The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sujittra1579, 2022-05-17 01:14:43

แผนม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101
กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

จัดทาโดย
ชอ่ื นางสาวสจุ ิตรา สมวาส

ตาแหน่ง ครู คศ.1

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบุรี
สังกดั สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี
ท…่ี ………………………………………… วนั ที่ ……………………………………………………
เร่อื ง ขออนุมัติใช้แผนการจดั การเรยี นรู้
เรียน ผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบรุ ี

..........................................................................................................................................................................

ดว้ ยข้าพเจ้า นางสาวสุจิตรา สมวาส ตาแหน่ง ครู คศ.1ได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชาวทิ ยาศาสตร์

รหัส ว22101 วิชา วทิ ยาศาสตร์ จานวน 1.5 หนว่ ยกิต เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง / สปั ดาห์ จานวน 60 ชว่ั โมง /

ภาคเรยี น ได้จัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ ในรายวิชาดงั กล่าว เพอื่ ใช้ในการประกอบการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอนในระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ประจาปกี ารศกึ ษา 2565 เปน็ ทเ่ี รียบร้อยแล้ว

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดอนมุ ตั ิ
ลงช่ือ ....................................
( นางสาวสจุ ติ รา สมวาส )

..........................................................................................................................................................
ความเหน็ ของรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ / ผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ไดต้ รวจสอบองคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าดงั กลา่ วแลว้ พบวา่
ครบถ้วน ครอบคลุม และสอดคลอ้ งตามหวั ข้อ เนอื้ หา สาระมาตรฐานตวั ชีว้ ดั / ผลการเรยี นรู้
ควรปรับปรุง เพ่ิมเตมิ หรอื แก้ไข ดังนี้

…………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ......................................

( นายชาญยุทธ สุทธธิ รานนท์ )

รองผอู้ านวยการกลุม่ บรหิ ารงานวชิ าการ

............/............./.............

..............................................................................................................................................................

เรยี นเสนอเพอื่ โปรดพจิ ารณา

อนุมัติตามเสนอ ไม่อนุมัติ เน่ืองจาก ......................................................................

ลงชื่อ.....................................................
( นายวรี ะ แก้วกัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี

คาอธิบายรายวชิ า
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว22101
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
เวลา 3 ชวั่ โมง ( ตลอดภาคเรียน ) จานวน 1.5 หน่วยกิต

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเก่ียวกับระบบร่างกายมนุษย์ ระบบหายใจ โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ การหายใจ การ

ดูแลรักษาอวยั วะในระบบหายใจ ระบบขับถา่ ย โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบขับถ่าย กลไกการกาจัดของเสีย
การดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด
การทางานของระบบหมุนเวยี นเลอื ด การดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท โครงสร้างและหน้าที่
ของอวัยวะในระบบประสาท การทางานของระบบประสาท การดูแลรักษาอวัยวะในระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์
โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศชายและเพศหญิง ฮอร์โมนเพศ การปฏิสนธิและการต้ังครรภ์ การ
คุมกาเนิด ศึกษาเก่ียวกับการแยกสารผสม การระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่ัน โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัด
ด้วยตัวทาละลาย การนาวิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ศึกษาเก่ียวกับสารละลาย สภาพละลายได้ของ
สาร ความเขม้ ข้นของสารละลาย การใชส้ ารละลายในชีวติ ประจาวัน

ตวั ชี้วดั ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
ว 1.2 ม.2/11 ม.2/12ม.2/13ม.2/14ม.2/15ม.2/16ม.2/17
ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว 2.1

รวม 23 ตวั ชี้วดั

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 .สาระวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของ โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ทีท่ างานสัมพันธ์กนั รวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 2. วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสรา้ งและ แรงยึด เหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิด

สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ผงั มโนทัศนร์ ายว
ระดบั ชน้ั มัธยมปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เว

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑
เร่ือง ระบบร่างกายมนุษย์

วิชา วิท
ชั้น มัธยมศกึ ษา

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3
เรื่อง สารละลาย

วชิ า วิทยาศาสตร์
วลา 3 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกิต

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2
เรื่อง การแยกสารผสม

ทยาศาสตร์
าปที ี่ 2ภาคเรียนที่ 1

โครงสรา้ งรายวชิ าพน้ื ฐา
รหสั วิชา ว22101 รายวิชา วิทยาศาส
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเ
*** เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง / สปั ดาห์ จานวน 6

หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ย แผนการจดั การ สาระ / มาตรฐานการเรยี นรู้ /
1 การเรยี นรู้ เรียนรทู้ ี่ / เรือ่ ง ตวั ช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้

ระบบ 1.ระบบหายใจ ว 1.2 ได้แก
ร่างกาย 2.ระบบขบั ถา่ ย ม.2/1 ได้แก
มนษุ ย์ 3.ระบบ ม.2/2 เข้าแ
หมุนเวียนเลือด ม.2/3 ปริมา
4.ระบบประสาท ม.2/4 ทางา
5.ระบบสืบพันธ์ ม.2/5 นาอา
ม.2/6 และเ
ม.2/7 ออก
ม.2/8 ออก
ม.2/9 คาร์บ
ม.2/10 เพื่อก
ม.2/11 ออก
ม.2/12 เนื้อเ
ม.2/13 ขึ้น โ
ม.2/14 เน้ือเ
ม.2/15 เข้าส
ม.2/16 ออก
ม.2/17 ปนเป
เช่น

าน ชือ่ วชิ าวิทยาศาสตร์
สตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565
เทคโนโลยี ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 2
60 ชั่วโมง / ภาคเรยี น จานวน 1.5 หนว่ ยกิต

สาระสาคัญ เวลา นา้ หนักคะแนน
(ชม.) K A P รวม
ระบบหายใจมีอวัยวะท่ีเป็นทางเดินของอากาศ 8 7 5 20
ก่ จมูก ท่อลม และปอด และมีอวัยวะท่ีเก่ียวข้อง 20
ก่ กะบังลม และกระดูกซ่ีโครง โดยอากาศเคลื่อนท่ี
และออกจากปอดเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลง
าตรและความดนั ภายในช่องอก ซึ่งเกี่ยวข้องกับการ
านของกะบังลมและกระดูกซ่ีโครง เมื่อมนุษย์หายใจ
ากาศเข้าสู่ร่างกาย อากาศเดินทางผ่านจมูก ท่อลม
เข้าสู่ปอด ซึ่งเป็นบริเวณท่ีเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
กซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยแก๊ส
กซิเจนแพร่จากถุงลมเข้าสู่หลอดเลือดฝอย ส่วนแก๊ส
บอนไดออกไซด์แพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่ถุงลม
กาจัดออกจากร่างกายผ่านการหายใจออก แก๊ส
กซิเจนที่แพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอยจะลาเลียงไปยัง
เยื่อต่าง ๆ ของรา่ งกาย และเกิดการแลกเปล่ียนแก๊ส
โดยแก๊สออกซิเจนจากหลอดเลือดฝอยแพร่เข้าสู่
เยื่อ ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่จากเนื้อเยื่อ
สู่หลอดเลือดฝอยเพ่ือลาเลียงไปยังปอดและกาจัด
กจากร่างกาย การสูบบุหร่ี การสูดอากาศท่ีมีสาร
ปื้อนอาจเป็นสาเหตุของโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคถุงลมโปุงพอง ดังนั้น จึงควรดูแลรักษาอวัยวะ

ในระ

กระเ
ทาห
กลบั
การท
กระ
ท่อป
การด
อวัยว

ออก
ห้อง
หน้า
ออก
ออก
เลือด
เพอื่ ก
เม็ดเ
เล้ียง
และส
แข็งต
อย่าง
คาร์บ
หวั ใจ
แก๊ส
คาร์บ
ลงสู่ห

ะบบหายใจใหท้ างานอย่างปกติ
ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไต ท่อไต
เพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ภายในไตมีหน่วยไต
หน้าท่ีกาจัดของเสียต่าง ๆ ออกจากเลือด และดูด
บสารท่ีมปี ระโยชนเ์ ข้าสู่เลือด ของเหลวต่าง ๆ ที่ผ่าน
ทางานของหน่วยไตจะผ่านไปยังท่อไตและไปเก็บใน
ะเพาะปัสสาวะเพื่อกาจัดออกจากร่างกายผ่าน
ปัสสาวะ การเลือกรับประทานอาหารท่ีไม่มีรสจัด
ด่ืมน้าอย่างเพียงพอเป็นแนวทางในการดูแลรักษา
วะในระบบขบั ถ่ายให้ทางานอยา่ งปกติ
ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจแบ่ง
กเป็น4 ห้อง ได้แก่ ห้องบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2
โดยมีล้ินก้ันระหว่างห้องบนและห้องล่าง หัวใจทา
าที่สูบฉีดเลือดไปยังอวัยวะต่าง ๆ หลอดเลือดแบ่ง
กเป็นหลอดเลือดแดงทาหน้าท่ีลาเลียงเลือดที่มีแก๊ส
กซิเจนสูงไปยังเซลล์ หลอดเลือดดาทาหน้าท่ีลาเลียง
ดที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงจากเซลล์มายังปอด
กาจัดออกจากร่างกาย และเลือดประกอบด้วยเซลล์
เลือดแดงทาหน้าท่ีลาเลียงแก๊สออกซิเจนไปหล่อ
งเซลล์ เซลล์เม็ดเลือดขาวทาหน้าท่ีกาจัดเชื้อโรค
ส่ิงแปลกปลอม และเกล็ดเลือดทาหน้าที่ช่วยในการ
ตัวของเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดมีการหมุนเวียน
งเป็นระบบ โดยเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนต่า แต่แก๊ส
บอนไดออกไซด์สูงเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาผ่านลงสู่
จห้องล่างขวา แลว้ ลาเลียงไปยงั ปอดเพ่ือแลกเปลี่ยน
ส กลายเป็นเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูง แต่แก๊ส
บอนไดออกไซด์ต่า กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายผ่าน
หัวใจห้องล่างซ้ายเพ่ือนาเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูง

ไปย
รบั ป
ช่วยใ

หน้า
หนา้ ท
รับส
การท
อวัย
สมอ
หน่ว
กั บ ก
กระท
ใช้สา
ประส
ระบบ

การส

สบื พ

และร

ไข่ ท

ฮอร์โ

ไข่ เด

เซลล

การป

เจรญิ

เดือน

สาหร

ยังเซลล์ต่าง ๆ การออกกาลังกาย การเลือก
ประทานอาหาร และการรักษาสภาวะทางอารมณ์จะ
ใหร้ ะบบหมุนเวยี นเลอื ดทางานปกติ
ระบบประสาทส่วนกลางประกอบด้วยสมองทา
าที่ควบคุมการทางานของร่างกาย ไขสันหลังทา
ทีส่ ่งผ่านกระแสประสาท และเส้นประสาททาหน้าที่
ส่งกระแสประสาท ซึ่งมีเซลล์ประสาทจานวนมาก
ทางานของระบบประสาทจะส่งกระแสประสาทจาก
ยวะรับความรู้สึกไปยังไขสันหลัง และส่งต่อไปยัง
อง ซ่งึ สมองจะส่งกระแสประสาทผ่านไขสันหลังไปยัง
วยปฏิบัติการต่าง ๆ โดยระบบประสาทจะเกี่ยวข้อง
ก า ร ท า ง า น ข อ ง ทุ ก ร ะ บ บ จึ ง ค ว ร ปู อ ง กั น ก า ร
ทบกระเทอื นของสมองและไขสันหลัง หลีกเลี่ยงการ
ารเสพติด และภาวะเครียด เพื่อดูแลรักษาระบบ
สาทให้ทางานอย่างเปน็ ปกติ
บสืบพนั ธ์ุแบง่ ออกเป็นระบบสืบพนั ธุ์เพศชายซง่ึ มี

