The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2020-04-18 02:00:14

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

๔. กราฟแสดงผลน้ําหนกั และสว นสงู แยกเดก็ ชายและเด็กหญงิ

195
คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 196 สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

๕. ผลการประเมินพฒั นาการเดก็
ตวั อยา งผลการประเมนิ พัฒนาการเด็ก ชน้ั อนุบาลศึกษาปท ี่ ๓ (๕ ป)

พัฒนาการ ผลการประเมนิ ภาคเรียนที่ ๑ สรปุ ภาคเรียนท่ี ๒ สรปุ
๓ ๒ ๑ พัฒนาการ ๓ ๒ ๑ พัฒนาการ

ดา นรางกาย

มฐ.๑ รา งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมสี ขุ นิสัยที่ดี ๒ ๓
๑.๑ นํ้าหนักและสวนสูงตามเกณฑ ✓✓
๑.๒ มสี ุขภาพอนามยั สขุ นิสยั ทีด่ ี
๑.๓ รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน ✓✓

✓✓

มฐ.๒ กลามเนอ้ื ใหญและกลา มเน้อื เล็กแขง็ แรง ๒๓
ใชไดอ ยา งคลอ งแคลว และประสานสัมพนั ธกัน

๒.๑ เคลือ่ นไหวรา งกายอยา งคลองแคลว ประสานสมั พนั ธ ✓ ✓ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
และทรงตัวได

๒.๒ ใชมอื - ตาประสานสัมพนั ธก ัน ✓ ✓

ดา นอารมณ จติ ใจ

มฐ.๓ มสี ุขภาพจติ ดแี ละมีความสขุ ๒ ๓
๓.๑ แสดงออกทางอารมณไ ดอยางเหมาะสม ✓✓

๓.๒ มคี วามรสู ึกที่ดตี อ ตนเองและผอู ืน่ ✓✓ 197

มฐ.๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และ ๓ ๓ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
การเคล่ือนไหว ✓
๔.๑ สนใจ มีความสุข และแสดงออกผา นงานศลิ ปะ ดนตรี ✓
และการเคลอ่ื นไหว

ดา นสังคม

มฐ.๕ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจท่ดี ีงาม ๒ ๓
๕.๑ ซอ่ื สัตยสจุ ริต ✓
๕.๒ มีความเมตตากรุณา มีนา้ํ ใจและชวยเหลือแบง ปน ✓
๕.๓ มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผูอื่น ✓ ✓
๕.๔ มีความรับผิดชอบ ✓
✓ ✓



มฐ.๖ มที กั ษะชีวิตและปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของ ๒ ๒
เศรษฐกิจพอเพียง
๖.๑ ชว ยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกจิ วตั รประจาํ วัน ✓ ✓
๖.๒ มวี ินัยในตนเอง ✓ ✓
๖.๓ ประหยดั และพอเพียง ✓


พัฒนาการ ผลการประเมิน ภาคเรียนท่ี ๑ สรปุ ภาคเรียนที่ ๒ สรปุ
๓ ๒ ๑ พัฒนาการ ๓ ๒ ๑ พฒั นาการ

มฐ.๗ รกั ธรรมชาติ สิง่ แวดลอม วัฒนธรรม และ ๒ ๓
ความเปนไทย ๓

๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ✓ ✓

๗.๒ มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย และรกั ความเปนไทย ✓

มฐ.๘ อยรู ว มกบั ผอู ่ืนไดอยา งมีความสุขและปฏบิ ตั ติ น ✓
เปน สมาชิกที่ดีของสงั คม ในระบอบประชาธิปไตย ✓
อันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ

๘.๑ ยอมรับความเหมอื นและความแตกตา งระหวา งบคุ คล ✓

๘.๒ มปี ฏิสมั พันธท ดี่ กี บั ผอู ่นื ✓

๘.๓ ปฏิบัติตนเบอื้ งตนในการเปนสมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คม ✓

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ดา นสตปิ ญญา ๒ ๓
มฐ.๙ ใชภาษาส่อื สารไดเ หมาะสมกบั วยั ✓✓
๙.๑ สนทนาโตต อบและเลาเร่อื งใหผ ูอ ื่นเขาใจ
๙.๒ อาน เขยี นภาพและสัญลักษณได ✓✓

