The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sujittra1579, 2022-05-17 01:14:43

แผนม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.2เทอม1ปี 65

8.4 ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงช่อื ....................................................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผ้อู านวยการฝาุ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สุทธธิ รานนท์ )

รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผ้อู านวยการโรงเรียน

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................
( นายวรี ะ แก้วกัลยา )

ผ้อู านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวดั เพชรบรุ ี

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2

เรอ่ื ง สภาพละลายได้ของสาร เวลา 5 ช่วั โมง ระดับชัน้ มธั ยมปีท่ี 2

__________________________________________________________________________

1. เป้าหมายการเรียนรู้ / หลักฐานการเรียนรู้ / การวัดและการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ ส่ิงทต่ี ้องร้แู ละปฏิบัติได้ ผลงาน / ชนิ้ งาน การวดั ผลและการ

ตวั ชว้ี ดั ประเมินผล

ว 1.2 ม.2/4 1. ความสามารถในการ การประเมินชิน้ งาน/ภาระ - ประเมินการนาเสนอ
สื่อสาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคดิ
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายความหมายของคาว่าสภาพละลายไดข้ องสารได้ (K)
2. อธิบายปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ การละลายของสารได้ (K)
3. ออกแบบการทดลองและทดลองปจั จัยที่มผี ลตอ่ การละลายของสารได้ (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
2. ใช้เครือ่ งมอื และอุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง (P)

3. สมรรถนะ (Competency)
1.สนใจใฝุรใู้ นการศึกษา (A)
3. หลักฐานการเรียนรู้ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (Work)
การประเมินช้นิ งาน/ภาระงาน/ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏิบัตกิ าร/แบบทดสอบ

4. การวดั และการประเมนิ ผล ( Evaluation )

สงิ่ ที่วดั ผล วิธวี ดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ

ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรยี น - ประเมนิ การนาเสนอ - ประเมินการนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ
กรรมเป็รายบุคคล - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการปฏบิ ตั กิ าร
หรือเปน็ กลุ่ม ทางานรายบุคคล

- สังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลุ่ม

- สังเกตความมีวนิ ยั ใฝุ

เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการ

ทางาน

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤติกรรม สงั เกตพฤตกิ รรมการ -ประเมินการปฏิบตั กิ าร
เจตคติ/คณุ ลักษณะ (A)
ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบุคคลและเปน็ - สังเกตพฤตกิ รรมการ ผลงาน

กลุม่ ในดา้ นการ ทางานกลมุ่ - ประเมินการปฏิบตั ิการ
ส่อื สารการคดิ การ - สงั เกตความมวี ินยั ใฝุ
แก้ปญั หา
เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการ

ทางาน

-ประเมนิ พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล
รายบุคคลในดา้ น - สังเกตพฤตกิ รรมการ

ความมีวนิ ยั ความใฝุ ทางานกลมุ่
เรยี นรู้

สมรถนะของผเู้ รยี น (C)

5. กระบวนการการจัดกจิ กรรม / รูปแบบการจัดกจิ กรรม ( Learning Process )

การจดั กจิ กรรมการเรียนร/ู้ แนวทางการเสริมแรงหรอื ชว่ ยเหลือนักเรยี น
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ชัว่ โมงท่ี 1-2

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรยี นทา Understanding Check จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 เพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเอง

ก่อนเรียน
2. นาโซเดยี มคลอไรด์มาละลายในน้าทีอ่ ณุ หภูมิ 20 องศาเซลเซยี ส 25 องศาเซลเซียส และ 60 องศาเซลเซยี ส แล้วจด

บันทกึ ปรมิ าณของโซเดยี มคลอไรด์ที่สามารถละลายได้ในน้าที่อุณหภูมิต่าง ๆและถามนักเรียนว่า น้าที่อุณหภูมิต่าง ๆ
สามารถละลายโซเดยี มคลอไรดไ์ ด้ปริมาณเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ ที่อุณหภูมิต่าง ๆ สามารถละลายโซเดียมคลอไรด์ได้ในปริมาณที่แตกต่างกัน ซึ่งน้าที่อุณหภูมิ 60 องศา
เซลเซียส จะสามารถละลายโซเดียมคลอไรด์ไดใ้ นปริมาณมากทีส่ ุด และนา้ ทอ่ี ุณหภูมิ 20 องศา-เซลเซียส จะสามารถ
ละลายโซเดียมคลอไรด์ได้ในปริมาณนอ้ ยทีส่ ุด)
3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพอ่ื ทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่าความ
รอ้ นมผี ลต่อการละลายของสารอย่างไร
(แนวตอบความร้อนทาใหส้ ารบางชนดิ ละลายในตัวทาละลายไดเ้ พมิ่ มากขน้ึ )

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. เกร่ินให้นักเรียนฟังว่า สารแต่ละชนิดจะละลายในตัวทาละลายชนิดต่าง ๆ ได้แตกต่างกัน ซึ่งความสามารถในการ