สร้างเซลลอ์ สุจิจากอณั ฑะทาหนา้ ท่ีเป็นเซลล์

พันธ์เุ พศชายถูกควบคุมโดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน

ระบบสบื พันธุ์เพศหญงิ ซึ่งมีการสรา้ งเซลล์ไข่จากรัง

ทาหนา้ ที่เปน็ เซลล์สืบพันธ์เุ พศหญิงถูกควบคุมโดย

โมนโพรเจส-เทอโรนและอสี โทรเจน ซึ่งจะมกี ารตก

ดอื นละ 1 เซลล์ และหากไมไ่ ด้รับการปฏิสนธิจาก

ลอ์ สุจิจะกลายเปน็ ประจาเดอื น แต่หากเซลลไ์ ขไ่ ด้รับ

ปฏิสนธจิ ากอสุจจิ ะแบ่งเซลล์เป็นไซโกต เอ็มบรโิ อ และ

ญเป็นทารกในครรภ์ ซง่ึ ทารกอยใู่ นครรภ์ประมาณ 9

น อยา่ งไรกต็ าม มวี ธิ กี ารคมุ กาเนิดหากไมพ่ ร้อม

รบั การมีบตุ รเช่นการคุมกาเนิดโดยวธิ ที างธรรมชาติ

2 การแยกสาร 1. เรอ่ื ง การ ว 2.1 การใ

ผสม ระเหยแห้ง ม.2/1 ละล
โดยใ
ม.2/2 จึงเห
เกลอื
ม.2/3
ละล
โดยท
ละลา
ออกม

และ
ประเ
ประก
เดือด
เดือด
ขึน้ ไป
แบบ
ละลา
ให้สา
น้า ซ
กล่ัน
สารล
กันห
เป็นส

ประ

ใช้อุปกรณ์ การใช้สารเคมี การทาหมนั 18 7 4 4 15

การระเหยแหง้ ใช้แยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตัว
ลายท่ีเป็นของแข็งในตัวทาละลายที่เป็นของเหลว
ใช้ความร้อน ซึ่งตัวทาละลายจะระเหยกลายเป็นไอ
หลือเฉพาะตัวละลายท่ีเป็นของแข็งเช่น การผลิต
อสมทุ ร
การตกผลึกใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัว
ลายท่ีเป็นของแข็งในตัวทาละลายที่เป็นของเหลว
ทาให้เป็นสารละลายอ่ิมตัว แล้วจึงปล่อยให้ตัวทา
ายระเหยออกไปบางส่วน ตัวละลายจะตกผลึกแยก
มาเชน่ การผลติ นา้ ตาลทราย
การกลน่ั ใช้แยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตัวละลาย
ะตัวทาละลายที่เป็นของเหลว แบ่งออกเป็น 3
เภท ไดแ้ ก่ การกลนั่ แบบธรรมดาใชแ้ ยกสารละลายที่
กอบด้วยตัวทาละลายท่ีเป็นสารระเหยง่าย และมีจุด
ดต่าออกจากตัวละลายท่ีเป็นสารระเหยยากและมีจุด
ดสูง ซ่ึงจดุ เดอื ดควรต่างกันต้ังแต่ 30 องศาเซลเซียส
ป เช่น การกล่ันแยกเกลือออกจากน้าทะเล การกลั่น
บไอน้าใช้แยกสารท่ีมีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย และไม่
ายนา้ ออกจากสารท่รี ะเหยยาก โดยความดันไอนา้ ทา
ารเดือดกลายเป็นไอและถูกกลั่นออกมาพร้อมกับไอ
ซึ่งสารที่ถูกกลั่นออกมาจะแยกช้ันกับน้า เช่น การ
นน้ามันหอมระเหยและการกล่ันลาดับส่วนใช้แยก
ละลายทมี่ สี ่วนประกอบเป็นสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียง
หรือแยกสารละลายที่มีตัวทาละลายและตัวละลาย
สารทีร่ ะเหยง่ายเช่น การกลั่นนา้ มันดิบ
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษใช้แยกสารละลายท่ี
ะกอบด้วยสารมากกว่า 1 ชนิด ออกจากกัน โดย

อาศ
ละลา
ให้สา
แต่ล
การเ

การส
โดยอ
ทาละ
ละลา
จะแย
สารล
ได้ง่า
วทิ ยา
การก
วิศวก

2.เรื่อง การตก
ผลึก
3.เร่ือง การกลัน่
4.เรอ่ื ง โคร
มาโทกราฟีแบบ
กระดาษ
5.เรื่อง การสกดั

ศัยความสามารถในการละลายของสารในตัวทา
าย และการถูกดูดซับบนตัวดูดซับที่แตกต่างกัน ทา
ารแต่ละชนิดถูกแยกออกจากกัน ซึ่งระยะทางท่ีสาร
ละชนิดเคล่ือนที่บนตัวดูดซับสามารถนามาหาอัตรา
เคลอ่ื นที่ของสาร (Rf) ไดจ้ ากสตู ร

Rf  ระยะทางท่ีสารเคลื่อนที่
ระยะทางท่ีตัวทาละลายเคล่ือนท่ี

สกดั ดว้ ยตวั ทาละลายใชแ้ ยกสารออกจากสารผสม
อาศัยสมบัตกิ ารละลายในตัวทาละลายของสาร ตวั
ะลายท่ีเหมาะตอ้ งละลายสารที่ตอ้ งการจะแยกไม่
ายสารที่ไมต่ ้องการ ไมท่ าปฏิกริ ิยากับสารทต่ี อ้ งการ
ยก มีจดุ เดือดตา่ ระเหยงา่ ย แยกออกจาก
ละลาย
ายเช่น การสกดั น้ามนั จากเมลด็ พืชความร้ดู า้ น
าศาสตร์เกยี่ วกบั การแยกสารสามารถนาไปบรู ณา
กับคณติ สาสตร์ เทคโนโลยี โดยใชก้ ระบวนการทาง
กรรม เพือ่ นาไปแกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวันตอ่ ไป

ด้วยตวั ทาละลาย

3 สารละลาย 1.เรอื่ ง ว 2.1

สารละลาย ม.2/4 ธาตุ
ม.2/5 โดยธ
2.เร่อื ง สภาพ ม.2/6 ส่วนธ
ละลายไดข้ องสาร ตัวล
ละลา
3.เร่ือง ความ
การล
เข้มข้นของ สารล
ละลา
สารละลาย
กนั
4.เร่ือง การใช้

สารละลายใน

ชีวติ ประจาวนั

สารละลาย หมายถึงสารเนื้อเดียวท่ีประกอบด้วย 1 7 4 4 15
หรือสารประกอบตั้งแต่ 2 ชนิด ขึ้นไปรวมตัวกัน 8
ธาตุหรือสารประกอบชนิดหนึ่งเป็นตัวทาละลาย
ธาตุหรือสารประกอบอีกชนิดหน่ึงหรือมากกว่าเป็น
ะลาย ซ่ึงมีหลักการพิจารณาตัวละลายและตัวทา
ายในสารละลาย ดงั น้ี
- หากสารอยู่ในสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณ
มากกว่าเป็นตัวทาละลาย สารท่ีมีปริมาณน้อย
ก ว่ า
เปน็ ตวั ละลาย
- หากสารอยู่ในสถานะต่างกันเม่ือผสมกันแล้ว
มีสถานะเหมือนกับสารชนิดใด จะถือว่าสารน้ัน
เปน็
ตวั ทาละลาย สว่ นสารอกี ชนิดหนึ่งเปน็ ตวั ละลาย
สภาพละลายได้ของสารหมายถึงความสามารถใน
ละลายได้ของตัวละลายในตัวทาละลายจนเป็น
ละลายอ่ิมตัว ณ อุณหภูมิหน่ึง ๆ การละลายของตัว
ายขึ้นอยกู่ บั ปัจจัยต่าง ๆได้แก่
- อุณหภูมิเมื่ออุณหภูมิสูงข้ึนตัวละลายที่เป็น

ข อ ง แ ข็ ง
และของเหลวละลายได้มากข้ึน แต่ตัวละลายที่
เป็นแกส๊ จะละลายได้นอ้ ยลง
-ชนดิ ของตวั ทาละลายตัวทาละลายแตล่ ะชนดิ
สามารถละลายตัวละลายแต่ละชนิดได้แตกต่าง

ของ
สารล



- ขนาดของตัวละลายตัวละลายที่มีขนาดเล็ก
ละลายไดเ้ รว็ กวา่ ตวั ละลายท่มี ีขนาดใหญ่เพราะมี
พ้ืนที่ผวิ สมั ผสั มากกว่า

- ความดันมีผลต่อตัวละลายท่ีเป็นแก๊ส ซ่ึงหาก
ความดนั สงู ขนึ้ จะทาใหแ้ ก๊สละลายได้ดีข้นึ
- การคน การเขย่า หรือการป่ันเหวี่ยง ซึ่งจะทาให้
อนุภาคเคล่อื นท่ีเร็ว จึงเกิดการละลายไดเ้ ร็ว
ความเข้มข้นของสารละลายเป็นค่าที่แสดงปริมาณ
งตัวละลายที่ละลายอยู่ในตัวทาละลายหรือใน
ละลาย ดงั นี้
- ร้อยละโดยมวลเป็นหน่วยท่ีบอกถึงปริมาณตัว
ละลายเปน็ กรมั ทีล่ ะลายในสารละลาย 100 กรัม
นยิ มใช้กับสารละลายทีเ่ ปน็ ของแขง็ มสี ตู ร ดงั น้ี

รอ้ ยละโดยมวล  มวลของตัวละลาย  100
มวลของสารละลาย

- ร้อยละโดยปริมาตรเป็นหน่วยที่บอกถึงปริมาตร
ของตวั ละลายเป็นลูกบาศก์เซนติเมตรท่ีละลายใน
สารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นิยมใช้กับ
สารละลายที่เปน็ ของเหลวหรอื แก๊ส มสี ูตร ดงั น้ี

รอ้ ยละโดยปรมิ าตร  ปรมิ าตรของตัวละลาย  100
ปรมิ าตรของสารละลาย

- ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเป็นหน่วยที่บอกถึง
ป ริ ม า ณ ข อ ง ตั ว ล ะ ล า ย เ ป็ น ก รั ม ที่ ล ะ ล า ย ใ น
สารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร นิยมใช้กับ
ตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทาละลายท่ีเป็น

รอ้ ยล

สารล
เข้มข
กรดแ
แผลม
โดยป
ร้อยล
ลา้ งเ
ปริมา
ศัตรพู

หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี / เรอ่ื ง สาระ / มาตรฐา

เรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั /

เรยี นรู้

รวม เวลา / คะแนน หน่วยการเรยี น

สอบวดั ผลกลางภาคเรียน ( ของระดบั ประถมศึกษาเปล่ียนเ

สอบวดั ผลปลายภาคเรียน ( ของระดบั ประถมศกึ ษาเปล่ียน

รวมเวลาเรียน / คะแนน ตลอดภาคเรยี น ( ของประถมเปล

หมายเหต.ุ ...เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง / สัปดาห์ = 0.5 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง

เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง / สปั ดาห์ = 1.5 หนว่ ยกิต เวลาเรียน 4 ช่วั โมง / ส

ของเหลวมีสตู ร ดงั นี้

ละโดยมวลต่อปรมิ าตร

 มวลของตัวละลาย  100
ปรมิ าตรของสารละลาย

ละลายถกู นามาใชใ้ นชีวิตประจาวนั ซึ่งใชท้ ค่ี วาม
ข้นแตกต่างกนั เชน่ น้าสม้ สายชมู คี วามเขม้ ข้นของ
แอซีตกิ รอ้ ยละ 4-18 โดยปรมิ าตร แอลกอฮอลล์ า้ ง
มคี วามเขม้ ขน้ ของเอทิลแอลกอฮอลร์ อ้ ยละ 70
ปริมาตร นา้ เกลอื มคี วามเขม้ ขน้ ของโซเดยี มคลอไรด์
ละ 0.9 หรอื รอ้ ยละ 15 โดยมวลต่อปริมาตรน้ายา
เล็บมีความเข้มขน้ ของแอซโี ตนรอ้ ยละ 80 โดย
าตรสว่ นสารทาความสะอาดและสารเคมกี าจดั
พชื ถูกนามาทาใหเ้ จอื จางกอ่ นนาไปใช้

านการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั คะแนน
/ ผลการ (ชม.)

