The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sujittra1579, 2022-05-17 01:14:43

แผนม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

(แนวตอบ เนอื่ งจากโปรตีนเป็นสารท่ีไม่ผ่านการกรองของหน่วยไต ส่วนกลูโคสเป็นสารท่ีมีประโยชน์จึงถูกดูดกลับเข้า
ส่เู ลือด)
- ไตมีสว่ นชว่ ยในการรกั ษาดลุ ยภาพของนา้ ในรา่ งกายอย่างไร
(แนวตอบ หน่วยไตสามารถดูดน้ากลับเข้าสู่เลือดได้ ซ่ึงหากร่างกายขาดน้า หน่วยไตจะดูดน้ากลับมากขึ้น ทาให้
ปัสสาวะออกมานอ้ ย แตเ่ ขม้ ขน้ ในทางตรงกนั ขา้ ม หากร่างกายไดร้ บั น้ามากเกนิ ไป หน่วยไตจะดูดน้ากลับน้อย ทาให้
ปัสสาวะออกมามาก แตเ่ จือจาง ดงั นั้น ไตจึงมีส่วนช่วยในการรกั ษาดลุ ยภาพของนา้ ในร่างกาย)
- การตรวจปัสสาวะบ่งบอกความผดิ ปกตขิ องไตได้อยา่ งไร
(แนวตอบ เนอื่ งจากภายในไตมีหนว่ ยไตทาหนา้ ท่กี รองของเสียและสารตา่ ง ๆ และดูดสารบางชนิดกลับ เขา้ สูเ่ ลอื ด ซงึ่
สารบางชนิดที่ไม่ผ่านการกรอง เช่น โปรตีน เซลล์เม็ดเลือด หรือสารบางชนิดที่ถูกดูดกลับ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน
ไมค่ วรพบปนออกมาพร้อมกับน้าปัสสาวะ ซ่ึงหากพบสารเหล่านีใ้ นน้าปัสสาวะอาจบง่ บอกถึงการทางานท่ีผิดปกติของ
หนว่ ยไตได้)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปริมาณสารต่างๆ ท่ีพบในน้าเลือดและในน้าปัสสาวะเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี
สารที่พบในน้าเลือดและในน้าปัสสาวะมีสัดส่วนที่แตกต่างกัน เช่น ในน้าเลือดพบโปรตีนและกลูโคส แต่ไม่พบในน้า
ปัสสาวะเนื่องจากโปรตีนไมผ่ ่านการกรองของหน่วยไต ส่วนกลูโคสถกู หน่วยไตดดู กลับเขา้ ส่หู ลอดเลอื ดฝอยอีกคร้งั จึง
ไมพ่ บสารเหล่านใี้ นนา้ ปัสสาวะ
4. นักเรียนทาใบงานท่ี 1.2 เรื่อง ระบบขบั ถ่าย

ชัว่ โมงท่ี 4

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชั่วโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า ไตเป็นอวัยวะสาคัญของระบบขับถ่ายหากไตทางาน

บกพรอ่ งอาจกอ่ ให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมา
2. นักเรยี นศึกษาโรคไตวายและโรคน่ิวและการดแู ลรักษาอวยั วะในระบบขับถ่ายจากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2

เล่ม 1
อธิบายความรู้ (Explain)
1. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามดงั ตอ่ ไปนี้

- หากหนว่ ยไตทางานบกพรอ่ งจะเกิดผลเสยี ต่อรา่ งกายอยา่ งไร
(แนวตอบ หากหน่วยไตทางานบกพร่องจะทาให้ไม่สามารถกรองของเสียออกจากเลือดและขับออกทางปัสสาวะได้
รวมท้ังไมส่ ามารถดดู สารทม่ี ปี ระโยชน์กลบั เข้าสรู่ า่ งกายได้ จึงพบสารเหลา่ น้ีปนออกมาพรอ้ มกับน้าปัสสาวะ)
- โรคไตวายและโรคน่ิวเกิดจากสาเหตุใด และมวี ิธกี ารรกั ษาอย่างไร
(แนวตอบ โรคไตวายเกิดจากไตทั้ง 2 ขา้ ง ไม่สามารถทาหนา้ ทก่ี รองของเสียออกจากเลอื ดได้ ทาให้ไม่สามารถขับของ
เสียออกทางน้าปัสสาวะได้ ซงึ่ สามารถรกั ษาได้โดยการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม หรือการปลูกถ่ายไต ส่วนโรคน่ิว
เกดิ จากการจับตัวของแร่ธาตุและตกตะกอนเป็นก้อนน่ิวบริเวณไต ท่อไต และกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งมีสาเหตุจากการ
สญู เสียเหงอ่ื มากและดื่มน้านอ้ ย หรือการรับประทานอาหารทีม่ สี ารออกซาเลตสูง สามารถรักษาได้โดยการใช้ยา การ
ผา่ ตดั หรือการสลายน่ิวโดยใชค้ ลื่นเสยี งความถส่ี ูง)
- นักเรียนสามารถดแู ลรักษาอวยั วะในระบบขับถ่ายไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ เลือกรับประทานอาหาร โดยหลีกเล่ียงอาหารที่มีรสเค็มจัด รสเผ็ดจัด และมีโปรตีนสูง ด่ืมน้าสะอาดอย่าง
เพียงพอเพ่ือให้ไตไม่ทางานหนักเกินไป งดสูบบุหรี่และงดดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการใช้ยาหรืออาหาร
เสรมิ ที่มผี ลต่อไต และออกกาลงั กายอยา่ งสมา่ เสมอ)
- การดืม่ น้าสะอาดอย่างเพยี งพอมสี ว่ นชว่ ยในการทางานของไตอยา่ งไร

(แนวตอบการด่ืมน้าสะอาดอย่างเพียงพอทาให้ไตไม่ต้องกรองน้าเลือดที่มีความเข้มข้นสูง ซึ่งทาให้ไตไม่ต้องทางาน
หนกั เกนิ ไป ซ่งึ แพทย์แนะนาให้ดม่ื น้าสะอาดวันละ 2 ลติ ร)
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับโรคที่เกี่ยวกับไตเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ โรคไตวายเกิดจากการสูญเสียการ
ทางานของไต จึงไม่สามารถกรองของเสียออกจากเลือดได้ สามารถรักษาได้โดยการปลูกถ่ายไต หรือการฟอกเลือด
ดว้ ยเครอ่ื งไตเทียม โรคน่วิ เกิดจากการจบั ตัวและตกตะกอนของแร่ธาตเุ ป็นก้อนนว่ิ บริเวณไต ทอ่ ไต กระเพาะปัสสาวะ
สามารถรักษาโดยการใช้ยา ผ่าตัด หรือคล่ืนเสียงความถี่สูง จึงควรดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย โดยการเลือก
รบั ประทานอาหาร หลกี เลย่ี งอาหารรสเคม็ จัด เผ็ดจัด และมโี ปรตนี สงู ดื่มน้าสะอาดอย่างเพียงพอ ประมาณวันละ 2
ลิตร หลกี เล่ยี งการใชย้ าหรืออาหารเสริมทม่ี ผี ลต่อไต

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน สืบค้นข้อมูล เร่ือง ไตเทียม แล้วทาเป็นรายงานส่งครูผู้สอน โดยเน้ือหาต้องระบุ

หลกั การทางานของเครอื่ งไตเทยี ม และข้อด/ี ขอ้ เสยี ของการรักษาโรคดว้ ยเครอื่ งไตเทยี มและนาเสนอหน้าชัน้ เรยี น
2. นกั เรียนทา Topic Question ทา้ ยหวั ข้อ เรอื่ ง ระบบขบั ถา่ ย จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
3. นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ข้ันสรปุ

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ เรอ่ื ง ระบบหายใจ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี

- ความสาคัญของระบบขับถา่ ย
- โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของอวัยวะในระบบขบั ถา่ ย
- การทางานของระบบขบั ถา่ ย
- การดแู ลรกั ษาระบบขบั ถ่าย
นักเรยี นสรุปในรูปผังมโนทัศน์ลงกระดาษ A4 สง่ ครผู ู้สอน
2. ตรวจสอบผลจากรายงานกลุ่ม เรอื่ ง ไตเทียม
3. ตรวจผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง ระบบขบั ถ่าย
4. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง ระบบขบั ถา่ ย
5. ตรวจสอบผลจากการทาTopic Question ท้ายหวั ข้อ เรอ่ื ง ระบบขับถา่ ย
6. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

4. สื่อการสอน / แหล่งเรยี นรู้

4.1 สอื่ การเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1ระบบร่างกายมนุษย์
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1ระบบรา่ งกายมนษุ ย์
3) ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง ระบบขับถ่าย
4) PowerPoint เรื่อง ระบบขับถ่าย
5) ภาพยนตร์สารคดสี ัน้ Twig
6) QR Codeเรอ่ื ง การกาจัดของเสยี ของหนว่ ยไต

4.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) หอ้ งสมุด
3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

7. บนั ทกึ ผลหลังแผนการจัดการเรยี นรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางท่ี 1 แสดงค่ารอ้ ยละระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรือ่ ง ...................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนักเรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นักเรยี นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดบั ...............และพบวา่ นักเรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เรอ่ื ง ..................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนักเรียน รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบว่านักเรยี นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบวา่ นักเรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่ือมโยงกบั มาตรฐานหลักสตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เร่ือง ............................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบวา่ นักเรียนคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ร้อยละ..............อยใู่ นระดบั ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบวา่ นักเรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรปุ ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี …………………………..
1) นกั เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยู่ในระดบั ...................
2) นักเรียนมที กั ษะในระดับ..................
3) นกั เรยี นมีคุณลักษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรบั เปลี่ยนแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้าม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ ค้นพบดา้ นพฤติกรรมการจัดการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อนื่ ๆ...................................................................................................................................................

ปัญหา/สิง่ ท่พี ัฒนา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพฒั นา

ปญั หา/สิ่งทพี่ ฒั นา สาเหตุของปัญหา/ แนวทางแกไ้ ข/ วิธแี กไ้ ข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พฒั นา
สงิ่ ท่ีพัฒนา พฒั นา

ลงช่อื ............................................. ผ้สู อน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงช่ือ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้

ลงชอ่ื ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารงานวชิ าการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบุรี

8. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรอื ผ้ทู ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ อง.................................................แล้วมคี วามเหน็ ดังนี้
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี
ดมี าก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้
ที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ ใชก้ ระบวนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
ทย่ี ังไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาตอ่ ไป
8.3 เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี
นาไปใชส้ อนได้
ควรปรับปรงุ ก่อนนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความคิดเห็นของรองผ้อู านวยการฝุายวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
ความคดิ เหน็ ของผอู้ านวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
( นายวรี ะ แกว้ กลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3

เรื่อง ระบบหมนุ เวียนเลือด เวลา 7 ช่ัวโมง ระดับชั้นมัธยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรยี นรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรียนรู้และ ส่ิงทต่ี อ้ งร้แู ละปฏบิ ัตไิ ด้ ผลงาน / ชน้ิ งาน การวัดผลและการ

ตวั ชี้วดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/6 ม.2/7 1. ความสามารถในการ การประเมินชิน้ งาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/8 ม.2/9 สอ่ื สาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมนิ การปฏบิ ัติการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบหมุนเวยี นเลือดได้ (K)
2. อธบิ ายการหมุนเวียนเลือดผา่ นหวั ใจได้ (K)
3. เปรยี บเทยี บความแตกต่างของหลอดเลือดอาร์เตอรี หลอดเลอื ดเวน และหลอดเลอื ดฝอยได้ (K)
4. เปรียบเทยี บความแตกต่างของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง เซลล์เม็ดเลอื ดขาว และเพลตเลตได้ (K)
5. เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งวคั ซนี กบั เซรุ่มได้ (K)

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. นบั ชพี จรบริเวณข้อมอื (P)
2. จาลองการทางานของหัวใจ (P)
3. วดั อัตราการเตน้ ของหวั ใจ (P)
4. สรา้ งแบบจาลองการหมุนเวียนเลือดผา่ นหวั ใจ (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1. ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของระบบหมุนเวยี นเลือดและการดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวียนเลอื ด (A)
2. สนใจใฝรุ ใู้ นการศกึ ษา (A)

3. หลักฐานการเรยี นรู้ช้นิ งานหรือภาระงาน (Work)
การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏบิ ตั ิการ/แบบทดสอบ

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สิ่งท่ีวัดผล วธิ ีวดั ผล เครอ่ื งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ
- ประเมินการนาเสนอ
ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบก่อนเรียน - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ - ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ
กรรมเป็รายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรมการ
หรอื เป็นกล่มุ ทางานรายบุคคล -ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการนาเสนอ
ทางานกลุ่ม ผลงาน

- สังเกตความมีวนิ ัย ใฝุ - ประเมินการปฏิบัตกิ าร

เรียนรู้ และมงุ่ มั่นในการ

ทางาน

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สงั เกตพฤตกิ รรมการ
ในการทางานเปน็ ทางานรายบุคคล
รายบุคคลและเป็น - สงั เกตพฤติกรรมการ
กลุม่ ในดา้ นการ ทางานกลมุ่
สอื่ สารการคดิ การ - สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝุ
แก้ปญั หา
เรยี นรู้ และม่งุ มน่ั ในการ

ทางาน

เจตคติ/คุณลักษณะ (A) -ประเมินพฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรมการ
ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล
รายบคุ คลในดา้ น - สังเกตพฤติกรรมการ
ความมีวนิ ัย ความใฝุ ทางานกลุ่ม
เรยี นรู้

สมรถนะของผูเ้ รียน (C)

5. กระบวนการการจัดกจิ กรรม / รปู แบบการจัดกจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้/แนวทางการเสรมิ แรงหรอื ชว่ ยเหลือนักเรยี น
6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ชั่วโมงท่ี 1

ขน้ั นา

กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนทา Understanding Check ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียน

ของตนเอง
2. ถามคาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนว่า แก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากการแลกเปลี่ยนแก๊สถูกลาเลียงไป

ยังส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายได้อยา่ งไร
(แนวตอบ แก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ถูกลาเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยผ่านระบบ
หมุนเวียนเลือด)

3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า
มนุษย์มหี วั ใจทงั้ หมดก่หี ้อง
(แนวตอบ มนุษยม์ ีหัวใจ 4 หอ้ ง แบง่ ออกเป็นห้องบน 2 ห้อง และห้องลา่ ง 2 หอ้ ง)

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกริน่ ใหน้ กั เรียนฟงั ว่าระบบหมุนเวยี นเลอื ดเป็นระบบขนส่งสารต่าง ๆ เช่น สารอาหาร แก๊ส ของเสียไปยังส่วนต่าง ๆ

ของร่างกาย รวมทั้งควบคุมอุณหภูมิและปริมาณสารต่าง ๆ ในร่างกาย โดยระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจ
หลอดเลือด และเลือด
2. นาหัวใจของสัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยน้านม เช่น หมูวัว มาผา่ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการสอนเรอื่ ง หวั ใจ
3. นักเรยี นศึกษาหวั ใจ ซึง่ ประกอบด้วยหัวใจหอ้ งบน 2 หอ้ ง และหอ้ งลา่ ง 2 หอ้ ง โดยใช้แบบจาลองหวั ใจ หรอื ภาพจาก
หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1หรือใชว้ วดี ิทศั นจ์ ากสื่อออนไลน์ เรอื่ ง หัวใจเช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=fOMuh8d3n7w
อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จบั สลากหมายเลขของนักเรยี น 4คนอธิบายโครงสร้างและหน้าท่ขี องหัวใจแต่ละหอ้ ง
2. ถามคาถามนักเรยี น โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- หวั ใจหอ้ งบนและห้องล่างมีขนาดแตกต่างกันอย่างไรเพราะเหตุใดจงึ เปน็ เช่นนัน้
(แนวตอบหัวใจห้องบนมีขนาดเล็กและผนังบางกว่าหัวใจห้องล่าง เน่ืองจากหัวใจห้องล่างทาหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย (หัวใจห้องล่างขวาสูบฉีดเลือดไปปอดและหัวใจห้องล่างซ้ายสูบฉีดเลือดไปส่วนต่าง ๆ ของ
รา่ งกาย) จงึ ตอ้ งมผี นังหนาเพือ่ ใหส้ บู ฉดี เลือดไปยงั บริเวณต่าง ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ)
- หัวใจแตล่ ะห้องทาหนา้ ทเ่ี หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร
(แนวตอบหัวใจห้องบนขวาทาหน้าท่ีรับเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนต่าจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หัวใจห้องล่างขวาทา
หนา้ ท่ีสง่ เลอื ดท่ีมีแก๊สออกซิเจนต่าไปแลกเปล่ียนแก๊สที่ปอด หัวใจห้องบนซ้ายทาหน้าที่รับเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูง
จากปอด หวั ใจหอ้ งลา่ งซ้ายทาหนา้ ท่สี ่งเลอื ดท่มี ีแก๊สออกซเิ จนสงู ไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทว่ั รา่ งกาย)
- ลิน้ หัวใจทีก่ ั้นระหวา่ งห้องลา่ งกับห้องบนทาหน้าทใ่ี ด
(แนวตอบล้ินหัวใจทาหนา้ ทก่ี ้ันหวั ใจห้องบนกับหอ้ งลา่ งเพ่ือป้องกนั การไหลย้อนกลบั ของเลือด)
4. นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภิปรายเก่ียวกับหวั ใจเพือ่ ให้ไดข้ อ้ สรปุ ดงั นี้ หวั ใจของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ยหอ้ งบน 2 ห้อง

หอ้ งล่าง 2 หอ้ ง ซ่งึ หัวใจห้องบนมีขนาดเลก็ และผนังบางกวา่ ห้องล่าง และระหว่างหัวใจห้องบนกับหัวใจห้องล่าง
มลี ้นิ หวั ใจก้นั ปอู งกนั การไหลย้อนกลบั ของเลอื ด
5.

