The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปฐมวัยน่าน 4.0, 2020-04-18 02:00:14

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

๓.๓.๗ การจดั ประสบการณ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๓.๓.๘ การจัดสภาพแวดลอม สอ่ื และแหลงเรียนรู
๓.๓.๙ การประเมนิ พัฒนาการ 45
๓.๓.๑๐ การบริหารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย
๓.๓.๑๑ การเช่ือมตอ ของการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั กับระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๓.๓.๑๒ ภาคผนวก
๔. ประเมินตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เมื่อสถานศึกษาหรือสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเรียบรอยแลว ควรกําหนดใหมีการประเมินตรวจสอบ
คุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยกอนนําไปใช โดยอาศัยความคิดเห็นจากผูใชหลักสูตร ผูมีสวนรวมในการ
จัดทําหลักสูตร ผูเช่ียวชาญดานการศึกษาปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิดานตางๆ ตรวจสอบองคประกอบของหลักสูตร
วาครบถว น ชัดเจน สอดคลอ ง และมีคุณภาพมากนอยเพยี งใด สนองความตองการของสถานศกึ ษาโดยแทจ รงิ
หรอื ไม มคี วามเปน ไปได ทนั เวลาในการนาํ ไปใชห รอื ไม มจี ดุ ออ นหรอื ขอ บกพรอ งอยา งไร เพอ่ื ตรวจสอบวา สามารถ
นําไปใชไ ดด ี หรอื ควรปรบั ปรุงแกไขเรือ่ งใด โดยวิธสี นทนากลุม หรอื ใชเ คร่ืองมือในการตรวจสอบ เพื่อใหหลกั สตู ร
สถานศึกษาปฐมวยั มีความเหมาะสมและมคี ณุ ภาพ
๕. ขออนุมัติการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช .... โดยผานความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน หรือคณะกรรมการอํานวยการโรงเรยี น ทง้ั น้ี ขนึ้ อยูก บั หนว ยงานตนสังกัด
๖. ประกาศใชห ลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช .... เพอื่ ใหผ ทู เ่ี กยี่ วขอ ง เชน คณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ผสู อนปฐมวัย ผปู กครอง ชุมชน รบั ทราบและดําเนนิ การตามบทบาทของตนตอไป
๗. นําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไปใช โดยบุคคลที่เกี่ยวของ เชน ผูสอนนําหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวยั ไปใชใ นการวางแผนและออกแบบการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู เพอ่ื พฒั นาเดก็ ใหบ รรลตุ าม
มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ผูบริหารสถานศึกษาสนับสนุน สงเสริม นิเทศ ติดตาม และประเมินผล
การใชห ลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั อยางเปนระบบและตอ เน่อื ง

การจัดทาํ องคป ระกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั

๑. ปรชั ญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา เปนการอธิบายแนวคิด ทฤษฎี และความเช่ือในการ
พัฒนาเด็กปฐมวัย สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจําเปนตองกําหนดปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของ
สถานศกึ ษาใหส อดคลอ งกบั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เพอ่ื ใหผ ทู เ่ี กย่ี วขอ งยดึ เปน อดุ มการณ
หรอื เปน หลกั ในการจดั การศึกษาปฐมวัย

การกําหนดปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ควรเริ่มจากการพิจารณารวมกันของ
ผทู เ่ี กยี่ วขอ งวา สถานศกึ ษามคี วามเชอ่ื วา เดก็ ปฐมวยั เรยี นรอู ยา งไร ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ครผู สู อนปฐมวยั ครอบครวั
ชุมชน เหน็ ความสาํ คญั รว มกันในการจดั การศกึ ษาและการพัฒนาเด็กปฐมวัยอยางไร ครูผูส อนมบี ทบาทอยา งไร
ในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื จะนําไปสกู ารกําหนดปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศึกษา

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ตวั อยา ง

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย
โรงเรยี น................... จดั การพฒั นาเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป บนพน้ื ฐานการอบรมเลย้ี งดู สง เสรมิ กระบวนการ
เรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแตละคนใหเต็มศักยภาพ ใหเด็กเรียนรูผานการเลน
การลงมือปฏิบัติ ดวยความรัก ความเขาใจของทุกคน และพัฒนาเด็กโดยองครวมเพื่อสรางรากฐาน
คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี

๒. วสิ ยั ทศั น ภารกิจหรือพนั ธกิจ เปา หมาย

๒.๑ วิสัยทัศน สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจําเปนตองกําหนดวิสัยทัศนของการจัด
การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ซึ่งเปนการแสดงเจตนารมณ อุดมการณ อนาคตทีพ่ งึ ประสงค ทีอ่ ยูบ นพื้นฐานความจรงิ
และแสดงอตั ลกั ษณ เอกลกั ษณข องสถานศกึ ษา เพอ่ื สรา งศรทั ธาและจดุ ประกายความคดิ ใหบ คุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ ง
เกิดความมุงมั่นในการพัฒนาเด็ก ท้ังนี้ การกําหนดวิสัยทัศน ควรเปนการกําหนดเจตนารมณรวมกันระหวาง
บคุ ลากรในสถานศกึ ษา พอ แม ผปู กครอง รวมทงั้ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานวา เดก็ จะไดร บั การพฒั นา
คุณลักษณะสําคัญใดเปนพิเศษ ท่ีสะทอนใหเห็นตามวิสัยทัศนของสถานศึกษา เชน คนดี สถานศึกษาหรือ
สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั หมายถึงคนดลี ักษณะใด มีวินัยลกั ษะใด เพือ่ นาํ ไปสกู ารเขยี น ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ และ
46 เปา หมายทช่ี ดั เจน และใครมสี ว นรว มในการพฒั นา โดยตอ งสอดคลอ งกบั วสิ ยั ทศั นข องหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั
พุทธศักราช ๒๕๖๐ วิสัยทัศนท่ีดีตองมีความชัดเจน เหมาะสม และมีระยะเวลาท่ีแนนอนจะเกิดขึ้นภายใน
ปการศกึ ษาใด

ตัวอยาง

วสิ ยั ทศั น
ภายในป. ............โรงเรยี น.................มงุ พัฒนาเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ใหม ีพฒั นาการดานรางกาย
อารมณ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญญาเหมาะสมกบั วยั เนน ใหเ ดก็ เรยี นรผู านการเลน และการลงมอื ปฏบิ ัติ
นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชอยางเหมาะสมกับวัยและบริบทของตน ผูปกครอง
และชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาเด็กใหมีพัฒนาการรอบดานอยางสมดุล เต็มศักยภาพ มีเจตคติที่ดี
ตอทอ งถิน่ สนใจใฝรู และเรียนรูอยา งมีความสขุ

๒.๒ ภารกิจหรือพันธกิจ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจําเปนตองกําหนดภาระงาน
ท่ีสําคญั ทง้ั น้ี การกาํ หนดภารกิจหรือพันธกิจของสถานศกึ ษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ตอ งคาํ นึงถงึ วิสัยทัศน
ทกี่ าํ หนดไวว า จะตอ งทาํ อยา งไร จงึ จะทาํ ใหว สิ ยั ทศั นท ก่ี าํ หนดไวเ ปน จรงิ ตามกาํ หนดเวลานนั้ ๆ หรอื วธิ ดี าํ เนนิ งาน
เพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศนในระยะเวลาที่แนนอน การกําหนดภารกิจหรือพันธกิจของสถานศึกษาหรือสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยควรคํานึงถึงการมุงพัฒนาเด็กใหมีคุณลักษณะตามท่ีหลักสูตรกําหนดไว ในขณะเดียวกันผูสอนตอง
มคี ณุ ภาพ ทาํ ใหผ ูปกครองมามีสว นรวมพัฒนาเดก็ ในทศิ ทางเดยี วกนั

ตวั อยา ง

ภารกจิ หรอื พันธกิจ
๑. พัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางสมดุล

และเตม็ ศกั ยภาพ มเี จตคตทิ ดี่ ตี อทองถ่นิ สนใจใฝรู และเรยี นรูอยา งมคี วามสุข
๒. พัฒนาครแู ละบุคลากรใหมีความรูความเขา ใจและสามารถจัดประสบการณก ารเรียนรผู านการเลน

และการลงมอื ปฏิบัติทีห่ ลากหลาย สอดคลองกบั พัฒนาการเด็ก
๓. นอ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ นการจดั ประสบการณสําหรับเดก็ ปฐมวัยอยางเหมาะสม

กับวยั และบรบิ ทของสถานศกึ ษา
๔. นําส่อื เทคโนโลยี ภูมิปญญาทองถน่ิ มาพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
๕. ใหผ ูป กครองและชมุ ชนมีสวนรวมพัฒนาเด็กปฐมวัย

๒.๓ เปาหมาย เปนการกําหนดความคาดหวังท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงานตามพันธกิจ สามารถ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
กําหนดไดทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพของเด็กปฐมวัย ผูสอน และบุคลากร การจัดทรัพยากรและส่ิงแวดลอม
และการมีสว นรว มของผูทเ่ี กีย่ วขอ งกบั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย 47

ตัวอยา ง คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

เปาหมาย
๑. เด็กปฐมวัยทุกคนมีพัฒนาการดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางสมดุล

และเต็มศกั ยภาพ มเี จตคติที่ดีตอ ทองถ่ิน สนใจใฝรู และเรียนรูอยา งมคี วามสขุ
๒. ครูและบุคลากรทุกคนมีความรูความเขาใจและสามารถจัดประสบการณการเรียนรูผานการเลน

และการลงมอื ปฏิบตั ทิ ี่หลากหลาย สอดคลองกบั พฒั นาการเดก็
๓. ครแู ละบคุ ลากรทกุ คนนอ มนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ นการจดั ประสบการณส าํ หรบั

เดก็ ปฐมวยั อยา งเหมาะสมกับวยั และบรบิ ทของสถานศึกษา
๔. สถานศกึ ษามสี ภาพแวดลอม ส่อื เทคโนโลยี แหลง เรยี นรทู ่เี หมาะสมกบั พฒั นาการเด็ก
๕. มเี ครือขายพอแม ผปู กครอง และชมุ ชน ใหความรว มมือในการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวัย ดว ยวิธกี าร

ท่หี ลากหลาย และมคี วามตอเนือ่ งในทิศทางเดยี วกับสถานศึกษา

๓. จุดหมาย

เปนการกําหนดความคาดหวังท่ีจะเกิดกับเด็กหลังจากจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยแลว
โดยนําจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มากําหนดเปนจุดหมายของหลักสูตร
สถานศกึ ษาปฐมวัย

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๔. มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยนํามาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ และ
สภาพท่ีพึงประสงคของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ทุกมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค
ทุกตัวบงชี้ และทุกสภาพที่พึงประสงค มากําหนดเปนมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงช้ี และ
สภาพท่ีพึงประสงคของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และสามารถเพ่ิมเติมตัวบงชี้และสภาพท่ีพึงประสงค
ทีส่ อดคลอ งกับอตั ลักษณและเอกลักษณของสถานศกึ ษาตามความเหมาะสมได

๕. การจดั เวลาเรยี น

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองกําหนดกรอบโครงสรางเวลาในการจัดประสบการณ
ใหกับเด็ก ๑ - ๓ ปการศึกษาโดยประมาณ ทั้งน้ี ขึ้นอยูกับอายุของเด็กท่ีเริ่มเขาสถานศึกษาหรือสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัย เวลาเรียนสําหรับเด็กปฐมวัยขึ้นอยูกับสถานศึกษาแตละแหง โดยมีเวลาเรียนไมนอยกวา ๑๘๐ วัน
ตอปการศึกษา อาจแบงเปน ๒ ภาคเรียน หรือ ๓ ภาคเรียน ใน ๑ ปการศึกษา และแตละวันตองใชเวลา
ไมนอ ยกวา ๕ ช่วั โมง โดยสามารถปรบั ใหเ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

๖. สาระการเรยี นรูรายป

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองกําหนดสาระการเรียนรูรายป โดยยึดมาตรฐาน
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตัวบงช้ี สภาพท่ีพึงประสงค ประสบการณสําคัญ และสาระที่ควรเรียนรู ใหครบท้ัง
48 ๑๒ มาตรฐาน ตามท่ีกําหนดไวใ นหลักสตู รสถานศึกษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั และครอบคลุมทกุ ชวงอายุ
หรือชวงชั้นปที่จัดการศึกษา และอาจเพ่ิมเติมสาระท่ีควรเรียนรูไดตามอัตลักษณ หรือเอกลักษณของ
สถานศึกษา ทั้งนี้ สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการนําเสนอการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายปในรูปแบบ
ตารางท่ีหลากหลาย โดยอาจนําช่ือหนวยการจัดประสบการณ/โครงการ มาระบุเชื่อมตอใหสอดคลองกับ
สาระการเรียนรูได โดยคํานึงถึงความสอดคลองของทุกองคประกอบ วิธีการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายป
มแี นวทางดังนี้

คําอธบิ ายการวเิ คราะหสาระการเรยี นรูรายป

พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บงชี้ สาระการเรยี นรรู ายป
คุณลักษณะท่ีพึง สภาพท่ีพงึ ประสงค ประสบการณสําคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู

ประสงค

ระบุพฒั นาการวา ระบุมาตรฐาน ระบุตัวบง ช้ที ี่เปน ระบสุ ภาพท่ีพงึ ประสงค กําหนดประสบการณ กาํ หนดสาระท่ีควร
เปน ดานรา งกาย คณุ ลกั ษณะ ตวั ช้ีวดั ตามมาตรฐาน ซ่ึงเปนพฤตกิ รรม สาํ คญั ที่คาดวา เรียนรู ซึง่ เปน
หรอื ดา นอารมณ จิตใจ ทีพ่ ึงประสงค คุณลกั ษณะ หรือความสามารถ จะเปน แนวทางการจัด ส่ือกลางในการจัด
หรอื ดานสังคม ใหสอดคลอ งกับ ทพ่ี งึ ประสงค โดยนํา ทค่ี าดหวังในแตละ กิจกรรมใหเด็ก ประสบการณ
หรือดานสตปิ ญ ญา พัฒนาการดา นรา งกาย มาจากหลักสตู ร ชว งวัย โดยนํา เกิดพฤตกิ รรมหรือ ใหเ ด็กมีพฤติกรรม
ดา นอารมณ จิตใจ การศึกษาปฐมวยั มาจากหลกั สูตร มีความสามารถตาม และความสามารถตาม
ดา นสังคม หรอื พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ การศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานคณุ ลกั ษณะ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
ดานสติปญญา โดยนาํ ทั้งน้ี สถานศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ท่ีพงึ ประสงค ตวั บงช้ี ทพี่ ึงประสงค ตัวบง ชี้
มาจากหลกั สตู ร สามารถกาํ หนด ทงั้ น้ี สถานศึกษา และสภาพที่พึงประสงค และสภาพที่พงึ ประสงค
การศึกษาปฐมวยั ตวั บงช้เี พ่ิมเตมิ ได สามารถกําหนด ทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด โดยนํามาจากสาระ
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามอัตลกั ษณ สภาพท่ีพงึ ประสงค โดยเลือกจาก ท่ีควรเรียนรูท้งั ๔ เร่ือง
หรอื เอกลกั ษณข อง เพม่ิ เตมิ ไดตาม ประสบการณส าํ คัญ ท่ีกาํ หนดไวในหลกั สูตร
สถานศึกษา อัตลกั ษณห รอื ท่รี ะบุไวใ นหลกั สตู ร การศกึ ษาปฐมวยั
เอกลกั ษณข อง การศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
สถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๐ และสอดคลอ งกบั
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
ทพี่ ึงประสงค ตัวบง ชี้
และสภาพที่พึงประสงค
ท้ังน้ี สถานศกึ ษา
สามารถเพ่มิ เตมิ 49

สาระท่คี วรเรียนรู คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ใหส อดคลองกับ
ความสนใจ
ความตองการ
อัตลกั ษณ เอกลกั ษณ
และภูมปิ ญ ญาทอ งถนิ่
โดยตอ งคาํ นึงถึง
ความเหมาะสม
ตามวัยของเด็ก

ขอสังเกต เน่ืองจากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดจุดหมายไวแลว
สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตอ งใชต าม แตส ามารถเพมิ่ ตวั บง ชแ้ี ละสภาพทพ่ี งึ ประสงคจ ากทหี่ ลกั สตู ร

การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กาํ หนดได

คมู ือหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 50 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ตวั อยา งการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายป

พฒั นาการดา นรา งกาย
มาตรฐานท่ี ๑ รา งกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมสี ุขนิสัยท่ีดี

สภาพทีพ่ งึ ประสงค ตัวอยางสาระการเรยี นรูรายป

ตัวบงช้ี ชั้นอนุบาล ๑ ชั้นอนุบาล ๒ ชน้ั อนุบาล ๓ ประสบการณส ําคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู
(๓ - ๔ ป) (๔ - ๕ ป) (๕ - ๖ ป)

๑.๑ นํา้ หนัก ๑.๑.๑ นํ้าหนกั ๑.๑.๑ นํา้ หนกั ๑.๑.๑ นํา้ หนกั การปฏิบัติตนตามสขุ อนามัย สุขนสิ ยั ทด่ี ี อาหารทชี่ วยใหร างกายเจริญเตบิ โต
และและสวนสูง และและสว นสงู และและสวนสูง และสวนสงู ในกจิ วตั รประจําวัน
ตามเกณฑ ตามเกณฑของ ตามเกณฑของ ตามเกณฑของ
กรมอนามยั กรมอนามยั กรมอนามยั

๑.๒ มีสุขภาพอนามยั ๑.๒.๑ ยอม ๑.๒.๑ รับประทาน ๑.๒.๑ รับประทาน ๑. การประกอบอาหารไทย ๑. อาหารที่มีประโยชนและไมม ปี ระโยชน
สขุ นสิ ยั ที่ดี รบั ประทานอาหาร อาหารท่ีมีประโยชน อาหารที่มีประโยชน ๒. การปฏิบัติตนตามสขุ อนามยั สุขนสิ ัยทีด่ ี ๒. อาหารหลกั ๕ หมู
ที่มีประโยชน และ และดื่มนํ้าสะอาด ไดหลายชนดิ และ ในกิจวตั รประจําวนั ๓. การมเี จตคติท่ดี ีตอ การรับประทานอาหาร
ดื่มนา้ํ สะอาด ไดด ว ยตนเอง ดม่ื นํ้าสะอาด ทีม่ ีประโยชน
เมอื่ มีผชู ีแ้ นะ ไดดว ยตนเอง ๔. มารยาทในการรบั ประทานอาหาร

พัฒนาการดานรา งกาย
มาตรฐานท่ี ๑ รางกายเจรญิ เตมิ โตตามวัยและมีสขุ นสิ ยั ท่ีดี (ตอ )

สภาพท่พี ึงประสงค ตัวอยางสาระการเรียนรรู ายป

ตัวบง ช้ี ชนั้ อนบุ าล ๑ ชั้นอนุบาล ๒ ชน้ั อนุบาล ๓ ประสบการณส าํ คัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู
๑.๒ มีสุขภาพ (๓ - ๔ ป) (๔ - ๕ ป) (๕ - ๖ ป)
อนามยั สุขนิสัยทด่ี ี
(ตอ) ๑.๒.๒ ลา งมอื กอน ๑.๒.๒ ลา งมอื กอ น ๑.๒.๒ ลางมือกอน ๑. การปฏบิ ตั ิตนตามสุขอนามยั สุขนสิ ัยท่ีดี ๑. อวยั วะตา งๆ ของรางกาย และการรกั ษา
รับประทานอาหาร รับประทานอาหาร รับประทานอาหาร ในกจิ วัตรประจําวนั ความปลอดภัย
และหลงั จากใช และหลังจากใช และหลงั จากใช ๒. การชวยเหลือตนเองในกจิ วตั รประจาํ วัน ๒. วธิ ีระวงั รกั ษารางกายใหส ะอาดและมสี ุขอนามยั
หอ งนํ้าหอ งสวม หองน้ําหอ งสว ม หองน้าํ หองสวม ๓. การปฏิบตั ติ นใหป ลอดภัยในกจิ วัตรประจําวนั ทด่ี ี
เมื่อมีผูช ้ีแนะ ดวยตนเอง ดวยตนเอง ๔. การฟงนิทาน เร่ืองราวเก่ียวกับสุขนสิ ัยท่ีดี

๑.๒.๓ นอนพักผอ น ๑.๒.๓ นอนพกั ผอ น ๑.๒.๓ นอนพักผอน การปฏิบัติตนตามสุขอนามยั สุขนิสัยท่ดี ใี นกจิ วตั ร ประโยชนของการนอนหลบั พักผอ น
เปน เวลา เปน เวลา เปน เวลา ประจําวัน

๑.๒.๔ ออกกาํ ลังกาย ๑.๒.๔ ออกกาํ ลงั กาย ๑.๒.๔ ออกกาํ ลงั กาย ๑. การเลน อสิ ระ ประโยชนข องการออกกาํ ลังกาย
เปนเวลา เปนเวลา เปนเวลา ๒. การเคลอื่ นไหวขา มสิง่ กีดขวาง
๓. การเลน เครอ่ื งเลนอยา งปลอดภยั
๔. การละเลนพนื้ บานไทย
๕. การเลนนอกหอ งเรยี น
๖. การเลน เครือ่ งเลน สนาม

คูมอื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 51 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คมู ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 52 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

พฒั นาการดา นรา งกาย
มาตรฐานที่ ๑ รา งกายเจริญเตบิ โตตามวัยและมีสุขนสิ ัยทด่ี ี (ตอ)

สภาพท่พี งึ ประสงค ตวั อยางสาระการเรียนรรู ายป

ตัวบง ชี้ ช้ันอนุบาล ๑ ช้นั อนบุ าล ๒ ช้ันอนุบาล ๓ ประสบการณส าํ คญั สาระที่ควรเรียนรู
(๓ - ๔ ป) (๔ - ๕ ป) (๕ - ๖ ป)

๑.๓ รกั ษาความ ๑.๓.๑ เลน และ ๑.๓.๑ เลน และ ๑.๓.๑ เลน ทาํ กิจกรรม ๑. การปฏิบัติตนใหปลอดภยั ในกิจวัตรประจาํ วนั ๑. การรกั ษาความปลอดภยั ของตนเอง และ
ปลอดภยั ของตนเอง ทาํ กิจกรรม ทํากิจกรรม และปฏบิ ัติตอ ผูอื่น ๒. การฟงนิทาน เร่อื งราว เหตุการณเ ก่ียวกบั การปฏิบตั ติ อ ผูอ่ืนอยางปลอดภัยในชีวติ ประจาํ วัน
และผูอื่น อยา งปลอดภัย อยา งปลอดภยั อยา งปลอดภัย การปองกนั และรกั ษาความปลอดภัย ๒. การปฏบิ ตั ิตนอยางเหมาะสมเมือ่ เจ็บปวย
เม่ือมผี ชู ้ีแนะ ดวยตนเอง ๓. การเลนบทบาทสมมติเหตุการณตางๆ ๓. การระวังภยั จากคนแปลกหนาและอุบตั ภิ ยั ตางๆ
๔. การพูดกับผอู ่นื เกยี่ วกับประสบการณของตนเอง
หรอื พดู เลา เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตนเอง
๕. การเลนเครอ่ื งเลนอยา งปลอดภยั
๖. การเลนและทาํ งานรวมกบั ผอู น่ื

