The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sujittra1579, 2022-05-17 01:14:43

แผนม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

กลมุ่ ในด้านการ ทางานกลุม่

ส่ือสารการคดิ การ - สังเกตความมวี นิ ัย ใฝุ

แก้ปัญหา เรียนรู้ และมุ่งม่ันในการ

ทางาน

เจตคติ/คุณลักษณะ (A) -ประเมนิ พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรมการ - ประเมินการนาเสนอ
สมรถนะของผู้เรยี น (C) ผลงาน
ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบุคคลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการปฏิบัติการ
ความมวี นิ ัย ความใฝุ ทางานกลุม่

เรียนรู้

5. กระบวนการการจดั กจิ กรรม / รูปแบบการจดั กจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนร/ู้ แนวทางการเสริมแรงหรอื ช่วยเหลือนกั เรียน
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กิจกรรมการเรยี นการสอน

ชั่วโมงที่ 1-2

ขน้ั นา

กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1.นักเรียนทา Understanding Check จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของ
ตนเองก่อนเรยี น

2.นานา้ ตาลทรายหรือเกลอื มาละลายในนา้ และใส่นา้ ตาลทรายหรือเกลือเพิ่มเรื่อยๆ แล้วถามนักเรียนว่า หากใส่น้าตาล
ทรายหรอื เกลอื เพม่ิ ไปเรอ่ื ย ๆ จะเกิดผลอยา่ งไร

(แนวตอบเม่ือถงึ จดุ หนึง่ น้าตาลทรายหรือเกลือจะไม่สามารถละลายในน้าเพิ่มขึ้นได้เรียกสารละลายนี้ว่า สารละลาย
อิ่มตวั )
3.ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า
สารละลายอิ่มตัวหมายถงึ อะไร
(แนวตอบสารละลายทตี่ ัวละลายไม่สามารถละลายในตวั ทาละลายเพิม่ ได้)

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นาสารละลายน้าตาลอิ่มตัวหรือสารละลายเกลืออิ่มตัวท่ีเตรียมไว้มาให้ความร้อนและใส่น้าตาลทรายหรือเกลือลงไป

ละลายเพ่ิม ให้นักเรียนสังเกตการละลายของน้าตาลทรายหรือเกลือและถามคาถามนักเรียนว่า สารละลายน้าตาล
อิ่มตวั ขา้ งต้นทถี่ ูกนามาใหค้ วามรอ้ นสามารถละลายนา้ ตาลทรายหรือเกลอื ได้เพ่ิมหรือไม่
(แนวตอบสารละลายนา้ ตาลอิม่ ตัวหรือสารละลายเกลืออม่ิ ตวั ท่ถี ูกนามาใหค้ วามร้อนสามารถละลายนา้ ตาลเพม่ิ ได้)
2. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า สารละลายอ่ิมตัวเกิดจากสารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายในตัวทาละลายเพ่ิมได้แต่
หากเปล่ียนแปลงสภาวะจะทาให้ตัวละลายละลายในตัวทาละลายได้เพ่ิมขึ้น แต่หากสารละลายกลับสู่สภาวะเดิมจะ
ตกผลกึ ของออกมาอยใู่ นตวั ทาละลาย

3. ถามนกั เรยี นวา่ สภาวะใดที่ทาใหต้ ัวละลายละลายในตวั ทาละลายได้เพมิ่ ข้ึน
(แนวตอบการเพิม่ อุณหภมู ิ การเพม่ิ ความดนั )

4. นักเรยี นศึกษาการตกผลึกและหลกั การตกผลกึ จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หรอื วดี ทิ ัศน์จากสอ่ื ออนไลน์
เร่ือง การตกผลึก เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=FggvNDlkJxo

5. นกั เรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 5 คน ทากจิ กรรม การตกผลึก เพือ่ แยกสารสม้ ออกจากสารละลายสารสม้ อม่ิ ตัวโดยวิธีการ
ตกผลกึ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

6. นักเรียนศึกษาการผลิตน้าตาลทรายซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากหลักการตกผลึก จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1หรือวดี ทิ ศั น์จากสอ่ื ออนไลน์ เรอ่ื ง การผลติ นา้ ตาลทราย เชน่
- https://www.youtube.com/watch?v=EP_fgp7zYKk

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลือกกลุ่มนกั เรียนอย่างนอ้ ย 5 กล่มุ นาเสนอผลการทากิจกรรมการตกผลกึ
2. ถามคาถามท้ายกิจกรรมกบั นกั เรียน โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- เพราะเหตใุ ดเมอื่ นาสารละลายสารสม้ ในบกี เกอรล์ งจากตะเกียงแอลกอฮอล์ แลว้ จงึ เกดิ การตกผลกึ
(แนวตอบเม่ือละลายสารส้มในน้าท่ีให้ความร้อนจะได้สารละลายสารส้มอ่ิมตัว และเม่ือนาบีกเกอร์ลงจากตะเกียง
แอลกอฮอลท์ าให้สารละลายสารสม้ อิ่มตวั มอี ุณหภูมิลดลง สารส้มจงึ ตกผลกึ แยกออกมาอยู่ใน ตวั ทาละลาย)
-เพราะเหตใุ ดจงึ ตอ้ งใชเ้ ส้นด้ายผูกผลกึ สารส้มที่มีขนาดเล็ก แล้วนาไปห้อยไว้ในสารละลายเดมิ
(แนวตอบใช้ผลกึ ขนาดเลก็ มาล่อให้เกดิ การตกผลกึ มากขน้ึ ซ่งึ ผลึกขนาดเล็กจะถูกใช้เป็นฐานให้เกิดการเกาะของผลึก
จนกลายเปน็ กอ้ นผลกึ ขนาดใหญ่)
- ผลกึ ที่เกิดจากสารละลายสารสม้ ที่ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ มีลกั ษณะอยา่ งไร
(แนวตอบสารละลายสารสม้ ทที่ ้ิงไว้ 1 สปั ดาห์ จะเกิดกอ้ นผลึกที่มีขนาดใหญข่ ้นึ )
3. นักเรียนและครูร่วมกันกันอภิปรายผลการทากิจกรรมการตกผลึก เพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ เมื่อนาสารส้มมาละลายใน
น้าที่ให้ความร้อนจนกลายเป็นสารละลายสารส้มอ่ิมตัว แต่เม่ือหยุดให้ความร้อน สารส้มท่ีเป็นตัวละลายจึงตกผลึก
แยกออกมา ซึ่งจะเกิดผลึกมีลักษณะเป็นพีระมิดคู่ฐานสี่เหลี่ยมและมีขนาดเล็กในช่วงแรก และหากนาผลึกสารส้ม
ขนาดเล็กมาผูกด้วยเส้นด้ายแล้วห้อยในสารละลายเดิมจะเกิดผลึกสารส้มท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึนซ่ึงเกาะตัวเพิ่มจากผลึก
สารสม้ ที่ผูกดว้ ยเส้นดา้ ย
4. ถามคาถามนักเรียน โดยใช้คาถามต่อไปนี้
- การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารประเภทใด
(แนวตอบการตกผลึกใช้แยกตัวละลายท่ีเป็นของแข็งออกจากตัวทาละลายท่ีเป็นของเหลว ซึ่งอยู่ในสภาพสารละลาย
อิ่มตัว)
- การตกผลกึ มหี ลักการอยา่ งไร
(แนวตอบเม่ือเพิ่มความร้อนให้กับสารละลายทาให้ตัวละลายสามารถละลายในตัวทาละลายได้เพ่ิมข้ึน แต่เมื่อลด
อุณหภูมิ ตัวละลายจะตกผลกึ เปน็ ของแขง็ อยู่ในตวั ทาละลาย)
- การผลิตน้าตาลทรายใชห้ ลกั การตกผลึกอย่างไร
(แนวตอบเมื่อนาน้าอ้อยมาเคี่ยวเพื่อนาน้าออกจะได้น้าอ้อยเข้มข้น ซ่ึงเม่ือลดอุณหภูมิลงจะเกิดการตกผลึกเป็นเกล็ด
นา้ ตาลทรายแยกออกมา)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการตกผลึก เพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี การตกผลึกเป็นการแยกตัวละลายท่ีเป็น
ของแข็งออกจากตัวทาละลายท่ีเป็นของเหลวในสภาพสารละลายอ่ิมตัว โดยอาศัยความสามารถในการละลายในตัวทา
ละลายของสารทีต่ ้องการตกผลกึ ซึง่ สารท่ีต้องการตกผลึกละลายได้น้อยในตัวทาละลายท่ีอุณหภูมิปกติ แต่ละลายได้ดีที่
อณุ หภมู ิสูงการตกผลึกถูกนามาใชใ้ นการผลติ น้าตาลทราย ซง่ึ เมอ่ื นาน้าอ้อยมาเคี่ยวเพื่อนาน้าออกจะได้นา้ อ้อยเข้มข้น
(สารละลายน้าตาลอิม่ ตัว) และเมือ่ ลดอุณหภมู ิลงทาให้น้าอ้อยตกผลกึ เปน็ เกลด็ น้าตาลทราย

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ระหว่างการระเหยแห้งและการตกผลึกในการผลิตเกลือสมุทร หรือการผลิตน้าตาลทราย

ลงในกระดาษ A4
2. นักเรยี นทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เรอื่ ง การตกผลึก
3. นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ เร่อื ง การตกผลกึ โดยมีประเดน็ ดงั นี้

- หลกั การตกผลกึ
- การประยุกต์ใช้ประโยชน์จากการตกผลึก
นกั เรียนเขียนสรปุ ลงในสมุดบันทกึ ของนกั เรียน
2. ตรวจสอบผลจากการสรุปความสัมพันธ์ระหว่างการระเหยแห้งและการตกผลึกในการผลิตเกลือสมุทรหรือการผลิต
นา้ ตาลทราย
3. ตรวจสอบผลจากการสรุป เรื่อง การตกผลกึ
4. ประเมินจากการทากจิ กรรม การตกผลึก
5. ตรวจสอบผลจากการทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เร่อื ง การตกผลึก
6. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2การแยกสารผสม
2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2การแยกสารผสม
3) แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การแยกสารผสม
4) PowerPoint เร่อื ง การระเหยแห้ง
5) QR Codeเร่อื ง การระเหยแหง้

แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

7. บันทึกผลหลังแผนการจัดการเรียนรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่ือง ...................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นักเรียนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน รอ้ ยละ................อยใู่ นระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบวา่ นกั เรยี น....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรอ่ื ง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบว่านักเรยี นผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ

รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบวา่ นักเรียน

.............................................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คุณลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอื่ มโยงกบั มาตรฐานหลักสตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงค่ารอ้ ยละคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบว่านักเรียนคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รอ้ ยละ..............อยู่ในระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดบั ...............และพบว่านกั เรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรปุ ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ที่ …………………………..
1) นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นอยูใ่ นระดับ...................
2) นกั เรียนมีทกั ษะในระดับ..................
3) นักเรียนมคี ุณลกั ษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปล่ียนแผนการจดั การเรียนรู้ (ถา้ มี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ ค้นพบด้านพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อนื่ ๆ....................................................................................................................................................

ปัญหา/สิ่งที่พัฒนา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพัฒนา

ปัญหา/สิง่ ทพี่ ัฒนา สาเหตขุ องปัญหา/ แนวทางแก้ไข/ วิธีแกไ้ ข/พฒั นา ผลการแก้ไข/พัฒนา
สง่ิ ท่ีพฒั นา พัฒนา

รบั ทราบผลการดาเนนิ การ ลงชอ่ื ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ลงชือ่ ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวีระ แกว้ กลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบรุ ี

8. ความคิดเหน็ (ผู้บริหาร / หรอื ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ของ.................................................แลว้ มคี วามเหน็ ดังน้ี
8.1 เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรุง
8.2 การจดั กจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้นาเอากระบวนการเรียนรู้
ท่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ใชก้ ระบวนการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ทีย่ งั ไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป
8.3 เปน็ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการฝุายวชิ าการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3

เรือ่ ง การกล่นั เวลา 4 ชว่ั โมง ระดบั ชน้ั มธั ยมปที ี่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลกั ฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ สิง่ ท่ตี ้องรู้และปฏบิ ัตไิ ด้ ผลงาน / ช้นิ งาน การวดั ผลและการ

ตวั ชวี้ ดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมินชิน้ งาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/2 สื่อสาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบัตกิ าร
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายการแยกสารโดยการกล่ันได้ (K)
2. เปรียบเทยี บการแยกสารโดยการกลัน่ แบบธรรมดา การกลัน่ แบบไอน้า และการกลั่นลาดบั ส่วนได้ (K)
3. ยกตวั อย่างการประยกุ ต์ใช้การกลัน่ ในการแยกสารในชวี ิตประจาวันได(้ K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. แยกสารโดยการกลัน่ แบบธรรมดาได้ (P)
2. ใช้เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถกู ต้อง (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1. สนใจใฝรุ ใู้ นการศกึ ษา (A)
3. หลักฐานการเรยี นรู้ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)

การประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมนิ การปฏิบัติการ/แบบทดสอบ

4. การวดั และการประเมนิ ผล ( Evaluation )

สิ่งท่ีวัดผล วิธีวดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการปฏิบัตกิ าร
หรือเปน็ กลุ่ม ทางานรายบคุ คล

- สังเกตพฤติกรรมการ
ทางานกลุ่ม

- สงั เกตความมวี ินัย ใฝุ

เรียนรู้ และม่งุ มั่นในการ

ทางาน

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สังเกตพฤติกรรมการ -ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร
เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A)
ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบุคคลและเป็น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ผลงาน

กลมุ่ ในด้านการ ทางานกล่มุ - ประเมนิ การปฏิบัติการ
ส่อื สารการคดิ การ - สังเกตความมวี นิ ยั ใฝุ
แก้ปัญหา
เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการ

ทางาน

-ประเมินพฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ในการทางานเปน็ ทางานรายบุคคล
รายบคุ คลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ความมวี ินยั ความใฝุ ทางานกลุ่ม
เรยี นรู้

สมรถนะของผเู้ รยี น (C)