มฐ.๑๐ มคี วามสามารถในการคิดทเ่ี ปนพนื้ ฐาน ๒ ๒
ในการเรยี นรู ๓
198 ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิดรวบยอด ✓ ✓
✓ ✓
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิดเชงิ เหตผุ ล ✓ ✓

๑๐.๓ มีความสามารถในการคดิ แกป ญหาและตัดสินใจ ✓ ✓
✓ ✓
มฐ.๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค

๑๑.๑ ทํางานศิลปะตามจนิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค

๑๑.๒ แสดงทา ทาง/เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการ
อยา งสรางสรรค

มฐ.๑๒ มเี จตคตทิ ีด่ ตี อ การเรยี นรู และมคี วามสามารถ ๓ ๓
ในการแสวงหาความรูไดเหมาะสมกบั วัย
๑๒.๑ มเี จตคติทด่ี ตี อการเรียนรู ✓ ✓
๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู ✓ ✓

๖. ความคิดเหน็ ของครปู ระจาํ ชั้นและผูปกครอง

ความคิดเหน็ ของครูประจาํ ชัน้ และผปู กครอง
ภาคเรียนท่ี ๑ ……………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………...…………
(........................................................) (.............................................................)
ผูอํานวยการโรงเรียน…………………….……..… ครปู ระจาํ ชั้น..................................................
วนั ที.่ .......เดือน.......................พ.ศ. ............. วันที.่ .......เดอื น.......................พ.ศ. .............

ภาคเรยี นท่ี ๑ ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………… ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

ลงชือ่ ………………………………………….ผปู กครอง 199
(................................................)

วันท.่ี .......เดือน.......................พ.ศ. .............

ความคิดเห็นของครูประจําชน้ั และผูป กครอง คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ภาคเรียนที่ ๒ ……………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ …………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………...…………
(........................................................) (.............................................................)

ผอู าํ นวยการโรงเรยี น…………………….……..… ครปู ระจําช้ัน..................................................
วันที.่ .......เดือน.......................พ.ศ. ............. วันท.่ี .......เดอื น.......................พ.ศ. .............

ภาคเรียนท่ี ๒ ……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ………………………………………….ผูปกครอง
(................................................)

วันท่.ี .......เดือน.......................พ.ศ. .............

๗. การสรุปผลพัฒนาการเดก็
สรปุ ผลพัฒนาการเด็ก ปก ารศึกษา....................

พฒั นาการ ระดับคุณภาพ หมายเหตุ
๓๒๑
ดานรา งกาย
ดานอารมณ จิตใจ
ดานสังคม
ดานสติปญญา

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปพฤตกิ รรม/ความสามารถ.................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

พฤตกิ รรมทค่ี วรสง เสรมิ ...................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ขอ เสนอแนะ....................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

200

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ลงช่อื ........................................................................
ครปู ระจาํ ชนั้ .....................................................

วนั ท.่ี .........เดอื น................................พ.ศ. ...............

ลงชือ่ ........................................................................
ผูอาํ นวยการโรงเรยี น........................................

วันท.ี่ .........เดอื น................................พ.ศ. ...............

นยิ ามคําศพั ทห ลักสตู รการศึกษาปฐมวยั
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

นยิ ามคาํ ศพั ทห ลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

คําศัพท ความหมาย

หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย หลกั สตู รทใี่ ชใ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั อายแุ รกเกดิ ถงึ ๖ ปบ รบิ รู ณ
โดยมุงหวังพัฒนาเด็กท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา
ตามท่ีกาํ หนดไวใ นมาตรฐานคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค และถือเปนกรอบทิศทาง
หรือแนวปฏิบัติสําหรับสถานศึกษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และหนวยงาน
ทีเ่ กีย่ วของใชใ นการจดั การศกึ ษาปฐมวัย

หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย หลักสูตรที่เกิดจากการท่ีสถานศึกษานําสภาพตางๆ ที่เปนปญหา จุดเดน/
เอกลกั ษณข องชมุ ชน สังคม ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญ ญาทอ งถนิ่ และคุณลกั ษณะ
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ที่พึงประสงคเพ่ือการเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ มากาํ หนดเปน ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั วสิ ยั ทศั น ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ
เพื่อนําไปออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาอยางมีคุณภาพ โดยความรวมมือ
ของทุกคนในสถานศึกษาและชุมชนสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีการระดมทรัพยากรทั้งของสถานศึกษาและชุมชนมาใช
อยา งคุม คา และใชศ ักยภาพทม่ี อี ยอู ยางเตม็ ที่

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย เปน อุดมการณ ความเชื่อ ความศรัทธาในความคดิ ทางการศึกษาปฐมวยั ท่ที าํ ให
สถานศกึ ษาและสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั จดั การศึกษาใหส อดคลองกบั ความคดิ นัน้ ๆ

202 วิสยั ทัศน คําอธิบายเก่ียวกับความคาดหวังท่ีเปนไปไดของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนา
เดก็ ปฐมวยั กาํ หนด เพอื่ เปน ทศิ ทางในการวางแผนจดั การศกึ ษาปฐมวยั ออกแบบ
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ หลักสูตรการจัดประสบการณ และการดําเนินงานในการพัฒนาคุณภาพ
เด็กปฐมวยั ทีส่ ามารถนําไปสูการปฏบิ ตั ิไดตามเวลาทก่ี ําหนด

มาตรฐานคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค คุณภาพที่ตองการใหเกิดขึ้นในตัวเด็กทั้งดานความดี มีปญญา และการอยูรวมกับ
ผูอื่นไดอยางมีความสุข เมื่อจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ในแตล ะระดบั อายุ คือ อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป และอายุ ๕ - ๖ ป

ตัวบงช้ี เปาหมายในการพัฒนาเด็กที่มีความสัมพันธสอดคลองกับมาตรฐานคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค เปนเกณฑสําคัญสําหรับการประเมินพัฒนาการเพ่ือตรวจสอบ
คุณภาพผูเรยี น

สภาพทพ่ี ึงประสงค พฤตกิ รรมหรอื ความสามารถตามวัยท่คี าดหวังใหเ ดก็ เกดิ บนพื้นฐานพัฒนาการ
ตามวยั หรือความสามารถในแตละระดับอายุ

เดก็ ปฐมวยั เด็กซึ่งมีอายุต่ํากวา ๖ ปบริบูรณ และใหหมายความรวมถึงเด็กซ่ึงตองไดรับ
การพัฒนากอนเขารับการศึกษาในระดับประถมศึกษา สําหรับในเอกสาร
คูม อื ฉบบั น้หี มายถึงเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

สถานศกึ ษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรยี น วิทยาลยั สถาบัน มหาวิทยาลัย
หนว ยงานการศกึ ษา หรอื หนวยงานอืน่ ของรฐั หรอื ของเอกชน ที่มอี ํานาจหนาที่
หรือมวี ตั ถปุ ระสงคใ นการจดั การศกึ ษา

นยิ ามคาํ ศพั ทหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ (ตอ )

คําศัพท ความหมาย
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ศนู ยเ ดก็ เลก็ ศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ ศนู ยบ รกิ ารชว ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ ของเดก็ พกิ าร
และเด็กซึ่งมีความตองการพิเศษ สถานรับเล้ียงเด็กและสถานสงเคราะหตาม
กฎหมายวาดวย การคุมครองเด็กซึ่งมีเด็กปฐมวัยอยูในความคุมครองดูแลหรือ
สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยท่เี รียกชอื่ อยา งอื่น รวมท้งั โรงเรียน หนว ยงานการศึกษา
หรอื หนว ยงานอนื่ ของรฐั หรอื เอกชน หรอื สถาบนั ศาสนาทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคใ นการจดั
การศึกษาใหแ กเ ด็กปฐมวัย