เป็นกลางปี ) 56 50
นเป็นปลายปี ) 2 20
ลี่ยนเปน็ ตลอดปี ) 2 30
/ สปั ดาห์ = 1.0 หนว่ ยกติ 60 100
สัปดาห์ = 2.0 หน่วยกิต

การวิเคราะห์มาตรฐานแล
รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 จาน

หนว่ ยการ ตวั ช้วี ดั ที่ รอู้ ะไร / ทาอะไร ภาระงาน / ช้ินงาน

เรยี นรทู้ ี่ /เรือ่ ง -ใบงาน
-แบบฝกึ หัด
1.ระบบ ว 1.2 รอู้ ะไร -แบบทดสอบ
-ระบบร่างกายมนษุ ย์ -การนาเสนอผลงาน
ร่างกายมนุษย์ ม.2/1 -การแยกสารผสม -การปฏิบตั กิ าร
ม.2/2 -สารละลาย -พฤติกรรมการทางานราย
-ระบบหายใจ ม.2/3 ทาอะไร -พฤตกิ รรมการทาการทาง
-ระบบขับถ่าย ม.2/4 ศกึ ษาและเรียนรู้
-ระบบ ม.2/5 ระบบรา่ งกายมนษุ ย์
-การแยกสารผสม
หมุนเวียน ม.2/6 -สารละลาย
เลอื ด ม.2/7

-ระบบ ม.2/8
ประสาท ม.2/9
ม.2/10
-ระบบสืบพนั ธ์ุ ม.2/11

ม.2/12

ม.2/13

ม.2/14

ม.2/15

ม.2/16

ม.2/17

ละตวั ชวี้ ดั / ผลการเรียนรู้
นวน 1.5 หนว่ ยกติ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

สมรรถนะสาคญั คณุ ลักษณะของวชิ า คุณลักษณะอนั พึง

1. ความสามารถใน วชิ าพื้นฐาน ประสงค์
การส่ือสาร
2. ความสามารถใน 1. มวี นิ ัย
การคิด 2. ใฝุเรียนรู้
3.มงุ่ มน่ั ในการทางาน
1) ทั ก ษ ะ ก า ร
ยบุคคล สังเกต
งานกลุม่
2) ทักษะสารวจ
คน้ หาการทางาน รายบุคคล

3) ทั ก ษ ะ ก า ร
ทดลอง

4) ทักษะกา รลง
ความเห็นจากข้อมูล
3.ความสามารถในการ
ใชเ้ ทคโนโลยี

2.การแยก ว 2.1 รูอ้ ะไร -ใบงาน
สารผสม ม.2/1 -การระเหยแห้ง -แบบฝึกหดั
-การระเหย ม.2/2 -การตกผลกึ -แบบทดสอบ
แห้ง ม.2/3 -การกลั่น -การนาเสนอผลงาน
-การตกผลกึ -โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ -การปฏบิ ตั ิการ
-การกลั่น -การสกัดด้วยตัวทาละลาย -พฤติกรรมการทางานราย
-โครมาโทก ทาอะไร -พฤติกรรมการทาการทาง
ราฟีแบบ ศกึ ษาและเรียนรู้
กระดาษ -การระเหยแหง้ -ใบงาน
-การสกดั ด้วย -การตกผลกึ -แบบฝึกหดั
ตวั ทาละลาย -การกล่นั -แบบทดสอบ
-โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ -การนาเสนอผลงาน
3.สารละลาย ว 2.1 -การสกัดดว้ ยตวั ทาละลาย -การปฏิบตั กิ าร
รู้อะไร -พฤตกิ รรมการทางานราย
-สารละลาย ม.2/4 -สารละลาย -พฤตกิ รรมการทาการทาง
ม.2/5 -สภาพละลายไดข้ องสาร
-สภาพละลาย ม.2/6 -ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย
ไดข้ องสาร -การใชส้ ารละลายใน
ชีวติ ประจาวนั
-ความเขม้ ข้น ศึกษาและเรียนรู้
สารละลาย
ขอสารละลาย -สภาพละลายไดข้ องสาร
-ความเขม้ ข้นของสารละลาย
-การใช้ -การใช้สารละลายใน
ชีวติ ประจาวัน
สารละลายใน

ชวี ิตประจาวนั

ยบคุ คล 1. ความสามารถใน วิชาพนื้ ฐาน 1. มวี ินัย
งานกลมุ่ การสื่อสาร 2. ใฝุเรยี นรู้
2. ความสามารถใน 3.มุ่งมั่นในการทางาน
การคิด
1. มวี นิ ัย
1) ทั ก ษ ะ ก า ร 2. ใฝุเรยี นรู้
สังเกต 3.มุ่งมั่นในการทางาน

2) ทักษะสารวจ
ค้นหา

3) ทั ก ษ ะ ก า ร
ทดลอง

4) ทักษะกา รลง
ความเห็นจากขอ้ มลู
3.ความสามารถในการ

ใช้เทคโนโลยี

ยบุคคล 1. ความสามารถใน วชิ าพนื้ ฐาน
งานกลุ่ม การสื่อสาร
2. ความสามารถใน
การคิด

1) ทั ก ษ ะ ก า ร
สงั เกต

2) ทักษะสารวจ
คน้ หา

3) ทั ก ษ ะ ก า ร
ทดลอง
4) ทั ก ษ ะ ก า ร ล ง
ความเห็นจากข้อมลู
3.การใช้เทคโนโลยี

ผังมโนทัศน์หนว่
เรื่อง ระบบรา่ งกายมนุษย
ระดบั ช้นั มธั ยมปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เว

เรอ่ื ง ระบบหายใจ
เวลา 6 ชั่วโมง

เรอ่ื ง ระบบหมุนเวียนเลอื ด หนว่ ยการเรีย
เวลา 7 ชั่วโมง เร่อื ง ระบบร่าง

เรอ่ื ง ระบบ
เวลา 8 ช

วยการเรียนรทู้ ี่ 1
ย์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
วลา 3 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

เรอ่ื ง ระบบขับถ่าย
เวลา 4 ชว่ั โมง

ยนรู้ท่ี 1
งกายมนุษย์

เรอ่ื ง ระบบประสาท
เวลา 3 ชวั่ โมง

บสบื พนั ธุ์
ชว่ั โมง

ผังมโนทัศน์หนว่
เรื่อง การแยกสารผสม
ระดบั ช้นั มธั ยมปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 เว

เรอื่ ง การระเหยแหง้ หนว่ ยการเรีย
เวลา 2 ชว่ั โมง
เรื่อง การแยก
เรอื่ ง การกลน่ั
เวลา 4 ชว่ั โมง

เร่ือง การสกดั ดว้ ยตัว
เวลา 6 ชวั่ โม

วยการเรยี นรู้ท่ี 2
รายวชิ า วิทยาศาสตร์
วลา 3 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ

เรอื่ ง การตกผลึก
เวลา 2 ช่ัวโมง

ยนรทู้ ่ี 2

กสารผสม

เร่อื ง โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ
เวลา 3 ชั่วโมง

วทาละลาย
มง

ผงั มโนทัศนห์ นว่
เรอ่ื ง การแยกสารผสม
ระดับช้นั มัธยมปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 เว

เรื่อง สารละลาย
เวลา 2 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรยี

เร่อื ง สารล

เรื่อง ความเข้มขน้ ของสารละลาย
เวลา 5 ช่วั โมง

วยการเรียนรทู้ ี่ 3
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
วลา 3 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกติ

เรอ่ื ง สภาพละลายได้ของสาร
เวลา 5 ชวั่ โมง

ยนรทู้ ่ี 3

ละลาย

เรอื่ ง การใช้สารใน
ชีวิตประจาวนั
เวลา 3 ชั่วโมง

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ระบบรา่ งกายมนษุ ย์ จานวน 28 ชัว่ โมง

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว22101

ครูผ้สู อน นางสาวสุจติ รา สมวาส

_________________________________________________________

สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)

ระบบหายใจมีอวัยวะท่ีเป็นทางเดินของอากาศ ได้แก่ จมูก ท่อลม และปอด และมีอวัยวะที่เก่ียวข้อง ได้แก่
กะบงั ลม และกระดูกซี่โครง โดยอากาศเคลอ่ื นที่เข้าและออกจากปอดเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดัน
ภายในชอ่ งอก ซึง่ เกีย่ วขอ้ งกบั การทางานของกะบังลมและกระดกู ซ่ีโครง เมื่อมนุษยห์ ายใจนาอากาศเขา้ สู่ร่างกาย อากาศ
เดินทางผ่านจมูก ท่อลม และเข้าสู่ปอด ซึ่งเป็นบริเวณที่เกิดการแลกเปล่ียนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
โดยแกส๊ ออกซิเจนแพร่จากถุงลมเข้าสู่หลอดเลือดฝอย ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่ถุงลม
เพ่ือกาจัดออกจากร่างกายผ่านการหายใจออก แก๊สออกซิเจนท่ีแพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอยจะลาเลียงไปยังเนื้อเย่ือต่าง ๆ
ของร่างกาย และเกิดการแลกเปล่ียนแก๊สข้ึน โดยแก๊สออกซิเจนจากหลอดเลือดฝอยแพร่เข้าสู่เนื้อเย่ือ ส่วนแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์แพร่จากเนื้อเย่ือเข้าสู่หลอดเลือดฝอยเพ่ือลาเลียงไปยังปอดและกาจัดออกจากร่างกาย การสูบบุหร่ี
การสูดอากาศท่ีมีสารปนเป้ือนอาจเป็นสาเหตุของโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคถุงลมโปุงพอง ดังนั้น จึงควรดูแล
รกั ษาอวยั วะในระบบหายใจใหท้ างานอยา่ งปกติ

ระบบขับถ่ายมีอวัยวะที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ภายในไตมีหน่วยไตทา
หน้าท่กี าจดั ของเสยี ต่าง ๆ ออกจากเลือด และดูดกลับสารทม่ี ีประโยชน์เข้าสเู่ ลือด ของเหลวตา่ ง ๆ ท่ีผ่านการทางานของ
หนว่ ยไตจะผา่ นไปยงั ท่อไตและไปเกบ็ ในกระเพาะปสั สาวะเพือ่ กาจดั ออกจากร่างกายผา่ น ทอ่ ปัสสาวะ การเลือก
รับประทานอาหารที่ไม่มีรสจัด การด่ืมน้าอย่างเพียงพอเป็นแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่ายให้ทางาน
อยา่ งปกติ