พฒั นาการดา นอารมณ จิตใจ
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทดี่ ีงาม

สภาพทพี่ ึงประสงค ตัวอยา งสาระการเรยี นรูรายป

ตัวบง ช้ี ชัน้ อนบุ าล ๑ ช้นั อนบุ าล ๒ ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณสําคญั สาระทค่ี วรเรียนรู
๕.๑ ซอ่ื สตั ยส จุ รติ (๓ - ๔ ป) (๔ - ๕ ป) (๕ - ๖ ป)

๕.๒ มคี วามเมตตา ๕.๑.๑ บอกหรอื ชี้ ๕.๑.๑ ขออนุญาต ๕.๑.๑ ขออนุญาต ๑. การฟงนิทานเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ๑. คณุ ธรรม จริยธรรม
กรุณา มีนา้ํ ใจและ ไดว าส่งิ ใดเปนของ หรือรอคอย หรอื รอคอย ๒. การรว มสนทนาและแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ - ความซอ่ื สัตยส จุ ริต
ชว ยเหลอื แบงปน ตนเอง และสิ่งใดเปน เม่ือตอ งการส่งิ ของ เม่อื ตอ งการสิ่งของ เชิงจริยธรรม - ความเกรงใจ
ของผูอ่ืน ของผูอน่ื ของผูอ่นื ดว ยตนเอง ๓. การเลนบทบาทสมมติ
เมอื่ มผี ูชแี้ นะ ๔. การเลนและทาํ งานรวมกับผอู ่ืน ๒. การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผอู ื่น
๕. การปฏบิ ตั ิตนเปน สมาชกิ ทีด่ ีของหองเรียน

๕.๒.๑ แสดงความ ๕.๒.๑ แสดงความ ๕.๒.๑ แสดงความ ๑. การฟงนทิ านเก่ยี วกบั ความเมตตากรุณา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
รกั เพ่ือนและมเี มตตา รกั เพอื่ นและมเี มตตา รกั เพอ่ื นและมเี มตตา ๒. การเลน บทบาทสมมติ - ความเมตตากรณุ า
ตอ สตั วเ ลยี้ ง ตอสัตวเ ล้ียง ตอสัตวเ ลย้ี ง ๓. การเลี้ยงสัตว

๕.๒.๒ แบง ปน ผอู ืน่ ได ๕.๒.๒ ชวยเหลือและ ๕.๒.๒ ชว ยเหลอื และ ๑. การฟง นิทานเก่ียวกับคุณธรรม จริยธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
เมื่อมีผูชี้แนะ แบงปน ผูอน่ื ได แบง ปน ผอู นื่ ได ๒. การเลนบทบาทสมมติ - ความมนี ํา้ ใจ ชวยเหลอื แบง ปน
เมื่อมีผูชแ้ี นะ ดว ยตนเอง ๓. การปฏิบตั ติ นเปน สมาชกิ ทดี่ ขี องหอ งเรยี น

คูมือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 53 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คูม อื หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 54 สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ติ ใจท่ดี งี าม (ตอ)

สภาพท่ีพึงประสงค ตัวอยางสาระการเรยี นรูรายป

ตัวบง ชี้ ชั้นอนบุ าล ๑ ช้นั อนุบาล ๒ ช้นั อนบุ าล ๓ ประสบการณสาํ คัญ สาระท่คี วรเรยี นรู
๕.๓ มคี วามเหน็ อก (๓ - ๔ ป) (๔ - ๕ ป) (๕ - ๖ ป)
เหน็ ใจผูอ่นื ๕.๓.๑ แสดงสหี นา
หรือทา ทางรบั รู ๕.๓.๑ แสดงสหี นา ๕.๓.๑ แสดงสหี นา ๑. การเลน และทํางานรว มกบั ผอู น่ื คุณธรรม จริยธรรม
ความรูส ึกผอู ืน่ และทา ทางรับรู และทาทางรบั รู ๒. การเลน บทบาทสมมติ - ความเหน็ อกเหน็ ใจผูอ ่นื
ความรูสึกผอู ่ืน ความรูสกึ ผอู ื่น
อยา งสอดคลอ งกับ
สถานการณ

๕.๔ มีความ ๕.๔.๑ ทาํ งานท่ีได ๕.๔.๑ ทาํ งานทไี่ ด ๕.๔.๑ ทํางานทไี่ ด ๑. การทาํ กิจกรรมศลิ ปะตา งๆ คุณธรรม จริยธรรม
รบั ผดิ ชอบ รบั มอบหมาย รบั มอบหมาย รับมอบหมาย ๒. การดแู ลหอ งเรยี นรวมกัน - ความรบั ผดิ ชอบ
จนสําเรจ็ เมื่อมี จนสําเร็จเมอื่ มี จนสําเร็จดว ยตนเอง ๓. การมีสวนรว มรบั ผิดชอบดแู ลรักษาสิง่ แวดลอม - ความอดทน มงุ มั่น
ผูช ว ยเหลอื ผชู แี้ นะ ท้ังภายในและภายนอกหอ งเรยี น
๔. การรว มกําหนดขอตกลงของหองเรียน

พัฒนาการดา นสงั คม
มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม วฒั นธรรม และความเปนไทย

สภาพท่พี งึ ประสงค ตัวอยา งสาระการเรียนรูรายป

ตัวบงช้ี ชั้นอนบุ าล ๑ ชน้ั อนบุ าล ๒ ชน้ั อนุบาล ๓ ประสบการณสาํ คญั สาระที่ควรเรียนรู
๗.๑ ดูแลรกั ษา (๓ - ๔ ป) (๔ - ๕ ป) (๕ - ๖ ป)
ธรรมชาตแิ ละ ๗.๑.๑ มสี ว นรวม
สง่ิ แวดลอ ม ดแู ลรกั ษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มสี ว นรวม ๗.๑.๑ ดแู ลรักษา ๑. การมีสวนรวมในการดูแลรกั ษาสง่ิ แวดลอ ม ๑. สิง่ แวดลอมในโรงเรียน และการดูแลรักษา
และสงิ่ แวดลอม ดูแลรักษาธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละ ทงั้ ภายในและภายนอกหอ งเรียน ๒. สง่ิ แวดลอมตามธรรมชาติ และการอนุรักษ
เมอ่ื มีผูช้แี นะ และส่งิ แวดลอม ส่งิ แวดลอ ม ๒. การสนทนาขาวและเหตกุ ารณท ่เี กี่ยวกับ สง่ิ แวดลอ ม
เม่อื มีผูช้ีแนะ ดว ยตนเอง ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มในชีวติ ประจาํ วนั ๓. การรักษาสาธารณสมบัตใิ นหองเรยี น
๓. การเพาะปลูกและดแู ลตนไม ๑. ขยะและการคัดแยกขยะ
๗.๑.๒ ทิ้งขยะ ๗.๑.๒ ทง้ิ ขยะ ๗.๑.๒ ทิง้ ขยะ ๔. การอธบิ าย เชอ่ื มโยงสาเหตแุ ละผลที่เกิดข้ึน ๒. การดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ ม
ไดถูกที่ ไดถกู ท่ี ไดถูกท่ี ในเหตกุ ารณหรือการกระทํา
๕. การตัดสนิ ใจและมสี ว นรวมในกระบวนการ
แกป ญ หา
๑. การคัดแยก การจดั กลุม และจาํ แนกส่ิงตา งๆ
ตามลกั ษณะและรูปรา ง รปู ทรง
๒. การใชว ัสดแุ ละสง่ิ ของเครอ่ื งใชอยางคมุ คา
๓. การทํางานศิลปะทน่ี ําวสั ดหุ รือสงิ่ ของเครอื่ งใช
ทใ่ี ชแลวมาใชซ้ํา หรอื แปรรปู แลวนาํ กลบั มาใชใ หม
๔. การสรา งสรรคชิน้ งานโดยใชร ปู รา ง รูปทรงจาก
วัสดทุ ่หี ลากหลาย
๕. การปฏบิ ัติตนเปนสมาชิกทด่ี ขี องหอ งเรยี น

คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 55 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

คมู อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 56 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

พัฒนาการดา นสงั คม
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม วัฒนธรรม และความเปนไทย (ตอ)

สภาพที่พงึ ประสงค ตวั อยางสาระการเรียนรรู ายป
ช้นั อนุบาล ๒
ตวั บง ชี้ ชน้ั อนบุ าล ๑ (๔ - ๕ ป) ชนั้ อนบุ าล ๓ ประสบการณส ําคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู
(๓ - ๔ ป) (๕ - ๖ ป)
๗.๒.๑ ปฏบิ ตั ติ น
๗.๒ มีมารยาท ๗.๒.๑ ปฏิบตั ิตน ตามมารยาทไทยได ๗.๒.๑ ปฏิบัติตน ๑. การปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมทอ งถน่ิ ทอ่ี าศยั การปฏิบตั ติ นตามมารยาทและวฒั นธรรมไทย
ตามวฒั นธรรมไทย ตามมารยาทไทยได ดวยตนเอง ตามมารยาทไทยได และประเพณีไทย - การแสดงความเคารพ
และรักความเปนไทย เมื่อมีผชู ีแ้ นะ ตามกาลเทศะ ๒. การเลนบทบาทสมมติการปฏิบตั ิตน - การพูดสุภาพ
๗.๒.๒ กลาว ในความเปนคนไทย - การกลาวคาํ ขอบคุณและขอโทษ
คําขอบคุณและ
๗.๒.๒ กลาว ขอโทษดวยตนเอง ๗.๒.๒ กลา ว ๑. การปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมทอ งถ่ินทอี่ าศยั การปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทและวัฒนธรรมไทย
คําขอบคุณและ คาํ ขอบคุณและ และประเพณไี ทย - การพูดสภุ าพ
ขอโทษเมอ่ื มผี ูชแ้ี นะ ๗.๒.๓ ยืนตรงเมอื่ ขอโทษดวยตนเอง ๒. การเลน บทบาทสมมติการปฏิบตั ติ น - การกลาวคําขอบคุณและขอโทษ
ไดย ินเพลงชาติไทย ในความเปนคนไทย
และเพลงสรรเสริญ ๓. การพูดสะทอ นความรสู กึ ของตนเองและผูอน่ื
พระบารมี
๗.๒.๓ หยดุ ยืนเมอื่ ๗.๒.๓ ยนื ตรงและ ๑. การปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมทองถ่ินท่อี าศยั ๑. วนั สาํ คัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
ไดย นิ เพลงชาติไทย รว มรอ งเพลงชาตไิ ทย และประเพณีไทย ๒. สญั ลักษณส าํ คัญของชาตไิ ทย
และเพลงสรรเสรญิ และเพลงสรรเสริญ ๒. การเลน บทบาทสมมติการปฏิบัติตน ๓. การแสดงความจงรกั ภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา
พระบารมี พระบารมี ในความเปนคนไทย พระมหากษัตรยิ 
๓. การรวมกิจกรรมวันสําคญั

พัฒนาการดา นสติปญญา
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี ินตนาการและความคิดสรา งสรรค

สภาพทพี่ งึ ประสงค ตัวอยางสาระการเรียนรรู ายป
ช้นั อนบุ าล ๒
ตัวบงช้ี ชน้ั อนบุ าล ๑ (๔ - ๕ ป) ช้นั อนบุ าล ๓ ประสบการณส ําคัญ สาระท่ีควรเรียนรู
(๓ - ๔ ป) (๕ - ๖ ป)

๑๑.๑ ทาํ งานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงาน ๑๑.๑.๑ สรา งผลงาน ๑๑.๑.๑ สรางผลงาน ๑. การแสดงความคดิ สรา งสรรคผา นศลิ ปะ การใชเครื่องมอื เครื่องใชใ นการทาํ งานศิลปะ
ตามจินตนาการและ ศิลปะเพื่อส่ือสาร ศลิ ปะเพื่อสอ่ื สาร ศิลปะเพื่อสื่อสาร ๒. การเขียนและการเลนกับสี อยา งปลอดภยั เชน กรรไกร
ความคิดสรา งสรรค ความคิด ความรสู ึก ความคิด ความรูส กึ ความคิด ความรูสึก ๓. การปน
ของตนเอง ของตนเอง โดยมี ของตนเอง โดยมี ๔. การประดิษฐส ิง่ ตางๆ ดวยเศษวสั ดุ
การดัดแปลง และ การดัดแปลง ๕. การทํางานศลิ ปะที่นาํ วัสดหุ รอื สงิ่ ของเคร่อื งใช
แปลกใหมจากเดมิ แปลกใหมจ ากเดมิ ทีใ่ ชแ ลวมาใชซ ้าํ หรือแปรรูปแลวนาํ กลบั มาใชใ หม
หรือมีรายละเอยี ด และมีรายละเอยี ด ๖. การหยิบจับ การใชกรรไกร การฉกี ตดั ปะ และ
เพม่ิ ขึน้ เพ่ิมข้นึ การรอ ยวัสดุ
๗. การแสดงความคดิ สรา งสรรคผ านงานศิลปะ
๘. การสรางสรรคช้นิ งานโดยใชรปู ราง รปู ทรง
จากวสั ดทุ ีห่ ลากหลาย

๑๑.๒ แสดงทา ทาง/ ๑๑.๒.๑ เคล่อื นไหว ๑๑.๒.๑ เคล่อื นไหว ๑๑.๒.๑ เคลอ่ื นไหว ๑. การเคลือ่ นไหวอยกู บั ท่ี ๑. การเคลอื่ นไหวรางกายในทศิ ทาง ระดบั และ
เคลอื่ นไหวตาม ทา ทางเพ่อื สอื่ สาร ทา ทางเพ่ือสือ่ สาร ทา ทางเพือ่ สอ่ื สาร ๒. การเคลื่อนไหวเคลอื่ นที่ พื้นทต่ี า งๆ
จินตนาการอยา ง ความคิด ความรสู ึก ความคดิ ความรูสกึ ความคดิ ความรูสึก ๓. การเคล่ือนไหวพรอมวัสดอุ ุปกรณ ๒. การแสดงทา ทางตา งๆ ตามความคดิ ของตนเอง
สรางสรรค ของตนเอง ของตนเองอยา ง ของตนเองอยา ง ๔. การแสดงความคิดสรางสรรคผ า นภาษา ทา ทาง
หลากหลายหรือ หลากหลายและ การเคลือ่ นไหว และศิลปะ
แปลกใหม แปลกใหม ๕.การเคล่อื นไหวโดยควบคมุ ตนเองไปในทศิ ทาง
ระดับ และพ้นื ที่
๖. การเคล่อื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๗. การฟงเพลง การรอ งเพลง และการแสดง
ปฏิกิริยาโตต อบเสียงดนตรี

คมู ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 57 สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๗. การจัดประสบการณ

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองอธิบายแนวทางหรือรูปแบบการจัดประสบการณ
หรือนวัตกรรรม และการจัดกิจกรรมประจําวันท่ีสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยกําหนด โดยคํานึงถึง
ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา วสิ ยั ทศั น ภารกจิ หรอื พนั ธกจิ เปา หมาย รวมทง้ั อตั ลกั ษณแ ละเอกลกั ษณ
ของสถานศึกษาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั การจดั ประสบการณส าํ หรบั เด็กปฐมวยั มรี ปู แบบ แนวทางและ
วธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เมอ่ื สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั กาํ หนดแนวทางหรอื รปู แบบการจดั ประสบการณใ ด
ควรอธบิ ายขนั้ ตอนหรอื วธิ กี ารทเ่ี ปน แนวทางในการจดั ประสบการณก ารเรยี นรใู หช ดั เจน โดยคาํ นงึ ถงึ หลกั จติ วทิ ยา
พฒั นาการใหเ หมาะสมกบั วยั วฒุ ภิ าวะ และลกั ษณะการเรยี นรขู องเดก็ กรณที ส่ี ถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
เลือกใชนวัตกรรมตามความตองการของสถานศึกษา ควรระบุหลักการและแนวทางในการจัดประสบการณ
ตามนวตั กรรมเพิม่ เติม ท้งั น้ี นวตั กรรมทีเ่ ลือกมาใชค วรสอดคลอ งกบั หลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย

ในกรณีท่ีสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใชการจัดประสบการณแบบหนวยการจัด
ประสบการณ เมอ่ื กาํ หนดสาระการเรยี นรรู ายปแ ลว สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตอ งนาํ สาระการเรยี นรู
รายปท่วี เิ คราะหไ วพ รอ มกบั มาตรฐานคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค ตวั บงช้ี สภาพท่ีพึงประสงคในแตล ะพฒั นาการ
มาจดั เปน หนว ยการจดั ประสบการณ โดยศกึ ษารายละเอยี ดการจดั ทาํ แผนการจดั ประสบการณ (บทท่ี ๕ หนา ๘๒)

นอกจากน้ีสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรกําหนดขอบขายการจัดกิจกรรมประจําวัน
และตารางกิจกรรมประจาํ วนั ของสถานศึกษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ใหส อดคลอ งกับหลักการจัดกิจกรรม
58 ประจําวันทรี่ ะบุไวในหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

๘. การจัดสภาพแวดลอ ม ส่ือ และแหลง เรียนรู

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองระบุแนวทางการในการจัดสภาพแวดลอม โดยควร
คํานึงถึงการสรางบรรยากาศที่ครอบคลุมดานกายภาพ ซ่ึงไดแก การจัดสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอก
หองเรียน สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีการจัดสภาพแวดลอมอยางไร ที่ชวยสรางบรรยากาศ
การเรียนรูใหเกิดกับเด็ก โดยสามารถเขียนเปนแผนผังสภาพแวดลอมและคําอธิบายประกอบใหชัดเจน
สวนดานจิตภาพ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีการกําหนดแนวทางอยางไร ที่ทําใหผูสอนและ
ผูเกี่ยวของสรางบรรยากาศเพ่ือใหเด็กเรียนรูอยางมีความสุข มีความรูสึกอบอุน ปลอดภัย กลาแสดงออก
มคี วามมน่ั ใจในตนเอง ไดแ สดงออกทางความคดิ สรา งสรรค และเรยี นรูส ่ิงใหมๆ รวมท้ังการสรางปฏิสมั พันธทีด่ ี
ระหวางครกู บั เด็ก

ท้ังนี้ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองกําหนดส่ือและแหลงเรียนรูเพื่อใหเด็กไดพัฒนา
ตามจุดหมาย และครอบคลุมมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคที่กําหนดไวในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยเนนสื่อและแหลงเรียนรูที่คํานึงถึงวัย พัฒนาการ และความแตกตางของเด็ก รวมท้ัง
บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรมทแี่ วดลอ มเดก็ ควรระบถุ แึ หลง เรยี นรภู ายในและภายนอกสถานศกึ ษา สถานทส่ี าํ คญั
ในชมุ ชน ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ พรอมทั้งอธบิ ายแนวทางการใชสือ่ และแหลง เรยี นรู เพอื่ เปน แนวทางสําหรับผสู อน
ไดถ ือเปนหลักปฏบิ ตั ิในสถานศึกษา

๙. การประเมินพฒั นาการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยจัดทําแนวปฏิบัติและเครื่องมือในการประเมินพัฒนาการ
เด็กปฐมวัย ใหทุกฝายที่เกี่ยวของไดปฏิบัติใหสอดคลองกับหลักการประเมินพัฒนาการท่ีกําหนดไวในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรเขียนแนวทาง
การดาํ เนนิ การประเมินพัฒนาการใหม รี ายละเอียดชัดเจนและสามารถปฏบิ ตั ไิ ด ประกอบดว ย

๙.๑ หลักการประเมนิ พฒั นาการเด็ก
๙.๒ ขอบเขตของการประเมนิ พฒั นาการ มีรายละเอยี ดการดําเนนิ การดงั น้ี

๙.๒.๑ พัฒนาการดานตางๆ
๙.๒.๒ มาตรฐานคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ตวั บง ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค
๙.๒.๓ วิธีการและเครือ่ งมอื การประเมินพฒั นาการ
๙.๒.๔ เกณฑการประเมินพัฒนาการและระดบั คุณภาพ
๙.๒.๕ การสรุปผลการประเมินพัฒนาการ
๙.๒.๖ การรายงานผลการประเมินพฒั นาการ

๑๐. การบริหารจดั การหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย 59

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีภารกิจหลักในการจัดการศึกษาใหเด็กปฐมวัยไดรับ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
การพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ ผูบริหารสถานศึกษา ผูสอน และผูเกี่ยวของทุกฝาย จึงมีบทบาทสําคัญในการ
บริหารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยใหมีประสิทธภิ าพ ดังนี้

๑๐.๑ กําหนดบทบาทหนาท่ีของผูที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
เชน ผูบริหารสถานศกึ ษา ผสู อนปฐมวัย ผดู ูแลเดก็ หรือพีเ่ ล้ียงเดก็ พอ แม ผปู กครอง และชมุ ชนทอ งถิ่น

๑๐.๒ เตรียมความพรอมในการนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไปสูการปฏิบัติ โดยพิจารณาถึง
การพฒั นาบคุ ลากรปฐมวยั การจดั เตรยี มงบประมาณและทรพั ยากรทจ่ี าํ เปน อาคารสถานที่ สอ่ื และแหลง เรยี นรู
ใหเ พยี งพอและมีความปลอดภยั

๑๐.๓ สงเสริมสนับสนุนการนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติอยางเหมาะสม เชน
การจัดเตรียมเอกสารหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยและแนวทางการจัดประสบการณ รวมถึงขอมูลสารสนเทศ
อื่นๆ ที่จําเปน เพ่ือใหผูสอนสามารถนําหลักสูตรไปใชจัดประสบการณการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการเด็ก
อยางรอบดา นไดเหมาะสมกบั วยั และมีประสทิ ธภิ าพ

๑๐.๔ นิเทศติดตามการนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติอยางเปนระบบตอเนื่อง
มีการประเมินการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และนําผลมาพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรและจัดประสบการณ
การเรยี นรูใหม ีประสทิ ธภิ าพ

๑๐.๕ ประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาปฐมวยั เพ่อื นาํ ขอมลู จากการรายงานผลมาจัดทาํ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑๑. การสรา งรอยเชือ่ มตอ ระหวา งการศกึ ษาระดับปฐมวยั กบั ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑

สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตองนําเสนอรายละเอียดในการบริหารจัดการเกี่ยวกับ
การสรางรอยเชื่อมตอของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ โดยกําหนดบทบาทของ
บุคลากรที่เกีย่ วขอ ง วิธีการและการสรางความตระหนกั ใหผูทเี่ กย่ี วของไดเหน็ ความสาํ คญั และใหก ารชวยเหลือ
สนับสนุนเพื่อใหเด็กปฐมวัยปรับตัวพรอมรับการเปลี่ยนแปลง เชน ผูสอนระดับปฐมวัยมีการเตรียมความพรอม
ในการจดั กจิ กรรม เพอื่ นาํ ไปสกู ารจดั การเรยี นรใู นระดบั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ อยา งไร และผสู อนระดบั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑
ไดวางแผนเตรียมความพรอมสําหรับเด็กที่ขึ้นมาจากระดับปฐมวัยอยางไร ผูบริหารสถานศึกษามีการสนับสนุน
ชวยเหลืออยางไร ผูปกครองสงเสริมชวยเหลือบุตรหลานอยางไร เพราะการสรางรอยเชื่อมตอของการศึกษา
ระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ มีความสําคัญอยางยิ่งตอการเรียนรูของเด็ก หากเด็กสามารถ
ปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นได เด็กจะสามารถเรียนรูและมีพัฒนาการที่กาวหนา ถาหากเด็ก
ไมสามารถปรับตัวไดอาจกลายเปนอุปสรรคในการเรียนรูของเด็กในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ได เน่ืองจาก
รปู แบบและลกั ษณะในการจดั การเรยี นรขู องทงั้ สองระดบั ชน้ั มคี วามแตกตา งกนั จงึ จาํ เปน ตอ งไดร บั การสนบั สนนุ
และชว ยเหลอื ที่เหมาะสมจากผสู อน พอแม ผปู กครอง ชุมชน ตลอดจนบุคลากรอ่ืนๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง

๑๒. ภาคผนวก

สถานศกึ ษาสามารถนาํ เอกสารอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งกบั การดาํ เนนิ การจดั ทาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
60 มาไวใ นภาคผนวกตามความเหมาะสม เชน ประกาศการใชห ลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั คาํ สงั่ แตง ตง้ั คณะกรรมการ

จัดทาํ หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย ฯลฯ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

บทที่ ๔

การจดั ประสบการณ

การจัดประสบการณสาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป เปน การจดั กิจกรรมในลกั ษณะการบรู ณาการผาน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การเลน ดว ยการลงมือปฏิบตั จิ ริงโดยใชป ระสาทสมั ผสั ทง้ั หา เพ่ือใหเ ดก็ ไดรับประสบการณต รงอยางหลากหลาย
เกดิ การเรยี นรู ไดพ ฒั นาทงั้ ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา การจดั ประสบการณจ ะตอ งครอบคลมุ 61
ประสบการณสําคัญและสาระที่ควรเรียนรูท่ีกําหนดในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และ
ควรยืดหยุนใหมีสาระท่ีควรเรียนรูที่เด็กสนใจและสาระท่ีควรเรียนรูท่ีผูสอนกําหนด การกําหนดกิจกรรม คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ใหเด็กในแตละวันไมจัดเปนรายวิชา และอาจใชชื่อเรียกกิจกรรมแตกตางกันไปในแตละหนวยงาน สําหรับ
การนําแนวคิดจากนวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยตางๆ มาประยุกตใชในการจัดประสบการณ ผูสอน
ตองทําความเขาใจแนวคิดนวัตกรรมนั้นๆ ซ่ึงแตละนวัตกรรมการจัดการศึกษาปฐมวัยจะมีจุดเดนของตนเอง
แตโ ดยภาพรวมแลว นวตั กรรมการจดั การศกึ ษาปฐมวยั สว นใหญย ดึ เดก็ เปน สาํ คญั การลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว ยตวั เดก็
จะเปน หัวใจสําคัญของการพฒั นาเดก็ โดยองครวม นอกจากน้ี ผสู อนตองศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในหลกั การจดั
ประสบการณ แนวทางการจดั ประสบการณ และการจัดกจิ กรรมประจาํ วัน ดงั นี้

๑. หลักการจดั ประสบการณ

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดกาํ หนดหลกั การจัดประสบการณไว ดงั น้ี
๑.๑ จัดประสบการณการเลนและการเรียนรูอยางหลากหลาย เพ่ือพัฒนาเด็กโดยองครวม
อยางสมดลุ และตอ เนอื่ ง
๑.๒ เนนเด็กเปนสําคัญ สนองความตองการ ความสนใจ ความแตกตางระหวางบุคคลและ
บริบทของสงั คมทเ่ี ด็กอาศัยอยู
๑.๓ จัดใหเด็กไดรับการพัฒนา โดยใหความสําคัญกับกระบวนการเรียนรูและพัฒนาการ
ของเดก็
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการใหเปนกระบวนการอยางตอเน่ือง และเปนสวนหนึ่งของการจัด
ประสบการณ พรอ มท้ังนาํ ผลการประเมินมาพฒั นาเด็กอยา งตอเนอ่ื ง
๑.๕ ใหพ อแม ครอบครัว ชมุ ชน และทกุ ฝายท่เี กย่ี วของ มีสว นรว มในการพัฒนาเดก็

๒. แนวทางการจัดประสบการณ

การจัดประสบการณสําหรบั เดก็ ปฐมวยั ควรดาํ เนินการตามแนวทางดังตอไปนี้
๒.๑ จัดประสบการณใหสอดคลองกับจิตวิทยาพัฒนาการ และการทํางานของสมองที่เหมาะสม
กบั อายุ วุฒิภาวะ และระดบั พัฒนาการ เพอื่ ใหเ ดก็ ทุกคนไดพัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ
๒.๒ จัดประสบการณใหสอดคลองกับแบบการเรียนรูของเด็ก เด็กไดลงมือกระทํา เรียนรูผาน
ประสาทสมั ผสั ท้ังหา ไดเ คลื่อนไหว สํารวจ เลน สังเกต สบื คน ทดลอง และคิดแกป ญ หาดว ยตนเอง
๒.๓ จดั ประสบการณแ บบบรู ณาการ โดยบรู ณาการทัง้ กิจกรรม ทกั ษะ และสาระการเรียนรู
๒.๔ จัดประสบการณใหเด็กไดคิดริเริ่ม วางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทํา และนําเสนอความคิด
โดยผูสอนหรอื ผจู ัดประสบการณเปน ผสู นับสนุน อํานวยความสะดวก และเรียนรรู วมกับเด็ก
๒.๕ จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับเด็กอื่น กับผูใหญ ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ
การเรยี นรูในบรรยากาศทอี่ บอุน มีความสขุ และเรยี นรูก ารทํากจิ กรรมแบบรว มมือในลักษณะตา งๆ
๒.๖ จัดประสบการณใหเด็กมีปฏิสัมพันธกับส่ือและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย และอยูในวิถีชีวิต
ของเด็ก สอดคลอ งกับบริบทสังคมและวฒั นธรรมท่ีแวดลอมเด็ก
๒.๗ จัดประสบการณที่สงเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะการใชชีวิตประจําวัน ตามแนวทาง
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และการมีวนิ ัย ใหเ ปน สวนหน่งึ ของ
การจดั ประสบการณการเรียนรูอยา งตอ เนอ่ื ง
๒.๘ จัดประสบการณท้ังในลักษณะท่ีมีการวางแผนไวลวงหนา และแผนที่เกิดข้ึนในสภาพจริง
โดยไมไ ดค าดการณไ ว
62 ๒.๙ จัดทําสารนิทัศนดวยการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ เปนรายบคุ คล นํามาไตรตรองเพอ่ื ใชใ หเปนประโยชนตอการพัฒนาเด็กและการวิจยั ในช้ันเรียน
๒.๑๐จดั ประสบการณโ ดยใหพ อ แม ครอบครวั และชมุ ชน มสี ว นรว มทงั้ การวางแผน การสนบั สนนุ
ส่อื และแหลงเรยี นรู การเขารว มกิจกรรม และการประเมนิ พฒั นาการ

๓. การจดั กิจกรรมประจาํ วัน

กจิ กรรมประจาํ วนั สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป สามารถนาํ มาจดั ไดห ลายรปู แบบขนึ้ อยกู บั ความเหมาะสม
ในการนําไปใชของแตละหนวยงาน ซ่ึงเปนการชวยใหผูสอนทราบวา ในแตละวันจะทํากิจกรรมอะไร เม่ือใด
และอยางไร และที่สําคัญ ผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุมพัฒนาการ ทุกดาน การจัดกิจกรรม
ประจําวันมีหลักการจัดกิจกรรมประจําวัน ขอบขายของกิจกรรมประจําวัน และรูปแบบการจัดกิจกรรม
ประจาํ วัน ดงั นี้

๓.๑ หลักการจดั กจิ กรรมประจาํ วนั
การจัดกจิ กรรมประจาํ วันจะตอ งคาํ นึงถึงอายแุ ละความสนใจของเด็กในแตละชว งวัย ดังนี้
๓.๑.๑ กําหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตละกิจกรรมใหเหมาะสมกับวัยของเด็ก

ในแตละวนั แตส ามารถยืดหยนุ ไดต ามความตองการและความสนใจของเดก็ เชน
เดก็ วยั ๓ - ๔ ป มีความสนใจประมาณ ๘ - ๑๒ นาที
เดก็ วยั ๔ - ๕ ป มีความสนใจประมาณ ๑๒ - ๑๕ นาที
เด็กวัย ๕ - ๖ ป มีความสนใจประมาณ ๑๕ - ๒๐ นาที

๓.๑.๒ กิจกรรมที่ตองใชความคิดท้ังในกลุมเล็กและกลุมใหญ ไมควรใชเวลาตอเน่ือง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
นานเกนิ กวา ๒๐ นาที
63
๓.๑.๓ กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเลนเสรี เพ่ือชวยใหเด็กเรียนรูการเลือก การตัดสินใจ
การคิดแกปญหา และความคิดสรางสรรค ใชเวลาประมาณ ๔๐ - ๖๐ นาที เชน กิจกรรมการเลนตามมุม คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
กจิ กรรมการเลนกลางแจง กจิ กรรมศลิ ปะสรางสรรค

๓.๑.๔ กิจกรรมควรมีความสมดุลระหวางกิจกรรมในหองและนอกหอง กิจกรรมที่ใช
กลามเน้ือใหญและกลามเน้ือเล็ก กิจกรรมท่ีเปนรายบุคคล กลุมยอย และกลุมใหญ กิจกรรมท่ีเด็กเปนผูริเริ่ม
และผสู อนเปน ผูริเริ่ม กิจกรรมทีใ่ ชกาํ ลังและไมใ ชกาํ ลงั จดั ใหค รบทุกประเภท ทงั้ นี้ กิจกรรมที่ตอ งออกกําลงั กาย
ควรจดั สลบั กบั กิจกรรมท่ไี มต อ งออกกําลังมากนัก เพ่ือเด็กจะไดไ มเหนื่อยเกนิ ไป

๓.๒ ขอบขายของกิจกรรมประจาํ วนั
การเลือกกิจกรรมท่ีจะนํามาจัดในแตละวัน สามารถจัดไดหลายรูปแบบ ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับ

ความเหมาะสมในการนําไปใชของแตละหนวยงานและสภาพชุมชน ที่สําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรม
ใหครอบคลมุ พัฒนาการทกุ ดานดังตอไปนี้

๓.๒.๑ การพัฒนากลามเน้ือใหญ เปนการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุน
ความคลองแคลว ในการใชอวัยวะตางๆ การประสานสัมพนั ธ และจงั หวะการเคล่ือนไหวในการใชกลามเนอ้ื ใหญ
โดยจดั กจิ กรรมใหเ ด็กไดเ ลน อิสระกลางแจง เลน เคร่อื งเลน สนาม เลน ปน ปายอยา งอสิ ระ และเคลอื่ นไหวรางกาย
ตามจังหวะดนตรี

๓.๒.๒ การพัฒนากลามเน้ือเล็ก เปนการพัฒนาความแข็งแรงของกลามเนื้อมือ - นิ้วมือ
และการประสานสัมพันธระหวางมือกับตาไดอยางคลองแคลว โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดเลนเคร่ืองเลนสัมผัส
ฝกชว ยเหลือตนเองในการแตง กาย การหยิบจบั สิง่ ของและอุปกรณต า งๆ เชน ชอ น สอม สเี ทียน กรรไกร พกู นั
ดนิ เหนียว

๓.๒.๓ การพฒั นาอารมณ จติ ใจ และปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปนการปลูกฝงใหเด็ก
มีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอ่ืน มีความเช่ือม่ัน กลาแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซื่อสัตย ประหยัด เมตตา
กรณุ า เอ้อื เฟอ แบงปน มีมารยาท และปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาท่นี ับถือ โดยจดั กิจกรรมตา งๆ
ผานการเลน ใหเ ดก็ ไดมโี อกาสตดั สนิ ใจเลอื ก ไดรบั การตอบสนองตามความตอ งการ ไดฝก ปฏิบัติโดยสอดแทรก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมอยา งตอเนอ่ื ง

๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เปนการพัฒนาใหเด็กมีลักษณะนิสัยท่ีดี แสดงออกอยาง
เหมาะสม และอยรู ว มกบั ผอู นื่ ไดอ ยา งมคี วามสขุ ชว ยเหลอื ตนเองในการทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั มนี สิ ยั รกั การทาํ งาน
รักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ่ืน รวมท้ังระมัดระวังอันตรายจากคนแปลกหนา ใหเด็กไดปฏิบัติ
กิจวัตรประจําวันอยางสม่ําเสมอ รับประทานอาหาร พักผอนนอนหลับ ขับถาย ทําความสะอาดรางกาย
เลนและทาํ งานรวมกบั ผอู ่ืน ปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า ขอตกลงของสวนรวม เก็บของเขาท่ีเมอื่ เลนหรอื ทํางานเสรจ็

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เปน การพฒั นาใหเดก็ มีความสามารถในการคดิ แกป ญหา การคิด
รวบยอด และการคิดเชิงเหตุผลทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โดยจัดกิจกรรมใหเด็กไดสังเกต จําแนก
เปรียบเทียบ สืบเสาะหาความรู สนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ศกึ ษานอกสถานที่ เลน เกมการศกึ ษา ฝก แกป ญ หาในชวี ติ ประจาํ วนั ฝก ออกแบบและสรา งชนิ้ งาน และทาํ กจิ กรรม

เปน รายบคุ คล กลุม ยอย และกลุมใหญ
๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เปนการพัฒนาใหเด็กใชภาษาในการส่ือสารถายทอดความรูสึก

ความคิด ความเขาใจในส่ิงตางๆ ที่เด็กมีประสบการณ โดยสามารถตั้งคําถามในสิ่งท่ีสงสัยใครรู จัดกิจกรรม

ทางภาษาใหมีความหลากหลายในสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการเรียนรู มุงปลูกฝงใหเด็กไดกลาแสดงออก

ในการฟง การพดู การอาน การเขียน มีนิสัยรกั การอาน และบคุ คลแวดลอมตอ งเปน แบบอยา งที่ดีในการใชภาษา

ทง้ั นี้ ตองคํานงึ ถงึ หลักการจดั กิจกรรมทางภาษาท่ีเหมาะสมกบั เดก็ เปนสําคัญ
๓.๒.๗ การสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรค เปนการสงเสริมใหเด็กมี

ความคิดรเิ รมิ่ สรา งสรรค ไดถายทอดอารมณและความรสู กึ และเห็นความสวยงามของสิง่ ตางๆ โดยจดั กิจกรรม

ศิลปะสรางสรรค การเคล่ือนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐส่ิงตางๆ อยางอิสระ เลนบทบาทสมมติ

เลนนา้ํ เลน ทราย เลนบล็อก และเลนกอ สรา ง
๓.๓ รูปแบบการจัดกจิ กรรมประจาํ วัน
การจดั ตารางกิจกรรมประจาํ วนั สามารถจัดไดห ลายรปู แบบ ทง้ั นี้ ขน้ึ อยูกับความเหมาะสม

ในการนําไปใชของแตละหนวยงาน ท่ีสําคัญผูสอนตองคํานึงถึงการจัดกิจกรรมใหครอบคลุมพัฒนาการทุกดาน

จงึ ขอเสนอแนะสดั สวนเวลาในการพฒั นาเด็กแตละวนั ดงั นี้

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐64 รายการการพฒั นา อายุ ๓ - ๔ ป อายุ ๔ - ๕ ป อายุ ๕ - ๖ ป
ชว่ั โมง : วนั ชั่วโมง : วนั ช่วั โมง : วัน
๑. การพัฒนาทกั ษะพื้นฐานในชีวิตประจาํ วัน (ประมาณ) (ประมาณ) (ประมาณ)
(รวมท้ังการชว ยตนเองในการแตงกาย การรบั ประทาน
อาหาร สขุ อนามัย และการนอนพกั ผอน) ๓ ๒ ๑/๒ ๒ ๑/๔
๒. การเลนเสรี
๓. การคดิ และความคดิ ริเริม่ สรางสรรค ๑๑๑
๔. กจิ กรรมดานสงั คม (การทาํ งานรวมกับผูอน่ื )
๕. กจิ กรรมพัฒนากลามเนือ้ ใหญ ๑๑๑
๖. กิจกรรมที่มกี ารวางแผนโดยผูสอน
๑/๒ ๓/๔ ๑
เวลาโดยประมาณ
๓/๔ ๓/๔ ๓/๔

๓/๔ ๑ ๑

๗๗๗

หมายเหตุ
๑. การจัดสัดสวนของเวลาในแตละวันท่ีเสนอไวสามารถปรับและยืดหยุนได ทั้งน้ี ข้ึนอยู

กบั ผสู อนและสภาพการณ โดยยดึ หลกั การจดั กจิ กรรมประจําวนั ประกอบ

๒. รายการการพฒั นาทน่ี าํ เสนอใหค วามสาํ คญั กบั ทกั ษะพน้ื ฐานในชวี ติ ประจาํ วนั ทง้ั นี้ เนอ่ื งจาก ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
การศกึ ษาปฐมวยั เปน การศกึ ษาขน้ั แรกทที่ าํ ใหเ ดก็ ชว ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาํ วนั ซงึ่ เดก็ อายุ ๓ ป
ตอ งใหเ วลาในการทาํ กจิ วตั รประจาํ วนั มาก และเมอื่ เดก็ อายมุ ากขนึ้ สดั สว นเวลาทที่ าํ กจิ วตั รประจาํ วนั จะนอ ยลง 65
ตามลําดบั เนอ่ื งจากเดก็ ชว ยเหลอื ตนเองไดมากขน้ึ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๓. การจัดกิจกรรมการเลนเสรี เปนสิ่งสําคัญและจําเปนสําหรับเด็กปฐมวัย ชวยให
เดก็ รูจกั เลอื กตดั สินใจ คิดแกปญ หา คิดสรา งสรรคใ นแตละวัน เดก็ ทกุ วัยควรมีโอกาสเลน เสรี ๑ ช่ัวโมง : วัน

๔. การคิดและความคิดสรางสรรค ทําใหเด็กเกิดความคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล
มีความสามารถในการแกป ญ หาและตดั สนิ ใจ มีจินตนาการและความคดิ สรางสรรค

๕. กิจกรรมดานสังคม เปนกิจกรรมท่ีเด็กไดพัฒนาลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอยาง
เหมาะสม มีปฏิสัมพันธและอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข แตเด็กท่ีอายุนอยยังยึดตัวเองเปนศูนยกลาง
ดังน้ัน การใหเ วลาในชว งวยั ๓ - ๔ ป จงึ ใหเวลานอยในการทาํ กจิ กรรมกลุมและจะเพิ่มเวลาเมอื่ เดก็ อายุมากขึ้น
เพราะเดก็ ตองการเวลาในการทาํ กจิ กรรมรวมกับคนอน่ื มากขนึ้

๖. การจัดกิจกรรมพัฒนากลามเนื้อใหญ เปนกิจกรรมท่ีชวยใหเด็กมีรางกายแข็งแรง
มีการทรงตัวที่ดี มีการยืดหยุนและความคลองแคลวในการใชอวัยวะตางๆ ตามจังหวะการเคล่ือนไหวและ
การประสานสมั พันธก นั

๗. กิจกรรมที่มีการวางแผนโดยผูสอน (ใหคิดรวบยอดโดยผูสอน) จะชวยใหเด็กเกิด
ทักษะหรือความคดิ รวบยอดในเร่ืองใดเรอื่ งหนึง่ ตามสาระการเรียนรูท กี่ าํ หนดไวในหลักสูตร เชน ผสู อนตอ งการ
ใหเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับน้ํา ผูสอนตองวางแผนกิจกรรมลวงหนา เวลาท่ีใชในแตละวันท่ีกําหนดไว
๓/๔ ชั่วโมง (๔๕ นาที) ในเด็กอายุ ๓ ป มิไดหมายความวาใหผูสอนสอนตอเน่ือง ๔๕ นาที ใน ๑ กิจกรรม
เพ่ือใหเด็กเกิดความคิดรวบยอด ผูสอนตองพิจารณาวาตามพัฒนาการเด็กมีชวงความสนใจสั้น จะตอง
จัดแบงเวลาเปนหลายชว ง เด็กอาจถกู สอนความคิดรวบยอดเร่อื งนาํ้ ในกิจกรรมอืน่ ๆ

การจัดตารางกิจกรรมประจําวัน ผูสอนสามารถปรับใชไดตามความเหมาะสมของบริบท
แตละสถานศึกษา และแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยของนวัตกรรมท่ีนํามาใชในการจัดประสบการณ
กิจกรรมท่ีจัดใหเด็กในแตละวัน อาจใชชื่อเรียกกิจกรรมแตกตางกันไปในแตละหนวยงาน ดังตัวอยางตาราง
กิจกรรมประจาํ วนั ตอ ไปน้ี

ตวั อยางตารางกิจกรรมประจาํ วัน

ตวั อยางแบบที่ ๑ ตวั อยา งแบบท่ี ๒

๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. รบั เด็ก ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. รับเดก็

๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. เคารพธงชาติ สวดมนต ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. เคารพธงชาติ สวดมนต

๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ น. ตรวจสขุ ภาพ ไปหองนํ้า ๐๙.๐๐ - ๐๙.๓๐ น. กิจกรรมดนตรแี ละจังหวะ/
กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ

๐๙.๐๐ - ๐๙.๒๐ น. กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. กจิ กรรมศิลปะสรา งสรรคและ
กิจกรรมการเลน ตามมมุ

๐๙.๒๐ - ๑๐.๒๐ น. กจิ กรรมศลิ ปะสรา งสรรคแ ละ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๐ น. พกั (รบั ประทานอาหารวาง)
กจิ กรรมการเลน ตามมมุ

๑๐.๒๐ - ๑๐.๓๐ น. พัก (รบั ประทานอาหารวาง) ๑๐.๔๐ - ๑๑.๒๐ น. กจิ กรรมการเลนกลางแจง

๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. กจิ กรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรม ๑๑.๒๐ - ๑๑.๓๐ น. พกั (รับประทานอาหารวา ง)
ในวงกลม

๑๐.๔๕ - ๑๑.๓๐ น. กิจกรรมการเลนกลางแจง ๑๑.๓๐ - ๑๑.๕๐ น. กิจกรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรม
ในวงกลม
ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๑๑.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. พัก (รับประทานอาหารกลางวัน) ๑๑.๕๐ - ๑๓.๐๐ น. พัก (รับประทานอาหารกลางวัน)

๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. นอนพักผอ น ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. นอนพกั ผอน

๑๔.๐๐ - ๑๔.๒๐ น. เก็บทีน่ อน ลา งหนา ๑๕.๐๐ - ๑๕.๑๐ น. เก็บทีน่ อน ลางหนา

๑๔.๒๐ - ๑๔.๓๐ น. พกั (รับประทานอาหารวา ง) ๑๕.๑๐ - ๑๕.๓๐ น. พัก (รบั ประทานอาหารวา ง)

66 ๑๔.๓๐ - ๑๔.๕๐ น. เกมการศึกษา ๑๕.๓๐ - ๑๕.๕๐ น. เกมการศึกษา เลานทิ าน

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑๔.๕๐ - ๑๕.๐๐ น. เตรยี มตวั กลับบาน ๑๕.๕๐ - ๑๖.๐๐ น. เตรียมตวั กลับบาน

