คูมือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
สาํ หรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป
สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
คมู ือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป
สาํ นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป
ISBN 978-616-395-931-7
จดั พิมพโดย สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
พมิ พครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑
จํานวนพิมพ ๒๘,๐๐๐ เลม
พมิ พท ่ี โรงพมิ พชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั
๗๙ ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ ิมพผโู ฆษณา
คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวันที่
๓ สงิ หาคม ๒๕๖๐ เรอ่ื ง ใหใ ชห ลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ตง้ั แตป ก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน ตน ไป
ดังน้ัน เพื่อใหสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัดสามารถนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไปใชใหเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จงึ จดั ทาํ คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ขน้ึ จาํ นวน ๒ เลม คอื คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สําหรับเดก็ อายุตาํ่ กวา ๓ ป และคูม ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป
คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ฉบับน้ี เปนคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป ที่จัดทําข้ึนเพื่อใหสถานศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และหนวยงานที่เก่ียวของ
ไดมีความรูความเขาใจในการนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สูการปฏิบัติ สามารถใชเปน
แนวทางในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ไดส อดคลอ งกบั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
เหมาะสมกับสภาพทองถ่ิน บริบทความตองการของสถานศึกษา และบรรลุตามจุดหมายที่กําหนดในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ขอขอบคุณผูท รงคุณวฒุ ิ ผเู ชย่ี วชาญ ศกึ ษานิเทศก
ผูบริหารสถานศกึ ษา ผูส อน นักวชิ าการศึกษา รวมทัง้ หนวยงานกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพฒั นาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจนภาคเอกชน
ที่ใหความรวมมืออยางดีย่ิง ทําใหเอกสารคูมือฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี หวังวาคูมือหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ฉบับน้ี จะเปน ประโยชนส าํ หรับสถานศึกษา สถานพฒั นา
เดก็ ปฐมวัย และหนวยงานทเี่ กี่ยวของในการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใหมีพัฒนาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม
และสติปญญา ท่ีเหมาะสมกับวัยความสามารถ ความสนใจ และความแตกตางระหวางบุคคล เปนคนดี มีวินัย
สาํ นกึ ความเปน ไทย ดาํ รงชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
และประเทศชาติในอนาคตตอ ไป
(นายบญุ รกั ษ ยอดเพชร)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
สารบัญ
คาํ นํา หนา
ความนํา
ตอนที่ ๑ ความรูพน้ื ฐานเก่ยี วกับหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๔
บทที่ ๑ แนวคดิ ของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๑๒
บทท่ี ๒ สาระสาํ คญั ของหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๔๒
๖๑
สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ๘๒
ตอนที่ ๒ การนาํ หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สกู ารปฏิบัติ
๑๐๔
บทที่ ๓ การจดั ทําหลกั สตู รสถานศึกษา ๑๑๔
บทท่ี ๔ การจัดประสบการณ ๑๓๙
๑๕๖
บทท่ี ๕ การจดั ทาํ แผนการจัดประสบการณ ๑๖๕
บทที่ ๖ การจดั สภาพแวดลอ ม สื่อ และแหลงเรียนรูเพ่ือสงเสรมิ พัฒนาการ ๑๗๒
๑๘๑
และการเรยี นรูของเดก็ ๑๘๓
๒๐๘
บทที่ ๗ การประเมินพัฒนาการ
ตอนที่ ๓ การบริหารจดั การการศกึ ษาปฐมวัย
บทท่ี ๘ แนวทางการดําเนนิ การบริหารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
บทท่ี ๙ การใหค วามชวยเหลือเด็กที่มปี ญ หาพฤติกรรม
บทท่ี ๑๐ การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั (เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป) สําหรับกลมุ เปาหมายเฉพาะ
บทท่ี ๑๑ การสรา งรอยเชอื่ มตอระหวา งการศึกษาระดบั ปฐมวยั กับ
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
คณะผูจ ดั ทาํ
ความนํา
คูมอื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ฉบบั นี้ จัดทําขน้ึ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
สาํ หรบั ผทู ม่ี หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบอบรมเลย้ี งดแู ละพฒั นาเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ในสถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
ไดมีความรูความเขาใจในการพัฒนาเด็ก สามารถนําปรัชญาการศึกษาปฐมวัย และหลักการของหลักสูตร 1
ลงสกู ารปฏบิ ัติ บรรลผุ ลตามจดุ หมายของหลกั สูตรที่ตองการใหเ ด็กอายุ ๓ - ๖ ป ไดพฒั นาทุกดา นอยางสมดลุ
ทัง้ ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สังคม และสติปญญา คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เด็กอายุ ๓ - ๖ ป เปนวัยที่รางกายและสมองของเด็กกําลังเจริญเติบโต เด็กตองการความรัก
ความเอาใจใสและการดูแลอยางใกลชิด เด็กวัยน้ีมีโอกาสเรียนรูจากการใชประสาทสัมผัสทั้งหา ไดสํารวจ เลน
ทดลอง คน พบดว ยตนเอง ไดมีโอกาสคิดแกปญหา เลือก ตดั สินใจ ใชภ าษาสอ่ื ความหมาย คิดริเริ่มสรา งสรรค
และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ผูท่ีรับผิดชอบจึงมีหนาท่ีในการอบรมเล้ียงดูและจัดประสบการณใหเด็ก
ไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพ สงเสริมใหเด็กสังเกต สํารวจ สรางสรรค และยิ่งเด็กมีความกระตือรือรนย่ิงทําให
เด็กเกิดการเรียนรู ผูรับผิดชอบจึงตองสงเสริมสนับสนุน ใหความรัก ความเขาใจ ความเอาใจใสเด็กวัยน้ี
เปน พเิ ศษ เพราะจะเปน พน้ื ฐานทชี่ ว ยเตรยี มพรอ มใหเ ดก็ ประสบความสาํ เรจ็ ในการเรยี นและในชวี ติ ของเดก็ ตอ ไป
การนําหลักสูตรสูการปฏิบัติของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแตละแหง จึงมีความสําคัญอยางย่ิงตอ
การพัฒนาเด็ก และถือเปนหนาที่ของบุคลากรที่เก่ียวของทุกฝายจะตองศึกษาและทําความเขาใจในเอกสาร
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
สาํ หรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ฉบบั นี้
เอกสารคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป ฉบับน้ี
แบงออกเปน ๓ ตอน คอื
ตอนท่ี ๑ ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบดวย
แนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสาระสําคัญของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป
ตอนที่ ๒ การนําหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สูการปฏิบัติ ประกอบดวย
การจดั ทําหลักสูตรสถานศกึ ษา การจดั ประสบการณ การจดั ทําแผนการจัดประสบการณ การจดั สภาพแวดลอม
ส่ือ และแหลง เรียนรเู พื่อสงเสริมพฒั นาการและการเรียนรูข องเด็ก และการประเมินพฒั นาการ
ตอนที่ ๓ การบริหารจดั การการศึกษาปฐมวัย ประกอบดว ย แนวทางการดาํ เนินการบริหารจดั การ
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย การใหความชวยเหลือเด็กที่มีปญหาพฤติกรรม การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
(เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป) สาํ หรบั กลมุ เปาหมายเฉพาะ และการสรา งรอยเช่ือมตอ ระหวา งการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับ
ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑
ตอนท่ี ๑
ความรพู ื้นฐานเกี่ยวกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
การจัดการศึกษาปฐมวัยตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยและวิสัยทัศนของ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ บนพ้ืนฐานของความรูความเขาใจ
ในแนวคิดและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย มีสวนสําคัญย่ิงในการพัฒนาเด็ก
ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางเปนองครวม และสมดุล
ครบทุกดาน ผานการเลนอยางมีความหมาย นอกจากนี้ยังตองสอดคลองกับ
การทาํ งานของสมอง การเสรมิ สรางทักษะการคิดทเี่ ปน ประโยชนตอ การดําเนินชีวติ
ในอนาคต การอบรมเล้ียงดูเด็กดวยการสรางวินัยเชิงบวก รวมท้ังการใหการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพดวยการจัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสมและเอ้ือตอการเรียนรู เพ่ือชวย
ใหเ ดก็ มพี ฒั นาการและเกดิ การเรยี นรตู ามจดุ หมายของหลกั สตู ร ดว ยวธิ กี ารประเมนิ
ตามสภาพจริงท่ีสะทอนถึงพัฒนาการและการเรียนรูท่ีแทจริงของเด็ก ซ่ึงครอบครัว
สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และชมุ ชน ตอ งมสี ว นรว มรบั ผดิ ชอบในการ
พัฒนาเด็กใหมีคุณภาพชีวิตไปสูความเปนมนุษยที่สมบูรณ ภายใตบริบทของสังคม
วัฒนธรรม และความเปน ไทยกบั การอยูร ว มกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรม
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทท่ี ๑
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ แนวคิดของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จดั ทาํ ขน้ึ โดยยดึ ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั วสิ ยั ทศั น
หลกั การ บนพน้ื ฐานแนวคดิ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การศกึ ษาปฐมวยั สากล และความเปน ไทย ครอบคลมุ การอบรมเลย้ี งดู
การพัฒนาเด็กอยางเปนองครวม และการสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการ
ตามวัยของเด็ก ตลอดจนเจตคติท่ีดีตอการเรียนรูที่สงผลตอการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ทสี่ อดคลอ งกบั การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและการสรา งรากฐานคณุ ภาพชวี ติ ใหแ กเ ดก็ และมงุ เนน การพฒั นาเดก็
แตละคนใหเต็มตามศักยภาพ ดวยความรวมมือของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ครอบครัว ชุมชน
สังคม และทุกฝา ยท่เี กีย่ วขอ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย สูก ารสรา งคนไทยทม่ี ีศกั ยภาพในอนาคต เพอื่ เปนกาํ ลัง
สําคัญในการพัฒนาประเทศไทยใหกาวหนาอยางย่ังยืน ทั้งน้ี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
พัฒนาขึน้ มาโดยอาศัยแนวคดิ ดงั นี้
๑. แนวคิดเก่ียวกับพฒั นาการเดก็ พัฒนาการเปน การเปลยี่ นแปลงท่เี กดิ ข้ึนตอ เน่อื งในตัวมนษุ ย
4 เรม่ิ ตงั้ แตป ฏสิ นธไิ ปจนตลอดชวี ติ ทงั้ ในดา นปรมิ าณและคณุ ภาพ พฒั นาการของเดก็ จะมลี าํ ดบั ขนั้ ตอนในลกั ษณะ
เดียวกันตามวัยของเด็ก แตอัตราการเจริญเติบโต และระยะเวลาในการผานข้ันตอนตางๆ ของเด็กแตละคน
อาจแตกตางกันได โดยในข้ันตอนแรกๆ จะเปนพ้ืนฐานสําหรับพัฒนาการขั้นตอไป พัฒนาการประกอบดวย
ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ซ่ึงพัฒนาการแตละดานมีความเก่ียวของและสัมพันธกัน
รวมทั้งสง ผลกระทบซ่ึงกนั และกัน
พฒั นาการแตล ะดา นมที ฤษฎเี ฉพาะอธบิ ายไว และสามารถนาํ มาใชใ นการพฒั นาเดก็ ในแตล ะดา น
อาทิ ทฤษฎีพัฒนาการดานรางกาย อธิบายวา การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก มีลักษณะตอเน่ือง
เปน ลาํ ดบั ขนั้ เดก็ จะพฒั นาถงึ ขน้ั ใดจะตอ งเกดิ วฒุ ภิ าวะของความสามารถขนั้ นนั้ กอ น ทฤษฎพี ฒั นาการดา นอารมณ
จิตใจ และสังคม ระบุวา การอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็กสงผลตอบุคลิกภาพของเด็กเม่ือเติบโตเปนผูใหญ ความรัก
และความอบอุนเปนพ้ืนฐานสําคัญของความเชื่อม่ันในตนเองของเด็ก ซ่ึงจะทําใหเด็กมีความไววางใจในผูอื่น
เห็นคุณคาของตนเอง มีความเช่ือม่ันในความสามารถของตนเอง ทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดี เคารพผูอื่น ซึ่งเปน
พ้ืนฐานสําคัญของความเปนประชาธิปไตย และทฤษฎีพัฒนาการดานสติปญญา อธิบายวา เด็กเกิดมา
พรอ มวฒุ ภิ าวะและความสามารถในการเรียนรู ซึง่ จะพฒั นาข้นึ ตามอายุ ประสบการณ รวมท้งั คานิยมทางสงั คม
และสงิ่ แวดลอมท่เี ด็กไดร ับ
แนวคิดเกีย่ วกบั พฒั นาการเด็กจึงเปน เสมือนหน่งึ แนวทางใหผ ูสอนหรอื ผูเ ก่ยี วขอ งไดเขาใจเด็ก
สามารถอบรมเลี้ยงดูและสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่สนองตอธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยและความแตกตาง
ของแตล ะบคุ คล เพอื่ สงเสรมิ เฝาระวัง และชวยแกไ ขปญ หาใหเ ด็กไดพฒั นาจนบรรลุผลตามเปา หมายท่ีตอ งการ
ไดชดั เจนข้นึ
๒. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กอยางเปนองครวมและการปฏิบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การพฒั นาเดก็ อยา งเปน องคร วม เปน การคาํ นงึ ถงึ ความสมดลุ และครอบคลมุ พฒั นาการของเดก็ ใหค รบทกุ ดา น ในการดแู ล
พัฒนา และจัดประสบการณการเรียนรูใหแกเด็กตองไมเนนที่ดานใดดานหนึ่ง จนละเลยดานอ่ืนๆ ซึ่งในแตละดาน 5
ของพัฒนาการทัง้ ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา มีองคป ระกอบตางๆ ท่ตี อ งการการสง เสรมิ
ใหเด็กเจริญเติบโต และมีพัฒนาการสมวัยอยางเปนลําดับขั้นตอน ซ่ึงการปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับพัฒนาการ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เปนแนวทางที่สําคัญในการตัดสินใจที่จะปฏิบัติตอเด็กดวยความรูความเขาใจ ท่ีประกอบดวย ความเหมาะสม
กบั วยั หรอื อายขุ องเดก็ วา พฒั นาการในชว งวยั นน้ั ๆ ของเดก็ เปน อยา งไร ตอ งการการสง เสรมิ อยา งไร การมคี วามรู
ทางพัฒนาการตามชวงวัย จะทําใหสามารถทํานายพัฒนาการในลําดับตอไปได และสามารถวางแผนการจัด
ประสบการณเ พอื่ สง เสรมิ พฒั นาการและชว ยเหลอื เดก็ ไดอ ยา งเหมาะสม สาํ หรบั ความเหมาะสมกบั เดก็ แตล ะคน
เปนการคํานึงถึงเด็กเปนรายบุคคลที่มีความชอบ ความสนใจ ความสามารถ และความถนัดที่แตกตางกัน
โดยใหความสําคัญกับความแตกตางระหวางบุคคลของเด็ก เพื่อการปฏิบัติตอเด็กที่คํานึงถึงเด็กเปนสําคัญ และ
ความเหมาะสมกับบรบิ ททางสังคมและวฒั นธรรมทเ่ี ด็กอาศัยอยู เปน การคํานึงถึงบรบิ ทท่ีแวดลอ มเดก็ เพ่ือให
การเรยี นรูของเด็กเกิดขึน้ อยางมคี วามหมายและมีความเกีย่ วของกับตวั เด็ก ครอบครวั และชมุ ชนทเ่ี ดก็ อาศยั อยู
ซ่ึงความรูความเขาใจดังกลาว สามารถใชในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณการเรียนรู
ทมี่ ีความหมาย การสรางกลมุ การเรียนรรู ว มกนั การประเมินพฒั นาการ และการสรางความสมั พันธท ดี่ รี ะหวาง
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยกับผูปกครองและชุมชน โดยยึดหลักการตัดสินใจในการปฏิบัติบน
ฐานความรู จากแนวคิดทฤษฎีและองคความรูท ี่ไดจ ากการวจิ ัย
๓. แนวคิดเก่ียวกับการจัดการเรียนรูท่ีสอดคลองกับการทํางานของสมอง สมองของเด็กเปน
สมองทสี่ รา งสรรคแ ละมกี ารเรยี นรทู เี่ กดิ ขนึ้ สมั พนั ธก บั อารมณ สมองเปน อวยั วะทส่ี าํ คญั มากทสี่ ดุ และมกี ารพฒั นา
ตั้งแตอยูในครรภมารดา โดยในชวงนี้เซลลสมองจะมีการพัฒนาเช่ือมตอและทําหนาท่ีในการควบคุมการทํางาน
พื้นฐานของรา งกาย สําหรับในชวงแรกเกดิ ถงึ อายุ ๓ ป จะเปน ชว งท่ีเซลลสมองเจริญเติบโตและขยายเครอื ขาย
ใยสมองอยางรวดเร็ว โดยปจจัยในการพฒั นาของสมอง ประกอบดวย พันธุกรรม โภชนาการ และสิ่งแวดลอม
สมองจะมพี ฒั นาการทสี่ าํ คญั ในการควบคมุ และมผี ลตอ การเรยี นรู ความคดิ จนิ ตนาการ ความฉลาด และพฒั นาการ
ทุกดาน การพัฒนาของสมองทําใหเ ดก็ ปฐมวัยสามารถเรยี นรสู ิ่งตางๆ ไดอ ยางรวดเรว็ กวาวยั ใด สําหรับแนวคิด
การจดั การเรยี นรทู ส่ี อดคลอ งกบั การทาํ งานของสมอง (Brain - based Learning) เปน การจดั กระบวนการเรยี นรู
ทส่ี มั พันธแ ละสอดคลอ งกับพัฒนาการทางสมอง โครงสรา งและการทาํ งานของสมองทีม่ กี ารพฒั นาอยา งเปนลําดับขั้น