5. กระบวนการการจดั กิจกรรม / รปู แบบการจดั กจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้/แนวทางการเสรมิ แรงหรือช่วยเหลอื นกั เรียน
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กจิ กรรมการเรียนการสอน

ช่ัวโมงที่ 1-2

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นกั เรยี นทา Understanding Check จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง

กอ่ นเรยี น
2. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่าสารท่ี

มสี ถานะเดียวกนั จะสามารถระบตุ ัวทาละลายและตวั ละลายของสารละลายได้อยา่ งไร
(แนวตอบสารละลายที่เกิดจากสารท่ีมีสถานะเดียวกันผสมกัน สารที่มีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทาละลาย ส่วนสารที่มี
ปริมาณน้อยกวา่ เป็นตัวละลาย)
3. เกรนิ่ ใหน้ ักเรยี นฟงั ว่า การระเหยแห้งสามารถแยกเกลือออกจากน้าทะเลได้ แล้วถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่ามีการ
แยกเกลอื ออกจากนา้ ทะเลดว้ ยวธิ อี น่ื อกี หรอื ไม่
(แนวตอบการกลัน่ )

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นักเรยี นศึกษาการหลักการกล่ัน จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม การกล่ันแบบธรรมดาเพ่ือแยกน้าออกจากสารละลายเกลือแกง จาก

หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

3. นักเรียนศึกษาการแยกสารโดยการกล่ันแบบธรรมดาและตัวอย่างการกล่ันแบบธรรมดา เช่น การกลั่นน้าออกจาก
น้าเกลือ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หรอื จาก QR Code เรอ่ื ง การกลั่นแบบธรรมดา หรือวดี ิทัศน์จาก
ส่ือออนไลน์ เรอ่ื ง การกล่นั แบบธรรมดา เชน่
-https://www.youtube.com/watch?v=xxNfJLMNS4E
- https://www.youtube.com/watch?v=tUabxsvfuPk

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สุม่ เลอื กกล่มุ นกั เรยี นอยา่ งน้อย 5 กล่มุ นาเสนอผลการทากิจกรรม การกลนั่ แบบธรรมดา
2. ถามคาถามทา้ ยกจิ กรรมกบั นักเรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี

- เมอ่ื ตม้ สารละลายจนเกือบแห้ง หลอดทดลองทัง้ 2 หลอด มกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
(แนวตอบหลอดทดลองขนาดใหญเ่ หลือของแข็งสขี าว สว่ นหลอดทดลองขนาดกลางมีของเหลวทถี่ ูกกลน่ั ออกมา)
- เมอ่ื การกลัน่ ส้นิ สดุ ลง หลอดทดลองแตล่ ะหลอดประกอบด้วยสารชนดิ ใด
(แนวตอบเมื่อการกลั่นส้ินสุดลง หลอดทดลองขนาดใหญ่เหลือผลึกเกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์ ส่วนหลอดทดลอง
ขนาดกลางมีน้าท่ีถกู กล่นั ออกมา)
- น้าเยน็ ท่อี ยใู่ นบกี เกอร์ทาหนา้ ท่ีใด
(แนวตอบน้าเย็นทาหน้าท่ีเป็นเครื่องควบแน่น เม่ือน้าระเหยออกมาจากสารละลายโซเดียมคลอไรด์จะเกิดการ
ควบแน่นเมื่ออุณหภมู ขิ องส่ิงแวดล้อมลดลง)
3. นักเรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายกจิ กรรม การกลน่ั แบบธรรมดา เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ดังนี้ เมื่อต้มสารละลายโซเดียมคลอ
ไรด์ในหลอดทดลองจนเกือบแห้ง หลอดทดลองขนาดใหญ่เหลือของแขง็ สีขาว คือ เกลือแกงหรอื โซเดียมคลอไรด์ ส่วน
หลอดทดลองขนาดกลางมีของเหลวใส ไม่มสี ี คือ นา้ เนอื่ งจากนา้ มจี ดุ เดอื ด 100 องศาเซลเซียส ซ่ึงน้อยกว่าโซเดียม
คลอไรด์ทม่ี ีจุดเดือด 1,413 องศาเซลเซียส นา้ จงึ ระเหยกลายเป็นไอออกมากอ่ น และควบแนน่ กลับเป็นนา้ อกี ครั้ง
4. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปนี้
- การกลนั่ แบบธรรมดาใชแ้ ยกสารละลายประเภทใด
(แนวตอบการกลั่นแบบธรรมดาใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวทาละลายเป็นสารระเหยง่ายและมีจุดเดือดต่า
ออกจากตัวละลายท่ีเป็นสารระเหยยากและมจี ุดเดอื ดสูง)
-สารทถี่ กู แยกออกจากกนั โดยการกล่นั แบบธรรมดาควรมีจุดเดือดแตกตา่ งกนั อยา่ งน้อยเท่าใด
(แนวตอบ ตัวทาละลายและตัวละลายควรมีจุดเดือดต่างกัน 30 องศาเซลเซยี สข้ึนไป)
- การกล่นั นา้ เกลือเหลือสารชนิดใดอยู่ในขวดกลั่นและสารชนิดใดถูกกล่ันออกมา
(แนวตอบสารท่อี ยใู่ นขวดกล่นั คอื เกลอื หรือโซเดยี มคลอไรด์ สว่ นสารท่ถี ูกกลั่นออกมา คือ น้า เนอื่ งจากนา้ มีจุดเดอื ด
ตา่ กวา่ เกลือ จงึ ระเหยกลายเปน็ ไอออกมาก่อนและควบแนน่ กลบั เป็นน้าอกี คร้งั )
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการกลั่นแบบธรรมดาเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ การกล่ันแบบธรรมดาเป็นการ
แยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตัวทาละลายเป็นสารระเหยง่ายและมีจุดเดือดต่าออกจากตัวละลายที่เป็นสารระเหย
ยากและมีจุดเดือดสูง ซึ่งตัวละลายและตัวทาละลายควรมีจุดเดือดต่างกันตั้งแต่ 30 องศา-เซลเซียสข้ึนไปการกลั่น
แบบธรรมดาถูกนามาใช้กลั่นแยกนา้ ออกจากสารละลายนา้ เกลอื แกง

ชั่วโมงท่ี 3

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชัว่ โมงทแี่ ลว้ ใหน้ ักเรียนทราบพอสงั เขปว่า การกล่นั แบบธรรมดาใชแ้ ยกสารทีต่ วั ทาละลายเป็นสาร

ระเหยง่ายและมีจุดเดือดต่าออกจากตัวละลายที่เป็นสารระเหยยากและมีจุดเดือดสูง ซ่ึงตัวละลายและตัวทาละลาย
ควรมจี ดุ เดือดต่างกนั ตัง้ แต่ 30 องศาเซลเซยี สข้ึนไป

2. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4 คน ร่วมกนั ศกึ ษาการกลั่นแบบไอนา้ และตวั อย่างการกลน่ั แบบไอน้า เชน่ การกลั่นน้ามัน
หอมระเหยจากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หรอื วดี ิทศั น์จากสอื่ ออนไลน์ เรือ่ ง การกลนั่ แบบไอน้า เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=OVQC-6qIq-Y
และศึกษาการกล่ันลาดับส่วนและตัวอย่างการกลั่นแบบลาดับส่วน เช่น การกลั่นเอทิลแอลกอฮอล์ออกจากน้าและ
การกลัน่ นา้ มนั ดบิ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ หรือวดี ิทศั น์จากสอื่ ออนไลน์ เร่ือง การกลนั่ ลาดบั สว่ น เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=FTYAS9LDqII

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลือกกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่ม อธิบายหลักการกลั่นแบบไอน้า และกลุ่มนักเรียนอีก 2 กลุ่ม อธิบายหลักการกลั่น

ลาดับส่วน
2. ถามคาถามนักเรียน โดยใช้คาถามตอ่ ไปนี้

- การกลน่ั แบบไอนา้ ใช้แยกสารประเภทใด
(แนวตอบการกลั่นแบบไอน้าใช้แยกสารท่ีมีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย และไม่ละลายน้า ออกจากสารที่ระเหยยาก โดย
อาศัยความดันจากไอนา้ ทาใหส้ ารเดือดกลายเปน็ ไอ แล้วถกู กลั่นออกมาพรอ้ มกับไอนา้ )
- สารจากใบพชื ถูกกลน่ั ออกมาได้อยา่ งไร
(แนวตอบสารจากใบพืชถูกกลั่นออกมาโดยอาศัยความดันจากไอน้า ทาให้สารเดือดกลายเป็นไอและกล่ันออกมา
พร้อมกบั ไอนา้ )
- สารท่ถี กู กลั่นออกมาโดยการกล่ันแบบไอนา้ มีลักษณะอยา่ งไร
(แนวตอบสารที่ถูกกลั่นออกมาพร้อมกับไอน้า เม่ือควบแน่นกลับเป็นของเหลวจะแบ่งออกเป็น 2 ช้ัน ได้แก่ ชั้นล่าง
เป็นสารทีถ่ กู กลน่ั และชั้นบนเปน็ นา้ )
- การกลั่นลาดบั สว่ นใชแ้ ยกสารประเภทใด
(แนวตอบ การกล่ันลาดับส่วนใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยสารท่ีมีจุดเดือดใกล้เคียงกัน หรือแยกสารละลายท่ีมี
ตวั ละลายและตวั ทาละลายเป็นสารระเหยง่ายทง้ั คู่)
- การกลน่ั ลาดบั ส่วนแตกตา่ งจากการกลน่ั แบบธรรมดาอย่างไร
(แนวตอบการกลั่นลาดับส่วนมีลักษณะเหมือนการกลั่นแบบธรรมดา แต่จะผ่านการกล่ันแบบธรรมดาซ้า ๆ กันหลาย
ครง้ั )
- เพราะเหตใุ ดการแยกน้ามันชนิดตา่ ง ๆ ออกจากนา้ มันดบิ จงึ ใชก้ ารกล่นั ลาดบั ส่วน
(แนวตอบ เนื่องจากน้ามันดิบประกอบด้วยน้ามันต่าง ๆ หลายชนิด เช่น น้ามันหล่อลื่น น้ามันดีเซล น้ามันเบนซิน
แกส๊ ปิโตรเลยี ม ซึง่ น้ามนั แต่ละชนดิ มีจดุ เดือดใกลเ้ คยี งกนั จงึ ถูกกล่ันออกมาทรี่ ะดับอุณหภมู แิ ตกตา่ งกัน)
3. ถามคาถามท้าทายการคิดขั้นสูงกับนักเรียนว่า สารละลายประกอบด้วยตัวละลายท่ีมีจุดเดือด 172 องศา-เซลเซียส
และตัวทาละลายที่มีจุดเดือด 150 องศาเซลเซียส หากต้องการแยกตัวละลายออกจากตัวทา-ละลาย ควรเลือกใช้
การกลั่นแบบใด เพราะเหตใุ ด และส่วนทแี่ ยกออกมาคือตวั ทาละลายหรอื ตวั ละลาย เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบการกล่ันลาดับส่วน เน่ืองจากสารละลายประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวละลายท่ีมีจุดเดือดใกล้เคียงกัน
(ต่างกันน้อยกว่า 30 องศาเซลเซียส) ซึ่งสารที่ถูกกล่ันออกมาก่อน คือ ตัวทาละลาย เน่ืองจากมีจุดเดือดต่ากว่าตัว
ละลาย จงึ ระเหยกลายเปน็ ไอออกมาก่อน)
4. นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการกลั่นแบบไอน้าและการกล่ันลาดับส่วนเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ การกลั่นแบบ
ไอน้าใชแ้ ยกสารทมี่ จี ุดเดือดต่า ระเหยง่าย และไมล่ ะลายน้า ออกจากสารท่ีระเหยยาก โดยอาศัยความดันจากไอน้าทาให้
สารที่ต้องการแยกเดือดกลายเป็นไอ และถูกกล่ันออกมาพร้อมกับไอน้าส่วนการกล่ันลาดับส่วนใช้แยกสารที่
ประกอบดว้ ยตัวทาละลายและตัวละลายทมี่ ีจดุ เดือดใกลเ้ คยี งกนั หรอื เป็นสารระเหยง่ายทั้งคู่ ซ่ึงการกล่ันลาดับส่วนมี
ลกั ษณะเหมือนการกล่ันแบบธรรมดา แตจ่ ะผา่ นการกลั่นแบบธรรมดาซ้า ๆ กัน หลายคร้ัง

ชัว่ โมงท่ี 4

ขน้ั สอน

ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 3 กลุ่ม จบั สลากเลือกการกล่ันแตล่ ะแบบ ดังนี้

กลุ่มที่ 1 การกลนั่ แบบธรรมดา กล่มุ ท่ี 2 การกลัน่ แบบไอนา้ กล่มุ ท่ี 3 การกล่นั ลาดบั สว่ น
ร่วมกันวิเคราะห์การกลั่นท่ีจับสลากได้ เขียนแผนผังแสดงอุปกรณ์ท่ีใช้กลั่นและอธิบายกระบวนการกล่ัน ลงใน
กระดาษฟลิปชารต์ เพือ่ นาเสนอหน้าชั้นเรยี น
2. นกั เรียนเปรียบเทยี บการกลัน่ แบบธรรมดา การกลัน่ แบบไอน้า และการกลั่นลาดบั สว่ นลงกระดาษ A4 ส่งครผู ู้สอน
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน สืบค้นข้อมูล เร่ือง การกล่ันน้ามันดิบ โดยกล่าวถึงกระบวนการกลั่น สารที่ถูกกลั่น
ออกมาในแต่ละส่วนและการนาสารที่ถูกกลั่นแต่ละชนิดมาใช้ประโยชน์จัดทารูปเล่มรายงาน และนาเสนอหน้าช้ัน
เรียน
4. นักเรยี นทาใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง การกลน่ั
5. นกั เรยี นทา Topic Question ทา้ ยหัวขอ้ เร่ือง การกล่ัน
6. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ขัน้ สรปุ

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ เรอ่ื ง การกลั่น โดยมปี ระเด็น ดังน้ี

- หลกั การตกผลึก
- ประเภทของการกลั่น
- การประยกุ ตใ์ ช้ประโยชน์จากการกลัน่
นักเรียนเขียนสรุปลงในสมดุ บันทกึ ของนกั เรียน
2. ตรวจสอบผลจากรายงาน เร่อื ง การกล่นั น้ามนั ดบิ
3. ประเมินผลจากจากแผนผังและการนาเสนอแผนผงั เรื่อง การกลั่น
4. ตรวจสอบผลจากการเปรยี บเทยี บการกลั่นแบบธรรมดา การกล่นั แบบไอน้า และการกล่นั ลาดับสว่ น
5. ตรวจสอบผลจากการสรุป เรอื่ ง การกลัน่
6. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง การกลน่ั
7. ประเมนิ ผลจากการทากจิ กรรม การกล่นั แบบธรรมดา
8. ตรวจสอบผลจากการทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เร่ือง การกล่นั
9. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
ส่ือการเรียนรู้
1) หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2การแยกสารผสม
2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2การแยกสารผสม
3) PowerPoint เรื่อง การกล่ัน
4) ภาพยนตร์สารคดีสั้น Twig
5) QR Codeเรอื่ ง การกล่ันแบบธรรมดา

แหลง่ การเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

7. บนั ทึกผลหลังแผนการจัดการเรียนรู้
1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)

ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เร่อื ง ...................................................