การศึกษาสําหรับกลุมเปา หมาย การศึกษาท่ีจัดขึ้นสําหรับเด็กท่ีเปนกลุมเปาหมายเฉพาะ ไดแก การศึกษา
เฉพาะ ทางดา นศาสนา ดนตรี นาฏศิลป กฬี า การศกึ ษาสง เสรมิ ความเปน เลศิ ดานตางๆ
หรือการศึกษาสําหรับผูพิการ ดอยโอกาส ผูบกพรองดานตางๆ และรวมทั้ง
การศกึ ษาทางเลอื กทจี่ ดั โดยครอบครวั และองคก รตา งๆ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มงุ สง เสรมิ ใหเ ดก็ ทเ่ี ปน กลมุ เปา หมายเฉพาะนี้ ไดร บั การศกึ ษา
ปฐมวยั อยา งเสมอภาพ และมคี ณุ ภาพ

การประเมนิ จากสภาพจริง กระบวนการสังเกต การบันทึกและการรวบรวมขอมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม 203
สารนทิ ัศน ประจําวันตามสภาพความเปนจรงิ
ขอมูลหลักฐานหรือรองรอยพัฒนาการและการเรียนรูของเด็กปฐมวัย ท้ังนี้ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
บรู ณาการ การจดั ทาํ สารนทิ ศั น เปน การจดั ทาํ ขอ มลู ทจี่ ะเปน หลกั ฐาน แสดงใหเ หน็ รอ งรอย
ประสบการณสําคัญ ของการเจรญิ เตบิ โต พัฒนาการ และการเรยี นรูข องเดก็ ปฐมวัย
รูปแบบการจัดกิจกรรมหน่ึงกิจกรรมที่เด็กเรียนรูไดหลายทักษะและ
หลายประสบการณสาํ คัญ หรอื หน่ึงแนวคิดที่เด็กเรยี นรไู ดหลายกิจกรรม
ชวยอธิบายใหผูสอนเขาใจวาเด็กปฐมวัยตองทําอะไร เรียนรูส่ิงตางๆ รอบตัว
อยางไร ชวยแนะผูสอนในการสังเกต สนับสนุน และวางแผนการจัดกิจกรรม
ใหเด็กไดเรียนรู ลงมือปฏิบัติ ซึ่งสงผลใหเด็กเกิดความรูหรือทักษะที่สงเสริม
พฒั นาการดา นรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญ ญา

พัฒนาการ การเปล่ยี นแปลงดา นการทําหนาที่และวฒุ ภิ าวะของอวัยวะและระบบตางๆ รวมท้ัง
๒ ตัว ทําใหสามารถทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําส่ิงที่ยากสลับซับซอน
มากขึ้น รวมถึงการเพม่ิ ทักษะใหมๆ และความสามารถดา นการปรบั ตวั ใหเขา กบั
สภาพแวดลอ มทเ่ี ปนตวั บุคคลและสภาพแวดลอ มทางกายภาพในบริบทตา งๆ

พัฒนาเดก็ โดยองครวม การพัฒนาเด็กอยางสมดุลทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และ
สติปญ ญา

พัฒนาการดานรา งกาย ความสามารถของรางกาย ในการทรงตัวในอิริยาบถตางๆ การเคล่ือนไหว
การเคล่ือนท่ีโดยการใชกลามเน้ือใหญ เชน การนั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด
การใชประสาทสัมผัสรับรู และการใชตาและมือประสานกันในการทํากิจกรรมตางๆ
เชน การหยบิ การจบั ของ การขดี เขียน การปน การประดษิ ฐ เปนตน ขอบขาย
พัฒนาการดานรางกายในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ประกอบดว ย นา้ํ หนักและสวนสงู ตามเกณฑ มสี ขุ ภาพอนามยั สุขนิสัยทีด่ ี รกั ษา
ความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน การเคลื่อนไหวรางกายอยางคลองแคลว
ประสานสัมพนั ธ และการทรงตวั ได ใชมอื กับตาประสานสมั พนั ธ

นิยามคาํ ศพั ทห ลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ตอ )