ตามชวงวัย และมีความยืดหยุนทําใหการพัฒนาสมองเกิดขึ้นไดตลอดชีวิต การเชื่อมโยงตอกันของเซลลสมอง
ที่เปนเครือขายซับซอนและหนาแนนจะเกิดขึ้นกอนอายุ ๕ ป ซ่ึงเม่ือเซลลสมองและจุดเชื่อมตอเหลานี้ไดรับ
การกระตนุ มากขน้ึ เทา ใด ยงิ่ ทาํ ใหส มองมคี วามสามารถในการเรยี นรอู ยา งรวดเรว็ และจดจาํ ไดม ากขนึ้ แตห ากไมไ ด
รับการกระตุนจากประสบการณที่เด็กไดรับอยางหลากหลายจะไมเกิดการเชื่อมตอ โดยการกระตุนจุดเช่ือมตอ
เหลานั้นเกิดจากการที่เด็กไดรับประสบการณตรงจากการลงมือทํา ปฏิบัติดวยตนเองผานการใชประสาทสัมผัสทั้งหา
เก่ียวของสัมพันธกับชีวิตประจําวัน การเรียนรูท่ีสัมพันธกับพัฒนาการทางสมอง เปนการเรียนรูจากของจริง
ไปหาสญั ลกั ษณ จากงา ยไปหายาก จากรูปธรรมไปสนู ามธรรม โดยคาํ นงึ ถึงความสามารถตามวยั และพัฒนาการ
อยางไรก็ตาม เมื่อสมองเจรญิ เตบิ โตในชวงวัยตา งๆ และเร่มิ มีความสามารถในการทาํ หนา ทใ่ี นชว งเวลาทตี่ า งกัน
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จะเห็นวาการเรียนรูและทักษะบางอยางจะเกิดข้ึนไดดีท่ีสุดในชวงเวลาหน่ึงท่ีเรียกวา “หนาตางโอกาสของ
การเรยี นร”ู ซงึ่ เมอ่ื ผา นชว งเวลานนั้ ในแตล ะชว งวยั ถา สมองไมไ ดร บั การกระตนุ หรอื ไดร บั ประสบการณท เี่ หมาะสม
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ โอกาสที่จะฝกอาจยากหรือทําไมไดเลย ผูสอนหรือผูเก่ียวของจึงเปนคนสําคัญที่จะตองคอยสังเกต และใชโอกาสนี้
ชว ยเดก็ เพื่อกาวไปสูความสามารถเฉพาะดานในแตละชวงวยั
สําหรับชวงปฐมวัยเปนชวงโอกาสที่สําคัญในการพัฒนาทักษะสมอง หรือ EF (Executive
Function) ซ่ึงเปนกระบวนการทางความคิดของสมองสวนหนา ทําหนาท่ีเก่ียวของกับการคิด ความรูสึก และ
การกระทาํ โดยสมองสว นนก้ี าํ ลงั พฒั นามากทส่ี ดุ เปน ชว งของการพฒั นาความสามารถในการคดิ การจดั ระเบยี บ
ตนเอง ซึง่ สง ผลตอการยับย้ังช่ังใจ การคิดไตรต รอง การควบคุมอารมณ การยืดหยนุ ทางความคิด การใสใจจดจอ
การวางแผน การต้ังเปาหมาย ความมุงมั่น การจดจํา การเรียกใชขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ การจัดลําดับ
ความสําคัญของเรื่องตางๆ และการลงมือทําอยางเปนขั้นตอนจนสําเร็จ ทักษะสมอง (EF) จึงเปนทักษะท่ีตอง
ไดรับการฝกฝนในชวี ติ ประจาํ วนั ของเดก็ ผานประสบการณต า งๆ หลากหลายทเี่ ปด โอกาสใหเ ด็กไดคิด ลงมือทาํ
เพอ่ื ใหเ กิดความพรอ ม และมีทกั ษะทส่ี ําคัญตอ ชีวิตในอนาคต
นอกจากนี้ สมองยงั เปน อวยั วะสาํ คญั สาํ หรบั การเรยี นรภู าษาและการสอ่ื สาร การเรยี นรภู าษาแม
ของเด็กจะเกิดขึ้นอยางเปนธรรมชาติ จากการปฏิสัมพันธกับพอแมและผูสอนหรือผูเก่ียวของในชีวิตประจําวัน
และสถานการณรอบตัว สมองมีตําแหนง รับรตู างๆ กัน ไดแ ก สวนรับภาพ สวนรบั เสียง สว นรับสมั ผัสและรบั รู
การเคลอ่ื นไหวสว นตา งๆ ของรา งกาย สมองสว นตา งๆ เหลา นพ้ี ฒั นาขนึ้ มาไดช า หรอื เรว็ ขน้ึ อยกู บั การกระตนุ ของ
6 สิ่งแวดลอมภายนอกโดยสมองเด็กมีความจําผานการฟง ตองการรับรูขอมูลเสียงพรอมเห็นภาพ เร่ิมรูจักเสียง
ที่เหมือนและแตกตาง และสามารถเรียนรูจังหวะของคําไดจากการฟงซํ้าๆ สมองของเด็กที่เขาใจเก่ียวกับภาพ
เสียง และสัมผัสแบบตางๆ มีความสําคัญมาก เพราะขอมูลจากภาพ เสียง และสัมผัสเหลาน้ีจะกอรูปขึ้นเปน
เรื่องราวท่ีจะรับรูและเขาใจซับซอนข้ึนเรื่อยๆ ไดในท่ีสุด สมองสวนหนานั้นมีหนาท่ีคิด ตัดสินใจ เช่ือมโยง
การรับรไู ปสูการกระทําท่เี ปน ลาํ ดบั ขั้นตอน สมองเด็กทสี่ ามารถเรียนรูภ าษาไดด ีตองอยูในส่ิงแวดลอ มของภาษา
ทีเ่ รียนรอู ยางเหมาะสมจงึ จะเรียนรูไดดี
๔. แนวคิดเก่ียวกับการเลนและการเรียนรูของเด็ก การเลนเปนกิจกรรมการแสดงออกของเด็ก
อยางอิสระตามความตองการ และจินตนาการสรางสรรคของตนเอง เปนการสะทอนพัฒนาการและการเรียนรู
ของเด็กในชีวิตประจําวัน จากการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งตางๆ บุคคล และสิ่งแวดลอมรอบตัว การเลนทําใหเกิด
ความสนกุ สนาน ผอนคลายและสงเสริมพฒั นาการท้ังดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสติปญญาของเด็ก
การเลน ของเด็กปฐมวยั จัดเปน หัวใจสาํ คัญของการจัดประสบการณก ารเรยี นรูท่เี หมาะสม ซึง่ การเลนอยา งมี
ความหมายเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูข้ันพ้ืนฐานที่ถือวาเปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการเรียนรูของเด็ก
ขณะทเ่ี ด็กเลน จะเกดิ การเรยี นรูไปพรอ มๆ กันดว ย จากการเลน เดก็ จะมโี อกาสเคลือ่ นไหวสว นตางๆ ของรางกาย
ไดใ ชประสาทสัมผัสและการรับรู ผอนคลายอารมณและแสดงออกถงึ ตนเอง ไดเ รยี นรูความรสู กึ ของผูอ ื่น เดก็ จะ
รูสึกสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ ไดสงั เกต มีโอกาสสาํ รวจ ทดลอง คดิ สรางสรรค คดิ แกป ญ หาและคน พบดวยตนเอง
การเลนชวยใหเด็กเรียนรูสิ่งแวดลอม บุคคลรอบตัว และสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ
จิตใจ สงั คม และสตปิ ญญา กาวหนาไปตามวยั อยางมคี ุณภาพ
การเรยี นรูของเดก็ ปฐมวัยเปนผลสืบเน่ืองมาจากประสบการณต างๆ ที่ไดร ับ การเปลยี่ นแปลง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พฤติกรรมเกดิ ขึ้นจากกระบวนการทเ่ี ด็กมปี ฏิสมั พนั ธก บั บคุ คลและส่ิงแวดลอ มรอบตัว เพอ่ื ใหเ กิดการสรางองคความรู
ดวยตนเอง และการถายทอดจากผูที่มีประสบการณและมีความรูมากกวา ทําใหเกิดการพัฒนาทักษะการคิด 7
และความคิดสรางสรรค พัฒนาภาษา ความรูความเขาใจในส่ิงตางๆ รอบตัว ทักษะพื้นฐานท่ีสําคัญและ
ความสามารถในดานตางๆ ตลอดจนเจตคติที่ดีตอการเรียนรูของเด็ก รวมทั้งความรูสึกท่ีดีตอตนเอง บุคคล คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
สิ่งตางๆ และสถานการณรอบตัว การเรียนรูควรมีการจัดสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการเรียนรู โดยเปนกิจกรรม
ท่ีเปดโอกาสใหเด็กเลือกตามความสนใจ ลงมือกระทําผานส่ือ อุปกรณ และของเลนท่ีตอบสนองการเรียนรู
และมีความยืดหยนุ การเรียนรขู องเดก็ สว นใหญเปนกิจกรรมที่เก่ียวกับการลองผดิ ลองถูก การไดส มั ผสั กระทํา
และการกระทาํ ซาํ้ ๆ เดก็ จะมคี วามสนใจ อยากรอู ยากเหน็ เกดิ การคน พบและการแกป ญ หา ความเขา ใจในตนเอง
และผูอ่ืน ผูใหญควรเปนผูสนับสนุนวิธีการการเรียนรู รวมทั้งการสรางความทาทายและสงเสริมใหเด็กไดเรียนรู
จากประสบการณจ รงิ ดว ยตวั เดก็ เองในสภาพแวดลอ มทอ่ี สิ ระ เออื้ ตอ การเรยี นรแู ละเหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการ
ของเด็กแตละคน
๕. แนวคดิ เกยี่ วกับการคาํ นึงถึงสทิ ธิเดก็ การสรา งคณุ คา และสุขภาวะใหแ กเ ดก็ ปฐมวัยทกุ คน
เด็กปฐมวัยควรไดรับการดูแลและพัฒนาอยางทั่วถึงและเทาเทียมกันทุกคน โดยมีสิทธิในการอยูรอด สิทธิไดรับ
การคมุ ครอง สทิ ธใิ นดา นพฒั นาการ และสทิ ธกิ ารมสี ว นรว มตามทกี่ ฎหมายระบไุ ว เดก็ แตล ะคนมคี ณุ คา ในตนเอง
และควรสรางคุณคาและคุณภาพชีวิตใหเกิดกับเด็กจากการอบรมเลี้ยงดู และการใหการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
พรอมกับการสงเสริมดานสุขภาวะทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา จากการไดรับโภชนาการท่ีดี
การดแู ลสขุ ภาพอนามยั การมโี อกาสพกั ผอ น เลน การปกปอ งคมุ ครองจากการเจบ็ ปว ย และบาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตุ
ตลอดจนการอยใู นสภาพแวดลอ มทส่ี ะอาด ปลอดภยั และถกู สขุ อนามยั อนงึ่ สาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ทเ่ี ปน กลมุ เดก็ ทม่ี ี
ความตองการพเิ ศษหรือกลมุ เปาหมายเฉพาะ ควรไดรับการดูแล ชว ยเหลอื และพัฒนาอยางเหมาะสมเชนกนั
๖. แนวคิดเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูควบคูการใหการศึกษา การจัดการศึกษาปฐมวัยมุงพัฒนา
เด็กบนพื้นฐานของการอบรมเลี้ยงดูควบคูกับการใหการศึกษา หรือการสงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอ
ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแตละคนอยางเปนองครวม การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยหมายรวมถึง
การดแู ลเอาใจใสเด็กดว ยความรัก ความอบอุน ความเอ้อื อาทร การดูแลสขุ ภาพ โภชนาการและความปลอดภยั
และการอบรมกลอมเกลาใหเ ดก็ มีจติ ใจดี มปี ฏสิ ัมพนั ธท ่ดี ีกบั ผูอ ื่น มกี ารดาํ เนินชวี ิตทีเ่ หมาะสม และมที ักษะชีวิต
การมีปฏิสัมพันธที่ดีตอเด็ก การเปนแบบอยางท่ีดีใหแกเด็ก และการปฏิบัติตนของผูใหญที่ดูแลเด็ก ที่มุงตอบสนอง
ความตองการท้ังดานรางกายและจิตใจของเด็ก โดยมุงใหเด็กมีรางกายแข็งแรง มีสุขภาพดี อารมณแจมใส
มคี วามประพฤตดิ ี มีวนิ ัย รจู กั ควบคมุ ตนเอง มคี วามสัมพนั ธท ่ดี กี ับผอู นื่ การอบรมเลี้ยงดูท่มี ผี ลดีตอพัฒนาการ
ของเดก็ คือ การทผี่ ูใหญท ี่แวดลอ มเด็กใหค วามรกั ความอบอนุ การยอมรบั ความคดิ เห็นของเด็ก การใชเหตผุ ล
ในการอบรมเลย้ี งดู ผใู หญท ด่ี แู ลเดก็ จะตอ งเปน ผทู มี่ คี วามมนั่ คงทางอารมณแ ละปฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยา งทด่ี แี กเ ดก็
ใชการสรางวินัยเชิงบวกในการอบรมบมนิสัย ซึ่งจะชวยใหเด็กเติบโตข้ึนเปนผูท่ีมีความภาคภูมิใจในตนเอง
มีเปาหมายชีวิต มีวินัยในตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดีตอผูอื่น สามารถจัดการกับความเครียดและปญหาตางๆ ได
การอบรมเล้ียงดูจึงเปนแนวคิดสําคัญที่ครอบครัวและสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองปฏิบัติ
อยา งสอดคลอ งตอเน่อื งกนั
สําหรับการใหการศึกษาเด็กในชวงปฐมวัยน้ัน ผูสอนตองเปลี่ยนบทบาทจากผูบอกความรู
หรือสั่งใหเด็กทํา มาเปนผูอํานวยความสะดวกและสงเสริมกระบวนการเรียนรูโดยการจัดส่ิงแวดลอม
และประสบการณท ห่ี ลากหลายผา นกจิ กรรมทเี่ หมาะสมตามวยั ใหเ ดก็ เรยี นรดู ว ยวธิ กี ารตา งๆ จากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ
และคนพบดวยตนเอง มีการกําหนดจุดมุงหมายและการวางแผนในการจัดประสบการณและกิจกรรม
ทัง้ รายบุคคล กลุมยอ ย และกลุมใหญ เพ่อื ใหเ ด็กไดร บั การพฒั นาอยางเปนองคร วม ท้ังรา งกาย อารมณ จิตใจ
สงั คม และสติปญญา โดยคํานึงถงึ เด็กเปนสําคญั และพฒั นาเดก็ แตล ะคนอยางเตม็ ศักยภาพ
๗. แนวคดิ เกยี่ วกบั การบรู ณาการ เดก็ ปฐมวยั เปน ชว งวยั ทเี่ รยี นรผู า นการเลน และการทาํ กจิ กรรม
ที่เหมาะสมตามวัย เปนหนาท่ีของผูสอนตองวางแผนโดยบูรณาการทั้งวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ศิลปะ ภาษา
ดนตรี และการเคลื่อนไหว คุณธรรม จริยธรรม สุขภาพอนามัย และศาสตรอื่นๆ โดยไมแบงเปนรายวิชา
แตจะมีการผสมผสานความรู ทักษะกระบวนการ และเจตคติของแตละศาสตรในการจัดประสบการณ
ซึ่งแตกตางจากการเรียนรูในระดับช้ันอื่นๆ เปนการจัดประสบการณการเรียนรูอยางเปนธรรมชาติเหมาะสม
ตามวัยของเด็ก เพ่ือพัฒนาเด็กทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา โดยการจัดประสบการณ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป การเรยี นรูบรู ณาการผา นสาระการเรียนรูทีป่ ระกอบดวย ประสบการณสาํ คัญดานรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม
และสติปญญา และสาระที่ควรเรียนรู ไดแก ตัวเด็ก บุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว
และสิ่งตา งๆ รอบตัวเด็ก โดยออกแบบการจัดประสบการณและกจิ กรรมทีท่ าํ ใหเ กดิ ความหลากหลาย ภายใต
สาระการเรยี นรทู งั้ ประสบการณส าํ คญั และสาระทคี่ วรเรยี นรทู มี่ กี ารเชอ่ื มโยงกบั การพฒั นามาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
8 ที่พึงประสงคของเด็ก และความสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของหลักสูตร โดยมีรูปแบบ
การจดั ประสบการณต ามความเหมาะสมของแตล ะสถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ทงั้ น้ี ประสบการณ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การเรียนรูของเด็กจะจัดขึ้นโดยคํานึงถึงธรรมชาติของเด็กท่ีเรียนรูผานการเลน การลงมือปฏิบัติ การสํารวจ
การทดลอง การสรางช้ินงานที่สรางสรรค และการเห็นแบบอยางที่ดี การจัดประสบการณการเรียนรูอยาง
หลากหลายจะชวยตอบสนองตอความแตกตางระหวางบุคคลสงเสริมความชอบ ความสนใจ และความถนัด
ซ่ึงเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดพัฒนาอยางรอบดาน พัฒนาทักษะชีวิต และทักษะการเรียนรูท่ีสอดคลอง
กับธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็กที่มีความแตกตางกันไปในแตละบุคคล การจัดประสบการณ
การเรียนการสอนในระดับปฐมวัยยึดหลักการบูรณาการท่ีวา หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรียนรูไดหลายกิจกรรม
หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรูไดหลายทักษะและหลายประสบการณสําคัญ ดังน้ัน ผูสอนจะตองวางแผน
การจัดประสบการณในแตละวันใหเ ด็กเรยี นรผู า นการเลนทีห่ ลากหลายกจิ กรรม หลากหลายทักษะ หลากหลาย
ประสบการณสําคัญ อยางเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ เพื่อใหบรรลุจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐
๘. แนวคิดเกี่ยวกบั ส่อื เทคโนโลยี และสภาพแวดลอมท่ีเออ้ื ตอ การเรยี นรู ผูส อนสามารถนําสือ่
เทคโนโลยี และการจดั สภาพแวดลอ มทเี่ ออ้ื ตอ การเรยี นรมู าสนบั สนนุ และเสรมิ สรา งการเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวยั ได
โดยสื่อเปนตัวกลางและเคร่ืองมือเพ่ือใหเด็กเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคท่ีวางไว ส่ือสําหรับเด็กปฐมวัยน้ัน
สามารถเปนบุคคล วัสดุ อุปกรณ ของเลน ตลอดจนเทคนิควิธีการ ที่กําหนดไวไดอยางงายและรวดเร็ว ทําให
สิ่งที่เปนนามธรรมเขาใจยากกลายเปนรูปธรรม เกิดการเรียนรูและคนพบดวยตนเอง การใชส่ือการเรียนรู
ตอ งปลอดภัยตอตวั เด็กและเหมาะสมกบั วยั วฒุ ภิ าวะ ความแตกตางระหวางบคุ คล ความสนใจ ความชอบ และ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ความตองการของเด็กที่หลากหลาย ควรมีส่ือท่ีเปนส่ือของจริง ส่ือธรรมชาติ ส่ือที่อยูใกลตัวเด็ก ส่ือสะทอน
วฒั นธรรม สอื่ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ และสอื่ เพอ่ื พฒั นาเดก็ ในดา นตา งๆ ใหค รบทกุ ดา น ทง้ั น้ี สอ่ื ตอ งเออ้ื ใหเ ดก็ เรยี นรู 9
ผา นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา และสง เสรมิ การลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ของเดก็ โดยการจดั สอ่ื สาํ หรบั เดก็ ปฐมวยั ตอ งเรมิ่ ตน จาก
สอ่ื ของจรงิ ของจาํ ลอง (๓ มติ )ิ ภาพถา ย ภาพโครงรา ง (๒ มติ )ิ และสญั ลกั ษณจ ากรปู ธรรมไปสนู ามธรรมตามลาํ ดบั คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
สําหรับเทคโนโลยีเขามามีบทบาทตอการดํารงชีวิตเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ือง เพื่อการตอบสนอง
ความตอ งการและการแกป ญ หาในชวี ิตประจาํ วัน เทคโนโลยสี ําหรบั เด็กปฐมวยั สามารถเปน อปุ กรณ เครอ่ื งมอื
เคร่อื งใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ของเลน เดก็ และวธิ กี ารใหมๆ ในการแกปญ หาในชวี ติ ประจาํ วัน การใชเทคโนโลยี
ท่ีเหมาะสมตองเปนการเลือกใชอยางมีจุดมุงหมาย เครื่องมือประเภทดิจิตอลและอิเล็กทรอนิกสเปน
สง่ิ ทไ่ี มเ หมาะสมตอ การใชก บั เดก็ อายตุ าํ่ กวา ๓ ป สาํ หรบั เดก็ อายตุ งั้ แต ๓ ปข นึ้ ไป ควรใชก บั เดก็ อยา งมจี ดุ มงุ หมาย
และใชเปนส่ือปฏิสัมพันธ จํากัดชวงเวลาในการใช และมีขอตกลงในการใชอยางเหมาะสมกับวัย โดยใชเปน
ทางเลือกไมบงั คบั ใช และไมใ ชเทคโนโลยเี พอื่ เสริมสือ่ หลกั
สว นการจดั สภาพแวดลอ มทเ่ี ออื้ ตอ การเรยี นรู เปน การจดั เตรยี มสภาพแวดลอ มทง้ั ทางกายภาพ
และทางจิตภาพ ท้ังภายในและภายนอกหองเรียนเพ่ือเสริมสรางประสบการณและสนับสนุนการเรียนรูของเด็ก
รวมทั้งการสงเสริมบรรยากาศที่ดีสําหรับการเรียนรู โดยมุงใหผูสอนและเด็กมีความสัมพันธท่ีดีตอกัน
สภาพแวดลอมท่ดี ีควรสะอาด ปลอดภัย อากาศสดช่ืน ผอ นคลาย ไมเ ครยี ด เดก็ มีโอกาสเรียนรเู กยี่ วกับตัวเอง
และพฒั นาการอยรู วมกับผูอ ื่นในสังคม
๙. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินตามสภาพจริง การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยยึด
วธิ กี ารสงั เกตเปนสว นใหญ เปน กระบวนการทต่ี อเน่ืองและสอดคลองสมั พนั ธกับการจัดประสบการณการเรยี นรู
รวมทั้งกิจกรรมประจําวัน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือใหไดขอมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก สําหรับ
การสงเสริมความกาวหนา และชวยเหลือสนับสนุนเม่ือพบเด็กลาชาหรือมีปญหาท่ีเกิดจากพัฒนาการและการเรียนรู
ไมใชการตัดสินผลการศึกษาและไมใชแบบทดสอบในการประเมิน เปนการประเมินตามสภาพจริงที่มีการ
วางแผนอยา งเปนระบบ ใชวิธีการและเคร่ืองมอื ประเมนิ ทหี่ ลากหลายอยา งมจี ุดมุงหมาย เหมาะสมกบั ศักยภาพ
ในการเรยี นรแู ละพฒั นาการตามวยั ของเดก็ ตลอดจนรปู แบบการเรยี นรู ประสบการณท เ่ี ดก็ ไดร บั และแหลง ขอ มลู
ที่เก่ียวของกับตัวเด็กที่มีการเก็บขอมูลอยางรอบดาน โดยใชเร่ืองราวเหตุการณ กิจกรรมตามสภาพจริงหรือ
คลา ยจรงิ ในชวี ติ ประจาํ วนั เพอื่ ใหเ ดก็ มโี อกาสแสดงออกถงึ ความรู ความสามารถ และทกั ษะตา งๆ จากการปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมหรือการสรางงานท่ีเปนผลผลิตเพือ่ เปนการสะทอ นภาพท่ีแทจ รงิ มีการนาํ เสนอหลกั ฐานในการประเมนิ
ทนี่ า เชอ่ื ถอื ในรปู แบบทเ่ี หมาะสม เพอื่ สอื่ สารผลการประเมนิ ใหแ กค รอบครวั รวมทง้ั ผเู กยี่ วขอ งทมี่ สี ว นรว มในการ
พฒั นาเดก็ โดยสามารถบอกไดว า เดก็ เกดิ การเรยี นรแู ละมคี วามกา วหนา เพยี งใด ขอ มลู จากการประเมนิ พฒั นาการ
จะชวยผูสอนในการวางแผนการจัดกิจกรรมชี้ใหเห็นความตองการพิเศษของเด็กแตละคน ใชเปนขอมูลในการ
สอ่ื สารกบั พอ แม ผปู กครองเดก็ และขณะเดยี วกนั ยงั ใชใ นการประเมนิ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษา
ใหกับเด็กในวัยน้ไี ดอีกดวย
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๐. แนวคิดเก่ียวกับการมีสวนรวมของครอบครัว สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
และชุมชน การพัฒนาเด็กอยางมีคุณภาพตองอาศัยความรวมมือของทุกฝายที่เกี่ยวของกับเด็ก ซึ่งพอแม
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ผูปกครอง รวมทั้งบุคคลในครอบครัวเปนผูที่อยูใกลชิดเด็กมากท่ีสุด และครอบครัวเปนจุดเร่ิมตนในการเรียนรู
ของเด็ก สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจะเปนสวนสําคัญที่อบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก จึงไมเพียงแต
แลกเปลี่ยนความรูเกี่ยวกับพัฒนาการเด็กเทาน้ัน แตยังตองมีการทํางานรวมกับครอบครัวและชุมชนที่มี
รูปแบบตางๆ เพื่อการพัฒนาเด็กรวมกัน เชน โปรแกรมการใหการศึกษาแกผูปกครองในการดูแลและพัฒนา
เด็ก โปรแกรมการชวยเหลือครอบครัวและเด็กในดานสุขภาพอนามัย โภชนาการ และการสงเสริมพัฒนาการ
การเย่ียมบานเด็ก การสรางชวงรอยเชื่อมตอระหวางการศึกษาระดับอนุบาลกับระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑
หรือเขาสูสถานศึกษา การสื่อสารกับผูปกครองในชองทางตางๆ ที่เหมาะสม การขออาสาสมัครผูปกครองท่ี
มีความสามารถหลากหลาย มีเวลา หรือตองการชวยเหลือสนับสนุนในการทํากิจกรรมตางๆ การสนับสนุน
การเรียนรูของเด็กท่ีบานที่เชื่อมตอกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การเปดโอกาสใหผูปกครองมีสวนรวมในการ
ตัดสินใจในการดําเนินงานของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย การสรางความรวมมือใหชุมชน
มีสวนรวมในการจัดกิจกรรม การใหบริการและสนับสนุนตลอดจนการเปนแหลงเรียนรูของเด็ก โดยการ
มีสวนรวมที่มีประสิทธิภาพจะตองอาศัยความไววางใจ ความเคารพซ่ึงกันและกัน รวมท้ังการรวมรับผิดชอบ
สาํ หรับการจัดการศกึ ษาใหแ กเดก็ ปฐมวยั อยา งมคี ุณภาพ
๑๑. แนวคดิ เกี่ยวกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปน ไทย และความหลากหลาย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี สงผลตอวิถีชีวิตและการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเด็ก
10 สูอนาคต อยางไรก็ตาม เด็กเมื่อเกิดมาจะเปนสวนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งไมเพียงแตจะไดรับอิทธิพล
จากการปฏบิ ตั แิ บบด้งั เดิมตามประเพณี มรดก และการถา ยทอดความรภู ูมิปญญาของบรรพบุรุษแลว ยังไดร ับอิทธิพล
จากประสบการณ คานยิ ม และความเชอ่ื ของบุคคลในครอบครัวและชมุ ชนของแตล ะทดี่ วย โดยบรบิ ททางสังคม
และวฒั นธรรมทเ่ี ดก็ อาศยั อยหู รอื แวดลอ มรอบตวั เดก็ มอี ทิ ธพิ ลตอ พฒั นาการและการเรยี นรู ตลอดจนการพฒั นา
ศักยภาพของแตละคน ผสู อนควรตอ งเรยี นรูบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กท่ีตนรบั ผดิ ชอบ เพ่อื ชว ยให
เด็กไดรับการพัฒนาและเกิดการเรียนรูและดําเนินชีวิตอยูในกลุมคนท่ีมาจากพ้ืนฐานเหมือนหรือตางจากตน
ไดอ ยางราบรืน่ มคี วามสุข เปนการเตรยี มเด็กไปสูส งั คมในอนาคตกับการอยรู ว มกบั ผอู นื่ การทาํ งานรว มกบั ผอู น่ื
ท่มี ีความหลากหลายทางความคิด ความเชอ่ื และวฒั นธรรม โดยคํานงึ ถงึ ความเปนไทยท่ีมมี รดกทางวัฒนธรรม
ทงั้ ในดา นภาษา มารยาท คณุ ธรรมจริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีทงี่ ดงาม และที่สาํ คญั คอื หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งทเี่ ปน หลกั คดิ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทเ่ี นน ความพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ มุ กนั การใชค วามรคู วบคคู ณุ ธรรม
โดยในการจัดการศึกษาตองมีการคํานึงถึงทั้งดานเชื้อชาติ ศาสนา เศรษฐสถานะ เพศ วัย ความตองการพิเศษ
ที่เปนความแตกตางระหวางบุคคล โดยสามารถพัฒนาใหเด็กมีความเขาใจในตนเอง เขาใจผูอ่ืน และอยูรวมกับ
ผูอ่ืนได ในแนวคิดและความหลากหลายเทาทันการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็วและรอบดาน โดย
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีอัตลักษณ มีการวางแผน
การจัดประสบการณการเรียนรูและการจัดกิจกรรมท่ีสรางความเช่ือมโยงกับสังคม วัฒนธรรม ความเปนไทย
และความหลากหลาย
จากแนวคิดของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีสําคัญเกี่ยวกับพัฒนาการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ของเด็กที่มีความสัมพันธ และพัฒนาตอเน่ืองเปนขั้นตอนไปพรอมทุกดาน แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็ก
อยางเปนองครวมและการปฏบัติที่เหมาะสมกับพัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับ
การทํางานของสมอง ซึ่งสมองหากไดรับการกระตุนจะมีความสามารถในการเรียนรู และจดจําไดมากข้ึน
แนวคิดเกี่ยวกับการเลนและการเรียนรูท่ียึดใหเด็กไดเรียนรูจากประสบการณจริงดวยตัวเด็กในสิ่งแวดลอม
ท่ีเปนอิสระเอื้อตอการเรียนรูและจัดกิจกรรมบูรณาการใหเหมาะสมกับระดับพัฒนาการของเด็กแตละคน
โดยถือวาการเลนอยางมีความหมายเปนหัวใจสําคัญของการจัดประสบการณใหเด็กและแนวคิดเกี่ยวกับการมี
สวนรวมของครอบครวั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความเปน ไทยและความหลากหลาย ซ่ึงมอี ิทธิพลตอ
การเรียนรู การพฒั นาศกั ยภาพและพัฒนาการของเด็กแตละคน และจากพระราชบญั ญตั ิการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตราตา งๆ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จึงกําหนดสาระสําคัญของหลักสตู ร
การศกึ ษาปฐมวยั สาํ หรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ขึ้น ซงึ่ จะกลา วรายละเอียดตอไป
11
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทท่ี ๒
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ สาระสาํ คญั ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดสาระสําคัญไวใหสถานศึกษาหรือ
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยยึดเปนแนวทางเพ่ือดําเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่หนวยงาน
ของตนรับผิดชอบ โดยตองทําความเขาใจใหชัดเจนในเร่ืองของปรัชญาการศึกษาปฐมวัย วิสัยทัศน หลักการ
จดุ หมาย มาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค ตัวบง ชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค การจัดเวลาเรียน และสาระการเรียนรู
ดงั นี้
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย
หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ กาํ หนดปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยทีส่ ะทอ นใหเห็น
ความเช่ือพ้ืนฐานในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตง้ั แตอ ายุแรกเกดิ ถงึ ๖ ปบริบูรณ โดยเห็นความสําคัญของการพฒั นา
เด็กโดยองครวม การคํานึงถึงความสมดุลและครอบคลุมพัฒนาการของเด็กครบทุกดานในการอบรมเล้ียงดู
12 พัฒนาและสงเสริมกระบวนการเรียนรูของเด็ก ท่ีผูสอนตองยอมรับความแตกตางของเด็ก ปฏิบัติตอเด็ก
แตล ะคนอยา งเหมาะสม โดยผสู อนใหค วามรกั ความเออ้ื อาทร มคี วามเขา ใจในการพฒั นาเดก็ ใหเ ปน มนษุ ยท สี่ มบรู ณ
ทงั้ ดา นรา งกาย อารมณ จิตใจ สติปญญา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และอยรู วมกับผูอ น่ื ไดอ ยางมคี วามสขุ ดังน้ี
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย
การศึกษาปฐมวัย เปนการพัฒนาเด็กตั้งแตแรกเกิดถึง ๖ ปบริบูรณอยางเปนองครวม บนพ้ืนฐาน
การอบรมเล้ียงดูและการสงเสริมกระบวนการเรียนรูที่สนองตอธรรมชาติ และพัฒนาการตามวัยของเด็ก
แตละคนใหเต็มตามศักยภาพ ภายใตบริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู ดวยความรัก
ความเอื้ออาทร และความเขาใจของทุกคน เพ่ือสรางรากฐานคุณภาพชีวิตใหเด็กพัฒนาไปสูความเปน
มนุษยท่ีสมบูรณ เกิดคุณคาตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ
วสิ ยั ทศั น
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดวิสัยทัศนที่สะทอนใหเห็นความคาดหวัง
ทเ่ี ปน จรงิ ไดใ นอนาคต ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม คี ณุ ภาพผา นประสบการณท เี่ ดก็ ปฐมวยั เรยี นรอู ยา งมคี วามสขุ
มีทักษะชีวิต ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนคนดี มีวินัย และสํานึกความเปนไทย
และทกุ ฝา ยทั้งครอบครัว สถานศกึ ษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั และชมุ ชนรวมมือกันพัฒนาเดก็ ดงั นี้
วิสยั ทัศน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุงพัฒนาเด็กทุกคนใหไดรับการพัฒนาดานรางกาย อารมณ จิตใจ
สังคม และสติปญญาอยางมีคุณภาพและตอเน่ือง ไดรับการจัดประสบการณการเรียนรูอยางมีความสุข
และเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนคนดี
มวี นิ ยั และสาํ นกึ ความเปน ไทย โดยความรว มมอื ระหวา งสถานศกึ ษา พอ แม ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝา ย
ทเี่ กีย่ วขอ งกบั การพัฒนาเด็ก
หลักการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ กําหนดหลกั การสาํ คัญในการจดั การศึกษาปฐมวยั 13
ซงึ่ ผสู อนจาํ เปน ตอ งศกึ ษาใหเ ขา ใจ เพราะในการจดั ประสบการณใ หเ ดก็ อายุ ๓ - ๖ ป จะตอ งยดึ หลกั การอบรมเลยี้ งดู
ควบคูกับการใหการศึกษา โดยตองคํานึงถึงความสนใจและความตองการของเด็กทุกคน ท้ังเด็กปกติ เด็กท่ีมี คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ความสามารถพิเศษ และเด็กที่มคี วามบกพรองทางรางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม สตปิ ญญา รวมทง้ั การส่อื สาร
และการเรียนรู หรือเด็กท่ีมีรางกายพิการหรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึงไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแล
หรือดอยโอกาส เพ่ือใหเด็กพัฒนาทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางสมดุล
โดยจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย บรู ณาการผา นการเลน และกจิ กรรมทเ่ี ปน ประสบการณต รงผา นประสาทสมั ผสั ทงั้ หา
เหมาะสมกับวัยและความแตกตางระหวางบุคคล ดวยปฏิสัมพันธที่ดีระหวางเด็กกับพอแม เด็กกับผูเลี้ยงดู
หรือบุคลากรที่มีความรูความสามารถในการอบรมเล้ียงดูและใหการศึกษาเด็กปฐมวัย เพ่ือใหเด็กแตละคน
ไดมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลําดับขั้นของพัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพ และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยาง
มคี วามสขุ เปน คนดขี องสงั คม และสอดคลอ งกบั ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม ความเชอ่ื
ทางศาสนา สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และสทิ ธเิ ดก็ โดยความรว มมอื จากครอบครวั ชมุ ชน องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่
องคกรเอกชน สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอืน่ ดงั นี้
หลกั การ
๑. สงเสริมกระบวนการเรียนรแู ละพฒั นาการที่ครอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาที่เนนเด็กเปนสําคัญ โดยคํานึงถึงความแตกตาง
ระหวางบุคคลและวถิ ีชีวิตของเด็ก ตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
๓. ยดึ พฒั นาการและการพฒั นาเดก็ โดยองคร วม ผา นการเลน อยา งมคี วามหมาย และมกี จิ กรรม
ท่ีหลากหลาย ไดลงมือกระทําในสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู เหมาะสมกับวัย
และมีการพกั ผอ นเพียงพอ
๔. จัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน คนดี มีวินยั และมคี วามสุข
๕. สรางความรู ความเขาใจ และประสานความรวมมือในการพัฒนาเด็ก ระหวา งสถานศึกษา
กบั พอ แม ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝา ยทเ่ี กย่ี วของกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จดุ หมาย
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดจุดหมายเพื่อใหเกิดกับเด็กเมื่อ
จบการศึกษาระดบั ปฐมวยั แลว โดยจดุ หมายอยบู นพื้นฐานพัฒนาการทั้ง ๔ ดา น คอื ดานรา งกาย อารมณ จิตใจ
สังคม และสตปิ ญ ญา ที่นําไปสกู ารกาํ หนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค ตัวบงชี้ และสภาพทพ่ี ึงประสงค
ดงั น้ี
จุดหมาย
๑. รางกายเจรญิ เติบโตตามวัย แข็งแรง และมสี ุขนสิ ยั ทด่ี ี
๒. สขุ ภาพจติ ดี มีสนุ ทรียภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจิตใจท่ีดงี าม
๓. มีทกั ษะชีวิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี ินยั และอยูรวมกบั
ผอู นื่ ไดอยา งมคี วามสุข
๔. มที กั ษะการคดิ การใชภาษาสอื่ สาร และการแสวงหาความรูไดเหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค
จํานวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบดวย พัฒนาการดานรางกาย ๒ มาตรฐาน พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ
14 ๓ มาตรฐาน พัฒนาการดานสังคม ๓ มาตรฐาน และพัฒนาการดานสติปญญา ๔ มาตรฐาน กําหนดตัวบงช้ี
ซึ่งเปนเปาหมายในการพัฒนาเด็กท่ีมีความสัมพันธสอดคลองกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค และ
มีการกําหนดสภาพที่พึงประสงคซึ่งเปนพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่จําเปนสําหรับเด็กทุกคน
บนพน้ื ฐานพัฒนาการหรือความสามารถในแตละระดับอายุ คอื อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป และอายุ ๕ - ๖ ป
อีกท้ังนําไปใชในการวิเคราะหสาระการเรียนรู เพื่อกําหนดเปนจุดประสงคการเรียนรูในการจัดประสบการณ
และการประเมินพัฒนาการเด็ก นอกจากสภาพที่พึงประสงคท่ีกําหนดในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ผูสอน
จําเปนตองทาํ ความเขาใจพฒั นาการของเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป เพ่ือนําไปพิจารณาจัดประสบการณใหเ ด็กแตล ะวัย
ไดอยางถูกตองเหมาะสม ขณะเดียวกันจะตองสังเกตเด็กแตละคนซึ่งมีความแตกตางระหวางบุคคล
เพื่อนําขอมูลไปชวยพัฒนาเด็กใหเต็มตามความสามารถและศักยภาพหรือชวยเหลือเด็กไดทันทวงที ในกรณี
สภาพท่ีพึงประสงคของเด็กไมเปนไปตามวัย ผูสอนจําเปนตองหาจุดบกพรองและรีบแกไขโดยจัดกิจกรรม
เพื่อพัฒนาเด็ก ถาเด็กมีสภาพท่ีพึงประสงคสูงกวาวัย ผูสอนควรจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการ
เต็มตามศักยภาพ สภาพที่พึงประสงคเกิดข้ึนตามวัยมากนอยแตกตางกันไปในเด็กแตละบุคคล ท้ังนี้ ขึ้นอยูกับ
สภาพแวดลอม การอบรมเลีย้ งดู และประสบการณท เ่ี ด็กไดรบั
รายละเอียดของมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค ตวั บง ช้ี และสภาพทพ่ี ึงประสงค มดี งั นี้
มาตรฐานที่ ๑ รางกายเจริญเตบิ โตตามวยั และมสี ุขนสิ ัยทดี่ ี
ตวั บง ชี้ อายุ ๓ - ๔ ป สภาพที่พงึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๑.๑ นาํ้ หนกั และสว นสูง ๑.๑.๑ น้ําหนกั และสว นสูง ๑.๑.๑ น้าํ หนักและสว นสงู ๑.๑.๑ นํ้าหนกั และสวนสูง
ตามเกณฑ ตามเกณฑของกรมอนามยั ตามเกณฑข องกรมอนามัย ตามเกณฑข องกรมอนามัย
๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามัย ๑.๒.๑ ยอมรับประทาน ๑.๒.๑ รับประทานอาหาร ๑.๒.๑ รับประทานอาหาร
สขุ นิสยั ทีด่ ี อาหารที่มปี ระโยชนและ ทีม่ ีประโยชนแ ละดื่มน้ํา ท่ีมีประโยชนไดหลายชนดิ
ดืม่ นํ้าสะอาดเม่ือมผี ชู ีแ้ นะ สะอาดไดด ว ยตนเอง และดม่ื นาํ้ สะอาดไดด วยตนเอง
๑.๒.๒ ลา งมอื กอ นรับประทาน ๑.๒.๒ ลา งมือกอนรับประทาน ๑.๒.๒ ลางมอื กอ นรับประทาน
อาหารและหลังจากใชหอ งนา้ํ อาหารและหลงั จากใชหองน้ํา อาหารและหลงั จากใชหองนํ้า
หอ งสว มเม่ือมีผชู ้แี นะ หองสวมดว ยตนเอง หอ งสวมดว ยตนเอง
๑.๒.๓ นอนพักผอ นเปน เวลา ๑.๒.๓ นอนพักผอนเปนเวลา ๑.๒.๓ นอนพกั ผอนเปนเวลา
๑.๒.๔ ออกกาํ ลงั กายเปน เวลา ๑.๒.๔ ออกกําลังกายเปน เวลา ๑.๒.๔ ออกกําลงั กายเปนเวลา
๑.๓ รักษาความปลอดภยั ๑.๓.๑ เลน และทํากิจกรรม ๑.๓.๑ เลน และทํากิจกรรม ๑.๓.๑ เลน ทาํ กจิ กรรม และ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ของตนเองและผอู ่นื อยางปลอดภยั เมอื่ มผี ูชีแ้ นะ อยางปลอดภยั ดวยตนเอง ปฏิบัตติ อ ผอู ่ืนอยางปลอดภยั
มาตรฐานท่ี ๒ กลา มเนอื้ ใหญแ ละกลา มเนอ้ื เลก็ แขง็ แรง ใชไ ดอ ยา งคลอ งแคลว และประสานสมั พนั ธก นั
สภาพท่พี งึ ประสงค 15
อายุ ๔ - ๕ ป
ตัวบงชี้ อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๕ - ๖ ป คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒.๑ เคลอื่ นไหวรา งกาย ๒.๑.๑ เดินตามแนว ๒.๑.๑ เดินตอเทาไปขา งหนา ๒.๑.๑ เดินตอเทา ถอยหลัง
อยา งคลองแคลว ที่กําหนดได เปน เสนตรงไดโดยไมต อ ง เปน เสน ตรงไดโดยไมต อ ง
ประสานสมั พันธ ๒.๑.๒ กระโดดสองขาขนึ้ ลง กางแขน กางแขน
และทรงตวั ได อยูก บั ทีไ่ ด
๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว
อยกู บั ท่ไี ดโดยไมเ สียการทรงตวั ไปขางหนา ไดอยางตอ เนือ่ ง
โดยไมเ สียการทรงตัว
๒.๑.๓ ว่ิงแลวหยดุ ได ๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลกี สง่ิ กดี ขวาง ๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลีกส่ิงกดี ขวาง
ได ไดอ ยา งคลอ งแคลว
๒.๑.๔ รบั ลูกบอลโดยใชม อื ๒.๑.๔ รับลูกบอลโดยใชมือ ๒.๑.๔ รับลกู บอลทีก่ ระดอน
และลาํ ตัวชวย ทั้ง ๒ ขาง ขน้ึ จากพนื้ ได
๒.๒ ใชม อื - ตา ๒.๒.๑ ใชกรรไกรตัดกระดาษ ๒.๒.๑ ใชก รรไกรตดั กระดาษ ๒.๒.๑ ใชกรรไกรตดั กระดาษ
ประสานสัมพันธก ัน ขาดจากกนั ไดโ ดยใชมอื เดียว ตามแนวเสนตรงได ตามแนวเสนโคงได
๒.๒.๒ เขียนรปู วงกลม ๒.๒.๒ เขยี นรูปสเี่ หลย่ี ม ๒.๒.๒ เขยี นรูปสามเหล่ียม
ตามแบบได ตามแบบไดอ ยา งมมี มุ ชัดเจน ตามแบบไดอ ยา งมมี ุมชดั เจน
๒.๒.๓ รอยวสั ดทุ มี่ รี ขู นาด ๒.๒.๓ รอ ยวสั ดุท่มี รี ขู นาด ๒.๒.๓ รอยวสั ดทุ ่มี ีรูขนาด
เสน ผานศนู ยกลาง เสน ผานศูนยก ลาง เสน ผานศนู ยก ลาง
๑ เซนตเิ มตร ได ๐.๕ เซนติเมตร ได ๐.๒๕ เซนตเิ มตร ได
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ
ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่พี งึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๓.๑ แสดงออกทางอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ
ไดอยา งเหมาะสม ความรูส ึกไดเหมาะสมกับ ความรสู ึกไดต ามสถานการณ ความรสู ึกไดสอดคลอ งกบั
บางสถานการณ สถานการณอยางเหมาะสม
๓.๒ มีความรูสกึ ท่ีดี ๓.๒.๑ กลาพูดกลาแสดงออก ๓.๒.๑ กลา พดู กลา แสดงออก ๓.๒.๑ กลา พดู กลา แสดงออก
ตอ ตนเองและผอู นื่ อยา งเหมาะสมบางสถานการณ อยา งเหมาะสมตามสถานการณ
๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ
ในผลงานตนเอง ในผลงานและความสามารถ ในผลงานและความสามารถ
ของตนเอง ของตนเองและผอู ่ืน
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว
ตัวบง ช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพที่พงึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
16 ๔.๑ สนใจ มคี วามสุข และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสขุ และ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสุข และ
แสดงออกผาน แสดงออกผานงานศลิ ปะ แสดงออกผา นงานศิลปะ แสดงออกผา นงานศลิ ปะ
งานศลิ ปะ ดนตรี และ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การเคลือ่ นไหว ๔.๑.๒ สนใจ มีความสขุ และ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสขุ และ
แสดงออกผานเสียงเพลง แสดงออกผานเสียงเพลง แสดงออกผานเสียงเพลง
ดนตรี ดนตรี ดนตรี
๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสขุ และ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุข และ
แสดงทาทาง/เคล่ือนไหว แสดงทาทาง/เคลือ่ นไหว แสดงทาทาง/เคลื่อนไหว
ประกอบเพลง จังหวะ และ ประกอบเพลง จังหวะ และ ประกอบเพลง จงั หวะ และ
ดนตรี ดนตรี ดนตรี
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจติ ใจท่ีดงี าม
ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพทพี่ ึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๕.๑ ซ่ือสัตยส ุจรติ ๕.๑.๑ บอกหรอื ชี้ไดว า ส่ิงใด ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรอื รอคอย ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรอื รอคอย
เปน ของตนเองและสิง่ ใด เมอื่ ตองการส่ิงของของผูอ่ืน เมอื่ ตอ งการส่งิ ของของผอู ื่น
เปน ของผูอื่น เมือ่ มผี ชู แี้ นะ ดวยตนเอง
๕.๒ มคี วามเมตตากรณุ า ๕.๒.๑ แสดงความรักเพอื่ น ๕.๒.๑ แสดงความรักเพือ่ น ๕.๒.๑ แสดงความรกั เพื่อน
มีน้าํ ใจและชว ยเหลือ และมเี มตตาตอสัตวเล้ียง และมเี มตตาตอ สัตวเล้ียง และมเี มตตาตอสัตวเลยี้ ง
แบง ปน ๕.๒.๒ แบงปนผูอ่ืนได
เม่อื มผี ูชี้แนะ ๕.๒.๒ ชว ยเหลือและแบงปน ๕.๒.๒ ชว ยเหลือและแบง ปน
ผูอื่นไดเ มือ่ มีผูช แ้ี นะ ผูอน่ื ไดด วยตนเอง
ตัวบง ช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่ีพงึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
๕.๓ มีความเห็นอกเห็นใจ ๕.๓.๑ แสดงสีหนาหรือ อายุ ๔ - ๕ ป ๕.๓.๑ แสดงสีหนา และ
ทาทางรับรูความรูสึกผอู น่ื ทา ทางรับรคู วามรูสกึ ผอู น่ื
ผูอ่ืน ๕.๓.๑ แสดงสหี นาและ อยา งสอดคลอ งกับสถานการณ
ทา ทางรับรคู วามรสู ึกผูอนื่ ๕.๔.๑ ทาํ งานท่ีไดรบั
๕.๔ มคี วามรับผิดชอบ ๕.๔.๑ ทาํ งานที่ไดร ับ มอบหมายจนสาํ เร็จ
มอบหมายจนสาํ เร็จ ๕.๔.๑ ทาํ งานทไ่ี ดรบั ดวยตนเอง
เมอ่ื มีผูชว ยเหลือ มอบหมายจนสําเร็จ
เมอ่ื มีผูช ้แี นะ
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตัวบงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพที่พึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๖.๑ ชวยเหลอื ตนเอง ๖.๑.๑ แตง ตัวโดยมผี ูช ว ยเหลอื ๖.๑.๑ แตงตัวดว ยตนเอง ๖.๑.๑ แตง ตัวดวยตนเอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ในการปฏิบัติกจิ วัตร ไดอยา งคลอ งแคลว
ประจําวนั ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ๖.๑.๒ รบั ประทานอาหาร
ดวยตนเองอยางถูกวธิ ี
ดวยตนเอง ดว ยตนเอง
๖.๑.๓ ใชห อ งนาํ้ หอ งสว ม ๖.๑.๓ ใชห องนาํ้ หองสวม ๖.๑.๓ ใชแ ละทาํ ความสะอาด 17
โดยมผี ชู วยเหลอื ดวยตนเอง หลังใชห อ งนาํ้ หอ งสวม
ดวยตนเอง
๖.๒ มีวนิ ยั ในตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเลน ของใช ๖.๒.๑ เก็บของเลนของใช ๖.๒.๑ เกบ็ ของเลนของใช คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เขาท่ีเมือ่ มีผูชแี้ นะ เขาทดี่ วยตนเอง เขาทอ่ี ยา งเรยี บรอย
ดวยตนเอง
๖.๒.๒ เขา แถวตามลําดับ ๖.๒.๒ เขา แถวตามลําดับ ๖.๒.๒ เขา แถวตามลาํ ดบั
กอ นหลงั ไดเ มอื่ มีผูชแ้ี นะ กอนหลังไดดว ยตนเอง กอ นหลังไดดว ยตนเอง
๖.๓ ประหยดั และพอเพยี ง ๖.๓.๑ ใชสิ่งของเคร่อื งใช ๖.๓.๑ ใชสิง่ ของเครอื่ งใช ๖.๓.๑ ใชสิ่งของเครอื่ งใช
อยางประหยดั และพอเพียง อยา งประหยัดและพอเพยี ง อยางประหยดั และพอเพยี ง
เม่ือมีผชู ้แี นะ เม่อื มผี ูชี้แนะ ดวยตนเอง
มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ ม วฒั นธรรม และความเปน ไทย
ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่ีพึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๗.๑ ดแู ลรกั ษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มีสว นรว มดแู ลรักษา ๗.๑.๑ มีสว นรวมดแู ลรักษา ๗.๑.๑ ดแู ลรกั ษา
และสิง่ แวดลอม ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม
เมื่อมีผูช ้ีแนะ เมื่อมผี ูชแ้ี นะ ดวยตนเอง
๗.๑.๒ ทิ้งขยะไดถูกที่ ๗.๑.๒ ทง้ิ ขยะไดถ ูกท่ี ๗.๑.๒ ท้ิงขยะไดถ ูกท่ี
๗.๒ มีมารยาทตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ตั ติ นตาม ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตาม ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตาม
วัฒนธรรมไทย และ มารยาทไทยไดเ มื่อมผี ูช ีแ้ นะ มารยาทไทยไดด ว ยตนเอง มารยาทไทยไดต ามกาลเทศะ
รกั ความเปน ไทย
๗.๒.๒ กลา วคําขอบคณุ และ ๗.๒.๒ กลา วคําขอบคุณและ ๗.๒.๒ กลาวคาํ ขอบคุณและ
ขอโทษเมอ่ื มผี ูช ้ีแนะ ขอโทษดวยตนเอง ขอโทษดวยตนเอง
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๗.๒.๓ หยดุ ยืนเมื่อไดย นิ ๗.๒.๓ ยืนตรงเมื่อไดยนิ ๗.๒.๓ ยืนตรงและรวมรอ ง
เพลงชาติไทยและ เพลงชาติไทยและ เพลงชาตไิ ทยและ
เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี
มาตรฐานท่ี ๘ อยรู วมกับผูอืน่ ไดอยางมีความสขุ และปฏบิ ตั ิตนเปนสมาชกิ ท่ดี ีของสงั คม
ในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข
18 อายุ ๓ - ๔ ป สภาพทีพ่ ึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
ตัวบงช้ี
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๘.๑ ยอมรบั ความเหมือน ๘.๑.๑ เลน และทํากิจกรรม ๘.๑.๑ เลน และทํากิจกรรม ๘.๑.๑ เลน และทํากจิ กรรม
และความแตกตา ง รว มกบั เดก็ ทแ่ี ตกตา ง รว มกบั เด็กท่ีแตกตา ง รว มกบั เดก็ ที่แตกตาง
ระหวา งบคุ คล ไปจากตน ไปจากตน ไปจากตน
๘.๒ มีปฏิสัมพนั ธท ่ีดี ๘.๒.๑ เลนรว มกบั เพอื่ น ๘.๒.๑ เลนหรือทํางานรวม ๘.๒.๑ เลน หรือทาํ งานรวมมือ
กบั ผอู ่ืน กบั เพือ่ นเปนกลมุ กับเพือ่ นอยา งมีเปาหมาย
๘.๒.๒ ย้มิ หรือทกั ทายผูใหญ ๘.๒.๒ ย้มิ ทักทาย หรอื พูดคุย ๘.๒.๒ ย้มิ ทกั ทาย และพดู คยุ
และบุคคลทค่ี ุนเคยได กับผใู หญและบคุ คลที่คุนเคย กบั ผูใหญแ ละบคุ คลท่ีคุน เคย
เมอ่ื มผี ูชแี้ นะ ไดด ว ยตนเอง ไดเ หมาะสมกบั สถานการณ
๘.๓ ปฏิบัติตนเบื้องตน ๘.๓.๑ ปฏิบตั ติ ามขอ ตกลง ๘.๓.๑ มสี วนรว มสราง ๘.๓.๑ มสี ว นรวมสรา ง
ในการเปน สมาชิกที่ดี เม่ือมีผชู แ้ี นะ ขอ ตกลงและปฏบิ ตั ติ าม ขอตกลงและปฏบิ ตั ติ าม
ของสังคม ขอ ตกลงเมอ่ื มผี ูช แ้ี นะ ขอตกลงดว ยตนเอง
๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเปนผนู าํ ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนเปนผูน ํา ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ติ นเปน ผนู ํา
และผตู ามเมอ่ื มีผชู ้แี นะ และผูตามไดด ว ยตนเอง และผตู ามไดเหมาะสมกบั
สถานการณ
๘.๓.๓ ยอมรับการ ๘.๓.๓ ประนปี ระนอม ๘.๓.๓ ประนีประนอม
ประนปี ระนอมแกไ ขปญหา แกไ ขปญหาโดยปราศจาก แกไขปญ หาโดยปราศจาก
เม่อื มีผชู แ้ี นะ การใชความรุนแรงเมอ่ื มผี ูชี้แนะ การใชความรนุ แรงดวยตนเอง
มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ าษาส่อื สารไดเ หมาะสมกับวยั
ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่พี งึ ประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๙.๑ สนทนาโตตอบและ ๙.๑.๑ ฟงผูอ ืน่ พูดจนจบและ ๙.๑.๑ ฟง ผอู นื่ พดู จนจบและ ๙.๑.๑ ฟงผอู ่ืนพดู จนจบและ
เลา เรือ่ งใหผูอ่นื เขาใจ พูดโตต อบเกยี่ วกับเร่อื งท่ฟี ง สนทนาโตต อบสอดคลองกับ สนทนาโตต อบอยางตอ เนื่อง
เร่ืองท่ีฟง เช่ือมโยงกับเรื่องทีฟ่ ง
๙.๑.๒ เลาเรอ่ื งดวย ๙.๑.๒ เลา เรื่องเปนประโยค ๙.๑.๒ เลา เปน เร่ืองราว
ประโยคสั้นๆ อยา งตอ เน่ือง ตอเน่ืองได
๙.๒ อา น เขยี นภาพ และ ๙.๒.๑ อานภาพและพดู ๙.๒.๑ อานภาพ สญั ลักษณ ๙.๒.๑ อานภาพ สัญลกั ษณ
สัญลักษณได ขอ ความดวยภาษาของตน คาํ พรอ มทั้งชี้หรอื กวาดตา คํา ดว ยการชหี้ รอื กวาดตามอง
มองขอความตามบรรทดั จุดเรมิ่ ตนและจดุ จบของ
ขอ ความ
๙.๒.๒ เขียนขดี เขี่ยอยา งมี ๙.๒.๒ เขยี นคลา ยตัวอักษร ๙.๒.๒ เขียนชอื่ ของตนเอง
ทศิ ทาง ตามแบบ เขียนขอ ความ
ดวยวิธที ี่คิดขน้ึ เอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคดิ ท่ีเปนพืน้ ฐานในการเรียนรู
ตวั บง ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค 19
อายุ ๔ - ๕ ป
อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๕ - ๖ ป คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๑๐.๑ มีความสามารถ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะของ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะและ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ
ในการคิดรวบยอด ส่งิ ตางๆ จากการสังเกต สว นประกอบของส่ิงตางๆ สว นประกอบ การเปลี่ยนแปลง
โดยใชประสาทสมั ผัส จากการสงั เกตโดยใช หรอื ความสัมพนั ธของสง่ิ ตา งๆ
ประสาทสัมผสั จากการสังเกตโดยใช
ประสาทสัมผสั
๑๐.๑.๒ จบั คูหรือเปรียบเทียบ ๑๐.๑.๒ จับคแู ละเปรยี บเทยี บ ๑๐.๑.๒ จบั คูและเปรยี บเทียบ
สง่ิ ตา งๆ โดยใชล กั ษณะ ความแตกตา งหรือ ความแตกตา งและ
หรอื หนา ทก่ี ารใชงาน ความเหมือนของสง่ิ ตางๆ ความเหมือนของส่ิงตา งๆ
เพยี งลักษณะเดยี ว โดยใชลกั ษณะทีส่ ังเกตพบ โดยใชล ักษณะทสี่ ังเกตพบ
เพยี งลักษณะเดียว ๒ ลกั ษณะขน้ึ ไป
๑๐.๑.๓ คดั แยกสง่ิ ตา งๆ ๑๐.๑.๓ จาํ แนกและจดั กลมุ ๑๐.๑.๓ จําแนกและจัดกลมุ
ตามลักษณะหรือหนา ท่ี สงิ่ ตางๆ โดยใชอ ยางนอ ย ส่ิงตางๆ โดยใชต ง้ั แต
การใชง าน ๑ ลกั ษณะเปนเกณฑ ๒ ลกั ษณะขึ้นไปเปน เกณฑ
๑๐.๑.๔ เรยี งลาํ ดับสิ่งของ ๑๐.๑.๔ เรียงลาํ ดับส่ิงของ ๑๐.๑.๔ เรียงลําดบั ส่งิ ของ
หรือเหตกุ ารณอ ยางนอย หรือเหตกุ ารณอ ยางนอย และเหตุการณอยางนอย
๓ ลาํ ดับ ๔ ลําดบั ๕ ลาํ ดับ
ตัวบงช้ี สภาพที่พึงประสงค
๑๐.๒ มคี วามสามารถ
อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป อายุ ๕ - ๖ ป
ในการคิดเชิงเหตุผล
๑๐.๒.๑ ระบผุ ลที่เกิดขึน้ ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตหุ รือ ๑๐.๒.๑ อธิบาย เชือ่ มโยง
๑๐.๓ มีความสามารถ ในเหตกุ ารณหรือการกระทาํ ผลทเี่ กดิ ข้ึนในเหตุการณห รอื สาเหตแุ ละผลท่ีเกิดข้นึ
ในการคดิ แกป ญ หา เม่ือมผี ชู ้ีแนะ การกระทําเมอื่ มผี ูชี้แนะ ในเหตกุ ารณหรอื การกระทาํ
และตดั สินใจ ดวยตนเอง
๑๐.๒.๒ คาดเดาหรอื คาดคะเน ๑๐.๒.๒ คาดเดาหรือคาดคะเน ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสงิ่ ทีอ่ าจ
สิง่ ท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ ส่งิ ที่อาจจะเกิดข้ึน หรือ จะเกิดขนึ้ และมีสว นรว ม
มสี ว นรว มในการลงความเห็น ในการลงความเห็นจากขอ มลู
จากขอมลู อยา งมีเหตุผล
๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งงา ยๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเรือ่ งงา ยๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเรอ่ื งงา ยๆ
และเร่มิ เรียนรผู ลท่เี กิดข้นึ และยอมรบั ผลที่เกดิ ข้นึ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๐.๓.๒ แกป ญหาโดย ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญหาและ ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญ หา สรา ง
ลองผดิ ลองถูก แกปญ หาโดยลองผดิ ลองถูก ทางเลือก และเลอื กวธิ ีแกป ญหา
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรค
ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพท่ีพึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
20