ช่วั โมงที่ 2

1ข.น้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชวั่ โมงทีแ่ ล้วให้นกั เรยี นทราบพอสังเขปว่า หัวใจประกอบด้วยหอ้ งบน 2 ห้อง และหอ้ งล่าง 2 ห้อง

ซึ่งมลี ้ินหัวใจก้ันระหวา่ งหวั ใจหอ้ งบนและห้องล่าง
2. เกริ่นให้นักเรียนฟังว่า การศึกษาหัวใจของสัตว์เม่ือช่ัวโมงท่ีแล้ว นักเรียนสังเกตเห็นว่ามีหลอดเลือดที่ต่อจากหัวใจ

จานวนมาก หลอดเลือดที่ตอ่ จากหวั ใจประกอบด้วยหลอดเลอื ดอารเ์ ตอรีและหลอดเลอื ดเวนเปน็ หลัก
3. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน รว่ มกนั ศึกษาหลอดเลือดทงั้ 3 ชนดิ ได้แก่ หลอดเลอื ดอารเ์ ตอรี หลอดเลอื ดเวน

และหลอดเลอื ดฝอย รวมท้งั เปรยี บเทียบความแตกต่างของหลอดเลอื ดแตล่ ะชนิด จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์
ม.2 เล่ม 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลอื กกลุ่มนกั เรียน 5 กลุ่ม นาเสนอผลการศึกษาเกย่ี วกับหลอดเลอื ด
2. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใช้คาถามต่อไปน้ี

- หลอดเลอื ดท้งั 3 ชนิด มีลักษณะเหมอื นหรือแตกต่างกันอยา่ งไร
(แนวตอบหลอดเลือดท้งั 3 ชนิด มีลักษณะแตกต่างกัน หลอดเลือดอาร์เตอรีมีผนังหนาและมีความยืดหยุ่นสูง หลอด
เลือดเวนมีผนังบางกว่าและมีลิ้นภายในหลอดเลือด ส่วนหลอดเลือดฝอยมีขนาดเล็กและมีผนังบางมากประกอบด้วย
เซลล์เพยี งชั้นเดียว)
-เพราะเหตุใดหลอดเลอื ดเวนจงึ ตอ้ งมีลิน้ ภายในหลอดเลือด แตห่ ลอดเลือดอารเ์ ตอรีไมม่ ีลนิ้
(แนวตอบเน่ืองจากความดันเลือดเลือดในหลอดเลือดเวนต่า จึงต้องมีลิ้นก้ันเป็นระยะเพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับ
ของเลอื ด)
- หลอดเลอื ดเวนทลี่ าเลียงเลอื ดจากปอดกลบั เขา้ สู่หวั ใจแตกต่างจากหลอดเลือดเวนทัว่ ไปอยา่ งไร
(แนวตอบหลอดเลอื ดเวนทั่วไปลาเลยี งเลอื ดทีม่ แี กส๊ ออกซเิ จนตา่ จากสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายกลบั เข้าสหู่ วั ใจ แต่หลอด
เลอื ดเวนทีล่ าเลยี งเลือดจากปอดกลบั เขา้ สหู่ วั ใจมแี ก๊สออกซเิ จนสงู )
- หลอดเลือดอารเ์ ตอรีทล่ี าเลยี งเลือดจากหวั ใจไปส่ปู อดแตกต่างจากหลอดเลือดอารเ์ ตอรที ว่ั ไปอย่างไร
(แนวตอบหลอดเลือดอาร์เตอรีท่ัวไปลาเลียงเลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูงจากหัวใจไปยังส่วนต่าง ๆ แต่หลอดเลือดอาร์
เตอรีทล่ี าเลยี งเลอื ดจากหัวใจไปส่ปู อดเปน็ หลอดเลือดทล่ี าเลียงเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนตา่ จากหัวใจไปฟอกท่ปี อด)
- ทิศทางการไหลของเลอื ดในหลอดเลอื ดอารเ์ ตอรีและหลอดเลอื ดเวนเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร
(แนวตอบทิศทางการไหลของเลือดในหลอดเลือดอาร์เตอรีและหลอดเลือดเวนแตกต่างกัน โดยการไหลของเลือดใน
หลอดเลือดอารเ์ ตอรมี ที ศิ ออกจากหัวใจ สว่ นการไหลของเลอื ดในหลอดเลอื ดเวนมที ศิ เขา้ สูห่ วั ใจ)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับหลอดเลือดทั้ง 3 ชนิดเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ หลอดเลือดอาร์เตอรีทาหน้าท่ี
ลาเลียงเลือดออกจากหัวใจ มีความหนาและยืดหยุ่น มีแรงดันเลือดคงที่ หลอดเลือดเวนทาหน้าท่ีลาเลียงเลือดกลับ
เข้าสู่หัวใจ มีผนังบางกว่าและความดันเลือดต่ากว่าหลอดเลือดอาร์เตอรี และมีล้ินกั้นภายในหลอดเลือด และหลอด
เลอื ดฝอยทาหน้าที่แลกเปล่ียนแก๊ส ซึ่งผนงั ของหลอดเลอื ดมเี ซลลเ์ พียงช้ันเดียว
4. นกั เรยี นทาใบงานท่ี 1.3 เร่ือง หวั ใจและหลอดเลอื ด

ช่วั โมงท่ี 3

2ข.น้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ทากิจกรรม แบบจาลองการทางานของหัวใจเพื่อศึกษาการหมุนเวียน-เลือดผ่าน

หวั ใจและจาลองการทางานของหวั ใจ จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลือกกล่มุ นกั เรยี นอยา่ งน้อย 5 กล่มุ นาเสนอผลการทากิจกรรมแบบจาลองการทางานของหวั ใจ
2. ครูถามคาถามทา้ ยกจิ กรรมกบั นักเรียน โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- เมือ่ คลายมือจากลูกบีบ ส่งิ ใดทาให้น้าสแี ดงในท่อไม่ไหลกลับไปตามทอ่ เดิม
(แนวตอบการบีบและปลอ่ ยลูกบีบออกจะทาใหน้ า้ ถกู ดดู ขน้ึ มาในทอ่ )
- น้าสไี หลเข้าสทู่ อ่ ปม๊ั ในเสน้ ทางใด
(แนวตอบภาพจากคู่มอื ครูวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนา้ T29)
- นักเรยี นสามารถอธิบายหลักการทางานของแบบจาลองการทางานของหัวใจมีการทางานอย่างไร

(แนวตอบเมือ่ ใชมือขวาบีบลูกบบี เปรียบเสมอื นการบบี ตัวหวั ใจเพ่ือนาเลอื ดจากสวนตางๆ ของรางกายเข้าสูหัวใจหอง
บนขวาและผ่านไปยังหองลางขวาเพื่อส่งเลือดไปยังปอด โดยมีลิ้นกัน้ ระหวางหัวใจทั้งสองห้อง เมื่อบีบลูกบีบที่มือซาย
เปรียบเสมือนการบีบตัวของหัวใจและนาเลือดจากปอดกลับเขาสูหัวใจหองบนซายและผานไปยังหัวใจหองลางซาย
เพื่อสง่ เลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย)
- แบบจาลองการทางานของหวั ใจมสี ง่ิ ทีเ่ หมือนและส่งิ ท่แี ตกตา่ งจากการทางานของหัวใจมนษุ ยอ์ ยา่ งไร
(แนวตอบแบบจาลองมีส่งิ ทเี่ หมือนกับการทางานของหวั ใจมนษุ ย ได้แก่ หวั ใจมี 4 หองคลายกบั หัวใจมนษุ ย์ มีลิ้นปด-
เปดเพื่อปองกันการไหลยอนกลับของน้าคลายกับการทางานของล้ินหัวใจ ซึ่งของเหลวจะมีปริมาณเทาเดิมและจะ
หมุนเวยี นอยใู นระบบไมตองเติมของเหลวจากภายนอก)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม แบบจาลองการทางานของหัวใจเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ีแบบจาลองการ
ทางานของหัวใจมกี ารทางานคล้ายคลึงกับหัวใจของมนุษย์ ขณะบีบลูกบีบด้านขวาเปรียบเสมือนการบีบตัวของหัวใจ
เพอ่ื นาเลือดจากส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายเขา้ สหู่ ัวใจหอ้ งบนขวาและห้องล่างขวาตามลาดับ เพื่อส่งไปยังปอด โดยมีล้ิน
ก้ันระหว่างหัวใจทั้งสองห้อง และในขณะบีบลูกบีบด้านซ้ายเปรียบเสมือนการบีบตัวของหัวใจเพ่ือนาเลือดจากปอด
กลับเข้าส่หู ัวใจหอ้ งบนซา้ ยและล่างซา้ ยตามลาดบั เพ่ือลาเลียงไปยงั อวัยวะตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย

ชัว่ โมงที่ 4

3ข.น้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า หัวใจทาหน้าที่สูบฉีดเลือดเพื่อลาเลียงเลือดผ่านหลอด

เลือดไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายซ่ึงหลอดเลือดแต่ละประเภททาหน้าท่ีแตกต่างกัน หลอดเลือดอาร์เตอรีลาเลียง
เลือดท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูงจากหัวใจไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย (ยกเว้นหลอดเลือดอาร์เตอรีท่ีลาเลียงเลือดจา ก
หัวใจไปยังปอด) หลอดเลือดเวนลาเลียงเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่าจากอวัยวะต่าง ๆ กลับเข้าสู่หัวใจ (ยกเว้นหลอด
เลอื ดเวนทลี่ าเลยี งเลอื ดจากปอดกลบั เขา้ สูห่ วั ใจ) และหลอดเลอื ดฝอยทาหนา้ ท่แี ลกเปลยี่ นแก๊ส
2. นาสไลดถ์ าวรของเซลลเ์ มด็ เลือดของมนษุ ย์มาส่องภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์เพื่อใชป้ ระกอบการสอน เชน่

3. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า เลือดประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ีเป็นของเหลว และส่วนท่ีเป็นเซลล์เม็ดเลือด ซึ่ง
ประกอบดว้ ยเซลล์เมด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว และเพลตเลต

4. นักเรียนศึกษาส่วนประกอบของเลือดจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1หรือใช้วีดิทัศน์จากสื่อออนไลน์ เร่ือง
เลือด เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=co6iuDpaQTM

5. อธิบายให้นักเรียนฟังว่า เน่ืองจากเซลล์เม็ดเลือดขาวสามารถสร้างแอนติบอดี ซ่ึงแอนติบอดีสามารถทาลายเชื้อโรค
และสิ่งแปลกปลอมท่ีเข้าสู่รา่ งกาย จึงมกี ารนาแอนติบอดีทีส่ รา้ งข้นึ มาผลติ วัคซีนหรอื เซรมุ่

6. นักเรียนจับคู่ศึกษาเก่ียวกับวัคซีนและรุ่ม และเปรียบเทียบความแตกต่างของวัคซีนและเซรุ่มจากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จบั สลากหมายเลขของนักเรียนออกมาอธิบายลักษณะและหน้าท่ีของส่วนประกอบต่าง ๆ ของเลือด ซึ่งประกอบด้วย

นา้ เลือดและเซลล์เมด็ เลือด (เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว และเพลตเลต)
2. จับสลากหมายเลขนกั เรียน 3 คู่ เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของวัคซีนกบั เซรุ่ม
3. ถามคาถามนักเรียน โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- เลือดแบ่งออกเป็นกี่สว่ น อะไรบา้ ง
(แนวตอบเลือดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนของน้าเลือดหรือพลาสมาประกอบด้วยน้า สารอาหาร เอนไซม์
ฮอร์โมน แก๊ส และของเสียต่าง ๆ และส่วนที่เป็นเซลล์เม็ดเลือดประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือด ขาว
และเพลตเลต)
- ลักษณะของเซลล์เม็ดเลือดแดงเหมาะสมกบั การทาหนา้ ทอ่ี ย่างไร
(แนวตอบเซลล์เม็ดเลือดแดงมีลักษณะกลมแบน ตรงกลางบุ๋ม และไม่มีนิวเคลียส ซ่ึงช่วยเพิ่มพ้ืนที่ผิวในการรับ-ส่ง
แกส๊ ออกซเิ จนไปยงั เซลลต์ ่าง ๆ)
- เซลล์เม็ดเลอื ดขาวทาลายเชื้อโรคและส่งิ แปลกปลอมไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ เซลล์เม็ดเลือดขาวทาลายเชื้อโรคโดยการสร้างแอนติบอดีเข้าทาลายเช้ือโรคที่เข้าสู่ร่างกาย หรือกลืนกิน
เชื้อโรคทเ่ี ข้าส่รู า่ งกายแล้วยอ่ ยสลายดว้ ยไลโซโซมภายในเซลล์)
- หากรา่ งกายไมม่ เี พลตเลตจะส่งผลอย่างไรเม่อื เกิดบาดแผล
(แนวตอบเพลตเลตทาหน้าท่ีช่วยในการแข็งตัวของเลือด ซึ่งหากร่างกายไม่มีเพลตเลตจะทาให้เลือดไหลไม่หยุดเมื่อ
เกดิ บาดแผล ซ่งึ อาจทาให้ร่างกายสูญเสยี เลือดมากจนอาจเสียชีวิตได้)
-วคั ซีนกบั เซรุม่ แตกต่างกนั อย่างไร
(แนวตอบ วัคซีนเปน็ เชอ้ื โรคทต่ี ายแล้วหรอื อ่อนฤทธล์ิ งจนไมก่ ่อโรคที่ถูกนามาฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อให้สร้างแอนติบอดี
ซึ่งมักฉีดให้ก่อนการเกิดโรค และมีระยะเวลาในการออกฤทธ์ินาน ส่วนเซรุ่มเป็นแอนติบอดีที่สร้างข้ึนจากสัตว์ โดย
การฉีดเช้ือโรคที่อ่อนกาลังให้กับสัตว์เพ่ือให้สัตว์สร้างแอนติบอดีขึ้นมา แล้วจึงนาแอนติบอดีของสัตว์มาฉีดเข้าสู่
ร่างกาย ซ่ึงมกั จะฉดี ให้หลงั เกิดโรค และมีระยะเวลาในการออกฤทธสิ์ น้ั )
4. ถามคาถามท้าทายการคดิ ขั้นสงู (H.O.T.S.) จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 กบั นกั เรียนวา่ หากนกั เรียนถูก
งูเห่ากัด แพทย์จะฉีดวัคซีนหรือเซร่มุ ให้กับนักเรียน เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบฉีดเซรุ่ม เนื่องจากเป็นการฉีดให้หลังจากได้รับพิษจากงู ซึ่งเซรุ่มเป็นแอนติบอดีจากสัตว์ที่ได้รับการฉีดเชื้อ
โรคทอี่ ่อนฤทธิ์ โดยเซรมุ่ จะมีระยะเวลาในการออกฤทธิ์ช่วงสน้ั ๆ)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเลือดเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี เลือดประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ น้าเลือดทา
หน้าที่ลาเลียงสารไปสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย ประกอบดว้ ยน้า สารอาหาร เอนไซม์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และของ
เสียต่าง ๆ และเซลล์เม็ดเลือดประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดงทาหน้าท่ีขนส่งแก๊สออกซิเจน เซลล์เม็ดเลือดขาวทา
หน้าท่ีทาลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย ซึ่งจากคุณสมบัติของเซลล์เม็ดเลือดขาวจึงนามาผลิตวัคซีน
และเซรุ่ม และเพลตเลตทาหน้าทชี่ ว่ ยการแขง็ ตัวของเลอื ด
6. นักเรียนและครรู ว่ มกนั เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของวัคซีนกับเซรุ่ม เพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ วัคซีนเป็นการฉีดเช้ือโรค
ท่ีตายแล้วหรืออ่อนกาลังเข้าสู่ร่างกายเพ่ือให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีเข้าทาลายเชื้อโรค ซึ่งมักฉีดเข้าสู่ร่างกายก่อน
เกิดโรคและมีระยะเวลาคุ้มกันโรคหลายปี ส่วนเซรุ่มเป็นแอนติบอดีท่ีแยกจากเลือดของสัตว์ เม่ือฉีดเข้าสู่ร่างกายจะ
ทาลายเช้ือโรคทนั ที จึงฉดี หลงั การเกิดโรค แตม่ ีระยะเวลาคุ้มกนั โรคในชว่ งสนั้ ๆ
7. นักเรียนทาใบงานที่ 1.4 เร่ือง เลอื ด