ละลายของตัวละลายในตวั ทาละลายจนเปน็ สารละลายอ่มิ ตัวท่อี ุณหภมู ิหน่ึง ๆ เรียกว่า สภาพละลายไดข้ องสาร

2. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาสภาพละลายได้ของสาร โดยนาสารต่าง ๆ ท่ีหาได้ในห้องปฏิบัติการ เช่น น้าตาลซูโครส
(น้าตาลทราย) โซเดียมคลอไรด์โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ละลายในน้าท่ีอุณหภูมิต่าง ๆ เช่น 20 องศาเซลเซียส
25 องศาเซลเซียส และ 60 องศาเซลเซียส พร้อมจดบันทึกปริมาณสารท่ีละลายในน้าที่อุณหภูมิต่าง ๆ และศึกษา
สภาพละลายไดข้ องสารในตารางที่ 3.2 จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

3. อธิบายให้นักเรียนฟังว่า ตัวละลายจะสามารถละลายในตัวทาละลายได้เร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่
อณุ หภูมิ ชนิดของตวั ทาละลาย ขนาดของตวั ละลาย ความดัน และการคน การเขย่า หรือการป่ันเหวย่ี ง

4. นักเรียนศึกษาผลของอุณหภูมติ อ่ การละลายของสารจากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ร่วมกันออกแบบการทดลองผลของอุณหภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร เพื่อ

ทดสอบผลการละลายของสารท่ีอุณหภูมิต่าง ๆ โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ และสารเคมีท่ีกาหนดให้จา กหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแผนการทดลองร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและปรับปรุงแผนการทดลองก่อนทาการ
ทดลองจริง
7. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ทาการทดลองตามทีอ่ อกแบบไว้

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรมผลของอณุ หภมู ติ ่อสภาพละลายได้ของสาร
2. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี

- นกั เรียนเลือกสารใดเป็นตวั ทาละลายและตวั ละลาย เพราะเหตุใด
(แนวตอบคาตอบขน้ึ อยูก่ บั ผลการทากจิ กรรมของนักเรยี น)
- เมอ่ื อุณหภูมเิ พ่มิ ข้ึนหรือลดลง การละลายของตวั ละลายในตัวทาละลายเหมือนหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร
(แนวตอบคาตอบข้ึนอยกู่ บั ผลการทากิจกรรมของนักเรียน ซ่ึงตัวละลายท่ีเป็นของแข็งและของเหลวจะละลายได้มาก
ข้ึนเมื่ออุณหภูมเิ พ่มิ ข้ึน)
- อุณหภูมมิ ีผลตอ่ สภาพละลายไดข้ องสารหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบอุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร เมื่ออุณหภูมิเพ่ิมข้ึนตัวละลายที่เป็นของแข็งและของเหลวจะ
ละลายได้มากข้นึ แต่ตวั ละลายที่เปน็ แกส๊ จะละลายได้น้อยลง)
3. นักเรยี นและครรู ่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม ผลของอณุ หภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร เพ่อื ให้ได้ข้อสรุปวา่
เม่ืออณุ หภูมิเพิ่มข้ึน ตวั ละลายจะละลายในตัวทาละลายไดม้ ากขน้ึ แตเ่ ม่อื อุณหภูมิลดลง ตวั ละลายจะละลายในตัวทา
ละลายไดน้ อ้ ยลง เน่อื งจากสารเคมที ัง้ หมดที่กาหนดใหอ้ ย่ใู นสถานะของแข็งและของเหลว
4. ถามคาถามนกั เรียน โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้
- สภาพละลายไดข้ องสารหมายถงึ อะไร
(แนวตอบสภาพละลายได้ของสารหมายถึง ความสามารถในการละลายได้ของตัวละลายในตัวทาละลายจนเป็น
สารละลายอมิ่ ตัว ณ อุณหภมู หิ น่งึ )
- สภาพละลายได้ของโซเดยี มคลอไรด์ โซเดียมไนเตรต และลเิ ทยี มไนเตรต เมือ่ อุณหภมู เิ พมิ่ ข้ึน มีลักษณะเหมือนหรือ
แตกต่างกันอยา่ งไร
(แนวตอบสภาพละลายได้ของโซเดียมคลอไรด์และโซเดียมไนเตรตจะมีลักษณะคล้ายกัน คือ เม่ืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
สภาพละลายไดข้ องสารในหน่วยกรัมในน้า 100 กรมั จะเพ่ิมขน้ึ แต่สาหรบั ลเิ ทียมไนเตรตเมอ่ื อุณหภมู ิเพ่มิ ขนึ้ สภาพ
ละลายได้ของสารในหนว่ ยกรมั ในน้า 100 กรัม จะลดลง)
- อณุ หภมู ิมผี ลต่อการละลายของตวั ละลายที่เป็นของแขง็ ของเหลว และแก๊สอยา่ งไร
(แนวตอบตัวละลายทเ่ี ป็นของแข็งและของเหลว เม่ืออุณหภูมิเพิ่มข้ึนจะสามารถละลายได้มากขึ้น แต่ตัวละลายท่ีเป็น
แกส๊ เม่ืออุณหภูมเิ พมิ่ ขึน้ จะสามารถละลายไดน้ ้อยลง)