หมายเหตุ
หากมีเหตุการณอื่นใดที่เด็กสนใจเกิดข้ึน ผูสอนควรนํามาจัดประสบการณไดทันที หรือกิจกรรม
วันสําคัญของทองถนิ่ กจิ กรรมศกึ ษานอกสถานทกี่ ็อาจงดกิจกรรมประจําวันในชว งเวลานั้น แลว พาเด็กไปศึกษา
นอกสถานทีไ่ ด

๑. กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดเคล่ือนไหวสวนตางๆ ของรางกาย
67
อยา งอสิ ระตามจงั หวะ โดยใชเ สยี งเพลง คาํ คลอ งจอง เครอื่ งเคาะจงั หวะ และอปุ กรณอ นื่ ๆ มาประกอบการเคลอื่ นไหว
ซึง่ จังหวะและดนตรีท่ใี ชป ระกอบ ไดแ ก เสียงตบมอื เสียงเพลง เสียงเคาะไม เคาะเหล็กกรุง กร๋งิ ราํ มะนา กลอง คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
กรับ ฯลฯ มาประกอบการเคล่ือนไหวเพ่ือสงเสริมใหเด็กเกิดจินตนาการความคิดสรางสรรค เด็กวัยนี้รางกาย
กาํ ลงั อยูในระหวา งพัฒนาการใชส วนตางๆ ของรางกาย ยังไมป ระสานสมั พนั ธกนั อยา งสมบรู ณ

จุดประสงค
๑. เพอ่ื พฒั นาอวัยวะทกุ สวนใหม คี วามสมั พนั ธกนั อยา งดใี นการเคลือ่ นไหว
๒. เพ่ือฝกทักษะภาษา ฝกฟง คําส่ัง และขอตกลง
๓. เพ่ือใหเกดิ ความซาบซง้ึ และสนุ ทรียภาพในการเคล่ือนไหว
๔. เพือ่ พฒั นาดา นสงั คม การปรับตัวและความรวมมือในกลุม
๕. เพ่ือใหโอกาสเด็กไดแ สดงออก และความคิดริเริม่ สรา งสรรค
๖. เพื่อใหเกดิ ความสนกุ สนาน ผอ นคลายความตงึ เครียด
๗. เพอ่ื ใหไดรบั ประสบการณ สนกุ สนาน ร่ืนเรงิ จากการเคลือ่ นไหว และจังหวะแบบตางๆ

ขอบขา ย/เน้ือหา/กิจกรรม

๑. กจิ กรรมการเคลอื่ นไหวพนื้ ฐาน เปน กจิ กรรมทตี่ อ งฝก ทกุ ครงั้ กอ นทจี่ ะเรมิ่ ฝก กจิ กรรมอนื่ ๆ ตอ ไป
ลักษณะการจัดกิจกรรมมีจุดเนนในเร่ืองจังหวะและการเคลื่อนไหวหรือทาทางอยางอิสระ การเคล่ือนไหว
ตามธรรมชาติของเดก็ มี ๒ ประเภท คอื การเคลอ่ื นไหวอยูกับที่ เชน ตบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา ชันเขา เคาะเทา
เคลอื่ นไหวมอื และแขน มอื และนว้ิ มอื เทา และปลายเทา การเคลอ่ื นไหวเคลอื่ นท่ี เชน คลาน คบื เดนิ วง่ิ กระโดด
ควบมา กา วกระโดด เขยง กา วชดิ

โดยกิจกรรมการเคลอื่ นไหวพ้นื ฐานอาจดําเนินการ ดังนี้
๑.๑ ใหเด็กทราบถึงขอตกลงรวมกันในการกําหนดสัญญาณและจังหวะ โดยผูสอนตองทํา
ความเขา ใจกับเด็กกอ นวา สัญญาณนั้นหมายถึงอะไร เชน

(๑) ใหจ งั หวะ ๑ ครง้ั สมาํ่ เสมอ แสดงวา ใหเ ดก็ เดนิ หรอื เคลอื่ นไหวไปเรอื่ ยๆ ตามจงั หวะ
(๒) ใหจ งั หวะ ๒ คร้ังตดิ กนั แสดงวา ใหเ ด็กหยดุ การเคลอื่ นไหว โดยเด็กจะตอ งหยดุ น่ิง
จริงๆ หากกําลงั อยูในทา ใด กต็ อ งหยุดน่ิงในทา น้ัน จะเคล่อื นไหวหรือเปลยี่ นทาไมไ ด
(๓) ใหจงั หวะรัว แสดงวา ใหเด็กเคลือ่ นไหวอยางเร็ว หรือเคลอื่ นทเี่ ร็วขึน้ เชน การฝก
การเปนผนู าํ หรอื ผูตามจะหมายถงึ การเปลยี่ นตาํ แหนง
๑.๒ ใหเด็กเคลื่อนไหวอยางอิสระตามความคิดหรือจินตนาการของตนเอง โดยใชสวนตางๆ
ของรางกายใหมากท่ีสุด และขณะเดียวกันตองคํานึงถึงองคประกอบพ้ืนฐานในการเคลื่อนไหว ซ่ึงไดแก การใช
รางกายตนเอง การใชพ นื้ ท่บี รเิ วณ การเคลื่อนไหวอยางมีอิสระ มรี ะดบั และทศิ ทาง

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๒. กิจกรรมการเคลื่อนไหวท่ีสัมพันธกับเน้ือหา เปนกิจกรรมท่ีจัดใหเด็กไดเคลื่อนไหวรางกาย
โดยเนนการทบทวนเรื่องท่ีไดรับรูจากกิจกรรมอื่น และนํามาสัมพันธกับสาระการเรียนรูหรือเร่ืองอื่นๆ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ทเ่ี ด็กสนใจ ไดแก

๒.๑ การเคล่ือนไหวเลียนแบบ เปนการเคล่ือนไหวเลียนแบบสิ่งตางๆ รอบตัว เชน
การเลียนแบบทาทางสัตว การเลียนแบบทาทางคน การเลียนแบบเครื่องยนตกลไกและเคร่ืองเลน และ
การเลียนแบบปรากฏการณธ รรมชาติ

๒.๒ การเคลื่อนไหวตามบทเพลง เปนการเคลื่อนไหวหรือทําทาทางประกอบเพลง เชน
เพลงไก เพลงขามถนน เพลงสวสั ดี

๒.๓ การทําทาทางกายบริหารประกอบเพลงหรือคําคลองจอง เปนการทําทาทางการ
บริหารกายบริหารตามจังหวะและทํานองเพลงหรือคําคลองจอง เชน เพลงกํามือแบมือ เพลงออกกําลังกาย
รับแสงตะวัน คําคลองจองฝนตกพรําพราํ

๒.๔ การเคล่ือนไหวเชิงสรางสรรค เปนการเคลื่อนไหวที่ใหเด็กคิดสรางสรรคทาทางขึ้นเอง
หรอื อาจชี้นําดวยการปอนคาํ ถามเคล่ือนไหวโดยใชอ ปุ กรณป ระกอบ เชน หวงหวาย แถบผา รบิ บ้ิน ถุงทราย

๒.๕ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามคําบรรยายหรือเร่อื งราว เปนการเคลื่อนไหว
หรือแสดงทา ทางตามจนิ ตนาการจากเรือ่ งราว หรอื คําบรรยายที่ผูสอนเลา

๒.๖ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามคําส่ัง เปนการเคล่ือนไหวหรือทําทาทาง
ตามคาํ สง่ั ของครู เชน การจัดกลุมตามจํานวน การทาํ ทาทางตามคําสง่ั
68 ๒.๗ การเคล่ือนไหวหรือการแสดงทาทางตามขอตกลง เปนการเคลื่อนไหวหรือทําทาทาง
ตามขอตกลงที่ไดต กลงไวกอ นเรมิ่ กิจกรรม

๒.๘ การเคลอื่ นไหวหรอื การแสดงทา ทางเปน ผนู าํ ผตู าม เปน การเคลอ่ื นไหวหรอื ทาํ ทา ทาง
จากความคิดสรางสรรคของเดก็ เอง แลว ใหเ พ่อื นปฏบิ ัติตามกจิ กรรม

จากรูปแบบการเคล่ือนไหวขางตน ลักษณะการเคล่ือนไหวของเด็กอาจมีลักษณะตางๆ เชน
ชา เรว็ นมุ นวล ทาํ ทา ทางขงึ ขงั รา เรงิ มคี วามสขุ หรอื เศรา โศกเสยี ใจ และมที ศิ ทางการเคลอ่ื นไหวทแ่ี ตกตา งกนั เชน
การเคลื่อนไหวไปขางหนา และขา งหลงั ไปขา งซา ยและขางขวา เคลอ่ื นตัวข้นึ และลง หรอื เคลื่อนไหวรอบทิศทาง
โดยใหมีระดับของการเคลื่อนไหวสงู กลาง และต่าํ ในบริเวณพ้นื ท่ีท่ีเดก็ ตองการเคล่อื นไหว

ส่อื กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ

๑. เครอ่ื งเคาะจงั หวะ เชน ฉิง่ เหลก็ สามเหลี่ยม กรับ รํามะนา กลอง
๒. อุปกรณประกอบการเคล่ือนไหว เชน หนังสือพิมพ ริบบิ้น แถบผา หวงหวาย หวงพลาสติก
ถุงทราย

ขอเสนอแนะ

๑. ควรเร่ิมกิจกรรมจากการเคลื่อนไหวที่เปนอิสระ และมีวิธีการท่ีไมยุงยากมากนัก เชน ใหเด็ก
ไดเ คล่อื นไหวกระจายอยภู ายในหอง และใหเ คลอ่ื นไหวไปตามธรรมชาติของเดก็

๒. ควรใหเด็กไดแสดงออกดวยตนเองอยางอิสระ และเปนไปตามความนึกคิดของเด็กเอง ผูสอน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ไมควรชแี้ นะ
69
๓. ควรเปด โอกาสใหเ ดก็ คดิ หาวธิ เี คลอื่ นไหว ทง้ั ทต่ี อ งเคลอ่ื นทแี่ ละไมต อ งเคลอ่ื นท่ี เปน รายบคุ คล
เปน คู เปน กลมุ ตามลาํ ดับ และกลมุ ไมควรเกนิ ๕ - ๖ คน คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

๔. ควรใชวัสดุที่อยูใกลตัวเด็ก เชน ของเลน กระดาษหนังสือพิมพ เศษผา เชือก ทอนไม
ประกอบการเคลือ่ นไหวและการใหจ งั หวะ

๕. ควรกําหนดจังหวะสัญญาณนัดหมายในการเคลื่อนไหวตางๆ เชนการเปลี่ยนทาหรือหยุด
ใหเ ดก็ ทราบเม่ือทาํ กจิ กรรมทุกครงั้

๖. ควรสรางบรรยากาศอยางอสิ ระ ใหเ ด็กรสู ึกอบอุน เพลดิ เพลนิ และรสู ึกสบาย สนกุ สนาน
๗. ควรจดั ใหม รี ูปแบบของการเคลื่อนไหวทห่ี ลากหลาย เพื่อชว ยใหเ ดก็ สนใจมากขึน้
๘. กรณีเดก็ ไมย อมเขารว มกจิ กรรม ผสู อนไมควรใชวิธบี ังคบั ควรใหเ วลาและโนม นา วใหเดก็ สนใจ
เขารว มกิจกรรมดว ยความสมัครใจ
๙. ควรจัดใหม เี กมการเลน ทีไ่ มเ นนการแขง ขนั เพ่ือกระตนุ เรา ความสนใจของเด็กมากข้ึน
๑๐. การจัดกิจกรรมควรจัดตามกําหนดตารางกิจกรรมประจําวัน และควรจัดใหเปนที่นาสนใจ
เกดิ ความสนุกสนาน
๑๑. ใหเ ลนเปนเร่ืองราว โดยการเลาใหเ ดก็ ฟง เดก็ เกดิ จนิ ตนาการและเคลอื่ นไหวไปตามเรอื่ งนั้นๆ
๑๒. หลังจากเด็กไดทํากิจกรรมแลว ตองใหเด็กไดพักผอน โดยอาจเปดเพลงจังหวะชาๆ เบาๆ
ท่สี รา งความรสู กึ ใหเ ดก็ อยากพักผอน

๒. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม

กิจกรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม เปนกิจกรรมท่ีมุงเนนใหเด็กไดพัฒนาทักษะ
การเรียนรู ทักษะการฟง การพูด การสงั เกต การคิดแกป ญ หา การใชเหตผุ ล และปฏิบัติการทดลอง โดยการฝก
ปฏิบัติรวมกัน และการทํางานเปนกลุม ทั้งกลุมยอยและกลุมใหญ เพื่อใหเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเร่ืองที่
ไดเรียนรูมากกวาเน้ือหา เมื่อเกิดการเรียนรูตามกระบวนการจะทําใหเด็กเกิดความรูความเขาใจในเนื้อหาน้ันๆ
ดวยตนเอง

จุดประสงค

๑. เพ่อื ฝก ทักษะกระบวนการคิดพ้ืนฐาน การมสี มาธใิ นการทาํ งานยดื ระยะความสนใจ
๒. เพื่อฝก การใชภ าษาในการฟง การพดู และการถา ยทอดเร่อื งราว
๓. เพอ่ื ฝกมารยาทในการฟง การพูด
๔. เพื่อฝกความรบั ผิดชอบ และปฏิบัติตามขอตกลง
๕. เพ่อื ใหเดก็ เรียนรูผานการสงั เกต มีความอยากรูอยากเห็นสิง่ แวดลอมรอบตัว
๖. เพ่อื สงเสรมิ ความสามารถในการคิดรวบยอด การคดิ แกป ญ หาและตดั สนิ ใจ
๗. เพือ่ สง เสริมการเรียนรู วิธีแสวงหาความรู เกดิ การเรียนรูจ ากการคนพบดวยตนเอง
๘. เพื่อฝกการกลาแสดงออก รวมแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล และยอมรับฟงความคิดเห็น
ของผูอ ่ืน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ขอบขาย/เนอ้ื หา/กิจกรรม

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ นาํ เนอ้ื หาและรายการประสบการณใ นหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มาบรู ณาการการจดั ประสบการณ
การเรียนการสอน โดยยึดข้ันตอนการเรียนรูประสบการณที่อยูใกลตัวเด็กไปยังสิ่งท่ีอยูไกลตัวเด็กมาเปนแกน
ในการจดั หนวยการจดั ประสบการณ

แนวการจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ/ กิจกรรมในวงกลม

การจดั กจิ กรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรมในวงกลม (ควรใชเวลา ๑๕ - ๒๐ นาที) ถานานเกนิ ไป
หรือกิจกรรมไมน าสนใจ เด็กเบ่ือทาํ ใหไมอ ยูนิง่ ในการดาํ เนินกจิ กรรมจะมีวธิ ดี ําเนินกจิ กรรม ๓ ข้นั ตอน คือ

๑. ข้ันนํา เขาสูบทเรียน เปนการเตรียมเด็กใหพรอมและกระตุนใหเด็กสนใจที่จะรวมกิจกรรม
ตอไป กิจกรรมทใ่ี ชอ าจปน การรองเพลง คําคลอ งจอง ปริศนาคําทาย ทา ใบ ฯลฯ ซ่งึ จะใชร ะยะเวลาสั้นๆ

๒. ข้ันสอน เปนการจัดกิจกรรมท่ีตองการใหเด็กไดรับความรูและประสบการณดวยกิจกรรม
หลายรูปแบบ เชน

๒.๑ การสนทนาหรือการอภิปราย เปนการพูดคุยซักถามระหวางเด็กกับผูสอน หรือเด็ก
กับเด็ก เปนการสงเสริมพัฒนาการทางภาษา ดานการพูดและการฟง โดยการกําหนดประเด็นในการสนทนา
หรืออภิปราย เด็กจะไดแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ผูสอนเปดโอกาสใหเด็กซักถาม
โดยใชค ําถามกระตนุ หรอื เลาประสบการณท ่แี ปลกใหม นําเสนอปญหาทีท่ า ทายความคดิ การยกตัวอยาง การใช
สอื่ ประกอบการสนทนาหรอื การอภิปราย ควรใชส อื่ ของจริง ของจําลอง รูปภาพ หรือสถานการณจําลอง
70 ๒.๒ การเลานทิ านหรอื การอา นนิทาน เปน กิจกรรมท่ผี สู อนเลา หรืออา นเร่ืองราวจากนทิ าน
โดยการใชน าํ้ เสยี งประกอบการเลา แตกตา งตามบคุ ลกิ ของตวั ละคร ซงึ่ ผสู อนควรเลอื กสาระของนทิ านใหเ หมาะสม
กับวัย สื่อที่ใชอาจเปนหนังสือนิทาน หนังสือภาพ แผนภาพ หุนมือ หุนน้ิวมือ หรือการแสดงทาทางประกอบ
การเลาเรื่อง โดยผูสอนใชคําถามเพ่ือกระตุนการเรียนรู เชน ในนิทานเร่ืองนี้ มีตัวละครอะไรบาง เหตุการณ
ในนิทานเร่ืองน้ีเกิดที่ไหน เวลาใด หรือลําดับเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในนิทาน นิทานเร่ืองน้ีมีปญหาอะไรบาง
และเด็กๆ ชอบเหตุการณใ ดในนทิ านเร่อื งน้ีมากท่ีสดุ

๒.๓ การสาธิต เปนกิจกรรมที่เด็กไดเรียนรูจากประสบการณตรง โดยแสดงหรือทําส่ิงที่
ตองการใหเด็กไดส ังเกตและเรียนรตู ามขน้ั ตอนของกิจกรรมนน้ั ๆ และเดก็ ไดอภปิ รายและรว มกันสรุปการเรยี นรู
การสาธิตในบางครั้งอาจใหเด็กอาสาสมัครเปนผูสาธิตรวมกับผูสอน เพื่อนําไปสูการปฏิบัติจริงดวยตนเอง เชน
การเพาะเมล็ดพชื การประกอบอาหาร การเปา ลูกโปง การเลนเกมการศึกษา

๒.๔ การทดลอง/ปฏิบัติการ เปนกิจกรรมท่ีจัดใหเด็กไดรับประสบการณตรงจากการ
ลงมอื ปฏิบตั ิ ทดลอง การคิดแกป ญหา มีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ทักษะคณติ ศาสตร ทกั ษะภาษา
สงเสรมิ ใหเดก็ เกดิ ขอสงสยั สบื คน คําตอบดวยตนเอง ผานการวเิ คราะห สงั เคราะหอ ยา งงา ย สรุปผลการทดลอง
อภปิ รายผลการทดลอง และสรปุ การเรยี นรู โดยกจิ กรรมการทดลองวทิ ยาศาสตรง า ยๆ เชน การเลยี้ งหนอนผเี สอื้
การปลกู พืช ฝก การสังเกตการไหลของนา้ํ

๒.๕ การประกอบอาหารเปน กจิ กรรมทจ่ี ดั ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรผู า นการทดลองโดยเปด โอกาสใหเ ดก็ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ไดลงมือทดสอบและปฏิบัติการดวยตนเอง เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงของผัก เน้ือสัตว ผลไม ดวยวิธีการตางๆ
เชน ตม นง่ึ ผดั ทอด หรอื การรบั ประทานสด เดก็ จะไดร บั ประสบการณจ ากการสงั เกตการเปลยี่ นแปลงของอาหาร 71
การรับรรู สชาติและกลิ่นของอาหารดวยการใชประสาทสัมผัส และการทํางานรว มกัน เชน การทาํ อาหารจากไข
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒.๖ การเพาะปลกู เปน กจิ กรรมทเี่ นน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ซง่ึ เดก็
จะไดเรียนรูการบูรณาการ จะทําใหเด็กไดรับประสบการณโดยทําความเขาใจความตองการของส่ิงมีชีวิตในโลก และ
ชว ยใหเ ด็กเขา ใจความคิดรวบยอดเก่ียวกับสิ่งทอี่ ยรู อบตัว โดยการสังเกต เปรียบเทียบ และการคิดอยา งมเี หตุผล
ซง่ึ เปนการเปด โอกาสใหเดก็ ไดค น พบและเรยี นรูดวยตนเอง

๒.๗ การศึกษานอกสถานที่ เปนการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาที่ใหเด็กไดเรียนรูสภาพ
ความเปน จรงิ นอกหอ งเรยี น จากแหลง เรยี นรใู นสถานศกึ ษาหรอื แหลง เรยี นรใู นชมุ ชน เชน หอ งสมดุ สวนสมนุ ไพร
วัด ไปรษณยี  พิพธิ ภณั ฑ เพ่อื เปน การเพิม่ พนู ประสบการณแกเ ดก็ โดยผสู อนและเดก็ รว มกันวางแผนศกึ ษาสง่ิ ที่
ตอ งการเรียนรู การเดนิ ทาง และสรุปผลการเรยี นรทู ่ีไดจากการไปศกึ ษานอกสถานท่ี

๒.๘ การเลน บทบาทสมมติ เปน กจิ กรรมใหเ ดก็ สมมตติ นเองเปน ตวั ละคร และแสดงบทบาท
ตา งๆ ตามเนอ้ื เรอื่ งในนทิ าน เรอื่ งราว หรอื สถานการณต า งๆ โดยใชค วามรสู กึ ของเดก็ ในการแสดง เพอ่ื ใหเ ดก็ เขา ใจ
เรื่องราว ความรูสึก และพฤติกรรมของตนเองและผูอ่ืน ควรใชสื่อประกอบการเลนสมมติ เชน หุนสวมศีรษะ
ที่คาดศีรษะรปู คนและสัตวร ปู แบบตางๆ เครอื่ งแตง กาย และอปุ กรณของจรงิ ชนิดตา งๆ

๒.๙ การรอ งเพลง ทอ งคาํ คลอ งจอง เปน กจิ กรรมทจ่ี ดั ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรเู กยี่ วกบั ภาษา จงั หวะ
และการแสดงทาทางใหสัมพันธกับเนื้อหาของเพลงหรือคําคลองจอง ผูสอนควรเลือกเพลงหรือคําคลองจอง
ใหเหมาะกับวัยของเดก็

๒.๑๐ การเลนใชเกม เปนกิจกรรมที่นําเกมการเรียนรูเพ่ือฝกทักษะการคิด การแกปญหา
และการทาํ งานเปนกลุม เกมทีน่ ํามาเลน ไมควรเนน การแขง ขนั

๒.๑๑ การแสดงละคร เปนกิจกรรมท่ีเด็กจะไดเรียนรูเกี่ยวกับการลําดับเรื่องราว
การเรียงลําดับเหตุการณหรือเรื่องราวจากนิทาน การใชภาษาในการสื่อสารของตัวละคร เพื่อใหเด็กไดเรียนรู
และทําความเขาใจบุคลิกลักษณะของตัวละครที่เด็กสวมบทบาท สื่อท่ีใช เชน ชุดการแสดงที่สอดคลองกับ
บทบาททไี่ ดร บั บทสนทนาทเ่ี ดก็ ใชฝกสนทนาประกอบการแสดง

๒.๑๒ การใชสถานการณจําลอง เปนกิจกรรมที่เด็กไดเรียนรูแนวทางการปฏิบัติตนเม่ืออยู
ในสถานการณท่ผี สู อนกาํ หนด เพอ่ื ใหเด็กไดฝกการแกป ญหา เชน น้ําทวม โรคระบาด พบคนแปลกหนา