ชวั่ โมงที่ 5

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นาคลิปวดิ ีโอเก่ยี วกับการหมนุ เวียนเลอื ดมาใชป้ ระกอบการสอน เชน่

- https://www.youtube.com/watch?v=CWFyxn0qDEU
2. นักเรียนศึกษาการทางานของระบบหมุนเวียนเลือด จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หรือจาก QR Code

เรอื่ ง การหมุนเวียนเลือด
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ศึกษาเรื่อง โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด และเรื่อง การ

ทางานของระบบหมุนเวียนเลือด แล้วสร้างแบบจาลองระบบหมุนเวียนเลือดของร่างกายมนุษย์ในกิจกรรม
แบบจาลองระบบหมุนเวียนเลือดของรา่ งกายมนุษยจ์ ากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอแบบจาลองระบบหมุนเวียนเลอื ดของมนุษย์
2. ถามคาถามท้ายกิจกรรมกบั นักเรียน โดยใชค้ าถามดงั ตอ่ ไปนี้

- ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดของมนษุ ย์ประกอบด้วยอวัยวะใดบา้ งแต่ละอวยั วะทาหนา้ ท่ีเชือ่ มโยงกันอย่างไร
(แนวตอบ ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ประกอบด้วยหัวใจทาหน้าที่สูบฉีดเลือดซ่ึงประกอบด้วยสารอาหาร แก๊ส
ฮอร์โมน เอนไซม์ และของเสียไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายผ่านทางหลอดเลือด ซ่ึงแบ่งออกเป็นหลอดเลือดอาร์เตอรี
หลอดเลอื ดเวน และหลอดเลือดฝอย)
- บริเวณสว่ นใดของหวั ใจทม่ี แี กส๊ ออกซเิ จนสงู และส่วนใดท่มี ีแกส๊ ออกซิเจนตา่
(แนวตอบ หวั ใจห้องบนขวาเป็นบริเวณทมี่ ีแก๊สออกซเิ จนตา่ สุด เนอ่ื งจากรับเลอื ดดาทมี่ แี กส๊ ออกซิเจนต่าจากส่วนต่าง
ๆ ของร่างกาย แล้วส่งไปยังหัวใจห้องล่างขวาเพื่อส่งไปแลกเปล่ียนแก๊สที่ปอด ส่วนหัวใจห้องบนซ้ายเป็นบริเวณท่ีมี
แก๊สออกซิเจนสูงสุด เนื่องจากรับเลือดแดงท่ีมีแก๊สออกซิเจนสูงจากปอดส่งไปยังห้องล่างซ้ายเพ่ือส่งไปส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย)
- ระบบหมนุ เวียนเลือดของมนษุ ย์มีการหมนุ เวียนอยา่ งไร
(แนวตอบเลือดดาซ่ึงเป็นเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่าจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ไหลผ่านล้ิน
หัวใจไปยังหัวใจห้องล่างขวา แล้วส่งต่อไปแลกเปล่ียนแก๊สที่ปอด กลายเป็นเลือดแดงที่มีแก๊สออกซิเจนสูง ซึ่งจะไหล
กลบั เข้าสหู่ ัวใจหอ้ งบนซ้าย ไหลผ่านล้ินหัวใจไปยังหัวใจห้องล่างซ้าย แล้วส่งต่อไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซ่ึงจะมี
การหมุนเวยี นอย่างเปน็ ระบบเช่นน้ี)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการทางานของระบบหมุนเวียนเลือดเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ีเลือดท่ีมีแก๊ส
ออกซิเจนตา่ จากส่วนต่างๆ ของร่างกาย เขา้ สูห่ ัวใจหอ้ งบนขวาและผ่านล้ินหัวใจไปยังหัวใจห้องล่างขวา แล้วส่งต่อไป
แลกเปล่ยี นแกส๊ ทีป่ อด กลายเป็นเลือดแดงที่มแี กส๊ ออกซิเจนสูง ซ่ึงจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายและไหลผ่านล้ิน
หวั ใจไปยงั หวั ใจหอ้ งลา่ งซ้าย แลว้ ส่งต่อไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย ซึ่งจะมกี ารหมุนเวียนอยา่ งเป็นระบบเช่นน้ี

ชว่ั โมงท่ี 6

4ข.น้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า ระบบหมุนเวียนเลือดมีการทางานอย่างเป็นระบบ ซ่ึง

หวั ใจจะบีบตวั และคลายตวั ตลอดเวลาเพ่ือสบู ฉีดเลอื ดไปยังอวยั วะตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
2. นักเรียนลองใช้นิ้วช้ีและนิ้วกลางจับข้อมืออีกข้างของตนเอง เพ่ือสังเกตและนับการเต้นของชีพจร ในเวลา 1 นาที

แลว้ ถามนักเรียนวา่ นักเรียนนบั จานวนครั้งทีช่ ีพจรเต้นภายใน 1 นาที ได้เท่าใด
(แนวตอบคาตอบข้นึ อยู่กบั ผลการนับของนักเรยี น โดยปกตจิ ะอยทู่ ่ี 60-100 คร้งั /นาที)

3. เกรนิ่ ใหน้ ักเรยี นฟงั ว่า ระหวา่ งการหมุนเวียนเลือดผา่ นหวั ใจจะทาให้หวั ใจหดตวั และคลายตวั อย่างเป็นจังหวะเกิดเป็น
ชีพจร และระหว่างท่ีหัวใจหดตัวและคลายตัวจะทาให้เกิดแรงดันไปกระทบกับผนังของหลอดเลือดเกิดเป็นความดัน
เลอื ด

4. นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 5 คน ทากจิ กรรม การวัดอัตราการเตน้ ของหวั ใจ เพื่อศกึ ษาอัตราการเต้นของหวั ใจขณะทา
กิจกรรมตา่ ง ๆ จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 โดยให้นักเรียนวัดอัตราการเต้นของหัวใจก่อนและหลังการ
ทากิจกรรม แลว้ นาคา่ มาท่ีวัดได้เปรียบเทยี บกนั

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการวัดอตั ราการเต้นของหวั ใจ
2. ถามคาถามทา้ ยกจิ กรรมกบั นักเรียน โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- อัตราการเตน้ ของหัวใจกอ่ นและหลังทากิจกรรมแตกตา่ งกนั อย่างไร
(แนวตอบอัตราการเต้นของหัวใจหลังทากิจกรรมสูงกว่าก่อนทากิจกรรม เน่ืองจากหัวใจหดตัวและคลายตัวเร็วข้ึน
เพื่อนาเลือดแดงท่ีมแี ก๊สออกซเิ จนสงู ไปเลีย้ งเซลล์ต่าง ๆ ของรา่ งกาย)
- เพราะเหตใุ ดจงึ ต้องนับอตั ราการเต้นของหัวใจถงึ 3 คร้ัง
(แนวตอบ เพือ่ ให้ไดค้ า่ อตั ราการเต้นของหวั ใจที่ใกลเ้ คียงความเป็นจริงมากที่สดุ )
- อัตราการเต้นของหัวใจของนักเรยี นแตล่ ะคนเหมอื นหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ แตกตา่ งกนั เล็กน้อย เนื่องจากนักเรียนอยู่ในวยั เดียวกนั )
- นกั เรียนคดิ วา่ มีปัจจยั ใดบ้างทีส่ ่งผลต่ออตั ราการเตน้ ของหวั ใจ
(แนวตอบเพศ อายุ กจิ กรรมท่ีทา และสุขภาพรา่ งกาย)
- หากนักเรยี นอ่านค่าความดันเลอื ดไดเ้ ท่ากบั 120/90 มิลลิเมตรของปรอท นกั เรยี นจะสามารถอธบิ ายได้อยา่ งไร
(แนวตอบค่าความดันขณะที่หัวใจบีบตัว เท่ากับ 120 มิลลิเมตรของปรอท และค่าความดันขณะท่ีหัวใจคลายตัว
เท่ากับ 90 มลิ ลเิ มตรของปรอท ซึง่ เปน็ ค่าความดันปกติ)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับชีพจร ความดันเลือด และกิจกรรม การวัดอัตราการเต้นของหัวใจเพื่อให้ได้
ข้อสรุป ดังน้ีอัตราการเต้นของหัวใจหรือชีพจรของแต่ละคนมีค่าแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับกิจกรรมที่ทา เช่น การว่ิงหรือ
การเดนิ ขนึ้ และลงจากบันไดทาให้อัตราการการเต้นของหัวใจเพิ่มสูงข้ึนจากปกติ นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอ่ืน ๆ ที่ทาให้
อัตราการเต้นของหัวใจเปล่ยี นแปลงได้ เชน่ อายุ เพศ อุณหภมู ขิ องรา่ งกาย ยา ความเครียด

ช่ัวโมงที่ 7
5ข.น้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรจู้ ากชวั่ โมงทแ่ี ลว้ ให้นักเรียนทราบพอสงั เขปวา่ ระบบหมุนเวียนเลอื ดมคี วามสาคญั ตอ่ รา่ งกายอย่างมาก

เนอื่ งจากเป็นระบบขนสง่ สารอาหาร แก๊ส และของเสียไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งหากเกิดความผิดปกติอาจทา
ใหเ้ กิดโรคตา่ ง ๆ
2. นักเรียนศึกษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและโรคความดันโลหิตสูง และการดูแลรักษาระบบหมุนเวียนเลือดให้ทางาน
อย่างปกติจากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. ถามคาถามนกั เรียน โดยใช้คาถามต่อไปนี้

- โรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี เกดิ จากสาเหตใุ ด และมวี ิธีการรกั ษาอย่างไร
(แนวตอบ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือดทาให้หลอดเลือดตีบตัน จึงนาเลือดไป
เล้ยี งหัวใจไดน้ ้อยลง และมีปัจจยั อื่น เช่น โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สูง ความเครียด การสบู บุหร่ี)
- หากวดั ความดนั เลือดได้เทา่ กบั 150/90 มิลลเิ มตรของปรอท หมายความวา่ มคี วามดนั ปกตหิ รือไม่

(แนวตอบหากวัดความดันเลอื ดเท่ากบั 150/90 มลิ ลิเมตรของปรอท แสดงว่า มคี วามดนั เลอื ดสูงกวา่ ปกติ เน่ืองจาก
ความดันเลอื ดปกติเท่ากบั 120/80 มิลลเิ มตรของปรอท)
- นกั เรียนสามารถดแู ลรกั ษาระบบหมนุ เวียนเลอื ดให้ทางานปกติไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ ควรเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยงอาหารท่ีมีไขมันและคอเลสเตอรอลสูง ควรออก
กาลังกายอย่างสม่าเสมอเพ่ือให้หัวใจสูบฉีดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ หลีกเลี่ยงการดื่ม
เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ และการใชส้ ารเสพติด)
- การรบั ประทานอาหารที่มีไขมันสูงสง่ ผลตอ่ ระบบหมุนเวยี นเลือดอย่างไร
(แนวตอบการรบั ประทานอาหารทีม่ ไี ขมันสงู จะทาให้มีการสะสมของไขมนั บริเวณหลอดเลือด ซึ่งทาให้หลอดเลือดตีบ
ตัน จึงนาเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ และหากมีไขมันสะสมมากจนอุดตันหลอด
เลือด จะทาให้ไม่สามารถนาเลือดไปยังท่ีอุดตันได้ จึงทาให้เซลล์หรือเนื้อเยื่อบริเวณท่ีไม่มีเลือดไปเล้ียงเกิดการตาย
ของเซลล์หรือเน้อื เย่อื ได้)
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรมเกี่ยวกับโรคในระบบหมุนเวียนเลือด เพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ โรคหลอด
เลือดหัวใจตบี เกิดจากการสะสมของไขมันบริเวณผนังหลอดเลือดท่ีนาเลือดไปเลี้ยงหัวใจ สามารถรักษาโดยการใช้ยา
หรือการผา่ ตดั โรคความดันโลหิตสูงเกิดจากความดันในหลอดเลือดสูงว่าปกติซ่ึงเกิดจากความอ้วน การสูบบุหรี่ การ
ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การบริโภคอาหารที่มีน้าตาลสูง สามารถรักษาได้โดยการใช้ยาร่วมกับการปรับเปล่ียน
พฤติกรรม จึงควรดูแลรักษาระบบหมุนเวียนเลือด โดยการหลีกเล่ียงการรับประทานอาหารท่ีมีไขมันและ
คอเลสเตอรอลสงู ออกกาลงั กายอยา่ งสมา่ เสมอ หลีกเล่ียงการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และตรวจความดันเลือดหรือ
ตรวจเลือดเปน็ ประจา

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน สืบค้นข้อมูล เร่ือง ระบบหมุนเวียนเลือดของสัตว์ต่าง ๆ ได้แก่ ปลา สัตว์สะเทินน้า

สะเทินบก สตั ว์เล้อื ยคลาน และสัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนา้ นม พร้อมเปรียบเทยี บระบบหมุนเวยี นเลอื ดของสัตวต์ ่าง ๆ กับระบบ
หมุนเวยี นเลือดของมนุษย์ แล้วทารปู เล่มรายงานส่งครผู สู้ อน และนาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น
5. นกั เรยี นทา Topic Question ทา้ ยหัวขอ้ เรอ่ื ง ระบบหมนุ เวียนเลอื ดจากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
6. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรุป เรอื่ ง ระบบหมุนเวียนเลือด ในประเด็นตา่ ง ๆ ดังนี้

- ความสาคัญของระบบหมนุ เวียนเลอื ด
- โครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวยั วะในระบบหมนุ เวียนเลือด
- การทางานของระบบหมนุ เวยี นเลือด
- การดูแลรกั ษาระบบหมุนเวียนเลอื ด
นกั เรียนสรปุ ในรูปผงั มโนทัศน์ลงกระดาษ A4 สง่ ครผู ู้สอน
2. ตรวจสอบผลจากรายงาน เรอ่ื ง ระบบหมนุ เวียนเลือดของสัตว์
3. ประเมินจากแบบจาลองระบบหมนุ เวียนเลอื ดของมนุษยแ์ ละการนาเสนอแบบจาลองระบบหมุนเวยี นเลอื ดของมนุษย์
4. ตรวจสอบผลจากผงั มโนทศั น์ เร่ือง ระบบหมนุ เวียนเลือด
5. ประเมินจากกจิ กรรม แบบจาลองการทางานของหัวใจ
6. ประเมนิ จากกิจกรรม การวดั อัตราการเต้นของหวั ใจ
7. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 1.3 เร่อื ง หวั ใจและหลอดเลือด
8. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง เลือด

9. ตรวจสอบผลจากการทา Topic Question ท้ายหวั ขอ้ เรอื่ ง ระบบหมุนเวียนเลือด
10. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

4. สอ่ื การสอน / แหล่งเรียนรู้

4.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1ระบบร่างกายมนษุ ย์
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1ระบบร่างกายมนษุ ย์
3) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง หวั ใจและหลอดเลือด
4) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง เลือด
5) PowerPoint เรื่อง ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด
6) ภาพยนตรสารคดสี ัน้ Twig
5) QR Codeเร่ือง การหมนุ เวียนเลือด

4.2 แหลง่ การเรียนรู้

1) หอ้ งเรียน
2) หอ้ งสมุด

3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
7. บันทกึ ผลหลงั แผนการจดั การเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง ...................................................

ระดับผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านักเรียนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ร้อยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยูใ่ นระดบั ...............และพบวา่ นักเรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เรือ่ ง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบวา่ นกั เรยี นผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยู่ในระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดบั ................และพบว่านกั เรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่ือมโยงกบั มาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงค่าร้อยละคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบวา่ นักเรยี นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดบั ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดับ...............และพบว่านกั เรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี …………………………..
1) นักเรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นอยใู่ นระดบั ...................
2) นกั เรียนมที ักษะในระดับ..................
3) นกั เรียนมคี ุณลักษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลี่ยนแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ข้อค้นพบดา้ นพฤตกิ รรมการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อ่นื ๆ....................................................................................................................................................