ระบบหมุนเวยี นเลือดประกอบดว้ ยหัวใจแบ่งออกเปน็ 4 ห้อง ไดแ้ ก่ ห้องบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2 ห้อง โดยมี
ล้ินก้ันระหว่างห้องบนและห้องล่าง หัวใจทาหน้าท่ีสูบฉีดเลือดไปยังอวัยวะต่าง ๆ หลอดเลือดแบ่งออกเป็นหลอดเลือด
แดงทาหน้าท่ีลาเลียงเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูงไปยังเซลล์ หลอดเลือดดาทา หน้าท่ีลาเลียงเลือดที่มีแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์สูงจากเซลลม์ ายังปอดเพือ่ กาจัดออกจากร่างกาย และเลือดประกอบดว้ ยเซลลเ์ ม็ดเลือดแดงทาหน้าที่
ลาเลียงแก๊สออกซเิ จนไปหล่อเลยี้ งเซลล์ เซลล์เม็ดเลอื ดขาวทาหน้าท่ีกาจัดเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม และเกล็ดเลือดทา
หน้าที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดมีการหมุนเวียนอย่างเป็นระบบ โดยเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนต่า
แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูงเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาผ่านลงสู่หัวใจห้องล่างขวา แล้วลาเลียงไปยังปอดเพ่ือแลกเปล่ียน
แก๊ส กลายเป็นเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูง แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่า กลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายผ่านลงสู่หัวใจห้อง
ลา่ งซา้ ยเพอื่ นาเลอื ดทม่ี ีแก๊สออกซิเจนสงู ไปยงั เซลล์ต่าง ๆ การออกกาลังกาย การเลอื กรบั ประทานอาหาร และการรกั ษา
สภาวะทางอารมณ์จะช่วยให้ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดทางานปกติ

ระบบประสาทสว่ นกลางประกอบด้วยสมองทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของร่างกาย ไขสันหลังทาหน้าท่ีส่งผ่าน
กระแสประสาท และเส้นประสาททาหน้าที่รับส่งกระแสประสาท ซึ่งมีเซลล์ประสาทจานวนมาก การทางานของระบบ
ประสาทจะส่งกระแสประสาทจากอวัยวะรับความรู้สึกไปยังไขสันหลัง และส่งต่อไปยังสมอง ซ่ึงสมองจะส่งกระแส
ประสาทผ่านไขสันหลังไปยังหน่วยปฏิบัติการต่าง ๆ โดยระบบประสาทจะเก่ียวข้องกับการทางานของทุกระบบจึงควร
ปูองกันการกระทบกระเทือนของสมองและไขสันหลงั หลีกเล่ียงการใช้สารเสพติด และภาวะเครียด เพ่ือดูแลรักษาระบบ
ประสาทให้ทางานอย่างเป็นปกติ

ระบบสืบพนั ธุ์แบง่ ออกเปน็ ระบบสืบพนั ธุ์เพศชายซ่งึ มกี ารสรา้ งเซลลอ์ สุจิจากอณั ฑะทาหนา้ ทเี่ ป็นเซลลส์ ืบพันธุ์
เพศชายถกู ควบคุมโดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน และระบบสืบพันธเุ์ พศหญงิ ซง่ึ มกี ารสรา้ งเซลล์ไข่จากรงั ไข่ ทาหน้าทเ่ี ปน็
เซลลส์ บื พนั ธุเ์ พศหญิงถูกควบคุมโดยฮอร์โมนโพรเจส-เทอโรนและอสี โทรเจน ซึ่งจะมกี ารตกไข่ เดอื นละ 1 เซลล์ และ
หากไมไ่ ดร้ ับการปฏสิ นธจิ ากเซลลอ์ สจุ จิ ะกลายเป็นประจาเดอื น แตห่ ากเซลลไ์ ข่ไดร้ ับการปฏสิ นธจิ ากอสจุ จิ ะแบ่งเซลลเ์ ปน็

ไซโกต เอ็มบรโิ อ และเจรญิ เปน็ ทารกในครรภ์ ซ่งึ ทารกอยใู่ นครรภ์ประมาณ 9 เดอื น อย่างไรกต็ าม มวี ธิ กี ารคมุ กาเนิดหากไม่
พร้อมสาหรับการมีบุตร เชน่ การคมุ กาเนดิ โดยวธิ ที างธรรมชาติ การใชอ้ ุปกรณ์ การใชส้ ารเคมี การทาหมนั

สาระท่ี 1 .สาระวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์
ของ โครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ
โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ีทางานสมั พนั ธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 2. วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสรา้ งและ แรงยึด เหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
ตวั ชวี้ ดั ท่ี

ว 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10

ม.2/11 ม.2/12ม.2/13ม.2/14ม.2/15ม.2/16ม.2/17
ว 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6

รวม 23 ตัวชวี้ ัด

สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น ( Competency ) คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ( Desired Characteristics )

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินัย

2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝุเรยี นรู้
1) ทักษะการสงั เกต 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน
2) ทกั ษะสารวจค้นหา

3) ทักษะการวดั
4) ทักษะการทดลอง

5) ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู
6) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลง

ขอ้ สรุป

3.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ทักษะ / กระบวนการ ( Skill during the process ) ทกั ษะการคิด

ทักษะเฉพาะวิชา - ประเมนิ การนาเสนอผลงาน
- ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร
- ทกั ษะการสงั เกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล
- ทักษะการสารวจค้นหา - สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ
- ทกั ษะการคานวณ - สงั เกตความมวี ินยั ใฝเุ รยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการทางาน
- ทกั ษะการทดลอง
- ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู
- ทกั ษะการตคี วามข้อมลู และการลงข้อสรุป

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1

เรอ่ื ง ระบบหายใจ เวลา 6 ชั่วโมง ระดับช้ันมธั ยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรียนรู้ / หลกั ฐานการเรยี นรู้ / การวัดและการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรยี นร้แู ละ สง่ิ ท่ตี ้องรแู้ ละปฏบิ ตั ไิ ด้ ผลงาน / ชิน้ งาน การวดั ผลและการ

ตวั ชี้วดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมินชิน้ งาน/ภาระ - ประเมินการนาเสนอ
ม.2/2 สอ่ื สาร งาน ผลงาน
ม.2/3 2. ความสามารถในการคดิ
ม.2/4 3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบตั ิการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1.อธบิ ายโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวัยวะที่เก่ียวข้องในระบบหายใจได้ (K)
2.อธิบายการเคลอ่ื นทีข่ องอากาศเขา้ และออกจากปอดได้ (K)
3.อธบิ ายกลไกการหายใจเขา้ และออกได้ (K)
4. อธบิ ายการแลกเปลีย่ นแกส๊ บรเิ วณปอดและบริเวณเซลลข์ องร่างกายได้ (K)
5. เปรียบเทยี บการเปลย่ี นแปลงของกระดูกซโ่ี ครงและกะบงั ลมขณะหายใจเขา้ และออกได้ (K)
6. เปรียบเทยี บการทางานของปอดจาลองกบั การทางานของปอดในรา่ งกายได้ (K)
7.เปรียบเทียบสัดสว่ นของแก๊สตา่ ง ๆ ในอากาศทเี่ ขา้ และออกจากร่างกายได้ (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
- ทกั ษะการสงั เกต
- ทกั ษะการสารวจคน้ หา
- ทักษะการคานวณ
- ทกั ษะการทดลอง
- ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู
- ทกั ษะการตีความข้อมูลและการลงขอ้ สรปุ

๓. สมรรถนะ (Competency)
-ความสามารถในการสอื่ สาร
-ความสามารถในการคดิ
-ความสามารถในการแกป้ ญั หา
-ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
-ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

3. หลกั ฐานการเรยี นรู้ชิ้นงานหรือภาระงาน (Work)
การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน/ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ประเมนิ การปฏบิ ัติการ/แบบทดสอบ

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สงิ่ ที่วัดผล วธิ วี ดั ผล เครือ่ งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ
- ประเมนิ การนาเสนอ
ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ - ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร
กรรมเป็รายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรมการ
หรอื เปน็ กลมุ่ ทางานรายบคุ คล -ประเมินการปฏิบตั ิการ

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการนาเสนอ
ทางานกลุ่ม ผลงาน

- สังเกตความมวี นิ ัย ใฝุ - ประเมนิ การปฏิบตั กิ าร

เรียนรู้ และม่งุ มัน่ ในการ

ทางาน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สังเกตพฤติกรรมการ
ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล
รายบคุ คลและเป็น - สังเกตพฤตกิ รรมการ
กลมุ่ ในด้านการ ทางานกลมุ่
สอ่ื สารการคดิ การ - สังเกตความมวี ินยั ใฝุ
แก้ปญั หา
เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการ

ทางาน

เจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ (A) -ประเมินพฤตกิ รรม - สังเกตพฤตกิ รรมการ
ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบคุ คลในดา้ น - สังเกตพฤตกิ รรมการ
ความมวี นิ ัย ความใฝุ ทางานกลุ่ม
เรียนรู้

สมรถนะของผเู้ รียน (C)

5. กระบวนการการจดั กิจกรรม / รูปแบบการจดั กจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนร/ู้ แนวทางการเสรมิ แรงหรือช่วยเหลอื นักเรียน
6. กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น (1)

กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์
2. ถามคาถามกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า นักเรียนรู้จักระบบของร่างกายระบบใดบ้าง และระบบที่รู้จักมี

ความสาคญั อย่างไร
(แนวตอบ คาตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผ้สอน เช่น ระบบย่อยอาหารทาหน้าท่ีย่อยอาหารให้เป็นสารอาหารเพื่อ
นาไปใช้ในการสร้างพลังงานเพ่อื การดารงชีวิต หรือระบบขับถา่ ยทาหน้าท่ีกาจดั ของเสียต่าง ๆ ออกจากรา่ งกาย)
3. ถามคาถาม Big Question จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 กับนักเรียนว่า ระบบตา่ ง ๆ ในร่างกายมนุษย์มี
การทางานอยา่ งไร
(แนวตอบคาตอบข้ึนอยู่กับดลุ ยพนิ จิ ของครผู ้สอน เช่น ระบบหายใจมีการหายใจนาอากาศจากภายนอกเข้าสู่ร่างกาย
เพ่ือนาอากาศท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูงไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดและนาอากาศที่มีแก๊สคาร์บอน- ไดออกไซด์สูงมากาจัด

ออกจากร่างกายผ่านการหายใจออก หรือระบบหมุนเวียนเลือดมีหัวใจ ทาหน้าท่ีสูบฉีดเลือดไปตามหลอดเลือดอาร์
เตอรเี พอื่ นาเลอื ดทม่ี แี กส๊ ออกซิเจนสูงไปหล่อเลีย้ งเซลลต์ ่าง ๆ ท่ัวร่างกาย และนาเลอื ดทมี่ ีแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์สูง
กลบั เข้าสู่หวั ใจทางหลอดเลือดเวนหรอื นาเลือดที่มีของเสยี ไปกาจัดออกทางอวยั วะต่าง ๆ เชน่ ไต)
4. นักเรยี นทา Understanding Check จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง
ก่อนเรยี น
5. ถามคาถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนว่า
มนษุ ยห์ ายใจเข้าและออกผา่ นทางอวัยวะใด
(แนวตอบ จมูกและปาก)

2. ขั้นสอน (2)

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชั่วโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า ระบบหายใจประกอบด้วยอวัยวะที่เป็นทางผ่านของ