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านักเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยูใ่ นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบวา่ นกั เรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงค่ารอ้ ยละระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เรื่อง ..................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบว่านกั เรียนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ

รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ................และพบว่านักเรียน

.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชือ่ มโยงกับมาตรฐานหลักสตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ ร้อยละคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบวา่ นกั เรยี นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบว่านกั เรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................

สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ …………………………..
1) นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับ...................
2) นกั เรยี นมีทกั ษะในระดับ..................
3) นกั เรียนมีคุณลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลย่ี นแผนการจดั การเรยี นรู้ (ถา้ ม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤตกิ รรมการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อื่นๆ....................................................................................................................................................

ปัญหา/สงิ่ ที่พฒั นา / แนวทางแกป้ ัญหา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/ส่งิ ท่พี ัฒนา สาเหตขุ องปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วิธแี กไ้ ข/พัฒนา ผลการแก้ไข/พฒั นา
สิ่งทพ่ี ัฒนา พัฒนา

รบั ทราบผลการดาเนินการ ลงชอื่ ............................................. ผู้สอน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

ลงช่ือ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้

ลงช่ือ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวีระ แก้วกลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

8. ความคดิ เห็น (ผ้บู ริหาร / หรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ของ.................................................แลว้ มีความเหน็ ดังน้ี
8.1 เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรียนรไู้ ดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้
ทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ใชก้ ระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ที่ยังไมเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
8.3 เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้ที่
นาไปใชส้ อนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการฝาุ ยวิชาการ

................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ความคดิ เห็นของผ้อู านวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4

เรือ่ ง โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ เวลา 3 ช่วั โมง ระดับชั้นมัธยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรยี นรู้ / การวัดและการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ สิ่งท่ีต้องร้แู ละปฏบิ ตั ิได้ ผลงาน / ช้ินงาน การวัดผลและการ

ตวั ชี้วดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/2 สื่อสาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบัตกิ าร
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายการแยกสารโดยโครมาโทกราฟแี บบกระดาษได้ (K)
2. คานวณอัตราการเคลอื่ นที่ของสาร (Rf) ได้ (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. แยกสารโดยโครมาโทกราฟแี บบกระดาษได้ (P)
2. ใช้เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ได้อยา่ งถูกต้อง (P)
4. สมรรถนะ (Competency)
1.สนใจใฝุรใู้ นการศกึ ษา (A)
3. หลักฐานการเรยี นรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)

การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมนิ การปฏิบัติการ/แบบทดสอบ

4. การวัดและการประเมนิ ผล ( Evaluation )

สงิ่ ทว่ี ัดผล วธิ วี ดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
- ประเมินการนาเสนอ
ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ - ประเมินการปฏบิ ตั กิ าร
กรรมเป็รายบคุ คล - สังเกตพฤตกิ รรมการ
หรอื เปน็ กล่มุ ทางานรายบคุ คล -ประเมนิ การปฏิบตั ิการ

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมินพฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรมการ
ในการทางานเปน็ ทางานกลมุ่
รายบุคคลและเป็น
- สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝุ

เรยี นรู้ และมุ่งมั่นในการ

ทางาน

สงั เกตพฤตกิ รรมการ
ทางานรายบคุ คล
- สงั เกตพฤติกรรมการ

กลมุ่ ในด้านการ ทางานกลมุ่

ส่อื สารการคดิ การ - สังเกตความมวี ินัย ใฝุ

แก้ปญั หา เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

เจตคติ/คณุ ลักษณะ (A) -ประเมินพฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรมการ - ประเมินการนาเสนอ
สมรถนะของผ้เู รียน (C) ผลงาน
ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบคุ คลในดา้ น - สังเกตพฤติกรรมการ - ประเมินการปฏิบัติการ
ความมวี นิ ัย ความใฝุ ทางานกลุ่ม

เรียนรู้

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รปู แบบการจัดกจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนร้/ู แนวทางการเสรมิ แรงหรือช่วยเหลอื นกั เรยี น
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ชั่วโมงที่ 1-2

ขน้ั นา

กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนทา Understanding Check เพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเองก่อนเรียน
2. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า

สารละลายท่ีเป็นสารเน้อื เดยี วจะสามารถแยกตวั ละลายออกจากตัวทาละลายได้อยา่ งไร
(แนวตอบคาตอบขนึ้ อย่กู บั ดุลยพินิจของครูผสู้ อน เชน่ ใชก้ ารกลน่ั โดยการให้ความรอ้ นกบั สารละลาย ซง่ึ สารท่มี ีจุด
เดือดตา่ กว่าจะระเหยกลายเปน็ ไอออกมาก่อน และจะควบแน่นกลบั เปน็ ของเหลวอีกคร้งั จงึ สามารถแยกตวั ละลาย
ออกจากตวั ทาละลายได้)
3. เกริ่นให้นักเรียนฟังว่า จากวิธีการแยกสารท่ีผ่าน ๆ มา ทั้งการระเหยแห้ง การตกผลึก และการกลั่น สามารถใช้แยก
สารท่ีมีปริมาณมากได้ แล้วถามคาถามนักเรียนว่า ถ้าสารมีปริมาณน้อย (น้อยกว่า 1 มิลลิลิตร) นักเรียนจะสามารถ
แยกสารได้อย่างไร
(แนวตอบ ใช้การแยกสารโดยโครมาโทกราฟแี บบกระดาษ)

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นักเรียนศึกษาการแยกสารโดยโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ และหน้าที่ของตัวทาละลายและตัวดูดซับ จากหนังสือ

เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
2. นาภาพการแยกสารโดยโครมาโทกราฟแี บบกระดาษมาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ถามคาถามนักเรยี น เช่น

- สารทถี่ ูกแยกโดยวธิ ีโครมาโทกราฟแี บบกระดาษประกอบด้วยสารก่ีชนดิ ทราบไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบคาตอบข้นึ อย่กู ับภาพท่ีนามาใช้ ซ่ึงสังเกตได้จากสที ่ีปรากฏบนกระดาษโครมาโทกราฟี)

3. เกร่ินใหน้ กั เรยี นฟังวา่ ระยะทางท่ีสารแต่ละชนิดเคลื่อนทบ่ี นตัวดูดซับสามารถนามาหาอตั ราการเคลื่อนทข่ี องสาร (Rf)

แต่ละชนิดได้ จากสูตร

อตั ราการเคลื่อนท่ขี องสาร ระยะทางท่ีสารเคล่ือนที่ ซม
ระยะทางท่ตี ัวทาละลายเคลือ่ นท่ี ซม

4. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 2.1 การแยกสารสีในพืชจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 และฝึกคานวณค่า Rf
ของสารจากกระดาษโครมาโทกราฟีทคี่ รูนามาใหน้ กั เรียนดู

อธิบายความรู้ (Explain)
1. ถามคาถามนกั เรียน โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- การแยกสารโดยโครมาโทกราฟีแบบกระดาษใช้แยกสารประเภทใด
(แนวตอบแยกสารละลายทีป่ ระกอบดว้ ยสารมากกว่า 1 ชนิด ออกจากกนั )
- การแยกสารโดยโครมาโทกราฟแี บบกระดาษมหี ลักการอย่างไร
(แนวตอบสารแต่ละชนิดมีความสามารถในการละลายในตัวทาละลาย และถูกดูดซับบนตัวดูดซับได้แตกต่างกัน จึง
เคลอ่ื นท่ไี ปในระยะทางที่แตกตา่ งกนั ทาใหส้ ามารถแยกสารตา่ ง ๆ ออกจากกนั ได้)
- ตัวทาละลายและตวั ดูดซบั มหี น้าทใ่ี นการแยกสารโดยวธิ โี ครมาโทกราฟีแบบกระดาษอยา่ งไร
(แนวตอบตัวทาละลายทาหน้าที่ละลายและพาสารให้เคล่ือนที่ ส่วนตัวดูดซับทาหน้าท่ีดูดซับสารและเป็นตัวกลางให้
สารเคลอ่ื นที่)
2. สมุ่ เลอื กนักเรยี นออกมาเฉลยคา่ Rf ของสารจากกระดาษโครมาโทกราฟีทน่ี ามาประกอบการสอน
3. ต้ังโจทย์การหาค่า Rf ของสาร เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกคานวณอัตราการเคลื่อนที่ของสารด้วยตนเอง แล้วสุ่มเลือก
นักเรยี นออกมาแสดงวธิ กี ารหาค่า Rfทห่ี น้าชนั้ เรยี น โดยใชค้ าถามดงั น้ี
- จงหาค่า Rf ของสาร A B และ C จากการแยกสารโดยโครมาโทกราฟแี บบกระดาษซึ่งสาร A B และ C เคลื่อนท่เี ป็น
ระยะทาง 2.8 1.6 และ 5.8 เซนตเิ มตร และตวั ทาละลายเคลอ่ื นทเ่ี ป็นระยะทาง 6.4 เซนติเมตร
(แนวตอบ สาร A มอี ัตราการเคลอ่ื นท่ี = 2.8/6.4 = 0.44

สาร B มีอตั ราการเคลื่อนที่ = 1.6/6.4 = 0.25
สาร C มอี ตั ราการเคลอ่ื นท่ี = 5.8/6.4 = 0.91)
- จงเรียงลาดับความสามารถในการละลายของสาร A B C และ D ในเอทิลแอลกอฮอล์ท่ีได้จากการแยกสารโดยโคร
มาโทกราฟีแบบกระดาษ ซึ่งสารแต่ละชนิดเคล่ือนท่ีเป็นระยะทาง 1.4 0.7 5.3 และ 2.6 เซนติเมตร ตามลาดับ
ขณะที่เอทิลแอลกอฮอลเ์ คล่ือนทเ่ี ปน็ ระยะทาง 7.3 เซนติเมตร
(แนวตอบ สาร A มีอัตราการเคลอ่ื นที่ = 1.4/7.3 = 0.19)
สาร B มีอัตราการเคลอ่ื นท่ี = 0.7/7.3 = 0.10
สาร C มอี ตั ราการเคลอ่ื นที่ = 5.3/7.3 = 0.73
สาร D มอี ัตราการเคล่ือนท่ี = 2.6/7.3 = 0.36
ดงั น้นั สาร C มีความสามารถในการละลายในเอทิลแอลกอฮอล์ได้ดีที่สุด รองลงมา คือ สาร D สาร A และ สาร B
ตามลาดบั )
- สารชนิดใดถูกดูดซับบนตัวดูดซับได้มากและน้อยที่สุด โดยสาร A B C และ D มีระยะทางในการเคลื่อนท่ีบน
กระดาษโครมาโทกราฟเี ท่ากับ 1.8 2.6 0.8 และ 2.4 เซนติเมตร ตามลาดบั
(แนวตอบสารที่มีระยะทางในการเคล่ือนท่ีบนตัวดูดซับมาก แสดงว่า ถูกดูดซับบนตัวดูดซับได้น้อย ดังน้ัน สาร B จึง
ถูกดูดซบั บนตัวดูดซับได้น้อยที่สุด ในทางตรงกันข้าม สารท่ีมีระยะทางในการเคล่ือนท่ีบนตัวดูดซับน้อย แสดงว่า ถูก
ดดู ซบั บนตวั ดูดซบั ไดม้ าก ดงั น้ัน สาร C จงึ ถกู ดดู ซับบนตัวดูดซบั ไดม้ ากท่สี ุด)
4. ถามคาถามท้าทายการคดิ ข้นั สงู จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 กบั นักเรยี นว่า เมือ่ นาสารละลายชนิดหน่ึง
มาแยกโดยวิธีโครมาโทกราฟี พบว่า ประกอบด้วยสาร 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ สาร A สาร B และสาร C โดยสาร A ละลายใน

ตวั ทาละลายไดด้ ที ส่ี ดุ รองลงมา คือ สาร C และสาร B ตามลาดับ จงเรยี งลาดบั การถกู ดูดซับดว้ ยตัวดดู ซบั ของสาร A
B และ C จากมากไปนอ้ ย และสารชนดิ ใดจะมีค่า Rf สงู สดุ และต่าสุด เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบ สาร B ถูกดูดซบั บนตัวดดู ซับได้มากทีส่ ดุ รองลงมา คอื สาร C และ A ตามลาดบั

สาร A มคี า่ Rf มากทสี่ ุด รองลงมา คือ สาร C และ B ตามลาดับ)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการแยกสารโดยวิธีโครมาโทกราฟีแบบกระดาษเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี โคร

มาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นการแยกสารละลายท่ีประกอบด้วยสารมากกว่า 1 ชนิด ออกจากกัน โดยอาศัย
ความสามารถในการละลายของสารในตัวทาละลายและการถูกดูดซับบนตัวดูดซับที่แตกต่างกัน ซ่ึงสารท่ีมี
ความสามารถในการละลายสูงและถกู ดดู ซับจากตัวดดู ซับนอ้ ยจะมคี ่าอตั ราการเคล่อื นทขี่ องสาร (Rf) มาก

ชวั่ โมงที่ 3
ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชั่วโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า ระยะทางท่ีสารองค์ประกอบเคลื่อนท่ีบนตัวดูดซับ