ปัญหา/สงิ่ ท่พี ฒั นา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพฒั นา

ปัญหา/สงิ่ ทีพ่ ฒั นา สาเหตุของปญั หา/ แนวทางแก้ไข/ วธิ ีแกไ้ ข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พัฒนา
สิ่งท่พี ฒั นา พัฒนา

ลงชื่อ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนินการ

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ลงช่ือ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงช่อื ...........................................
( นายวีระ แกว้ กลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบุรี

8. ความคดิ เห็น (ผู้บรหิ าร / หรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ของ.................................................แลว้ มีความเห็นดังนี้
8.1 เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรงุ

8.2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้
ที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ใชก้ ระบวนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
ทีย่ ังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

8.3 เปน็ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรับปรงุ กอ่ นนาไปใช้

8.4 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผูอ้ านวยการฝาุ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )

รองผอู้ านวยการกล่มุ บริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของผอู้ านวยการโรงเรียน

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผ้อู านวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวัดเพชรบุรี

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 4

เรอ่ื ง ระบบประสาท เวลา 3 ชว่ั โมง ระดับชั้นมัธยมปีท่ี 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ สง่ิ ที่ต้องรแู้ ละปฏบิ ัตไิ ด้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวัดผลและการ

ตวั ชวี้ ดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/10 1. ความสามารถในการ การประเมินช้นิ งาน/ภาระ - ประเมินการนาเสนอ
ม.2/11 สอื่ สาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร
เทคโนโลยี

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องอวยั วะในระบบประสาทได้ (K)
2. อธิบายการทางานของระบบประสาทได้ (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. เขียนการทางานของระบบประสาทอยา่ งเป็นลาดบั ข้นั ได้ (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1. ตระหนกั ถึงความสาคัญของระบบประสาทและการดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบประสาท (A)
2. สนใจใฝรุ ใู้ นการศึกษา (A)

3. หลกั ฐานการเรยี นรู้ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (Work)
การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏิบัติการ/แบบทดสอบ

4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สง่ิ ท่ีวดั ผล วธิ ีวดั ผล เครอ่ื งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบก่อนเรยี น - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการปฏบิ ตั ิการ
หรอื เปน็ กล่มุ ทางานรายบุคคล

- สังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลุ่ม

- สังเกตความมวี นิ ัย ใฝุ

เรียนรู้ และมงุ่ มั่นในการ

ทางาน

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สงั เกตพฤตกิ รรมการ -ประเมนิ การปฏิบัติการ
เจตคติ/คุณลกั ษณะ (A)
ในการทางานเปน็ ทางานรายบคุ คล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบุคคลและเปน็ - สงั เกตพฤติกรรมการ ผลงาน

กลุ่มในด้านการ ทางานกลุม่ - ประเมนิ การปฏิบตั กิ าร
ส่อื สารการคดิ การ - สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝุ
แก้ปญั หา
เรียนรู้ และม่งุ มั่นในการ

ทางาน

-ประเมินพฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล
รายบคุ คลในดา้ น - สงั เกตพฤติกรรมการ

ความมีวนิ ัย ความใฝุ ทางานกลุ่ม
เรยี นรู้

สมรถนะของผเู้ รยี น (C)

5. กระบวนการการจัดกจิ กรรม / รปู แบบการจดั กจิ กรรม ( Learning Process )
การจดั กิจกรรมการเรียนร/ู้ แนวทางการเสรมิ แรงหรอื ช่วยเหลือนกั เรียน

6. กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน

ชั่วโมงที่ 1

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
4. นักเรยี นทา Understanding Check จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง

ก่อนเรียน
5. ถามคาถามเพือ่ นาเขา้ สบู่ ทเรยี นวา่ ระบบตา่ ง ๆ ของร่างกาย ทางานประสานกนั ได้อยา่ งไร

(แนวตอบ ระบบต่าง ๆ ของร่างกายจะทางานประสานกัน โดยมีระบบประสาททาหน้าท่ีรับ-ส่งกระแสประสาทไป
ควบคุมการทางานของระบบตา่ ง ๆ ของร่างกาย ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งปกติ)
6. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพ่อื ทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่าสมอง
ทาหนา้ ท่ีอะไร
(แนวตอบสมองทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางควบคุมการทางานของระบบตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย)

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
6. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่าระบบประสาทเป็นระบบควบคุมและประสานการทางานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

ประกอบดว้ ยสมอง ไขสนั หลงั และเส้นประสาท
7. นักเรียนศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาทโดย

ใชแ้ บบจาลองอวยั วะในระบบประสาท หรอื ภาพจากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. จับสลากหมายเลขของนักเรียน 9 คน อธิบายหน้าท่ีของสมอง (เซรีบรัม เซรีเบลลัม ไฮโพทาลามัส ทาลามัส พอนส์
เมดลั ลาออบลองกาตา) ไขสนั หลงั และเส้นประสาท

2. ถามคาถามนักเรียน โดยใช้คาถามดังตอ่ ไปน้ี
- ระบบประสาทสว่ นกลางประกอบดว้ ยอวยั วะใดบ้าง
(แนวตอบระบบประสาทสว่ นกลาง ประกอบด้วยสมองและไขสนั หลัง)
- เพราะเหตใุ ดมนุษยจ์ งึ มีสมองสว่ นเซรบี รัมขนาดใหญ่มาก
(แนวตอบเน่ืองจากมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตท่ีมีการใช้ความคิด ความจา และสติปัญญามาก ซ่ึงสมองส่วน เซรีบรัมทา
หน้าที่ควบคุมความคิด ความจา สติปัญญา และการทางานต่าง ๆ ของร่างกาย จึงทาให้สมองส่วนน้ีมีขนาดใหญ่กว่า
สมองสว่ นอนื่ ๆ)
- เซลลป์ ระสาทมรี ปู รา่ งแตกตา่ งจากเซลลอ์ น่ื ๆ อย่างไร
(แนวตอบเซลล์ประสาทแบ่งออกเป็นตัวเซลล์ซึ่งประกอบด้วยนิวเคลียสและไซโทพลาซึมที่มีออร์แกเนลล์อยู่ภายใน
ทาหน้าที่สังเคราะห์สารที่จาเป็นสาหรับเซลล์ประสาท และใยประสาทเป็นส่วนที่แยกออกมาจากตัวเซลล์ ทาหน้าท่ี
รบั -สง่ กระแสประสาท ซงึ่ มีลกั ษณะแตกตา่ งจากเซลลอ์ ืน่ ๆ)
- เดนไดรตก์ ับแอกซอนมีลกั ษณะแตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ เดนไดรต์เป็นใยประสาทที่นากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ ส่วนแอกซอนเป็นใยประสาทท่ีนากระแส
ประสาทออกจากตัวเซลล์ ซ่ึงเซลล์ประสาทแต่ละเซลล์อาจมีเดนไดรต์เพียง 1 เส้น หรือหลายเส้น แต่แอกซอนจะมี
เพียงเสน้ เดียวเท่าน้นั )

2. ถามคาถามท้าทายการคิดขั้นสูง (H.O.T.S.)จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 กับนักเรียนว่า หากถูกทาร้าย
โดยใชข้ องแขง็ ตีบริเวณทา้ ยทอยอย่างรุนแรง จะส่งผลต่อร่างกายอยา่ งไร
(แนวตอบบริเวณทายทอยเปนบริเวณสมองส่วนเซรีเบลลัม ซึ่งทาหน้าท่ีควบคุมการเคลื่อนไหว และการทรงตัวของ
รา่ งกาย หากสมองส่วนน้ไี ด้รบั การกระทบกระเทือนอาจมีผลต่อการทรงตัว และการเคล่ือนไหวของร่างกายท่ีผิดปกติ)

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบประสาทเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าระบบ
ประสาทประกอบด้วยสมองทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการทางานของอวัยวะต่าง ๆ ซ่ึงสมองแต่ละส่วนจะทาหน้าที่
แตกต่างกัน ไขสันหลังทาหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกไปยังสมอง และจากสมองไปยังหน่วย
ปฏิบัตงิ าน และเสน้ ประสาททาหน้าท่ีส่งผ่านกระแสประสาทไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซ่ึงในสมองและไขสันหลัง
จะมเี ซลลป์ ระสาทจานวนมาก ประกอบดว้ ยตวั เซลล์และใยประสาท (แอกซอนและเดนไดรต)์

4. นักเรียนทาใบงานท่ี 1.5 เร่ือง ระบบประสาท

ช่วั โมงที่ 2

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
4. ทบทวนความรจู้ ากชว่ั โมงท่ีแล้วใหน้ กั เรยี นทราบพอสงั เขปว่า ระบบประสาททาหนา้ ท่ีควบคมุ และประสานการทางาน

ของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ประกอบด้วยสมอง ไขสนั หลัง และเสน้ ประสาท
5. ถามคาถามนักเรียนวา่ เพราะเหตุใด เมื่อนกั เรยี นเดนิ เหยยี บตะปู จะยกเท้าหนที ันที

(แนวตอบเน่ืองจากมีการส่งกระแสประสาทจากเท้าไปยังสมอง ทาให้สมองรับรู้ถึงความเจ็บปวดจากการเหยียบตะปู
จงึ ส่ังการมายงั กลา้ มเน้ือบรเิ วณขาใหย้ กเทา้ หนอี อกทันที)
6. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ร่วมกันศึกษาการทางานของระบบประสาทเมื่อถูกหนามทิ่มจากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1หรอื ใชว้ ีดทิ ศั น์จากสอื่ ออนไลน์ เรอ่ื ง การทางานของระบบประสาทเชน่

- https://www.youtube.com/watch?v=Nn2RHLWST-k
อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลอื กกล่มุ นกั เรยี นอยา่ งนอ้ ย 3 กลุ่มเขยี นแผนผังแสดงการทางานของระบบประสาทเมอื่ ถูกหนามท่ิม

2. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามดังต่อไปน้ี
- เพราะเหตุใดเมอ่ื ถกู หนามทิม่ หรอื เดนิ เหยียบตะปจู ึงรสู้ ึกเจ็บ
(แนวตอบเนอื่ งจากมีการสง่ กระแสประสาทไปยังไขสนั หลังและสมอง ทาใหส้ มองรับรูถ้ งึ ความเจบ็ ปวด)
- กระแสประสาทจะส่งตอ่ ไปยังไขสันหลังและสมองได้อย่างไร
(แนวตอบกระแสประสาทถูกส่งไปยังสมองและไขสันหลังผ่านเส้นประสาท ซ่ึงเส้นประสาทจะมีเซลล์ประสาทต่อกัน
เป็นร่างแหเพอ่ื รับ-ส่งกระแสประสาท โดยแอกซอนของเซลล์ประสาทหนึ่งจะแตกออกเป็นก่ิงก้าน แล้วไปแนบชิดกับ
เดนไดรต์ของอีกเซลล์ประสาทหนงึ่ จึงมีการรบั -สง่ กระแสประสาทจากเซลลป์ ระสาทตอ่ ๆ กนั จนไปถึงเซลล์ประสาท
ท่ไี ขสันหลงั และสมอง ตามลาดับ)
- ระบบประสาทมีการทางานอย่างไร
(แนวตอบเม่ือหน่วยรับความรู้สึกได้รับการกระตุ้น กลุ่มเซลล์รับความรู้สึกจะส่งกระแสประสาทไปยังไขสันหลัง แล้ว
ส่งกระแสประสาทต่อไปยงั สมอง ซึ่งสมองจะสง่ กระแสประสาทผ่านไขสันหลังไปยังหน่วยปฏิบัติงาน เพื่อกระตุ้นหรือ
ยบั ยั้งการทางานของอวยั วะท่ีไดร้ ับการกระตุ้น ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมที่ตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ทไี่ ดร้ บั )

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการทางานของระบบประสาทเมื่อถูกหนามทิ่มเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า เมื่อถูก
หนามท่ิม หน่วยรับความรู้สึกบริเวณปลายนิ้วจะส่งกระแสประสาทไปยังไขสันหลัง และส่งต่อไปยังสมองทาให้รู้สึก
เจ็บและไขสนั หลงั จะสง่ กระแสประสาทไปสง่ั การใหก้ ล้ามเนอ้ื โคนแขนพบั งอ และยกปลายนว้ิ ออกจากหนาม

ชั่วโมงที่ 3

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากชั่วโมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า ระบบประสาททาหน้าที่รับ-ส่งกระแสประสาทไป

กระตุ้นหรือยับย้ังการทางานของอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งหากระบบประสาททางานผิดปกติอาจส่งผลให้เกิดโรคต่าง ๆ
ตามมา
2. นักเรียนศึกษาเก่ียวกับโรคอัมพฤกษ์และอัมพาต โรคอัลไซเมอร์ และการดูแลรักษาระบบประสาทจากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธิบายความรู้ (Explain)
4. ถามคาถามนักเรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี

- โรคอัมพฤกษ์และอัมพาตเกิดจากสาเหตุใด
(แนวตอบโรคอัมพฤกษ์และอัมพาตเกิดจากความผิดปกติของสมองในการควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ และการ
รับความรู้สกึ ซ่ึงความผดิ ปกติของสมองเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การอุดตันของหลอดเลือดแดงในสมองทาให้สมอง
ขาดเลือดและสมองตาย การแตกของหลอดเลือดแดงในสมองจากความดันเลือดสูง การได้รับการกระทบกระเทือน
บริเวณศรี ษะ หรอื เกดิ จากโรคบางชนดิ เช่น โรคเบาหวาน ความดันเลอื ดสงู โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด)
- เพราะเหตใุ ดจงึ มกั พบการเกดิ โรคอลั ไซเมอรใ์ นผสู้ ูงอายุ
(แนวตอบโรคอัลไซเมอร์สามารถพบได้ทุกช่วงวัย แต่จะพบมากในผู้สูงอายุ เนื่องจากอายุท่ีเพ่ิมมากข้ึน ทาให้เซลล์
สมองหรือเซลล์ประสาทเสื่อมลงจากการใช้งานมาก และยังเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น พันธุกรรม การได้รับ
บาดเจบ็ ของสมอง การเป็นโรคบางโรค เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสงู )
- การสวมใสห่ มวกกันน็อกขณะขับข่รี ถจกั รยานยนตม์ ปี ระโยชนอ์ ย่างไร
(แนวตอบการสวมหมวกกันน็อกจะช่วยป้องกันไม่ให้สมองได้รับการกระทบกระเทือน เม่ือเกิดอุบัติเหตุขณะขับขี่
รถจกั รยานยนต์)

- การรบั ประทานข้าวกล้อง เมล็ดธัญพืช และเครอ่ื งในสตั ว์ มีส่วนช่วยบารุงระบบประสาทอย่างไร
(แนวตอบเนือ่ งจากอาหารดงั กลา่ วมีวติ ามินบี 1 สูง ซ่งึ เป็นวิตามินท่ีชว่ ยบารงุ สมอง และชว่ ยใหร้ ะบบประสาทบริเวณ
ตา่ ง ๆ ของรา่ งกายทางานอย่างปกติ)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับโรคท่ีเกี่ยวข้องกับระบบประสาทเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ โรคอัมพฤกษ์และ
อัมพาตเกดิ จากความผิดปกติของสมองในการควบคมุ กลา้ มเนื้อแขนและขา ซ่ึงอาจเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือด
ในสมอง หรือการแตกของหลอดเลอื ดในสมองทาใหส้ มองขาดเลอื ด การได้รบั การกระทบกระเทอื นบริเวณศีรษะ หรอื
เกิดจากโรคบางโรค เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอัลไซเมอร์เกิดจากเซลล์สมองและเซลล์ประสาทใน
สมองเสื่อมหรือถูกทาลาย ส่งผลต่อความจา มักพบในผู้สูงอายุ จึงควรดูแลรักษาอวัยวะในระบบประสาท โดย
ระมัดระวังการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะและไขสันหลัง รับประทานอาหารที่มีวิตามินบี 1หลีกเลี่ยงการดื่ม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ สารเสพติด และยาบางชนิดท่ีมีผลต่อระบบประสาท พักผ่อนให้เพียงพอและทา
กจิ กรรมผ่อนคลายความเครยี ด

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
7. นกั เรียนสบื ค้นข้อมูล เรื่อง อวัยวะรับสัมผัสของมนุษย์ โดยเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของอวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ กับการ

ทางานของระบบประสาทในรปู ผังมโนทศั น์ลงกระดาษ A4 ส่งครผู ูส้ อน
8. นักเรียนทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เรอื่ ง ระบบประสาทจากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
9. นกั เรียนทาแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุป เรื่อง ระบบประสาท ในประเดน็ ต่าง ๆ ดงั น้ี

- ความสาคัญของระบบประสาท
- โครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบประสาท
- การทางานของระบบประสาท
- การดแู ลรกั ษาระบบประสาท
นักเรยี นสรปุ ในรูปผงั มโนทัศน์ลงกระดาษ A4 ส่งครูผ้สู อน
2. ตรวจสอบผลจากผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง อวยั วะรบั สมั ผสั ของมนุษย์
3. ตรวจสอบผลจากผังมโนทศั น์เร่อื ง ระบบประสาท
4. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 1.5 เรื่อง ระบบประสาท
5. ตรวจสอบผลจากการทาTopic Question ทา้ ยหัวขอ้ เรอ่ื ง ระบบประสาท
6. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

ส่ือการสอน / แหลง่ เรียนรู้

1) หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1ระบบรา่ งกายมนษุ ย์
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1ระบบรา่ งกายมนษุ ย์
3) ใบงานท่ี 1.5 เร่อื ง ระบบประสาท
4) PowerPoint เร่อื ง ระบบประสาท
5) ภาพยนตรส์ ารคดสี ้ัน Twig

2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) ห้องสมดุ
3) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

7. บันทกึ ผลหลังแผนการจัดการเรียนรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางที่ 1 แสดงคา่ รอ้ ยละระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่อื ง ...................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นักเรยี นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น รอ้ ยละ................อย่ใู นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบวา่ นักเรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เร่ือง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ร้อยละ................อยใู่ นระดับ..........และ

รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ................และพบว่านกั เรียน

.............................................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คุณลักษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่อื มโยงกบั มาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางที่ 3 แสดงคา่ ร้อยละคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบวา่ นกั เรียนคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดบั ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดบั ...............และพบวา่ นกั เรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ที่ …………………………..
1) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับ...................
2) นักเรยี นมีทกั ษะในระดับ..................
3) นกั เรยี นมคี ุณลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลย่ี นแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบด้านพฤติกรรมการจัดการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อน่ื ๆ....................................................................................................................................................