อากาศ ได้แก่ จมูก ท่อลม ปอด และอวัยวะที่ทาหน้าท่ีเก่ียวกับการหายใจ ได้แก่ กะบังลมและกระดูกซ่ีโครงพร้อม
อธิบายหนา้ ทขี่ องแตล่ ะอวยั วะใหน้ ักเรยี นฟงั พอสังเขป
2. นักเรยี นลองสูดลมหายใจเขา้ และออกและสังเกตวา่ การเปลีย่ นแปลงอวยั วะต่าง ๆ แล้วถามนักเรียนว่า เมื่อหายใจเข้า
และออกจะมกี ารเปล่ียนแปลงของอวัยวะใดบา้ ง
(แนวตอบ การเปล่ยี นแปลงของปอด กะบังลม และกระดูกซโ่ี ครง)
3. เกร่ินใหน้ กั เรียนฟังว่า เมื่อหายใจเข้าและออกจากร่างกายจะมีการเปล่ียนแปลงของกระดูกซี่โครงและกะบังลมทาให้
ปริมาตรของชอ่ งอกและความดนั ภายในชอ่ งอกเปลยี่ นแปลง
4. นักเรียนศึกษากลไกการหายใจเข้าและการหายใจออกจากร่างกายจาก QR Code เรื่อง กลไกการหายใจหรือจาก
หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
5. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า เม่ือหายใจนาอากาศเข้าสู่ปอดจะเกิดการแลกเปล่ียนแก๊สระหว่างแก๊สออกซิเจนกับแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ เกิดขึน้ 2 บรเิ วณ ไดแ้ ก่ บรเิ วณปอดและบริเวณเซลลต์ า่ ง ๆ ของรา่ งกาย
6. นกั เรียนศึกษาการแลกเปล่ียนแกส๊ บริเวณปอดและบรเิ วณเซลลต์ า่ ง ๆ ของรา่ งกายจากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2
เลม่ 1หรอื ใชว้ ิดีทศั นจ์ ากสือ่ ออนไลน์ เรื่อง การแลกเปลย่ี นแกส๊ เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=kacMYexDgHg
อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 3คู่เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะในช่องอกระหว่างการหายใจเข้าและ

หายใจออก
2. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 2 คน อธิบายการแลกเปล่ียนแก๊สที่เกิดข้ึนบริเวณปอดและบริเวณเซลล์ต่าง ๆ ของ

รา่ งกาย
3. ถามคาถามนักเรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี

- เม่ือหายใจเขา้ และออก กล้ามเน้อื ยดึ กระดกู ซีโ่ ครงและกล้ามเน้ือกะบังลมมกี ารทางานอย่างไร
(แนวตอบ เม่ือหายใจเขา้ กล้ามเนื้อยึดกระดูกซโ่ี ครงหดตวั ทาใหก้ ระดูกซโ่ี ครงเลือ่ นสงู ขึน้ กล้ามเนื้อกะบงั ลมหดตัวทา
ให้กะบังลมเลื่อนต่าลง แต่เมื่อหายใจออก กล้ามเนื้อยึดกระดูกซ่ีโครงคลายตัวทาให้กระดูกซี่โครงเล่ือนต่าลง
กล้ามเนื้อกะบังลมกะบังลมคลายตวั ทาใหก้ ะบงั ลมเลอ่ื นสูงขึ้น)
- เมื่อหายใจเข้าและออก ปรมิ าตรและความดันในช่องอกเป็นอย่างไร
(แนวตอบขณะหายใจเข้า ปริมาตรช่องอกเพ่ิมข้ึน ความดันในช่องอกลดลง ทาให้อากาศจากภายนอกไหลเข้าสู่
ร่างกาย แต่ขณะหายใจออก ปริมาตรช่องอกลดลง ความดันในช่องอกเพิ่มข้ึน ทาให้อากาศจากภายในไหลออก
ภายนอกรา่ งกาย)
- อวัยวะใดทีม่ ผี ลทาใหป้ รมิ าตรและความดันในชอ่ งอกเปล่ียนแปลงระหว่างการหายใจเข้าและออก

(แนวตอบกะบังลมและกระดูกซี่โครง เน่ืองจากเม่ือกระดูกซ่ีโครงเลื่อนสูงขึ้นและกะบังลงเลื่อนต่าลงทาให้ปริมาตร
ช่องอกเพิ่มข้ึนและความดันในช่องอกลดลง แต่เมื่อกระดูกซี่โครงเลื่อนต่าลงและกะบังลงเล่ือนสูงข้ึนทาให้ปริมาตร
ช่องอกจะลดลงและความดันในช่องอกเพ่มิ ขน้ึ )
- การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดข้นึ ท่ีส่วนใดของรา่ งกาย และเกดิ ข้ึนอย่างไร
(แนวตอบการแลกเปลี่ยนแกส๊ เกิดขนึ้ 2 บริเวณ ไดแ้ ก่ บริเวณปอดเป็นการแลกเปลยี่ นแกส๊ ระหวา่ งถุงลมกับหลอดเลือด
ฝอย โดยแก๊สออกซิเจนแพรจ่ ากถงุ ลมเขา้ สหู่ ลอดเลอื ดฝอย สว่ นแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์แพรจ่ ากหลอดเลือดฝอยเขา้ สู่
ถงุ ลม และบริเวณเซลล์เป็นการแลกเปลีย่ นแกส๊ ระหวา่ งหลอดเลอื ดฝอยกบั
สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า ระบบหายใจเป็นระบบแลกเปล่ียนแก๊สของร่างกายกับส่ิงแวดล้อม โดยแก๊สออกซิเจนจาก
สง่ิ แวดล้อมเข้าสู่รา่ งกายและถูกนาไปใช้สลายสารอาหารภายในเซลลเ์ พื่อสร้างพลังงาน ซ่ึงได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีจะถูกนาไปกาจัดออกทางการหายใจออกระบบหายใจมีปอดเป็นอวัยวะสาคัญในการ
แลกเปล่ยี นแกส๊
2. นักเรยี นศกึ ษาโครงสร้างและหน้าท่ขี องอวัยวะในระบบหายใจ ประกอบด้วยจมูก ท่อลม ปอด และอวัยวะที่ทาหน้าที่
เก่ียวกับการหายใจ ได้แก่ กะบังลมและกระดูกซี่โครงโดยใช้แบบจาลองอวัยวะในระบบหายใจ หรือภาพจากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1หรือใชว้ ีดทิ ัศน์จากสอื่ ออนไลน์ เรื่อง ระบบหายใจ เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=uyqt7ekkP2E
- https://www.youtube.com/watch?v=mOKmjYwfDGU

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขของนกั เรยี น 5 คน อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบหายใจ ประกอบด้วยจมูก ท่อ

ลม ปอด กะบังลมและกระดูกซ่ีโครง
2. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 3 คน ร่วมกันเขียนแผนผังแสดงการเคล่ือนท่ีของอากาศเข้าและออกจากร่างกาย

พร้อมอธิบายแผนผังแสดงการเคลอื่ นที่ของอากาศ
3. ถามคาถามนกั เรียน โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- อากาศจากสิ่งแวดลอ้ มทผ่ี า่ นเข้าสู่ร่างกายจะผา่ นอวัยวะใดบ้าง
(แนวตอบ อากาศเคลือ่ นทีเ่ ข้าสู่ร่างกายทางจมูกหรือปาก ผา่ นเขา้ ส่โู พรงจมูก ท่อลม ปอดและถงุ ลม ตามลาดับ)
- ในอากาศประกอบดว้ ยฝุนละอองและเช้ือโรคจานวนมาก ระบบหายใจจะมีการปูองกันการหายใจนาฝุนละอองและ
เช้อื โรคเข้าสู่ร่างกายได้อยา่ งไร
(แนวตอบ ภายในโพรงจมกู มขี นทาหน้าท่ีกรองฝุ่นละออง เช้ือโรค และส่ิงแปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ทางเดินหายใจ และ
บริเวณเซลลเ์ ย่ือบขุ องผนังทอ่ ลมสามารถดกั จบั ฝุน่ ละออง เช้ือโรคและส่งิ แปลกปลอมไมใ่ ห้เข้าส่ปู อด)
- ถุงลมมีลักษณะสาคัญทีเ่ หมาะสมตอ่ การแลกเปล่ยี นแกส๊ อยา่ งไร
(แนวตอบ ถุงลมมีลักษณะเป็นถงุ ขนาดเลก็ มผี นังบาง และมีหลอดเลอื ดฝอยมาหล่อเลยี้ งจานวนมาก ซง่ึ ทาให้เกดิ การ
แลกเปลีย่ นแกส๊ ระหว่างถุงลมกับหลอดเลอื ดฝอย)
-กะบงั ลมและกระดกู ซ่โี ครงเกี่ยวขอ้ งกบั การหายใจอยา่ งไร
(แนวตอบกะบังลมทาหน้าที่รั้งปอดลงเพื่อให้อากาศผ่านเข้าสู่ปอดขณะหายใจเข้าและดันปอดข้ึนเพ่ือไล่อากาศออก
จากปอดขณะหายใจออก สว่ นกระดูกซ่ีโครงทางานรว่ มกับกล้ามเนือ้ ยึดกระดูกซีโ่ ครงในการเปล่ียนแปลงปรมิ าตรของ
ช่องอกระหว่างการหายใจเขา้ และออก)
7. นักเรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบหายใจเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี ระบบ
หายใจประกอบดว้ ยจมูกซึง่ ภายในมีขนทาหน้าที่กรองฝนุ ละออง เช้ือโรคและสง่ิ แปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ทางเดินหายใจ
ท่อลมเปน็ ทอ่ กลวง ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปเกือกม้าช่วยปูองกันการแฟบหรือยุบตัวขณะหายใจเข้าและออก ท่อ
ลมเป็นทางผ่านของอากาศเข้าสู่ปอดและช่วยดักจับฝุนละออง เชื้อโรค และส่ิงแปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ปอด ปอด
ประกอบด้วยถุงลมจานวนมาก ซ่ึงจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอย และอวัยวะที่เก่ียวข้อง

กับระบบหายใจ ได้แก่ กะบังลมทาหน้าท่ีร้ังหรือดันปอดในขณะหายใจเข้าและออก และกระดูกซี่โครงทาหน้าท่ี
รว่ มกับกลา้ มเนื้อยึดกระดูกซ่โี ครงในการเปลยี่ นแปลงปรมิ าตรของชอ่ งอกระหว่างการหายใจเข้าและออก
8. แซลล์ โดยแก๊สออกซิเจนแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซลล์ ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่จากเซลล์เข้า

หลอดเลอื ดฝอย)
9. 4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับกลไกการหายใจเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ ในการหายใจเข้า

กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้นและกะบังลมเลื่อนต่าลง ทาให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้นและความดันในช่องอกลดลง
ส่วนการหายใจออก กระดกู ซโ่ี ครงเล่ือนต่าลงและกะบังลมเล่ือนสูงขึ้น ทาให้ปริมาตรช่องอกลดลงและความดัน
ในชอ่ งอกเพ่มิ ข้นึ
10.5. นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการแลกเปล่ียนแก๊สเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้การแลกเปล่ียนแก๊ส
เกิดขึ้น 2 บริเวณ ได้แก่ บริเวณปอด แก๊สออกซิเจนแพร่จากถุงลมเข้าสู่หลอดเลือดฝอย แก๊สคาร์บอน- ได
ออกไซดแ์ พร่จากหลอดเลอื ดฝอยเขา้ สถู่ ุงลม และบริเวณเซลล์ แก๊สออกซเิ จนแพร่จากหลอดเลอื ดฝอยเข้าสู่เซลล์
แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์แพรจ่ ากเซลลเ์ ข้าสู่หลอดเลือดฝอย
11.6. นกั เรียนทาใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ระบบหายใจ
สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า การเปล่ียนแปลงของกระดูกซี่โครงและกะบังลมทาให้
ปริมาตรของช่องอกและความดันภายในช่องอกเปล่ียนแปลง ทาให้เกิดการหายใจเข้าและออกจากร่างกาย ซ่ึงเม่ือ
หายใจเข้า ร่างกายนาแก๊สออกซิเจนไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดและเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย และนาแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์จากการแลกเปลยี่ นแก๊สมากาจัดผา่ นการหายใจออก
2. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 5-7 คน ทากิจกรรม แบบจาลองการทางานของปอด เพื่อจาลองการทางานของปอด จาก
หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 โดยแนะนาอุปกรณ์ปอดเทียมท่ีประกอบด้วยลูกโปุง วงแหวนยาง หลอด
พลาสติกรูปตวั Y และกลอ่ งพลาสติก

