด รวมถงึ เวลาทีม่ ีอยูอ่ ย่างจำกัด

เชน่ กัน

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

ผลลพั ธ์การเรียนรู้ หลักฐานแสดงผลลพั ธ์ กิจกรรมการเรยี นรู้
การเรยี นรู้
(specific learning ชั่วโมงท่ี 9-10
outcomes) 1) ผลการนำเสนอ 1. นักเรียนนำเสนอผลงานแพช
7) ทดสอบและ และสะท้อนการทำงาน การปรบั ปรงุ หลงั การทดสอบแพคร้ังท
ปญั หาและวธิ ี 2. นกั เรียนนำแพชว่ ยชวี ิตทผ่ี ่านก
นำเสนอแพทผี่ า่ นการ แกป้ ญั หาเกีย่ วกับการ ทดสอบในสถานการณ์จริง พร้อมบัน
ปรับปรุงประสทิ ธภิ าพ สร้างแพ การประเมนิ ทดสอบเพ่ือนำมาสะทอ้ นและเรยี นรู้ต
เพอ่ื ให้ใชง้ านได้จรงิ ผลงานแพทสี่ รา้ งข้นึ 3. นกั เรียนเขียนสะทอ้ นคิด และส
เมือ่ เทยี บแพตน้ แบบ ดว้ ยตนเอง
8) สะทอ้ นคดิ จาก ในการทดสอบครง้ั ที่
ประสบการณท์ ีไ่ ด้รบั ผา่ นมา (งานกลมุ่ )
ทง้ั หมด สามารถสรุป
ประเดน็ การเรยี นรู้ทต่ี น 2) ผลการทดสอบ
ไดร้ บั เพือ่ นำไปใช้ แพช่วยชวี ิต ครั้งท่ี 2
ประโยชน์ต่อไป
3) ผลการเขียน
สะท้อนคดิ การสรปุ
ประเดน็ ในการเรยี นรู้
(รายบุคคล)

114

ส่ือ/ สถานการณ์ วิธีการวดั และประเมินผล

สอ่ื Summative Assessment
ช่วยชีวิตที่ผ่าน 1. กลอ้ งวีดโี อ หรือ 1. ประเมนิ ผลการ
ที่ 1 โทรศพั ทม์ ือถอื สำหรบั บนั ทึกวดี โี อ
การปรบั ปรุงไป ภาพขณะทำการทดสอบ ทดสอบแพชว่ ยชีวติ
นทึกวีดีโอการ แหล่งเรียนรู้ โดยคุณครู นกั เรียน
ตอ่ ไป 1. สระวา่ ยนำ้ ขนาด 12 เมตร และเพื่อนนกั เรียน
สรปุ การเรยี นรู้ สถานการณ์ ประเมินผลร่วมกนั
2. ประเมนิ ผลและ
1. การทดสอบแพชว่ ยชีวิต สะท้อนผลการเรียนรู้
ในสถานการณจ์ ริง ในการนำ โดยนกั เรยี นสรุปสง่ิ ท่ี
นักเรยี นขา้ มสระนำ้ เปน็ ระยะทาง ได้เรยี นรู้ด้วยตนเอง
12 เมตร

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

7. การวัดและประเมนิ ผลรวบยอด (Summative Assessment)

สมรรถนะท่ีประเมิน เร่ือง/สถาน

⚫ สมรรถนะหลกั ด้านการทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมี สถานการณ์

ภาวะผนู้ ำ ให้นักเรียนทำง

⚫ สมรรถนะหลกั ด้านทักษะการคิดข้ันสูงและนวตั กรรม สร้างแพช่วยชีวิตจากขวด

- สามารถสรา้ งแพช่วยชีวิตทม่ี ปี ระสิทธิภาพในการใช้งานได้ คน ผา่ นสระว่ายนำ้ ขนาด

จริง โดยสมาชิกในทมี เข้าใจเป้าหมายและบทบาทหน้าที่ของตน ปลอดภัย

ในการสร้างนวตั กรรมร่วมกันแบบร่วมมือรวมพลงั

8. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ สถานการณ์ประเมนิ และเกณฑก์ ารประเมนิ (Rubric
มที กั ษะในการทำงานร่วมกัน โดยเปน็ ผู้นำและเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของกล่มุ มแี รงบันด

มุมมองที่แตกต่าง ให้การสนับสนุนหรือโต้แย้งอย่างมีเหตุผล ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
ความใสใ่ จ เต็มใจ พยายามและชว่ ยเหลอื กัน ประเมนิ การทำงานรว่ มกันเปน็ ระยะ ปรบั ประ
การทำงานร่วมกนั

115

นการณ/์ สอื่ ทใี่ ช้ในการประเมิน เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวัดและประเมนิ
1. แบบประเมนิ ระดับสมรรถนะแบบ
งานร่วมกันแบบร่วมมอื รวมพลัง ในการ
ดน้ำ ที่สามารถเคลื่อนย้ายนักเรียนทุก Rubric
ด 12 เมตรไดอ้ ย่างประหยัด คมุ้ คา่ และ 2. แบบประเมนิ ผลงาน
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

cs)
ดาลใจในการพฒั นาตนเองให้เป็นทไ่ี วว้ างใจ เปิดใจ รับฟัง ยอมรับ และเคารพความคิดเห็นใน
มีกระบวนการทำงานกลุ่มที่ชัดเจน รับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย ด้วย
ะสานความคดิ และแกป้ ญั หาดว้ ยสนั ตวิ ิธี สร้างและรกั ษาความสัมพนั ธอ์ นั ดีเพื่อความสำเร็จใน

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะหลักดา้ นการ
ภาวะผู้นำและ การส่อื สารทม่ี ปี ระสิทธผิ ล (Collaboration
การพฒั นาตนเอง ส
1.เป็นผ้นู ำและเป็นสมาชกิ ทดี่ ี กา
ของกลุ่มแสดงออกได้อย่างเหมาะสม
ระดับ มแี รงบนั ดาลใจในการพฒั นาตนเอง 2.เปดิ ใจ รบั ฟัง ยอมรบั และ 3. ร่วมกันกำหน
ให้เปน็ ท่ไี ว้วางใจ เคารพความคดิ เห็นในมุมมองท่ี ทำงานกลุม่ ที่สอดคลอ้
ระดับ 1 แตกตา่ ง สนบั สนนุ หรอื โตแ้ ย้งความ รับผิดชอบตามบทบา
ระดับ 2 เปน็ ผู้นำหรือสมาชิกท่ดี ีในบาง คดิ เหน็ ของผอู้ นื่ อย่างมเี หตผุ ล ความพยายามเพอ่ื ให
ระดบั 3 สถานการณ์ จะแสดงออกได้อย่าง ทำงาน อยา่ งเตม็ ใจ ช
ระดับ 4 เหมาะสม โดยตอ้ งอาศยั ผู้ชแ้ี นะทกุ มีมารยาทในการรับฟังผนู้ ำและ ทำงานร่วมกนั เปน็ ระย
คร้ัง สมาชกิ ในกลุ่มโดยตอ้ งมีผูช้ ้แี นะใน บรรลุตามเป้าหมายท
บางคร้ัง
เป็นผู้นำหรือสมาชิกที่ดใี นบาง ร่วมกนั กำหนดเป
สถานการณ์ จะแสดงออกไดอ้ ย่าง มีมารยาทในการรับฟงั ผนู้ ำและ ทำงานกลุ่มท่สี อดคล้อ
เหมาะสมโดยตอ้ งอาศัยผ้ชู ้แี นะเป็น สมาชกิ ในกลุม่ และสามารถสนบั สนุน รับผิดชอบตามบทบาท
บางครั้ง ข้อมลู เพื่อใช้ในการทำงานได้ โดยตอ้ งมีผชู้ แี้ นะ