ปัญหา/สิง่ ท่ีพัฒนา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพฒั นา

ปญั หา/สง่ิ ทพี่ ัฒนา สาเหตขุ องปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วิธีแกไ้ ข/พฒั นา ผลการแก้ไข/พัฒนา
สิ่งทพี่ ัฒนา พฒั นา

ลงชื่อ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

รับทราบผลการดาเนินการ

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผ้อู านวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ

ลงชอ่ื ...........................................
( นายวรี ะ แกว้ กลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบุรี

8. ความคิดเหน็ (ผบู้ ริหาร / หรือผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง.................................................แล้วมีความเหน็ ดังนี้
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี
ดมี าก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรับปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นรไู้ ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ใชก้ ระบวนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
ทีย่ ังไมเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
8.3 เป็นแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้

8.4 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ความคดิ เห็นของรองผูอ้ านวยการฝาุ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สุทธธิ รานนท์ )

รองผ้อู านวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบรุ ี

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 5

เรอ่ื ง ระบบสบื พนั ธุ์ เวลา 8 ชัว่ โมง ระดับชั้นมัธยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรยี นรู้ / การวดั และการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละ สิง่ ท่ตี อ้ งรแู้ ละปฏิบัติได้ ผลงาน / ชน้ิ งาน การวดั ผลและการ

ตัวชีว้ ดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/12 1. ความสามารถในการ การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/13 สือ่ สาร งาน ผลงาน
ม.2/14 2. ความสามารถในการคดิ
ม.2/15 3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบัติการ
ม.2/16 เทคโนโลยี

ม.2/17

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายโครงสรา้ งและอวยั วะในระบบสืบพันธ์ขุ องเพศชายและเพศหญงิ ได้ (K)
2. อธิบายการสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธข์ุ องเพศชายและเซลลส์ บื พันธ์เุ พศหญงิ และการเกดิ ประจาเดือนในเพศหญงิ ได้ (K)
3. อธิบายผลของฮอรโ์ มนเพศตอ่ การเปล่ยี นแปลงของร่างกายและจติ ใจเมอ่ื เขา้ สู่วยั หนุ่มสาวได้ (K)
4. อธิบายการปฏสิ นธิและการตั้งครรภไ์ ด้ (K)
5. อธบิ ายการคุมกาเนิดวิธีตา่ ง ๆ ได้ (K)
6. เลือกวธิ ีการคุมกาเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง (K)
2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. แสดงบทบาทสมมตุ ิในการเลอื กวธิ กี ารคมุ กาเนดิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม (P)
4. สมรรถนะ (Competency)

1. ยอมรับการเปลยี่ นแปลงของร่างกายและจติ ใจเมื่อเจริญเข้าสวู่ ัยหนมุ่ สาว (A)
2. ตระหนกั ถงึ การปอู งกนั การมีเพศสัมพันธแ์ ละการตงั้ ครรภ์กอ่ นวัยอันควร (A)
3. สนใจใฝุรใู้ นการศึกษา (A)
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (Work)

การประเมนิ ชิน้ งาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร/แบบทดสอบ
4. การวัดและการประเมินผล ( Evaluation )

สิง่ ที่วัดผล วิธวี ดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรมการ - ประเมนิ การปฏิบัติการ
หรอื เปน็ กลมุ่ ทางานรายบุคคล

- สังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกล่มุ

- สังเกตความมวี นิ ยั ใฝุ

เรียนรู้ และมุง่ มัน่ ในการ

ทางาน

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สังเกตพฤตกิ รรมการ -ประเมินการปฏบิ ัตกิ าร
เจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ (A) ในการทางานเปน็ ทางานรายบคุ คล
รายบุคคลและเป็น - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมนิ การนาเสนอ
กล่มุ ในดา้ นการ ทางานกล่มุ ผลงาน
สือ่ สารการคดิ การ - สังเกตความมวี ินัย ใฝุ
แกป้ ญั หา - ประเมนิ การปฏบิ ัติการ
เรยี นรู้ และมงุ่ มั่นในการ

ทางาน

-ประเมินพฤตกิ รรม - สังเกตพฤตกิ รรมการ
ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบุคคลในดา้ น - สังเกตพฤติกรรมการ
ความมวี ินัย ความใฝุ ทางานกลมุ่
เรียนรู้

สมรถนะของผู้เรียน (C)

5. กระบวนการการจดั กจิ กรรม / รปู แบบการจัดกจิ กรรม ( Learning Process )

แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)
6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ชั่วโมงท่ี 1

ขน้ั นา

กระตุ้นความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนทา Understanding Check ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง

กอ่ นเรยี น
2. ถามคาถามเพ่อื นาเขา้ สบู่ ทเรียน โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี

- ลกั ษณะใดบา้ งทบี่ ่งบอกถึงความแตกตา่ งของเพศชายและเพศหญิง
(แนวตอบ คาตอบขึ้นอยูก่ ับดลุ ยพินิจของครูผสู้ อน เชน่ เพศชายไม่มีหน้าอก แต่เพศหญงิ มีหน้าอก หรือเพศชายมี
ลูกกระเดอื ก แต่เพศหญงิ ไม่มีลูกกระเดือก)
- มนุษยม์ กี ารสืบพนั ธุ์แบบใด
(แนวตอบ มนุษย์มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดยการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย คือ เซลล์อสุจิ กับเซลล์
สบื พนั ธ์เุ พศหญงิ คือ เซลล์ไข่)
3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า การ
สืบพนั ธแ์ุ บ่งออกเป็นก่ปี ระเภท อะไรบ้าง
(แนวตอบ 2 ประเภท ได้แก่ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ซ่ึงจะไม่มีการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์เพศชายและเซลล์
สบื พนั ธุ์เพศหญงิ เชน่ การแตกหนอ่ การงอกใหม่ และการสบื พันธุแ์ บบอาศยั เพศ เปน็ การสืบพันธ์ทุ ี่มกี ารปฏิสนธิของ
เซลล์สืบพนั ธ์ุเพศชายและเซลลส์ บื พันธุ์เพศหญงิ )

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกร่นิ ใหน้ ักเรียนฟังวา่ มนุษย์มีการสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศ เกิดจากการปฏิสนธิของเซลล์อสุจิกับเซลล์ไข่ ได้เป็นไซโกต

ซง่ึ จะแบง่ เซลล์เป็นเอม็ บริโอ และเจริญตอ่ เปน็ ทารก
2. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศชายและการสร้างเซลล์อสุจิ โดยใช้แบบจาลองระบบอวัยวะ

สืบพนั ธุเ์ พศชาย หรอื จากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
อธิบายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่ม อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะสืบพันธ์ุเพศชายและการสร้างเซลล์

อสจุ ิ
2. ถามคาถามนักเรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้

- เซลล์อสจุ ถิ กู สร้างและเจริญเติบโตที่อวยั วะใด
(แนวตอบ เซลล์อสุจิถูกสร้างจากอัณฑะและเคลื่อนที่ไปยังหลอดเก็บอสุจิซ่ึงเป็นแหล่งพัฒนาและเจริญเติบโตของ
เซลลอ์ สุจิ)
- หากไม่มีถุงอัณฑะจะมีผลตอ่ การสร้างเซลล์อสุจิหรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบถุงอัณฑะทาหน้าท่ีปรับอุณหภูมิของอัณฑะให้ต่ากว่าอุณหภูมิของร่างกาย 3 องศาเซลเซียส ซ่ึงหากไม่มีถุง
อัณฑะอาจทาใหก้ ารสรา้ งเซลลอ์ สุจิผิดปกติ เนือ่ งจากอณุ หภมู ิไมเ่ หมาะสมต่อการสร้าง)
- หากต่อมคาวเปอรไ์ ม่สามารถหลั่งสารออกมาได้ จะส่งผลต่อเซลลอ์ สุจิอย่างไร
(แนวตอบ ต่อมคาวเปอร์ทาหน้าท่ีหล่ังสารที่มีสมบัติเป็นเบสเพื่อลดความเป็นกรดในช่องคลอดของเพศหญิง ซ่ึงหาก
ต่อมคาวเปอร์ไม่หล่ังสารท่ีมีสมบัติเป็นเบส จะทาให้เซลล์อสุจิตายเม่ือเข้าสู่ช่องคลอดของเพศหญิง เนื่องจากช่อง
คลอดมีความเปน็ กรดซึ่งเป็นสภาวะท่ไี ม่เหมาะสมต่อเซลลอ์ สจุ ิ)
- เซลลอ์ สุจิมีลกั ษณะอยา่ งไร และสามารถเคล่อื นท่ีได้อยา่ งไร
(แนวตอบ เซลลอ์ สุจิแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนหัวประกอบด้วยนิวเคลียสที่บรรจุสารพันธุกรรมถูกห่อหุ้มถุงอะ
โครโซมทีภ่ ายในมเี อนไซม์เจาะเยอ่ื หมุ้ เซลล์ไข่ ส่วนลาตวั มีไมโทคอนเดรียเป็นแหล่งสร้างพลังงานสาหรับการเคล่ือนท่ี
และส่วนหางประกอบด้วยแฟลเจลลมั ทชี่ ว่ ยพดั โบกในการเคลอื่ นที่)
- นา้ อสจุ ิทห่ี ลั่งออกมาประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
(แนวตอบ น้าอสุจิประกอบด้วยเซลล์อสุจิ อาหารเลี้ยงอสุจิจากต่อมน้าเลี้ยงอสุจิ ของเหลวที่มีฤทธ์ิเป็นเบสอ่อนจาก
ต่อมลกู หมาก และของเหลวสาหรับหลอ่ ลืน่ ท่อปัสสาวะจากตอ่ มคาวเปอร์)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศชายเพื่อให้ได้ข้อสรุป
ดังน้ีระบบสืบพันธุ์เพศชายประกอบด้วยอวัยวะหลายอวัยวะท่ีทาหน้าที่สัมพันธ์กัน ได้แก่ อัณฑะทาหน้าที่สร้างเซลล์
อสุจิและฮอร์โมนเพศชาย ถุงอัณฑะทาหน้าที่ปรับอุณหภูมิของอัณฑะ หลอดเก็บอสุจิทาหน้าท่ีเก็บเซลล์อสุจิ ต่อม
ลูกหมากทาหน้าท่ีสารสร้างที่มีสมบัติเป็นเบส หลอดนาอสุจิเป็นทางผ่านของเซลล์อสุจิท่ีสร้างจากอัณฑะ ต่อมคาว
เปอร์ทาหน้าท่ีสร้างสารหล่อลื่น ต่อมสร้างน้าเล้ียงอสุจิทาหน้าที่สร้างน้าเลี้ยงอสุจิ และองคชาติเป็นอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกของเพศชาย
4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการสร้างเซลล์อสุจิเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี เซลล์ถูกสร้างจากอัณฑะและมา
เจริญเตบิ โตตอ่ ทหี่ ลอดเกบ็ อสุจิ เซลล์อสุจิประกอบดว้ ยส่วนหัวมนี ิวเคลยี สบรรจุสารพนั ธุกรรมทห่ี อ่ หุ่มด้วยอะโครโซม
ส่วนลาตัวประกอบด้วยไมโทคอนเดรียเป็นแหล่งสร้างพลังงานสาหรับการเคล่ือนท่ี และส่วนหางประกอบด้วยแฟล
เจลลัมช่วยในการเคล่ือนท่ี โดยการหลงั่ นา้ อสจุ ิจะประกอบด้วยเซลล์อสจุ ิ อาหารเล้ยี งเซลลอ์ สุจิ ของเหลวทีม่ ีฤทธ์ิเป็น
เบสออ่ อน และของเหลวสาหรับหลอ่ ล่นื ทอ่ ปสั สาวะ
5. นกั เรยี นทาใบงานท่ี 1.6 เรื่อง ระบบสืบพนั ธเ์ุ พศชาย

ชวั่ โมงท่ี 2

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นักเรยี นแบง่ กลุ่มศึกษาอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง การตกไข่ และการเกิดประจาเดือนโดยใช้แบบจาลองระบบ

อวยั วะสืบพนั ธุ์เพศหญิง หรือภาพจากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1หรอื ใชว้ ดี ิทศั น์จากส่ือออนไลน์ เร่ือง การ
ตกไข่ และเรอื่ ง การเกดิ ประจาเดอื นเช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=SiNHMWkJYs0
- https://www.youtube.com/watch?v=nLmg4wSHdxQ
- https://www.youtube.com/watch?v=vXrQ_FhZmos

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จบั สลากหมายเลขกลุม่ นกั เรียน 2 กลมุ่ อธบิ ายอวัยวะในระบบสืบพันธุเ์ พศหญงิ
2. จับสลากหมายเลขกล่มุ นกั เรยี น 2 กลมุ่ อธิบายความสมั พันธ์ของการตกไขแ่ ละการเกดิ ประจาเดอื น
3. ถามคาถามนกั เรียน โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- เซลลไ์ ข่สร้างจากอวยั วะส่วนใด และมีการสรา้ งอย่างไร
(แนวตอบ เซลลไ์ ข่ถูกสรา้ งจากรงั ไข่ โดยปกตแิ ต่ละเดือนจะมกี ารสร้างเซลล์ไขเ่ ดือนละ 1 เซลล์ เทา่ นน้ั )
- ประจาเดือนเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ ประจาเดือนเกิดจากการสลายตัวของผนังมดลูกที่หนาตัวข้ึนเพ่ือรองรับการฝ่ังตัวของเอ็มบริโอ แต่หาก
เซลล์ไข่ไม่ได้รับการผสมจากเซลล์อสุจิ จะไม่มีการฝังตัวของเอ็มบริโอท่ีผนังมดลูก ทาให้ผนังมดลูกท่ีหนาตัวขึ้น
สลายตวั ออกมาเปน็ ประจาเดอื น)
-ตลอดช่วงชีวิตของผหู้ ญิงปกติทอี่ ย่ใู นวยั เจริญพันธุ์ จะมไี ขต่ กโดยเฉลยี่ ประมาณกเ่ี ซลล์
(แนวตอบ ให้นักเรียนคานวณจากระยะเวลาของผู้หญิงปกติที่อยู่ในวัยเจริญพันธ์ุ ซ่ึงเป็นช่วงที่ผู้หญิงมีประจาเดือน
เชน่ ถา้ เริ่มมีประจาเดือนเมือ่ อายุ 10 ปี และหยดุ เม่ืออายุ 45 ปี ช่วงเวลาท่ีอยูใ่ นวยั เจรญิ พันธ์ุ คือ 10–45 ปี ซ่ึงคดิ
เป็นเวลา 35 ปี โดยท่ัวไปผหู้ ญงิ จะมกี ารตกไข่เดือนละ 1 เซลล์ เพราะฉะน้ันในช่วงวัยเจริญพันธ์ุจะมีไข่ตกประมาณ
420 เซลล์ (35X 12))
4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศหญิงเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี ระบบสืบพันธ์ุเพศ
หญิงประกอบด้วยอวยั วะหลายอวัยวะ ไดแ้ ก่ รังไข่ทาหนา้ ท่ีสร้างเซลล์ไข่และฮอร์โมนเพศหญิง ท่อนาไข่เป็นบริเวณท่ี
เซลล์ไขผ่ สมกับเซลลอ์ สุจิ และเป็นทางผ่านของเซลล์ไข่จากรังไข่ไปยังมดลูก มดลูกเป็นบริเวณท่ีมีการผังตัวของเซลล์
ไขท่ ี่ได้รบั การผสมจากเซลลอ์ สุจิ และช่องคลอดเป็นทางผ่านของเซลล์อสุจิเข้าสู่มดลูกและเป็นทางผ่านของทารกเม่ือ
ครบกาหนดคลอด