สามารถนามาหาอัตราการเคล่ือนที่ของสาร (Rf) ได้ จากสตู ร

อัตราการเคลือ่ นทีข่ องสาร ระยะทางทส่ี ารเคลือ่ นท่ี ซม
ระยะทางท่ตี ัวทาละลายเคล่ือนที่ ซม

2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม สารในสีผสมอาหารเพ่ือแยกสารในสีผสมอาหารโดยวิธีโครมาโทกราฟี
แบบกระดาษ จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลือกกล่มุ นักเรียนอย่างน้อย 5 กลุ่ม นาเสนอผลการทากจิ กรรมสารในสีผสมอาหาร
2. ถามคาถามท้ายกิจกรรมกบั นักเรียน โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี

- สผี สมอาหารที่นามาทดสอบประกอบด้วยสารกช่ี นิด ทราบได้อย่างไร
(แนวตอบคาตอบข้นึ อย่กู บั ผลการทากิจกกรรมของนักเรยี น)
- การทดสอบในตัวทาละลายแตล่ ะชนดิ ใหผ้ ลเหมอื นกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ คาตอบข้ึนอยู่กับผลการทากิจกรรมของนักเรียน เช่น ตัวทาละลายแต่ละชนิดอาจให้ผลการทดสอบที่
แตกตา่ งกนั ขน้ึ อยู่กบั ความสามารถในการละลายในตัวทาละลายของสผี สมอาหารทน่ี ามาทดสอบ)
- หากเกิดแถบสขี ้นึ เพียงแถบเดียว นกั เรียนจะสรปุ ผลว่าอย่างไร
(แนวตอบหากเกิดแถบสีขึ้นเพียงแถบเดียว อาจสรุปว่า สีผสมอาหารประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว หรือตัวทา
ละลายและตวั ดดู ซบั ไม่สามารถละลายและดดู ซับสารได้)
- หากเกดิ แถบสขี ึ้นเพียงแถบเดยี วนกั เรียนจะมวี ิธกี ารแก้ไขอยา่ งไร
(แนวตอบเปลี่ยนตวั ดดู ซับ หรอื เปลี่ยนตวั ทาละลาย หรอื เปลี่ยนท้งั ตวั ดดู ซับและตัวทาละลาย)
3. นาคลิปวิดโี อ เรือ่ ง การแยกสารโดยโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ มาใช้ประกอบการอภิปราย เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=23W5Z_redfs
- https://www.youtube.com/watch?v=FQqVqVZgKjA
4. นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายกจิ กรรม สารในสผี สมอาหารเพ่ือใหไ้ ด้ข้อสรุป ดังนี้ หากปรากฏแถบสบี นกระดาษโคร
มาโทกราฟีมากกวา่ 1 สี แสดงวา่ สีผสมอาหารประกอบด้วยสารมากกว่า 1 ชนิด (ตามจานวนสที ี่ปรากฏบนกระดาษ
โครมาโทกราฟี) แต่หากปรากฏแถบสีบนกระดาษโครมาโทกราฟีเพียง 1 สี แสดงว่า สีผสมอาหารอาจประกอบด้วย
สารเพียงชนิดเดียว หรือตัวทาละลายและตัวดูดซับไม่สามารถละลายและดูดซับสารได้ ซ่ึงนักเรียนสามารถแก้ไขโดย
การเปลย่ี นตวั ดูดซบั เปลยี่ นตัวทาละลาย หรือเปลี่ยนท้ังตัวดดู ซับและตวั ทาละลาย

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. นักเรียนทาใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง การหาอัตราการเคลอื่ นท่ีของสาร
2. นกั เรยี นทา Topic Question ท้ายหัวขอ้ เร่อื ง โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
3. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ เร่ือง โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ โดยมีประเด็น ดังนี้

- หลกั การโครมาโทกราฟแี บบกระดาษ
- การประยกุ ต์ใชป้ ระโยชนจ์ ากโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
นกั เรียนเขียนสรปุ ลงในสมุดบนั ทกึ ของนักเรยี น
2. ตรวจสอบผลจากการสรุป เรื่อง โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ
3. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 2.2 เรื่อง อัตราการเคลือ่ นท่ขี องสาร
4. ประเมินผลจากการทากิจกรรม สารในสผี สมอาหาร
5. ตรวจสอบผลจากการทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เรื่อง โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ
6. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2การแยกสารผสม
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2การแยกสารผสม
3) ใบงานท่ี 2.2 เร่อื ง อตั ราการเคลือ่ นทข่ี องสาร
4) PowerPoint เรอื่ ง โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ

แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมดุ
3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

7. บนั ทึกผลหลังแผนการจดั การเรียนรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)
ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง ...................................................

ระดบั ผลสัมฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบวา่ นักเรยี นผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ร้อยละ................อยใู่ นระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านกั เรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรอ่ื ง ..................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบว่านกั เรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น รอ้ ยละ................อย่ใู นระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบว่านกั เรยี น
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่อื มโยงกับมาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เร่อื ง ............................................

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบว่านกั เรยี นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ร้อยละ..............อยใู่ นระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบวา่ นกั เรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ …………………………..
1) นักเรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนอยูใ่ นระดับ...................
2) นักเรยี นมที ักษะในระดบั ..................
3) นกั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรบั เปล่ียนแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้าม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบดา้ นพฤติกรรมการจัดการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อน่ื ๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/ส่งิ ท่ีพัฒนา / แนวทางแก้ปัญหา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/สิง่ ท่ีพฒั นา สาเหตุของปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วิธแี ก้ไข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พฒั นา
ส่งิ ทพ่ี ัฒนา พัฒนา

ลงชื่อ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนนิ การ

ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผ้อู านวยการกลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงช่ือ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผูอ้ านวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบรุ ี

8. ความคิดเห็น (ผ้บู ริหาร / หรอื ผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง.................................................แล้วมคี วามเหน็ ดงั น้ี
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ

8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทีย่ งั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

8.3 เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ....................................................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผอู้ านวยการฝาุ ยวชิ าการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สุทธธิ รานนท์ )

รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการโรงเรยี น

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 6

เรือ่ ง การสกัดดว้ ยสารละลายเวลา 6 ชัว่ โมง ระดบั ชั้นมธั ยมปีที่ 2
__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรยี นรู้ / หลกั ฐานการเรยี นรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรยี นรู้และ สิ่งทต่ี อ้ งรแู้ ละปฏิบตั ไิ ด้ ผลงาน / ชิน้ งาน การวัดผลและการ

ตวั ชว้ี ดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมินชน้ิ งาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/2 ส่ือสาร งาน ผลงาน
ม.2/3 2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบตั กิ าร
เทคโนโลยี

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายการแยกสารโดยการสกดั ดว้ ยตวั ทาละลายได้ (K)

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ได้อยา่ งถูกต้อง (P)
2. สรา้ งหรือพฒั นานวตั กรรมการแยกสารท่ีสามารถนามาใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ ประจาวนั ได้ (P)
3. สกัดสารดว้ ยตัวทาละลายได้ (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1. ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ (A)
2. สนใจใฝุรู้ในการศกึ ษา (A)
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)

การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏิบตั กิ าร/แบบทดสอบ

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สงิ่ ที่วัดผล วธิ ีวดั ผล เครอื่ งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน

ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบก่อนเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ
กรรมเป็รายบคุ คล - สงั เกตพฤติกรรมการ - ประเมนิ การปฏิบัติการ
หรอื เป็นกลุ่ม ทางานรายบคุ คล

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลมุ่

- สงั เกตความมวี ินยั ใฝุ

เรียนรู้ และมุง่ ม่ันในการ

ทางาน

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมการ -ประเมนิ การปฏิบัติการ
เจตคติ/คณุ ลกั ษณะ (A)
ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบคุ คลและเป็น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ผลงาน

กลุ่มในดา้ นการ ทางานกลมุ่ - ประเมินการปฏบิ ัตกิ าร
สอื่ สารการคดิ การ - สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝุ
แกป้ ญั หา
เรียนรู้ และมุ่งม่นั ในการ

ทางาน

-ประเมนิ พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบคุ คลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ความมวี ินยั ความใฝุ ทางานกลมุ่
เรียนรู้

สมรถนะของผเู้ รียน (C)

5. กระบวนการการจดั กจิ กรรม / รูปแบบการจัดกิจกรรม ( Learning Process )

การจดั กจิ กรรมการเรยี นร/ู้ แนวทางการเสริมแรงหรือชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กิจกรรมการเรียนการสอน

ชั่วโมงท่ี 1-2

ขน้ั นา

กระตุน้ ความสนใจ (Engage)
1. นกั เรียนทา Understanding Check จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง

ก่อนเรียน
2. ถามคาถามเพ่ือนาเขา้ สูบ่ ทเรียนว่าในหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 น้ี นักเรียนเคยใช้ตัวทาละลายชนิดใดบ้าง

(แนวตอบ คาตอบข้ึนอยกู่ ับดุลยพินิจของครูผ้สู อน เชน่ นา้ เอทลิ แอลกอฮอล์ โซเดียมคลอไรด์)
3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า ตัว

ทาละลายท่ดี ีควรมลี ักษณะอย่างไร พรอ้ มยกตวั อยา่ งตวั ทาละลายทร่ี ูจ้ กั
(แนวตอบตัวทาละลายที่ดีควรละลายตัวละลายได้หมด ไม่ทาปฏิกิริยากับตัวละลาย แยกออกจากตัวละลายได้ง่าย มี
จุดเดือดต่าและระเหยง่าย เชน่ นา้ เอทลิ แอลกอฮอล์)

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกริ่นให้นักเรียนฟังว่า สารต่าง ๆ สามารถละลายในตัวทาละลายได้แตกต่างกัน สารบางชนิดอาจละลายในตัวทา

ละลายชนดิ หน่งึ ได้ดี แตไ่ ม่ละลายในตวั ทาละลายอีกชนดิ เชน่ โซเดยี มคลอไรดล์ ะลายในนา้ แตไ่ ม่ละลายในน้ามนั
2. นกั เรียนศึกษาหลกั การสกดั ด้วยตัวทาละลายและหลักการเลอื กตวั ทาละลายท่เี หมาะสมจากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์

ม.2 เล่ม 1

3. นกั เรียนศึกษาการสกดั สารดว้ ยตวั ทาละลายและการสกัดสารด้วยซอกห์เลตจากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หรอื วีดิทศั นจ์ ากสอื่ ออนไลน์ เรื่อง การสกดั สารด้วยตัวทาละลายเชน่
- https://www.youtube.com/watch?v=4PFX7s4g13s

4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม สารสกัดจากขมิ้นเพ่ือแยกสารจากขมิ้นโดยการสกัดด้วยตัวทาละลาย
จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธิบายความรู้ (Explain) ช่วั โมงท่ี 2

1. สุ่มเลือกกลุ่มนักเรียนอยา่ งนอ้ ย 5 กล่มุ นาเสนอผลการทากิจกรรมสารสกดั จากขมิ้น

2. ถามคาถามท้ายกจิ กรรมกบั นกั เรียน โดยใช้คาถามต่อไปน้ี

- สารสกดั ในขวดใบที่ 1 และ 2 มีลักษณะเหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร

(แนวตอบ สารสกัดในขวดใบท่ี 1 มีน้าเป็นตัวทาละลาย จะสกัดได้ของเหลวสีเหลือง และมีกลิ่นขมิ้นเล็กน้อย ส่วน

สารสกัดในขวดใบท่ี 2 มเี อทิลแอลกอฮอล์เป็นตวั ทาละลาย จะสกัดไดข้ องเหลวสเี หลือง อ่อน ๆ แต่มีกล่ินขม้ินแรง

กวา่ )

- ตวั ทาละลายต่างชนดิ กนั ใชส้ กัดสารได้เหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร

(แนวตอบ ตัวทาละลายต่างชนิดกันสามารถสกัดสารชนิดเดียวกันได้แตกต่างกัน เน่ืองจากสารแต่ละชนิดมี

ความสามารถในการละลายในตวั ทาละลายตา่ ง ๆ ได้แตกตา่ งกนั )

- นกั เรยี นสามารถแยกสารจากขมน้ิ ออกจากตัวทาละลายได้อยา่ งไร

(แนวตอบใช้การกลนั่ แบบธรรมดา ซึ่งสารทมี่ ีจุดเดือดตา่ กวา่ จะระเหยกลายเป็นไอออกมาก่อน และควบแน่นกลับมาเป็น

ของเหลวอีกครัง้ ทาให้แยกสารออกจากน้าหรอื เอทิลแอลกอฮอล์ซ่ึงเป็นตวั ทาละลายได)้

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม สารสกัดจากขม้ินเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ น้าสามารถสกัดสีจากขม้ินได้

ดีกว่าเอทลิ แอลกอฮอล์ แต่เอทลิ แอลกอฮอลจ์ ะสามารถสกดั กลนิ่ จากขม้ินไดด้ กี ว่าน้า

4. ถามคาถามนักเรียน โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- ตัวทาละลายท่เี หมาะสมควรมลี ักษณะอย่างไร

(แนวตอบตวั ทาละลายท่ีเหมาะสมตอ้ งละลายสารท่ตี อ้ งการแยก ไมล่ ะลายสารอ่ืนทไ่ี มต่ ้องการหรือละลายได้น้อยมาก

ไม่ทาปฏิกริ ยิ ากบั สารท่ีต้องการแยก มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย ไม่มีความเป็นพิษ สามารถทาให้บริสุทธิ์เพ่ือนากลับมา

ใช้ใหม่ได้ มรี าคาถูก)

- การสกดั สารโดยใชซ้ อกหเ์ ลตมีข้อดีอย่างไร

(แนวตอบตัวทาละลายท่ีสกัดโดยใช้ซอกซ์เลตจะหมุนเวียนผ่านสารท่ีต้องการสกัดหลาย ๆ ครั้ง ต่อเน่ืองกัน ทาให้ได้

สารทีส่ กัดในปรมิ าณมาก แต่ใช้ตวั ทาละลายปรมิ าณน้อย)