๑๑.๑ ทาํ งานศลิ ปะตาม ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศิลปะ
จนิ ตนาการและ เพอื่ สอื่ สารความคดิ ความรสู กึ เพื่อสือ่ สารความคิด ความรสู กึ เพอ่ื ส่ือสารความคดิ ความรูสึก
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ความคดิ สรา งสรรค ของตนเอง ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง ของตนเอง โดยมีการดดั แปลง
และแปลกใหมจ ากเดิม แปลกใหมจ ากเดิม
หรอื มีรายละเอยี ดเพม่ิ ขนึ้ และมีรายละเอยี ดเพม่ิ ขึ้น
๑๑.๒ แสดงทาทาง/ ๑๑.๒.๑ เคลือ่ นไหวทาทาง ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวทา ทาง ๑๑.๒.๑ เคล่ือนไหวทา ทาง
เคล่อื นไหวตาม เพือ่ สอ่ื สารความคิด ความรูสึก เพอ่ื ส่ือสารความคดิ ความรสู กึ เพือ่ สอ่ื สารความคดิ ความรสู ึก
จนิ ตนาการอยา ง ของตนเอง ของตนเองอยางหลากหลาย ของตนเองอยางหลากหลาย
สรา งสรรค หรอื แปลกใหม และแปลกใหม
มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ การเรยี นรู และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรไู ดเ หมาะสมกบั วยั
ตวั บงช้ี อายุ ๓ - ๔ ป สภาพทพ่ี ึงประสงค อายุ ๕ - ๖ ป
อายุ ๔ - ๕ ป
๑๒.๑ มเี จตคติท่ดี ตี อ ๑๒.๑.๑ สนใจฟง หรอื ๑๒.๑.๑ สนใจซักถามเกีย่ วกบั ๑๒.๑.๑ สนใจหยบิ หนงั สอื
การเรียนรู อานหนงั สอื ดวยตนเอง สัญลักษณห รือตวั หนงั สอื มาอา นและเขียนสือ่ ความคิด
ท่พี บเห็น ดวยตนเองเปน ประจํา
อยางตอเนื่อง
๑๒.๑.๒ กระตือรอื รนในการ ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรนในการ ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรนในการ
เขารว มกิจกรรม เขารวมกิจกรรม รว มกจิ กรรมตั้งแตต น จนจบ
๑๒.๒ มีความสามารถ ๑๒.๒.๑ คน หาคําตอบของ ๑๒.๒.๑ คนหาคําตอบของ ๑๒.๒.๑ คน หาคําตอบของ
ในการแสวงหา ขอสงสยั ตา งๆ ตามวธิ ีการ ขอสงสยั ตา งๆ ตามวิธกี าร ขอ สงสยั ตางๆ โดยใชว ิธกี าร
ความรู เมอื่ มีผชู แ้ี นะ ของตนเอง ท่หี ลากหลายดวยตนเอง
๑๒.๒.๒ ใชป ระโยคคาํ ถามวา ๑๒.๒.๒ ใชป ระโยคคาํ ถามวา ๑๒.๒.๒ ใชประโยคคําถามวา
“ใคร” “อะไร” ในการคน หา “ทไ่ี หน” “ทาํ ไม” ในการ “เมอื่ ไร” “อยางไร” ในการ
คําตอบ คน หาคาํ ตอบ คนหาคําตอบ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การจดั เวลาเรียน 21
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป กําหนดกรอบการจัดเวลาเรียนในการจัด คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ประสบการณใ หก บั เดก็ เปน เวลา ๑ - ๓ ปก ารศกึ ษา โดยประมาณ ทง้ั นี้ ขน้ึ อยกู บั อายขุ องเดก็ ทเี่ รม่ิ เขา สถานศกึ ษา
หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เวลาเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยจะขึ้นอยูกับสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แตล ะแหง โดยมเี วลาเรียนไมนอยกวา ๑๘๐ วัน ตอ ๑ ปการศกึ ษา ในแตล ะวันจะใชเ วลาไมนอ ยกวา ๕ ชั่วโมง
โดยสามารถปรบั ใหเ หมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
สาระการเรียนรู
สาระการเรยี นรูของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั สําหรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ประกอบดว ย ๒ สว น คอื
ประสบการณส าํ คญั และสาระทคี่ วรเรยี นรู ทง้ั สองสว นมคี วามสาํ คญั ในการจดั ประสบการณ เพอ่ื สง เสรมิ พฒั นาการ
ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา โดยผูสอนอาจจัดในรูปแบบหนวยการสอนแบบบูรณาการ
หรือเลือกใชรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย รวมทั้งตองสอดคลองกับปรัชญาการศึกษาปฐมวัยและ
หลกั การจดั การศึกษาปฐมวัย มรี ายละเอยี ดดงั นี้
๑. ประสบการณสําคัญ จะชวยอธิบายใหผูสอนเขาใจวาเด็กปฐมวัยตองทําอะไร เรียนรูส่ิงตางๆ
รอบตัวอยางไร และทุกประสบการณมีความสําคัญตอการพัฒนาเด็ก ชวยผูสอนในการสังเกต สนับสนุน และ
วางแผนการจดั กจิ กรรมใหเ ดก็ ประสบการณส าํ คญั ทก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สตู รมคี วามสาํ คญั ตอ การสรา งองคค วามรู
ของเด็ก ตวั อยางเชน เด็กเขา ใจความหมายของการเปรียบเทียบและจําแนกผา นประสบการณส ําคัญ การจาํ แนก
สิ่งตางๆ ตามลักษณะและรูปราง รูปทรง ผูสอนจึงวางแผนจัดกิจกรรมใหเด็กมีโอกาสเลนบล็อกรูปทรงตางๆ
อยา งอสิ ระ มกี ารเปรยี บเทยี บขนาดของบลอ็ กรปู ทรงเดยี วกนั และจาํ แนกรปู ทรงของบลอ็ กเปน กลมุ เดก็ จะเรยี นรู
ผา นประสบการณสาํ คัญในการจําแนก เปรยี บเทียบซ้าํ แลว ซาํ้ อกี มีการปฏสิ ัมพนั ธก บั วัตถุ สิง่ ของ ผใู หญ และ
เดก็ อน่ื ฯลฯ นอกจากน้ี ผสู อนทเี่ ขา ใจและเหน็ ความสาํ คญั จะยดึ ประสบการณส าํ คญั เปน เสมอื นเครอื่ งมอื สาํ หรบั
การสังเกตพัฒนาการเด็ก แปลการกระทําของเด็ก ชวยตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดส่ือและชวยวางแผนกิจกรรม
ในแตละวัน ประสบการณส าํ คญั สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป จะครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง ๔ ดาน คือ
๑.๑ ประสบการณสําคัญท่ีสงเสริมพัฒนาการดานรางกาย เปนการสนับสนุนใหเด็ก
ไดมีโอกาสพฒั นาการใชกลามเน้ือใหญ กลามเนื้อเล็ก การประสานสัมพันธระหวา งกลา มเนอ้ื และระบบประสาท
ในการทํากิจวัตรประจําวันหรือทํากิจกรรมตางๆ และสนับสนุนใหเด็กรูจักดูแลสุขภาพและสุขอนามัย สุขนิสัย
การรกั ษาความปลอดภยั และการตระหนกั รูเกีย่ วกับรางกายตนเอง ดงั นี้
ประสบการณสําคญั (ดานรา งกาย) ตวั อยางประสบการณแ ละกิจกรรม
๑.๑.๑ การใชกลา มเนอื้ ใหญ
(๑) การเคลอ่ื นไหวอยูกับท่ี ตบมือ ผงกศีรษะ เคลื่อนไหวไหล เอว มือและแขน
มอื และน้วิ มือ เคาะเทา เทา และปลายเทาอยูก บั ท่ี
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๒) การเคลอื่ นไหวเคลอื่ นท่ี คลาน คืบ เดิน วงิ่ กระโดด สไลด ควบมา กาวกระโดด
เคลื่อนท่ไี ปขา งหนา ขางหลงั ขา งซา ย ขางขวา หมุนตัว
(๓) การเคล่ือนไหวพรอ มวัสดุอปุ กรณ เคลื่อนไหวรา งกายพรอมเชอื ก ผาแพร รบิ บิ้น วสั ดุอน่ื ๆ
ท่ีเหมาะสมตามจินตนาการ เพลงบรรเลง คําบรรยาย
22 ของผูสอน
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ (๔) การเคลื่อนไหวทใี่ ชการประสานสัมพันธของการใช เลน เกมกลางแจง เชน ลงิ ชงิ บอล ขวา งลกู บอล ถงุ ทราย
กลามเนื้อใหญ ในการขวา ง การจับ การโยน การเตะ โยนลูกบอลหรือวัสดอุ ื่นลงตะกรา เตะบอล
(๕) การเลน เคร่ืองเลน สนามอยา งอสิ ระ เลนอิสระ เลนเคร่ืองเลนสนาม เลนปนปาย โหน มุด
ลอดเครอ่ื งเลน ปนจักรยานสามลอ
๑.๑.๒ การใชก ลา มเน้ือเล็ก
(๑) การเลนเครื่องเลนสมั ผัสและการสรางสงิ่ ตา งๆ ตอ เลโก น็อตปก หมดุ กระดานตะปู บล็อกไมหรือ
จากแทงไม บล็อก พลาสติก
(๒) การเขยี นภาพและการเลน กับสี เขยี นภาพดวยสเี ทยี น สไี ม สีจากวสั ดุธรรมชาติ เลนกับสีน้ํา
เชน เปา สี ทบั สี พับสี หยดสี ละเลงสี กล้งิ สี
(๓) การปน ปน ดินเหนยี ว ดินน้ํามนั ปนแปงโดว
(๔) การประดิษฐสง่ิ ตางๆ ดวยเศษวัสดุ สรา งช้นิ งานจากวสั ดธุ รรมชาตหิ รอื วัสดทุ เี่ หลอื ใช
(๕) การหยิบจบั การใชกรรไกร การฉีก การตดั การปะ ใชก รรไกรปลายมนตดั กระดาษหรอื ตดั ใบไม รอยดอกไม
และการรอ ยวัสดุ และวสั ดตุ า งๆ ฉีก ตดั ปะกระดาษหรอื วสั ดุธรรมชาติ
ประสบการณสาํ คัญ (ดานรางกาย) ตัวอยางประสบการณและกิจกรรม
๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพอนามยั สวนตน
(๑) การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามยั สขุ นสิ ัยที่ดี ลา งมอื กอนรับประทานอาหาร ทาํ ความสะอาดหลังจาก
ในกจิ วตั รประจําวนั เขา หอ งนา้ํ หอ งสว ม รบั ประทานอาหารกลางวนั ครบหา หมู
นอนกลางวัน ออกกําลังกาย ดูแลรักษาความสะอาด
ของใชสว นตวั
๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภยั
(๑) การปฏบิ ัตติ นใหปลอดภัยในกจิ วัตรประจําวนั เลนเคร่ืองเลนท่ีถูกวิธี ลางมือทุกครั้งเม่ือส้ินสุดการเลน
ระวังรักษาและดแู ลตนเองขณะเจบ็ ปวย เชน ปด ปากไอ
ในขณะเปนหวัด ไมขย้ีตาขณะตาแดง
(๒) การฟง นิทาน เร่ืองราว เหตกุ ารณเกยี่ วกบั การปองกัน ฟง นทิ านเรอ่ื งราวเหตกุ ารณท ม่ี เี นอ้ื หาเกยี่ วกบั การปอ งกนั
และรกั ษาความปลอดภยั และรักษาความปลอดภยั เชน การขา มถนน การรบั ของ
จากคนแปลกหนา ของมีคม สัตวม ีพิษ และอนั ตรายจาก
สารพษิ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๓) การเลนเครอื่ งเลน อยา งปลอดภยั เลนเคร่ืองเลนสนามตามขอตกลงอยางถูกวิธี เชน
ปน ปา ย โหน ลอด มดุ คลาน ดว ยความระมดั ระวงั รอคอย
ไมแยง กนั ในการเลน
(๔) การเลนบทบาทสมมตเิ หตุการณตา งๆ เลน บทบาทสมมตกิ ารปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร เชน การขา มถนน 23
การซอนทา ยรถจกั รยานยนต การคาดเข็มขดั นิรภัย และ
การปฏบิ ตั ติ นเมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ เชน ไฟไหม แผน ดนิ ไหว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
พายุ ฯลฯ และสรปุ ผลที่เกดิ จากการเลน บทบาทสมมติ
๑.๑.๕ การตระหนกั รเู กย่ี วกับรางกายตนเอง
(๑) การเคลอ่ื นไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทาง เคลื่อนไหวรางกายไปในทิศทางตางๆ เชน ซาย ขวา
ระดบั และพน้ื ท่ี หนา หลงั ทั่วบริเวณทกี่ าํ หนดในระดับสงู กลาง และตํ่า
มีการเคล่ือนไหวท่ีหลากหลาย เชน มุด ลอด คลาน
กล้ิง กระโดด
(๒) การเคล่ือนไหวขา มสิง่ กดี ขวาง การเดิน วิ่ง กระโดดหลบหลีกหรือขามสิ่งกีดขวางตางๆ
เชน ลอรถยนต ถังนาํ้ มัน ท่ีก้ันจราจร หวงฮลู าฮูป สิ่งของ
บลอ็ กไม
๑.๒ ประสบการณสาํ คญั ที่สง เสรมิ พฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ เปน การสนับสนุนใหเ ด็ก
ไดแสดงออกทางอารมณและความรูสึกของตนเองท่ีเหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีเปน
อัตลักษณ ความเปนตวั ของตวั เอง มีความสุข ราเรงิ แจม ใส การเห็นอกเหน็ ใจผอู ื่น ไดพ ัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
สนุ ทรยี ภาพ ความรสู กึ ที่ดตี อตนเอง และความเชอื่ ม่นั ในตนเองขณะปฏิบัตกิ จิ กรรมตา งๆ ดงั น้ี
ประสบการณส าํ คญั (ดานอารมณ จิตใจ) ตวั อยา งประสบการณและกจิ กรรม
๑.๒.๑ สนุ ทรยี ภาพ ดนตรี
(๑) การฟงเพลง การรองเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ า ทาํ ทา ทางเคลอื่ นไหวรา งกายในลกั ษณะตา งๆ เชน โยกตัว
โตตอบเสยี งดนตรี สายสะโพก ตบมือ ย่ําเทาตามจังหวะและเสียงเพลง
เชนเพลงบรรเลง เพลงตามสมัยนิยม เพลงท่ีสนใจ
เพลงตามหนว ยการจดั ประสบการณ เพลงประจาํ โรงเรยี น
และเพลงพืน้ บาน
(๒) การเลนเครอื่ งดนตรปี ระกอบจังหวะ เลน เครอ่ื งดนตรีประเภทตา งๆ หรอื วสั ดอุ ่นื ๆ ประกอบ
จงั หวะ เชน เคาะ เขยา ตี
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๓) การเคลอ่ื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี แสดงทาทางเคล่ือนไหวประกอบเสียงเพลง เสียงดนตรี
หรอื จังหวะชา และเรว็
(๔) การเลนบทบาทสมมติ เ ล น แ ล ะ แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม ม ติ เ ป น ตั ว ล ะ ค ร ต า ม
หนว ยการจดั ประสบการณห รือนทิ าน
24 ทาํ กิจกรรมศิลปะ เชน วาดภาพระบายสี ปน รอย ฉีก
ตดั ปะ พบั เลน กับสีน้ํา ประดษิ ฐเศษวสั ดุ
(๕) การทาํ กิจกรรมศลิ ปะตา งๆ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ (๖) การสรา งสรรคสิง่ สวยงาม สรางงานศิลปะตามความคิดสรางสรรคในรูปแบบตางๆ
เชน วาดภาพระบายสี ปน รอย ฉีก ตัด ปะ พับ
เลนกับสีน้ํา ประดิษฐเศษวัสดุ การทําสวนถาด และ
แสดงความคิดเหน็ ตอ ผลงานศิลปะ
๑.๒.๒ การเลน
(๑) การเลน อสิ ระ เลนอิสระ การเลนที่ใชจินตนาการ เลนสมมติ
การเลนของเลน ในหองเรยี น บรเิ วณสนามกลางแจง
(๒) การเลน รายบุคคล กลุม ยอ ย และกลุมใหญ เลนเสรี เลนอิสระในมุมเลนรายบุคคล กลุมยอย และ
กลุมใหญ เลนรวมกับเพ่ือน เลนแบบรวมมือ และ
เลนแบบสรางสรรค
(๓) การเลนตามมุมประสบการณ/ มุมเลน ตางๆ เลนตามมมุ เลนในหองเรยี น เลน สมมติ
(๔) การเลน นอกหอ งเรยี น เลนกลางแจง เชน เลนเคร่ืองเลนสนามรูปแบบตางๆ
เลนนาํ้ เลน ทราย การละเลนพ้ืนบา น
ประสบการณส าํ คัญ (ดา นอารมณ จติ ใจ) ตัวอยา งประสบการณและกิจกรรม
๑.๒.๓ คณุ ธรรม จริยธรรม
(๑) การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนาทนี่ บั ถือ ทํากิจกรรมทางศาสนาทว่ี ัด มสั ยดิ โบสถ ปฏบิ ัตติ นตาม
คาํ สอนของศาสนาทีน่ บั ถอื
(๒) การฟง นิทานเกี่ยวกับคณุ ธรรม จริยธรรม ฟงนิทาน เรื่องราว เหตุการณเก่ียวกับความซ่ือสัตย
ความเมตตากรุณา มีน้ําใจชวยเหลือ แบงปน
ความเห็นอกเห็นใจ ความรับผิดชอบ ประหยัดพอเพียง
และความมีวนิ ยั
(๓) การรว มสนทนาและแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น รว มสนทนาและแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ขา ว เรอ่ื งราว
เชงิ จรยิ ธรรม เหตกุ ารณ นทิ านเกยี่ วกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามบรบิ ท
ของชุมชนหรือกลุม เปา หมายเฉพาะ
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ
(๑) การพูดสะทอ นความรสู ึกของตนเองและผอู ่ืน บอกเลา ทําทา ทาง ท่เี กย่ี วขอ งกบั ความรสู กึ ของตนเอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
และผูอื่น ปรับเปลี่ยนความคิดหรือการกระทําเมื่อมี
สถานการณทเ่ี ปนปญ หา พดู แสดงความรูส ึกหลงั การทาํ
กจิ กรรมศลิ ปะ แสดงสหี นา ทา ทาง บทบาทตามตวั ละคร
(๒) การเลนบทบาทสมมติ เ ล น แ ล ะ แ ส ด ง บ ท บ า ท ส ม ม ติ เ ป น ตั ว ล ะ ค ร ต า ม
หนวยการจัดประสบการณห รือนิทาน
25
(๓) การเคล่อื นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี แสดงทา ทาง เคล่อื นไหวประกอบเสียงเพลง เสียงดนตรี
หรอื จังหวะชา และเร็ว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
(๔) การรอ งเพลง รองเพลงประกอบหนวยการจัดประสบการณหรือ
เพลงท่สี นใจอยา งสนุกสนาน
(๕) การทํางานศิลปะ ทาํ กจิ กรรมศลิ ปะ เชน วาดภาพระบายสี ปน รอ ย ฉีก
ตัด ปะ พบั เลน กบั สีน้าํ ประดษิ ฐเ ศษวัสดุ
๑.๒.๕ การมีอัตลักษณเ ฉพาะตนและเช่อื วาตนเองมีความสามารถ
(๑) การปฏิบตั ิกจิ กรรมตา งๆ ตามความสามารถ เลน/ทํางานอยางอิสระตามความถนัด ความสนใจ
ของตนเอง และความสามารถของตนเอง เชน กิจกรรมศิลปะ
กิจกรรมการเคลื่อนไหว กิจกรรมในกิจวัตรประจําวัน
(โดยเปดโอกาสใหเด็กมีสวนรวมในการตัดสินใจเลือก
ทํากิจกรรมเอง บอกไดวาตนเองเปนอยางไร ทําอะไร
ไดบ าง บอกความเหมือน ความแตกตางของตนเองและ
ผอู น่ื และบอกความคดิ ของตนเองไดว า “อยากเปน อะไร
เมอื่ หนูโตขนึ้ ”)
๑.๒.๖ การเห็นอกเหน็ ใจผอู น่ื
(๑) การแสดงความยนิ ดเี มื่อผูอืน่ มคี วามสขุ เห็นใจเมื่อผูอ่นื แสดงความยินดกี บั เพ่ือนเมอ่ื เพ่อื นมคี วามสุข เชน วันเกดิ
เศรา หรอื เสียใจ และการชว ยเหลอื ปลอบโยนเมื่อผอู ืน่ และแสดงความเห็นใจเพ่ือนหรือผูอื่น เชน ชวยเหลือ
ไดร ับบาดเจ็บ ปลอบโยนเมอ่ื เพ่อื นรองไหห รอื บาดเจบ็
๑.๓ ประสบการณส าํ คญั ทสี่ ง เสรมิ พฒั นาการดา นสงั คม เปน การสนบั สนนุ ใหเ ดก็ ไดม โี อกาส
ปฏิสัมพันธกับบุคคลและส่ิงแวดลอมตางๆ รอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ผานการเรียนรูทางสังคม เชน
การเลน การทํางานกบั ผูอ ่ืน การปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาํ วัน การดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม การแกป ญ หา
ขอ ขัดแยง ตา งๆ ดังนี้
ประสบการณส าํ คญั (ดา นสังคม) ตวั อยา งประสบการณและกิจกรรม
๑.๓.๑ การปฏิบัติกิจวตั รประจาํ วนั
(๑) การชว ยเหลือตนเองในกจิ วตั รประจาํ วนั ทํากิจวัตรประจําวันดวยตนเอง เชน แตงตัว ลางมือ
รับประทานอาหาร เขาหอ งสวม
(๒) การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ นําวัสดุเหลือใชมาสรางชิ้นงาน ใชส่ิงของเครื่องใชอยาง
พอเพยี ง ประหยดั และพอเพยี ง เชน ยาสฟี น นาํ้ วสั ดทุ าํ งานศลิ ปะ
๑.๓.๒ การดแู ลรักษาธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๑) การมสี วนรวมรบั ผดิ ชอบดูแลรักษาสง่ิ แวดลอ ม - รบั ผดิ ชอบหนาที่ทไ่ี ดรับมอบหมาย เชน ดูแลรักษา
ทงั้ ภายในและภายนอกหองเรียน ความสะอาดหอ งเรียน รดน้าํ ตนไม เกบ็ ขยะ
- นําวสั ดุทองถิ่น วัสดุเหลอื ใชม าสรา งชน้ิ งาน
- ใชน ้าํ ส่ิงของเคร่อื งใชอ ยางประหยัด คมุ คา เชน