เปน็ ผู้นำและเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของ มมี ารยาทในการรบั ฟงั ผ้นู ำและ ร่วมกันกำหนดเป
กลุ่มแสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ขาด สมาชกิ ในกลุ่ม และสามารถโตแ้ ย้ง ทำงานกลมุ่ ทสี่ อดคลอ้
แรงบนั ดาลใจในการพัฒนาตนเอง ความคดิ เห็นของผูอ้ ่ืนได้อย่างมีเหตุผล รับผดิ ชอบตามบทบาท
ความพยายามเพื่อให้เ
เป็นผนู้ ำและเป็นสมาชกิ ที่ดีของ มมี ารยาทในการรบั ฟังผูน้ ำและ ช่วยเหลอื กนั โดยมผี ชู้
กล่มุ แสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มี สมาชกิ ในกลมุ่ สามารถสนบั สนุน
รว่ มกันกำหนดเป
ทำงานกลมุ่ ที่สอดคล้อ
รับผดิ ชอบตามบทบาท
ความพยายามเพอ่ื ให้เ
ชว่ ยเหลอื กันอยา่ งเต็ม

รว่ มกนั กำหนดเป
ทำงานกลมุ่ ทสี่ อดคล้อ

116

รทำงานแบบรวมพลังเปน็ ทมี และมภี าวะผ้นู ำ

n Teamwork and Leadership)

สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5
การสรา้ งและรกั ษาความสัมพนั ธ์
ารทำงานรว่ มกนั การแก้ปญั หา
5.สร้างและรักษาความสมั พันธอ์ นั
ดว้ ยสนั ติวธิ ี ดีในกลมุ่ ใหค้ วามไว้วางใจและยอมรบั
ผลที่เกิดจากการทำงานรว่ มกันด้วย
นดเปา้ หมาย มีกระบวนการ 4.ปรับและประสานความคดิ ใน ความเต็มใจ

องกบั เปา้ หมาย และ การแก้ไขปญั หาดว้ ยสนั ติวธิ ี ทำงานกลุ่ม ดว้ ยการกระทำที่
กอ่ ให้เกดิ ความสมั พันธท์ ดี่ ี หรือชว่ ยรักษา
าทหนา้ ทีด่ ว้ ยความใส่ใจ มี ความสัมพันธ์ท่ีดี โดยมีผู้ชแี้ นะบ้างเปน็
บางครั้ง
ห้เกดิ ความสำเร็จในการ
ทำงานกล่มุ ด้วยการกระทำท่ี
ชว่ ยเหลือกัน ประเมินการ กอ่ ใหเ้ กิดความสัมพันธ์ทีด่ ี หรือชว่ ยรกั ษา
ความสัมพันธ์ท่ดี ใี นกล่มุ ได้ด้วยตนเอง
ยะ เพอ่ื นำไปปรบั ปรุง ให้
ทำงานกลุม่ ด้วยการกระทำที่
ทีก่ ำหนด ก่อให้เกดิ ความสมั พนั ธ์ท่ีดี หรอื ช่วยรักษา
ความสัมพันธท์ ี่ดใี นกลุ่มไดด้ ้วยตนเอง โดย
ปา้ หมาย มกี ระบวนการ รับฟัง ทำความเขา้ ใจปัญหาจาก จะไวว้ างใจต่อสมาชกิ ในกลมุ่ เมือ่ มีผู้ช้ีแนะ
บ้างเปน็ บางครัง้
องกับเป้าหมาย และ สถานการณไ์ ด้ หรอื รบั ฟังและรว่ ม
ทำงานกลมุ่ ดว้ ยการกระทำที่
ทหน้าที่ที่ไดร้ ับมอบหมายได้ วเิ คราะห์ปญั หาโดยอาจจะยงั ไม่เข้าใจ ก่อใหเ้ กิดความสมั พันธ์ท่ดี ี หรอื ช่วยรกั ษา

ปัญหาหรอื ตอ้ งอาศยั ผู้ชีแ้ นะ

ปา้ หมาย มีกระบวนการ รบั ฟัง ทำความเขา้ ใจปัญหาจาก

องกบั เปา้ หมาย และ สถานการณแ์ ละรว่ มกนั วเิ คราะหป์ ญั หา

ทหน้าที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย มี ได้

เกิดความสำเร็จในการทำงาน

ช้ีแนะบา้ งเปน็ บางครั้ง

ป้าหมาย มีกระบวนการ รบั ฟงั ทำความเขา้ ใจปัญหาจาก

องกบั เปา้ หมาย และ สถานการณ์ ร่วมกันวเิ คราะห์ปัญหา

ทหนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย มี แล้วหาวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาโดยประสาน

เกิดความสำเร็จในการทำงาน ความคิดได้ โดยต้องมีผชู้ แี้ นะบา้ งเป็น

มใจ บางครง้ั

ปา้ หมาย มกี ระบวนการ รบั ฟงั ทำความเขา้ ใจปญั หาจาก

องกบั เปา้ หมาย และ สถานการณ์ รว่ มกันวิเคราะหป์ ญั หา

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะหลักดา้ นการ
ระดับ 5 ภาวะผู้นำและ การสอ่ื สารทีม่ ปี ระสทิ ธผิ ล (Collaboration
การพัฒนาตนเอง ส
1.เปน็ ผู้นำและเปน็ สมาชิกทดี่ ี 2.เปดิ ใจ รบั ฟงั ยอมรบั และ กา
ของกลุ่มแสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เคารพความคิดเห็นในมมุ มองที่
มีแรงบนั ดาลใจในการพฒั นาตนเอง แตกตา่ ง สนบั สนุนหรือโต้แย้งความ 3. ร่วมกนั กำหน
ใหเ้ ป็นที่ไว้วางใจ คิดเห็นของผู้อน่ื อยา่ งมเี หตผุ ล ทำงานกลมุ่ ทส่ี อดคลอ้
รับผิดชอบตามบทบา
แรงบันดาลใจในการพัฒนาตนเองเมอ่ื ขอ้ มูลเพือ่ ใช้ในการทำงาน และ ความพยายามเพือ่ ให
มีผชู้ แี้ นะ สามารถโตแ้ ย้งความคดิ เหน็ ของผู้อื่น ทำงาน อยา่ งเต็มใจ ช
ไดอ้ ย่างมเี หตผุ ล ทำงานร่วมกนั เปน็ ระย
เปน็ ผูน้ ำและเป็นสมาชิกทีด่ ีของ บรรลตุ ามเป้าหมายท
กล่มุ แสดงออกไดอ้ ย่างเหมาะสม มี มีมารยาทในการรบั ฟงั ผนู้ ำและ รบั ผดิ ชอบตามบทบาท
แรงบันดาลใจในการพฒั นาตนเองให้ สมาชกิ ในกลมุ่ สามารถสนบั สนนุ ความพยายามเพือ่ ใหเ้
เป็นทไ่ี วว้ างใจ ข้อมลู เพอื่ ใช้ในการทำงาน และ อย่างเตม็ ใจ ชว่ ยเหลอื
สามารถโต้แย้งความคดิ เห็นของผูอ้ ื่น รว่ มกันเป็นระยะ แตย่
ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ลโดยเปดิ ใจ รับฟัง กระบวนการทำงาน
ยอมรบั และเคารพความคิดเหน็ ใน
มมุ มองทแี่ ตกตา่ ง ร่วมกันกำหนดเป
ทำงานกล่มุ ท่ีสอดคลอ้
รบั ผิดชอบตามบทบาท
ความพยายามเพื่อให้เ
อยา่ งเต็มใจ ช่วยเหลือ
ร่วมกันเป็นระยะ เพอ่ื น
เปา้ หมายทกี่ ำหนด