สื่อกิจกรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม

๑. ส่ือของจริงทอ่ี ยูใกลต ัว และส่อื จากธรรมชาตหิ รอื วสั ดทุ องถ่นิ เชน ตนไม ใบไม เปลือกหอย เสือ้ ผา
๒. สื่อทจี่ ําลองขนึ้ เชน ตนไม ตุกตาสตั ว
๓. สอ่ื ประเภทภาพ เชน ภาพพลิก ภาพโปสเตอร หนังสือภาพ
๔. สอื่ เทคโนโลยี เชน เครื่องบันทึกเสียง เครือ่ งขยายเสยี ง โทรศพั ท แมเ หล็ก แวนขยาย เคร่ืองชั่ง
กลองถา ยรปู ดจิ ิตอล
๕. ส่ือแหลงเรียนรู เชน แหลง เรียนรูภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เชน แปลงเกษตร สวนผกั
สมนุ ไพร รานคา สวนสัตว แหลงประกอบการในทอ งถ่นิ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ขอ เสนอแนะ
๑. การจัดกิจกรรมควรยึดหลักการจัดกิจกรรมท่ีเนนใหเด็กไดรับประสบการณตรง
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ใชประสาทสัมผัสท้ังหา และมโี อกาสคนพบดว ยตนเองใหม ากทสี่ ดุ
๒. ผูสอนควรยอมรับความคิดเห็นที่หลากหลายของเด็ก และใหโอกาสเด็กไดฝกคิดแสดง

ความคดิ เหน็ ฝก ต้งั คาํ ถาม
๓. อาจเชญิ วทิ ยากร เชน พอแม ตํารวจ หมอ ฯลฯ มาใหความรูแทนผูส อน เพอ่ื ชวยใหเ ดก็

สนใจและสนกุ สนานย่ิงขึน้
๔. ในขณะทีเ่ ด็กทาํ กจิ กรรมหรอื หลงั จากทํากิจกรรมเสร็จแลว ผูสอนควรใชค ําถามปลายเปด

ท่ชี วนใหเ ดก็ คิด หลีกเลย่ี งการใชค าํ ถามท่มี ีคําตอบ “ใช” “ไมใช” หรอื มคี าํ ตอบใหเ ด็กเลือก และผสู อนควรให
เวลาเด็กคิดคําตอบ

๕. ชว งระยะเวลาทจี่ ดั กจิ กรรมสามารถยดื หยนุ ไดต ามความเหมาะสม โดยคาํ นงึ ถงึ ความสนใจ
ของเด็กและความเหมาะสมของกิจกรรมน้ันๆ เชน กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ การประกอบอาหาร
การเพาะปลูก อาจใชเ วลานานกวาทก่ี าํ หนดไว

๓. ขนั้ สรปุ บทเรยี น เปน การสรปุ สง่ิ ตา งๆ ทเี่ รยี นไปทง้ั หมดใหเ ดก็ ไดเ ขา ใจดยี ง่ิ ขน้ึ ซงึ่ ผสู อนอาจใช
คําถาม เพลง คาํ คลองจอง เกม ฯลฯ ในการสรปุ เรื่องราว

72 ๓. กจิ กรรมศลิ ปะสรางสรรค
กจิ กรรมศลิ ปะสรา งสรรค เปน กจิ กรรมทม่ี งุ พฒั นากระบวนการคดิ สรา งสรรค การรบั รเู กยี่ วกบั ความงาม

และสง เสรมิ กระตนุ ใหเ ดก็ ไดแ สดงออกทางอารมณต ามความรสู กึ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรคแ ละจนิ ตนาการ โดยใช
ศลิ ปะ เชน การวาดภาพ ระบายสี การปน การพิมพภ าพ การพบั ตัด ฉีก ปะ ฯลฯ

จุดประสงค
๑. เพือ่ พฒั นากลา มเนือ้ มือและตาใหป ระสานสมั พันธก นั
๒. เพ่อื ใหเกิดความเพลิดเพลิน ช่นื ชมในสงิ่ ที่สวยงาม
๓. เพื่อสงเสรมิ การปรับตวั ในการทาํ งานรวมกับผูอ นื่
๔. เพือ่ สงเสริมการแสดงออกและมีความม่นั ใจในตนเอง
๕. เพอื่ สงเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และทักษะทางสังคม
๖. เพอ่ื สง เสรมิ ทักษะทางภาษา อธิบายผลงานของตนได
๗. เพอ่ื ฝกทักษะการสังเกต การคิดและการแกปญหา
๘. เพอื่ สง เสริมความคิดริเร่ิมสรา งสรรคแ ละจนิ ตนาการ

ขอบขาย/เนื้อหา/กิจกรรม
๑. การวาดภาพและระบายสี เชน การวาดภาพดว ยสีเทียน สีไม สีนาํ้
๒. การเลน กับสนี ้าํ เชน การเปาสี การหยดสี การพบั สี การเทสี การละเลงสดี วยนิว้ มอื
๓. การพมิ พภาพ เชน การพมิ พภ าพดว ยพืช การพิมพภ าพดวยวสั ดุตา งๆ

๔. การปน เชน การปน ดินเหนียว การปนแปง ปน การปนดนิ นํ้ามนั การปน แปง ขนมปง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๕. การพบั ฉีก ตัด ปะ เชน การพับใบตอง การฉกี กระดาษเสน การตดั ภาพตา งๆ การปะติดวัสดุ
๖. การประดษิ ฐ เชน ประดษิ ฐเ ศษวสั ดุ 73
๗. การรอย เชน การรอ ยลูกปด การรอ ยหลอดกาแฟ การรอ ยหลอดดา ย
๘. การสาน เชน การสานกระดาษ การสานใบตอง การสานใบมะพรา ว คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

แนวการจัดกจิ กรรมศิลปะสรา งสรรค

๑. เตรียมจัดโตะและอุปกรณใหพรอมและเพียงพอกอนทํากิจกรรม อยางนอย ๒ กิจกรรม
โดยจดั ไวหลายๆ กิจกรรม และอยา งนอย ๓ - ๕ กจิ กรรม เพ่ือใหเด็กมอี ิสระในการเลอื กทํากจิ กรรมท่สี นใจ

๒. ควรสรา งขอ ตกลงในการทํากจิ กรรม เพอื่ ฝกใหเด็กมวี นิ ยั ในการอยรู ว มกนั
๓. การเปลี่ยนและหมุนเวียนทาํ กิจกรรม ตองสรางขอตกลงกบั เดก็ ใหชัดเจน เชน หากกจิ กรรมใด
มีเพอ่ื นครบจาํ นวนทกี่ ําหนดแลว ใหค อยจนกวาจะมีทวี่ าง หรอื ใหท าํ กจิ กรรรมอืน่ กอน
๔. กิจกรรมใดเปนกิจกรรมใหม หรือการใชวัสดุอุปกรณใหม ครูจะตองอธิบายวิธีการทํา
วิธกี ารใช วิธีการทาํ ความสะอาด และการเก็บของเขา ที่
๕. เมื่อทํางานเสร็จหรือหมดเวลา ควรเตือนใหเด็กเก็บวัสดุอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใชเขาที่
และชว ยกนั ดูแลหองใหสะอาด

สื่อกิจกรรมศิลปะสรา งสรรค
๑. การวาดภาพและระบายสี
๑.๑ สีเทยี นแทงใหญ สไี ม สีชอลก สนี ้าํ
๑.๒ พกู ันขนาดใหญ (ประมาณเบอร ๑๒)
๑.๓ กระดาษ
๑.๔ เส้อื คลุม หรอื ผากันเปอ น
๒. การเลน กบั สนี าํ้
๒.๑ การเปา สี มกี ระดาษ หลอดกาแฟ สีนํ้า
๒.๒ การหยดสี มีกระดาษ หลอดกาแฟ สีนา้ํ พูกัน
๒.๓ การพับสี มกี ระดาษ สนี ้าํ พูกัน
๒.๔ การเทสี มีกระดาษ สนี ้ํา
๒.๕ การละเลงสีดวยนิ้วมือ มกี ระดาษ สีนํ้า แปง เปยก
๓. การพิมพภาพ
๓.๑ แมพมิ พตางๆ จากของจรงิ เชน นวิ้ มอื ใบไม กานกลว ย
๓.๒ แมพมิ พจากวัสดอุ นื่ ๆ เชน เชอื ก เสน ดา ย ตรายาง
๓.๓ กระดาษ ผาเช็ดมือ สโี ปสเตอร หรอื สนี ํา้ หรอื สีฝุน
๔. การปน เชน ดินนา้ํ มัน ดนิ เหนียว แปงโดว แผนรองปน แมพมิ พร ปู ตา งๆ ไมน วดแปง
๕. การพบั ฉกี ตดั ปะ เชน กระดาษ หรอื วสั ดอุ นื่ ๆ ทจี่ ะใชพ บั ฉกี ตดั ปะ กรรไกรขนาดเลก็ ปลายมน

กาวนํา้ หรือแปงเปยก ผา เช็ดมือ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๖. การประดษิ ฐ เชน เศษวสั ดุตางๆ มกี ลองกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา เศษไหม กาว กรรไกร
สี ผา เชด็ มอื
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๗. การรอ ย เชน ลกู ปด หลอดกาแฟ หลอดดาย
๘. การสาน เชน กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา ว

ขอเสนอแนะ

๑. ควรสรางบรรยากาศในการทาํ กจิ กรรมใหมคี วามสดช่นื แจมใส แตควรมรี ะเบยี บวนิ ยั
๒. การจดั เตรียมวสั ดอุ ุปกรณ ควรพยายามหาวัสดทุ องถิ่นมาใชก อ นเปน อนั ดับแรก
๓. กอนใหเ ดก็ ทาํ กิจกรรม ตอ งอธิบายวิธใี ชวัสดทุ ี่ถกู ตอ งใหเ ดก็ ทราบ พรอมทงั้ สาธติ ใหด จู นเขา ใจ
เชน การใชพ กู นั หรอื กาว จะตองปาดพกู ันหรอื กาวนั้นกบั ขอบภาชนะท่ใี ส เพอื่ ไมใ หกาวหรือสีไหลเลอะเทอะ
๔. ควรใหเด็กทํากิจกรรมศิลปะสรางสรรคประเภทใดประมาณหนึ่งรวมกันในกลุมยอย
เพอ่ื ฝก การวางแผนและการทํางานรว มกนั กบั ผอู น่ื
๕. ควรแสดงความสนใจและชื่นชมผลงานของเด็กทุกคน และนําผลงานของเด็กทุกคน
หมนุ เวียนจดั แสดงทปี่ ายนเิ ทศ
๖. หากพบวาเด็กคนใดสนใจทํากิจกรรมเดียวทุกครั้ง ควรชักชวนใหเด็กเปลี่ยนทํากิจกรรมอื่นบาง
เพราะกิจกรรมศิลปะสรางสรรคแตละประเภทพัฒนาเด็กแตละดานแตกตางกัน และเม่ือเด็กทําตามที่แนะนําได
ควรใหแ รงเสริมทางบวกทุกคร้งั
74 ๗. เม่ือเด็กทํางานเสร็จ ควรใหเลาเร่ืองเก่ียวกับส่ิงที่ทําหรือภาพที่วาด โดยครูหรือผูสอนบันทึก
เรอื่ งราวทเ่ี ดก็ เลา และวนั ทที่ ท่ี าํ เพอื่ ใหท ราบความกา วหนา และระดบั พฒั นาการของเดก็ โดยเขยี นดว ยตวั บรรจง
และใหเดก็ เหน็ ลีลามอื ในการเขยี นทีถ่ กู ตอง และมีโอกาสคนุ เคยกบั ตัวหนงั สอื
๘. เก็บผลงานช้ินที่แสดงความกาวหนาของเด็กเปนรายบุคคล เพ่ือเปนขอมูลสังเกตพัฒนาการ
ของเด็ก และเม่ือถึงวันสุดสัปดาหหรือสองสัปดาหหรือสิ้นเดือน ผูสอนควรฝากผลงานกระดาษไปใหพอแม
ผูปกครองดบู า ง เพ่อื ทราบพฒั นาการของเดก็

๔. กจิ กรรมการเลนตามมุม

กิจกรรมการเลนตามมุม เปนกิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหเด็กไดเลนกับสื่อและเคร่ืองเลนอยางอิสระ
ตามมุมเลน/มุมประสบการณ ซึ่งพ้ืนท่ีหรือมุมตางๆ เหลาน้ี เด็กมีโอกาสเลือกเลนไดอยางเสรีตามความสนใจ
และความตองการของเดก็ ทงั้ เปนรายบคุ คลและเปน กลมุ ยอย อน่งึ การเลน ตามมมุ อาจใหเ ด็กเลือกทํากจิ กรรม
ทค่ี รูจัดเสรมิ ขนึ้ เชน เกมการศกึ ษา เครอื่ งเลน สมั ผัส กจิ กรรมศิลปะสรางสรรคประเภทตางๆ

จดุ ประสงค

๑. เพ่ือสงเสริมใหรูจักปรับตัวอยูรวมกับผูอื่น มีวินัยเชิงบวก รูจักการรอคอย เอ้ือเฟอเผื่อแผ
เสยี สละ และใหอ ภัย

๒. เพอื่ สง เสรมิ พฒั นาการทางดา นภาษา คือ การฟง การพดู
๓. เพอ่ื สง เสรมิ ใหเดก็ มีโอกาสปฏิสัมพันธกบั เพ่อื น ครู และส่งิ แวดลอ ม
๔. เพอ่ื สงเสริมใหเ ดก็ เกดิ การเรียนรดู ว ยตนเองจากการสํารวจ การสงั เกต และการทดลอง

๕. เพอ่ื สงเสรมิ การคิดแกปญ หา การคดิ อยา งมีเหตผุ ลเหมาะสมกบั วัย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๖. เพอื่ สงเสรมิ ใหเด็กฝก คิด วางแผน และตัดสนิ ในการทํากจิ กรรม
๗. เพ่ือสงเสรมิ ใหม ีทกั ษะพนื้ ฐานทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 75
๘. เพ่ือสงเสริมใหเด็กพัฒนาความคดิ สรางสรรคแ ละจนิ ตนาการ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ขอบขา ย/เนอ้ื หา/กิจกรรม

๑. การจดั มุมเลนหรอื มุมประสบการณ อาจจัดไดห ลายลักษณะ เชน จัดกจิ กรรมศิลปะสรา งสรรค
และการเลนตามมมุ เลนในชว งเวลาเดยี วกนั อยา งอสิ ระ

๒. มุมบทบาทสมมติ จัดเพ่ือใหเด็กไดเลนในสิ่งที่ชอบ เชน เลนเกี่ยวกับบทบาทของแตละอาชีพ
หรือแตละหนาทีท่ เ่ี ด็กๆ เลียนแบบบทบาท

๓. มมุ บลอ็ ก เปนมมุ ทสี่ งเสรมิ ใหเ ดก็ เรยี นรูเก่ยี วกบั มิติสมั พันธผ านการสราง
๔. มุมหนังสือ เปนมุมที่เด็กเรียนรูเกี่ยวกับภาษา จากการฟง การพูด การอาน การเลาเรื่อง
หรือการยืม - คืนหนังสือ
๕. มุมวิทยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติศึกษา เปนมุมท่ีเด็กไดเรียนรูธรรมชาติรอบตัว ผานการเลน
ทดลองอยางงาย ไดศึกษาหาความรดู วยการสงั เกต เปรยี บเทยี บ จดั จําแนก จดั หมวดหมู
๖. มุมเคร่ืองเลนสัมผัส เปนมุมที่เด็กจะไดฝกการประสานสัมพันธระหวางมือกับตา
การสรา งสรรค เชน การรอ ย การสาน การตอเขา การถอดออก

แนวการจดั กิจกรรมการเลนตามมมุ

๑. แนะนาํ มมุ เลนใหม เสนอแนะวธิ ใี ช การเลนของเลนบางชนดิ
๒. เด็กและครรู ว มกนั สรา งขอ ตกลงเกย่ี วกับการเลน
๓. ครูเปดโอกาสใหเด็กคิด วางแผน ตัดสนิ ใจเลือกเลน อยางอิสระ เลือกทํากจิ กรรมทจ่ี ัดขึ้นตาม
ความสนใจของเด็กแตละคน
๔. ขณะเด็กเลน/ทํางาน ครูอาจช้แี นะ หรอื มสี ว นรวมในการเลนกบั เดก็ ได
๕. เด็กตองการความชวยเหลือและคอยสังเกตพฤติกรรมการเลนของเด็ก พรอมทั้งจดบันทึก
พฤติกรรมท่ีนาสนใจ
๖. เตือนใหเ ดก็ ทราบลวงหนา กอ นหมดเวลาเลน ประมาณ ๓ - ๕ นาที
๗. ใหเ ด็กเก็บของเลน เขาทีใ่ หเ รยี บรอ ยทกุ ครัง้ เมื่อเสรจ็ สนิ้ กิจกรรม

สื่อกิจกรรมการเลนตามมมุ

๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเปนมมุ เลนตางๆ เชน
๑.๑ มุมบาน
๑) ของเลน เครือ่ งครวั เครื่องใชในบาน เชน เตา กะทะ ครก กานา้ํ เขียง มดี พลาสติก

หมอ จาน ชอ น ถว ย ชาม กะละมัง
๒) เครือ่ งเลน ตกุ ตา เชน เสอ้ื ผา ตกุ ตา เตียง เปลเด็ก ตุก ตา

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๓) เครือ่ งแตง บา นจาํ ลอง เชน ชดุ รับแขก โตะ เครือ่ งแปง หมอนองิ หวี ตลับแปง
กระจกขนาดเห็นเตม็ ตวั
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๔) เคร่ืองแตงกายบุคคลอาชีพตางๆ ท่ีใชแลว เชน ชุดเคร่ืองแบบทหาร ตํารวจ
ชุดเส้ือผา ผูใหญช ายและหญิง รองเทา กระเปาถือที่ไมใชแลว

๕) โทรศัพท เตารีดจําลอง ที่รดี ผา จาํ ลอง
๖) ภาพถา ยและรายการอาหาร
๑.๒ มุมหมอ
๑) เคร่ืองเลนจําลองแบบเครื่องมือแพทยและอุปกรณการรักษาผูปวย เชน หูฟง
เส้อื คลุมหมอ
๒) อุปกรณสําหรับเลียนแบบการบนั ทึกขอมูลผปู วย เชน กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ
๓) เคร่ืองชงั่ นาํ้ หนัก วัดสว นสูง
๑.๓ มมุ รา นคา
๑) กลอ งและขวดผลติ ภณั ฑต างๆ ท่ใี ชแ ลว
๒) ผลไม ผักจําลอง
๓) อปุ กรณประกอบการเลน เชน เครอ่ื งคิดเลข ลูกคดิ ธนบัตรจําลอง ฯลฯ
๔) ปายชือ่ รา น
๕) ปายชือ่ ผลไม ผักจําลอง
76 ๒. มมุ บล็อก
๒.๑ ไมบล็อกหรอื แทงไมที่มีขนาดและรูปทรงตา งๆ กัน เชน บล็อกตัน บล็อกโตะ จํานวน
ตั้งแต ๕๐ ช้นิ ขนึ้ ไป
๒.๒ ของเลน จาํ ลอง เชน รถยนต เครอ่ื งบนิ รถไฟ คน สตั ว ตน ไม
๒.๓ ภาพถา ยตา งๆ
๒.๔ ท่จี ดั เก็บไมบล็อกหรือแทง ไม อาจเปน ช้นั ลังไมหรือพลาสติก แยกตามรูปทรง ขนาด
๓. มมุ หนงั สือ
๓.๑ หนังสือภาพนิทาน หนังสือภาพทีม่ ีคําและประโยคสน้ั ๆ พรอมภาพ
๓.๒ ชัน้ หรอื ท่ีวางหนงั สอื
๓.๓ อปุ กรณต า งๆ ทีใ่ ชในการสรา งบรรยากาศการอาน เชน เสื่อ พรม หมอน
๓.๔ สมุดเซน็ ยมื หนังสือกลับบา น
๓.๕ อปุ กรณส ําหรับการเขียน
๓.๖ อุปกรณเ สริม เชน เครือ่ งเสียง แผนนิทานพรอมหนงั สอื นทิ าน หูฟง
๔. มมุ วทิ ยาศาสตรหรอื มมุ ธรรมชาตศิ ึกษา

๔.๑ วัสดตุ า งๆ จากธรรมชาติ เชน เมล็ดพืชตางๆ เปลอื กหอย ดนิ หิน แร ฯลฯ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๔.๒ เครื่องมือเครอ่ื งใชในการสํารวจ สงั เกต ทดลอง เชน แวน ขยาย แมเ หลก็ เขม็ ทิศ เครอื่ งชง่ั
77
ขอ เสนอแนะ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๑. ขณะเด็กเลน ผูสอนตองสังเกตความสนใจในการเลนของเด็ก หากพบวามุมใด เด็กสวนใหญ
ไมส นใจทจี่ ะเลน ควรเปลย่ี นหรือจัดสื่อในมุมเลน ใหม เชน มมุ บา น อาจดดั แปลงหรือเพ่ิมเตมิ หรอื เปลยี่ นเปน
มุมรานคา มมุ เสริมสวย มมุ หมอ ฯลฯ

๒. หากมมุ ใดมจี าํ นวนเดก็ ในมมุ มากเกนิ ไป ควรเปด โอกาสใหเ ดก็ คดิ แกป ญ หา สรา งขอ ตกลงรว มกนั
หรอื ชักชวนเลือกเลนมมุ ใหม

๓. หากเด็กเลือกมุมเลนมุมเดียวเปนระยะเวลานาน ควรชักชวนใหเด็กเลือกมุมอ่ืนๆ ดวย
เพอื่ ใหเ ด็กมีประสบการณการเรียนรูในดา นอ่นื ๆ ดว ย

๔. การจัดสื่อหรือเครื่องเลนในแตละมุม ควรมีการทําความสะอาด และสับเปล่ียนหรือเพ่ิมเติม
เปน ระยะ โดยคาํ นงึ ถงึ ลาํ ดับขน้ั การเรียนรู เพอ่ื ใหเ ด็กเกดิ การเรียนรูทหี่ ลากหลาย เชน เก็บหนงั สอื นทิ านบางเลม
ทเ่ี ดก็ หมดความสนใจ และแนะนาํ หนงั สอื นทิ านใหมม าวางแทน

๕. กจิ กรรมการเลนกลางแจง

กิจกรรมการเลนกลางแจง เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดออกไปนอกหองเรียนไปสูสนามเด็กเลน
ท้ังท่ีบริเวณกลางแจงและในรม เพ่ือเปดโอกาสใหเด็กเคลื่อนไหวรางกาย ออกกําลัง และแสดงออกอยางอิสระ
โดยยดึ ความสนใจและความสามารถของเดก็ แตละคนเปนหลัก

จุดประสงค

๑. เพื่อพัฒนากลามเนื้อใหญใหสามารถเคล่ือนไหวไดคลองแคลว และกลามเนื้อเล็กในการ
ประสานสมั พนั ธของอวัยวะตางๆ

๒. เพ่อื สง เสรมิ ใหมรี า งกายแขง็ แรง สุขภาพดี
๓. เพ่อื สง เสริมใหเกิดความสนกุ สนาน ผอ นคลายความเครียด
๔. เพื่อสงเสริมการปรบั ตวั ในการเลนและทาํ งานรว มกับผอู ืน่
๕. เพื่อเรียนรกู ารระมัดระวังรักษาความปลอดภยั ทงั้ ของตนเองและผูอ ่ืน
๖. เพ่ือฝก การคดิ ตัดสินใจและแกป ญหา
๗. เพอ่ื สงเสรมิ ใหมคี วามอยากรูอ ยากเห็นส่ิงตา งๆ ท่ีแวดลอมรอบตวั
๘. เพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรูตางๆ เชน การสงั เกต การเปรยี บเทียบ การจาํ แนก ฯลฯ