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สมุ่ เลอื กกล่มุ นักเรียนอยา่ งน้อย 5 กลุม่ นาเสนอผลการทากจิ กรรมแบบจาลองการทางานของปอด
2. ถามคาถามทา้ ยกจิ กรรมนักเรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี

- ส่วนตา่ ง ๆ ของแบบจาลองเปรียบเทียบไดก้ บั อวยั วะใด
(แนวตอบ ลูกโป่งเปรียบได้กับปอดท้ัง 2 ข้าง แผ่นยางเปรียบได้กับกะบังลม หลอดพลาสติกรูปตัว Y เปรียบได้กับ
หลอดลม และกล่องพลาสตกิ เปรียบไดก้ บั ผนงั ทรวงอก)
- เมอื่ ดึงแผ่นยางขึ้นหรอื ลง จะมีการเปลยี่ นแปลงของลูกโปงุ หรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ เม่อื ดึงแผน่ ยางลง ลูกโป่งจะพองออก แตเ่ มอ่ื ดึงแผ่นยางข้ึน ลูกโปง่ จะแฟบลง)
- การเปลยี่ นแปลงของลกู โปงุ เก่ียวขอ้ งกับปรมิ าตรและความดันของอากาศอยา่ งไร
(แนวตอบ เมื่อดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งจะพองออก เนื่องจากปริมาตรอากาศภายในกล่องพลาสติกเพิ่มข้ึน ทาให้ความ
ดันอากาศลดลง อากาศจากภายนอกจึงเคล่ือนที่เข้าสู่ลูกโป่ง แต่เม่ือดันแผ่นยางขึ้น ลูกโป่งจะแฟบลง เนื่องจาก
ปริมาตรอากาศภายในกล่องพลาสตกิ ลดลง ทาใหค้ วามดนั อากาศเพ่ิมข้นึ อากาศจากภายในจึงเคลอื่ นทอ่ี อกจากลกู โปง่ )
-จากการทากิจกรรมสามารถอธบิ ายการทางานของปอดและอวัยวะตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ เม่ือดึงแผ่นยางลงเปรียบเสมือนกะบังลมเล่ือนต่าลง ทาให้ปริมาตรภายในช่องอกเพ่ิมขึ้น ความดัน
ภายในช่องอกลดลง อากาศจึงเคลื่อนเข้าสู่ปอด แต่เมื่อดันแผ่นยางข้ึน เปรียบเสมือนกะบังลมเลื่อนสูงขึ้น ทาให้
ปรมิ าตรภายในช่องอกลดลง ความดันภายในช่องอกเพม่ิ ขนึ้ อากาศจงึ เคล่ือนทอ่ี อกจากปอด)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม แบบจาลองการทางานของปอดเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี การเปล่ียนแปลง
ความดนั อากาศภายในกล่องพลาสติกทบี่ รรจุลกู โปุงสง่ ผลให้มกี ารเคล่ือนที่ของอากาศเข้าและออกจากลูกโปุง เมื่อดึง
แผ่นยางลง ลูกโปุงจะพองออก เนื่องจากปริมาตรอากาศภายในกล่องพลาสติกเพิ่มขึ้นและความดันอากาศลดลง

อากาศจากภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่ลูกโปุง ทาให้ลูกโปุงพองออก แต่เม่ือดันแผ่นยางข้ึน ปริมาตรอากาศภายในกล่อง
พลาสติกลดลง ทาใหค้ วามดนั อากาศเพ่ิมขนึ้ อากาศภายในลกู โปงุ จงึ เคลื่อนออกสภู่ ายนอก ส่งผลทาให้ลกู โปงุ แฟบลง

ชว่ั โมงที่ 4

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ถามคาถามกบั นักเรียนว่า ในอากาศประกอบดว้ ยแก๊สชนิดใดบา้ ง

(แนวตอบ ในอากาศประกอบด้วยแกส๊ ไนโตรเจนร้อยละ 28 แกส๊ ออกซิเจนร้อยละ 21 แก๊สอาร์กอนร้อยละ 0.93 แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 0.04 และแกส๊ อน่ื ๆ ร้อยละ 0.03)
2. นาแผนภูมิวงกลมแสดงสัดส่วนของแก๊สต่าง ๆ มาให้นักเรียนศึกษา โดยแบ่งกลุ่มศึกษา กลุ่มละ 4-5 คนและเกร่ินให้
นักเรียนฟงั วา่ ในการหายใจเข้าและออก สัดสว่ นของแกส๊ ต่าง ๆ ท่เี คลอ่ื นทเ่ี ขา้ และออกจากปอดจะแตกต่างกนั
3. นกั เรยี นศึกษาสดั ส่วนของแก๊สชนิดต่าง ๆ ทเ่ี ข้าและออกจากปอด จากตารางท่ี 1.1 และปริมาตรอากาศท่ีหายใจเข้า
และออกแต่ลครงั้ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. จับสลากเลือกกลุ่มนักเรียน 3 กลุ่ม นาเสนอการเปล่ียนแปลงของแก๊สต่าง ๆ ระหว่างการหายใจเข้าและการหายใจ

ออก
2. ถามคาถามนักเรยี น โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- สัดสว่ นของอากาศท่เี ข้าและออกจะมีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร
(แนวตอบ อากาศท่ีเข้าสู่ร่างกายมีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่า ส่วนอากาศที่ออกจาก
ร่างกายมีแก๊สออกซเิ จนต่า แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูง)
- นักเรยี นสามารถแปลผลข้อมลู ในแผนภูมวิ งกลมท่คี รูนามาให้ศึกษาไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบจากแผนภูมิวงกลมอธิบายได้ว่า สัดส่วนของแก๊สออกซิเจนในลมหายใจเข้ามีมากกว่าลมหายใจออก แต่
สัดส่วนของแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดใ์ นลมหายใจออกมีมากกว่าในลมหายใจเข้า แสดงวา่ รา่ งกายนาแก๊สออกซิเจนจาก
การหายใจเข้าไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นผลิตภัณฑ์ซ่ึงจะถูกกาจัดออกโดยการหายใจ
ออก สว่ นสดั ส่วนของแกส๊ ไนโตรเจนในลมหายใจเขา้ และออกจะคงที่ เนอื่ งจากรา่ งกายไมไ่ ดน้ าแกส๊ ไนโตรเจนไปใช้)
- เพราะเหตุใดแผนภมู วิ งกลมที่นามาจึงแสดงสดั ส่วนของแกส๊ เพียง 3 ชนิดเทา่ นน้ั
(แนวตอบ ในอากาศประกอบด้วยแก๊ส 3 ชนิดนี้เป็นส่วนใหญ่ ส่วนแก๊สอื่น ๆ เช่น อาร์กอน ฮีเลียม และไฮโดรเจนมี
ปรมิ าณน้อยมาก)
- รา่ งกายของมนษุ ยส์ ามารถจอุ ากาศไดก้ ี่ลติ ร
(แนวตอบรา่ งกายของมนุษย์สามารถจุอากาศได้มากถึง 6 ลิตร ซ่ึงในการหายใจเข้านาอากาศเข้าประมาณ 0.5 ลิตร
โดยอากาศอยใู่ นปอด 0.35 ลิตร และในทางเดนิ หายใจ 0.15 ลติ ร)
3. ถามคาถามท้าทายการคิดขั้นสูง (H.O.T.S.)จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 กับนักเรียนว่า เพราะเหตุใด
สัดส่วนของแกส๊ ตา่ ง ๆ ระหว่างการหายใจเข้าและออกจงึ แตกต่างกัน
(แนวตอบ อากาศทห่ี ายใจเข้ามีสัดส่วนของแก๊สต่าง ๆ คงที่ ประกอบด้วยแก๊สไนโตรเจนร้อยละ 78 แก๊สออกซิเจน
ร้อยละ 21 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 0.04 แต่อากาศที่หายใจออกมีสัดส่วนของแก๊สเปล่ียนแปลงไป
เน่ืองจากร่างกายนาแก๊สออกซิเจนไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ และนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเป็นผลิตภัณฑ์มากาจัด
ออกจากร่างกาย ทาให้สัดส่วนของแก๊สท้ัง 2 ชนิด เปลี่ยนแปลง โดยสัดส่วนของแก๊สออกซิเจนลดลงเหลือประมาณ
ร้อยละ 16 แต่สัดส่วนของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพ่ิมข้ึนเป็นประมาณร้อยละ 4 ทาให้สัดส่วนของแก๊สต่าง ๆ
ระหว่างการหายใจเข้าและออกแตกต่างกัน)

4. นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภปิ รายเกย่ี วกับสัดส่วนของแก๊สต่าง ๆทห่ี ายใจเขา้ และออกจากรา่ งกายเพื่อใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ดังนี้
ในการหายใจเข้ามีสัดส่วนของแก๊สออกซิเจนสูง แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ต่า แต่ในการหายใจออกมีสัดส่วนของ
แก๊สออกซิเจนลดลง แต่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพ่ิมข้ึน เน่ืองจากร่างกายนาแก๊สออกซิเจนไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
และไดแ้ ก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเป็นผลติ ภณั ฑ์ ซ่งึ จะถกู กาจัดออกทางรา่ งกายทางการหายใจออก

ชั่วโมงท่ี 5

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชวั่ โมงทีแ่ ล้วให้นกั เรียนทราบพอสังเขปวา่ ในการหายใจเขา้ แตล่ ะคร้ังนาอากาศเขา้ สปู่ อดประมาณ

0.5 ลิตร (อยู่ในถุงลม 0.35 ลิตร และในทางเดินหายใจ 0.15 ลิตร)แต่ปริมาณอากาศท่ีหายใจเข้าแต่ละคร้ังจะ
แตกตา่ งกันตามเพศ อายุ และสุขภาพของร่างกาย
2. นกั เรียนจับคูท่ ากิจกรรม ความจุอากาศของปอด จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพอื่ วดั ความจอุ ากาศของ
นักเรียนในชั้นเรียน โดยให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนและวัดความจุอากาศปอดของแต่ละคนซ่ึงต้องทาการวัดความจุ
อากาศของปอด 3 คร้ัง เพอ่ื นามาหาค่าเฉล่ยี
3. นกั เรยี นแต่ละคนหาค่าเฉลี่ยความจุของปอดของตนเองและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความจุอากาศปอดของนักเรียนชาย
และนักเรียนหญิง

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จบั สลากเลือกนกั เรียน 10 คู่ นาเสนอผลการทากจิ กรรมความจุอากาศของปอด
2. ถามคาถามทา้ ยกจิ กรรมกบั นักเรยี น โดยใช้คาถามต่อไปนี้