117

รทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทมี และมีภาวะผนู้ ำ

n Teamwork and Leadership)

สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5
การสรา้ งและรกั ษาความสัมพันธ์
ารทำงานรว่ มกัน การแก้ปญั หา
5.สรา้ งและรกั ษาความสมั พนั ธ์อัน
ด้วยสันติวธิ ี ดใี นกลุม่ ให้ความไวว้ างใจและยอมรบั
ผลท่เี กิดจากการทำงานรว่ มกนั ด้วย
นดเป้าหมาย มีกระบวนการ 4.ปรับและประสานความคิดใน ความเตม็ ใจ

องกบั เปา้ หมาย และ การแกไ้ ขปัญหาด้วยสนั ตวิ ธิ ี ความสมั พันธ์ทีด่ ใี นกลุ่มไดด้ ว้ ยตนเอง
แสดงออกถึงความไวว้ างใจตอ่ สมาชกิ ใน
าทหนา้ ทดี่ ว้ ยความใสใ่ จ มี กลมุ่ อยา่ งชดั เจน แต่ยงั ไมเ่ ต็มใจยอมรับ
ผลท่ีเกดิ จากการทำงานร่วมกนั
ห้เกดิ ความสำเร็จในการ

ช่วยเหลอื กนั ประเมินการ

ยะ เพอ่ื นำไปปรบั ปรงุ ให้

ทีก่ ำหนด

ทหนา้ ที่ด้วยความใส่ใจ มี แล้วหาวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาโดยประสาน

เกิดความสำเรจ็ ในการทำงาน ความคิดได้

อกนั ประเมินการทำงาน

ยงั ไมไ่ ดน้ ำผลไปปรับปรุง

ปา้ หมาย มีกระบวนการ วเิ คราะหป์ ัญหา แลว้ หาวิธกี าร ทำงานกลมุ่ ดว้ ยการกระทำท่ี
องกับเป้าหมาย และ แกไ้ ขปัญหาโดยปรับและประสาน ก่อใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธ์ท่ีดี หรอื ช่วยรกั ษา
ทหน้าที่ดว้ ยความใส่ใจ มี ความคดิ ในการแก้ไขปญั หาดว้ ยสันตวิ ิธี ความสัมพนั ธ์ท่ีดีในกลมุ่ ได้ด้วยตนเอง
เกิดความสำเร็จในการทำงาน แสดงออกถงึ ความไวว้ างใจต่อสมาชกิ ใน
อกนั ประเมนิ การทำงาน กลุ่มอย่างชัดเจน และยอมรบั ผลท่เี กดิ
นำไปปรับปรุง ใหบ้ รรลตุ าม จากการทำงานร่วมกนั ดว้ ยความเตม็ ใจ

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

สมรรถนะหลักด้านทักษะการคิดขั้นสงู และการพัฒนานวัตกรรม (Higher Orde

ระดับคุณภาพ สามารถระบปุ ัญหาทเี่ กดิ ข้นึ และอธบิ ายผลกระทบขอ
ระดบั 1 ตอ้ งอาศยั ความช่วยเหลอื จากผอู้ ่นื
ระดับ 2
ระดับ 3 สามารถระบปุ ัญหาท่ีเกิดขึ้น และอธิบายผลกระทบขอ
หลากหลายและมีความเปน็ ไปไดจ้ ริงในทางปฏบิ ัติ และลงม
ระดับคุณภาพ
ระดบั 1 สามารถระบปุ ัญหาที่เกดิ ขนึ้ และอธิบายผลกระทบขอ
ระดับ 2 หลากหลายและมคี วามเปน็ ไปไดจ้ ริงในทางปฏบิ ตั ิ และสาม
ดว้ ยวิธีการที่คัดเลือกไวแ้ ละดำเนินการตามข้ันตอนของวธิ ีก
ระดับ 3
ออกแบบนวัตกรรมเพ่อื แก้ปัญหาส่ิงทพี่ บเหน็ รอบตัวบ
พัฒนาขน้ึ ตามความคิดหรือจินตนาการได้โดยมีเหตุผลประก

ออกแบบนวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหาสงิ่ ทพี่ บเหน็ รอบตัวบ
พฒั นาขนึ้ ตามความคิดหรอื จินตนาการโดยมเี หตผุ ลประกอ
พัฒนานวัตกรรมโดยมพี น้ื ฐานของแนวคดิ รองรบั อยา่ งมเี หต

ออกแบบนวตั กรรมเพ่ือแกป้ ัญหาส่ิงที่พบเห็นรอบตวั บ
พฒั นาข้นึ ตามความคิดหรือจินตนาการโดยมีเหตุผลประกอ
นวตั กรรมโดยมีพนื้ ฐานของแนวคิดรองรบั อยา่ งมเี หตุมีผล แ
ผล

118

er Thinking Skills and Innovation Development)
การคดิ แกป้ ญั หา

องปญั หาได้คร่าวๆสามารถระบสุ าเหตแุ ละวธิ กี ารแก้ไขปญั หาได้ และลงมอื แก้ปัญหาโดย

องปัญหาทเ่ี กิดขน้ึ ต่อตนเองไดอ้ ยา่ งชัดเจน สามารถระบสุ าเหตแุ ละวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาท่ี
มือแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง ดว้ ยวธิ ีการทีค่ ัดเลอื กไว้ โดยดำเนนิ การตามขน้ั ตอนท่ไี ดว้ างแผนไว้
องปัญหาทเี่ กิดข้นึ ต่อตนเองและผอู้ ืน่ ไดส้ ามารถระบุสาเหตแุ ละวิธกี ารแกไ้ ขปญั หาที่
มารถอธบิ ายผลท่ีจะเกิดข้ึนจากวิธีการแก้ไขปญั หาเหลา่ นน้ั และลงมือแกป้ ัญหาด้วยตนเอง
การจนปญั หาได้รบั การแกไ้ ข

การพฒั นานวัตกรรม
บนพื้นฐานของข้อมูลที่เก่ยี วขอ้ งกับสภาพปัญหาและอธบิ ายวธิ ีการทำงานของนวัตกรรมท่ี
กอบ
บนพน้ื ฐานของขอ้ มูลท่ีเก่ียวข้องกบั สภาพปัญหาและอธบิ ายวธิ ีการทำงานของนวตั กรรมท่ี
อบ สามารถระบุจุดเดน่ และข้อจำกดั ของนวตั กรรมและนำเสนอแนวทางในการปรบั ปรุง
ตมุ ีผล
บนพ้ืนฐานของขอ้ มูลท่เี กีย่ วข้องกับสภาพปญั หาและอธบิ ายวิธีการทำงานของนวตั กรรมที่
อบระบจุ ุดเด่นและข้อจำกัดของนวตั กรรมและนำเสนอแนวทางในการปรบั ปรงุ พฒั นา
และปรับปรงุ พฒั นานวตั กรรมตามทนี่ ำเสนอได้โดยมีพื้นฐานของแนวคดิ รองรบั อย่างมเี หตุมี

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

จากตัวอย่าง “แพช่วยชีวิต” ซึ่งเป็นการออกแบบแผนการจัดการเ
เชื่อมโยงและนำมาออกแบบหน่วยการเรียนรู้ในลักษณะเป็นหน่วยบูรณากา
จึงนำมาบูรณาการจัดการเรียนรู้จากสถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียนอาจพบในช
สถานการณป์ ัญหาท่กี ำหนด

119
เรียนการสอนที่นำสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐานและสมรรถนะหลัก มาวิเคราะห์
าร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีเริ่มจากปัญหาที่พบ/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม โรงเรียน
ชีวิตจริง เพื่อพัฒนาสมรรถนะและส่งเสริมการเรียนรู้แบบองค์รวมให้ กับผู้เรียนภายใต้