ขอบขา ย/เนือ้ หา/กจิ กรรม

๑. เคร่อื งเลน สนาม
เครือ่ งเลน สนาม หมายถงึ เครอ่ื งเลนทเี่ ด็กอาจปนปาย หมุน โยก ซง่ึ ทําออกมาในรปู แบบตางๆ เชน
๑. เครื่องเลนสาํ หรบั ปนปาย เชน ตาขายสาํ หรับปน ตนไมแหงวางนอน
๒. เคร่อื งเลน สําหรับโยกหรอื ไกว เชน มา ไม ชิงชา มา น่งั โยก ไมก ระดก

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๓. เครือ่ งเลน สาํ หรบั หมนุ เชน มา หมุน พวงมาลยั รถสําหรบั หมนุ เลน
๔. ราวโหนขนาดเลก็ สําหรบั เดก็
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๕. ตน ไมส ําหรบั เดนิ ทรงตวั หรือไมก ระดานแผนเดยี ว
๖. เครือ่ งเลน ประเภทลอ เล่ือน เชน รถสามลอ รถลากจงู
๒. บอ ทราย
ทรายเปนส่ิงท่ีเด็กๆ ชอบเลน ทงั้ ทรายแหง ทรายเปย ก นํามากอเปน รปู ตางๆ ได และสามารถ
นาํ วัสดุอื่นมาประกอบการเลนตกแตง ได เชน กิง่ ไม ดอกไม เปลอื กหอย พิมพข นม ท่ตี ักทราย
ปกตบิ อทรายจะอยกู ลางแจง โดยอาจจดั ใหอ ยใู ตรม เงาของตน ไมหรือสรา งหลังคา ทําขอบกน้ั
เพ่ือมิใหทรายกระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมน้ําใหชื้นเพ่ือเด็กจะไดกอเลน นอกจากน้ี ควรมีวิธีการปดก้ัน
มใิ หส ตั วเลยี้ งลงไปทําความสกปรกในบอทรายได
๓. ทเ่ี ลน น้ํา
เด็กท่ัวไปชอบเลนนํ้ามาก การเลนน้ํานอกจากสรางความพอใจและคลายความเครียด
ใหเด็กแลว ยังทําใหเด็กเกิดการเรียนรูอีกดวย เชน เรียนรูทักษะการสังเกต จําแนก เปรียบเทียบปริมาตร
อุปกรณท่ีใสน้ําอาจเปนถังที่สรางขึ้นโดยเฉพาะ หรืออางนํ้าวางบนขาต้ังที่ม่ันคง ความสูงพอที่เด็กจะยืนไดพอดี
และควรมผี าพลาสตกิ กันเส้อื ผาเปย กใหเดก็ ใชค ลมุ ระหวา งเลน
๔. บานตกุ ตาหรอื บานจาํ ลอง
เปนบานจําลองสําหรับใหเด็กเลน จําลองแบบจากบานจริงๆ อาจทําดวยเศษวัสดุประเภท
78 ผาใบ กระสอบปาน ของจริงท่ีไมใชแลว เชน หมอ เตา ชาม อาง เตารีด เครื่องครัว ตุกตาสมมติเปนบุคคล
ในครอบครัว เส้ือผาผูใหญที่ไมใชแลวสําหรับผลัดเปลี่ยน มีการตกแตงบริเวณใกลเคียงใหเหมือนบานจริงๆ
บางครงั้ อาจจดั เปน รานขายของ สถานท่ที ําการตางๆ เพ่ือใหเ ด็กเลน สมมตติ ามจนิ ตนาการของเดก็ เอง
๕. มุมชา งไม
เด็กตอ งการออกแรงเคาะ ตอก กจิ กรรมการเลนในมมุ ชางไมนจี้ ะชว ยในการพฒั นากลามเน้ือ
ใหแข็งแรง ชวยฝกการใชมือและการประสานสัมพันธระหวางมือกับตา นอกจากนี้ยังฝกใหรักงานและสงเสริม
ความคดิ สรา งสรรคอกี ดว ย
๖. เกมการละเลน
กิจกรรมการเลนเกมการละเลนที่จัดใหเด็กเลน เชน เกมการละเลนของไทย เกมการละเลน
ของทองถิ่น เชน มอญซอนผา รีรขี า วสาร แมง ู โพงพาง ฯลฯ การละเลนเหลา น้ตี องใชบริเวณที่กวาง การเลน
อาจเลนเปน กลุมเลก็ หรอื กลุมใหญก็ได กอนเลนครูอธิบายกตกิ าและสาธิตใหเ ดก็ เขาใจ ไมค วรนําเกมการละเลน
ที่มีกติกายุงยากและเนนการแขงขันแพชนะมาจัดกิจกรรมใหกับเด็กวัยน้ี เพราะเด็กจะเกิดความเครียดและ
สรา งความรูส กึ ทไ่ี มด ตี อ ตนเอง

แนวการจัดกิจกรรมการเลน กลางแจง

๑. เดก็ และครูรว มกันสรางขอ ตกลง
๒. จดั เตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณป ระกอบการเลน ใหพ รอ ม การตดิ ตง้ั เครอื่ งเลน ควรตดิ ตง้ั บนพน้ื สนามหญา
เพื่อวาจะไดป ลอดภยั และควรติดตง้ั ใหหา งกันพอสมควร เมอื่ เกดิ การพลดั ตกหกลม จะไดไมฟาดถูกคนอ่นื หรือ
เครอ่ื งเลน อื่น

๓. สาธิตการเลน เคร่อื งเลน สนามบางชนิด ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๔. ใหเดก็ เลือกเลนอิสระตามความสนใจและใหเวลาเลนนานพอควร
๕. ครูควรจัดกิจกรรมใหเ หมาะสมกบั วยั (ไมค วรจัดกิจกรรมพลศึกษา) เชน การเลน นาํ้ เลนทราย 79
เลน บา นตกุ ตา เลน ในมุมชา งไม เลน บล็อกกลวง เครื่องเลนสนาม เกมการละเลน เลนอุปกรณก ฬี าสาํ หรับเดก็
เลน เคร่อื งเลน ประเภทลอเล่อื น เลนของเลน พ้ืนบาน (เดินกะลา ฯลฯ) คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๖. ขณะเด็กเลนครูตองคอยดูแลความปลอดภัยและสังเกตพฤติกรรมการเลน การอยูรวมกันกับ
เพื่อนของเดก็
๗. เมอ่ื หมดเวลาควรใหเ ดก็ เกบ็ ของใชห รือของเลนใหเรยี บรอ ย
๘. ใหเ ดก็ ทําความสะอาดรางกายและดแู ลเคร่อื งแตงกายใหเรียบรอ ยหลังเลน

สือ่ กิจกรรมการเลน กลางแจง
๑. เคร่ืองเลนสนาม เชน เคร่ืองเลนสําหรบั ปนปาย เคร่ืองเลนประเภทลอ เลือ่ น
๒. ท่เี ลนทราย มีทรายละเอียด เคร่อื งเลนทราย เครื่องตวง
๓. ท่ีเลนนํ้า มีภาชนะใสน้ํา หรืออางน้ําวางบนขาตั้งท่ีม่ันคง ความสูงที่เด็กจะยืนไดพอดี

เสื้อคลมุ อปุ กรณเ ลนนาํ้ เชน ถว ยตวง ขวดตางๆ

ขอ เสนอแนะ
๑. หมั่นตรวจตราเคร่ืองเลนสนามและอุปกรณประกอบใหอยูในสภาพที่ปลอดภัยและใชการไดดี

อยเู สมอ
๒. ใหโอกาสเดก็ เลือกเลนกลางแจง อยา งอิสระทกุ วนั อยางนอ ยวันละ ๓๐ นาที
๓. ขณะเด็กเลนกลางแจง ครูตองคอยดูแลอยางใกลชิดเพื่อระมัดระวังความปลอดภัยในการเลน

หากพบวา เด็กแสดงอาการเหน่อื ย ออนลา ควรใหเด็กหยดุ พกั
๔. ไมควรนํากิจกรรมพลศึกษาสําหรับเด็กระดับประถมศึกษามาใชสอนกับเด็กระดับปฐมวัย

เพราะยังไมเ หมาะสมกับวัย
๕. หลังจากเลิกกิจกรรมกลางแจง ควรใหเด็กไดพักผอนหรือนั่งพัก ไมควรใหเด็กรับประทานอาหาร

กลางวันหรอื ด่มื นมทนั ที เพราะอาจทําใหเ ดก็ อาเจยี น เกดิ อาการจกุ แนนได

๖. เกมการศกึ ษา
เกมการศึกษา (Didactic Games) เปนเกมการเลนท่ีชวยพัฒนาสติปญญา ชวยสงเสริมใหเด็ก

เกิดการเรียนรูเปนพื้นฐานการศึกษา รูจักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด เก่ียวกับสี รูปราง
จํานวน ประเภท และความสัมพันธเกี่ยวกับพ้ืนท่ี ระยะ มีกฎเกณฑกติกางายๆ เด็กสามารถเลนคนเดียว
หรอื เลนเปน กลมุ ได

จดุ ประสงค
๑. เพอ่ื ฝกทักษะการสงั เกต จาํ แนก และเปรยี บเทยี บ
๒. เพ่ือฝกการแยกประเภท การจดั หมวดหมู
๓. เพือ่ สง เสริมการคดิ หาเหตุผล และตดั สนิ ใจในการแกปญหา
๔. เพ่ือสง เสรมิ ใหเด็กเกิดความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั สงิ่ ทีไ่ ดเรยี นรู หรอื ทบทวนเนอื้ หาทีไ่ ดเ รียนรู

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๕. เพ่อื สงเสรมิ การประสานสมั พนั ธระหวา งมือกับตา
๖. เพื่อปลกู ฝง คุณธรรมและจรยิ ธรรมตา งๆ เชน ความรบั ผดิ ชอบ ความเออื้ เฟอเผือ่ แผ
คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
ขอบขาย/เนอ้ื หา/กิจกรรม
๑. การจับคู สามารถแบง ไดห ลายชนดิ คอื เกมจบั คูท ีเ่ หมือนกันหรือส่ิงเดยี วกัน เชน จบั คูภาพท่ี

เหมอื นกันทุกประการ จบั คูภ าพกับเงาของสง่ิ เดียวกนั จับคภู าพกบั โครงรา งของสงิ่ เดียวกัน จับคูภาพทีซ่ อนอยู
ในภาพหลัก เกมจับคูภาพท่ีเปนประเภทเดียวกัน เกมจับคูภาพส่ิงท่ีมีความสัมพันธกัน เกมจับคูภาพสัมพันธ
แบบตรงกันขาม เกมจับคูภาพสวนเต็มกับภาพแยกสวน เกมจับคูภาพชิ้นสวนท่ีหายไป เกมจับคูภาพท่ีซอนกัน
เกมจบั คูภาพทีส่ มมาตรกนั เกมจบั คแู บบอุปมาอปุ ไมย เกมจับคูแบบอนกุ รม

๒. การตอภาพใหสมบูรณ หรือภาพตัดตอเพ่ือใหเด็กฝกสังเกตรายละเอียดของภาพที่เหมือนกัน
หรือตา งกัน เก่ยี วกบั สี รปู รา ง ขนาด ลวดลาย

๓. การวางภาพตอปลาย (โดมิโน) เชน โดมิโนภาพเหมือน โดมิโนภาพสมั พันธ โดมโิ นผสม
๔. การเรียงลําดับ เชน เรียงลําดับเหตุการณตอเน่ืองในกิจวัตรประจําวัน วงจรชีวิตสัตว
เกมเรยี งลาํ ดบั ตามขนาด ความยาว ปริมาณ ปรมิ าตร จาํ นวน
๕. การจดั หมวดหมู เชน จัดหมวดหมูตามสี รปู ทรง ขนาด ปรมิ าณ จํานวน ประเภท จัดหมวดหมู
กบั สญั ลักษณ จดั หมวดหมูภาพซอน
๖. การศกึ ษารายละเอยี ดของภาพ (ลอตโต)
๗. การจบั คูแ บบตารางสมั พันธ (เมตรกิ เกม)
80 ๘. การพื้นฐานการบวก
๙. การหาความสัมพนั ธต ามลาํ ดับทกี่ าํ หนด

แนวการจดั กิจกรรมเกมการศึกษา
๑. การสอนเกมการศกึ ษาชดุ ใหม ควรสอนจากเกมงา ยๆ จาํ นวนนอ ยชน้ิ วธิ กี ารเลน ไมย งุ ยากกอ น
๒. สาธิต/อธบิ ายวธิ ีเลน เกมอยา งเปน ขนั้ ตอนตามประเภทของเกม
๓. ใหเดก็ หมุนเวียนเขา มาเลนเปน กลมุ หรอื รายบุคคล
๔. ขณะที่เด็กเลนเกม ครเู ปนเพียงผแู นะนํา
๕. เมื่อเด็กเลนเกมแตละชุดเสร็จเรียบรอย ควรใหเด็กตรวจสอบความถูกตองดวยตนเอง หรือ

รวมกันตรวจกบั เพือ่ น หรอื ครเู ปนผูช วยตรวจ
๖. ใหเ ด็กนําเกมท่เี ลน แลว เกบ็ ใสก ลอ ง เขาท่ีใหเรยี บรอยทกุ ครั้งกอ นเลน เกมชดุ อนื่
๗. กอนหมดเวลา ๗ - ๑๐ นาที ผูสอนเตือนใหเด็กเก็บของเขาท่ี ซึ่งนอกจากจะบอกเปน

คําพูดธรรมดาแลวอาจรอ งเพลงทีม่ ีความหมายเตือนใหเ กบ็ ของเขา ท่ี

สอื่ กิจกรรมเกมการศกึ ษา
๑. เกมจบั คู
เพอ่ื ใหเด็กไดฝ ก สังเกตสง่ิ ท่เี หมอื นกนั หรอื ตางกัน ซึ่งอาจเปน การเปรียบเทียบภาพตา งๆ แลว

จัดเปนคๆู ตามจุดมงุ หมายของเกมแตละชุด
๑.๑ จบั คูทีเ่ หมอื นกันหรอื จับคสู ิ่งของเดียวกัน

๑.๒ จับคภู าพสงิ่ ทม่ี ีความสัมพนั ธก นั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
๑.๓ จับคูภาพช้ินสวนทห่ี ายไป
๑.๔ จบั คภู าพทส่ี มมาตรกัน 81
๑.๕ จับคูภาพท่ีสัมพันธก ันแบบอปุ มาอปุ ไมย
๑.๖ จบั คูภาพแบบอนุกรม คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
๒. เกมภาพตดั ตอ
๒.๑ ภาพตัดตอ ทส่ี ัมพนั ธก บั หนวยการเรียนตางๆ เชน ผลไม ผกั
๒.๒ ภาพตดั ตอ แบบมิตสิ ัมพันธ
๓. เกมวางภาพตอปลาย (โดมโิ น)
๓.๑ โดมโิ นภาพเหมือน
๓.๒ โดมิโนภาพสมั พนั ธ
๔. เกมเรียงลําดับ
๔.๑ เรียงลําดบั ภาพเหตุการณต อ เนื่อง
๔.๒ เรยี งลําดบั ขนาด
๕. เกมจัดหมวดหมู
๕.๑ ภาพสง่ิ ตางๆ ที่นํามาจดั เปน พวกๆ
๕.๒ ภาพเกีย่ วกบั ประเภทของใชใ นชวี ติ ประจําวัน
๕.๓ ภาพจัดหมวดหมตู ามรปู ราง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณติ
๖. เกมศกึ ษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต)
๗. เกมจับคูแ บบตารางสัมพนั ธ (เมตริกเกม)
๘. เกมพ้นื ฐานการบวก

ขอ เสนอแนะ
๑. การจดั ประสบการณเกมการศกึ ษาในระยะแรก ควรเรม่ิ สอนโดยใชข องจรงิ เชน การจับคู

กระปองแปง ท่ีเหมือนกัน หรอื การเรยี งลาํ ดบั กระปองแปง ตามลําดบั สูง - ต่าํ
๒. การเลนเกมในแตล ะวัน อาจจัดใหเ ลนทงั้ เกมชุดใหมและเกมชดุ เกา
๓. ครูอาจใหเ ดก็ หมุนเวียนเขา มาเลนเกมกับครูทีละกลุม หรอื สอนทั้งช้ันตามความเหมาะสม
๔. ครูอาจใหเ ดก็ ทเี่ ลนไดแ ลว มาชวยแนะนาํ กตกิ าการเลนในบางโอกาสได
๕. การเลนเกมการศึกษา นอกจากใชเวลาในชวงกิจกรรมเกมการศึกษาตามตารางกิจกรรม

ประจําวนั แลว อาจใหเ ดก็ เลอื กเลนอิสระในชวงเวลากิจกรรมการเลน ตามมุมได
๖. การเก็บเกมท่ีเลนแลว อาจเก็บใสกลองเล็กๆ หรือใสถุงพลาสติก หรือใชยางรัดแยก

แตล ะเกม แลว จัดใสกลอ งใหญรวมไวเปนชุด

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป บทที่ ๕

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การจัดทําแผนการจัดประสบการณ

แผนการจัดประสบการณเปนเคร่ืองมือสําคัญในการจัดกิจกรรมและประสบการณใหแกเด็ก
ชวยใหผูสอนสามารถจัดประสบการณการเรียนรูสําหรับเด็กไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสงผลให
เด็กปฐมวัยเกิดแนวคดิ ทกั ษะ ความสามารถ คณุ ลักษณะ คานิยม และความเขาใจอยางเหมาะสมกบั พฒั นาการ
ไดร บั ประสบการณก ารเรยี นรทู ส่ี มดลุ สอดคลอ งกบั จติ วทิ ยาพฒั นาการ และมคี วามสขุ ในการเรยี นรู ผสู อนทกุ คน
จงึ จาํ เปน ตอ งวางแผนการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู เพอ่ื ใหส ามารถจดั ประสบการณส ง เสรมิ พฒั นาการของเดก็
ใหบ รรลเุ ปาหมายของหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั

ข้นั ตอนการจัดทาํ แผนการจดั ประสบการณ

การจัดทําแผนการจัดประสบการณใหบรรลุจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ผูสอนควร
ดาํ เนนิ ตามขัน้ ตอนตอไปนี้
82 ๑. ศึกษาทําความเขาใจหลักสูตรสถานศึกษา ผูสอนควรศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
อยางละเอียดจนเกิดความเขาใจวาจะตองพัฒนาเด็กอยางไร เพื่อใหบรรลุตามจุดหมายท่ีกําหนดไว การศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยชวยใหผูสอนสามารถออกแบบการจัดประสบการณที่สอดคลองกับ
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย นอกจากนี้ ควรศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของเพ่ิมเติมเพื่อใหมีความเขาใจยิ่งขึ้น
เชน คมู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ขอมูลพฒั นาการเดก็ เปน ตน

๒. ออกแบบการจัดประสบการณ ผูสอนควรออกแบบการจัดประสบการณตามรูปแบบการจัด
ประสบการณท ก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ในกรณที สี่ ถานศกึ ษากาํ หนดรปู แบบการจดั ประสบการณ
แบบหนวยการจัดประสบการณ ผูสอนตองกําหนดหัวเร่ืองเพื่อใชเปนแกนกลางในการจัดประสบการณ
และกําหนดรายละเอียดของหนวยการจัดประสบการณ โดยนํามาจากการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายป
ในหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ดงั น้ี

๒.๑ กําหนดหัวเรื่องหรือชื่อหนวยการจัดประสบการณ ผูสอนตองกําหนดหัวเร่ืองเพ่ือใช
ในการจัดประสบการณ โดยพิจารณาจากสาระท่ีควรเรียนรู ซ่ึงระบุไวในการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายป
ในหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั หัวเรือ่ งทีก่ าํ หนดควรมีลกั ษณะเหมาะสมกบั วัยและพฒั นาการของเด็ก ตรงตาม
ความตองการและความสนใจของเด็ก สอดคลองกับสภาพและบริบทในการดําเนินชีวิตประจําวันของเด็ก หรือ
สามารถผนวกคณุ ธรรมและจริยธรรมเขา ไปไดอยา งผสมกลมกลนื การกาํ หนดหวั เร่อื งสามารถทําได ๓ วิธี ดงั น้ี

วธิ ีที่ ๑ ผูสอนเปนผูกําหนด ผูสอนจะเปนผูกําหนดหนวยการจัดประสบการณ โดย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
พิจารณาจากสาระการเรียนรใู นหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั และความสนใจของเด็ก
83
วธิ ที ี่ ๒ ผูสอนและเด็กรวมกันกําหนด ผูสอนจะกระตุนใหเด็กแสดงความคิดเห็น
แลวนําเร่ืองทส่ี นใจมากําหนดเปนหนวยการจดั ประสบการณ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

วธิ ที ่ี ๓ เด็กเปนผูกําหนด ผูสอนจะเปดโอกาสใหเด็กเปนผูกําหนดหัวเร่ืองได
ตามความสนใจของเด็ก

ผูสอนสามารถนําหัวเร่ืองหนวยการจัดประสบการณท่ีกําหนดไวมาจัดทําเปน
กําหนดการจัดประสบการณประจําปการศึกษา โดยคํานึงถึงฤดูกาล แหลงเรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน เทศกาล
ประเพณี และวันสําคัญตางๆ เพ่ือเปนการเตรียมวาจะจัดประสบการณหัวเรื่องใดในชวงเวลาใด ใหครบ

ตามเวลาเรยี นทกี่ ําหนดในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ท้ังน้ี ผสู อนควรจัดเตรียมใหมีชว งเวลาสําหรบั จดั ประสบการณ
ตามความสนใจของเด็ก และตระหนักวาสามารถเปล่ียนแปลงหรือยืดหยุนกําหนดการจัดประสบการณได
ตามความสนใจของเดก็

๒.๒ กําหนดรายละเอียดของหนวยการจัดประสบการณ ผูสอนควรกําหนดรายละเอียด
ของหนวยการจัดประสบการณ ประกอบดวย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ สภาพที่พึงประสงค
จุดประสงคการเรียนรู และสาระการเรียนรูท้ังประสบการณสําคัญและสาระที่ควรเรียนรู ใหสัมพันธกัน
ทุกองคประกอบ โดยนํามาจากการวิเคราะหสาระการเรียนรูในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ซ่ึงอาจยืดหยุนได
ตามความเหมาะสมกับหัวเร่ืองหรือชื่อหนวยการจัดประสบการณ พรอมท้ังกําหนดเวลาเรียนของแตละหนวย
การจดั ประสบการณ ๑ - ๒ สปั ดาห ตามความเหมาะสมกบั สาระการเรยี นรขู องหนว ยการจดั ประสบการณ ตวั อยา ง
การกําหนดรายละเอยี ดของหนวยการจัดประสบการณ สาํ หรบั ช้ันอนุบาลศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๓ หนวยละ ๑ สปั ดาห
แสดงไวในตวั อยา งท่ี (๑.๑) (๒.๑) และ (๓.๑)