5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการสร้างเซลล์ไข่และการเกิดประจาเดือนเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี เซลล์ไข่ที่
เจริญเต็มที่จะตกเข้าสู่ท่อนาไข่ เรียกว่า การตกไข่ ซึ่งจะมีการตกไข่เดือนละ 1 เซลล์ หากเซลล์ไข่ท่ีตกเข้าสู่ท่อนาไข่
ได้รับการผสมจากเซลล์อสุจิจะเคลื่อนท่ีไปฝังตัวท่ีผนังมดลูก แต่หากเซลล์ไข่ไม่ได้รับการผสมจากเซลล์อสุจิ ผนัง
มดลกู ทีห่ นาตวั ข้นึ จะกลายเป็นประจาเดือน

6. นกั เรียนทาใบงานท่ี 1.7 เร่อื ง ระบบสบื พันธุเ์ พศหญงิ

ชัว่ โมงที่ 3

ขัน้ สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า เซลล์สืบพันธ์ุเพศชาย คือ เซลล์อสุจิ ถูกสร้างจาก

อัณฑะและมาเจริญเติบโตท่ีหลอดเก็บอสุจิ เซลล์อสุจิประกอบด้วยส่วนหัวที่มีนิวเคลียสบรรจุสารพันธุกรรม ส่วน
ลาตัวประกอบด้วยไมโทคอนเดรียเป็นแหล่งสร้างพลังงาน และส่วนหางประกอบด้วย แฟลเจลลัมท่ีช่วยในการ
เคล่ือนที่ โดยเพศชายเร่ิมสร้างเซลล์อสุจิเม่ืออายุประมาณ 12-13 ปี ส่วนเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง คือ เซลล์ไข่ ถูก
สร้างจากรังไข่ เม่ือไข่สุกจะตกเข้าสู่ท่อนาไข่ ซึ่งจะมีการตกไข่เดือนละ 1 เซลล์ หากเซลล์ไข่ที่ตกเข้าสู่ท่อนาไข่ได้รับ
การผสมจากเซลล์อสุจิจะเคลื่อนท่ีไปฝังตัวที่ผนังมดลูก แต่หากเซลล์ไข่ไม่ได้รับการผสมจากเซลล์อสุจิ ผนังมดลูกท่ี
หนาตัวขน้ึ จะกลายเปน็ ประจาเดอื น
2. เกร่ินให้นักเรียนฟงั ว่า การสรา้ งเซลล์สบื พนั ธุข์ องเพศชายและเพศหญิงเปน็ ผลมาจากฮอร์โมนเพศ ซึ่งฮอร์โมนเพศชาย
คอื เทสโทสเทอโรน และฮอรโ์ มนเพศหญิง คอื อีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน
3. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาอิทธิพลของฮอร์โมนเพศต่อการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุและการเจริญเติบโตเข้าสู่วัยหนุ่มสาว
รวมทง้ั การดูแลด้านรา่ งกายและจติ ใจเม่อื เจรญิ เขา้ สูว่ ัยหนมุ่ สาวจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขกลุ่มนกั เรยี น 2 กล่มุ อธิบายอทิ ธิพลของฮอรโ์ มนเพศชาย ไดแ้ ก่ เทสโทสเทอโรน และฮอร์โมนเพศ

หญิง ไดแ้ ก่ โพรเจสเทอโรนและอสี โทรเจน
2. ส่มุ จับสลากหมายเลขกลุ่มนกั เรียนอธิบายการเปลี่ยนแปลงของฮอรโ์ มนเพศหญิงในช่วง 1 รอบเดอื น
3. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี

- ฮอร์โมนฟอลลเิ คลิ สตมิ ิวเลตงิ และลูทิไนซิงฮอร์โมนจดั เป็นฮอรโ์ มนเพศหญิงหรือฮอรโ์ มนเพศชาย
(แนวตอบ ฮอร์โมนท้ัง 2 ชนิด ไม่ใช่ฮอร์โมนเพศ เน่ืองจากฮอร์โมนท้ัง 2 ชนิด มีบทบาททั้งในเพศหญิงและเพศชาย
แต่มีบทบาทที่แตกตา่ งกนั ในแตล่ ะเพศ)

- ฮอร์โมนเพศชายและฮอร์โมนเพศหญิงคือฮอร์โมนใด มีผลต่อการสร้างเซลล์สืบพันธุ์และการเจริญเติบโตเข้าสู่วัย
หนุ่มสาวอยา่ งไร
(แนวตอบ ฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสโทสเทอโรน มีบทบาทควบคุมการสร้างเซลล์อสุจิ และการเจริญเติบโตขั้นที่ 2
ของเพศชาย ได้แก่ มีหนวดเครา มีขนบริเวณรักแร้ หน้าแข้ง และอวัยวะเพศ มีหัวนมแข็ง เสียงแหบห้าว มีมัด
กล้ามเนื้อ มีสะโพกแคบ ไหล่กว้าง มีอวัยวะเพศใหญ่ขึ้น และมีการหล่ังน้าอสุจิขณะนอนหลับ ส่วนฮอร์โมนเพศหญิง
ได้แก่ โพรเจสเทอโรนและอีสโทรเจน ทาหน้าท่ีกระตุ้นการเจริญของผนังมดลูกเพื่อรองรับการฝังตัวของเอ็มบริโ อ
และอสี โทรเจนยงั ควบคุมการเกดิ ลกั ษณะขน้ั ท่ี 2 ของเพศหญงิ ได้แก่ เสียงเล็กแหลม สะโพกผาย หน้าอกและอวัยวะ
เพศใหญ่ขึ้น มขี นข้นึ บริเวณรกั แรแ้ ละอวัยวะเพศ)
- ฮอรโ์ มนอีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไรในช่วงระยะ 1 เดอื น
(แนวตอบ ฮอร์โมนอีสโทรเจนจะสูงขึ้นในช่วงระยะก่อนไข่ตก และจะลดต่าลงช่วงระยะหลังไข่ตก และจะสูงข้ึนอีก
ในช่วงระยะก่อนไข่ตก ส่วนฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนจะสูงข้ึนหลังระยะไข่ตก และจะลดต่าลงเมื่อเซลล์ไข่ไม่ได้รับการ
ปฏสิ นธกิ บั เซลลอ์ สจุ ิ)
- นักเรียนจะปรับตวั ต่อการเปล่ียนแปลงทางร่างกายและจิตใจตอ่ การเจริญเข้าสวู่ ัยหนมุ่ สาวไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ เม่ือเจริญเข้าสู่วัยหนุ่มสาว จะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จึงควรรักษาความสะอาดของร่างกาย
รบั ประทานอาหารท่มี ปี ระโยชน์และครบ 5 หมู่ พกั ผ่อนให้เพียงพอ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหลีกเล่ียงการ

ด่มื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลแ์ ละการใชส้ ารเสพติด และเปลีย่ นแปลงทางด้านจิตใจ จึงควรสร้างความเช่ือม่ันให้กับตนเอง
ร้จู ักการปรับตวั เขา้ กับผ้อู ่ืน มวี ุฒิภาวะทางอารมณท์ ่ดี ี และหลกี เลยี่ งส่งิ ท่ีมผี ลต่ออารมณ์และจติ ใจ)
4. ถามคาถามทา้ ทายการคดิ ขนั้ สูง(H.O.T.S.) จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 ว่า หากฮอร์โมนอีสโทรเจนไม่
เพมิ่ สูงข้นึ หลังการเกิดประจาเดือนจะมผี ลตอ่ ร่างกายอย่างไร
(แนวตอบ หากฮอร์โมนอีสโทรเจนไม่เพ่ิมสูงข้ึนหลังการเกิดประจาเดือน จะทาให้ไม่มีการหล่ังลูทิไนซิงฮอร์โมนจาก
ตอ่ มใต้สมองสว่ นหนา้ จงึ ไม่มกี ารตกไข่เข้าสู่ทอ่ นาไข่ ทาให้ไม่เกิดประจาเดือนในรอบเดอื นตอ่ ไป)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับฮอร์โมนเพศเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี ฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสโทส- เทอโรน
สร้างจากอัณฑะ ทาหน้าทค่ี วบคมุ การสร้างเซลล์อสุจิและการเกดิ ลกั ษณะข้นั ท่ี 2 ของเพศชาย ส่วนฮอร์โมนเพศหญิง
คือ โพรเจสเทอโรนและอีสโทรเจน สร้างจากรังไข่ ทาหน้าที่ควบคุมการเปล่ียนแปลงของเซลล์ไข่ ผนังมดลูก
ประจาเดอื น และอีสโทรเจนยงั ควบคมุ การเกิดลักษณะข้นั ท่ี 2 ของเพศหญิง
6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการปรับตัวด้านร่างกายและจิตใจต่อการเจริญเข้าสู่วัยหนุ่มสาวเพ่ื อให้
เจริญเติบโตอยา่ งมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี

ช่วั โมงท่ี 4

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบพอสังเขปว่า เม่ือถึงวัยเจริญพันธ์ อัณฑะจะสร้างเซลล์อสุจิซึ่งถูก

ควบคุมด้วยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน และรังไข่จะสร้างเซลล์ไข่และตกไข่เข้าสู่ท่อนาไข่ซ่ึงถูกควบคุมด้วยฮอร์โมนโพ
รเจสเทอโรนและอีสโทรเจน
2. นกั เรยี นแบง่ กลุ่มศึกษาการเปลยี่ นแปลงของเซลล์หลงั การปฏิสนธิ และการเจริญเตบิ โตของทารกในครรภ์จากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หรือจาก QR Code เรื่อง การปฏิสนธิการต้ังครรภ์หรือวีดิทัศน์จากสื่อออนไลน์เรื่อง
การปฏิสนธิ และเรื่อง การเจรญิ เตบิ โตของทารกในครรภ์เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=jzqZjrmMr3w
- https://www.youtube.com/watch?v=WtDknjng8TA
- https://www.youtube.com/watch?v=4l9GE_eaMSs
3. ถามนักเรยี นในช้ันเรียนว่า นักเรยี นในชน้ั เรียนมแี ฝดหรอื ไม่ ถ้ามี ให้นักเรียนออกมาอธิบายลักษณะทีเ่ หมอื นและ
แตกต่างของแฝด
4. นักเรยี นจบั คศู่ ึกษาการเกิดแฝดและเปรยี บเทยี บลักษณะของแฝดร่วมไข่และแฝดต่างไข่จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์
ม.2 เลม่ 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. จับสลากหมายเลขกลุ่มของนักเรียน 2 กลุ่ม อธิบายการเปล่ียนแปลงของเซลล์หลังการปฏิสนธิและการเจริญเติบโต

ของทารกในครรภ์
2. สมุ่ เลือกคูข่ องนักเรียน 3 คู่เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของแฝดรว่ มไขแ่ ละแฝดต่างไข่
3. ถามคาถามนกั เรียน โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- การปฏิสนธเิ กดิ ข้ึนที่บริเวณใด
(แนวตอบ เซลล์อสจุ ิกบั เซลลไ์ ข่ปฏิสนธิกันบริเวณท่อนาไข่)
- หลังการปฏสิ นธิของเซลล์ไขก่ บั เซลล์อสุจิ เซลลจ์ ะมกี ารเปล่ียนแปลงอย่างไร
(แนวตอบ หลังการปฏิสนธิ เซลล์ไข่ที่ได้รับการผสมจากเซลล์อสุจิจะพัฒนาเป็นไซโกต และจะแบ่งเซลล์ต่อจน
กลายเป็นเอ็มบริโอ ซึ่งจะเคลื่อนที่ไปฝังตัวท่ีผนังมดลูก โดยมีการแลกเปล่ียนสารอาหาร แก๊สออกซิเจน แอนติบอดี
ของเสยี และแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดร์ ะหวา่ งแม่กับลูกผา่ นทางรก)

- เมื่อมกี ารฝังตวั ของเอ็มบรโิ อทีผ่ นังมดลกู ผู้หญงิ จะมปี ระจาเดอื นหรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบไม่มีประจาเดือน เน่ืองจากการฝังตัวของเอ็มบริโอที่ผนังมดลูกจะมีการเจริญของรก ซึ่งรกจะหล่ังฮอร์โมน
ยบั ยัง้ การหลุดลอกของผนังมดลูกเปน็ ประจาเดือน)

- ทารกเจริญเติบโตในครรภเ์ ป็นเวลาก่เี ดอื น แต่ละเดอื นมกี ารเจริญเติบโตอย่างไร
(แนวตอบ 9 เดอื น ซ่งึ แตล่ ะเดอื นจะมกี ารพัฒนา ดงั น้ี

เดอื นท่ี 1 ระบบประสาทเร่ิมพัฒนา เริ่มมีการสร้างอวยั วะตา่ ง ๆ
เดือนที่ 2 ระบบหายใจเริ่มพฒั นา แขน ขา ปาก และจมูกเร่มิ ชัดเจน
เดอื นท่ี 3 อวัยวะตา่ ง ๆ ครบ เริม่ มีการเคล่ือนไหว
เดือนท่ี 4 อวยั วะเพศภายนอกพฒั นาจนแยกเพศได้
เดอื นที่ 5 ศีรษะค่อนขา้ งโต แขน ขา คอเคล่ือนไหวได้ดี นิว้ มอื นวิ้ เท้าแยกกนั ชดั เจน
เดือนท่ี 6 ผมและเล็บเทา้ เรม่ิ งอก ระบบประสาทเริม่ ทางาน
เดือนท่ี 7 มกี ารเคลอื่ นไหวแบบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การจาม ดูดน้วิ มือและนิ้วเท้า
เดอื นที่ 8 กระดกู แข็งแรงขึน้ สมองและเสน้ ประสาททางานไดเ้ ตม็ ที่
เดอื นที่ 9 สมองเจรญิ เติบโตเรว็ มาก ทารกกลบั หัวพรอ้ มคลอด)
- แฝดเกดิ จากอะไร แบง่ ออกเป็นก่ีประเภท แต่ละประเภทมลี กั ษณะแตกตา่ งกนั อย่างไร
(แนวตอบ แฝดเกดิ จากความผดิ ปกตขิ องการปฏิสนธิ ทาให้เกิดทารก 2 คน แบ่งออกเปน็ 2 แบบ ไดแ้ ก่
- แฝดรว่ มไข่ เกดิ จากเซลล์อสุจิ 1 เซลล์ ผสมกบั เซลลไ์ ข่ 1 เซลล์ แต่มกี ารแยกตวั หลงั การปฏิสนธิ ทาให้มีการ
พัฒนาเปน็ ไซโกต เอม็ บริโอ และทารก 2 คน ซงึ่ ทารกท่ีเกดิ มาจะมีเพศเดยี วกัน และมลี กั ษณะเหมือนกันเกือบ
ทุกประการ
- แฝดต่างไข่ เกดิ จากเซลลอ์ สจุ ิ 2 เซลล์ ผสมกับเซลล์ไข่ 2 เซลล์ ซ่งึ จะพัฒนาเป็นไซโกต เอ็มบริโอ และทารก
2 คน ซึ่งทารกท่ีเกิดมาอาจมีเพศเดยี วกนั หรอื ตา่ งเพศกนั )
4. นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกบั การปฏสิ นธแิ ละการตั้งครรภเ์ พื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรุป ดงั น้ี เซลล์อสจุ ิปฏิสนธิกบั เซลล์
ไข่ท่ีท่อนาไข่ เจรญิ ตอ่ เปน็ ไซโกตและแบ่งเซลล์จนเป็นเอ็มบริโอ จากน้ันเอ็มบริโอจะเคลื่อนที่ไปฝังตัวท่ีผนังมดลูก ซึ่ง
มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส สารอาหาร และของเสียระหว่างแม่กับลูกผ่านทางรกจนเมื่อครบ 8 สัปดาห์ เอ็มบริโอจะ
กลายเป็นฟตี สั ทีม่ อี วัยวะตา่ ง ๆ ครบ และเจรญิ ต่อในครรภจ์ นครบ 9 เดือน แล้วจึงคลอดออกมาจากครรภข์ องแม่
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการเกิดแฝดเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ แฝดเกิดจากความผิดปกติระหว่างการ
พัฒนาหลังการปฏิสนธิ หรือระหว่างการปฏิสนธิ ทาให้ได้ทารก 2 คน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แฝดร่วมไข่ที่
เกิดจากเซลล์อสจุ ิและเซลล์ไขเ่ ดียวกนั แตแ่ ยกตวั หลงั การปฏิสนธิ และแฝดต่างไข่ท่เี กดิ จากการปฏิสนธิของเซลล์อสุจิ
คนละเซลล์ และเซลลไ์ ข่คนละเซลลท์ ีต่ กไขพ่ รอ้ มกัน
6. นักเรยี นทาใบงานท่ี 1.8 เรือ่ ง การปฏิสนธิและการตงั้ ครรภ์