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

แผนการจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาก
โรงเรยี นปรชั ชาธร กรงุ เทพมหานคร สงั กัดสำนกั งานคณะกรรม



เพอ่ื ให

และสืบ

สมรรถนะหลกั ห

1. คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวนั แน

สมรรถนะท่ี 1 การแกป้ ัญหา ใช้ความรทู้ างคณิตศาสตร์ท่มี ีแก้ปญั หาในชีวิตประจำวนั ที่ ในช

เหมาะสมกบั วยั โดยใช้กระบวนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์อยา่ งเหมาะสมและคำนงึ ถงึ ความ ชมุ

สมเหตสุ มผลของคำตอบทไ่ี ด้ แล

สมรรถนะที่ 3 การสอ่ื สาร ใช้ศัพท์ สญั ลักษณ์ แผนภมู ิ แผนภาพ อยา่ งงา่ ยเพื่อส่ือสารให้ผอู้ ่นื ให้ค

เข้าใจในความคดิ ของตนเอง ไดอ้ ยา่ งหลากหลายและเหมาะสมกบั วัย เนอื้ หา และสถานการณ์ ท่อ

สมรรถนะที่ 4 การเช่ือมโยง บอกความเชื่อมโยงทางคณติ ศาสตรก์ บั ปัญหาหรือสถานการณต์ า่ ง ชุม

ๆ ทต่ี นเองพบในชีวติ จรงิ และอธบิ ายได้อยา่ งสมเหตสุ มผลตามวยั

2. ทักษะการคดิ ข้นั สงู และนวัตกรรม

สมรรถนะท่ี 2 การจัดการต่อความเปลยี่ นแปลง อธบิ ายเหตผุ ลของการตดั สินใจในเร่ืองต่างๆ

ในชีวิตประจำวนั ของตนและบอกไดว้ ่าการตดั สนิ ใจของตนมคี วามเหมาะสม โดยสามารถระบุ สง่ เ
หลกั ฐานสนบั สนุนความคิดได้ เรยี
การ
สมรรถนะที่ 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ แสดงความคดิ ในเรื่องตา่ งๆ บอกเลา่ ความคิดจนิ ตนาการ แผ
หรอื ความคดิ ของตนเองทแ่ี ปลกใหม่ไปจากสง่ิ รอบตวั เรยี
3. การทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทีมและมภี าวะผ้นู ำ

สมรรถนะที่ 2 การสือ่ สารท่ีมปี ระสิทธผิ ล เปดิ ใจ รับฟัง ยอมรบั และเคารพความคดิ เหน็ ใน
มมุ มองทีแ่ ตกตา่ ง สนบั สนุนหรอื โต้แย้งความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืนอยา่ งมเี หตผุ ล

120

การ หนว่ ย “ท่องเทีย่ วชมุ ชน”
มการการศกึ ษาเอกชน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 18 ชวั่ โมง

สร้างฑตู น้อยชุมชน KSA
ห้เกดิ สำนกึ รักบ้านเกดิ
บสานวัฒนธรรมชมุ ชน K – ภูมศิ าสตรแ์ ละลกั ษณะทางกายภาพของชมุ ชน
- กระบวนการทางภูมิศาสตร์ และการต้งั คำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์
หนว่ ย “ท่องเทีย่ วชมุ ชน”
การรวบรวมข้อมลู การจัดการขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มูล และการสรปุ
นวคดิ หลัก เราเป็นสมาชกิ เพอื่ ตอบคำถาม
ชมุ ชน จงึ ควรเรียนรขู้ ้อมลู - ระบบธรรมชาติและมนษุ ย์ ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ ับสง่ิ แวดลอ้ ม
มชนด้วยความภาคภมู ใิ จ ทางภายภาพ และวฒั นธรรมชมุ ชน
ละเผยแพร่วฒั นธรรมชุมชน - ปราชญ์ชาวบา้ นและวิธกี ารสมั ภาษณ์เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่ตอ้ งการ
คคลภายนอกเขา้ มา - การใช้แผนที่และเครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์
องเทีย่ วเชิงเรยี นรวู้ ฒั นธรรม - การวดั ระยะทาง มาตราส่วนและการเขียนแผนท่ีและแผนผัง
มชนของเรา - การใชส้ ัญลกั ษณใ์ นการสอื่ สาร
- การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการส่ือสารและออกแบบเพอ่ื
ผลลัพธ์การเรยี นรู้ ประชาสมั พันธ์
(ปลายทาง) S – ใชก้ ระบวนการทางภมู ศิ าสตรใ์ นการตงั้ คำถามเชิงภมู ศิ าสตร์
รวบรวมข้อมลู จัดการข้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมูล และสรปุ เพอื่ ตอบคำถาม
(Specific Learning - สงั เกต ใหเ้ หตุผลทางภมู ศิ าสตร์ ตัดสินใจอยา่ งเปน็ ระบบ คิด
Outcomes) วเิ คราะห์ และแปลความขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์

ออกแบบและจัดกิจกรรม หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
เสริมการทอ่ งเท่ียวเชงิ
ยนรู้วัฒนธรรมชุมชน โดย
รศึกษา สำรวจข้อมลู ทำ
ผนที่ชมุ ชน กำหนดฐานการ
ยนรู้ และทำเสน้ ทาง

สมรรถนะหลัก ห

สมรรถนะท่ี 3 กระบวนการทำงานร่วมกันแบบรว่ มมอื รวมพลงั รว่ มกนั กำหนดเป้าหมาย มี ทอ่
กระบวนการทำงานกลุ่มทส่ี อดคลอ้ งกับเปา้ หมายและรบั ผดิ ชอบตามบทบาทหน้าทด่ี ้วยความใสใ่ จ ปร
มคี วามพยายามเพอ่ื ให้เกดิ ความสำเร็จในการทำงาน อย่างเต็มใจชว่ ยเหลอื กัน ประเมนิ การทำงาน บุค

ร่วมกันเปน็ ระยะ เพอ่ื นำไปปรับปรุงใหบ้ รรลุตามเป้าหมายทีก่ ำหนด

4. ทักษะชีวติ และความเจรญิ แหง่ ตน

สมรรถนะที่ 1 การรจู้ ักตนเองและเขา้ ใจผอู้ น่ื ตดั สนิ ใจเลือกทำกิจกรรมทส่ี นใจตามความถนัด

และความสามารถอยา่ งมั่นใจ แสดงออก และตอบสนองต่ออารมณแ์ ละความรสู้ กึ ของตนเองและ

ผูอ้ นื่ ในทางบวก

สมรรถนะที่ 6 ทกั ษะการเรยี นรู้และการกำกับตนเอง ต้งั เปา้ หมายในการเรยี น มีวิธใี นการ จุด
แสวงหาความรู้ สร้างแรงจูงใจในการเรยี นรู้ สะทอ้ นผลการปฏบิ ัติของตนและปรบั ปรุงตนเองอยู่
เสมอ ทา
5. พลเมอื งทเี่ ข้มแข็ง/ตืน่ รู้ท่ีมสี ำนกึ สากล
1. ใ
สมรรถนะที่ 2 การเป็นพลเมอื งรับผดิ ชอบตอ่ บทบาทหน้าท่ี รับผิดชอบและปฏิบัตติ ามวถิ ี ภมู
วฒั นธรรมของชมุ ชนและท้องถน่ิ ดว้ ยความเข้าใจ ชมุ
2. เ
สมรรถนะท่ี 4 การเปน็ พลเมอื งมีสว่ นร่วม เข้ารว่ มกจิ กรรมสาธารณะประโยชน์ระดับโรงเรยี น ชุม
หรอื ชุมชนที่เหมาะสมตามวยั โดยคำนงึ ถึงผลดแี ละผลเสียทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ชุม
6. ภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร ปร