๒.๒.๑ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ สภาพท่ีพึงประสงค กําหนด
มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตัวบงชี้ สภาพที่พึงประสงคของหนวยการจัดประสบการณท่ีคาดวา
การจดั ประสบการณใ นหนว ยนนั้ ๆ จะนาํ พาเดก็ ไปสสู ภาพทพ่ี งึ ประสงคต ามวยั การกาํ หนดมาตรฐานคณุ ลกั ษณะ
ที่พึงประสงค ตวั บง ช้ี และสภาพท่ีพึงประสงคข องแตละหนว ยการจัดประสบการณจะตองครอบคลมุ พฒั นาการ
ทัง้ ๔ ดา น แตไมจ าํ เปน ตอ งครบทุกมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค ผูสอนสามารถนาํ มาตรฐานคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงค ตัวบงชี้ และสภาพท่ีพึงประสงคจากการวิเคราะหสาระการเรียนรูรายปในหลักสูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั ในสว นทีส่ ัมพนั ธกับสาระทค่ี วรเรียนรูท เ่ี ลือกมาจัดในหนว ยการจดั ประสบการณ

๒.๒.๒ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู กาํ หนดจดุ ประสงคก ารเรยี นรซู งึ่ เปน พฤตกิ รรมทต่ี อ งการ
ใหเ กดิ กบั เดก็ เมอ่ื ทาํ กจิ กรรมในหนว ยการจดั ประสบการณแ ลว ผสู อนสามารถกาํ หนดจดุ ประสงคก ารเรยี นรโู ดยพจิ ารณา
จากสภาพที่พงึ ประสงคแลว ปรับเปน จดุ ประสงคก ารเรียนรู ทัง้ นี้ การกาํ หนดจดุ ประสงคการเรียนรสู ามารถกาํ หนดให
สัมพันธกับสาระท่ีควรเรียนรูของหนวยการจัดประสบการณหรือปรับใหสอดคลองกับความสามารถในขณะน้ัน
ของเด็ก โดยเช่ือวาความสามารถดังกลาวเปนพื้นฐานที่จะนําไปสูความสามารถตามสภาพที่พึงประสงคตอไป
หรือกําหนดตามสภาพที่พึงประสงคก็ได โดยพิจารณาจากความสามารถของเด็กท่ีผูสอนรับผิดชอบเปนหลัก
จุดประสงคการเรียนรูของแตละหนวยการจัดประสบการณจะครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ดาน โดยจํานวน

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จดุ ประสงคการเรยี นรูของแตละหนวยการจัดประสบการณอ าจแตกตางกนั ได แตค วรกาํ หนดจํานวนจดุ ประสงค

คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ การเรียนรูที่ไมมากเกินไป เพ่ือใหสามารถนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ
๒.๒.๓ สาระการเรียนรู กําหนดรายละเอียดของสาระการเรียนรูใหเขากับ

หัวเร่ืองหนวยการจัดประสบการณ การกําหนดสาระการเรียนรูตองประกอบดวย ประสบการณสําคัญและ
สาระที่ควรเรยี นรู ดังน้ี

(๑) ประสบการณสําคัญ กําหนดประสบการณสําคัญท่ีจะใชเปนแนวทาง
ในการจัดกิจกรรมอยางเหมาะสมกับหนวยการจัดประสบการณที่กําหนด เพ่ือพัฒนาเด็กใหบรรลุผลตาม
จุดประสงคการเรียนรู ผูสอนสามารถคัดเลือกประสบการณสําคัญจากหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยในสวน
ทส่ี มั พนั ธก บั สาระทค่ี วรเรยี นรทู ก่ี าํ หนดไวใ นการวเิ คราะหส าระการเรยี นรรู ายป โดยพจิ ารณาใหป ระสบการณส าํ คญั
ของแตละหนว ยการจดั ประสบการณค รอบคลุมพฒั นาการทง้ั ๔ ดาน ทงั้ นี้ ผูสอนสามารถพจิ ารณาปรบั เปลย่ี น
หรอื เพมิ่ เตมิ ประสบการณส าํ คญั ไดต ามความเหมาะสมเมอื่ เวลาเขยี นแผนการจดั ประสบการณแ ละประสบการณ
สําคญั ทกี่ ําหนดจะตองปรากฏในการดาํ เนนิ กจิ กรรมนน้ั ๆ

(๒) สาระท่ีควรเรียนรู กําหนดรายละเอียดของสาระที่ควรเรียนรู โดย
การคดั เลอื กสาระทคี่ วรเรยี นรทู ส่ี มั พนั ธก บั หวั เรอ่ื งของหนว ยการจดั ประสบการณจ ากหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
มากําหนดรายละเอียดเพ่ิมเติมท้ังในลักษณะท่ีเปนแนวคิด เนื้อหา ทักษะ หรือเจตคติ ใหสัมพันธกับชื่อหนวย
การจัดประสบการณ โดยคํานึงถึงสิ่งท่ีเด็กรูแลว ส่ิงท่ีเด็กตองการรู และส่ิงที่เด็กควรรู พิจารณาใหมีระดับ
ความยากงายของสาระท่ีควรเรียนรูท่ีเหมาะสมกับวัยและสิ่งแวดลอมในชีวิตจริงของเด็ก ทั้งนี้ เม่ือกําหนด
84 สาระทค่ี วรเรยี นรคู รบทกุ หนว ยการจดั ประสบการณแ ลว ควรมสี าระทคี่ วรเรยี นรคู รบถว นตามทรี่ ะบไุ วใ นหลกั สตู ร
สถานศึกษาปฐมวัย

๓. เขยี นแผนการจดั ประสบการณ
๓.๑ เขยี นแผนการจดั ประสบการณรายสปั ดาห ออกแบบและกําหนดกิจกรรมทช่ี ว ยใหเ ด็ก

เกดิ การเรยี นรคู รบตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรขู องหนว ยการจดั ประสบการณ ครอบคลมุ กจิ กรรมประจาํ วนั ทร่ี ะบุ
ไวในหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ตลอดทงั้ สัปดาหไ วลว งหนา การเขยี นแผนการจดั ประสบการณร ายสัปดาหตอง
คาํ นึงถงึ มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค ตัวบงช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค รวมถึงสาระการเรียนรูท ง้ั ประสบการณส าํ คญั
และสาระท่ีควรเรียนรูตามหนวยการจัดประสบการณท่ีไดออกแบบไว การกําหนดกิจกรรมตองพิจารณา
ถึงความสมดุลของพฒั นาการทกุ ดานเปนอนั ดบั แรก จัดใหม คี วามหลากหลายของกจิ กรรม มคี วามสอดคลอ งกัน
และเปนไปในทิศทางที่สงเสริมพัฒนาการและการเรียนรูของเด็กแตละคนใหบรรลุจุดประสงคการเรียนรูของ
หนวยการจดั ประสบการณ ตามคมู อื ฉบบั นใ้ี ชก ิจกรรมหลัก ๖ กจิ กรรม ซ่งึ เปน การพัฒนาเดก็ อยางเปน องครวม
ท้ัง ๔ ดาน เปนกิจกรรมประจําวัน จึงไดเขียนแผนการจัดประสบการณรายสัปดาห ซ่ึงแสดงกิจกรรมหลัก
๖ กิจกรรม ดงั ตวั อยา งท่ี (๑.๒) (๒.๒) และ (๓.๒)

๓.๒ เขยี นแผนการจดั ประสบการณร ายวนั ระบรุ ายละเอยี ดทค่ี รอบคลมุ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
สาระการเรยี นรซู ่งึ ประกอบดว ยประสบการณสาํ คญั และสาระท่ีควรเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สือ่ และการประเมินผล
กําหนดวิธีการดําเนินกิจกรรมท่ีไดกําหนดไวในแผนการจัดประสบการณรายสัปดาหเปนข้ันตอนต้ังแตตนจนจบ

โดยคาํ นึงถงึ วยั พฒั นาการ ชวงความสนใจของเดก็ และจุดประสงคการเรียนรทู ีต่ อ งการ ส่ิงทผี่ ูสอนควรคํานงึ ถงึ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป
ในการเขยี นแผนการจดั ประสบการณส าํ หรบั เดก็ ปฐมวยั คอื การออกแบบกจิ กรรมตามหลกั การจดั ประสบการณ
และแนวทางการจดั ประสบการณข องหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ไมใ ชร ปู แบบการเขยี นแผนการจดั ประสบการณ 85
เชน การเขยี นแบบตาราง แบบกง่ึ ตาราง หรอื แบบความเรยี ง ผสู อนควรพจิ ารณาเขยี นแผนการจดั ประสบการณ
ที่นําไปใชไดจริง และเกิดประโยชนสูงสุดตอเด็ก เพื่อเปนแนวในการปฏิบัติจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐
คูมือฉบับน้ีนําเสนอตัวอยางแผนการจัดประสบการณรายวันไวระดับชั้นละ ๑ วัน ดังตัวอยางที่ (๑.๓) (๒.๓)
และ (๓.๓)

เม่ือเขียนแผนการจดั ประสบการณแ ลว ผูสอนควรนําแผนการจดั ประสบการณไปใชในการจัด

ประสบการณจริง ผูสอนควรใหความสําคัญกับท้ังการเขียนแผนการจัดประสบการณและการจัดประสบการณ
จริงสาํ หรับเด็ก ไมค วรละเลยการเขียนแผนการจัดประสบการณ เพราะแผนการจัดประสบการณทด่ี ียอ มนาํ ไปสู
การสอนทดี่ ี และควรใหค วามสาํ คญั กบั การจดั ประสบการณ ทง้ั ทมี่ กี ารออกแบบไวล ว งหนา และเกดิ ขน้ึ ในสภาพจรงิ

โดยไมไดค าดการณไ ว รวมถึงประสบการณทีเ่ กิดจากการอบรมเลย้ี งดูในกจิ วัตรประจําวันดว ย
๔. บันทึกหลังการจัดประสบการณ หลังจากจัดประสบการณแลว ผูสอนควรบันทึกหลังการจัด

ประสบการณ ท้ังการบันทึกผลการจัดประสบการณตามจุดประสงคการเรียนรูที่กําหนดไวในแผนการจัด

ประสบการณ รวมทง้ั ไตรตรองคดิ ทบทวนเกยี่ วกบั การจัดประสบการณของตนเอง ท้ังน้ี ผสู อนสามารถบนั ทึกได

ทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ โดยพิจารณาใหเหมาะสมกับลักษณะของขอ มูลทตี่ อ งการ คูมือฉบบั นีไ้ ดแสดง

ตัวอยา งแบบบันทกึ หลังการจดั ประสบการณ ดงั ตวั อยางที่ (๑.๔) (๒.๔) และ (๓.๔) ซงึ่ เปน การบนั ทึกพฤตกิ รรม

ของเดก็ ตามจดุ ประสงคก ารเรยี นรใู นลกั ษณะของการตรวจสอบรายการ และบนั ทกึ เกย่ี วกบั การจดั ประสบการณ

ทั้งในเร่ืองความยากงายของกิจกรรมที่กําหนด ความเหมาะสมของส่ือ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และ

ขอมูลอ่ืนๆ ท่ีผูสอนคาดวาจะเปนประโยชนตอการพัฒนาเด็กในการจัดประสบการณคร้ังตอไปในลักษณะของ

การเขยี นบรรยาย ท้งั น้ี ผูสอนสามารถปรบั เปล่ยี นหรอื ออกแบบแบบบนั ทกึ หลงั การจดั ประสบการณใ หสอดคลอง
กับการปฏิบัติงานของตนเองไดต ามความเหมาะสม

คูมอื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 86 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ตัวอยา งที่ ๑
(๑.๑) หนว ยการจัดประสบการณ ช้นั อนบุ าลศึกษาปท ่ี ๑ หนวย “ฝน”

มาตรฐาน/ตวั บง ช/ี้ สภาพที่พึงประสงค จดุ ประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู

ประสบการณสําคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู

มฐ.๑ ตบช.๑.๓ ๑. ปฏบิ ัติตนอยา งปลอดภัยขณะฝนตก ดานรา งกาย ๑. ปรากฏการณธ รรมชาติ
๑.๓.๑ เลนและทาํ กจิ กรรมอยา งปลอดภัย เมือ่ มผี ชู ้ีแนะ ๑. การเคล่ือนไหวพรอมวสั ดอุ ุปกรณ - ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง ฟาผา
เมื่อมีผูช แ้ี นะ ๒. รับลูกบอลโดยใชมือและลําตัวชว ย ๒. การเคลอ่ื นไหวท่ีใชก ารประสานสมั พันธ - รุงกนิ นา้ํ
มฐ.๒ ตบช.๒.๑ ตบช.๒.๒ ๓. ใชก รรไกรตดั กระดาษขาดจากกันได ของการใชก ลา มเน้ือใหญ ในการขวาง การจบั
๒.๑.๔ รับลกู บอลโดยใชม ือและลาํ ตวั ชวย การโยน การเตะ ๒. การปฏิบตั ิตนอยางเหมาะสมเมือ่ ฝนตก
๒.๒.๑ ใชก รรไกรตดั กระดาษขาดจากกันได ๔. กลาพดู กลาแสดงออก ๓. การเขียนภาพและการเลนกับสี - หลบฝน
โดยใชม อื เดียว ๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ๔. การปน - ใชอปุ กรณกันฝน
มฐ.๓ ตบช.๓.๒ ๕. การหยบิ จับ การใชก รรไกร การฉกี การตดั
๓.๒.๑ กลา พูดกลา แสดงออก การปะ และการรอ ยวัสดุ ๓. การปฏบิ ัติตนอยา งเหมาะสมเมือ่ เจบ็ ปว ย
๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ๖. การฟงนิทาน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณเกยี่ วกับ - พกั ผอน ทํารางกายใหอบอุน ดืม่ น้าํ
การปอ งกนั และรกั ษาความปลอดภัย
๗. การเลนเคร่อื งเลน อยางปลอดภัย ใหเ พียงพอ และปฏิบัติตนอยางเหมาะสม
๘. การเลนบทบาทสมมติเหตุการณตา งๆ เพอ่ื ปองกนั การแพรเชอ้ื
ดา นอารมณ จิตใจ ๔. เหตุการณท ่ีสัมพนั ธก บั การเกิดฝน
๑. การฟง เพลง การรองเพลง และการแสดง
ปฏิกิริยาโตตอบเสยี งดนตรี - ตน ไมเจรญิ งอกงาม
๒. การเคลือ่ นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี - คนและสัตวม ีนํ้ากนิ นํา้ ใช
๓. การทํากจิ กรรมศลิ ปะตางๆ - นํ้าทว ม/ดนิ ถลม
๔. การเลน อสิ ระ
๕. การเลน ตามมุมประสบการณ/มุมเลน ตา งๆ
๖. การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตางๆ ตามความสามารถ
ของตนเอง

มาตรฐาน/ตวั บง ช/ี้ สภาพที่พึงประสงค จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู สาระที่ควรเรียนรู
ประสบการณส าํ คญั
มฐ.๔ ตบช.๔.๑ ดานสงั คม
๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงทาทาง/ ๖. รว มกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๑. การทํางานศลิ ปะทนี่ ําวสั ดุหรือส่งิ ของทใี่ ชแลว
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี และดนตรอี ยางมีความสขุ มาใชซ ํ้า
มฐ.๘ ตบช.๘.๓ ๒. การสนทนาขาวและเหตกุ ารณท ีเ่ กี่ยวกบั
๘.๓.๑ ปฏิบัตติ ามขอตกลงเมอ่ื มผี ูชแ้ี นะ ๗. ปฏิบัติตามขอ ตกลงเก่ียวกับการปอ งกนั ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม
การแพรเชือ้ เม่ือเจบ็ ปวยได ๓. การละเลนพืน้ บา นของไทย
มฐ.๙ ตบช.๙.๑ ๔. การดแู ลหองเรียนรว มกัน
๙.๑.๑ ฟงผอู น่ื พูดจนจบและพูดโตต อบเกี่ยวกบั ๘. ฟง และพูดโตต อบเกย่ี วกบั เรอ่ื งฝนตก ๕. การรว มสนทนาและแลกเปล่ียนความคดิ เหน็
เรื่องทฟ่ี ง ฟา แลบ ฟา รอ ง ฟา ผาได ๖. การเลนหรือทํากิจกรรมรว มกบั กลุมเพอ่ื น
ดานสตปิ ญญา
มฐ.๑๐ ตบช.๑๐.๑ ตบช.๑๐.๒ ๙. บอกลักษณะของหมวก เสื้อกนั ฝน และรม ๑. การฟง เพลง นิทาน คําคลอ งจอง บทรอยกรอง
๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะของส่งิ ตางๆ จาก จากการสงั เกตโดยใชประสาทสมั ผสั ได หรอื เร่อื งราวตางๆ
การสงั เกตโดยใชประสาทสัมผสั ๑๐. ระบุผลทเี่ กิดขึน้ จากการทีฝ่ นตกได ๒. การพูดอธบิ ายเก่ียวกับสง่ิ ของ เหตกุ ารณ
๑๐.๒.๑ ระบุผลทเี่ กิดขนึ้ ในเหตุการณห รอื และความสัมพนั ธข องส่งิ ตางๆ
การกระทําเมื่อมีผชู ้แี นะ ๓. การรอจังหวะทเ่ี หมาะสมในการพูด
๔. การสงั เกตลักษณะ สว นประกอบ
มฐ.๑๑ ตบช.๑๑.๑ ๑๑. สรางผลงานศิลปะเพือ่ ส่ือความคิด การเปลีย่ นแปลง และความสมั พันธของส่ิงตางๆ
๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศลิ ปะเพ่ือสอ่ื ความคิด ความรูส กึ ของตนเองได โดยใชประสาทสัมผสั อยางเหมาะสม
ความรสู กึ ของตนเอง ๑๒. คน หาคําตอบเก่ียวกบั รงุ กนิ นํา้ จาก ๕. การคาดเดาหรือคาดคะเนส่ิงทีอ่ าจจะเกดิ ข้นึ
มฐ.๑๒ ตบช.๑๒.๒ การทดลองได อยางมเี หตผุ ล
๑๒.๒.๑ คน หาคาํ ตอบของขอ สงสยั ตา งๆ ๖. การแสดงความคิดสรา งสรรคผ านภาษา
ตามวิธีการท่มี ีผชู ้แี นะ ทาทาง การเคล่ือนไหว และศิลปะ
๗. การสบื เสาะหาความรูเพอื่ คน หาคาํ ตอบของ
ขอสงสัยตางๆ

คมู ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 87 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คมู อื หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 88 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

(๑.๒) แผนการจดั ประสบการณรายสปั ดาห สัปดาหท ่.ี ............ หนว ย “ฝน” ชั้นอนบุ าลศึกษาปท ่ี ๑

วนั ท่ี เคลือ่ นไหวและจงั หวะ กจิ กรรม
๑ - เคลื่อนไหวพนื้ ฐาน
เสริมประสบการณ ศลิ ปะสรา งสรรค การเลน ตามมุม การเลนกลางแจง เกมการศึกษา
- เคล่ือนไหวรา งกาย - เกมจับคภู าพเหมอื น
ตามเพลงฝนตก เรอ่ื ง ปรากฏการณธรรมชาติ - วาดภาพอิสระดว ยสีเทียน - เลนตามมุมประสบการณ - เลนเคร่ืองเลนสนาม ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง
๒ - เคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน - รองเพลงฟาแลบ - หยดสีบนกระดาษเปยก มุมเลนตางๆ ฟา ผา
- เคลื่อนไหวตามคาํ บรรยาย - สนทนากับเด็กเก่ียวกบั ประสบการณเ ดมิ เรอ่ื งฝนตก - ปนแปงโดว - แนะนาํ หนังสอื เกยี่ วกบั - เกมเรียงลาํ ดับการเติบโต
(สมมติตนเองเปน เมล็ดพชื - เดก็ ดูวดี ทิ ัศนฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง ฟาผา ฝนและนา้ํ ทม่ี มุ หนังสือ ของตน ไม ๓ ลําดบั
ทคี่ อ ยๆ เติบโต)
๓ - อบอุนรางกาย เรื่อง เหตุการณที่สัมพนั ธกบั การเกิดฝน - วาดภาพอสิ ระดว ยสีเทยี น - เลน ตามมุมประสบการณ - เกมวิง่ ออ มหลัก - เกมจบั คูภาพอุปกรณ
- กายบรหิ ารประกอบเพลง - เด็กชภู าพเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นเม่อื ฝนตกและ - เปาฟองสบูส รางภาพ /มุมเลนตางๆ - เลน เครอื่ งเลนสนาม กนั ฝนกบั เงา
- ผอ นคลายกลา มเนอื้ ฝนแลง จากเรื่องทค่ี รเู ลา - พมิ พภ าพดวยน้วิ มอื
- สนทนาเกี่ยวกับเหตุการณท่ีอาจเกดิ ขึน้ เม่ือฝนตก - เกมจบั คภู าพเหมอื น
๔ - เคลือ่ นไหวพ้นื ฐาน มากเกินไป ประกอบภาพ รองเทา บทู
- การเคลอื่ นไหวผูนาํ ผตู าม
โดยผลดั เปลี่ยนกันเปนผนู าํ เรอื่ ง การปฏิบัติตนเมือ่ ฝนตก - วาดภาพอิสระดว ยสีเทยี น - เลน ตามมุมประสบการณ - โยนและรบั ลกู บอล - เกมภาพตดั ตอ รงุ กนิ นํ้า
ครั้งละ ๑ คน - เด็กสงั เกตอุปกรณทใ่ี ชก นั ฝน - ละเลงสีดวยนิ้วมอื /มมุ เลน ตา งๆ - เลน เครอ่ื งเลน สนาม (๔ ช้ิน)
- สนทนาเกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ นอยา งเหมาะสม - รอ ยหลอด
๕ - เคลอ่ื นไหวพนื้ ฐาน เมอ่ื ฝนตก
- เคลื่อนไหวประกอบการใช - เด็กเลนบทบาทสมมตกิ ารปฏบิ ัติตนเม่อื ฝนตก
ริบบ้นิ ผา สีสายรุง
เรอ่ื ง การปฏบิ ตั ติ นเม่ือเจบ็ ปวย - วาดภาพอสิ ระดว ยสีเทยี น - เลน ตามมมุ ประสบการณ - เลนนํา้ เลนทราย
- อานนทิ าน เร่ือง หนูผักบงุ เปน หวดั ใหเ ด็กฟง - กล้งิ สี /มมุ เลนตา งๆ - เลน เครือ่ งเลนสนาม
- สนทนาเกยี่ วกับการปฏิบตั ติ นเมื่อเจบ็ ปว ย - ปนดินเหนียว - แนะนําอปุ กรณเลนสมมติ
- เด็กทดลองปฏบิ ัตเิ รอ่ื งการปฏิบตั ิตนเมอ่ื เจ็บปวย ทม่ี ุมหมอ
เพ่อื ปอ งกนั การแพรเช้ือ

เรือ่ ง ปรากฏการณธรรมชาติ - วาดภาพอิสระดว ยสเี ทียน - เลน ตามมุมประสบการณ - รีรขี าวสาร
- สนทนาเกีย่ วกับรงุ กนิ นาํ้ จากภาพ - วาดภาพอสิ ระดว ยสนี ํา้ /มุมเลน ตา งๆ - เลน เครือ่ งเลน สนาม
- ทดลองการเกดิ รุงกนิ นา้ํ - ตดั แถบกระดาษสี
- ทอ งคําคลองจองรงุ กินนาํ้ นํามาตดิ สรางภาพ
ตามความสนใจ