ดินสอ สี กระดาษสี
26 (๒) การใชวัสดแุ ละสิ่งของเครอ่ื งใชอ ยางคุมคา นําวัสดุเหลือใชมาสรางช้ินงาน ใชสิ่งของอยางประหยัด
เชน ดนิ สอ สี กาว กระดาษสี
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ (๓) การทาํ งานศิลปะทีน่ าํ วัสดุหรอื ส่งิ ของเครือ่ งใช ประดษิ ฐสิง่ ตางๆ จากวสั ดุเหลือใช เชน ขวดนํา้ พลาสติก
ที่ใชแลว มาใชซ้ํา หรือแปรรูปแลวนาํ กลับมาใชใหม กลอ ง เศษผา แกนกระดาษ กระดาษสี ไมไอศกรีม
(๔) การเพาะปลูกและดแู ลตนไม ปลูกตนไม ไมดอกไมประดับ ผักสวนครัว ดูแลรดนํ้า
พรวนดิน เชน เพาะถว่ั งอก ปลกู ผักบงุ ตน หอม
(๕) การเลี้ยงสัตว เลย้ี งและดูแลใหอ าหารสัตว เชน ปลา ไก นก
(๖) การสนทนาขา วและเหตกุ ารณท เี่ ก่ียวกบั ธรรมชาติ สนทนาเก่ียวกับเหตุการณ ผลกระทบที่เกิดจาก
และสง่ิ แวดลอ มในชีวิตประจาํ วัน ความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน
ฝนตก นํา้ ทวม ฝนแลง ลมพายุ
๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรมทอ งถ่นิ และความเปน ไทย
(๑) การเลนบทบาทสมมตกิ ารปฏิบตั ิตนในความเปน - เลนบทบาทสมมติเก่ียวกับการไหว การทักทาย และ
คนไทย - การปฏิบัติตนในวันสําคัญของไทยและวันสําคัญของ
ทอ งถน่ิ
(๒) การปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมทองถน่ิ ท่อี าศยั และ ทาํ กจิ กรรมในวนั สาํ คัญและประเพณีในทอ งถน่ิ ของตน
ประเพณไี ทย
(๓) การประกอบอาหารไทย ทําอาหารงายๆ ตามหนวยการจัดประสบการณ
อาหารในทอ งถ่ินหรอื อาหารประจาํ ภาคของตนเอง
(๔) การศกึ ษานอกสถานที่ วางแผน สาํ รวจ ศกึ ษาแหลง เรยี นรนู อกสถานท่ี สมั ภาษณ
บคุ คลตางๆ บันทกึ ขอ มูล และนาํ เสนอขอมูล
ประสบการณส ําคัญ (ดานสังคม) ตวั อยางประสบการณแ ละกิจกรรม
(๕) การละเลน พ้นื บานของไทย การละเลนไทย เชน มอญซอนผา งูกินหาง รีรีขาวสาร
โพงพาง
๑.๓.๔ การมปี ฏิสมั พนั ธ มวี นิ ยั มีสวนรว มและบทบาทสมาชิกของสงั คม
(๑) การรวมกาํ หนดขอตกลงของหอ งเรยี น มสี ว นรว มในการกาํ หนดและจดั ทาํ ขอ ตกลงของหอ งเรยี น
(๒) การปฏิบตั ติ นเปน สมาชกิ ที่ดีของหอ งเรยี น ปฏิบัติตามขอตกลงของหองเรียนที่รวมกันกําหนด เชน
การเกบ็ ของเลนของใชเ ขาที่ การเขา แถวรบั ของ
(๓) การใหความรวมมือในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตางๆ เขารวมกิจกรรมดวยความเต็มใจท้ังรายบุคคล กลุมยอย
และกลมุ ใหญ
(๔) การดแู ลหอ งเรยี นรว มกนั ดแู ลความสะอาดเรยี บรอ ยของหอ งเรยี น เชน จดั ของเลน
ของใชเขา ท่ี เทขยะ รดนาํ้ ตนไม
(๕) การรว มกิจกรรมวนั สําคัญ ปฏิบัติกิจกรรมเก่ียวกับวันสําคัญในสถานการณจริง
หรือสถานการณจําลองตามความเหมาะสมและ
บริบทของแตละสถานศึกษา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๑.๓.๕ การเลนและทํางานแบบรว มมอื รว มใจ
(๑) การรวมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น สนทนาแลกเปลย่ี นแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เหตกุ ารณ
ในนิทาน เรื่องราว และรับฟง ความคิดเห็นของผูอื่น
27
(๒) การเลน และทาํ งานรวมกบั ผอู น่ื เลนและทาํ งานรว มกนั เปน คู กลุมเลก็ หรอื กลมุ ใหญ
(๓) การทําศิลปะแบบรว มมือ ทาํ งานศลิ ปะรว มกนั เปน กลมุ อยา งมเี ปา หมายรว มกนั เชน คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ปน ดินนํา้ มนั วาดภาพ ฉีก ตดั ปะ งานประดษิ ฐ
๑.๓.๖ การแกปญ หาความขดั แยง
(๑) การมสี วนรว มในการเลือกวธิ กี ารแกปญ หา รวมกันแสดงความคิดเห็นและนําเสนอความคิด และ
ตัดสินใจเลือกวิธีแกปญหาเกี่ยวกับเร่ืองราว เหตุการณ
ตา งๆ
(๒) การมสี ว นรว มในการแกปญหาความขดั แยง มีสวนรวมในการเสนอความคิด ตัดสินใจเลือกวิธี
แกปญหาตางๆ ท่ีเกิดขึ้นอยางสันติวิธีในสถานการณ
ท่มี ีความขัดแยง
๑.๓.๗ การยอมรับในความเหมอื นและความแตกตางระหวางบุคคล
(๑) การเลนหรือทาํ กิจกรรมรวมกับกลมุ เพ่ือน เลนหรือทํากิจกรรมตางๆ รวมกับเพ่ือน เชน กิจกรรม
ศลิ ปะสรา งสรรค กจิ กรรมการเลน ตามมมุ เลน /มมุ ประสบการณ
ตางๆ กิจกรรมเลนน้ํา เลนทราย และยอมรับความคิด
ของเพ่อื นทต่ี างไปจากตน
๑.๔ ประสบการณสําคัญที่สงเสริมพัฒนาการดานสติปญญา เปนการสนับสนุนใหเด็ก
ไดเ รยี นรกู ารใชภ าษา พฒั นาการคดิ รวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ล การตดั สนิ ใจและแกป ญ หา การมจี นิ ตนาการและ
ความคดิ สรา งสรรค มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ การเรยี นรแู ละการแสวงหาความรู ผา นการมปี ฏสิ มั พนั ธก บั สงิ่ แวดลอ ม บคุ คล
และส่ือตางๆ ดวยกระบวนการเรยี นรทู ี่หลากหลาย ดังน้ี
ประสบการณส ําคัญ (ดานสติปญ ญา) ตวั อยา งประสบการณและกิจกรรม
๑.๔.๑ การใชภาษา
(๑) การฟง เสียงตางๆ ในสง่ิ แวดลอ ม ฟงเสียงตางๆ รอบตัวและบอกเสียงท่ีไดยิน เชน
เสยี งหายใจ ลมพดั นกรอง รถยนต คนเดิน สตั วรอง
(๒) การฟง และปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนาํ ฟง และปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนาํ เชน การเลน เกม การเคลอ่ื นไหว
ตามคําบรรยาย รวมทง้ั ขอ ตกลงในหอ งเรียน
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๓) การฟงเพลง นทิ าน คําคลอ งจอง บทรอยกรอง ฟงเพลง นิทาน คําคลองจอง บทรอยกรองงายๆ หรือ
หรือเรือ่ งราวตา งๆ เร่ืองราวตา งๆ
(๔) การพดู แสดงความคดิ ความรสู กึ และความตองการ พูดแสดงความคดิ เหน็ ความรสู กึ ความตองการในส่งิ ตางๆ
ใชคําถาม ใคร อะไร ทําไม อยางไร ในสง่ิ ที่ตองการทราบ
(๕) การพูดกบั ผูอน่ื เก่ยี วกบั ประสบการณข องตนเอง พูดเลาขาว เลาประสบการณ หรอื เรื่องราวเก่ยี วกับตนเอง
หรอื พูดเลาเรื่องราวเกยี่ วกับตนเอง หรือเหตุการณประจาํ วัน เชน ครอบครวั ของฉัน
28 (๖) การพูดอธิบายเก่ยี วกบั ส่ิงของ เหตกุ ารณ และ พูดบอกลกั ษณะสงิ่ ของทสี่ ังเกต เลาขา ว เลา ประสบการณ
ความสมั พนั ธของสิ่งตา งๆ เชน กจิ กรรมท่ีทาํ ในวันหยดุ กิจกรรมทไ่ี ดท าํ ดวยตนเอง
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หรือทํารวมกับเพ่ือนและครู หรือเหตุการณที่เกิดขึ้น
ตามลําดบั หรือตามชวงเวลา
(๗) การพูดอยา งสรางสรรคใ นการเลนและการกระทํา เลาส่ิงที่กําลังเลน กําลังทํา พูดใหกําลังใจ ปลอบใจ
ตางๆ คาํ แนะนาํ เพอ่ื นในการเลน และการทาํ งาน อธบิ ายวธิ เี ลน
ใหเพื่อนฟง
(๘) การรอจังหวะทเ่ี หมาะสมในการพูด ตอบคําถามและมีมารยาทในการพูด เชน ยกมือกอนพูด
ไมพ ูดแทรกในขณะทีผ่ ูอ ่ืนกําลงั พดู
(๙) การพดู เรียงลาํ ดบั คําเพอื่ ใชใ นการส่อื สาร เรียงคําพูดในสิ่งท่ีคิดเพ่ืออธิบายใหผูอ่ืนเขาใจ เชน
พดู เลาเร่ืองจากภาพหรอื เหตกุ ารณท ่ีพบเห็น
(๑๐) การอานหนงั สอื ภาพ นิทานหลากหลายประเภท/ อานภาพ นิทาน อานปายและสัญลักษณที่เด็กสนใจ
รปู แบบ อานนิทานใหเ พื่อนฟง
(๑๑) การอานอยางอิสระตามลําพัง การอานรวมกนั - อานนิทานหรือหนังสือภาพที่สนใจอยางอิสระตามลําพัง
การอานโดยมผี ชู แี้ นะ ในมุมหนงั สือ
- อานรวมกัน โดยครูแนะนําสวนตางๆ ของหนังสือ
ตงั้ แตป กหนา จนถงึ ปกหลงั แลว เปน ผนู าํ การอา นโดยชค้ี าํ
ในหนงั สอื จากซายไปขวา เดก็ ชแ้ี ละอานตามครูพรอ มกนั
- อานโดยมีผูชี้แนะ โดยครูเปนผูนําการอานกับเด็กกลุมยอย
๓ - ๕ คน
ประสบการณสาํ คัญ (ดานสติปญญา) ตัวอยางประสบการณแ ละกจิ กรรม
(๑๒) การเหน็ แบบอยางของการอานที่ถูกตอง ดูตัวอยางครูชี้คําและกวาดสายตาจากการอานหนังสือ
นทิ าน ปา ย บตั รขอ ความ แถบประโยค หรือแผนภูมิเพลง
(๑๓) การสังเกตทศิ ทางการอา นตวั อักษร คาํ และขอความ ดตู วั อยา งการกวาดสายตาอา นตวั อกั ษร คาํ และขอ ความ
จากซายไปขวา บรรทัดบนลงบรรทัดลา ง
(๑๔) การอานและช้ีขอ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั ดูตัวอยางการกวาดสายตาและชี้คําอานขอความ
จากซา ยไปขวา จากบนลงลา ง หนังสือนิทาน แผนภูมิเพลง จากซา ยไปขวา บรรทดั บน
ลงบรรทัดลาง
(๑๕) การสังเกตตวั อกั ษรในชือ่ ของตน หรือคาํ คุนเคย ชี้หรือบอกตัวอักษรบางตัวท่ีคุนเคยในช่ือตนเอง นิทาน
เพลง คาํ คลอ งจอง ปา ยขอ ความ สงั เกตบตั รชอ่ื นามสกลุ
ตวั เองกับเพื่อนวามอี กั ษรตัวไหนเหมอื นกนั
(๑๖) การสังเกตตวั อักษรท่ปี ระกอบเปน คํา ผา นการอา น - มองและชี้ตัวอักษรในคํา ขอความ ประโยค นิทาน
หรอื เขยี นของผใู หญ แผนภูมิเพลง ปริศนาคําทาย หรือประโยคท่ีครูเขียน
- สังเกตทิศทางการเขียนตัวพยัญชนะหรือคําที่คุนเคย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ของครู
- สงั เกตการเขยี นบนทรายหรอื การเขยี นในอากาศของครู
- ขดดนิ น้ํามนั เปน ตัวพยญั ชนะท่ีคุนเคย เชน พยญั ชนะ
ตน ชอ่ื ของตนเอง
29
(๑๗) การคาดเดาคาํ วลี หรอื ประโยคท่ีมีโครงสรา งซ้าํ ๆ กัน - เลนเดาคําบางคําที่คุนเคยในหนังสือนิทาน เพลง
จากนิทาน เพลง คาํ คลองจอง คาํ คลองจอง คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
- เลนเดาตัวพยญั ชนะทห่ี ายไปจากคําทค่ี นุ เคย
- เลนเปล่ยี นคําบางคําในประโยคท่ีมีโครงสรา งซา้ํ ๆ
(๑๘) การเลน เกมทางภาษา - เลนเกมทางภาษาตางๆ เชน หาภาพกับสัญลักษณ
จับคูคาํ กับภาพ
- หาตัวอักษรหรอื คาํ บางคําจากนทิ าน
- ตอเติมตัวอักษรลงในบัตรคํา บิงโกภาษา ลอตโต
พยัญชนะกบั คาํ วาดภาพและแตงเรื่องราวท่มี ีโครงเรือ่ ง
เดียวกับนิทาน
(๑๙) การเหน็ แบบอยา งของการเขียนทถ่ี ูกตอง - สังเกตตัวอยางการเขียนของครูในโอกาสตางๆ เชน
เขียนขอตกลงช้ันเรียน เขียนประกาศวันสําคัญ เขียน
วนั ที่ เดือน ป
- เขียนคาํ บรรยายใตผลงานศลิ ปะของเดก็
- เขยี นบนั ทกึ คําพดู ของเดก็
- สงั เกตตัวอักษรหรือสญั ลกั ษณ เชน ปายช่อื ครู ปายช่ือ
ตนเอง ปฏิทินในชวี ติ ประจําวัน
ประสบการณส ําคญั (ดานสตปิ ญญา) ตวั อยางประสบการณและกจิ กรรม
(๒๐) การเขียนรวมกันตามโอกาส และการเขยี นอสิ ระ - เขียนรวมกับครูในกิจกรรมการเลนตามมุม เชน
เมนอู าหาร ปา ยฉลาก ขวดยาคณุ หมอ
- เลียนแบบการเขียนของครู โดยลอกตัวอักษรหรือ
สญั ลกั ษณจากบตั รคาํ ลงในสมดุ นิทานทีร่ ว มกันแตง
- รวมกับครูวาดภาพและเขยี นคําอธิบายภาพ
- เขียนตามโอกาส เชน บัตรอวยพรวันเกดิ ใหเ พ่ือน
(๒๑) การเขยี นคาํ ทมี่ คี วามหมายกบั ตัวเดก็ /คําคุนเคย เขยี นชอ่ื ตนเอง เขยี นคาํ ทค่ี นุ เคย เขยี นสญั ลกั ษณจ ากการ
อานนิทาน เรือ่ งราว เนื้อเพลง ปายสัญลกั ษณต า งๆ รวมกนั
เขียนคําแตง ปา ยนิเทศ เขียนชื่อตดิ ช้นั วางของสวนตัว
(๒๒) การคิดสะกดคาํ และเขยี นเพอ่ื สือ่ ความหมาย เขยี นคาํ งา ยๆ ประกอบภาพตามความสนใจ เขยี นชอ่ื ตนเอง
ดว ยตนเองอยางอสิ ระ เขียนบัตรอวยพรโอกาสตางๆ เขียนภาพนิทานหรือ
เรอ่ื งนทิ านอยา งอสิ ระตามความสนใจหรอื ความตอ งการ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ของเด็กไมใชกําหนดโดยครู การคิดสะกดคําและ
เขียนอิสระของเด็กจึงมีการเขียนแบบลองผิดลองถูก
ของเดก็ เอง ซง่ึ ครูตองไมต าํ หนิ/ลงโทษเมื่อเด็กเขยี นผดิ
๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ล การตดั สนิ ใจและแกปญหา
(๑) การสงั เกตลกั ษณะ สวนประกอบ การเปลี่ยนแปลง - ใชประสาทสัมผัสในการสังเกตและบอกลักษณะหรือ
30 และความสมั พันธข องสิ่งตางๆ โดยใชประสาทสมั ผสั สว นประกอบของส่ิงตา งๆ เชน รางกายของตนเอง สัตว
อยางเหมาะสม พชื ส่งิ ของเคร่ืองใช ดนิ นา้ํ ทอ งฟา บริเวณตางๆ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ - สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของส่ิงตางๆ เชน
การเปล่ียนแปลงของรางกายมนุษย สัตว พืช เมื่อ
เจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงของลมฟาอากาศ
การเปลี่ยนแปลงของวัตถุและสง่ิ ของเครอื่ งใช
- สังเกตและบอกความสัมพันธของส่ิงตางๆ เชน
การนําส่ิงตางๆ มาใชประโยชน ความสัมพันธระหวาง
การกระทาํ บางอยา งกบั ผลทเี่ กดิ ขน้ึ เชน ถา รบั ประทาน
อาหารแลวไมแปรงฟนฟนจะผุ ถาใสนํ้าตาลลงไป
ในน้ําแลวนํ้าตาลจะละลาย ถาปลอยส่ิงของจากที่สูง
แลว สงิ่ ของจะตกลงมา
(๒) การสงั เกตส่ิงตางๆ และสถานที่จากมมุ มองทตี่ า งกัน สังเกตสง่ิ ของ หรือสาํ รวจสถานทีต่ า งๆ หรอื เลนปน ปา ย
เครื่องเลนสนาม ลอดอุโมงค และบอกหรือวาดภาพ
เก่ียวกับลักษณะ พื้นที่ ระยะ ตําแหนงของสิ่งของ
สถานท่ี หรือเครอ่ื งเลนจากมมุ มองตา งๆ
ประสบการณส ําคญั (ดา นสติปญญา) ตัวอยา งประสบการณและกจิ กรรม ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๓) การบอกและแสดงตําแหนง ทศิ ทาง และระยะทาง - สํารวจส่ิงตางๆ ท่ีอยูในบริเวณหนึ่ง เชน ส่ิงของท่ีอยู
ของส่ิงตา งๆ ดวยการกระทํา ภาพวาด ภาพถา ย และ บนโตะ สิ่งของท่ีอยูในหอง และบอกหรอื วาดภาพแสดง 31
รูปภาพ ตาํ แหนง ทิศทาง หรอื ระยะทางของสง่ิ นั้นๆ
- สํารวจสถานที่ตางๆ ถายภาพ วาดภาพ หรือเขียน คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
(๔) การเลน กบั สอ่ื ตา งๆ ท่เี ปนทรงกลม ทรงสีเ่ หล่ยี ม แผนผังสถานท่ีนั้นๆ แลวนํารูปภาพมาอธิบายตําแหนง
มมุ ฉาก ทรงกระบอก ทรงกรวย ทศิ ทาง หรือระยะทางของสถานท่ี
- เลนเกมเก่ยี วกบั มติ สิ มั พันธ เชน วางสงิ่ ของในตาํ แหนง
(๕) การคดั แยก การจดั กลุม และการจําแนกสงิ่ ตางๆ ที่กําหนด บอกช่ือสิ่งของท่ีอยูในตําแหนงที่กําหนด
ตามลกั ษณะและรูปรา ง รูปทรง บอกตาํ แหนง ทศิ ทาง หรอื ระยะทางของสงิ่ ของทก่ี าํ หนด
(๖) การตอของชนิ้ เลก็ เติมในชน้ิ ใหญใ หส มบรู ณ และ ใชรางกายเคล่ือนท่ีไปยังตําแหนงหรือไปตามทิศทาง
การแยกช้ินสว น ทก่ี ําหนด
- เลนสํารวจ จําแนกและบอกลักษณะสิ่งของรอบตัว
ที่มีลักษณะเหมือนหรือคลายทรงกลม ทรงกระบอก
ทรงสีเ่ หลีย่ มมมุ ฉาก และทรงกรวย
- เลนสํารวจบอกส่ิงของรอบตัวท่ีมีลักษณะเหมือน
หรือคลายภาพวงกลม ส่ีเหล่ยี ม สามเหลยี่ ม และวงรี
- เลนเกมจําแนกภาพหรือส่ิงของที่มีลักษณะเหมือน
หรอื คลา ยวงกลม สี่เหลีย่ ม สามเหลีย่ ม และวงรี
- ปนดินน้ํามนั เปน ทรงกลม ทรงกระบอก ทรงสเี่ หลย่ี ม
ทรงกรวย และตัดตามแนวนอน แนวตั้ง แนวเฉียง
นําสวนหนาตัดไปพมิ พภ าพ
- วาดภาพ พับ ตัด ตอ เตมิ ภาพจากรปู วงกลม สเ่ี หลีย่ ม
สามเหลี่ยม และวงรี
คัดแยก จําแนก จัดกลุมสิ่งตางๆ ตามลักษณะ รูปราง
รปู ทรง หรือตามเกณฑต างๆ ทก่ี ําหนด เชน สัตว ผลไม
ใบไม ดอกไม ดิน หนิ ของเลน ส่งิ ของเครอ่ื งใชรอบตวั
- เลนตอหรือประกอบชิ้นสวนของของเลนชิ้นเล็ก
ใหเปนช้ินใหญที่สมบูรณตามเง่ือนไขท่ีกําหนดหรือ
ตามจินตนาการ เชน จิ๊กซอวไมหมุด จิ๊กซอวรูปภาพ
ภาพตัดตอ ตัวตอ บล็อก และแยกช้ินสวนของเลนเก็บเขา ที่
- ประดิษฐช้ินงานจากวัสดุตางๆ ท่ีเปนชิ้นเล็กใหเปน
ชิ้นใหญ เชน รอยลูกปด รอยดอกไม รอยวัสดุตางๆ
สรา งภาพจากวสั ดจุ ากธรรมชาตหิ รอื เศษวัสดรุ อบตัว
ประสบการณสาํ คญั (ดานสติปญ ญา) ตัวอยา งประสบการณแ ละกิจกรรม
(๗) การทาํ ซํา้ การตอ เตมิ และการสรา งแบบรปู - สาํ รวจหาแบบรปู จากสิ่งตางๆ เชน ลวดลายบนเสื้อผา
หรือส่ิงของเคร่ืองใช ลวดลายของกระเบื้องปูพื้นหรือ
ผนังหองในเรอ่ื งสี ลวดลาย ขนาด รูปรา ง รูปทรง และ
แบบรูปจากทา ทาง เสยี ง
- วางแบบรูปใหเหมือนตนแบบ หรือตอเติมจากท่ี
กําหนด หรอื สรางแบบรูปใหมขึ้นเอง โดยการเลนเกมใช
ของจรงิ เชน วางบล็อก ไมไ อศกรีม ใบไม เปลอื กหอย
ฝาขวด หรือวัสดุอืน่ ๆ ใหเปน แบบรปู และโดยการสรา ง
ชน้ิ งานหรอื วธิ กี ารภายใตเ งอื่ นไขทก่ี าํ หนด เชน รอ ยลกู ปด
รอ ยดอกไม ทําโมบาย ทาํ ทาทาง สรางเสยี ง
(๘) การนับและแสดงจํานวนของสิง่ ตา งๆ - รองเพลงหรอื ทองคาํ คลอ งจองทเ่ี กี่ยวกบั ชื่อเรียกจํานวน
ในชวี ติ ประจําวนั - นับปากเปลาในกิจวัตรประจําวัน เชน นับขณะที่
รอการเขาแถวหรือน่ังท่ีใหเรียบรอย นับเพ่ือใหเวลากับ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป การเก็บของเขาท่ี นับเพ่ือเตรียมตัวออกจากจุดเริ่มตน
ขณะเลนเกม นับส่ิงตางๆ เชน นับเพ่ือนในกลุม
นบั ขนมในจาน นับของเลน นบั สง่ิ ของเครอื่ งใช
- หยิบหรือแสดงส่ิงตางๆ ตามจํานวนท่ีกําหนด เชน
หยบิ จาน แกว นํ้า ผลไม ดนิ สอ ดินนํา้ มนั ของเลน
32 (๙) การเปรียบเทยี บและเรยี งลาํ ดับจํานวนของสิ่งตางๆ - เปรยี บเทียบจํานวนของส่งิ ตา งๆ เชน จํานวนเด็กชาย
กับเด็กหญิง จํานวนขนมกับจํานวนเด็ก จํานวนเด็กกับ
จาํ นวนเกา อ้ี หรอื จาํ นวนแกว กบั จาํ นวนแปรงสฟี น โดยใช
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การจับคูก นั และสงั เกตวาเทากนั หรือไมเ ทากนั มากกวา
หรอื นอยกวา