ช่วั โมงที่ 5

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)

1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบว่า การตั้งครรภ์เกิดจากการปฏิสนธิของเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่ที่ท่อ

นาไข่ เจริญต่อเป็นไซโกตและแบ่งเซลล์จนเป็นเอ็มบริโอ จากนั้นเอ็มบริโอจะเคล่ือนท่ีไปฝังตัวท่ีผนังมดลูก และเจริญ

ต่อในครรภจ์ นครบ 9 เดอื น แลว้ จงึ คลอดออกมาจากครรภข์ องแม่

2. นักเรยี นแบง่ กลุม่ ออกเป็น 4 กลมุ่ จับสลากเลอื กวธิ กี ารคมุ กาเนิดแต่ละวิธี ดังนี้

- วธิ ธี รรมชาติ - การใชอ้ ปุ กรณ์

- การใช้สารเคมี - การผ่าตดั ทาหมัน

ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ สบื ค้นขอ้ มูลเก่ยี วกบั วิธีการคุมกาเนดิ และข้อดี-ขอ้ เสยี ของวิธีการคมุ กาเนดิ แตล่ ะวิธี

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอวิธีการคมุ กาเนดิ แตล่ ะวิธี
2. ถามคาถามนักเรียน โดยใช้คาถามต่อไปน้ี

- จงหาระยะปลอดภยั ของการตง้ั ครรภ์ หากมีประจาเดอื นในช่วงวนั ที่ 18-22 มกราคม
(แนวตอบ ระยะปลอดภยั ของการตง้ั ครรภ์ คอื วนั ที่ 10-25 มกราคม)
- การใช้ถุงยางอนามยั มีขอ้ ดี-ขอ้ เสียอยา่ งไร
(แนวตอบ ข้อดี คือ สามารถป้องกันเซลล์อสุจิเข้าไปในช่องคลอดของเพศหญิง และป้องกันการเกิดโรคติดต่อทาง
เพศสมั พนั ธไ์ ด้ แตม่ ขี อ้ เสยี คอื ไม่สามารถปอ้ งกนั การตง้ั ครรภไ์ ด้ 100 เปอร์เซน็ ต์)
- การใชย้ าคุมกาเนดิ เหมาะสาหรบั การคมุ กาเนดิ รปู แบบใด
(แนวตอบ ยาคุมกาเนดิ มหี ลายประเภท แต่ละประเภทจะใชค้ มุ กาเนดิ ที่แตกต่างกนั เชน่ ยาคมุ กาเนิดท่ีช่วยยับยั้งการ
ตกไข่ของเพศหญิง ยาคุมกาเนิดท่ีทาให้ผนังมดลูกของเพศหญิงไม่เหมาะสมสาหรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ หรือยา
คมุ กาเนิดที่ใช้ป้องกนั การต้ังครรภใ์ นกรณฉี ุกเฉนิ จากการถกู ขม่ ขนื )
- การคมุ กาเนดิ วธิ ใี ดมปี ระสทิ ธิภาพสูงท่ีสดุ เพราะเหตุใด
(แนวตอบ การผ่าตัดทาหมัน เนื่องจากเป็นการตัดท่อน้าไข่ หรือท่อนาอสุจิ ทาให้เซลล์ไข่ หรือเซลล์อสุจิ ไม่สามารถ
เคลอ่ื นทไ่ี ปปฏิสนธิกนั ได้)
3. นักเรียนและครูรว่ มกันอภิปรายเก่ยี วกับการคมุ กาเนดิ เพ่ือให้ไดข้ ้อสรปุ ว่าการคุมกาเนิดมีหลายวิธี ได้แก่ วิธีธรรมชาติ
เป็นการนับวันในการมีเพศสัมพันธ์ การคุมกาเนิดโดยใช้อุปกรณ์ ได้แก่ การใช้ถุงยางอนามัยในเพศชาย และการใช้
ห่วงคุมกาเนิดในเพศหญิง การคุมกาเนิดโดยใช้สารเคมี ได้แก่ การใช้ยาคุมกาเนิดซ่ึงมีหลายประเภท เช่น ยาช่วย
ยับยัง้ การตกไข่ ยาปรับสภาพผนังมดลูกใหไ้ ม่เหมาะสมตอ่ การฝงั ตัว การผา่ ตัดทาหมัน เป็นการคุมกาเนิดถาวร ได้แก่
การตัดท่อนาอสุจิของเพศชาย การตัดท่อนาไข่ของเพศหญิง ซ่ึงการคุมกาเนิดแต่ละวิธีจะมีข้อดี-ข้อเสียแตกต่างกัน
และจะถูกใช้ในสถานการณ์ท่แี ตกตา่ งกนั

ชวั่ โมงที่ 6

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่วั โมงทแี่ ล้วให้นกั เรียนทราบว่า การคุมกาเนิดเป็นการปูองกันการต้ังครรภ์ แบ่งออกเป็นหลายวิธี

ได้แก่ วิธธี รรมชาติ การใชอ้ ุปกรณ์ การใช้สารเคมี และการผ่าตัดทาหมัน ซึง่ แต่ละวิธมี ีขอ้ ดี-ขอ้ เสยี แตกต่างกัน
2. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ จบั สลากเลือกสถานการณ์ท่ีกาหนดใหใ้ นกิจกรรม การเลือกวิธีการคุมกาเนิด เพ่ือ

เลอื กวธิ ีการคมุ กาเนดิ ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณท์ ก่ี าหนดให้ จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันวางแผนจาลองสถานการณท์ จี่ ับสลากได้

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมาจาลองสถานการณ์
2. นกั เรียนและครรู ่วมกันประเมนิ สถานการณจ์ าลองของนักเรียนกลุ่มอืน่ ๆ
3. นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภปิ รายการจาลองสถานการณ์การเลือกวิธีการคุมกาเนิดเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้การคุมกาเนิด

แต่ละวิธีจะถูกเลือกใช้ในสถานการณ์ท่ีแตกต่าง ๆ กัน เช่น สามีภรรยาท่ีมีบุตรเพียงพอแล้วจะใช้การคุมกาเนิดแบบ
การผ่าตัดทาหมัน สามีภรรยาท่ียังไม่พร้อมมีบุตรอาจเลือกใช้การคุมกาเนิดด้วยวิธีธรรมชาติโดยการนับวันหรือ

เลอื กใช้อปุ กรณ์ เชน่ ถงุ ยางอนามัย หว่ งคุมกาเนดิ หรือหากมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ทันต้ังตัวอาจเลือกการคุมกาเนิดโดย
ใช้สารเคมี เชน่ ยาคุมกาเนดิ ฉกุ เฉนิ

ช่วั โมงท่ี 7

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นาตัวอย่างข่าวเก่ียวกับการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควรมายกตัวอย่างในนักเรียนฟังพร้อมอธิบายถึงผลเสียที่เกิดข้ึนจาก

การตงั้ ครรภก์ ่อนวัยอนั ควร
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และแนวทางการ

ปูองกนั การตัง้ ครรภก์ อ่ นวัยอันควร

อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอหน้าช้ันเรยี น

2. ถามคาถามกบั นักเรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- การตัง้ ครรภ์ก่อนวยั อันควรมผี ลกระทบอย่างไรบ้าง

(แนวตอบ การต้งั ครรภ์กอ่ นวยั อนั ควรกอ่ ให้เกดิ ปญั หาต่าง ๆ ตามมา ได้แก่ การทาแท้งเพื่อยุติการตั้งครรภ์ ฝ่ายหญิง

ตอ้ งออกจากสถานศกึ ษาทาใหเ้ สียการเรยี นและเสียอนาคต การแต่งงานจากภาวะจายอม)

- นักเรียนมวี ธิ ีหลกี เลย่ี งการตง้ั ครรภ์ก่อนวยั อนั ควรอย่างไรบา้ ง

(แนวตอบ คาตอบข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของครูผ้สอน เช่น หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเส่ียง เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ การเท่ียว

สถานบันเทิง การอยู่ด้วยกันตามลาพังในที่ลับตาคน การแต่งกายรัดรูปหรือเปิดเผยสัดส่วน รู้จักการปฏิเสธใน

สถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ รู้จักวิธีการคุมกาเนิดที่เหมาะสม การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองใน

สถานการณ์ทเ่ี หมาะสม)

3. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกบั ปญั หาจากการต้ังครรภก์ อ่ นวนั อันควรเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุป ดังนก้ี ารต้ังครรภ์ก่อน

วันอันควรเป็นปัญหาใหญ่ท่ีพบในวัยหนุ่มสาว ซ่ึงก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น การทาแท้ง การแต่งงานจาก

ภาวะจายอม การติดโรคทางเพศสัมพันธ์ เสียการเรียน และสร้างปัญหาทางด้านอารมณ์และจิตใจต่อผู้ต้ังครรภ์

นักเรียนสามารถประพฤติตนเพ่ือหลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียงต่อการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร เช่น การหลี่กเล่ียงพฤติกรรม

เส่ียง (การเที่ยวสถานบันเทิง การดื่มแอลกอฮอล์ การอยู่ตามลาพังในที่ลับตา การแต่งกายรัดรูป) รู้จักการปฏิเสธ

รู้จักวิธีการคุมกาเนิดที่เหมาะสม การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลใน

ครอบครวั

4. นักเรียนแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 6 กลุ่ม จับสลากเลอื กระบบร่างกายมนษุ ย์ ดงั นี้

- ระบบหายใจ - ระบบขับถ่าย

- ระบบหมุนเวยี นเลือด - ระบบประสาท

- ระบบสบื พนั ธเุ์ พศชาย - ระบบสืบพันธุเ์ พศหญิง

นกั เรียนสร้างแบบจาลองร่างกายทจ่ี ับสลากได้ เพื่อนาเสนอในชว่ั โมงต่อไป

ชว่ั โมงที่ 8

ขน้ั สอน

อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอแบบจาลองระบบร่างกายมนุษย์ กลุ่มละ 10 นาที
2. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันถามคาถามกลุ่มทีน่ าเสนอ

3. นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกับแบบจาลองระบบร่างกายมนุษย์ของนกั เรยี นแต่ละกลุม่

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
10. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน สืบค้นข้อมูล เรื่อง การเปล่ียนแปลงของร่างกายเข้าสู่วัยหนุ่มสาว แล้วทาเป็น

รปู เลม่ รายงานสง่ ครผู สู้ อน
11. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน สืบค้นข้อมูล เรื่อง การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร แล้วทาแผ่นพับนาเสนอส่ง

ครูผูส้ อน และแจกนักเรียนในโรงเรยี น จานวน 50 ชดุ
12. นักเรียนทา Topic Question ทา้ ยหัวข้อ เรอ่ื ง ระบบสบื พันธ์ุ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
13. นกั เรียนทา Self Check หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์ จากหนงั สือวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
14. นักเรียนทา Unit Question ท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ระบบร่างกายมนุษย์จากหนังสือวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม

1
15. นกั เรียนทาแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
16. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ระบบร่างกายมนุษย์

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เร่ือง ระบบสืบพันธ์ใุ นประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังน้ี

- ความสาคัญของระบบสบื พันธ์ุ
- โครงสร้างและหน้าท่ีของอวยั วะในระบบสบื พันธ์ุ
- ฮอรโ์ มนเพศ
- การคมุ กาเนิด
นักเรยี นเขียนสรุปในรูปผังมโนทศั นล์ งกระดาษ A4 สง่ ครผู ้สู อน
2. ตรวจสอบผลจากรายงาน เร่อื ง การเปล่ยี นแปลงของรา่ งกายเขา้ สู่วยั หนุ่มสาว
3. ตรวจสอบผลจากแผน่ พับ เรอ่ื ง การตงั้ ครรภก์ ่อนวยั อันควร
4. ตรวจสอบผลจากผังมโนทศั นเ์ ร่ืองระบบสืบพนั ธุ์
5. ประเมินจากการจาลองสถานการณ์การเลือกวธิ ีการคุมกาเนิด
6. ประเมินจากแบบจาลองและการนาเสนอแบบจาลองระบบร่างกายของมนษุ ย์
7. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 1.6 เร่อื ง ระบบสบื พันธุเ์ พศชาย
8. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 1.7 เรื่อง ระบบสบื พนั ธุ์เพศหญิง
9. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 1.8 เรือ่ ง การปฏิสนธิและการตง้ั ครรภ์
10. ตรวจสอบผลจากการทาTopic Question ท้ายหวั ขอ้ เรอ่ื ง ระบบสืบพนั ธ์ุ
11. ตรวจสอบผลจากการทาUnit Question ทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ระบบร่างกายมนุษย์
12. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
13. ตรวจสอบผลจากการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ระบบรา่ งกายมนษุ ย์

4. สอ่ื การสอน / แหลง่ เรียนรู้

4.1 สื่อการเรียนรู้
4.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1ระบบร่างกายมนษุ ย์
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1ระบบรา่ งกายมนุษย์
3) แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 ระบบรา่ งกายมนุษย์
4) ใบงานท่ี 1.6 เร่ือง ระบบสืบพนั ธเุ์ พศชาย

5) ใบงานท่ี 1.7 เรื่อง ระบบสืบพันธุ์เพศหญงิ

6) ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การปฏสิ นธแิ ละการตง้ั ครรภ์
6) PowerPoint เรือ่ ง ระบบสืบพนั ธุ์
7) ภาพยนตรส์ ารคดสี น้ั Twig
8) QR Codeเรอ่ื ง การปฏิสนธแิ ละการตัง้ ครรภ์

4.2 แหลง่ การเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) หอ้ งสมดุ
3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

7. บนั ทกึ ผลหลงั แผนการจดั การเรียนรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เรอื่ ง ...................................................

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรียน รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นักเรยี นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน รอ้ ยละ................อยู่ในระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ...............และพบวา่ นักเรยี น....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เร่ือง ..................................................