- หลักการสกัดโดยใช้ซอกห์เลต สารท่ีสกัดจะรวมอยู่กับตัวทาละลาย นักเรียนจะแยกสารที่สกัดออกมาจากตัวทา

ละลายได้อย่างไร

(แนวตอบใช้การกลัน่ แยกสารที่สกดั ออกมาจากตวั ทาละลาย)

5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการสกัดสารด้วยตัวทาละลายเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี การสกัดด้วยตัวทา

ละลายเป็นการแยกสารออกจากสารผสม โดยอาศัยสมบัติการละลายของสารในตัวทาละลาย ซ่ึงสารแต่ละชนิดจะ

ละลายในตัวทาละลายไดแ้ ตกต่างกัน โดยตัวทาละลายที่นามาใช้ต้องละลายสารท่ีต้องการแยก ไม่ละลายสารอ่ืนท่ีไม่

ต้องการหรือละลายได้น้อยมาก ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ต้องการแยก มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย ไม่มีความเป็นพิษ

สามารถทาให้บริสุทธิ์เพ่ือนากลับมาใช้ใหม่ได้ และมีราคาถูกการสกัดด้วยตัวทาละลายโดยใช้ซอกห์เลต ซ่ึงเมื่อให้

ความร้อนกับตวั ทาละลาย ตัวทาละลายจะระเหยขึ้นไปในเคร่ืองควบแน่น และควบแน่นกลับมายังตัวอย่างท่ีต้องการ

สกัดสารและสกัดสารออกมารวมกับตัวทาละลาย ซึ่งจะเกิดหมุนเวียนเป็นระบบจนสกัดสารออกมาจนหมด ดังนั้น

การสกดั ด้วยตวั ทาละลายโดยใชซ้ อกห์เลตจงึ ใชต้ ัวทาละลายปรมิ าณน้อย เน่อื งจากตัวทาละลายจะหมนุ เวียนผ่านสาร

ที่ต้องการสกดั หลายครงั้ ต่อเนื่องกนั

ช่วั โมงที่ 3

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรูจ้ ากช่ัวโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า การสกัดด้วยตัวทาละลายใช้แยกสารออกจากสารผสม

โดยอาศัยสมบัติการละลายของสารในตัวทาละลาย ซงึ่ สารแตล่ ะชนดิ จะละลายในตัวทาละลายไดแ้ ตกตา่ งกัน
2. นักเรียนจับคู่ศึกษาตัวอย่างการสกัดสารด้วยตัวทาละลาย เช่น การสกัดน้ามันจากเมล็ดพืชจากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1แล้วร่วมกันวิเคราะห์การสกัดสารจากพืชที่พบในชีวิตประจาวันของนักเรียน พร้อมการนา
สารสกัดจากพชื ดงั กล่าวมาใชป้ ระโยชน์

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแตล่ ะคูอ่ อกมานาเสนอการสกัดสารจากพชื ที่พบในชวี ิตประจาวันทหี่ นา้ ช้ันเรียน
2. นักเรยี นและครูรว่ มกันอภปิ รายเกีย่ วกบั การสกดั สารดว้ ยตัวทาละลายท่ีพบในชวี ิตประจาวันตวั อยา่ งเช่น

- การสกัดนา้ มนั พืช จากเมลด็ ทานตะวนั ถ่วั ลสิ ง งา ราขา้ ว องุ่น ปาลม์ โดยใช้เฮกเซนเปน็ ตวั ทาละลาย
- การสกดั น้ามันหอมระเหย จากสม้ มะกรูด ตะไคร้หอม โดยใชเ้ อทลิ แอลกอฮอล์เปน็ ตวั ทาละลาย

ชั่วโมงที่ 4

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 5-7 คน ทากิจกรรม นวัตกรรมการแยกสารผสม เพือ่ ออกแบบนวัตกรรมการแยกสารผสม

ที่สามารถนามาแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ โดยนาความรู้เก่ียวกับการแยกสารผสมมาบูรณาการกับคณิตศาสตร์
เทคโนโลยี และกระบวนการทางวิศวกรรม โดยสร้าง หรือพัฒนานวัตกรรมการแยกสารผสมจากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาในชีวิตประจาวันท่ีเก่ียวกับการแยกสารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ เพ่ือหา
วธิ ีการแก้ปัญหาโดยสร้าง หรือพฒั นานวตั กรรมการแยกสารผสมแลว้ นาข้อมูลไปจัดทาปูายนิเทศ และรูปเล่มรายงาน
สง่ ครูผสู้ อน
3. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน เพื่อเตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับการทากิจกรรม Fun Science Activity เร่ือง อม
ย้มิ คริสตลั ในช่ัวโมงตอ่ ไป

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอปัญหาในชีวิตประจาวันท่ีเก่ียวกับการแยกสารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ และ

แนวทางการสร้างหรอื พฒั นานวัตกรรมการแยกสารผสมอย่างคร่าว ๆ
2. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทากิจกรรม นวัตกรรมการแยกสารผสม โดยใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์

ชั่วโมงที่ 5

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้ เรื่อง การตกผลึก ให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า เม่ือนาสารมาละลายในตัวทาละลายที่ให้ความร้อน

สารจะสามารถละลายในตวั ทาละลายไดม้ ากขึ้นจนกลายเปน็ สารละลายอมิ่ ตัวทอ่ี ณุ หภูมสิ ูง แตเ่ มื่ออณุ หภูมลิ ดลง สาร
จะตกผลึกแยกออกมาอยใู่ นตวั ทาละลาย
2. นักเรียนทากจิ กรรม Fun Science Activity เรอื่ ง อมยิม้ คริสตัล จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สมุ่ เลอื กกลุ่มของนกั เรียน อยา่ งนอ้ ย 5 กลุ่ม นาเสนอผลการทากจิ กรรม Fun Science Activity
2. ครูถามคาถามนักเรยี น โดยใชค้ าถามดงั น้ี

- การทาอมย้ิมคริสตลั ใช้ความรเู้ กย่ี วกบั การแยกสารผสมอยา่ งไร
(แนวตอบการทาอมย้ิมคริสตัลใช้ความรู้เกี่ยวการตกผลึก ซ่ึงเม่ือละลายน้าตาลในน้าที่ให้ความร้อนจะได้สารละลาย
น้าตาลอมิ่ ตวั และเม่ือปลอ่ ยใหส้ ารละลายนา้ ตาลอมิ่ ตวั เยน็ ลงจะเกิดผลึกนา้ ตาลแยกออกจากสารละลาย)
- การทาสารละลายอ่ิมตวั ของนา้ ตาลทาได้อยา่ งไร
(แนวตอบการใหค้ วามรอ้ นกับนา้ จะทาให้สามารถละลายนา้ ตาลไดเ้ พิม่ มากขนึ้ )
- เพราะเหตุใดจงึ ต้องใช้ไมเ้ สยี บลกู ชนิ้ เสยี บลงไปในสารละลายอิม่ ตวั ของน้าตาล
(แนวตอบไม้ลูกชิ้นทาหน้าท่ีเป็นฐานสาหรับล่อการเกิดผลึก โดยผลึกท่ีเกิดจากสารละลายน้าตาลอิ่มตัวจะเกาะท่ีไม้
ลูกช้นิ และทาใหแ้ ยกผลึกออกจากสารละลายอ่มิ ตวั ได้ง่าย)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายกิจกรรม Fun Science อมยิ้มคริสตัลเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ เม่ือให้ความร้อนกับน้า
จะทาให้สามารถละลายน้าตาลได้เพ่ิมขึ้น จนกลายเป็นสารละลายน้าตาลอ่ิมตัว และเมื่อปล่อยให้สารละลายอ่ิมตัว
เยน็ ลงจะเกดิ การตกผลกึ ของนา้ ตาล กลายเปน็ ผลกึ อมยม้ิ นา้ ตาล
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาอมยิ้มคริสตัลที่ทาจากกิจกรรม Fun Science Activity มาส่งครู กลุ่มละ 1 ชิ้น หลังจากเวลา
ผ่านไป 1สปั ดาห์

ชวั่ โมงที่ 6

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)

1. ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการแยกสารผสมที่เรียนผ่านมา ท้ังการระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่ัน โครมาโทก

ราฟีแบบกระดาษ และการสกัดด้วยตัวทาละลาย

2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอปูายนิเทศ จากกิจกรรม นวัตกรรมการแยกสารผสม ที่ให้นักเรียนสร้างหรือพัฒนา

เมอ่ื 2 สปั ดาหท์ ผี่ า่ นมา

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นกั เรยี นกลุม่ อนื่ รว่ มกนั ถามคาถามกล่มุ ที่นาเสนอ
2. นกั เรียนและครูรว่ มกันอภปิ รายเก่ยี วกบั การสร้างหรอื พฒั นานวัตกรรมการแยกสารผสมท่นี ักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอ

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. นักเรียนสืบค้นข้อมูล เรื่อง สารละลาย แล้วเลือกสารละลาย 1 ชนิด ท่ีสนใจมาอธิบายลักษณะของสารละลาย

คณุ สมบัติของสารละลาย และการนาสารละลายมาใชส้ กดั สารจากพืช ลงในกระดาษ A4

2. นกั เรียนทา Topic Question ทา้ ยหัวขอ้ เรือ่ ง การสกัดด้วยตัวทาละลาย
3. นกั เรียนทา Self Check ท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารผสม
4. นักเรยี นทา Unit Question ท้ายหน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 การแยกสารผสม
5. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 การแยกสารผสม

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรุป เรอื่ ง การสกัดด้วยตวั ทาละลาย โดยมปี ระเดน็ ดงั น้ี

- หลกั การสกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย
- หลกั การเลือกตัวทาละลายที่เหมาะสม
- การประยุกตใ์ ช้ประโยชน์จากการสกัดด้วยตัวทาละลาย
นกั เรยี นเขยี นสรุปลงในสมุดบนั ทกึ ของนกั เรยี น
2. ตรวจสอบผลจากการสรุปสารละลายท่ีสนใจ 1 ชนดิ
3. ประเมนิ ผลจากรายงาน ปูายนิเทศ และการนาเสนอผลงาน เร่ือง นวตั กรรมการแยกสารผสม
4. ตรวจสอบผลจากการจับคู่นาเสนอ การสกดั สารจากพืชที่พบในชีวติ ประจาวัน
5. ตรวจสอบผลจากการสรุป เรอ่ื ง การสกัดด้วยตัวทาละลาย
6. ประเมนิ ผลจากการทากิจกรรม สารสกัดจากขม้นิ
7. ประเมนิ ผลจากการทากจิ กรรม Fun Science Activity เรื่อง อมยิ้มคริสตัล
8. ตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม Topic Question ท้ายหวั ข้อ เรอ่ื ง การสกัดด้วยตวั ทาละลาย
9.ตรวจสอบผลจากการทาUnit Question ทา้ ยหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2การแยกสารผสม
10. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
11. ครตู รวจสอบผลจากแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การแยกสารผสม
สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2การแยกสารผสม
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2การแยกสารผสม
3) แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 การแยกสารผสม
4) PowerPoint เรอ่ื ง การสกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย

แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) ห้องสมุด
3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

7. บันทกึ ผลหลงั แผนการจดั การเรยี นรู้
1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอ่ื ง ...................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบวา่ นกั เรยี นผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบวา่ นักเรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงค่ารอ้ ยละระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เร่อื ง ..................................................

ระดับผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบว่านักเรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อย่ใู นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดับ................และพบวา่ นักเรยี น
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชื่อมโยงกับมาตรฐานหลักสตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ ร้อยละคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เรอ่ื ง ............................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบว่านักเรียนคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดับ............และรองลงมารอ้ ย

ละ.................อยใู่ นระดบั ...............และพบว่านกั เรียน.....................................................

..................................................................................................................................................................

สรุป ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ท่ี …………………………..

1) นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนอยใู่ นระดับ...................

2) นักเรียนมีทักษะในระดับ..................

3) นกั เรยี นมีคุณลักษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลีย่ นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ข้อค้นพบด้านพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อืน่ ๆ....................................................................................................................................................

ปัญหา/สิ่งท่พี ัฒนา / แนวทางแกป้ ัญหา / แนวทางการพฒั นา

ปญั หา/ส่ิงทพ่ี ัฒนา สาเหตุของปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วธิ แี กไ้ ข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พฒั นา
สงิ่ ทีพ่ ฒั นา พัฒนา

ลงชอื่ ............................................. ผูส้ อน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ลงช่ือ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ

ลงชือ่ ...........................................
( นายวีระ แก้วกลั ยา )

ผ้อู านวยการโรงเรยี นโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

8. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนรูข้ อง.................................................แลว้ มีความเหน็ ดังนี้
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรงุ
8.2 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้
ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ใชก้ ระบวนการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
ทีย่ ังไม่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป
8.3 เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรงุ ก่อนนาไปใช้
8.4 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการฝาุ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผูอ้ านวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบรุ ี

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5

เรือ่ ง การสกดั ดว้ ยสารละลาย เวลา 2 ชว่ั โมง ระดบั ชั้นมธั ยมปีท่ี 2
__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลกั ฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ สิง่ ทต่ี ้องรูแ้ ละปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ช้ินงาน การวดั ผลและการ

ตวั ช้วี ดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมินช้ินงาน/ภาระ - ประเมินการนาเสนอ
ม.2/2 สื่อสาร งาน ผลงาน
ม.2/2 2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏบิ ตั ิการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายการแยกสารโดยการสกดั ดว้ ยตวั ทาละลายได้ (K)

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. สกัดสารดว้ ยตัวทาละลายได้ (P)
2. สร้างหรือพฒั นานวัตกรรมการแยกสารทสี่ ามารถนามาใช้แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั ได้ (P)
3. ใชเ้ ครอื่ งมอื และอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1. ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ (A)
2. สนใจใฝุรใู้ นการศกึ ษา (A)
3. หลักฐานการเรียนรู้ชนิ้ งานหรือภาระงาน (Work)

การประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน/ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏิบตั กิ าร/แบบทดสอบ
4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

สิง่ ท่ีวดั ผล วธิ วี ดั ผล เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมินการนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมนิ การปฏิบัติการ
หรือเปน็ กลมุ่ ทางานรายบคุ คล

- สังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลมุ่

- สงั เกตความมีวินัย ใฝุ

เรียนรู้ และม่งุ ม่ันในการ

ทางาน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมินพฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมการ -ประเมินการปฏิบัติการ
ในการทางานเปน็ ทางานรายบคุ คล

รายบุคคลและเป็น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ
กลุ่มในดา้ นการ ทางานกลุม่
สื่อสารการคดิ การ
แกป้ ญั หา - สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝุ

เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ

ทางาน

เจตคติ/คุณลักษณะ (A) -ประเมนิ พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรมการ - ประเมินการนาเสนอ
สมรถนะของผเู้ รยี น (C) ในการทางานเปน็ ทางานรายบคุ คล ผลงาน
รายบุคคลในดา้ น - สังเกตพฤตกิ รรมการ
ความมีวินัย ความใฝุ ทางานกล่มุ - ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร
เรียนรู้

5. กระบวนการการจัดกจิ กรรม / รปู แบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

การจดั กจิ กรรมการเรยี นร/ู้ แนวทางการเสรมิ แรงหรือชว่ ยเหลอื นักเรยี น
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กิจกรรมการเรยี นการสอน

ชวั่ โมงที่ 1-2

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนทา Understanding Check จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง

กอ่ นเรียน
2. ถามคาถามเพ่ือนาเขา้ สบู่ ทเรยี นว่าในหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 นี้ นักเรียนเคยใช้ตัวทาละลายชนิดใดบ้าง

(แนวตอบ คาตอบขนึ้ อย่กู ับดุลยพินิจของครผู สู้ อน เชน่ น้า เอทลิ แอลกอฮอล์ โซเดยี มคลอไรด์)
3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า ตัว

ทาละลายทีด่ คี วรมีลักษณะอย่างไร พรอ้ มยกตัวอยา่ งตวั ทาละลายท่ีร้จู กั
(แนวตอบตัวทาละลายที่ดีควรละลายตัวละลายได้หมด ไม่ทาปฏิกิริยากับตัวละลาย แยกออกจากตัวละลายได้ง่าย มี
จุดเดือดต่าและระเหยงา่ ย เช่น น้า เอทิลแอลกอฮอล์)

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า สารต่าง ๆ สามารถละลายในตัวทาละลายได้แตกต่างกัน สารบางชนิดอาจละลายในตัวทา

ละลายชนิดหน่ึงได้ดี แต่ไม่ละลายในตวั ทาละลายอีกชนดิ เชน่ โซเดยี มคลอไรด์ละลายในน้า แตไ่ มล่ ะลายในน้ามนั
2. นักเรียนศกึ ษาหลกั การสกัดด้วยตัวทาละลายและหลักการเลือกตวั ทาละลายทเี่ หมาะสมจากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์

ม.2 เลม่ 1
3. นกั เรียนศกึ ษาการสกดั สารดว้ ยตวั ทาละลายและการสกดั สารด้วยซอกหเ์ ลตจากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

หรอื วดี ทิ ัศนจ์ ากสอื่ ออนไลน์ เรือ่ ง การสกดั สารด้วยตัวทาละลายเชน่

- https://www.youtube.com/watch?v=4PFX7s4g13s
4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม สารสกัดจากขม้ินเพื่อแยกสารจากขม้ินโดยการสกัดด้วยตัวทาละลาย

จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธบิ ายความรู้ (Explain) ชว่ั โมงท่ี 2

1. สุ่มเลือกกลุ่มนกั เรียนอยา่ งน้อย 5 กลุ่ม นาเสนอผลการทากิจกรรมสารสกัดจากขมิน้

2. ถามคาถามทา้ ยกิจกรรมกับนกั เรยี น โดยใช้คาถามต่อไปนี้

- สารสกัดในขวดใบที่ 1 และ 2 มลี ักษณะเหมอื นหรอื แตกตา่ งกัน อยา่ งไร

(แนวตอบ สารสกัดในขวดใบท่ี 1 มีน้าเป็นตัวทาละลาย จะสกัดได้ของเหลวสีเหลือง และมีกลิ่นขมิ้นเล็กน้อย ส่วน

สารสกดั ในขวดใบที่ 2 มีเอทลิ แอลกอฮอลเ์ ป็นตัวทาละลาย จะสกดั ได้ของเหลวสเี หลอื ง อ่อน ๆ แต่มีกล่ินขมิ้นแรง

กว่า)

- ตัวทาละลายต่างชนดิ กนั ใชส้ กัดสารได้เหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร

(แนวตอบ ตัวทาละลายต่างชนิดกันสามารถสกัดสารชนิดเดียวกันได้แตกต่างกัน เนื่องจากสารแต่ละชนิดมี

ความสามารถในการละลายในตัวทาละลายต่าง ๆ ได้แตกตา่ งกนั )

- นักเรียนสามารถแยกสารจากขมนิ้ ออกจากตัวทาละลายไดอ้ ยา่ งไร

(แนวตอบใช้การกลน่ั แบบธรรมดา ซึ่งสารทีม่ จี ุดเดือดต่ากวา่ จะระเหยกลายเป็นไอออกมาก่อน และควบแน่นกลับมาเป็น

ของเหลวอกี ครง้ั ทาให้แยกสารออกจากนา้ หรอื เอทลิ แอลกอฮอล์ซึ่งเป็นตวั ทาละลายได)้

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม สารสกัดจากขมิ้นเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ น้าสามารถสกัดสีจากขม้ินได้

ดีกวา่ เอทิลแอลกอฮอล์ แต่เอทลิ แอลกอฮอลจ์ ะสามารถสกดั กลิ่นจากขม้นิ ไดด้ ีกว่านา้

4. ถามคาถามนักเรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้

- ตวั ทาละลายทเี่ หมาะสมควรมลี กั ษณะอยา่ งไร

(แนวตอบตัวทาละลายที่เหมาะสมตอ้ งละลายสารทต่ี ้องการแยก ไม่ละลายสารอื่นที่ไม่ต้องการหรือละลายได้น้อยมาก

ไมท่ าปฏกิ ริ ิยากับสารท่ีต้องการแยก มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย ไม่มีความเป็นพิษ สามารถทาให้บริสุทธิ์เพื่อนากลับมา

ใชใ้ หมไ่ ด้ มีราคาถกู )

- การสกัดสารโดยใช้ซอกหเ์ ลตมขี ้อดีอย่างไร

(แนวตอบตัวทาละลายที่สกัดโดยใช้ซอกซ์เลตจะหมุนเวียนผ่านสารที่ต้องการสกัดหลาย ๆ ครั้ง ต่อเนื่องกัน ทาให้ได้

สารท่สี กัดในปริมาณมาก แตใ่ ชต้ วั ทาละลายปริมาณน้อย)

- หลักการสกัดโดยใช้ซอกห์เลต สารที่สกัดจะรวมอยู่กับตัวทาละลาย นักเรียนจะแยกสารท่ีสกัดออกมาจากตัวทา

ละลายได้อย่างไร

(แนวตอบใชก้ ารกลัน่ แยกสารทสี่ กัดออกมาจากตวั ทาละลาย)

4. นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการสกัดสารด้วยตัวทาละลายเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี การสกัดด้วยตัวทา

ละลายเป็นการแยกสารออกจากสารผสม โดยอาศัยสมบัติการละลายของสารในตัวทาละลาย ซึ่งสารแต่ละชนิด

จะละลายในตวั ทาละลายได้แตกต่างกัน โดยตัวทาละลายท่ีนามาใช้ต้องละลายสารท่ีต้องการแยก ไม่ละลายสาร

อ่ืนที่ไม่ต้องการหรือละลายได้น้อยมาก ไม่ทาปฏิกิริยากับสารท่ีต้องการแยก มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย ไม่มีความ

เป็นพิษ สามารถทาให้บริสุทธิ์เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้ และมีราคาถูกการสกัดด้วยตัวทาละลายโดยใช้ซอกห์เลต

ซึ่งเม่ือให้ความร้อนกับตัวทาละลาย ตัวทาละลายจะระเหยขึ้นไปในเคร่ืองควบแน่น และควบแน่นกลับมายัง

ตัวอย่างท่ีต้องการสกัดสารและสกัดสารออกมารวมกับตัวทาละลาย ซึ่งจะเกิดหมุนเวียนเป็นระบบจนสกัดสาร

ออกมาจนหมด ดงั น้ัน การสกดั ดว้ ยตัวทาละลายโดยใช้ซอกห์เลตจึงใช้ตัวทาละลายปริมาณน้อย เนื่องจากตัวทา

ละลายจะหมนุ เวียนผา่ นสารท่ตี อ้ งการสกัดหลายคร้งั ต่อเน่อื งกนั

ช่วั โมงท่ี 3

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความร้จู ากชวั่ โมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า การสกัดด้วยตัวทาละลายใช้แยกสารออกจากสารผสม

โดยอาศยั สมบัติการละลายของสารในตวั ทาละลาย ซงึ่ สารแตล่ ะชนิดจะละลายในตัวทาละลายไดแ้ ตกต่างกัน
2. นักเรียนจับคู่ศึกษาตัวอย่างการสกัดสารด้วยตัวทาละลาย เช่น การสกัดน้ามันจากเมล็ดพืชจากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1แล้วร่วมกันวิเคราะห์การสกัดสารจากพืชที่พบในชีวิตประจาวันของนักเรียน พร้อมการนา
สารสกดั จากพืชดงั กล่าวมาใช้ประโยชน์

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นกั เรียนแต่ละคู่ออกมานาเสนอการสกดั สารจากพืชที่พบในชีวิตประจาวนั ที่หนา้ ชัน้ เรียน
2. นักเรียนและครูรว่ มกันอภิปรายเกีย่ วกบั การสกัดสารดว้ ยตัวทาละลายทีพ่ บในชีวติ ประจาวนั ตัวอย่างเช่น

- การสกดั น้ามนั พชื จากเมล็ดทานตะวัน ถว่ั ลสิ ง งา ราขา้ ว องนุ่ ปาลม์ โดยใช้เฮกเซนเปน็ ตัวทาละลาย
- การสกัดน้ามนั หอมระเหย จากส้ม มะกรดู ตะไครห้ อม โดยใช้เอทลิ แอลกอฮอล์เปน็ ตัวทาละลาย

ช่ัวโมงท่ี 4

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 5-7 คน ทากจิ กรรม นวัตกรรมการแยกสารผสม เพ่อื ออกแบบนวัตกรรมการแยกสารผสม

ที่สามารถนามาแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ โดยนาความรู้เก่ียวกับการแยกสารผสมมาบูรณาการกับคณิตศาสตร์
เทคโนโลยี และกระบวนการทางวิศวกรรม โดยสร้าง หรือพัฒนานวัตกรรมการแยกสารผสมจากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาในชีวิตประจาวันที่เก่ียวกับการแยกสารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ เพ่ือหา
วิธกี ารแก้ปัญหาโดยสร้าง หรอื พัฒนานวตั กรรมการแยกสารผสมแล้วนาข้อมูลไปจัดทาปูายนิเทศ และรูปเล่มรายงาน
สง่ ครผู ูส้ อน
3. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน เพ่ือเตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับการทากิจกรรม Fun Science Activity เร่ือง อม
ยมิ้ คริสตัล ในชวั่ โมงต่อไป

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอปัญหาในชีวิตประจาวันท่ีเก่ียวกับการแยกสารโดยใช้สมบัติทางกายภาพ และ

แนวทางการสร้างหรอื พฒั นานวัตกรรมการแยกสารผสมอยา่ งคร่าว ๆ
2. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ทากิจกรรม นวตั กรรมการแยกสารผสม โดยใช้เวลาประมาณ 2 สปั ดาห์

ช่ัวโมงที่ 5

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้ เร่ือง การตกผลึก ให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า เม่ือนาสารมาละลายในตัวทาละลายที่ให้ความร้อน

สารจะสามารถละลายในตัวทาละลายไดม้ ากขึ้นจนกลายเป็นสารละลายอมิ่ ตัวทอ่ี ณุ หภูมสิ ูง แตเ่ มื่ออณุ หภูมลิ ดลง สาร
จะตกผลึกแยกออกมาอยใู่ นตัวทาละลาย
2. นักเรียนทากิจกรรม Fun Science Activity เร่อื ง อมยิม้ คริสตัล จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สมุ่ เลอื กกลมุ่ ของนกั เรียน อยา่ งนอ้ ย 5 กลุ่ม นาเสนอผลการทากจิ กรรม Fun Science Activity
2. ครูถามคาถามนกั เรยี น โดยใช้คาถามดงั นี้

- การทาอมยม้ิ คริสตลั ใช้ความร้เู กย่ี วกับการแยกสารผสมอยา่ งไร
(แนวตอบการทาอมย้ิมคริสตัลใช้ความรู้เก่ียวการตกผลึก ซ่ึงเม่ือละลายน้าตาลในน้าที่ให้ความร้อนจะได้สารละลาย
น้าตาลอิ่มตวั และเม่ือปลอ่ ยใหส้ ารละลายน้าตาลอมิ่ ตวั เยน็ ลงจะเกิดผลึกนา้ ตาลแยกออกจากสารละลาย)
- การทาสารละลายอ่ิมตวั ของน้าตาลทาไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบการใหค้ วามรอ้ นกับน้าจะทาให้สามารถละลายนา้ ตาลไดเ้ พิม่ มากขนึ้ )
- เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งใช้ไม้เสยี บลกู ชนิ้ เสยี บลงไปในสารละลายอ่มิ ตวั ของน้าตาล
(แนวตอบไม้ลูกชิ้นทาหน้าท่ีเป็นฐานสาหรับล่อการเกิดผลึก โดยผลึกท่ีเกิดจากสารละลายน้าตาลอิ่มตัวจะเกาะท่ีไม้
ลูกช้นิ และทาใหแ้ ยกผลึกออกจากสารละลายอิ่มตวั ได้ง่าย)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายกิจกรรม Fun Science อมย้ิมคริสตัลเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ เม่ือให้ความร้อนกับน้า
จะทาให้สามารถละลายน้าตาลได้เพ่ิมขึ้น จนกลายเป็นสารละลายน้าตาลอ่ิมตัว และเมื่อปล่อยให้สารละลายอ่ิมตัว
เยน็ ลงจะเกดิ การตกผลกึ ของนา้ ตาล กลายเป็นผลกึ อมยม้ิ นา้ ตาล
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาอมยิ้มคริสตัลที่ทาจากกิจกรรม Fun Science Activity มาส่งครู กลุ่มละ 1 ชิ้น หลังจากเวลา
ผ่านไป 1สปั ดาห์