- ระหวา่ งการหายใจเขา้ ปกติกับการหายใจเขา้ เตม็ ที่ ปริมาตรของอากาศที่วัดได้แตกต่างกันหรอื ไม่อยา่ งไร
(แนวตอบ แตกตา่ งกัน โดยการหายใจเขา้ เตม็ ทม่ี ปี ริมาตรของอากาศมากกว่าการหายใจเข้าปกติ)
- ความจอุ ากาศของปอดเฉลยี่ ระหวา่ งนักเรียนหญงิ กบั นักเรียนชายแตกตา่ งกันหรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบคาตอบข้นึ อยูกับผลการทากจิ กรรม ซง่ึ ปกตเิ พศชายจะมคี วามจุอากาศของปอดสูงกว่าเพศหญิง)
- นกั เรียนคดิ วา่ ปัจจัยใดบา้ งทีส่ ่งผลตอ่ ความจอุ ากาศของปอด
(แนวตอบปัจจัยที่มีผลต่อความจุอากาศของปอด ได้แก่ เพศ อายุ โรคบางโรค เช่น คนท่ีเป็นโรคถุงลมโป่งพองจะมี
ความจุอากาศน้อยกว่าคนปกตทิ ไ่ี ม่ได้เปน็ โรค เนื่องจากผนังถุงลมมคี วามยืดหยุ่นน้อยกวา่ ปกติ)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภปิ รายผลกิจกรรม ความจุอากาศของปอดเพ่อื ใหไ้ ด้ข้อสรปุ ดงั นี้ ความจอุ ากาศของปอดของ
แตล่ ะคนแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ ับเพศ ซงึ่ โดยเฉล่ียเพศชายมคี วามจุอากาศของปอดมากกว่าเพศหญิง นอกจากนั้นความ
จุอากาศของปอดขน้ึ อย่กู บั ปจั จจยั อนื่ ๆ อกี ด้วย เช่น อายุ สภาพร่างกายของแต่ละบุคคล

ช่วั โมงที่ 6

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า การสูบบุหร่ีเป็นสาเหตุหลักของโรคถุงลมโปุงพอง ทาให้พื้นท่ีผิวแลกเปล่ียนแก๊สลดลง

เนื่องจากสารพษิ ในบหุ ร่ที าให้ผนงั ถงุ ลมฉกี ขาดซงึ่ อาจใช้ภาพหรือวีดิทัศน์จากสื่อออนไลน์แสดงลักษณะของถุงลมโปุง
พอง เชน่

- https://www.youtube.com/watch?v=T1G9Rl65M-Q
2. นกั เรียนศึกษาโรคระบบทางเดินหายใจและการดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2

เล่ม 1
3. นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 8-10 คน รว่ มกันวางแผนเพื่อแสดงบทบาทสมมตุ ิ เรื่อง โทษของการสบู บหุ รี่

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอบทบาทสมมุติ เร่ือง โทษของการสบู บหุ รี่
2. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี

- การสูบบุหร่มี ีผลต่อระบบหายใจอย่างไร
(แนวตอบ สารเคมีในบุหร่ี เช่น แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ มีฤทธ์ิทาลายเนื้อเยื่อของผนังถุง
ลมทาให้ผนังถุงลมฉีกขาด พื้นท่ีผิวแลกเปล่ียนแก๊สจึงลดลง จึงต้องหายใจเร็วและถ่ีเพ่ือให้ได้รับแก๊สออกซิเจนท่ี
เพียงพอกับความต้องการของรา่ งกาย)
- เพราะเหตใุ ดจงึ มกี ารออกกฎหมายหา้ มขายบหุ ร่ใี ห้กับผู้ที่มีอายุตา่ กวา่ 18 ปี
(แนวตอบ เพ่ือปอ้ งกันการทดลองสูบบหุ รข่ี องเยาวชนอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ซงึ่ จะชว่ ยลดจานวนคนทส่ี ูบบหุ รี่)
- นักเรยี นเห็นด้วยหรอื ไมก่ บั การจดั พน้ื ท่ไี วส้ าหรับผ้สู ูบบหุ รโ่ี ดยเฉพาะ
(แนวตอบนักเรียนควรตอบว่าเห็นด้วย เนื่องจากสารพิษในควันบุหร่ี เช่น แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ แก๊สไนโตรเจน
ออกไซด์ เป็นแก๊สพิษท่ีมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ ดังนั้น การจัดพื้นท่ีสูบบุหร่ีจึงเป็นการจา กัดพ้ืนท่ีในการ
แพรก่ ระจายของแก๊สเหลา่ น้ี)
- นกั เรยี นมวี ธิ ีการดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหายใจอย่างไร
(แนวตอบ การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอทาให้ปอดมีความจุเพ่ิมมากขึ้น หลี่กเลี่ยงการอยู่ในสถานท่ีแออัดและมี
มลพิษ งดสูบบุหร่ีและหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้กับผู้สูบบุหร่ี เนื่องจากในบุหร่ีมีสารพิษท่ีเป็นอันตรายต่อระบบหายใจ
รวมท้ังหลีกเล่ียงการอยูใ่ กลช้ ดิ กบั ผปู้ ว่ ยโรคระบบทางเดนิ หายใจทีเ่ ป็นโรคตดิ ต่อ)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจเพื่อให้ได้ของสรุป ดังน้ี โรคถุงลมโปุงพองมีสาเหตุ
จากการสูบบุหรี่ เน่ืองจากสารเคมีในบุหรี่ทาให้เนื้อเยื่อถุงลมฉีกขาด พื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนแก๊สจึงลดลง จึงควรดูแล
รกั ษาอวัยวะในระบบหายใจโดยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอจะทาให้ปอดมีความจุอากาศเพ่ิมขึ้น หลีกเลี่ยงการ
อยู่ในสถานท่ีแออัดและมีมลพิษ งดสูบบุหรี่ หลีกเล่ียงการอยู่ใกล้กับผู้สูบบุหร่ีและผู้ปุวยโรคระบบทางเดินหายใจท่ี
เป็นโรคตดิ ตอ่

ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน สืบค้นข้อมูล เร่ือง สารพิษในบุหรี่ท่ีส่งผลต่อระบบหายใจ หรือเร่ือง สารพิษใน

อากาศที่ส่งผลตอ่ ระบบหายใจ โดยทาเปน็ แผ่นพบั สง่ ครูผสู้ อนและแจกนกั เรยี นในโรงเรยี น กลุม่ ละ 50ชุด
2. นกั เรยี นทา Topic Question ทา้ ยหวั ขอ้ เรอ่ื ง ระบบหายใจจากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
3. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
4.
3. ขั้นสรปุ ( 1 )

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ เร่ือง ระบบหายใจ ในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั น้ี

- ความสาคญั ของระบบหายใจ
- โครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องอวยั วะในระบบหายใจ
- การทางานของระบบหายใจ
- การดแู ลรักษาระบบหายใจ
นกั เรียนสรปุ ในรูปผงั มโนทศั นล์ งกระดาษ A4 สง่ ครูผู้สอน
2. ตรวจสอบผลจากแบบทดสอบก่อนเรยี น
3. ตรวจสอบผลจากแผ่นพับ เรื่อง สารพิษในบุหร่ีท่ีส่งผลต่อระบบหายใจ หรือเร่ือง สารพิษในอากาศท่ีส่งผลต่อระบบ
หายใจ
4. ตรวจผังมโนทศั น์ เร่ือง ระบบหายใจ

5. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 1.1 เร่อื ง ระบบหายใจ
6. ประเมินจากการทากจิ กรรม แบบจาลองการทางานของปอด
7. ประเมินจากการทากจิ กรรม ความจุอากาศของปอด
8. ประเมนิ จากการแสดงบทบาทสมมุติ เรือ่ ง โทษของการสูบบหุ รี่
9. ตรวจสอบผลจากการทา Topic Question ทา้ ยหวั ขอ้ เรอ่ื ง ระบบหายใจ
10. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

สื่อการสอน / แหลง่ เรยี นรู้

ส่อื การเรียนรู้

1) หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1ระบบรา่ งกายมนษุ ย์
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1ระบบรา่ งกายมนุษย์

3) แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์
4) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ระบบหายใจ
5) PowerPoint เรือ่ ง ระบบหายใจ

6) ภาพยนตร์สารคดีส้นั Twig
7) QR Codeเร่ือง กลไกการหายใจ

แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) ห้องสมดุ

3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

7. บนั ทกึ ผลหลงั แผนการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)
ตารางท่ี 1 แสดงคา่ รอ้ ยละระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรอ่ื ง ...................................................

ระดบั ผลสัมฤทธ์ิ จานวนนักเรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบว่านกั เรียนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ร้อยละ................อย่ใู นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านักเรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบว่านักเรยี นผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยู่ในระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดบั ................และพบวา่ นกั เรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คุณลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอื่ มโยงกบั มาตรฐานหลักสตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เรือ่ ง ............................................

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบว่านักเรียนคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ร้อยละ..............อยใู่ นระดบั ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบวา่ นักเรียน.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ที่ …………………………..
1) นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นอยูใ่ นระดับ...................
2) นักเรยี นมที ักษะในระดบั ..................
3) นกั เรยี นมีคณุ ลักษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรบั เปลี่ยนแผนการจดั การเรยี นรู้ (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ข้อค้นพบด้านพฤตกิ รรมการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อน่ื ๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/ส่ิงทพ่ี ฒั นา / แนวทางแก้ปัญหา / แนวทางการพฒั นา

ปญั หา/สง่ิ ท่พี ัฒนา สาเหตุของปัญหา/ แนวทางแกไ้ ข/ วธิ ีแก้ไข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พัฒนา
สง่ิ ทพี่ ฒั นา พัฒนา

ลงชื่อ............................................. ผู้สอน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนินการ

ลงชื่อ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ลงช่ือ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ

ลงช่ือ...........................................
( นายวีระ แกว้ กลั ยา )

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี

8. ความคดิ เหน็ (ผู้บรหิ าร / หรือผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง.................................................แล้วมคี วามเหน็ ดังนี้
8.1 เปน็ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่
ดมี าก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้
ที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทีย่ งั ไมเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป
8.3 เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
นาไปใชส้ อนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้
8.4 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ความคิดเหน็ ของรองผอู้ านวยการฝาุ ยวชิ าการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของผูอ้ านวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบุรี

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2

เร่ือง ระบบขบั ถา่ ย เวลา 4 ชั่วโมง ระดบั ชัน้ มธั ยมปีท่ี 2

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้และ สง่ิ ที่ตอ้ งรู้และปฏบิ ตั ิได้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

ตัวช้ีวดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/4 ม.2/5 1. ความสามารถในการ การประเมินช้นิ งาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
สือ่ สาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมนิ การปฏิบตั ิการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องอวยั วะในระบบขับถา่ ยได้ (K)
2. อธิบายการทางานของหนว่ ยไตได้ (K)
3. เปรียบเทียบปรมิ าณสารตา่ ง ๆ ในน้าเลือดและในน้าปสั สาวะได้ (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. เขียนขั้นตอนการเคล่อื นทขี่ องของเสยี ออกจากร่างกายในรปู ปัสสาวะได้ (P)
4. สมรรถนะ (Competency)
1. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของไตและการดูแลรกั ษาไต (A)
2. สนใจใฝุรใู้ นการศกึ ษา (A)

3. หลักฐานการเรยี นรู้ช้ินงานหรอื ภาระงาน (Work)
การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏิบตั กิ าร/แบบทดสอบ

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สงิ่ ทว่ี ัดผล วธิ ีวดั ผล เคร่ืองมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรมการ - ประเมินการปฏบิ ตั กิ าร
หรอื เป็นกลุม่ ทางานรายบุคคล

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกล่มุ

- สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝุ

เรยี นรู้ และมงุ่ ม่นั ในการ

ทางาน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤติกรรม สงั เกตพฤตกิ รรมการ -ประเมินการปฏบิ ัติการ
เจตคติ/คณุ ลักษณะ (A)
ในการทางานเปน็ ทางานรายบคุ คล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบคุ คลและเปน็ - สังเกตพฤติกรรมการ ผลงาน