คําศพั ท ความหมาย
พัฒนาการดา นอารมณ จิตใจ ความสามารถในการรูสึกและแสดงความรูสึก เชน ดีใจ เสียใจ รัก ชอบ โกรธ
เกลยี ด กลวั และเปน สขุ ความสามารถในการแยกแยะและควบคมุ การแสดงออก
ของอารมณอยางเหมาะสมเมื่อเผชิญกับสถานการณตางๆ ตลอดจนการ
สรางความรูสึกท่ีดีตอตนเองและผูอ่ืน ขอบขายพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ
ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบดวย การแสดงออก
ทางอารมณไ ดเ หมาะสม มคี วามรสู กึ ทดี่ ตี อ ตนเองและผอู น่ื สนใจมคี วามสขุ และ
แสดงออกผา นงานศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ซื่อสัตยสจุ ริต เมตตากรณุ า
มีน้าํ ใจ ชวยเหลอื แบงปน มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผูอืน่ และมีความรบั ผิดชอบ

พฒั นาการดา นสงั คมํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ความสามารถในการสรางสมั พนั ธภาพกับผอู นื่ มีทักษะการปรบั ตัวในสังคม คอื
สามารถทาํ หนา ท่ีตามบทบาทของตน รวมมอื กบั ผอู ่นื มคี วามรับผิดชอบ ความ
204 เปนตัวของตัวเอง และรูกาลเทศะ สําหรับเด็กหมายความรวมถึงความสามารถ
ในการชวยเหลือตัวเองในชีวิตประจําวัน นอกจากนั้นพัฒนาการดานสังคม
คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ยงั เกย่ี วขอ งกบั พฒั นาการดา นจติ วญิ ญาณ คณุ ธรรม และเกย่ี วขอ งกบั พฒั นาการ
ดานสติปญญา ทําใหรูจักแยกแยะความรูสึกผิดชอบช่ัวดี และความสามารถ
ในการเลือกดํารงชีวิตในทางสรางสรรค เปนประโยชนตอสังคมสวนรวมอีกดวย
ขอบขายพฒั นาการดานสังคมในหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
ประกอบดวย การชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน มีวินัย
ในตนเอง ประหยัดและพอเพียง ดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม มมี ารยาท
ตามวฒั นธรรมไทยและรกั ความเปน ไทย ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา ง
ระหวางบุคคล มปี ฏสิ มั พนั ธท ด่ี ีกับผูอ ืน่ และปฏิบตั ิตนในการเปน สมาชิกทดี่ ีของ
สังคม

พัฒนาการดานสติปญ ญา ความสามารถในการเรียนรูความสัมพันธระหวางส่ิงตางๆ กับตนเอง การรับรู
การสังเกต จําแนก เปรียบเทียบ จดจํา วิเคราะห การรูคิด รูเหตุผล และ
ความสามารถในการสบื คน แกป ญ หา ตลอดจนการสงั เคราะห ซง่ึ เปน ความสามารถ
เชิงสติปญญาในระดับสูง ซ่ึงแสดงออกดวยการใชภาษาสื่อความหมายและ
การกระทํา ขอบขายพัฒนาการดานสติปญญาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบดวย สนทนาโตตอบและเลาเร่ืองใหผูอื่นเขาใจ
อานเขียนภาพและสัญลักษณได มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิด
เชิงเหตุผล การคิดแกป ญ หา และตัดสนิ ใจ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรางสรรค
มีเจตคตทิ ่ดี ตี อ การเรยี นรูและมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู

คําส่งั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
ท่ี ๖๑/๒๕๖๑

เรอื่ ง แตง ตงั้ คณะทํางานจัดทําคูม อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั และชดุ ฝกอบรมหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย

-----------------------

ดวยกระทรวงศึกษาธิการไดมีคําส่ังที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ เรื่อง ใหใชหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ โดยใหส ถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทกุ สงั กดั นาํ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช

๒๕๖๐ ไปใชแ ละปรับปรุงใหเหมาะสมกับเด็กและสภาพทองถิ่น ต้งั แตปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน ตน ไป ดงั นน้ั เพอื่ ให

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั สามารถนาํ ไปสกู ารใชไ ดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ จาํ เปน ตอ งจดั ทาํ คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

และชุดฝกอบรมหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย และเพ่อื ใหก ารดาํ เนินการเปนไปดว ยความเรยี บรอ ย จึงเหน็ สมควรแตงตัง้