สมรรถนะที่ 2 การส่ง/ถ่ายทอดสาร ใชภ้ าษา ภาพ สัญลักษณ์ ในการถ่ายทอดขอ้ มูลความรู้ ชุม

ความรสู้ กึ ความคิดเห็น ประสบการณ์ จนิ ตนาการ ผา่ นช่องทางรปู แบบต่างๆ 3. เ

สมรรถนะท่ี 4 การสบื สาน ใช้ภาษาไทยในการรับรภู้ มู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยจาก สว่ น

แหลง่ ขอ้ มูลรปู แบบตา่ งๆ เพอื่ ทำความเขา้ ใจ เรยี นรู้ ประเมนิ คา่ เหน็ คณุ คา่ และถา่ ยทอด สบื สาน ชมุ
สาธ
สงิ่ ที่ดีงามของภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยในรปู แบบตา่ งๆ ตามศกั กยภาพตามวยั สู่ชุมชน 4. เ
ภมู ภิ าคอืน่ โดยใชก้ ารดู ฟงั พูด อ่าน และเขยี น จุด

121

หนว่ ย “ทอ่ งเทย่ี วชุมชน” KSA
องเทยี่ วทนี่ า่ สนใจ พรอ้ ม
ระชาสมั พนั ธ์ให้ - ทำงานเป็นทีม เขา้ ใจและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้ง
คคลภายนอกเข้าร่วม ทางดา้ นความคิด ความถนัด และความสามารถ นำจุดเดน่ ของแตล่ ะคน
มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการทำงาน
ดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (นำ - มเี ปา้ หมายในการทำงาน วางแผน แก้ปญั หาและเลอื กใช้วธิ ีที่
าง) เหมาะสม
ใชก้ ระบวนการทาง - ใช้เหตุผลในการรบั ฟงั และใหเ้ หตุผลสนบั สนุน เพอื่ นำไปสขู่ อ้ สรปุ
มศิ าสตรใ์ นการเรยี นรู้ข้อมลู - ใชแ้ ผนท่แี ละเครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ อา่ นและเขียนแผนที่และ
มชน แผนผัง
เกดิ ความภาคภมู ิใจใน - วดั ระยะทาง ใช้สญั ลกั ษณแ์ ละใช้มาตราสว่ นในการเขียนแผนทแี่ ละ
มชน วิเคราะหจ์ ุดเด่นของ สอ่ื สาร
มชนและทำส่อื - เช่ือมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์กับศาสตรอ์ น่ื ๆ และนำมาใชใ้ นการ
ระชาสมั พนั ธ์จดุ เด่นของ ทำงาน
มชนดว้ ยความภาคภูมิใจ - ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสื่อสารและออกแบบเพือ่
เรียนรภู้ มู ปิ ัญญาชุมชน มี ประชาสมั พนั ธ์
นรว่ มในกิจกรรมภมู ปิ ัญญา - คดิ สรา้ งสรรค์ และออกแบบเสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วในชุมชน
มชนท่ตี นสนใจและสามารถ - พูด ซักถาม บุคคลตา่ งๆ เพอ่ื เรยี นรู้และหาคำตอบท่ตี อนต้องการ
ธติ ใหผ้ อู้ นื่ ทำตามได้ - เขียนส่ือสารและเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบต่างๆ เพอ่ื ไดข้ อ้ มลู และ
เขยี นแผนท่ีชมุ ชนแสดง ประชาสมั พันธ์
ดเด่นของชมุ ชน A - มจี ิตสำนกึ ในการใช้ทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มอย่างค้มุ คา่
- เกิดความรกั และภาคภูมใิ จในชมุ ชนของตน
- มคี วามรักในการทำงานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย มคี วามเพยี รพยายามทจ่ี ะ
ทำให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย จดจอ่ กับงานท่ที ำ รวมทง้ั การตรวจสอบ
และปรบั ปรุงการทำงานใหบ้ รรลผุ ลตามเป้าหมาย

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

แผนการจดั การเรียนรู้ ห
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ งาน / กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ใช้กระบวนการทาง งานที่ 1 : เรยี นรชู้ มุ ชน
ภมู ศิ าสตร์ในการเรยี นรู้ กจิ กรรมที่ 1 ชุมชนของเรา
ขอ้ มลู ชมุ ชน
- ต้ังคำถาม “ถา้ พูดถึงชุมชนของเรา จะนึกถึงอะไรบา้ ง” ให้นักเรยี น
2. เกิดความภาคภูมิใจใน นำเสนอ
ชมุ ชน วิเคราะหจ์ ดุ เด่น
ของชมุ ชน และทำสอื่ - เรียนรูเ้ กย่ี วกับภมู ศิ าสตร์และลกั ษณะทางกายภาพ จากนัน้ ใหน้ กั เร
ประชาสมั พันธจ์ ดุ เด่นของ วเิ คราะหภ์ ูมิศาสตรแ์ ละลักษณะทางกายภาพของชุมชน พร้อมอธิบายเ
ชมุ ชนด้วยความภาคภมู ใิ จ
- นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอขอ้ มลู
กจิ กรรมที่ 2 สำรวจชมุ ชน

- เรยี นรูเ้ กยี่ วกับกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ และการตัง้ คำถามเชงิ ภ
ขอ้ มูล การจดั การขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มลู และการสรปุ เพ่ือตอบคำถ
- ให้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ สนทนาเกยี่ วกับชุมชนของเรา และเลือกประเด
กำหนดหวั ขอ้ ในการทำโครงงานสำรวจชุมชน

- แต่ละกลุ่มเลอื กหวั ข้อทส่ี นใจในการทำโครงงานสำรวจชุมชน กำหน
ทำงาน วางแผน และดำเนินการตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ พรอ้ ม
งานที่ 2 : วิเคราะหจ์ ดุ เด่นของชมุ ชน
กจิ กรรมท่ี 1 ของดีของชมุ ชน
- จากการนำเสนอโครงงานสำรวจชุมชน ชวนนกั เรียนสนทนาและให้นัก
วเิ คราะห์ข้อมูลเพอ่ื หาจดุ เดน่ เชิงวฒั นธรรมของชมุ ชน
- แต่ละกลมุ่ เลือกจุดเดน่ เชงิ วฒั นธรรมของชุมชนทีส่ นใจ เพอื่ ศึกษาข้อม
แหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน

122

หน่วย “ท่องเที่ยวชุมชน” การวัดและประเมนิ การเรยี นรู้
เวลา 18 คาบ/ช่วั โมง

หลกั ฐานการเรยี นรู้

นช่วยกนั ระดมสมองและ - ใบกจิ กรรมการวเิ คราะห์ - สังเกตกระบวนการทำงานกล่มุ
ภูมิศาสตรแ์ ละลกั ษณะทาง ของนักเรยี นและประเมนิ การ
รยี นแบ่งกลมุ่ ช่วยกัน กายภาพของชุมชน วิเคราะหภ์ มู ิศาสตรแ์ ละลกั ษณะทาง
เหตผุ ลประกอบ กายภาพของชุมชนโดยพจิ ารณาจาก
การนำความรเู้ กีย่ วกับภมู ศิ าสตร์
ภูมิศาสตร์ การรวบรวม - โครงงานสำรวจชมุ ชน และลกั ษณะทางกายภาพมาใชใ้ น
ถาม การวิเคราะห์
ดน็ ท่ีกลมุ่ สนใจเพือ่ - สงั เกตการปฏิบัติกจิ กรรมโดยใช้
กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ และ
นดเป้าหมายในการ สังเกตกระบวนการทำงานกลมุ่ ของ
มนำเสนอข้อมลู นกั เรียน
- ประเมนิ การนำเสนอโครงงานของ
แต่ละกลุ่ม