- เรียงลําดับจํานวนของสิ่งตางๆ เชน จําแนกชนิด
ของบล็อกแลวนํามาเรียงลําดับจํานวน โดยการจับคู
หน่ึงตอหน่ึงและวางบล็อกแตละชนิดเรียงเปนแถว
เพ่ือเรียงลําดับ สํารวจและเก็บดอกไมหรือใบไมชนิดตางๆ
มาเรยี งลําดับจาํ นวน
(๑๐) การรวมและการแยกสิ่งตา งๆ - นําสิ่งตางๆ สองกลุมมารวมเขาดวยกัน แลวบอก
จาํ นวนทเ่ี กดิ จากการรวมของสงิ่ นนั้ เชน รวมคนสองกลมุ
เขาดวยกันแลวนับและบอกจํานวนท้ังหมด นําบล็อก
สองกองมารวมกนั แลวนับและบอกจํานวนทัง้ หมด
- แยกกลุมยอยของส่ิงตางๆ ออกจากกลุมใหญ แลว
บอกจาํ นวนทเ่ี หลอื ในกลุมใหญ เชน แยกคนจํานวนหน่ึง
ออกจากกลุมใหญแลวนับและบอกจํานวนคนที่เหลือ
ในกลุมใหญ แบงขนมใหเพื่อนแลวนับและบอกจํานวน
ที่เหลือในจาน หยิบสีเทียนจํานวนหน่ึงออกจากกลอง
แลวนบั จาํ นวนสีเทียนทเี่ หลอื ในกลอง
ประสบการณส ําคญั (ดานสติปญ ญา) ตัวอยา งประสบการณและกิจกรรม ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๑๑) การบอกและแสดงอนั ดับที่ของส่งิ ตางๆ - บอกอันดับท่ขี องตนเองหรือเพ่อื นทย่ี นื อยูในแถว
(๑๒) การชง่ั ตวง วดั ส่ิงตา งๆ โดยใชเ ครอ่ื งมือ - ช้ี หยบิ หรอื วางส่งิ ของตามอันดับทีท่ ่กี ําหนด 33
และหนว ยท่ไี มใชหนว ยมาตรฐาน - สนทนาและบอกเก่ียวกับอันดับที่ในชีวิตประจําวัน
หรอื ในกิจกรรม เชน เปนลกู คนท่เี ทาไหรข องครอบครัว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
(๑๓) การจบั คู การเปรียบเทยี บ และการเรยี งลาํ ดบั ใครมาถงึ โรงเรยี นอนั ดบั ทห่ี นง่ึ อนั ดบั ทส่ี อง อนั ดบั ทสี่ าม
สงิ่ ตา งๆ ตามลักษณะ ความยาว ความสงู นาํ้ หนกั บอกอนั ดบั ทก่ี ารเลอื กมมุ เลน เชน หนเู ลอื กเลน มมุ บลอ็ ก
ปรมิ าตร เปนกิจกรรมทห่ี น่ึงหรือสอง
- เลนในมุมบานหรือเลนบทบาทสมมติรานขายของ
ช่งั นํ้าหนักสิ่งตา งๆ เชน ผลไม ขนม โดยใชตาชง่ั สองแขน
อยางงายและใชวัสดุท่ีมีรูปรางขนาดและนํ้าหนักเทากัน
เปน หนว ยในการชงั่ นา้ํ หนกั เชน ไมบ ลอ็ ก ลกู แกว เหรยี ญ
- เลนตวงทรายหรือนํ้า โดยใชภาชนะตางๆ เชน ชอน
แกว ขวด และบอกปริมาตรของทรายหรือนํ้าท่ีตวง
ตามจาํ นวนของภาชนะทใี่ ชเปนหนว ยในการตวง
- วัดความยาวหรอื ความสูงของส่ิงตา งๆ โดยเลือกใชสง่ิ ท่ี
มขี นาดเทา กนั นาํ มาตอ กนั เชน บลอ็ ก ลวดเสยี บกระดาษ
หลอด ไมไอศกรีม หรือสวนของรางกาย เชน สวนสูง
แลวบอกความยาวหรือความสูงตามจํานวนของส่ิงของ
ที่นํามาใชเ ปน หนวยในการวัด
- จับคูสิ่งตางๆ ตามลักษณะท่ีสัมพันธกันหรือตามท่ี
กําหนด เชน จับคูส่ิงของท่ีเปนของจริงท่ีใชรวมกัน เชน
ชอ นกบั สอ ม จบั คสู ง่ิ ทเ่ี หมอื นกนั เชน ของเลน ทม่ี ลี กั ษณะ
เหมอื นกัน จับคูสิ่งทแ่ี ตกตา งกนั เชน บลอ็ กท่ีแตกตา งกัน
เดก็ ผหู ญงิ กบั เดก็ ผชู าย จบั คภู าพกบั เงา จบั คสู ญั ลกั ษณต วั เลข
กับส่งิ ของทม่ี จี าํ นวนตรงกับตัวเลขนนั้
- เปรียบเทียบและบอกความเหมือนและความแตกตาง
ของลักษณะของสิ่งของสองสิ่ง เชน สี รูปราง ผิวสัมผัส
สวนประกอบของผลไม ดอกไม ตนไม ใบไม สัตว วัตถุ
หรอื สิ่งของเครอื่ งใช
- เปรียบเทียบความยาวหรือความสูงของสิ่งของสองสิ่ง
ท่ีมีความยาวหรอื ความสงู แตกตา งกนั ชัดเจน
- เปรียบเทียบสิ่งของสองช้นิ ทม่ี นี า้ํ หนกั แตกตางกนั อยาง
ชัดเจน เชน ลกู ฟุตบอลกบั ลกู เทนนิส ขวดท่ีใสน้ําเต็มขวด
กับขวดเปลา โดยลองยกดวยมือแลวบอกวาส่ิงของช้ินใด
หนกั กวาหรอื เบากวา
- สงั เกตและเปรยี บเทยี บปรมิ าตรของสง่ิ ของ เชน ทราย นา้ํ
แปง ที่อยูในภาชนะท่ีมีรูปรางเหมือนกัน ขนาดเทากัน
สองใบวาสิ่งของในภาชนะใบไหนมีปริมาตรมากกวา
หรอื นอยกวา โดยดูจากความสงู ของสง่ิ ของในภาชนะ
- เรยี งลาํ ดบั ความยาวหรอื ความสงู นํ้าหนกั หรอื ปรมิ าตร
ของสิ่งของแตละชนดิ ตัง้ แต ๓ สง่ิ ขนึ้ ไป เชน เรียงลาํ ดบั
ความสูงของเด็ก ๓ คน เรียงลําดับน้ําหนักของผลไม
๓ ชนดิ เรยี งลําดับปริมาตรของนาํ้ ทอี่ ยูในภาชนะ ๓ ใบ
ประสบการณส ําคญั (ดา นสตปิ ญญา) ตวั อยางประสบการณแ ละกจิ กรรม
(๑๔) การบอกและเรียงลาํ ดบั กจิ กรรมหรือเหตกุ ารณ เช่ือมโยงชวงเวลากับการกระทําและเหตุการณตางๆ
ตามชว งเวลา เชน ทบทวนกิจวัตรประจําวันและกิจกรรมประจําวัน
ตามลําดับเวลา เลนเกมเรียงลําดับเหตุการณตามชวง
เวลา เชน กลางวัน กลางคืน กอน หลัง เชา บาย เย็น
เม่ือวานนี้ วันน้ี พรุงน้ี
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป (๑๕) การใชภาษาทางคณิตศาสตรก ับเหตุการณ - สังเกตเงนิ เหรียญและธนบตั รชนดิ ตา งๆ เลน เกมจาํ แนก
ในชวี ิตประจําวนั ชนิดของเงนิ เลนเกมขายของ จัดกิจกรรมตลาดนัดใหเดก็
34 (๑๖) การอธบิ ายเชอื่ มโยงสาเหตุและผลที่เกดิ ขนึ้ ฝกการใชเงนิ ซ้ือและทอนเงนิ
ในเหตกุ ารณหรอื การกระทาํ - สนทนารวมกันเกี่ยวกับเหตุการณในชีวิตประจําวัน
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ จากเหตุการณจริง เรื่องเลาหรือนิทาน โดยใชภาษา
ทางคณิตศาสตรในเหตุการณตางๆ เชน จํานวนเทาไหร
เทา กนั ไมเทากัน มากกวา นอ ยกวา มากท่ีสุด นอยที่สดุ
คนท่ี อันดับท่ีหรือลําดับที่ รวมกัน ท้ังหมด มากข้ึน
หรือเพิ่มข้ึนหรือเยอะข้ึน แบงกันหรือแยกกัน นอยลง
หรือลดลง เหลอื สัน้ ยาว สูง เตี้ย ตํา่ หนัก เบา หนักกวา
เบากวา หนกั ทสี่ ดุ เบาทีส่ ดุ กลางวนั กลางคืน กอ น หลัง
เชา บาย เย็น เม่ือวานนี้ วันนี้ พรุงนี้ ที่ไหน ขางไหน
ขางบน ขางลาง ขางหนา ขางหลัง ระหวาง ขางซาย
ขางขวา ใกล ไกล ทรงกลม ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก
ทรงกระบอก ทรงกรวย วงกลม รปู สเ่ี หลย่ี ม รปู สามเหลยี่ ม
- สาํ รวจเหตกุ ารณใ นชวี ติ ประจาํ วนั และสนทนาเกยี่ วกบั
สาเหตุและผลท่ีเกิดข้ึน เชน กินอาหารแลวไมแปรงฟน
จะทําใหฟน ผุ ถา ตากฝนอาจจะทําใหเปนหวัด การทง้ิ ขยะ
ไมถ กู ท่จี ะทาํ ใหบ ริเวณนัน้ สกปรก
- สังเกต สํารวจ หรือทดลองอยางงายเก่ียวกับส่ิงตางๆ
รอบตวั แลว อธบิ ายสาเหตแุ ละผลท่ีเกดิ ขน้ึ เชน ลองใส
น้ําตาลลงไปในน้ํา สังเกตแลวบอกไดวาน้ําตาลสามารถ
ละลายในนํ้าได ฟงและเปรียบเทียบเสียงของส่ิงตางๆ
แลวบอกไดวา ส่ิงของทแี่ ตกตางกนั ทําใหเ กิดเสยี งตางกัน
ทอดไขแ ลว สงั เกตการเปลยี่ นแปลงแลว บอกไดว า ความรอ น
ทําใหไขสุกรับประทานได เลนโยนหรือเตะลูกบอล
โดยออกแรงแตกตางกันแลวบอกไดวาถาออกแรงมาก
ลูกบอลจะไปไกล
(๑๗) การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ - สนทนาระหวางฟงนิทานหรือเร่ืองเลาเพื่อคาดเดา
อยางมเี หตุผล เหตุการณที่อาจจะเกิดขึ้นพรอมบอกเหตุผล กอนท่ีจะ
ฟง เนือ้ เรื่องตอไป
- คาดคะเนหรอื ตง้ั สมมตฐิ านกอ นทดลอง เชน คาดคะเนวา
วัตถุใดจะจมน้ําหรือลอยนํ้า คาดคะเนวาสัตวท่ีสนใจ
นาจะกินอาหารชนิดใด คาดคะเนวาถาออกแรงในการ
ผลกั รถของเลน ดว ยแรงทแี่ ตกตา งกนั จะทาํ ใหร ถของเลน
มีการเคล่ือนท่ีเปนอยา งไร
ประสบการณสาํ คญั (ดา นสตปิ ญ ญา) ตัวอยา งประสบการณและกจิ กรรม ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
(๑๘) การมสี ว นรวมในการลงความเหน็ จากขอ มลู - บอกสิ่งที่สังเกตพบหรืออธิบายขอคนพบจากการสังเกต
อยา งมีเหตุผล สํารวจ หรือทําการทดลองอยางงายเก่ียวกับสิ่งตางๆ 35
รอบตัว เชน สนทนาและสรุปเก่ียวกับสวนประกอบ
(๑๙) การตัดสนิ ใจและมีสว นรวมในกระบวนการ ของไขท ไ่ี ดจ ากการสงั เกตไขของจรงิ สนทนาและอธิบาย คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
แกป ญ หา เก่ียวกับรสชาติและสวนประกอบของอาหารท่ีไดจาก
การสังเกตและชมิ อาหารของจริง
๑.๔.๓ จินตนาการและความคดิ สรา งสรรค - สังเกตอากาศแตละวัน สนทนาและสรุปเกี่ยวกับ
(๑) การรับรูแ ละแสดงความคดิ ความรูส ึกผานส่อื สภาพอากาศในแตล ะวนั สาํ รวจตน ไมใ นบรเิ วณโรงเรยี น
วสั ดุ ของเลน และช้นิ งาน สนทนาและสรปุ ชนิดของตนไมท่ีพบในบรเิ วณโรงเรยี น
- สํารวจแบบรูปของส่ิงตางๆ รอบตัว สนทนาและ
(๒) การแสดงความคดิ สรา งสรรคผ า นภาษา ทาทาง บอกลักษณะของแบบรูปที่พบ จัดกลุมส่ิงของแลว
การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ สนทนาเกี่ยวกับการจัดกลุมส่ิงของวาจัดเปนกลุม
(๓) การสรางสรรคช ิ้นงานโดยใชร ปู ราง รปู ทรงจาก ไดอยางไรบา ง โดยใชอ ะไรเปนเกณฑ
วสั ดทุ ี่หลากหลาย - ตัดสินใจและเลือกวิธีแกปญหาในระหวางเลน หรือ
ในชวี ติ ประจาํ วนั หรอื ทาํ กจิ กรรม เชน เลน เกมการศกึ ษา
ตางๆ แกปญหาในการเลนกับเพื่อน แกปญหาในการ
แบงของเลนใหเพียงพอกับจํานวนของเพ่ือนในกลุม
แกปญหาในการจัดวางหรือเก็บส่ิงของใหเปนระเบียบ
รว มกบั ครแู ละเพอื่ นวางแผนและลงมอื แกป ญ หาเกย่ี วกบั
การกําจัดหรือลดปริมาณขยะหรือเศษวัสดุเหลือใช
การประดษิ ฐสิ่งของหรอื ทําชิ้นงานใหไ ดต ามเงื่อนไข
- สังเกต สัมผสั ทดลอง เลนอิสระกับสื่อ วัสดุ และของเลน
บอกหรือเลาเรื่องถายทอดความคิดความรูสึกท่ีไดจาก
การสงั เกต สมั ผสั ทดลอง หรอื เลน อสิ ระกบั สง่ิ ตา งๆ เหลา นนั้
เชน ตอบลอ็ กเปน รปู ตางๆ ประดษิ ฐส ง่ิ ของตางๆ
- บอกหรือเลาเร่ืองถายทอดความคิดความรูสึกที่ได
จากการตอบลอ็ กหรือประดิษฐส ิง่ ของตา งๆ ทํากจิ กรรม
ศิลปะในลักษณะตางๆ บอกหรือเลาเรื่องถายทอด
ความคิดความรูสกึ จากชนิ้ งาน
เลาเร่ืองตอกันคนละประโยคอยางสัมพันธกัน วาดภาพ
และเลาเรื่องตอเนื่อง และปริศนาคําทาย แสดงทาทาง
เคลื่อนไหวอยางอิสระประกอบการเลานิทาน การเลาเร่ือง
การรองเพลง รวมทั้งเพลงบรรเลง เคล่ือนไหวประกอบ
ส่ือหรือวสั ดุอื่นทเี่ หมาะสม ตอ บล็อกเปนรูปตา งๆ ประดิษฐ
สิ่งของตางๆ อยางอสิ ระทแี่ สดงถงึ ความแปลกใหม
ระบายสีสรางภาพ ฉีก ตัด ปะ ประดิษฐ หรือปน
โดยใชรูปราง รูปทรงตางๆ จากวัสดุที่แตกตางกัน
ทัง้ วัสดทุ องถนิ่ วัสดธุ รรมชาติ และวสั ดเุ หลือใช
ประสบการณส ําคญั (ดา นสตปิ ญ ญา) ตัวอยางประสบการณและกิจกรรม
๑.๔.๔ เจตคติท่ีดตี อการเรียนรแู ละการแสวงหาความรู
(๑) การสาํ รวจสิ่งตา งๆ และแหลงเรียนรูรอบตัว สํารวจ สงั เกต และบันทึกสง่ิ ตา งๆ ท่พี บท้ังในหอ งเรยี น
และนอกหองเรียน เชน สํารวจสิ่งของเครื่องใชในหอง
สํารวจของเลนในมุมประสบการณ สํารวจหนังสือ
ในมุมหนังสือ สํารวจเครื่องเลนในสนาม สํารวจขนม
และอาหารทข่ี ายในโรงเรยี น สาํ รวจสง่ิ มชี วี ติ และไมม ชี วี ติ
ในโรงเรยี น สาํ รวจยานพาหนะ ไปทศั นศกึ ษาตามสถานท่ี
ตางๆ เชน สวนสัตว สวนสาธารณะ ตลาด พิพิธภัณฑ
และแหลงเรียนรูอ ื่นๆ
(๒) การตั้งคําถามในเร่ืองท่ีสนใจ - ตั้งคําถามจากนิทานท่ีฟงหรือเร่ืองท่ีสนใจ เชน
ชอบตวั ละครใดมากที่สุด ฉาก ลาํ ดับเหตกุ ารณ ปญ หา
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป และวิธแี กไ ข
- ต้ังคาํ ถามจากสิง่ ที่พบจากการสงั เกต การสํารวจ หรอื
การทํากิจกรรมตางๆ เชน การสังเกตส่ิงตางๆ รอบตัว
การไปทศั นศกึ ษา การทาํ อาหาร การเลีย้ งสัตว การปลกู พืช
การทดลองอยา งงา ยๆ การสนทนากบั วทิ ยากร ภมู ปิ ญ ญา
ทอ งถ่นิ หรอื ผปู กครอง
36 (๓) การสบื เสาะหาความรเู พ่อื คนหาคําตอบของ - ระบุหรือเลือกคําถามท่ีสามารถหาคําตอบได รวมกับ
ขอสงสยั ตางๆ ครูและเพื่อนในการวางแผนและลงมือสํารวจตรวจสอบ
เกบ็ รวบรวม และบันทกึ ขอมลู ดวยวิธีการตางๆ ลงความเหน็
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ จากขอมูลเพ่ืออธิบายสิ่งท่ีพบ และนําเสนอส่ือสารสิ่งท่ีพบ
เพอ่ื ตอบคําถามท่ตี ง้ั เอาไว
(๔) การมสี วนรว มในการรวบรวมขอ มูลและนาํ เสนอ - รวบรวมขอมูลดวยวิธีการตางๆ เชน สังเกตโดยใช
ขอ มูลจากการสบื เสาะหาความรูใ นรปู แบบตางๆ และ ประสาทสมั ผัสหรือใชเครอื่ งมืออยา งงา ย เชน แวน ขยาย
แผนภูมอิ ยางงาย เครื่องช่ังสองแขนอยางงาย อุปกรณในการวัดความยาว
หรือตวง สํารวจ จําแนก เปรียบเทียบ ทําการทดลอง
อยางงา ยๆ สืบคนขอมลู สอบถามผรู ู และบันทกึ ขอ มูล
ดว ยวธิ ีการตา งๆ เชน วาดภาพ ทาํ สญั ลกั ษณ ถา ยภาพ
นําตวั อยางของจรงิ มาติดลงในกระดาษ
- นําเสนอขอมูลดวยรูปแบบตางๆ เชน พูดบอกเลา
หรืออธิบายประกอบภาพวาดหรือภาพถายท่ีบันทึกไว
แสดงบทบาทสมมติ เชน บทบาทสมมติแสดงทาทาง
เลยี นแบบพฤติกรรมของสตั วท ไี่ ปสงั เกตพบ ทําแบบจําลอง
เชน แบบจําลองของสัตวหรือพืชที่สังเกตพบ รวมกับ
ครูและเพื่อนในการทําแผนผัง ผังความคิด แผนภูมิ
อยางงาย เชน แผนภูมิรูปภาพแสดงชนิดและจํานวน
ของยานพาหนะท่สี ํารวจไดใ นบริเวณโรงเรียน
๒. สาระที่ควรเรียนรู สาระในสวนน้ีกําหนดเฉพาะหัวขอไมมีรายละเอียด ท้ังนี้ เพื่อประสงค ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
จะใหผ สู อนสามารถกาํ หนดรายละเอยี ดขน้ึ เองใหส อดคลอ งกบั วยั ความตอ งการ ความสนใจของเดก็ อาจยดื หยนุ
เน้ือหาได โดยคํานึงถึงประสบการณและสิ่งแวดลอมในชีวิตจริงของเด็ก ผูสอนสามารถนําสาระที่ควรเรียนรู 37
มาบูรณาการจัดประสบการณตางๆ ใหงายตอการเรียนรู ทั้งนี้ มิไดประสงคใหเด็กทองจําเน้ือหา แตตองการ
ใหเด็กเกิดแนวคิดหลังจากนําสาระการเรียนรูน้ันๆ มาจัดประสบการณใหเด็กเพ่ือใหบรรลุจุดหมายท่ีกําหนดไว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
นอกจากน้ี สาระที่ควรเรียนรูยังใชเปนแนวทางชวยผูสอนกําหนดรายละเอียดและความยากงายของเน้ือหา
ใหเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก สาระท่ีควรเรียนรูประกอบดวย เร่ืองราวเก่ียวกับตัวเด็ก เรื่องราวเก่ียวกับ
บุคคลและสถานท่แี วดลอ มเด็ก ธรรมชาตริ อบตัว และสงิ่ ตา งๆ รอบตัวเด็ก เชน
๒.๑ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตวั เดก็ เดก็ ควรเรยี นรเู กย่ี วกบั ชอ่ื นามสกลุ รปู รา งหนา ตา อวยั วะตา งๆ
วิธีระวังรักษารางกายใหสะอาดและมีสุขภาพอนามัยท่ีดี การรับประทานอาหารที่เปนประโยชน การรักษา
ความปลอดภัยของตนเอง รวมทั้งการปฏิบัตติ อผอู ื่นอยา งปลอดภัย การรูจกั ประวัติความเปน มาของตนเองและ
ครอบครวั การปฏบิ ัตติ นเปน สมาชกิ ทดี่ ขี องครอบครัวและโรงเรยี น การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่น การรูจกั
แสดงความคดิ เหน็ ของตนเองและรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื การกาํ กบั ตนเอง การเลน และทาํ สง่ิ ตา งๆ ดว ยตนเอง
ตามลําพังหรือกับผูอื่น การตระหนักรูเก่ียวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะทอนการรับรูอารมณ
และความรสู กึ ของตนเองและผอู นื่ การแสดงออกทางอารมณแ ละความรสู กึ อยา งเหมาะสม การแสดงมารยาททด่ี ี
การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เม่อื เด็กมโี อกาสเรยี นรแู ลวควรเกิดแนวคดิ เชน
❖ ฉันมีช่ือต้ังแตเกิด ฉันมีเสียง รูปรางหนาตาไมเหมือนใคร ฉันภูมิใจที่เปนตัวฉันเอง
เปน คนไทยทด่ี ี มมี ารยาท มวี นิ ยั รจู กั แบง ปน ทาํ สง่ิ ตา งๆ ดว ยตนเอง เชน แตง ตวั แปรงฟน รบั ประทานอาหาร ฯลฯ
❖ ฉนั มีอวยั วะตา งๆ เชน ตา หู จมกู ปาก ขา มอื ผม นิ้วมอื นิว้ เทา ฯลฯ และฉนั รูจัก
วธิ ีรักษารางกายใหสะอาด ปลอดภัย มีสขุ ภาพดี
❖ ฉนั ใชต า หู จมกู ลนิ้ และผวิ กาย ชว ยในการรบั รสู ง่ิ ตา งๆ จงึ ควรดแู ลรกั ษาใหป ลอดภยั
❖ ฉันตองการอากาศ น้ํา และอาหารเพ่ือการดํารงชีวิต ฉันจึงตองรับประทานอาหาร
ท่ีมีประโยชน ออกกําลงั กาย และพกั ผอ นใหเพยี งพอ เพื่อใหรางกายแข็งแรงเจริญเติบโต
❖ ฉนั ตระหนกั รเู กยี่ วกบั ตนเองวา ฉนั สามารถเคลอื่ นไหวโดยควบคมุ รา งกายไปในทศิ ทาง
ระดับ และพืน้ ที่ตา งๆ รางกายของฉนั อาจมกี ารเปล่ียนแปลงเมื่อฉนั รสู กึ ไมสบาย
❖ ฉันเรียนรูขอตกลงตางๆ รูจักระมัดระวังรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน
เมอ่ื ทํางาน เลนคนเดยี ว และเลน กบั ผอู ื่น
❖ ฉันอาจรูสึกดีใจ เสียใจ โกรธ เหนื่อย หรืออ่ืนๆ แตฉันเรียนรูท่ีจะแสดงความรูสึก
ในทางที่ดีและเหมาะสม เมื่อฉันแสดงความคิดเห็นหรือทําส่ิงตางๆ ดวยความคิดของตนเอง แสดงวา
ฉันมีความคดิ สรา งสรรค ความคดิ ของฉันเปนสิง่ สําคญั แตคนอืน่ ก็มคี วามคดิ ที่ดเี หมอื นฉันเชน กนั
๒.๒ เร่ืองราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดลอมเด็ก เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับครอบครัว
สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลตางๆ ที่เด็กตองเก่ียวของหรือใกลชิดและมีปฏิสัมพันธในชีวิตประจําวัน
สถานที่สาํ คัญ วนั สําคัญ อาชพี ของคนในชุมชน ศาสนา แหลงวฒั นธรรมในชุมชน สัญลกั ษณส าํ คญั ของชาตไิ ทย
และการปฏิบัติตามวัฒนธรรมทองถ่ินและความเปนไทย หรือแหลงเรียนรูจากภูมิปญญาทองถิ่นอ่ืนๆ เมื่อเด็ก
มโี อกาสเรียนรแู ลว ควรเกดิ แนวคดิ เชน