คณะทํางานจัดทําคูม อื หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและชดุ ฝกอบรมหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย ดังน้ี

คณะทาํ งาน

๑. นางสุกญั ญา งามบรรจง ทปี่ รกึ ษาดา นพฒั นากระบวนการเรียนรู ประธาน 205

๒. นางวาทินี ธีระตระกลู ขา ราชการบาํ นาญ รองประธาน

๓. นางสาวนิจสดุ า อภินนั ทาภรณ ผอู าํ นวยการสาํ นักวิชาการ รองประธาน คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

และมาตรฐานการศึกษา

๔. รองศาสตราจารยพ ชั รี ผลโยธนิ ขาราชการบาํ นาญ คณะทาํ งาน

๕. นางสาววรนาท รักสกลุ ไทย ผอู าํ นวยการโรงเรยี นเกษมพทิ ยา คณะทํางาน

๖. นางเอมอร รสเครือ ขาราชการบาํ นาญ คณะทาํ งาน

๗. นางสาวแนง นอย แจง ศิริกลุ ขา ราชการบาํ นาญ คณะทํางาน

๘. นางรุง รวี กนกวิบูลยศรี ขาราชการบาํ นาญ คณะทาํ งาน

๙. นายอารมณ วงศบณั ฑติ ขา ราชการบํานาญ คณะทาํ งาน

๑๐. นางสาวดารารัตน อุทยั พยัคฆ ขา ราชการบาํ นาญ คณะทํางาน

๑๑. นางเกสร สมรรคเสวี ขา ราชการบํานาญ คณะทาํ งาน

๑๒. นางวิภา ตณั ฑลุ พงษ ขาราชการบํานาญ คณะทาํ งาน

๑๓. นางทรงพร พนมวนั ณ อยธุ ยา ขาราชการบาํ นาญ คณะทาํ งาน

๑๔. ผูช วยศาสตราจารยอไุ รวรรณ มเี พียร ขา ราชการบํานาญ คณะทํางาน

๑๕. ผชู วยศาสตราจารยข วัญฟา รงั สิยานนท มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ คณะทาํ งาน

๑๖. ผูชว ยศาสตราจารยอ รพรรณ บุตรกตญั ู มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร คณะทํางาน

๑๗. นางปนัฐษรณ จารชุ ัยนวิ ฒั น จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั คณะทํางาน

๑๘. นางประภาศรี นันทน ฤมติ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั คณะทํางาน

๑๙. นางสาวจนิ ตนา สุขสําราญ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม คณะทํางาน

๒๐. นางสาวสุภทั รา คงเรือง มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา คณะทาํ งาน

๒๑. นางอรทัย เลาอลงกรณ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลําปาง คณะทํางาน

๒๒. นางสาวสทุ ธาภา โชติประดษิ ฐ มหาวทิ ยาลัยบูรพา คณะทาํ งาน

๒๓. นางสาวชนาสร น่ิมนวล มหาวทิ ยาลัยบูรพา คณะทาํ งาน

๒๔. นางปย ะธดิ า เกษสวุ รรณ สาํ นักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร คณะทาํ งาน

๒๕. นางสาวลักคะณา เสโนฤทธิ์ สํานกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร คณะทํางาน

๒๖. นางสาวเทพกญั ญา พรหมขัติแกว สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะทาํ งาน

๒๗. นางสุรัสวดี จันทรกุล สํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ คณะทํางาน

๒๘. นางนฤมล จันทรฉาย สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๒ คณะทํางาน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๒๙. นางปฤษณา ดาํ รงชีพ สํานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต ๒ คณะทํางาน

๓๐. นายบรรพต ขนั คาํ สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต ๑ คณะทาํ งาน

๓๑. นางหริญญา รุงแจง สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาประจวบคีรีขันธ เขต ๑ คณะทํางาน

๓๒. นางสาวธิตมิ า เรอื งสกุล สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต ๒ คณะทาํ งาน