กลุ่มในดา้ นการ ทางานกลมุ่ - ประเมนิ การปฏบิ ัติการ
สื่อสารการคดิ การ - สังเกตความมวี นิ ยั ใฝุ
แกป้ ัญหา
เรยี นรู้ และมงุ่ มนั่ ในการ

ทางาน

-ประเมนิ พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบุคคลในดา้ น - สังเกตพฤติกรรมการ

ความมีวินยั ความใฝุ ทางานกลมุ่
เรยี นรู้

สมรถนะของผู้เรียน (C)

5. กระบวนการการจัดกจิ กรรม / รปู แบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนร้/ู แนวทางการเสรมิ แรงหรือชว่ ยเหลอื นกั เรียน
6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ขั้นนาเข้าส่บู ทเรียน

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรยี นทา Understanding Check จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง

กอ่ นเรียน
2. ถามคาถามเพือ่ นาเขา้ ส่บู ทเรียน โดยใชค้ าถามดังนี้

- ในแตล่ ะวัน นักเรยี นขับถา่ ยปสั สาวะและอจุ าระวันละกีค่ ร้ัง
(แนวตอบนักเรียนอาจตอบว่า อุจจาระประมาณ 1-2 ครั้ง แต่ปัสสาวะประมาณ 8-10 ครั้ง ข้ึนอยู่กับปริมาณ
อาหารและนา้ ทีร่ า่ งกายได้รบั )

- นอกจากปัสสาวะและอุจาระ ร่างกายขบั ถ่ายของเสยี อน่ื ๆ อีกหรือไม่
(แนวตอบเหงื่อและแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์)

3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า
มนษุ ยข์ ับถา่ ยของเสยี ออกจากรา่ งกายทางใดบ้าง
(แนวตอบ มนุษยข์ บั ถา่ ยของเสยี ออกจากร่างกายได้หลายทาง ท้ังทางการหายใจในรูปแก๊สคาร์บอน- ไดออกไซด์
ทางผิวหนงั ในรปู เหงือ่ ทางทอ่ ปสั สาวะในรูปน้าปสั สาวะ และทางทวารหนกั ในรูปอจุ จาระ)

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกริ่นให้นักเรียนฟังว่า ระบบขับถ่ายเป็นระบบกาจัดของเสียออกจากร่างกาย ท้ังในรูปแก๊สผ่านการหายใจออก รูป

ของแขง็ ผา่ นการอจุ จาระ และทีเ่ นน้ ในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี คือ การขับถ่ายของเสยี ในรูปของเหลวผ่านการปัสสาวะซ่ึงมี
ไตเปน็ อวัยวะหลักของระบบขบั ถา่ ยของเสยี ในรูปปสั สาวะ

2. นักเรียนศึกษาโครงสรา้ งและอวัยวะในระบบขบั ถ่าย ประกอบดว้ ยไต ทอ่ ไต กระเพาะปสั สาวะ และทอ่ ปัสสาวะโดยใช้
แบบจาลองอวยั วะในระบบขบั ถ่ายปัสสาวะ หรอื ภาพจากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1หรือใช้วีดิทัศน์จากส่ือ
ออนไลน์ เร่อื ง ระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะ เชน่
- https://www.youtube.com/watch?v=dZREDWD_5bA
- https://www.youtube.com/watch?v=_NO8n48AKJY

อธิบายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 4 คน อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วย

ไต ทอ่ ไต กระเพาะปสั สาวะ และท่อปัสสาวะ
2. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- ระบบขับถ่ายประกอบดว้ ยอวัยวะใด แต่ละอวยั วะมลี ักษณะและหน้าทอ่ี ยา่ งไร
(แนวตอบ ระบบขบั ถา่ ยประกอบด้วยไตมี 2 ขา้ ง ลักษณะคลา้ ยเมลด็ ถวั่ มสี ีแดง ภายในมีหน่วยไตทาหน้าท่ีกรองของ
เสยี และสารตา่ ง ๆ ออกจากเลือด ทอ่ ไตมีลักษณะเปน็ ทอ่ ขนาดเลก็ และยาวทต่ี ่อมาจากไตท้งั 2 ขา้ ง ทาหนา้ ท่ลี าเลียง
ปัสสาวะจากไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะมีลักษณะเป็นถุงขนาดใหญ่ท่ียืดหยุ่นได้ ทาหน้าท่ีเก็บน้า
ปัสสาวะ และท่อปัสสาวะมีลักษณะเป็นท่อท่ีต่อมาจากกระเพาะปัสสาวะ ทาหน้าท่ีขับน้าปัสสาวะออกสู่ภายนอก
รา่ งกาย)

- ไตเกยี่ วข้องกับการกาจัดของเสียในรปู ปสั สาวะอยา่ งไร
(แนวตอบ ภายในไตประกอบด้วยหน่วยไต ซึ่งทาหน้าที่กรองของเสียต่าง ๆ ออกจากเลือด โดยของเสียจะถูกลาเลียง
จากไตผ่านทอ่ ไตไปเกบ็ ยังกระเพาะปสั สาวะในรูปน้าปัสสาวะ เพ่ือกาจัดออกจากรา่ งกายผา่ นท่อปสั สาวะ)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับโครงสร้างและอวัยวะในระบบขับถ่ายเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี ระบบขับถ่าย
ปัสสาวะประกอบด้วยไต ซ่ึงภายในมีหน่วยไตทาหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด ท่อไตทาหน้าที่ลาเลียงปัสสาวะ
จากไตไปยังกระเพาะปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะทาหน้าท่ีเก็บน้าปัสสาวะ และท่อปัสสาวะทาหน้าท่ีขับน้า ปัสสาวะ
ออกจากร่างกาย

ช่วั โมงท่ี 2

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชั่วโมงท่ีแล้วใหน้ กั เรียนทราบพอสังเขปว่า ระบบขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วยไต ท่อไต กระเพาะ

ปสั สาวะ และทอ่ ปัสสาวะพรอ้ มอธิบายหนา้ ท่ขี องแตล่ ะอวยั วะใหน้ กั เรยี นฟังพอสังเขป
2. นาไตจากสัตว์บางขนิด เช่น วัว สุกร มาให้นักเรียนศึกษาโครงสร้างภายนอกของไต และนามาผ่าตามยาวเพ่ือศึกษา

โครงสร้างภายในของไต
3. เกรนิ่ ใหน้ ักเรยี นฟงั วา่ ภายในไตประกอบด้วยหนว่ ยไตจานวนมากทาหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด และดูดสารท่ี

มีประโยชนก์ ลับเขา้ สูเ่ ลอื ด
4. นักเรียนศึกษาการทางานของหน่วยไตในการกาจัดของเสียออกจากร่างกาย จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม

1 จาก QR Code เรอ่ื ง การกาจัดของเสียของหน่วยไตหรือใช้วีดิทัศน์จากส่ือออนไลน์ เร่ือง การทางานของหน่วยไต
เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=3nc3yGZr4ik&t=156s

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สุ่มจบั สลากหมายเลขของนักเรียน 3 คน ร่วมกันอธบิ ายการทางานของหนว่ ยไต
2. ถามคาถามนักเรียน โดยใช้คาถามต่อไปน้ี

- หน่วยไตทาหน้าทอ่ี ะไร
(แนวตอบ หน่วยไตทาหน้าทก่ี รองของเสียและสารต่าง ๆ ออกจากเลือด และทาหน้าท่ีดูดสารที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่
เลอื ด)
- สารชนิดใดท่ผี ่านการกรองของหนว่ ยไตและสารชนดิ ใดท่ไี มผ่ ่านการกรองของหน่วยไต
(แนวตอบ สารทผี่ า่ นการกรองของหน่วยไตเป็นสารท่ีมโี มเลกลุ ขนาดเลก็ ได้แก่ น้า กลโู คส กรดอะมิโน ไอออนของแร่
ธาตุ ยูเรยี ส่วนสารทไี่ มผ่ า่ นการกรองของหน่วยไตเปน็ สารที่มโี มเลกุลขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ โปรตีน เซลลเ์ มด็ เลอื ด)
- สารชนิดใดท่ีมกี ารดูดกลับเขา้ สู่เลอื ดอีกคร้งั
(แนวตอบ สารท่ีมีการดูดกลับเข้าสู่เลือด ได้แก่ น้า กลูโคส กรดอะมิโน ไอออนของแร่ธาตุ เนื่องจากเป็นสารท่ีมี
ประโยชนต์ ่อรา่ งกาย)
3. ถามคาถามท้าทายการคิดข้ันสูง(H.O.T.S.) จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 ว่า สารชนิดใดที่ไม่ควรพบใน
ปสั สาวะของคนปกติ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ โปรตีน กลูโคส กรดอะมิโน เนื่องจากโปรตีนเป็นสารที่ไม่ผ่านการกรองของหน่วยไต ส่วนกลูโคสและ
กรดอะมิโนเป็นสารที่มีประโยชน์จึงถูกหน่วยไตดูดกลับเข้าสู่เลือด ดั้งนั้น ในน้าปัสสาวะจึงไม่ควรพบโปรตีน กลูโคส
และกรดอะมิโน)
4. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายเกยี่ วกบั การกาจัดของเสียของหน่วยไตเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ หน่วยไตทาหน้าที่กรอง
สารโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น น้า กลูโคส กระดอะมิโน และของเสียออกจากเลือด แต่สารโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น
โปรตนี เซลลเ์ มด็ เลือด ไม่ผ่านการกรอง รวมทั้งยังดูดสารท่มี ปี ระโยชน์ เช่น นา้ กลโู คส กลบั เข้าสูเ่ ลอื ดอกี ครง้ั

ชว่ั โมงที่ 3

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า ภายในไตประกอบด้วยหน่วยไตทาหน้าที่กรองสารต่าง ๆ

และของเสยี ออกจากเลือดและดูดสารท่มี ปี ระโยชน์กลับ ทาให้ของเสียถกู ขับออกจากร่างกายในรปู ปสั สาวะ
2. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า สารท่ีถูกกรองและสารที่ไม่ถูกดูดกลับจะไหลผ่านท่อไตไปรวมยังกระเพาะปัสสาวะเป็นน้า

ปัสสาวะเพอื่ กาจดั ออกจากร่างกาย โดยกระเพาะปสั สาวะเก็บนา้ ปัสสาวะไดป้ ระมาณ 0.7-0.8 ลติ ร
3. นักเรียนศึกษาการเปล่ียนแปลงของผนังกระเพาะปัสสาวะระหว่างท่ีมีน้าปัสสาวะอยู่เต็มกับไม่มีน้าปัสสาวะอยู่จาก

หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
4. นักเรยี นเปรียบเทยี บปรมิ าณสารตา่ ง ๆ ในนา้ เลอื ด และในน้าปสั สาวะ จากตารางที่ 1.2หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.

2 เลม่ 1 เพ่ือศกึ ษาสารท่ีถกู กรองผา่ นหนว่ ยไต สารที่ถกู ดดู กลับ และสารที่ถูกขับออกจากร่างกายในรปู นา้ ปสั สาวะ
5. อธิบายเพ่ิมเติ่มให้นักเรียนฟังว่า นอกจากไตจะทาหน้าท่ีกาจัดของเสียและดูดสารที่มีประโยชน์กลับแล้ว ไตยังทา

หน้าท่รี กั ษาดลุ ยภาพนา้ และดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกายเชน่ กนั
อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 5 คน เปรียบเทียบปริมาณน้า โปรตนี คลอไรด์ กลูโคส และยูเรีย ระหว่างในน้าเลือด

กบั นา้ ปัสสาวะ พร้อมให้เหตุผลประกอบ
2. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้

- เพราะเหตุใดจงึ ไมพ่ บโปรตีนและกลูโคสในน้าปัสสาวะ


Click to View FlipBook Version