ช่วั โมงที่ 6

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)

1. ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการแยกสารผสมท่ีเรียนผ่านมา ท้ังการระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่ัน โครมาโทก

ราฟีแบบกระดาษ และการสกัดด้วยตัวทาละลาย

2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอปูายนิเทศ จากกิจกรรม นวัตกรรมการแยกสารผสม ที่ให้นักเรียนสร้างหรือพัฒนา

เมอ่ื 2 สปั ดาห์ทผี่ า่ นมา

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นกั เรยี นกลุ่มอน่ื รว่ มกนั ถามคาถามกล่มุ ที่นาเสนอ
2. นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกบั การสรา้ งหรือพฒั นานวัตกรรมการแยกสารผสมท่นี ักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอ

ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. นักเรียนสืบค้นข้อมูล เรื่อง สารละลาย แล้วเลือกสารละลาย 1 ชนิด ท่ีสนใจมาอธิบายลักษณะของสารละลาย

คณุ สมบตั ิของสารละลาย และการนาสารละลายมาใชส้ กดั สารจากพืช ลงในกระดาษ A4

2. นกั เรียนทา Topic Question ทา้ ยหวั ข้อ เรอ่ื ง การสกดั ด้วยตัวทาละลาย
3. นกั เรียนทา Self Check ท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การแยกสารผสม
4. นักเรยี นทา Unit Question ทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การแยกสารผสม
5. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การแยกสารผสม

ขน้ั สรปุ

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ เรือ่ ง การสกัดดว้ ยตัวทาละลาย โดยมีประเด็น ดงั นี้

- หลกั การสกัดดว้ ยตัวทาละลาย
- หลักการเลอื กตวั ทาละลายท่ีเหมาะสม
- การประยุกต์ใช้ประโยชนจ์ ากการสกัดด้วยตวั ทาละลาย
นักเรยี นเขยี นสรปุ ลงในสมดุ บันทึกของนกั เรยี น
2. ตรวจสอบผลจากการสรปุ สารละลายท่ีสนใจ 1 ชนดิ
3. ประเมนิ ผลจากรายงาน ปาู ยนเิ ทศ และการนาเสนอผลงาน เรอื่ ง นวัตกรรมการแยกสารผสม
4. ตรวจสอบผลจากการจบั ค่นู าเสนอ การสกัดสารจากพชื ท่พี บในชวี ติ ประจาวนั
5. ตรวจสอบผลจากการสรุป เรือ่ ง การสกดั ด้วยตัวทาละลาย
6. ประเมินผลจากการทากิจกรรม สารสกดั จากขม้นิ
7. ประเมนิ ผลจากการทากจิ กรรม Fun Science Activity เร่อื ง อมย้ิมคริสตัล
8. ตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม Topic Question ทา้ ยหัวข้อ เรื่อง การสกัดดว้ ยตัวทาละลาย
9.ตรวจสอบผลจากการทาUnit Question ทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2การแยกสารผสม
10. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
11. ครูตรวจสอบผลจากแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การแยกสารผสม
สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
สือ่ การเรยี นรู้
1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2การแยกสารผสม
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2การแยกสารผสม
3) แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 การแยกสารผสม
4) PowerPoint เรื่อง การสกัดดว้ ยตัวทาละลาย

แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) ห้องสมดุ
3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

7. บันทกึ ผลหลงั แผนการจดั การเรยี นรู้
1. ผลการเรียนรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)
ตารางที่ 1 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เรือ่ ง ...................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นกั เรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยูใ่ นระดบั ...............และพบว่านกั เรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เร่อื ง ..................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบวา่ นกั เรยี นผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยู่ในระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดบั ................และพบวา่ นกั เรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คุณลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชื่อมโยงกับมาตรฐานหลักสตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรียน ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านักเรียนคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ รอ้ ยละ..............อยู่ในระดบั ............และรองลงมารอ้ ย

ละ.................อยใู่ นระดบั ...............และพบว่านักเรยี น.....................................................

..................................................................................................................................................................

สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ที่ …………………………..

1) นกั เรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนอย่ใู นระดับ...................

2) นักเรยี นมที ักษะในระดบั ..................

3) นกั เรยี นมีคณุ ลกั ษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลย่ี นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้าม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อน่ื ๆ....................................................................................................................................................

ปัญหา/สิง่ ท่ีพัฒนา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/สง่ิ ทพี่ ัฒนา สาเหตขุ องปัญหา/ แนวทางแก้ไข/ วธิ ีแกไ้ ข/พฒั นา ผลการแกไ้ ข/พฒั นา
สิ่งทพ่ี ฒั นา พัฒนา

ลงชอื่ ............................................. ผูส้ อน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงชื่อ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรียนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

8. ความคดิ เหน็ (ผ้บู ริหาร / หรือผ้ทู ไี่ ด้รับมอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนร้ขู อง.................................................แลว้ มคี วามเหน็ ดังน้ี
8.1 เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรงุ
8.2 การจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ ดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้
ทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ใชก้ ระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทยี่ ังไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
8.3 เปน็ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี
นาไปใชส้ อนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้
8.4 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผอู้ านวยการฝาุ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )

รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของผ้อู านวยการโรงเรียน

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง สารละลาย จานวน 15 ช่ัวโมง

กลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว22101

ครูผู้สอน นางสาวสจุ ติ รา สมวาส

_________________________________________________________

สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)

สารละลาย หมายถึงสารเนอื้ เดียวทปี่ ระกอบด้วยธาตุ หรอื สารประกอบตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขน้ึ ไปรวมตวั กัน โดยธาตุ

หรอื สารประกอบชนดิ หนึง่ เป็นตวั ทาละลาย ส่วนธาตุหรือสารประกอบอกี ชนิดหนึ่งหรอื มากกวา่ เปน็ ตวั ละลาย ซ่งึ มี

หลกั การพจิ ารณาตัวละลายและตวั ทาละลายในสารละลาย ดังน้ี

- หากสารอยใู่ นสถานะเดยี วกนั สารท่ีมปี รมิ าณมากกวา่ เป็นตวั ทาละลาย สารท่ีมปี รมิ าณน้อยกวา่ เป็นตัวละลาย

- หากสารอยใู่ นสถานะตา่ งกันเม่ือผสมกันแลว้ มีสถานะเหมอื นกับสารชนดิ ใด จะถอื วา่ สารน้นั เปน็

ตวั ทาละลาย สว่ นสารอกี ชนดิ หน่ึงเป็นตวั ละลายสภาพละลายได้ของสารหมายถงึ ความสามารถในการละลายไดข้ อง

ตัวละลายในตัวทาละลายจนเป็นสารละลายอ่มิ ตวั ณ อณุ หภูมิหนึง่ ๆ การละลายของตวั ละลายขึ้นอยู่กับปัจจัยตา่ ง

ๆได้แก่
- อณุ หภมู เิ มอื่ อุณหภูมสิ ูงข้นึ ตัวละลายที่เปน็ ของแข็งและของเหลวละลายไดม้ ากขึ้น แตต่ วั ละลายทีเ่ ปน็ แกส๊ จะ

ละลายได้น้อยลง

-ชนดิ ของตวั ทาละลายตวั ทาละลายแต่ละชนดิ สามารถละลายตวั ละลายแตล่ ะชนิดได้แตกตา่ งกัน

- ขนาดของตวั ละลายตวั ละลายทม่ี ีขนาดเลก็ ละลายไดเ้ รว็ กว่าตวั ละลายทม่ี ีขนาดใหญ่เพราะมพี นื้ ทผี่ ิวสมั ผัสมากกวา่

- ความดันมผี ลตอ่ ตวั ละลายทเี่ ป็นแกส๊ ซงึ่ หากความดนั สูงขึ้นจะทาให้แกส๊ ละลายได้ดีขนึ้

- การคน การเขยา่ หรือการปัน่ เหวยี่ ง ซงึ่ จะทาให้อนุภาคเคลื่อนท่ีเรว็ จงึ เกิดการละลายไดเ้ รว็ ความเขม้ ข้นของ

สารละลายเป็นคา่ ทีแ่ สดงปรมิ าณของตัวละลายทลี่ ะลายอยใู่ นตัวทาละลายหรอื ในสารละลาย ดังนี้

- ร้อยละโดยมวลเป็นหน่วยท่ีบอกถงึ ปรมิ าณตวั ละลายเปน็ กรัมทีล่ ะลายในสารละลาย 100 กรมั นยิ มใช้กบั

สารละลายทเ่ี ป็นของแข็ง มีสูตร ดังนี้ มวลของตัวละลาย
มวลของสารละลาย
รอ้ ยละโดยมวล   100

- ร้อยละโดยปริมาตรเปน็ หนว่ ยที่บอกถงึ ปริมาตรของตัวละลายเปน็ ลกู บาศก์เซนติเมตรทีล่ ะลายในสารละลาย 100
ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร นิยมใช้กับสารละลายท่ีเปน็ ของเหลวหรือแกส๊ มีสตู ร ดงั นี้

รอ้ ยละโดยปรมิ าตร  ปรมิ าตรของตัวละลาย  100
ปรมิ าตรของสารละลาย

- ร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตรเปน็ หนว่ ยทบ่ี อกถึงปรมิ าณของตวั ละลายเปน็ กรมั ท่ีละลายในสารละลาย 100

ลกู บาศก์เซนตเิ มตร นยิ มใชก้ ับตัวละลายท่ีเป็นของแขง็ ในตวั ทาละลายที่เปน็ ของเหลวมีสูตร ดงั นี้

รอ้ ยละโดยมวลต่อปรมิ าตร

 มวลของตัวละลาย  100
ปรมิ าตรของสารละลาย
สารละลายถกู นามาใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ซึ่งใชท้ ีค่ วามเข้มข้นแตกต่างกัน เช่น น้าสม้ สายชมู ีความเขม้ ข้นของกรดแอซีติ

กรอ้ ยละ 4-18 โดยปรมิ าตร แอลกอฮอลล์ ้างแผลมีความเขม้ ข้นของเอทลิ แอลกอฮอลร์ อ้ ยละ 70 โดยปริมาตร นา้ เกลอื

มคี วามเข้มขน้ ของโซเดียมคลอไรด์ รอ้ ยละ 0.9 หรอื ร้อยละ 15 โดยมวลต่อปริมาตรน้ายาลา้ งเลบ็ มคี วามเขม้ ขน้ ของแอ

ซโี ตนรอ้ ยละ 80 โดยปรมิ าตรสว่ นสารทาความสะอาดและสารเคมีกาจัดศัตรพู ชื ถกู นามาทาใหเ้ จอื จางก่อนนาไปใช้

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและ แรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
ตวั ชีว้ ดั ที่

ว 2.1 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6

รวม 3 ตัวช้ีวดั

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ( Competency ) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ( Desired Characteristics )

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเุ รียนรู้
1) ทักษะการสังเกต 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน

2) ทกั ษะสารวจค้นหา
3) ทักษะการวดั
4) ทกั ษะการทดลอง

5) ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล
6) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลง

ขอ้ สรุป
3.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ทกั ษะ / กระบวนการ ( Skill during the process ) ทักษะการคิด

ทักษะเฉพาะวิชา - ประเมินการนาเสนอผลงาน
- ประเมินการปฏบิ ัติการ
- ทักษะการสังเกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล
- ทกั ษะการสารวจค้นหา - สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
- ทักษะการคานวณ - สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเุ รียนรู้ และมงุ่ ม่นั ในการทางาน
- ทักษะการทดลอง
- ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมลู
- ทักษะการตีความข้อมูลและการลงข้อสรุป

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1

เรื่อง สารละลาย เวลา 2 ชัว่ โมง ระดบั ชัน้ มัธยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรยี นรู้และ ส่ิงท่ตี อ้ งรู้และปฏบิ ัตไิ ด้ ผลงาน / ชนิ้ งาน การวดั ผลและการ

ตัวชว้ี ดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระ - ประเมินการนาเสนอ
สื่อสาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมนิ การปฏิบตั ิการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายองค์ประกอบของสารละลายได้ (K)
2. ระบตุ วั ทาละลายและตัวละลายในสารละลายได้ (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)

1. แยกองคป์ ระกอบของสารละลายได้ (P)
2. ใช้เครือ่ งมือและอปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ได้อย่างถกู ต้อง (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1.สนใจใฝุรูใ้ นการศกึ ษา (A)

3. หลักฐานการเรยี นรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)

การประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน/ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏบิ ตั กิ าร/แบบทดสอบ
4. การวดั และการประเมนิ ผล ( Evaluation )

สิ่งทว่ี ัดผล วิธวี ดั ผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบก่อนเรยี น - ประเมินการนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ
กรรมเป็รายบคุ คล - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการปฏิบตั กิ าร
หรอื เป็นกลมุ่ ทางานรายบุคคล

- สงั เกตพฤติกรรมการ
ทางานกลมุ่

- สังเกตความมีวินยั ใฝุ

เรียนรู้ และมุ่งมนั่ ในการ

ทางาน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สงั เกตพฤติกรรมการ -ประเมินการปฏบิ ัติการ
ในการทางานเปน็ ทางานรายบุคคล

รายบุคคลและเป็น - สงั เกตพฤติกรรมการ
กล่มุ ในดา้ นการ ทางานกลมุ่
สือ่ สารการคดิ การ
แกป้ ญั หา - สังเกตความมีวนิ ยั ใฝุ

เรียนรู้ และมุ่งม่นั ในการ

ทางาน

เจตคติ/คณุ ลกั ษณะ (A) -ประเมนิ พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการนาเสนอ
สมรถนะของผเู้ รียน (C) ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล ผลงาน
รายบคุ คลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ
ความมีวนิ ยั ความใฝุ ทางานกลุ่ม - ประเมินการปฏบิ ตั ิการ
เรยี นรู้