๓๓. นายชยั วฒุ ิ สนิ ธุวงศานนท สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต ๑ คณะทาํ งาน
206 ๓๔. นางสาวสวุ รรณยี  ศริ ิสมฤทัย สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพจิ ติ ร เขต ๒ คณะทาํ งาน

คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๓๕. นางสุนทิ รา พรมมล สาํ นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม เขต ๔ คณะทํางาน

๓๖. นายสมบตั ิ เนตรสวา ง สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสระบรุ ี เขต ๑ คณะทาํ งาน

๓๗. นางสาวสุนนั ทา ยอดรกั สาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษารอยเอ็ด เขต ๒ คณะทํางาน

๓๘. นางสาวนฤมล เนียมหอม สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร คณะทาํ งาน

๓๙. นางปทมา พงั เครือ สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร คณะทาํ งาน

๔๐. นายบญุ เลศิ คอนสะอาด สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต ๑ คณะทํางาน

๔๑. นางสุพร โขขดั สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๑ คณะทาํ งาน

๔๒. นางสาวอทุ ัย ธารมรรค สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๑ คณะทาํ งาน

๔๓. นางจุฬาลกั ษณ พงษส งั ข สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา คณะทาํ งาน

พระนครศรีอยธุ ยา เขต ๒

๔๔. นางนทิ รา ชอ สูงเนนิ สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑ คณะทํางาน

๔๕. นางสาวจีเรยี ง บญุ สม สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ คณะทํางาน

๔๖. นางสาวภิญญาพชั ญ เชอ้ื จันทรย อด หนว ยศกึ ษานเิ ทศก คณะทาํ งาน

สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

๔๗. นางสาวรตั นา แสงบัวเผื่อน สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา คณะทาํ งาน

สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และเลขานุการ

๔๘. นางภาวิณี แสนทวสี ขุ สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทํางาน

สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และผชู ว ยเลขานกุ าร

๔๙. นางกนั ยา แสนวงษ สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะทาํ งาน

สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และผชู วยเลขานกุ าร

อํานาจหนา ท่ี

๑. กําหนดแนวทางและพิจารณาดําเนินการจัดทําคูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและชุดฝกอบรม

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย

๒. ใหข อ คดิ เหน็ ขอ เสนอแนะ และสนบั สนนุ การจดั ทาํ คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั และชดุ ฝก อบรม

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย

๓. ดาํ เนินการอน่ื ใดตามท่เี ห็นสมควร

ทัง้ นี้ ตั้งแตบ ดั นีเ้ ปน ตนไป ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

สั่ง ณ วนั ท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑

207

(นายบุญรักษ ยอดเพชร) คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

คณะผจู ดั ทาํ

ที่ปรึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
๑. นายบุญรักษ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ผอู ํานวยการสํานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๒. นางสกุ ัญญา งามบรรจง

๓. นางสาวนจิ สดุ า อภนิ นั ทาภรณ

บรรณาธกิ ารกิจขั้นตน

๑. นางวาทินี ธีระตระกลู ขา ราชการบํานาญ

๒. นายอารมณ วงศบัณฑิต ขา ราชการบํานาญ

๓. นางเอมอร รสเครอื ขา ราชการบํานาญ

๔. นางวภิ า ตัณฑลุ พงษ ขา ราชการบาํ นาญ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๕. นางสาวดารารตั น อทุ ัยพยคั ฆ ขา ราชการบาํ นาญ

๖. นางเกสร สมรรคเสวี ขา ราชการบาํ นาญ

๗. ผชู ว ยศาสตราจารยอ ไุ รวรรณ มเี พียร ขาราชการบาํ นาญ

๘. นางทรงพร พนมวัน ณ อยุธยา ขาราชการบํานาญ

๙. ผชู ว ยศาสตราจารยอ รพรรณ บตุ รกตญั ู คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร
208 ๑๐. ผชู ว ยศาสตราจารยข วญั ฟา รงั สยิ านนท คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสิต

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑๑. นางปนัฐษรณ จารชุ ัยนิวัฒน คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั

๑๒. นางสาวสุทธาภา โชติประดิษฐ คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั บรู พา