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ❖ ทกุ คนในครอบครัวของฉนั เปนบคุ คลสําคัญ ตองการทอ่ี ยอู าศยั อาหาร เส้ือผา และ
ยารักษาโรค รวมท้ังตองการความรัก ความเอ้ืออาทร ชวยดูแลซึ่งกันและกัน ชวยกันทํางานและปฏิบัติตาม
ขอตกลงภายในครอบครวั ฉนั ตองเคารพ เชอ่ื ฟง พอ แมและผใู หญในครอบครวั ปฏบิ ตั ติ นใหถูกตองตามกาลเทศะ
ครอบครวั ของฉนั มวี นั สาํ คญั ตา งๆ เชน วนั เกดิ ของบคุ คลในครอบครวั วนั ทาํ บญุ บา น ฉนั ภมู ใิ จในครอบครวั ของฉนั
❖ สถานศกึ ษาของฉนั มชี อื่ เปน สถานทที่ เ่ี ดก็ ๆ มาทาํ กจิ กรรมรว มกนั และทาํ ใหไ ดเ รยี นรู
สิ่งตา งๆ มากมาย สถานศกึ ษาของฉันมคี นอยูรวมกันหลายคน ทกุ คนมีหนา ท่ีรบั ผดิ ชอบ ปฏิบัติตามกฎระเบยี บ
ชว ยกนั รกั ษาความสะอาดและทรพั ยส มบตั ขิ องสถานศกึ ษา ครรู กั ฉนั และเอาใจใสด แู ลเดก็ ทกุ คน เวลาทาํ กจิ กรรม
ฉนั และเพ่อื นจะชวยกันคิด ชว ยกันทํา รบั ฟงความคิดเห็น และรบั รคู วามรสู กึ ซ่ึงกันและกนั
❖ ทอ งถน่ิ ของฉนั มสี ถานที่ บคุ คล แหลง วทิ ยาการ แหลง เรยี นรตู า งๆ ทส่ี าํ คญั คนในทอ งถนิ่
ทีฉ่ นั อาศยั อยูม ีอาชีพท่ีหลากหลาย เชน ครู แพทย ทหาร ตํารวจ ชาวนา ชาวสวน พอ คา แมคา ทอ งถน่ิ ของฉัน
มวี นั สาํ คญั ของตนเองซึ่งจะมกี ารปฏิบตั ิกจิ กรรมที่แตกตา งกนั ไป
❖ ฉันเปนคนไทย ฉันภูมิใจในความเปนไทยที่มีวันสําคัญของชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติและทองถ่ินหลายอยาง ฉันและเพ่ือน
นับถอื ศาสนาหรอื มคี วามเชื่อที่เหมอื นกนั หรอื แตกตางกันได ศาสนาทุกศาสนาสอนใหทกุ คนเปนคนดี
๒.๓ ธรรมชาตริ อบตัว เด็กควรเรียนรเู กี่ยวกบั ช่ือ ลักษณะ สว นประกอบ การเปลย่ี นแปลง
และความสัมพันธของมนุษย สัตว พืช ตลอดจนการรูจักเก่ียวกับดิน น้ํา ทองฟา สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ
38 แรงและพลังงานในชีวิตประจําวันท่ีแวดลอมเด็ก รวมท้ังการอนุรักษส่ิงแวดลอมและการรักษาสาธารณสมบัติ
เมอ่ื เด็กมีโอกาสเรยี นรูแลวควรเกิดแนวคิด เชน
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ❖ ธรรมชาตริ อบตัวฉันมีท้งั ส่งิ มีชีวิตและสิง่ ไมม ชี ีวิต สง่ิ มชี ีวิตตองการอากาศ แสงแดด
น้ํา และอาหารเพ่ือเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตสามารถปรับตัวใหเขากับลักษณะลมฟาอากาศในแตละวันหรือฤดู
และยงั ตอ งพงึ่ พาอาศยั ซ่งึ กนั และกนั สาํ หรบั ส่ิงไมม ีชีวิต เชน น้าํ หนิ ดิน ทราย มีรูปราง รูปทรง ลักษณะ สตี า งๆ
และมีประโยชน
❖ ลักษณะลมฟาอากาศรอบตัวแตละวันอาจเหมือนหรือแตกตางกันได บางครั้ง
ฉันคาดคะเนลักษณะลมฟาอากาศไดจากสิ่งตางๆ รอบตัว เชน เมฆ ทองฟา ลม ในเวลากลางวันเปนชวงเวลา
ท่ีดวงอาทิตยข้ึนจนดวงอาทิตยตก คนสวนใหญจะต่ืนและทํางาน สวนฉันไปโรงเรียนหรือเลน เวลากลางคืน
เปนชวงเวลาที่ดวงอาทิตยตกจนดวงอาทิตยข้ึน ฉันและคนสวนใหญจะนอนพักผอนตอนกลางคืน กลางวัน
และกลางคืนมีลักษณะแตกตางกัน เชน ทองฟาในเวลากลางวันเปนสีฟา ในเวลากลางคืนเปนสีดํา กลางวัน
มีแสงสวา ง แตก ลางคืนมืด อากาศเวลากลางวันรอ นกวาเวลากลางคืน
❖ เม่ือฉันออกแรงกระทําตอ สงิ่ ของดวยวธิ ตี างๆ เชน ผลกั ดึง บบี ทุบ ตี เปา เขยา ดีด
สิ่งของจะมกี ารเปล่ียนแปลงรูปราง การเคล่ือนที่ และเกดิ เสยี งแบบตา งๆ
❖ แสงและไฟฟาไดมาจากแหลงพลังงาน เชน ดวงอาทิตย ลม นํ้า เชื้อเพลิง
แสงชวยใหเรามองเห็น เมื่อมีสิ่งตางๆ ไปบังแสงจะเกิดเงา ไฟฟาทําใหสิ่งของเครื่องใชบางอยางทํางานได
ชวยอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน การนําพลังงานมาใชทําใหแหลงพลังงานบางอยางมีปริมาณลดลง
เราจึงตอ งใชพลังงานอยา งประหยดั
❖ ส่ิงแวดลอมตามธรรมชาติรอบตัวฉัน เชน สัตว พืช นํ้า ดิน หิน ทราย สภาพของ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ลมฟาอากาศเปนส่ิงจําเปนสําหรับชีวิตตองไดรับการอนุรักษ สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางข้ึนรอบๆ ตัวฉัน เชน
ส่ิงของเคร่ืองใช บานอยูอาศัย ถนนหนทาง สวนสาธารณะ สถานที่ตางๆ เปนสิ่งที่ใชประโยชนรวมกัน 39
ทุกคนรวมท้งั ฉันชวยกนั อนรุ กั ษสิ่งแวดลอมและรักษาสาธารณสมบัตโิ ดยไมทําลายและบํารุงรกั ษาใหดขี ้ึนได
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒.๔ ส่ิงตางๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรูเกี่ยวกับการใชภาษาเพ่ือสื่อความหมาย
ในชีวิตประจําวัน ความรูพ้นื ฐานเกี่ยวกับการใชหนังสอื และตัวหนังสอื รูจ ักช่อื ลักษณะ สี ผวิ สมั ผัส ขนาด รูปราง
รปู ทรง ปริมาตร น้ําหนัก จํานวน สวนประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพนั ธข องสิง่ ตางๆ รอบตัว เวลา
เงิน ประโยชน การใชงาน และการเลอื กใชสงิ่ ของเครอ่ื งใช ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสาร
ตางๆ ที่ใชอ ยูในชีวติ ประจาํ วนั อยา งประหยดั ปลอดภยั และรักษาส่ิงแวดลอม ทั้งน้ี เมอ่ื เดก็ มโี อกาสเรยี นรแู ลว
เดก็ ควรเกิดแนวคดิ เชน
❖ ฉันใชภาษาทั้งฟง พูด อาน เขียน เพ่ือการสื่อความหมายในชีวิตประจําวัน
ฉันติดตอ สื่อสารกับบุคคลตางๆ ไดหลายวิธี เชน โดยการไปมาหาสู โทรศัพท จดหมาย หรือเคร่ืองมือที่ใช
ในการติดตอ ส่ือสารตา งๆ และฉันทราบขาวความเคลือ่ นไหวตางๆ รอบตวั ดว ยการสนทนา ฟงวทิ ยุ ดูโทรทศั น
และอานหนังสือ หนังสือเปนสื่อในการถายทอดความรู ความคิด ความรูสึกไปยังผูอาน ถาฉันชอบอานหนังสือ
ฉันก็จะมีความรูความคิดมากขึ้น ฉันสามารถรวบรวมขอมูลงายๆ นํามาถายทอดใหผูอ่ืนเขาใจได โดยนําเสนอ
ดว ยรปู ภาพ สญั ลกั ษณ แผนผงั ผังความคดิ แผนภูมิ
❖ สิ่งตางๆ รอบตวั ฉันสวนใหญมสี ี ยกเวนกระจกใส พลาสตกิ ใส สีมอี ยทู ุกหนทกุ แหง
ทฉี่ นั สามารถเห็นตามดอกไม เส้ือผา อาหาร รถยนต และอนื่ ๆ สีที่ฉันเห็นมีชอื่ เรียกตางๆ กัน เชน แดง เหลอื ง
น้าํ เงนิ สแี ตละสที ําใหเ กดิ ความรสู ึกตางกนั สีบางสสี ามารถใชเปนสญั ญาณหรอื สญั ลกั ษณสื่อสารกันได
❖ สิ่งตางๆ รอบตัวฉันมีช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปราง รูปทรง ปริมาตร
นํ้าหนัก และสวนประกอบตางๆ กัน สามารถจําแนกประเภทตามชนิด ขนาด สี พื้นผิว วัสดุ รูปราง รูปทรง
หรอื ประโยชนใ นการใชงาน
❖ ฉันสามารถสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆ รอบตัว เชน การเจริญเติบโต
ของมนษุ ย สตั ว หรอื พชื การเปลยี่ นแปลงของสภาพลมฟาอากาศ การเปลย่ี นแปลงของสงิ่ ตา งๆ จากการทดลอง
อยา งงา ยๆ หรอื การประกอบอาหาร และฉนั สามารถเห็นความสมั พนั ธข องส่งิ ตางๆ รอบตวั เชน การนําสิ่งตางๆ
มาใชประโยชน ความสัมพันธระหวางการกระทําบางอยางกับผลท่ีเกิดข้ึน เชน ถารับประทานอาหารแลว
ไมแ ปรงฟน ฟน จะผุ ถา ใสน าํ้ ตาลลงไปในนา้ํ แลว นา้ํ ตาลจะละลาย ถา ปลอ ยสง่ิ ของจากทส่ี งู แลว สง่ิ ของจะตกลงมา
❖ การนับส่ิงตางๆ ทําใหฉันรูจํานวนสิ่งของ และจํานวนนับนั้นเพ่ิมหรือลดได ฉันรูวา
สิ่งของแตล ะชิ้นนบั ไดเพยี งครัง้ เดียว ไมนับซาํ้ และเสยี งสุดทา ยทีน่ บั เปน ตัวบอกปริมาณ
❖ ฉันเปรียบเทียบและเรียงลําดับส่ิงของตางๆ ตามลักษณะ รูปราง รูปทรง จํานวน
ขนาด น้ําหนัก ปริมาตร ส่ิงที่ชวยฉันในการสังเกต เชน แวนขยาย สิ่งท่ีชวยในการช่ัง ตวง วัด มีหลายอยาง
เชน เคร่ืองชั่งสองแขนอยางงา ย ถว ย ชอ น เชอื ก วสั ดสุ ง่ิ ของอื่นๆ ทฉี่ นั อาจใชก ารคาดคะเนหรือกะประมาณ
❖ ฉนั ใชคาํ ทเ่ี กยี่ วกับเวลาในชีวิตประจําวนั เชน กลางวัน กลางคนื กอ น หลงั เชา บา ย
เย็น เมอื่ วานน้ี วนั น้ี พรุง นี้
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ❖ ฉันใชเงินเหรียญและธนบัตรในการซ้ือขนมและอาหาร ตัวเลขท่ีอยูบนเหรียญและ
ธนบัตรจะบอกคาของเงนิ
❖ ฉันใชตัวเลขในชีวิตประจําวัน เชน วันที่ ชั้นเรียน อายุ บานเลขที่ นาฬกา หรือ
เบอรโทรศัพท และใชตัวเลขในการบอกปริมาณของสิ่งตา งๆ และแสดงอนั ดับท่ี
❖ สงิ่ ของเครอื่ งใชม หี ลายชนดิ และหลายประเภท เชน เครอ่ื งใชใ นการทาํ สวนเพาะปลกู
การกอ สรา ง เครอ่ื งใชภ ายในบา น เราใชส ง่ิ ของเครอ่ื งใชต า งๆ ชว ยอาํ นวยความสะดวกในการทาํ งาน ขณะเดยี วกนั
ก็ตองระมัดระวังในการใชงาน เพราะอาจเกิดอันตรายและความเสียหายไดถาใชผิดวิธีหรือใชผิดประเภท
เมื่อใชแลวควรทําความสะอาดและเก็บเขาที่ใหเรียบรอย เราควรใชสิ่งของเคร่ืองใชอยางประหยัดและรักษา
สง่ิ แวดลอม
❖ ฉนั เดนิ ทางจากทหี่ นงึ่ ไปยงั ทหี่ นง่ึ ไดด ว ยการเดนิ หรอื ใชย านพาหนะ พาหนะบางอยา ง
ที่ฉันเห็นเคลื่อนท่ีไดโดยการใชเครื่องยนต ลม ไฟฟา หรือคนเปนผูทําใหเคล่ือนที่ คนเราเดินทางหรือขนสงได
ทั้งทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ พาหนะที่ใชเดินทาง เชน รถยนต รถเมล รถไฟ เคร่ืองบิน เรือ ผูขับขี่
จะตองไดรับใบอนุญาตขับขี่ และทําตามกฎจราจรเพ่ือความปลอดภัยของทุกคน และฉันตองเดินบนทางเทา
ขา มถนนตรงทางมา ลาย สะพานลอย หรือตรงทม่ี ีสญั ญาณไฟ เพอ่ื ความปลอดภยั และตอ งระมัดระวังเวลาขาม
40
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ตอนที่ ๒
การนาํ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
สูก ารปฏิบตั ิ
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป
หลกั การทสี่ าํ คญั คอื เดก็ ทกุ คนมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั การอบรมเลยี้ งดแู ละสง เสรมิ พฒั นาการ
ตามอนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ และไดร บั การจดั ประสบการณเ รยี นรตู ามลาํ ดบั ขนั้ ของ
พัฒนาการอยางเปนองครวม มีคุณภาพและเต็มศักยภาพ ดังนั้น สถานศึกษาหรือ
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทกุ แหง จงึ ตอ งจดั ทาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ทสี่ อดคลอ ง
กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ภายใตบริบทและสภาพ
ความตองการของชุมชน โดยความรวมมือของผูเก่ียวของทุกฝาย เพ่ือใหหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวัยมีความเหมาะสม เปนไปได นําไปสูการปฏิบัติในการจัด
ประสบการณในหอ งเรยี นอยา งมีคณุ ภาพ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทที่ ๓
การจัดทาํ หลักสตู รสถานศึกษา
สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแตละแหง ตองจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ทส่ี อดคลองกบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เพ่อื ใหเดก็ ไดรบั การพัฒนา บรรลุตามมาตรฐาน
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตัวบงช้ี และสภาพที่พึงประสงคตามที่หลักสูตรกําหนด โดยสถานศึกษาหรือ
สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สามารถออกแบบการจดั ประสบการณไ ดห ลากหลาย ตามแนวคดิ ทฤษฎตี า งๆ ทเี่ กยี่ วขอ ง
กับการศึกษาปฐมวัย โดยตองคํานึงถึงความสอดคลองตามหลักการในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
42 ๒๕๖๐ ซ่ึงมแี นวทางการจดั ทําหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ตามแผนภาพ ดงั น้ี
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
แผนภาพแสดงขั้นตอนการจดั ทําหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย
หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช ....
หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ๑. สรางความเขาใจ คมู อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ในหลกั สูตรฯ และคูม ือฯ พุทธศักราช ๒๕๖๐
ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั
วิสยั ทศั น ๒. ศึกษาสภาพปจจบุ ัน
หลกั การ ปญ หา และความตองการ
จุดหมาย ในสถานศกึ ษาของตน
มาตรฐานคุณลกั ษณะ
ที่พึงประสงค ๓. จัดทําหลกั สูตรสถานศกึ ษา องคป ระกอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ตวั บง ชี้ ปฐมวัย ๑. ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ของ
สภาพทพ่ี งึ ประสงค 43
การจดั เวลาเรียน ๔. ประเมินตรวจสอบคณุ ภาพ สถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรู หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ๒. วิสัยทัศน ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ประสบการณส าํ คัญ ๕. ขออนุมัตกิ ารใช เปาหมาย
สาระท่ีควรเรยี นรู หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ๓. จดุ หมาย
๔. มาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค
การจัดประสบการณ ๖. ประกาศใชห ลกั สตู ร ๕. การจัดเวลาเรยี น
การประเมนิ พฒั นาการ สถานศกึ ษาปฐมวยั ๖. สาระการเรยี นรูรายป
๗. นําหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๗. การจัดประสบการณ
๘. การจดั สภาพแวดลอม ส่ือ และ
ปฐมวัยไปใช
แหลงเรียนรู
๙. การประเมินพัฒนาการ
๑๐. การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวัย
๑๑. การเช่ือมตอของการศกึ ษา
ระดับปฐมวยั กบั ระดบั ชัน้
ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑
๑๒. ภาคผนวก
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ขน้ั ตอนการจดั ทําหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั จะตอ งสนองตอ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ และปรบั เปลย่ี น
ใหส อดคลองกับธรรมชาตแิ ละการเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวัย การจัดทําหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ควรดาํ เนินการ
ตามขน้ั ตอน ดังน้ี
๑. สรางความเขาใจในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคูมือหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ใหแกบุคลากรท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงประกอบดวย คณะกรรมการสถานศึกษา
ผูบริหาร ครูผูสอน ผูปกครอง ชุมชน โดยประชุมช้ีแจงเพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ท้ังนี้ เพ่ือใหเห็นความสําคัญ
ความจําเปนท่ตี องรว มมือกนั จดั ทําและบริหารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา
๒. ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการ โดยการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานเก่ียวกับ
สภาพตัวเด็ก ครอบครัว ความตองการ ปญหา จุดเดน จุดดอย ตลอดจนนโยบาย จุดเนน วิสัยทัศน
อัตลักษณและเอกลักษณของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยดวยวิธีการตางๆ เชน จัดประชุมหรือ
ศกึ ษาเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ ง ไดแ ก แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาหรอื แผนกลยทุ ธข องสถานศกึ ษา ขอ มลู สารสนเทศ
เกย่ี วกับเด็ก ผปู กครอง และชุมชน ฯลฯ
๓. จดั ทําหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั โดยมีขอเสนอแนะเปน แนวทางการจดั ทํา ดังน้ี
๓.๑ แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ประกอบดวย คณะบุคคล
44 ดงั ตัวอยางตอไปน้ี ๓.๑.๑ คณะกรรมการท่ีปรึกษา ไดแก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ศกึ ษานเิ ทศกท ี่รบั ผดิ ชอบงานปฐมวยั ผูทรงคณุ วฒุ ิ หรืออนื่ ๆ ตามความเหมาะสม
๓.๑.๒ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา
หวั หนา งานปฐมวยั ครผู สู อนปฐมวยั ตวั แทนครชู นั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ตวั แทนผปู กครอง ตวั แทนชมุ ชน หรอื อน่ื ๆ
ตามความเหมาะสม
๓.๒ คณะกรรมการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ศึกษาทําความเขาใจเอกสาร
ท่ีเก่ียวของตางๆ ไดแก หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารอน่ื ๆ ท่เี กยี่ วของ รวบรวมขอมลู พื้นฐาน สภาพปจจุบนั ความตองการของชุมชน
และทองถ่ิน ตลอดจนนโยบาย จุดเนน วิสัยทัศน อัตลักษณและเอกลักษณของสถานศึกษา ตามแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
๓.๓ ดําเนินการจดั ทําหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย ตามองคประกอบดังนี้
๓.๓.๑ ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา
๓.๓.๒ วสิ ัยทัศน ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ เปา หมาย
๓.๓.๓ จดุ หมาย
๓.๓.๔ มาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค
๓.๓.๕ การจัดเวลาเรียน
๓.๓.๖ สาระการเรยี นรรู ายป