5. กระบวนการการจดั กิจกรรม / รูปแบบการจดั กจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กจิ กรรมการเรียนร/ู้ แนวทางการเสริมแรงหรอื ช่วยเหลอื นักเรียน
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ชวั่ โมงที่ 1

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 สารละลาย
2. นาสารละลายน้าเชื่อมท่ีมีความเข้มข้นร้อยละ 12.5 โดยมวลต่อปริมาตรมาให้นักเรียนดู ซึ่งเตรียมได้จากน้าตาล

ทราย 12.5 กรัม ผสมกับน้ากล่ัน 50 มิลลิลิตร ปรับปริมาณสุดท้ายเป็น 100 มิลลิลิตร แล้วถามคาถาม Big
Question จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 กับนักเรียนว่า น้าเชื่อมเข้มข้นร้อยละ 12.5 โดยมวลต่อ
ปรมิ าตร หมายความวา่ อยา่ งไร
(แนวตอบ นา้ เช่อื มเข้มข้นรอ้ ยละ 12.5 โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่า ในน้าเช่ือม 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มี
น้าตาลทรายละลายอยู่ 12.5 กรมั )
3. นกั เรียนทา Understanding Check จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
ก่อนเรยี น
4. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า
สารละลายประกอบด้วยองคป์ ระกอบใดบา้ ง
(แนวตอบสารละลายประกอบด้วยตวั ทาละลายและตัวละลาย)

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นักเรียนศึกษาสารละลาย การพิจารณาตัวทาละลายและตัวละลายในสารละลายจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2

เล่ม 1
2. นาสารละลายน้าเช่ือมท่ีเตรียมไว้มาให้นักเรียนดู พร้อมนาสารละลายชนิดอื่น ๆ เช่น สารละลายเกลือแกง (โซเดียม

คลอไรด์) สารละลายโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์) สารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ (แอลกอฮอล์ล้างแผล)แล้วถาม
คาถามนักเรยี นว่า สารละลายที่เตรียมมาประกอบดว้ ยสารกชี่ นดิ อะไรบ้างสารแตล่ ะชนิดทาหนา้ ทใี่ ด
(แนวตอบสารละลายน้าเชื่อมประกอบด้วยน้าเป็นตัวทาละลายและน้าตาลทรายเป็นตัวละลายสารละลายเกลือแกง
ประกอบด้วยน้าเป็นตัวทาละลายและโซเดียมคลอไรด์เป็นตัวละลาย สารละลายโซดาไฟประกอบด้วยน้าเป็นตัวทา
ละลายและโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวละลาย สารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ประกอบด้วยเอทิลแอลกอฮอล์เป็นตัวทา
ละลายและน้าเปน็ ตวั ละลาย)
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ร่วมกันสืบค้นข้อมูล เรื่อง สารละลายในชีวิตประจาวันที่มีสถานะเป็นของแข็ง
ของเหลว และแก๊สระบุชนิดของตัวละลายและตวั ทาละลายในสารละลายลงในกระดาษ A4
4. อธิบายใหน้ กั เรยี นฟงั วา่ จากหน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 มกี ารแยกสารโดยวิธีการระเหยแห้ง ซ่ึงสามารถแยกสารละลายที่มี
ตวั ละลายเป็นของแขง็ และยังใชบ้ อกองค์ประกอบของสารในสารละลายวา่ มีตัวละลายเปน็ ของแข็งหรอื ของเหลว

อธิบายความรู้ (Explain)
1. จบั สลากเลือกกลุ่มนักเรียนอย่างน้อย 3 กลุ่ม นาเสนอสารละลายในชีวิตประจาวันที่มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว

และแก๊ส
2. ถามคาถามนักเรียนโดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- สารละลายคอื อะไร ประกอบด้วยองค์ประกอบใดบ้าง
(แนวตอบสารเนื้อเดียวท่ีประกอบด้วยธาตุ หรือสารประกอบ ต้ังแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน โดยมีธาตุหรือ
สารประกอบชนิดหนึ่งเปน็ ตวั ทาละลาย สว่ นอีกชนิดหน่งึ หรือมากกวา่ เป็นตวั ละลาย)
- การพจิ ารณาสารท่เี ป็นตัวทาละลายและตวั ละลายในสารละลายมีเกณฑอ์ ยา่ งไร
(แนวตอบถ้าตวั ทาละลายและตัวละลายอยูใ่ นสถานะเดยี วกัน สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็นตัวทาละลาย ส่วนสารที่
มีปรมิ าณน้อยกวา่ จะเปน็ ตวั ละลาย แตถ่ า้ ตวั ทาละลายและตวั ละลายอยูใ่ นสถานะต่างกัน เม่ือผสมกันแล้วสารละลาย
มสี ถานะเหมอื นกบั สารชนดิ ใด จะจัดว่าสารนัน้ เปน็ ตวั ทาละลาย ส่วนสารอกี ชนดิ เปน็ ตัวละลาย)

- กรดแอซตี ิกเขม้ ขน้ ร้อยละ 10 โดยมวลตอ่ ปรมิ าตร มสี ารชนิดใดเป็นตัวทาละลาย และสารชนดิ ใดเปน็ ตัวละลาย
(แนวตอบ กรดแอซีติกเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตรมนี ้าเปน็ ตวั ทาละลาย และกรดแอซตี ิกเป็นตัวละลาย)
- น้าในแอลกอฮอลล์ ้างแผลกับน้าในนา้ สม้ สายชูทาหน้าท่เี หมอื นกนั หรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบนา้ ในแอลกอฮอล์ล้างแผลทาหนา้ ทเ่ี ป็นตัวละลาย ส่วนน้าในน้าส้มสายชูทาหน้าที่เป็นตวั ทาละลาย)
- นักเรียนสามารถทดสอบสารละลายทีม่ ตี วั ละลายเป็นของแขง็ ในตวั ทาละลายท่ีเปน็ ของเหลวไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบใช้การระเหยแหง้ ซง่ึ สารท่ีมจี ุดเดอื ดตา่ กว่าจะระเหยกลายเป็นไอออกไป จงึ เหลือเฉพาะสารทีเ่ ป็นของแขง็ )
3. นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกบั สารละลายเพือ่ ให้ได้ข้อสรุป ดังนี้สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วย
สารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน โดยสารชนิดหน่ึงเป็นตัวทาละลาย ส่วนอีกชนิดหน่ึงหรือมากกว่าเป็นตัวละลาย
การพิจารณาตัวทาละลายและตัวละลายในสารละลายพิจารณาจากปริมาณ ถ้าตัวทาละลายและตัวละลายอยู่ใน
สถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็นตัวทาละลาย ส่วนสารท่ีมีปริมาณน้อยกว่าจะเป็นตัวละลาย และ
พิจารณาจากสถานะของสารท่ีเป็นองค์ประกอบ ถ้าตัวทาละลายและตัวละลายอยู่ในสถานะต่างกัน เม่ือผสมแล้ว
สารละลายมีสถานะเหมือนกับสารชนิดใด จะจัดว่าสารนั้นเป็นตัวทาละลาย ส่วนสารอีกชนิดเป็น ตัวละลายซึ่ง
สารละลายสามารถพบไดท้ ง้ั ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส๊

4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับหลักการระเหยแห้งเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี การระเหยแห้งถูกใช้ทดสอบ
สารละลายที่มีตัวทาละลายเป็นของเหลวและตัวละลายเป็นของแข็ง ซ่ึงเมื่อให้ความร้อนกับสารละลาย สารที่มีจุด
เดือดตา่ กว่าจะระเหยกลายเป็นไอออกไป จงึ เหลือเฉพาะสารทเี่ ป็นของแข็ง

5. นกั เรยี นทาใบงานท่ี 3.1 เรื่อง สารละลาย

ชว่ั โมงท่ี 2

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความร้จู ากชัว่ โมงที่แลว้ ให้นักเรยี นทราบว่า สารละลายเป็นสารเน้ือเดียวที่ประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนิดข้ึน

ไปมาผสมกัน โดยสารชนิดหนึ่งเป็นตัวทาละลาย ส่วนอีกชนิดหน่ึงหรือมากกว่าเป็นตัวละลายการพิจารณาตัวทา
ละลายและตัวละลายในสารละลายพิจารณาจากปริมาณหรือจากสถานะของสารที่เป็นองค์ประกอบ โดยสามารถใช้
การระเหยแห้งทดสอบตัวทาละลายทีเ่ ปน็ ของเหลวและตวั ละลายท่ีเปน็ ของแขง็ ได้
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม องค์ประกอบของสารละลาย เพ่ือตรวจสอบองค์ประกอบของ
สารละลายท่ีประกอบด้วยตัวทาละลายเป็นของเหลว และตัวละลายเป็นของแข็ง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2
เล่ม 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จบั สลากเลือกนกั เรียน 5 กลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรมองคป์ ระกอบของสารละลาย
2. ถามคาถามท้ายกิจกรรมกบั นักเรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี

- สิง่ ทเ่ี หลอื อยใู่ นจานหลุมโลหะแต่ละหลมุ เหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร
(แนวตอบเมื่อของเหลวระเหยไปจนหมดจะเหลือตะกอนในหลุมเพียง 2 หลุม ได้แก่ หลุมที่บรรจุสารละลายโซเดียม
คลอไรด์ และหลมุ ท่บี รรจุสารละลายนา้ ตาลกลูโคส เนื่องจากสารละลายทง้ั 2 ชนิด มขี องเหลวเปน็ ตวั ทาละลาย และ
มีของแข็งเป็นตัวละลาย ซึ่งเมื่อของเหลวระเหยไปจนหมดจะเหลือเฉพาะของแข็งในจานหลุม ส่วนหลุมท่ีบรรจุ
สารละลายกรดแอซีตกิ จะไมเ่ หลอื ตะกอน เนอ่ื งจากมตี ัวทาละลายและตัวละลายเป็นของเหลว จึงระเหยกลายเป็นไอ
จนหมด)
- ส่งิ ทเี่ หลอื อยู่ในจานหลมุ โลหะคือตวั ทาละลายหรอื ตัวละลาย เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบส่ิงท่ีเหลืออยู่ในจานหลุมโลหะคือตัวละลาย เน่ืองจากสารละลายเกิดจากสารท่ีมีสถานะเป็นของเหลวและ
ของแข็งผสมกัน แต่สารละลายที่ได้เป็นของเหลว ดังน้ัน สารท่ีมีสถานะของเหลวจึงเป็นตัวทาละลาย ส่วนสารที่มี
สถานะของแขง็ เปน็ ตัวละลาย)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายกิจกรรม องค์ประกอบของสารละลายเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ เมื่อของเหลวในหลุม
ระเหยไปจนหมด จะเหลือตะกอนในหลุมเพียง 2 หลุม ได้แก่ หลุมท่ีบรรจุสารละลายโซเดียม- คลอไรด์ และ
สารละลายน้าตาลกลูโคส แสดงว่า สารละลายทั้ง 2 ชนิด มีของเหลวเป็นตัวทาละลาย และมีของแข็งเป็นตัวละลาย
ส่วนหลุมที่บรรจุสารละลายกรดแอซีติกจะไม่เหลือตะกอน แสดงว่า สารละลายกรดแอซีติกมีตัวทาละลายและตัว
ละลายเป็นของเหลว

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. นักเรียนแต่ละคนสารวจสารละลายท่ีพบในชวี ิตประจาวนั อยา่ งน้อย 10 ชนดิ พรอ้ มระบุตัวทาละลายและตัวละลาย

ของสารละลายแตล่ ะชนดิ
2. นกั เรยี นทา Topic Question ท้ายหวั ขอ้ เรอื่ ง สารละลาย
3. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรุปเก่ยี วกับสารละลาย และการพิจารณาตวั ทาละลายและตัวละลายในสารละลาย โดยเตรยี ม

สารละลายหรือภาพสารละลายต่าง ๆ แล้วให้นักเรียนระบตุ วั ทาละลายและตวั ละลายในสารละลาย
2. ตรวจสอบผลจากแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 สารละลาย
3. ประเมินผลจากการสารวจสารละลายทพ่ี บในชีวติ ประจาวัน
4. ตรวจสอบผลจากการระบตุ วั ทาละลายและตัวละลายในสารละลาย
5. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 3.1 เรื่อง สารละลาย
6. ประเมินผลจากการทากจิ กรรม องคป์ ระกอบของสารละลาย
7. ตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม Topic Question ทา้ ยหัวขอ้ เรอ่ื ง สารละลาย
8. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3สารละลาย
2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3สารละลาย
3) แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 สารละลาย
3) ใบงานที่ 3.1 สารละลาย
4) PowerPoint เร่ือง สารละลาย
5) ภาพยนตรส์ ารคดีสนั้ Twig
6) QR Codeเรอ่ื ง การระเหยแห้ง

แหลง่ การเรยี นรู้
1) ห้องเรียน
2) หอ้ งสมุด
3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

7. บนั ทึกผลหลังแผนการจดั การเรยี นรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)
ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น เรื่อง ...................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)
ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบวา่ นกั เรียนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบว่านกั เรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น เรอ่ื ง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบวา่ นักเรยี นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รอ้ ยละ................อย่ใู นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ................และพบวา่ นกั เรยี น
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชือ่ มโยงกับมาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบว่านกั เรยี นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดบั ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดบั ...............และพบวา่ นกั เรียน.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรปุ ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ …………………………..
1) นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนอย่ใู นระดบั ...................
2) นักเรยี นมที กั ษะในระดับ..................
3) นักเรยี นมีคุณลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรบั เปลีย่ นแผนการจัดการเรียนรู้ (ถา้ ม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อ่ืนๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/ส่งิ ท่ีพัฒนา / แนวทางแก้ปัญหา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/สิง่ ท่ีพฒั นา สาเหตุของปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วิธแี ก้ไข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พฒั นา
ส่งิ ทพ่ี ัฒนา พัฒนา

ลงชื่อ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนนิ การ

ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผ้อู านวยการกลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงช่ือ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผูอ้ านวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบรุ ี

8. ความคิดเห็น (ผ้บู ริหาร / หรอื ผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง.................................................แล้วมคี วามเหน็ ดงั น้ี
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทีย่ งั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
8.3 เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้


Click to View FlipBook Version