๑๓. นางสาวสภุ ัทรา คงเรอื ง คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา

๑๔. นางสาวเทพกัญญา พรหมขตั แิ กว สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

๑๕. นางหรญิ ญา รุงแจง สํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาประจวบครี ขี ันธ เขต ๑

๑๖. นางสุรัสวดี จนั ทรกลุ สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑

๑๗. นางนฤมล จนั ทรฉาย สาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต ๒

๑๘. นางปฤษณา ดํารงชพี สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพะเยา เขต ๒

๑๙. นายบรรพต ขันคาํ สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต ๑

๒๐. นางสาวธติ ิมา เรอื งสกลุ สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต ๒

๒๑. นายชัยวฒุ ิ สินธุวงศานนท สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต ๑

๒๒. นางสุวรรณยี  ศริ ิสมฤทยั สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพิจิตร เขต ๒

๒๓. นางสนุ ิทรา พรมมล สํานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม เขต ๔

๒๔. นายสมบัติ เนตรสวาง สํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสระบุรี เขต ๑

๒๕. นางสาวสนุ นั ทา ยอดรัก สํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษารอยเอด็ เขต ๒

๒๖. นายบุญเลศิ คอ นสะอาด โรงเรียนอนุบาลวดั ปตลุ าธริ าชรงั สฤษฎิ์

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา เขต ๑

๒๗. นางสาวนฤมล เนยี มหอม โรงเรียนทงุ มหาเมฆ

๒๘. นางปท มา พังเครอื สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร

๒๙. นางสุพร โขขัด โรงเรยี นทุง มหาเมฆ

๓๐. นางสาวอทุ ัย ธารมรรค สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร

๓๑. นางจฬุ าลักษณ พงษสังข โรงเรยี นอนบุ าลตรัง

๓๒. นางนิทรา ชอสูงเนนิ สํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๑

๓๓. นางสาวจเี รียง บญุ สม โรงเรียนอนุบาลราชบรุ ี

๓๔. นางสาวภญิ ญาพัชญ เช้ือจันทรยอด สาํ นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๑

๓๕. นางภาวณิ ี แสนทวีสขุ โรงเรียนวัดไมต ราสมาชิการาม
๓๖. นางกันยา แสนวงษ
บรรณาธิการกจิ สดุ ทาย สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา เขต ๒
๑. นางวาทนิ ี ธีระตระกลู
๒. นางเอมอร รสเครอื โรงเรียนอนบุ าลอดุ รธานี
๓. นายอารมณ วงศบ ณั ฑติ
๔. นางวภิ า ตัณฑุลพงษ สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต ๑
๕. นางสาวแนงนอย แจงศริ กิ ุล
๖. นางสาวสทุ ธาภา โชตปิ ระดษิ ฐ โรงเรียนบา นทงุ มะขามเฒา
๗. นางสาวเทพกัญญา พรหมขตั แิ กว
๘. นางสาวนฤมล เนียมหอม สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๑ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

๙. นางภาวณิ ี แสนทวีสุข หนวยศึกษานเิ ทศก
๑๐ . นางกนั ยา แสนวงษ
จัดพมิ พ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

นางสาวปาณิตา วัฒนพานชิ สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา 209

ขาราชการบํานาญ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ขาราชการบํานาญ
ขา ราชการบํานาญ
ขาราชการบาํ นาญ
ขา ราชการบํานาญ
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบรู พา
สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
โรงเรยี นทุงมหาเมฆ
สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สาํ นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา

วิสัยทศั น
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

“มงุ พฒั นาเดก็ ทกุ คนใหไ ดร บั การพฒั นาดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม

และสติปัญญา อยางมีคุณภาพและตอเน่ือง ไดรับการจัดประสบการณ
การเรียนรูอยางมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตน
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ คนดี มวี นิ ยั และสาํ นกึ ความเปน็ ไทย
โดยความรวมมือระหวางสถานศึกษา พอแม ครอบครัว ชุมชน และทุกฝาย

ที่เกีย่ วขอ งกบั การพฒั นาเดก็ ”


Click to View FlipBook Version