(๑.๓) แผนการจดั ประสบการณรายวัน สปั ดาหท ่ี..............วันที่....................................หนวย “ฝน” ช้นั อนุบาลศึกษาปท ่ี ๑

จดุ ประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สือ่ การประเมนิ ผล
ประสบการณส าํ คญั สาระทคี่ วรเรียนรู สังเกตพฤติกรรมเดก็ ขณะ
ทําทาทางประกอบเพลง
กจิ กรรมเคลอื่ นไหวและ การเคลื่อนไหว - ๑. กิจกรรมเคลอ่ื นไหวพืน้ ฐาน ใหเดก็ เคล่ือนไหวรา งกายไปทว่ั บริเวณ ๑. เครอื่ งเคาะจงั หวะ และดนตรี
จงั หวะ ตามเสยี งเพลง/ดนตรี อยา งอิสระตามจงั หวะ เมอ่ื ไดย นิ สญั ญาณหยดุ ใหหยุดเคลอ่ื นไหวในทา นน้ั ๒. เพลงฝนตก
รวมกจิ กรรมการ ทนั ที สังเกตพฤติกรรมการฟง
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๒. เดก็ เคลอื่ นไหวโดยทําทาทางประกอบเพลงฝนตก โดยใหแ ตละคน และพูดโตต อบเกย่ี วกบั
และดนตรีอยางมคี วามสขุ คดิ ทา ทางอยา งอสิ ระ และทาํ ซํา้ ตามความเหมาะสม เรอื่ งฝนตก ฟาแลบ
๓. เด็กผอนคลายกลามเนอื้ ฟารอ ง ฟา ผา

กจิ กรรมเสริมประสบการณ ๑. การฟง เพลง ปรากฏการณธ รรมชาติ ข้นั นํา ๑. เพลงฟา แลบ
ฟงและพูดโตตอบเกี่ยวกับ ๒. การพูดอธิบาย ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง ๑. รองเพลงฟา แลบ ๒. วดี ทิ ัศนเ ก่ยี วกบั
เรื่องฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง เกยี่ วกบั ส่ิงของ และฟาผา ข้นั สอน ฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง
และฟาผา ได เหตุการณ และความ ๒. เดก็ ผลัดเปลยี่ นกนั เลาประสบการณเรื่องฝนตก ฟาผา
สัมพนั ธข องสิ่งตา งๆ ๓. เดก็ ดวู ีดทิ ศั นเกี่ยวกับฝนตก ฟา แลบ ฟา รอ ง ฟาผา ครูหยุดเปน ตอนๆ
๓. การรอจังหวะ เพอ่ื สนทนากับเด็ก และอธบิ ายเพม่ิ เตมิ
ทเ่ี หมาะสมในการพูด ๔. เดก็ คิดและทาํ ทา ทางประกอบเหตุการณฝ นตก ฟา แลบ ฟารอ ง ฟาผา
ข้นั สรปุ
๕. เดก็ ทายทาทางท่เี พ่อื นแสดงวาเปนปรากฏการณฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง
หรือฟา ผา

คมู อื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 89 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

คมู ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 90 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สอื่ การประเมินผล
ประสบการณส ําคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู ๑. ครูทอ งคําคลอ งจองฝนตกพรําๆ
๒. ครแู นะนํากิจกรรมศิลปะสรางสรรค ประกอบดว ย
กิจกรรมศลิ ปะสรา งสรรค ๑. การเขยี นภาพและ - ๑. คําคลองจองฝนตกพรําๆ ๑. สงั เกตพฤติกรรมขณะ
และกิจกรรมการเลน การเลน กบั สี ๒.๑ วาดภาพอิสระดวยสเี ทียน ๒. กระดาษ ทํางานศลิ ปะ
ตามมมุ ๒. การปน ๒.๒ หยดสบี นกระดาษเปยก ๓. สเี ทียน ๒. สังเกตพฤติกรรม
๑. สรางผลงานศิลปะ ๓. การทํากิจกรรม ๒.๓ ปน แปงโดว ๔. สีน้ํา การกลา พดู กลา แสดงออก
เพื่อส่ือความคิด ความรสู กึ ศลิ ปะตา งๆ ๓. ครแู นะนาํ หนงั สอื เกีย่ วกบั ฝนและนา้ํ ทีม่ ุมหนังสือ ๕. หลอดหยด ในการเลาเรื่องเพ่ือนาํ เสนอ
ของตนเองได ๔. การเลนตาม ๔. เดก็ เลอื กทาํ กจิ กรรมสรา งสรรค ๒ กิจกรรม ตามความสนใจ เมอ่ื ทาํ ๖. แปง โดว ผลงาน
๒. กลา พูดกลาแสดงออก มมุ ประสบการณ/ ผลงานเสร็จ ใหนาํ มาใหค รเู ขยี นบรรยายภาพหรือผลงาน ๗. มมุ เลน ๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการ
๓. แสดงความพอใจ มมุ เลนตางๆ ๕. เดก็ เลอื กเลนตามมุมประสบการณ เม่ือหมดเวลาครูใหสัญญาณ หรือมุมประสบการณ แสดงความพอใจในผลงาน
ในผลงานของตนเอง ๕. การพูดอธิบาย เด็กชวยกันเกบ็ ของ ของตนเอง
เกยี่ วกบั สงิ่ ของ ๖. เดก็ ๔ - ๕ คน นาํ ผลงานออกมานําเสนอ ใหเ พอ่ื นถามคําถามหรอื
เหตุการณ และความ แสดงความคดิ เหน็
สัมพันธข องสิง่ ตางๆ

กิจกรรมการเลน กลางแจง การเลนเคร่อื งเลน - ขอ ตกลงในการเลน ๑. เด็กอบอุนรา งกายดว ยการสะบัดมือ เทา ยอตัว ยดื ตวั เคร่อื งเลน สนาม สงั เกตพฤติกรรมการเลน
ปฏบิ ตั ิตนอยา งปลอดภยั อยา งปลอดภัย เครือ่ งเลน สนาม ๒. ครทู บทวนขอตกลงในการเลนเครอื่ งเลน สนามอยางปลอดภยั อยา งปลอดภัย
ขณะฝนตกเม่ือมีผูชแี้ นะ ๓. เด็กเลน เคร่ืองเลน สนามอยางอิสระ โดยครคู อยดูแลความปลอดภัยของเดก็ สงั เกตการเลน เกมการศกึ ษา
๔. ครูใหส ญั ญาณหยุดเลน และพาเด็กไปทําความสะอาดรา งกาย

กิจกรรมเกมการศกึ ษา การสังเกตลกั ษณะของ - การสงั เกตเปรยี บเทยี บ ๑. ครแู นะนําเกมจบั คูภ าพเหมือนฝนตก ฟา แลบ ฟา รอง ฟา ผา ๑. เกมจบั คภู าพเหมอื น
จบั คภู าพเหมอื นได ส่งิ ตา งๆ ความเหมือน ความตาง ๒. แบง เดก็ เปน ๔ กลมุ ใหเ ด็ก ๑ กลุม รับเกมท่คี รูแนะนาํ ไปเลน ฝนตก ฟาแลบ ฟารอง
กลมุ อืน่ ๆ เลน เกมการศกึ ษาชดุ เดิม ฟาผา
๓. เด็กเก็บเกมการศึกษา ๒. เกมชดุ เดิมทเ่ี คยเลน

(๑.๔) แบบบันทกึ หลังการจดั ประสบการณ สัปดาหท .่ี ............. หนว ย “ฝน” ชัน้ อนบุ าลศกึ ษาปท ี่ ๑
คาํ ชแี้ จง ทาํ เครอ่ื งหมาย ✓ เม่อื พบพฤตกิ รรมตามจดุ ประสงคการเรียนรู หรือทําเคร่อื งหมาย เม่อื ไมพ บพฤติกรรมตามจดุ ประสงคก ารเรียนรู

จุดประสงคก ารเรียนรู

เลขท่ี ชอื่ สกุล ๑.เปืม่อฏิมีับ ผูติ ้ีชตแนนอะยางปลอด ัภยขณะฝนตก หมายเหตุ
๒. รับลูกบอลโดยใชมือและลําตัวชวย
๓. ใ ชกรรไกรตัดกระดาษขาดจาก ักนไ ด
๔. กลา ูพดกลาแสดงออก
๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง
๖. รวม ิกจกรรมการเค ื่ลอนไหวประกอบ

เพลงและดนตรีอ ยางมีความ ุสข
๗. ป ิฏ ับติตามขอตกลงเ ี่กยว ักบการ

ปองกันการแพรเช้ือเม่ือเ ็จบ ปวยไ ด
๘. ฟงและพูดโตตอบเ ี่กยวกับเ ่ืรอง

ฝนตก ฟาแลบ ฟา รอง ฟาผาไ ด
๙. บอกลักษณะของหมวก เ ืส้อกันฝน และ

รมจากการ ัสงเกตโดยใชประสาทสัมผัสได
๑๐. ระ ุบผล ี่ทเกิด ้ึขนจากการท่ีฝนตกได
๑๑. ส รางผลงานศิลปะเ ืพ่อ ่สือความ ิคด

ความรูสึกของตนเองได
๑๒. คนหาคําตอบเก่ียวกับ รุงกินน้ํา

จากการทดลองไ ด

๑ เดก็ ชาย..........
๒ เด็กชาย..........
๓ เดก็ ชาย..........
..... ......................
..... ......................
..... ......................
๑๘ เด็กหญิง........
๑๙ เด็กหญิง........
๒๐ เดก็ หญิง........

บันทึกผลการจัดกจิ กรรม (อาทิ ความยากงา ยของกิจกรรมที่กาํ หนด ความเหมาะสมของสื่อ ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม การตอบสนองของเด็กตอ กิจกรรม ลกั ษณะการเรียนรูของเด็ก)

......................................................................................................................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................................................................................................................

คมู อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สําหรบั เด็กอายุ ๓ - ๖ ป ลงชือ่ ...............................................ผบู ันทึก

91

คมู อื หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 92 สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ตวั อยา งท่ี ๒
(๒.๑) หนว ยการจัดประสบการณ ชนั้ อนบุ าลศึกษาปที่ ๒ หนวย “ฝน”

มาตรฐาน/ตัวบงช/ี้ สภาพท่ีพึงประสงค จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรยี นรู

ประสบการณสําคญั สาระที่ควรเรยี นรู

มฐ.๑ ตบช.๑.๓ ๑. ปฏบิ ตั ิตนอยางปลอดภยั เมอ่ื ฝนตกได ดานรางกาย ๑. ปรากฏการณธรรมชาติ
๑.๓.๑ เลน และทาํ กจิ กรรมอยา งปลอดภยั ๑. การเคลอ่ื นไหวที่ใชก ารประสานสัมพนั ธข อง - สมบตั ขิ องน้าํ
ดว ยตนเอง การใชก ลา มเน้อื ใหญในการขวาง การจับ
การโยน การเตะ ๒. การปฏิบัติตนอยางเหมาะสมเมอื่ ฝนตก
มฐ.๒ ตบช.๒.๑ ตบช.๒.๒ ๒. การเขยี นภาพและการเลนกับสี - หลบฝน และไมไ ปในท่โี ลงแจง
๒.๑.๔ รบั ลกู บอลโดยใชมือท้งั ๒ ขาง ๒. รบั ลูกบอลโดยใชม อื ท้ัง ๒ ขา ง ๓. การปน - ใชอุปกรณกันฝน
๒.๒.๑ ใชก รรไกรตัดกระดาษตามแนวเสนตรงได ๓. ใชกรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน ตรงได ๔. การหยิบจบั การใชก รรไกร การฉีก การตัด
การปะ และการรอ ยวัสดุ ๓. การปฏิบัติตนอยางเหมาะสมเมอ่ื เจ็บปวย
มฐ.๓ ตบช.๓.๒ ๔. กลา พูดกลาแสดงออกอยา งเหมาะสม ๕. การเคลอ่ื นไหวโดยควบคมุ ตนเองไป - พกั ผอ น ทํารา งกายใหอ บอนุ ดมื่ นํ้า
๓.๒.๑ กลา พูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสม ๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ในทิศทาง ระดับ และพื้นที่
บางสถานการณ ๖. การฟงนทิ าน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณเกย่ี วกบั ใหเพียงพอ และปฏิบัตติ นอยางเหมาะสม
๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและ การปอ งกันและรกั ษาความปลอดภยั เพื่อปอ งกันการแพรเ ชื้อ
ความสามารถของตนเอง ๗. การเลน เคร่อื งเลน อยางปลอดภัย
๘. การเลน บทบาทสมมตเิ หตุการณต างๆ - การบอกอาการเมอื่ เจบ็ ปวย
ดานอารมณ จิตใจ ๔. เหตุการณทสี่ มั พนั ธกับการเกดิ ฝน
๑. การเคล่อื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๒. การทาํ กจิ กรรมศลิ ปะตา งๆ - เกิดแหลงน้ํา
๓. การเลนอิสระ - คนและสัตวม ีนาํ้ กนิ นํา้ ใช
๔. การเลนตามมุมประสบการณ/ มุมเลนตา งๆ - พืชผลทางการเกษตรเจรญิ งอกงาม
๕. การเลน นอกหอ งเรยี น - โครงการตามพระราชดาํ ริฯ โครงการ
๖. การปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา งๆ ตามความสามารถ ฝายชะลอนํ้า
ของตนเอง

มาตรฐาน/ตัวบง ชี้/สภาพทพ่ี งึ ประสงค จดุ ประสงคก ารเรียนรู สาระการเรยี นรู
มฐ.๔ ตบช.๔.๑
๔.๑.๓ สนใจ มีความสขุ และแสดงทา ทาง/ ประสบการณส ําคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู
เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี
มฐ.๗ ตบช.๗.๒ ดา นสงั คม
๗.๒.๓ ยนื ตรงเม่อื ไดยินเพลงชาตไิ ทยและ ๖. รว มกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง ๑. การทํางานศิลปะทีน่ ําวสั ดหุ รือสิ่งของเครอ่ื งใช
เพลงสรรเสรญิ พระบารมี และดนตรอี ยางมคี วามสขุ ทีใ่ ชแลวมาใชซ า้ํ หรอื แปรรูปแลวนาํ กลับมาใชใ หม
มฐ.๙ ตบช.๙.๑ ๒. การสนทนาขาวและเหตกุ ารณท่ีเกย่ี วกบั
๙.๑.๒ เลาเรื่องเปนประโยคอยา งตอ เนอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมในชวี ติ ประจาํ วนั
มฐ.๑๐ ตบช.๑๐.๑ ตบช.๑๐.๒ ๓. การละเลน พน้ื บา นของไทย
๑๐.๑.๑ บอกลักษณะและสวนประกอบของ ๗. รเู รื่องราวเกย่ี วกบั พระมหากรณุ าธคิ ุณของ ๔. การดูแลหองเรียนรวมกัน
สิง่ ตางๆ จากการสงั เกตโดยใชประสาทสัมผสั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ไทย ๕. การรวมสนทนาและแลกเปลยี่ นความคิดเหน็
๑๐.๒.๑ ระบสุ าเหตุหรอื ผลท่ีเกดิ ข้ึน
ในเหตกุ ารณหรอื การกระทําเม่อื มีผชู แ้ี นะ ๖. การเลนหรอื ทํากจิ กรรมรวมกบั กลมุ เพื่อน
๑๐.๒.๒ คาดเดาหรอื คาดคะเนสิง่ ที่อาจจะ ดานสติปญ ญา
เกดิ ขึน้ หรือมสี ว นรวมในการลงความเหน็ จาก ๘. บอกอาการเม่ือเจบ็ ปว ยได ๑. การฟง เพลง นทิ าน คาํ คลองจอง บทรอยกรอง
ขอมลู
มฐ.๑๑ ตบช.๑๑.๑ หรอื เร่ืองราวตางๆ
๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศลิ ปะเพอื่ สื่อความคดิ ๒. การพดู อธบิ ายเก่ยี วกบั สง่ิ ของ เหตกุ ารณ
ความรสู กึ ของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง และ ๙. บอกรายละเอียดท่สี งั เกตจากการทดลอง และความสมั พนั ธข องส่ิงตา งๆ
แปลกใหมจ ากเดมิ หรือมีรายละเอียดเพ่ิมขน้ึ เร่ืองการเกิดฝนได ๓. การรอจังหวะทเี่ หมาะสมในการพดู
๑๐. ระบผุ ลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการท่ีฝนตกได ๔. การสงั เกตลักษณะ สวนประกอบ
การเปลย่ี นแปลง และความสัมพนั ธข องส่ิงตา งๆ
๑๑. คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกดิ ข้นึ เม่อื นํ้าไหลผา น โดยใชป ระสาทสัมผัสอยางเหมาะสม
ฝายชะลอนา้ํ ได ๕. การนับและแสดงจาํ นวนของสงิ่ ตางๆ
ในชวี ติ ประจาํ วัน
๖. การชัง่ ตวง วดั ส่งิ ตางๆ โดยใชเ ครอ่ื งมือและ
หนว ยที่ไมใ ชหนว ยมาตรฐาน
๗. การบอกและเรียงลําดบั กิจกรรมหรือ
๑๒. สรา งผลงานศลิ ปะเพอ่ื สือ่ ความคิด เหตุการณตามชว งเวลา
ความรูสึกของตนเอง โดยมีการดัดแปลง และ ๘. การคาดเดาหรือคาดคะเนส่งิ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึน
แปลกใหมจากเดิมหรือมีรายละเอียดเพ่ิมข้ึน อยา งมีเหตุผล

๙. การแสดงความคดิ สรางสรรคผ า นภาษา
ทา ทาง การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ

คมู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 93 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คมู ือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 94 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

(๒.๒) แผนการจัดประสบการณร ายสปั ดาห สปั ดาหท .ี่ .............. หนว ย “ฝน” ชนั้ อนุบาลศกึ ษาปที่ ๒

วนั ที่ เคล่ือนไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ กิจกรรม การเลนตามมมุ การเลน กลางแจง เกมการศกึ ษา
ศิลปะสรา งสรรค เกมเรียงลําดับการเตบิ โต
ของตน ไม ๔ ลําดับ
๑ - เคลือ่ นไหวพนื้ ฐาน เรอื่ ง สมบตั ิของนาํ้ - วาดภาพอิสระดว ยสีเทียน - เลน ตามมุมเลน - เลน นํ้า เลนทราย เกมจับคจู ํานวนพืชผักกับ
- เคลอื่ นไหวรางกาย - เดก็ สังเกตนํ้าเย็น น้าํ รอ น และนํา้ ธรรมดา - วาดภาพอิสระดวย หรอื มุมประสบการณ - เลน เครือ่ งเลนสนาม ตัวเลข ๑ - ๕
ตามเพลงเมฆฝน - เดก็ สงั เกตเมอื่ นาํ จานแกวไปปดปากแกว ทั้ง ๓ ใบ สีโปสเตอร - แนะนําหนังสอื เก่ยี วกบั ฝน
- สนทนาเรอ่ื งการเกิดฝน - ปนดนิ นํา้ มัน และนํ้าที่มมุ หนงั สือ เกมจับคูภาพหมวกกับ
ภาพโครงราง
๒ - เคล่ือนไหวพน้ื ฐาน เร่ือง เหตุการณท ่สี ัมพนั ธกับการเกิดฝน - วาดภาพอสิ ระดวยสีเทยี น เลน ตามมมุ เลน - เกมวงิ่ เกบ็ ของ
- เคล่อื นไหวตามคําบรรยาย - เดก็ เลือกภาพปริศนา (ภาพแหลง น้าํ คนและสตั วกนิ นํา้ - ขยํากระดาษสรา งภาพ หรือมมุ ประสบการณ - เลนเคร่ืองเลน สนาม เกมจับคูภาพเตม็ สวนกับ
(สมมติตนเองเปน เกษตรกร ใชน ํา้ และพชื ผลทางการเกษตรเจริญงอกงาม) อยา งอิสระ ภาพแยกสวน
ปลกู ผัก) - เด็กอธบิ ายเช่อื มโยงความสมั พนั ธข องภาพกบั - พิมพภ าพดว ยพชื ผกั เกมจดั หมวดหมภู าพ
เหตุการณฝนตก ตามสอี ปุ กรณก ันฝน

๓ - อบอนุ รา งกาย เร่อื ง การปฏบิ ัติตนเมือ่ ฝนตก - วาดภาพอสิ ระดว ยสเี ทียน - เลนตามมมุ เลน - โยนและรบั ลกู บอล
- กายบริหารประกอบเพลง - รองเพลงหลบฝน - เปา สี หรือมุมประสบการณ - เลนเครือ่ งเลน สนาม
ออกกําลังกายรบั แสงตะวนั - สนทนาเก่ียวกับการหลบฝน การใชอ ุปกรณก ันฝน และ - พบั กระดาษเปน หมวกและ
- ผอ นคลายกลา มเน้อื อนั ตรายจากการไปในทโ่ี ลง แจง ขณะฝนตก ประกอบภาพ ตกแตง อยางอิสระ
- เดก็ เลนบทบาทสมมติการปฏิบัตติ นเมือ่ ฝนตก

๔ - เคล่ือนไหวพ้ืนฐาน เร่อื ง การปฏบิ ตั ิตนเมอ่ื เจบ็ ปวย - วาดภาพอิสระดวยสีเทียน - เลนตามมุมเลน - เลน เคร่ืองเลนสนาม
- การเคล่ือนไหวผนู าํ ผตู าม - สนทนากับเด็กเรอ่ื งสิ่งที่แพทยซกั ถามเมือ่ เจบ็ ปว ย - ดดี สี หรือมุมประสบการณ
โดยใหเ ดก็ ทีเ่ ปนผนู ําเลอื กผนู ํา - เดก็ บอกอาการเม่ือเจบ็ ปว ย - ปนดินกระดาษ - แนะนําอุปกรณเลน สมมติ
คนตอไป - เดก็ เลนบทบาทสมมติไปพบแพทยเ มอ่ื เจบ็ ปวย ท่ีมุมหมอ

๕ - เคลอ่ื นไหวพ้นื ฐาน เร่ือง เหตุการณทีส่ ัมพนั ธกับการเกดิ ฝน - วาดภาพอิสระดว ยสีเทยี น - เลนตามมมุ เลน - มอญซอนผา
- เคล่ือนไหวและปฏิบตั ิตามคาํ ส่งั - เด็กสังเกตสง่ิ ทเี่ กิดขน้ึ เม่อื เทนํา้ ในชองทางทีส่ มมตเิ ปน - วาดภาพอสิ ระดว ยสีน้ํา หรอื มมุ ประสบการณ - เลนเครือ่ งเลน สนาม
จดั กลุม ๒ - ๔ คน ทางนา้ํ - ตดั กระดาษตามแนวเสน - เพม่ิ มุมฝายชะลอนํ้า
- เดก็ ทดลองสรางฝายชะลอนาํ้ และคาดคะเนสงิ่ ทีอ่ าจ ตรงเพ่ือมวนเปนรูปตา งๆ
เกิดขึ้นเม่ือนา้ํ ไหลผาน อยางอิสระ ทาํ โมบายตกแตง
- เลาเร่ืองโครงการตามพระราชดาํ ริฯ “โครงการ หองเรียน
ฝายชะลอน้ํา” ประกอบภาพ


Click to View FlipBook Version