กเรียนแบง่ กลมุ่ - แผนดำเนนิ งานของกลุ่ม - สงั เกตกระบวนการทำงานกลมุ่
มลู เชงิ ลกึ และทำขอ้ มลู และผลการดำเนนิ งานจาก ของนกั เรียนและประเมนิ แผน
การนำเสนอผลงานในการ ดำเนินงานของกลุม่ และผลการ
วเิ คราะหจ์ ดุ เดน่ เชิง ดำเนนิ งานจากการนำเสนอผลงาน

หา้ มเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ งาน / กิจกรรมการเรยี นรู้
- เมอื่ ได้หัวข้อท่ีสนใจแลว้ ให้แตล่ ะกลุม่ จดั ทำแผนดำเนินงานของกลมุ่ ใ
3. เรยี นรภู้ ูมปิ ัญญาชมุ ชน ในการทำงาน วางแผน ดำเนนิ การ
มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมภูมิ - แต่ละกลมุ่ นำเสนอขอ้ มูลจดุ เด่นเชงิ วัฒนธรรมของชุมชน และร่วมกนั ส
ปญั ญาชมุ ชนท่ีตนสนใจ วฒั นธรรมของชมุ ชนทต่ี นภาคภมู ิใจ และปราชญ์ชาวบา้ นในชมุ ชน
และสามารถสาธติ ใหผ้ ู้อื่น กิจกรรมท่ี 2 เชญิ ชวนเที่ยวชมุ ชน
ทำตามได้ - ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม แตล่ ะกลุม่ หาตัวอยา่ งส่อื ประชาสมั พนั ธส์ ถานที่ท
ทีน่ า่ สนใจมา 1 ตวั อย่าง พร้อมวเิ คราะห์วา่ สื่อทก่ี ลุม่ เลอื กมามจี ดุ เดน่ อย
แล้วอยากไปเท่ียวหรือไม่ เพราะเหตุใด
- ให้แต่ละกลมุ่ นำเสนอสอื่ ทีเ่ ลอื ก พร้อมวเิ คราะหจ์ ุดเนของสอ่ื ให้กลมุ่ อ
คิดเหน็ เพมิ่ เตมิ จนนำเสนอครบทกุ กลุ่ม
- ชวนนกั เรยี นวเิ คราะหแ์ ละสรปุ จากตวั อยา่ งละการนำเสนอความคดิ เห
ประชาสมั พันธ์ที่ดี ควรมลี ักษณะอย่างไร เพราะเหตใุ ด
- ให้แต่ละกลมุ่ ทำสื่อประชาสมั พนั ธจ์ ดุ เดน่ เชิงวฒั นธรรมของชุมชน เพ่อื
อยากมาเท่ียวชมุ ชนของตน พร้อมนำเสนอ
งานที่ 3 : ภูมิปญั ญาชุมชน
กิจกรรมที่ 1 ปราชญช์ าวบ้านตวั น้อย
- สนทนาและเรยี นรเู้ กีย่ วกับภมู ปิ ญั ญาชมุ ชนและปราชญ์ชาวบา้ น
- ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่ม แตล่ ะกลุ่มเลอื กภมู ิปญั ญาชุมชนทส่ี นใจ เพือ่ เข้าไ
ชมุ ชนจากปราชญ์ชาวบ้าน จนเปน็ ปราชญ์ชาวบา้ นตวั น้อย
- แตล่ ะกลมุ่ จัดทำแผนดำเนินงานของกลุ่มในการวางแผน ประสานงาน
กบั ปราชญ์ชาวบา้ นจนสามารถสาธติ ส่งิ ที่ตนเรยี นรู้ใหผ้ ู้อน่ื ได้
- แต่ละกลมุ่ นำเสนอสิ่งที่ตนเขา้ ไปเรียนรู้กบั ปราชญช์ าวบา้ นและฝกึ จน

หลักฐานการเรียนรู้ 123
วัฒนธรรมของชุมชนและ
ปราชญช์ าวบ้านในชมุ ชน การวดั และประเมนิ การเรียนรู้

ในการกำหนดเป้าหมาย
สรปุ จดุ เดน่ เชงิ

ทอ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม - แผนดำเนนิ งานของกลุ่ม - สังเกตกระบวนการทำงานกลมุ่
ย่างไร เมือ่ เราเห็นสอื่ นี้ - สอื่ ประชาสมั พนั ธจ์ ดุ เดน่ ของนักเรยี นและประเมนิ แผน
เชิงวัฒนธรรมของชมุ ชน ดำเนนิ งานของกลุม่ และผลการ
อื่นร่วมกนั แสดงความ ดำเนินงานจากการนำเสนอผลงาน

หน็ ร่วมกนั ว่า ส่ือ

อให้บุคคลอนื่ รู้จักและ

ไปเรยี นรภู้ มู ิปัญญาของ - แผนดำเนินงานของกลมุ่ - สังเกตกระบวนการทำงานกลมุ่
น และเขา้ ไปฝกึ ปฏิบตั ิ และผลการดำเนนิ งานจาก ของนกั เรียนและประเมินแผน
นชำนาญ การนำเสนอผลงานทแ่ี สดง ดำเนินงานของกลมุ่ และผลการ
ถงึ ความรู้เกี่ยวกบั ภมู ปิ ัญญา ดำเนนิ งานจากการนำเสนอผลงาน
ชุมชน ทักษะทเ่ี รยี นรแู้ ละ
ฝกึ ฝนจากปราชญช์ าวบา้ น
และเจตคตเิ กีย่ วกบั ภมู ิ
ปัญญาชมุ ชน

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ งาน / กิจกรรมการเรียนรู้

- ร่วมกนั ออกแบบฐานกิจกรรมเกย่ี วกับภมู ิปญั ญาของชมุ ชน และจดั งา

น้อย” ในชว่ งหลงั เลกิ เรยี น เพือ่ ใหน้ กั เรียน ครู ผู้ปกครอง ผสู้ นใจ เขา้ ม

ชมุ ชนและฝกึ ปฏบิ ัติกับปราชญ์ชาวบา้ นตัวนอ้ ย

4. เขียนแผนท่ชี มุ ชนแสดง งานท่ี 4 : แผนทชี่ มุ ชน

จดุ เดน่ ของชมุ ชน กิจกรรมที่ 1 แผนผงั หรรษา

- ใหน้ กั เรยี นเดินสำรวจภายในโรงเรยี น สังเกตวา่ มสี ถานทใี่ ดบา้ ง และแ

ตรงไหน

- แบง่ กลุม่ และให้แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันทำแผนผังของโรงเรยี นจากขอ้ มลู ท

จากน้ันให้แต่ละกลมุ่ นำเสนอแผนผังและเปรยี บเทียบแผนผังของแต่ละ

ตา่ งกนั อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด

- เช่ือมโยงกิจกรรมกบั เรียนรปู้ ระโยชนข์ องแผนผงั วิธกี ารอา่ นและเขียน

ปฏบิ ัตอิ า่ นและเขียนแผนผัง

- ให้นักเรียนเขยี นแผนผังห้องเรยี น หรือแผนผงั ทีต่ นสนใจ(และครสู ามา

กิจกรรมที่ 2 แผนทพ่ี ิศวง
- เรียนรเู้ กย่ี วกับการวัดระยะทางและการใชอ้ ุปกรณ์ในการวัด ฝึกปฏบิ ตั
สถานทีต่ ่างๆ ในโรงเรยี น
- ใหน้ ักเรียนดแู ผนผังและแผนที่ พร้อมเปรยี บเทยี บความเหมอื นต่าง
- ฝกึ อา่ นแผนที่ การใชส้ ญั ลกั ษณ์ ทศิ มาตราส่วน และเรียนรูก้ ารเขยี นแ
- ฝกึ เขียนแผนที่และเขียนแผนที่จากโรงเรยี นไปบ้านของตน
- เลน่ เกม “แผนทพ่ี ิศวง” โดยใหน้ กั เรียนจบั ค่กู ัน นำสง่ิ ของของตนไปว
ไมร่ ู้ และเขียนแผนท่ใี หเ้ พ่ือนใช้ในการเดินทางไปนำสงิ่ ของน้ันกลบั มาให
ใหน้ ักเรยี นร่วมกันสะทอ้ นผลในประเดน็ ของ 1) หลักการเขียนแผนที่ ก