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนักเรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักเรียนผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน รอ้ ยละ................อยู่ในระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ................และพบว่านักเรยี น
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชื่อมโยงกบั มาตรฐานหลักสตู ร

ตารางที่ 3 แสดงคา่ ร้อยละคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เร่ือง ............................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)
พอใช้ (60-69 คะแนน)
ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบวา่ นักเรยี นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ..............อยู่ในระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านักเรียน.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรปุ ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ท่ี …………………………..
1) นักเรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นอยใู่ นระดับ...................
2) นกั เรยี นมที กั ษะในระดับ..................
3) นักเรียนมีคณุ ลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลี่ยนแผนการจดั การเรียนรู้ (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ คน้ พบดา้ นพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อื่นๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/สง่ิ ทพี่ ัฒนา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพัฒนา

ปัญหา/สิง่ ทพ่ี ัฒนา สาเหตขุ องปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วธิ ีแกไ้ ข/พฒั นา ผลการแก้ไข/พฒั นา
สงิ่ ทพี่ ัฒนา พัฒนา

ลงชอื่ ............................................. ผู้สอน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนินการ

ลงชื่อ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )
รองผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ

ลงช่อื ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบรุ ี

8. ความคิดเหน็ (ผบู้ ริหาร / หรือผทู้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง.................................................แลว้ มคี วามเหน็ ดังน้ี
8.1 เป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่
ดมี าก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้
ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ใชก้ ระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทย่ี งั ไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
8.3 เป็นแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชือ่ ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้

ความคิดเหน็ ของรองผ้อู านวยการฝาุ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )

รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เหน็ ของผูอ้ านวยการโรงเรยี น

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จังหวดั เพชรบรุ ี

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่ือง การแยกสารผสม จานวน 17 ช่ัวโมง

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว22101

ครูผสู้ อน นางสาวสจุ ติ รา สมวาส

_________________________________________________________

สาระสาคัญ / ความคดิ รวบยอด (Learning Concepts)

การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทาได้หลายวิธี ข้ึนอยู่กับสมบัติของสารน้ัน ๆ การระเหยแห้งใช้แยก
สารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายท่ีเป็นของแข็งในตัวทาละลายท่ีเป็นของเหลว โดยใช้ความร้อนระเหยตัวทาละลาย
ออกไปจนหมด เหลือแต่ตัวละลาย การตกผลึกใช้แยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตัวละลายท่ีเป็นของแข็งในตัวละลายท่ี
เป็นของเหลว โดยทาให้สารละลายอิ่มตัว แล้วปล่อยให้ตัวทาละลายระเหยออกไปบางส่วน ตัวละลายจะตกผลึกแยก
ออกมา การกลัน่ อยา่ งงา่ ยใชแ้ ยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตวั ละลายและตัวทาละลายท่ีเปน็ ของเหลวที่มีจุดเดือดต่างกัน
มาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจากสารละลายโดยให้ความร้อนกับสารละลาย ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอ
แยกจากสารละลายแล้วควบแน่นกลับเปน็ ของเหลวอกี ครง้ั ขณะท่ีของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงท่ี โครมาโทกราฟี
แบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสารผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารท่ีมีสมบัติการละลายในตัวทาละลายและการถูกดูด
ซบั ด้วยตวั ดดู ซับแตกต่างกัน ทาให้สารแตล่ ะชนิดเคลื่อนทีไ่ ปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกันได้ อัตราส่วน
ระหว่างระยะทางที่สารองค์ประกอบแต่ละชนิดเคลื่อนท่ีได้บนตัวดูดซับกับระยะทางท่ีตัวทาละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่า
เฉพาะตัวของสารแต่ละชนิดในตัวทาละลายและตัวดูดซับหน่ึง ๆ การสกัดด้วยตัวทาละลายเป็นวิธีการแยกสารผสมที่มี
สมบตั ิการละลายในตวั ทาละลายท่ีต่างกัน โดยชนิดของตัวทาละลายมีผลต่อชนิดและปริมาณของสารที่สกัดได้ การสกัด
โดยการกล่ันด้วยไอน้าใช้แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้า และไม่ทาปฏิกิริยากับน้าออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้ไอ
นา้ เปน็ ตัวพา

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและ แรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
ตัวชี้วัดท่ี

ว 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3

รวม 3 ตัวชี้วดั
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ( Competency ) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ( Desired Characteristics )

1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวินัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเุ รยี นรู้

1) ทกั ษะการสังเกต 3. มุง่ ม่นั ในการทางาน

2) ทักษะสารวจค้นหา

3) ทกั ษะการวดั

4) ทักษะการทดลอง

5) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมลู

6) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลง

ข้อสรปุ

3.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ทกั ษะ / กระบวนการ ( Skill during the process ) ทกั ษะการคดิ

ทักษะเฉพาะวชิ า - ประเมนิ การนาเสนอผลงาน
- ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร
- ทกั ษะการสังเกต - สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล
- ทักษะการสารวจค้นหา - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
- ทักษะการคานวณ - สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝุเรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน
- ทักษะการทดลอง
- ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู
- ทกั ษะการตีความขอ้ มูลและการลงข้อสรุป

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1

เร่ือง การระเหยของสาร เวลา 2 ชัว่ โมง ระดับชน้ั มธั ยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรยี นรู้และ สง่ิ ท่ตี อ้ งรู้และปฏิบตั ิได้ ผลงาน / ชิน้ งาน การวดั ผลและการ

ตวั ช้วี ดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/2 สอ่ื สาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏบิ ัติการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1.อธิบายการแยกสารโดยการระเหยแหง้ ได้ (K)
2.ยกตัวอย่างการประยกุ ต์ใช้การระเหยแหง้ ในการแยกสารในชวี ิตประจาวันได้ (K)

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1.แยกสารโดยการระเหยแหง้ ได้ (P)
2. ใช้เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถูกต้อง (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1. สนใจใฝรุ ู้ในการศึกษา (A)

3. หลักฐานการเรียนรู้ช้นิ งานหรือภาระงาน (Work)
การประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏิบตั ิการ/แบบทดสอบ

4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

สิ่งท่วี ัดผล วธิ วี ดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรมการ - ประเมินการปฏิบตั กิ าร
หรือเป็นกลุ่ม ทางานรายบคุ คล

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลมุ่

- สงั เกตความมีวินยั ใฝุ

เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ

ทางาน

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤตกิ รรม สังเกตพฤตกิ รรมการ -ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร
เจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ (A)
ในการทางานเปน็ ทางานรายบุคคล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบคุ คลและเป็น - สังเกตพฤติกรรมการ ผลงาน

กลุ่มในด้านการ ทางานกลมุ่ - ประเมินการปฏิบตั กิ าร
ส่ือสารการคดิ การ - สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝุ
แก้ปัญหา
เรียนรู้ และมงุ่ มน่ั ในการ

ทางาน

-ประเมนิ พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบคุ คลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ความมวี ินยั ความใฝุ ทางานกลุ่ม
เรียนรู้

สมรถนะของผู้เรียน (C)

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนร้/ู แนวทางการเสรมิ แรงหรอื ช่วยเหลอื นักเรียน
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ช่ัวโมงท่ี 1-2

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 การแยกสารผสม
7. นาเกลือหรือน้าตาลทรายละลายน้าจนมีลักษณะเป็นเน้ือเดียวกัน แล้วถามคาถาม Big Question จากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 กับนกั เรียนว่าสารมากกวา่ 1 ชนิด ทรี่ วมเปน็ เน้ือเดยี วกันจะแยกออกจากกันได้อยา่ งไร
(แนวตอบคาตอบข้ึนอย่กู ับดุลยพินจิ ของครูผ้สู อน จากตัวอย่างเป็นการแยกเกลอื หรือน้าตาลทรายออกจากน้า ซึ่งอาจ
ใช้วิธีการระเหยแห้งหรอื การกลนั่ แบบธรรมดา)
8. นักเรยี นทา Understanding Check จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
กอ่ นเรียน
9. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า
น้าเชื่อมประกอบดว้ ยสารใดเป็นตวั ทาละลาย และสารใดเป็นตัวละลาย
(แนวตอบนา้ เช่ือมประกอบด้วยนา้ เป็นตวั ทาละลายและนา้ ตาลเปน็ ตัวละลาย)

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. เกริ่นให้นักเรียนฟังเก่ียวกับสารผสมว่า สารผสมเป็นสารบริสุทธ์ิต้ังแต่ 2 ชนิดข้ึนไปมาผสมกันในอัตราส่วนไม่คงท่ี

ซ่ึงสารแต่ละชนิดยังคงแสดงสมบัติของสารเดิมอยู่ เช่น น้าเกลือประกอบด้วยน้าและโซเดียม- คลอไรด์ผสมกันสาร
ผสมสามารถพบในรปู สารผสมเนอ้ื เดยี วและและสารผสมเน้ือผสม

2. ถามคาถามนักเรียนวา่ นกั เรยี นรจู้ กั การแยกสารผสมด้วยวธิ ีใดบ้าง
(แนวตอบนักเรียนสามารถตอบการแยกสารผสมได้หลายวิธี เชน่ การกรอง การระเหยแหง้ การตกผลกึ การกลั่น การ
สกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย)

3. นกั เรียนศึกษาการระเหยแหง้ และหลักการระเหยแหง้ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หรือจาก QR Code
เรื่อง การระเหยแห้ง

4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม การระเหยแห้ง เพื่อแยกตัวละลายออกจากตัวทาละลายโดยวิธีการ
ระเหยแหง้ จากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

5. นักเรียนศึกษาการผลิตเกลือสมุทร ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากหลักการระเหยแห้ง จากหนังสือเรียน
วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1หรือวีดิทัศน์จากสื่อออนไลน์ เรอ่ื ง การผลติ เกลอื สมุทร เชน่
- https://www.youtube.com/watch?v=rDhNly4gL-0
- https://www.youtube.com/watch?v=0vVyw2rVA4Q&t=175s

อธิบายความรู้ (Explain)
1. สมุ่ เลอื กกลุม่ นักเรียนอย่างน้อย 5 กล่มุ นาเสนอผลการทากิจกรรมการระเหยแห้ง
2. ถามคาถามทา้ ยกิจกรรมกบั นักเรยี น โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี

- ภายหลังการระเหย สารละลายทงั้ 3 ชนดิ มีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร
(แนวตอบหลุมท่ีบรรจุสารละลายโซเดียมคลอไรด์และหลุมที่บรรจุสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเกิดผลึก
ของแขง็ เหลืออยู่ ส่วนหลุมที่บรรจุสารละลายกรดแอซีตกิ ไมเ่ หลือผลึกของแข็งเหลืออยู่)
- สารละลายชนิดใดประกอบด้วยตัวละลายทเ่ี ปน็ ของแขง็
(แนวตอบสารละลายโซเดียมคลอไรด์และสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเป็นสารละลายที่มีตัวละลายเป็น
ของแข็ง เนื่องจากเหลือผลึกของแข็งอยู่ภายในหลุม ส่วนสารละลายกรดแอซีติกเป็นสารละลายที่มีตัวละลายเป็น
ของเหลว ตัวละลายจึงระเหยออกไปจนหมด จงึ ไม่เหลือสารอยูใ่ นหลุม)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรมการระเหยแห้งเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ เม่ือให้ความร้อนกับสารละลายจน
น้าระเหยออกจนหมด หลุมท่ีบรรจุสารละลายโซเดียมคลอไรด์เกิดผลึกสีขาว หลุมท่ีบรรจุสารละลายโพแทสเซียม
เปอร์แมงกาเนตเกิดผลึกสีม่วง ส่วนหลุมที่บรรจุสารละลายกรดแอซีติกไม่มีผลึกเกิดข้ึน แสดงว่า สารละลายโซเดียม
คลอไรด์และสารละลายโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนตเปน็ สารละลายที่มีของแขง็ เป็นตัวละลาย สว่ นสารละลายกรดแอ
ซตี ิกเป็นสารละลายทีม่ ขี องเหลวเปน็ ตวั ละลาย
4. ถามคาถามนักเรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี
- การระเหยแหง้ ใช้แยกสารประเภทใด
(แนวตอบการระเหยแห้งใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งออกจากตัวทาละลายที่เป็น
ของเหลว)
- การระเหยแห้งมหี ลักการอยา่ งไร
(แนวตอบการระเหยแห้งอาศัยหลักการระเหยกลายเป็นไอของสาร เม่ือสารละลายไดร้ ับความรอ้ น สารที่มีจุดเดือดต่า
กวา่ จะระเหยกลายเปน็ ไอออกมาก่อนซ่ึงเปน็ ตัวทาละลายทีเ่ ป็นของเหลว จงึ เหลอื เฉพาะตวั ละลายท่ีเปน็ ของแข็ง)
- การผลติ เกลือสมุทรใช้หลกั การระเหยแห้งอย่างไร
(แนวตอบการผลิตเกลือสมุทรเป็นการแยกเกลือหรือโซเดียมคลอไรด์ท่ีละลายอยู่ในน้าทะเลในรูปไอออน โดยการใช้
ความร้อนจากแสงอาทิตย์ทาให้น้าระเหยกลายเป็นไอออกไป จึงเหลือเฉพาะผลึกเกลือสมุทรหรือผลึกโซเดียมคลอ
ไรด์)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการระเหยแห้งเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การระเหยแห้งเป็นการแยกสารท่ี
ประกอบด้วยตัวละลายท่ีเป็นของแข็งในตัวทาละลายท่ีเป็นของเหลวโดยใช้ความร้อน ทาให้ตัวทาละลายที่เป็น
ของเหลวระเหยกลายเป็นไอออกไปจนหมด เหลือเฉพาะตัวละลายท่ีเป็นของแข็ง หลักการระเหยแห้งถูกใช้ประโยชน์

ในการผลติ เกลือสมุทร เมื่อน้าทะเลซ่ึงมีไอออนของโซเดียมคลอไรด์ละลายอยู่ในรูปไอออน (Na+Cl-) ได้รับความร้อน
จากดวงอาทิตย์ น้าจะระเหยกลายเปน็ ไอออกไป จงึ เหลือผลึกโซเดียมคลอไรด์หรือผลึกเกลือสมุทรอยใู่ นนาเกลอื

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
5. นกั เรยี นทา Topic Question ท้ายหัวขอ้ เรอ่ื ง การระเหยแหง้
6. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุป เรอ่ื ง การระเหยแห้ง โดยมปี ระเด็น ดงั นี้

-หลกั การระเหยแห้ง
-การประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากการระเหยแห้ง
นกั เรยี นเขียนสรุปลงในสมดุ บันทึกของนกั เรยี น
2. ตรวจสอบผลจากแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การแยกสารผสม
3. ตรวจสอบผลจากการสรปุ เร่ือง การระเหยแหง้
4. ประเมินผลจากการทากิจกรรม การระเหยแห้ง
5. ตรวจสอบผลจากการทา Topic Question ท้ายหัวขอ้ เร่ือง การระเหยแหง้
6. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
สอื่ การเรียนรู้
1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2การแยกสารผสม
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2การแยกสารผสม
3) แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การแยกสารผสม
4) PowerPoint เรือ่ ง การระเหยแหง้
5) QR Codeเรอื่ ง การระเหยแหง้

แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งสมดุ
3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

7. บนั ทกึ ผลหลังแผนการจัดการเรียนรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เรอ่ื ง ...................................................

ระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบว่านกั เรยี นผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ร้อยละ................อย่ใู นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดับ...............และพบว่านักเรียน....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เร่อื ง ..................................................

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบว่านักเรียนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ร้อยละ................อยู่ในระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ................และพบว่านักเรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่ือมโยงกับมาตรฐานหลักสูตร

ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เรอ่ื ง ............................................

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบวา่ นักเรียนคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ร้อยละ..............อย่ใู นระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยูใ่ นระดบั ...............และพบว่านักเรียน.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ …………………………..
1) นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอยู่ในระดบั ...................
2) นกั เรียนมที กั ษะในระดบั ..................
3) นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรบั เปล่ียนแผนการจดั การเรยี นรู้ (ถ้ามี)
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ข้อค้นพบดา้ นพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อ่ืนๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/สิง่ ทพ่ี ฒั นา / แนวทางแกป้ ญั หา / แนวทางการพฒั นา

ปัญหา/ส่งิ ทพ่ี ัฒนา สาเหตขุ องปัญหา/ แนวทางแก้ไข/ วิธแี ก้ไข/พัฒนา ผลการแก้ไข/พฒั นา
สิ่งทพ่ี ฒั นา พัฒนา

ลงชอ่ื ............................................. ผู้สอน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนนิ การ

ลงช่ือ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบรุ ี
8. ความคดิ เหน็ (ผูบ้ รหิ าร / หรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย)

ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง.................................................แลว้ มีความเห็นดังนี้
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี
ดีมาก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ไู ดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้
ทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ใช้กระบวนการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
ทีย่ ังไมเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

8.3 เปน็ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี
นาไปใช้สอนได้
ควรปรับปรงุ ก่อนนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้

ความคิดเห็นของรองผู้อานวยการฝุายวชิ าการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................
( นายชาญยุทธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เห็นของผ้อู านวยการโรงเรียน
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงช่อื .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบุรี

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2

เรอ่ื ง การตกผลึก เวลา 2 ช่วั โมง ระดับช้ันมัธยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรยี นรู้ / การวัดและการประเมินผล

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ สิ่งท่ีต้องรแู้ ละปฏิบัติได้ ผลงาน / ชนิ้ งาน การวัดผลและการ

ตัวชี้วดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/1 1. ความสามารถในการ การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ม.2/2 สื่อสาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏบิ ตั ิการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายการแยกสารโดยการตกผลกึ ได้(K)
2. ยกตวั อย่างการประยกุ ตใ์ ชก้ ารตกผลกึ ในการแยกสารในชวี ติ ประจาวนั ได้ (K)

2. ทักษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1.แยกสารโดยการตกผลกึ ได้ (P)
4. สมรรถนะ (Competency)
1. ใช้เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถกู ต้อง (P)
2. สนใจใฝุรู้ในการศึกษา (A)
3. หลักฐานการเรียนรู้ชิน้ งานหรือภาระงาน (Work)

การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน/ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ/แบบทดสอบ

4. การวดั และการประเมินผล ( Evaluation )

ส่งิ ทวี่ ัดผล วิธวี ดั ผล เคร่อื งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน
- ประเมนิ การนาเสนอ
ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบก่อนเรียน - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ - ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ
กรรมเป็รายบุคคล - สงั เกตพฤตกิ รรมการ
หรอื เปน็ กลุม่ ทางานรายบคุ คล -ประเมินการปฏิบตั ิการ

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ
ในการทางานเปน็ ทางานกลมุ่
รายบคุ คลและเปน็
- สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝุ

เรยี นรู้ และม่งุ ม่ันในการ

ทางาน

สังเกตพฤติกรรมการ
ทางานรายบุคคล
- สงั เกตพฤตกิ รรมการ


Click to View FlipBook Version