หลกั ฐานการเรียนรู้ 124

การวัดและประเมินการเรียนรู้

าน “ปราชญ์ชาวบา้ นตวั
มาเรยี นรู้ภมู ิปัญญา

แตล่ ะสถานทีอ่ ยู่ - แผนผงั ห้องเรียน หรอื - สงั เกตกระบวนการทำงานกลุ่ม
แผนผงั ท่ีตนสนใจ(และครู ของนักเรยี น
ท่แี ตล่ ะคนสังเกต สามารถตรวจสอบได้) - ประเมินงานการเขยี นแผนผงั
ะกลมุ่ ว่าเหมอื นหรอื หอ้ งเรียน หรือแผนผงั ทต่ี นสนใจ
(และครสู ามารถตรวจสอบได)้

นแผนผงั พรอ้ มฝึก

ารถตรวจสอบได)้

ตวิ ัดระยะทางระหว่าง - แผนท่จี ากเกม “แผนที่ - ประเมนิ ทกั ษะในการวดั ระยะทาง
พิศวง” โดยมีการนำความรู้ และการใช้อุปกรณ์ในการวัด
แผนที่ และทกั ษะในการวดั - ประเมนิ ทกั ษะในการอ่านและ
ระยะทาง การชส้ ญั ลักษณ์ เขียนแผนที่
วางไว้ในสถานท่ีทีเ่ พอ่ื น และมาตราส่วนมาใชใ้ นการ
ห้ตน หลงั เสร็จกิจกรรม เขยี นแผนที่
การใช้สัญลกั ษณ์ ทศิ

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ งาน / กจิ กรรมการเรยี นรู้
และมาตราส่วน 2) ทักษะในการเขยี นและอา่ นแผนท่ี 3) ผลของการใชแ้
เจอหรือไม่ เพราะเหตใุ ด 4) ความรสู้ กึ ในการทำกิจกรรม ส่งิ ท่ที ำไดด้ ี ส
ขน้ึ
กจิ กรรมท่ี 3 แผนทช่ี ุมชน
- ทบทวนหลกั ของการอา่ นและเขยี นแผนที่ และสนทนาเกย่ี วกับการทำ
สำคัญของชุมชน
- ให้นกั เรียนแบง่ กลุ่มและร่วมกนั ทำแผนที่ชมุ ชน โดยจัดทำแผนดำเนิน
กำหนดเปา้ หมาย วางแผนในการทำงาน สิ่งท่ตี ้องทำ ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ
- แต่ละกลมุ่ นำเสนอผลงาน รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ และสะทอ้ นผลก

การวดั และประเมินผลรวบยอด (Summative Assessment)

ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ งาน / สถานการณ์
(จุดประสงคป์ ลายทาง)
ออกแบบและจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การ โครงการ Walk Rally ทอ่ งเทยี่ วชุมชน
ทอ่ งเท่ียวเชงิ เรยี นรู้วฒั นธรรมชุมชน โดย – วางแผนกำหนดจุดกิจกรรมการเรยี นรเู้ ชิงวัฒนธรรม
การศึกษา สำรวจข้อมลู ทำแผนทช่ี ุมชน ขอ้ มูลให้ความรูแ้ ละออกแบบกจิ กรรมฐานต่าง ๆ
กำหนดฐานการเรยี นรู้ และทำเส้นทาง ประสานงานกบั ชุมชน จัดทำแผนทท่ี อ่ งเท่ยี ว กำหนด
ท่องเทยี่ วทนี่ า่ สนใจ พรอ้ มประชาสัมพนั ธ์ เป้าหมาย ประชาสมั พนั ธ์ รับสมคั ร ดำเนนิ การ
ใหบ้ ุคคลภายนอกเขา้ รว่ ม ประเมนิ ผล สะท้อนผลการทำงาน

125

หลกั ฐานการเรยี นรู้ การวัดและประเมินการเรยี นรู้

แผนที่ สามารถหาของ
ส่ิงที่สามารถพฒั นาใหด้ ี

ำแผนท่ีชุมชน สถานท่ี - แผนดำเนินงานของกลมุ่ - ประเมินทักษะในการวดั ระยะทาง
- แผนที่ชมุ ชนทแี่ ต่ละกลมุ่ และการใช้อุปกรณ์ในการวดั
นงานของกลุ่มในการ เขียน - ประเมนิ ทกั ษะในการอ่านและ
ดชอบ เขียนแผนท่ี
การทำงาน - สงั เกตกระบวนการทำงานกลุ่ม
ของนักเรียนและประเมินแผน
ดำเนนิ งานของกลมุ่ และผลการ
ดำเนินงานจากการนำเสนอผลงาน

หลกั ฐานการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ การเรียนรู้

- โครงการ Walk Rally ทอ่ งเทยี่ ว - สังเกตกระบวนการทำงานกลุ่มของนักเรียน

ม ทำ ชุมชน แผนการดำเนนิ งาน และ - ประเมินแผนดำเนินงานของกลมุ่ และผลการ

ผลการดำเนนิ งาน ดำเนนิ งานตามเปา้ หมายของกลมุ่

ด - ความพงึ พอใจของบคุ คลต่าง ๆ ในชมุ ชน

- การเข้ารว่ มกจิ กรรมและความพงึ พอใจของ

บุคคลภายนอก

หา้ มเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

การประเมินผลการเรยี นรสู้ มรรถนะ สถานการณป์ ระเมนิ และเกณฑก์ ารประเมิน (R
รายการประเมิน

- ออกแบบและจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วเชงิ เรยี นรวู้ ฒั นธรรมชุมชน “Walk Rally - ส

ชุมชน” โดยการศกึ ษา สำรวจขอ้ มูล ทำแผนทีช่ ุมชน กำหนดฐานการเรียนรู้ และทำเส้นทาง ทา

ทอ่ งเทีย่ วทนี่ ่าสนใจ พรอ้ มประชาสัมพนั ธ์ใหบ้ คุ คลภายนอกเขา้ รว่ มได้ คณ

วาง

ประเด็นการประเมิน กจิ

1. มเี ปา้ หมายในการทำงาน รว่ มกนั วางแผน ออกแบบ และดำเนนิ การจัดกิจกรรม เชิง

“Walk Rally ชมุ ชน” เพื่อสง่ เสรมิ การทอ่ งเที่ยวเชิงเรยี นรูว้ ฒั นธรรมชมุ ชนไดน้ ่าสนใจ “W

เหมาะสมกับเวลาและระยะทาง โดยสมาชกิ ในกล่มุ ทุกคนมสี ว่ นร่วมแสดงความคดิ เห็น และ สำเ

รับผิดชอบในการทำงานร่วมกนั ปฏิบตั ิตามวิถวี ฒั นธรรมของชุมชนและท้องถิ่นด้วยความ ได้ต

เข้าใจและภาคภมู ใิ จในชุมชนของตน ปร

2. ใชค้ วามรู้และทกั ษะกระบวนการทางภูมิศาสตรใ์ นการตงั้ คำถามเชิงภมู ิศาสตร์ สำรวจ

รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมลู เพอื่ นำมากำหนดและออกแบบฐานกิจกรรมการเรียนรู้วฒั นธรรม

ในชมุ ชนและทำเสน้ ทางท่องเท่ียวได้อยา่ งนา่ สนใจ

3. ใชค้ วามร้แู ละทักษะทางคณิตศาสตรใ์ นการทำแผนท่ีชุมชนได้อยา่ งถกู ต้อง สวยงาม

ครอบคลมุ พื้นทท่ี อ่ งเท่ยี ว โดยมกี ารใช้สญั ลกั ษณ์ แผนภมู ิ แผนภาพ อย่างง่ายเพื่อสื่อสารให้

ผ้อู ่ืนเขา้ ใจในความคิดของตนเอง ไดอ้ ย่างหลากหลายและเหมาะสม

4. จดั ทำสอ่ื ประชาสมั พันธ์ “Walk Rally ชมุ ชน” เพือ่ เชิญชวนใหบ้ ุคคลภายนอกเข้า

รว่ มได้อย่างน่าสนใจและมีความหลากหลาย ใช้ภาษาในการสอ่ื สารและถ่ายทอดข้อมลู

ความรู้ ความรู้สึก ความคดิ เหน็ ประสบการณ์ เกี่ยวกับภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมชุมชนใน

รูปแบบต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม มคี วามสละสลวย

126

Rubrics)

ระดบั คุณภาพ

ดี (สูงกวา่ เกณฑ์) พอใช้ (ตามเกณฑ์) ปรับปรงุ (กำลงั พฒั นา)

สามารถใช้ความรู้ ทกั ษะ - สามารถใชค้ วามรู้ ทักษะ - สามารถใช้ความรู้ ทักษะ

างภูมิศาสตรแ์ ละทาง ทางภูมิศาสตร์และทาง ทางภูมศิ าสตรแ์ ละทาง

ณติ ศาสตร์ ในการวเิ คราะห์ คณติ ศาสตร์ ในการวิเคราะห์ คณิตศาสตร์ ในการวิเคราะห์

งแผน ออกแบบ และดำเนนิ วางแผน ออกแบบ และดำเนนิ วางแผน ออกแบบ และดำเนิน

จกรรมสง่ เสรมิ การท่องเทีย่ ว กจิ กรรมสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ ว กจิ กรรมส่งเสริมการท่องเทยี่ ว

งเรยี นรวู้ ัฒนธรรมชุมชน เชิงเรยี นรวู้ ัฒนธรรมชุมชน เชงิ เรียนรู้วฒั นธรรมชุมชน

Walk Rally ชุมชน” ได้ “Walk Rally ชุมชน” ได้ “Walk Rally ชมุ ชน”

เรจ็ ด้วยความภาคภมู ิใจ สำเรจ็ ด้วยความภาคภมู ใิ จ ได้ตามเกณฑท์ ก่ี ำหนดน้อย

ตามเกณฑ์ที่กำหนดครบ 5 ได้ตามเกณฑท์ กี่ ำหนด 3-4 กว่า 3 ประเด็นพจิ ารณา.

ระเด็นพิจารณา ประเด็นพจิ ารณา.

ห้ามเผยแพร่ คดั ลอก จัดทำสำเนา และอา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

127

การออกแบบหน่วยบูรณาการ “ท่องเที่ยวชุมชน” เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของโรงเรียนปรัชชาธร
ท่ีออกแบบแผนการจัดการเรียนการสอนโดยมี “จุดเน้น” ในการสร้างผู้เรียนให้เป็น “ฑูตน้อยชุมชน” เพื่อให้
นักเรียนสำนึกรักบ้านเกิดและสืบสานวัฒนธรรมชุมชน รู้จักชุมชนและเข้าไปเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชน สามารถ
ประชาสมั พันธ์จดุ เด่นของชุมชนและเชญิ ชวนให้บุคคลอื่นมารว่ มกจิ กรรมภายในชมุ ชนได้ จากนั้นนำสมรรถนะ
ในความฉลาดรู้พื้นฐานและสมรรถนะหลัก มาวิเคราะห์เชื่อมโยงและวางแผนการจัดการเรียนการสอนแบบ
บูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะผ่าน“งาน”
เพื่อการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติผ่านประสบการณ์จริงจากสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงมีการประเมินสมรรถนะ
ของผู้เรียนจากนำความรู้ ทักษะ เจตคติ ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่ครอู อกแบบในลักษณะของ “ภารกิจ”
จาก “โครงการ Walk Rally ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน” หน่วยการเรียนรู้นี้ จึงเปน็ ตวั อย่างหน่งึ ของการพฒั นาสมรรถนะ
ผูเ้ รียนตามจุดเน้นของสถานศึกษาและบรบิ ทของชุมชน ใช้แหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชนในการเรยี นรู้ โดยเปดิ โอกาสให้
ผู้เรียนได้สำรวจชุมชนและได้เลือกเรียนรู้สิ่งที่ตนสนใจจาก “งาน” ที่ครูออกแบบไว้ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
วัฒนธรรมชุมชนจากประสบการณ์จริง ได้พัฒนาทักษะต่างๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติในสถานกรณ์ต่างๆ จนเกิด
ผลลพั ธ์การเรียนรู้สำคัญในการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รยี นตามเป้าหมายของสถานศึกษา

จากตวั อย่างการออกแบบการจัดการเรยี นการสอน แนวทางท่ี 5“บูรณาการผสานหลายสมรรถนะ”
หน่วย “แพช่วยชีวิต” และหน่วย “ท่องเที่ยวชุมชน” เป็นตัวอย่างการจัดกิจกรรมที่ออกแบบโดยนำ
สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน และสมรรถนะหลักทั้ง 7 สมรรถนะเป็นฐานในการออกแบบ และวิเคราะห์
รายวิชาเกี่ยวข้องมาจัดการเรียนการสอนในลักษณะเป็นหน่วยบูรณาการ ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเป็น
องค์รวม และเห็นความสัมพันธ์ระหวา่ งวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรยี นได้
เปน็ อย่างดี

แนวทางที่ 6 : สมรรถนะชีวิตในกจิ วัตรประจำวนั

การส่งเสรมิ สมรรถนะหลักขณะผเู้ รยี นปฏิบตั ิกิจวตั รประจำวัน เป็นวธิ กี ารส่งเสรมิ สมรรถนะ
อย่างเปน็ ธรรมชาตแิ ละชว่ ยปลูกฝังให้สมรรถนะดงั กลา่ วมีความมนั่ คงถาวรจากการปฏบิ ัติเป็นประจำ
ทุกวันอกี ด้วย

➢ ลักษณะ

สมรรถนะชีวติ ในกจิ วัตรประจำวนั เป็นการสร้างสรรคก์ ารเรยี นรอู้ ยา่ งสอดคล้องสัมพนั ธ์กับการดำเนิน
ชีวิตประจำวันปกติของนักเรียนและสอดคล้องกิจกรรมต่างๆ ที่มักเกิดในโรงเรียน นับเป็นการฝึกและพัฒนา
สมรรถนะนน้ั ๆ ได้อยา่ งซ้ำๆ อีกทงั้ เปน็ ไปตามธรรมชาติปกติของชีวิตนักเรยี น ทจี่ ะมีความยดื หยุ่น และท้าทาย
ที่จะเผชิญสถานการณ์ตามธรรมชาติของชีวิต และเมื่อฝึกพัฒนาสมรรถนะนั้นๆได้อย่างคล่องแคล่วและผ่าน

ห้ามเผยแพร่ คัดลอก จัดทำสำเนา และอ้างองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต


Click to View FlipBook Version