5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับผลของอุณหภูมิต่อการละลายของสารเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ีตัวละลายท่ีเป็น
ของแข็งและของเหลวจะละลายได้มากขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มข้ึน แต่ตัวละลายท่ีเป็นแก๊สจะละลายได้น้อยลงเม่ือ
อณุ หภมู เิ พ่ิมขึน้

ชัว่ โมงที่ 3

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นักเรียนศึกษาชนิดของตัวทาละลายและขนาดของตัวละลายท่ีมีผลต่อการละลายของสารจากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 5-7 คน ร่วมกนั ออกแบบการทดลองผลของชนิดตวั ละลายตอ่ สภาพละลายไดข้ องสาร เพ่ือ

ทดสอบผลการละลายของตัวละลายชนิดต่าง ๆ ในตัวทาละลายชนิดเดียวกัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ และสารเคมีที่
กาหนดใหจ้ ากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแผนการทดลองร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและปรับปรุงแผนการทดลองก่อนทาการ
ทดลองจรงิ
4. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ทาการทดลองตามที่ออกแบบไว้

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ผลของชนิดตัวละลายตอ่ สภาพละลายได้ของสาร
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม ผลของชนิดตัวละลายต่อสภาพละลายได้ของสาร เพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี

ตัวละลายตา่ งชนดิ กนั จะละลายในตัวทาละลายชนดิ เดียวกนั ไดแ้ ตกต่างกนั ซ่ึงตัวทาละลายอาจละลายตัวละลายชนิด
หนง่ึ ได้ดี แตอ่ าจไม่สามารถละลายตวั ละลายอีกชนิดหนึ่งได้

ชัว่ โมงท่ี 4

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ร่วมกันออกแบบการทดลองผลของชนิดตัวทาละลายต่อสภาพละลายได้ของสาร

เพื่อทดสอบผลการละลายของตัวละลายชนิดต่าง ๆ ในตัวทาละลายชนิดเดียวกัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ และสารเคมีที่
กาหนดใหจ้ ากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอแผนการทดลองร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและปรับปรุงแผนการทดลองก่อนทาการ
ทดลองจริง
3. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทาการทดลองตามทอ่ี อกแบบไว้
อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการทากจิ กรรม ผลของชนิดตัวทาละลายตอ่ สภาพละลายไดข้ องสาร
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม ผลของชนิดตัวทาละลายต่อสภาพละลายได้ของสารเพื่อให้ได้ข้อสรุป
ดังน้ี ตวั ละลายชนดิ เดียวกันจะละลายในตวั ทาละลายต่างชนดิ กันไดแ้ ตกต่างกนั ซึง่ ตัวทาละลายอาจละลายตวั ละลาย
ชนดิ หนึ่งไดด้ ี แต่อาจไมส่ ามารถละลายตัวละลายอกี ชนิดหน่งึ ได้

ชวั่ โมงท่ี 5

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เตรียมน้าอัดลม 2 แก้ว ได้แก่ แก้วท่ี 1 น้าอัดลมท่ีเปิดไว้แล้ว 1 ชั่วโมง และแก้วที่ 2 น้าอัดลมท่ีเพ่ิงเปิด นามาให้

นักเรยี นลองชมิ แล้วถามนกั เรยี นว่า น้าอดั ลมท้ัง 2 แกว้ มีรสชาติแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบแตกต่างกัน โดยน้าอัดลมท่ีเปิดทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง จะมีเฉพาะความหวาน แต่น้าอัดลมที่เพิ่งเปิดจะมีท้ังความ
หวานและความซา่ )
2. เตรยี มสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 2 บีกเกอร์ โดยบกี เกอร์ท่ี 1 คนสารละลายด้วยแท่งแก้ว และบีกเกอร์ท่ี 2 ไม่ต้อง
คนสารละลาย แลว้ ถามนกั เรียนว่า สารละลายบีกเกอร์ใดจะละลายเป็นเนือ้ เดียวกันได้เรว็ กวา่ กนั
(แนวตอบ บีกเกอร์ท่ี 1)
3. นักเรียนศึกษาผลของความดันต่อการละลายของสาร และผลการคน การเขย่า หรือการปั่นเหวี่ยงต่อการละลายของ
สาร จากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
4. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม จับสลากเลือกปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร แล้วร่วมกันวิเคราะห์ผลของ
ปจั จยั ต่าง ๆ ต่อการละลายของสาร พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ดงั น้ี

- กลุม่ ท่ี 1 อุณหภมู ิทีม่ ีผลตอ่ การละลายของสาร
- กลุ่มท่ี 2 ชนิดของตัวทาละลายท่ีมีผลตอ่ การละลายของสาร
- กลมุ่ ท่ี 3 ขนาดของตัวละลายทีม่ ีผลต่อการละลายของสาร
- กลมุ่ ที่ 4 ความดันท่มี ีผลต่อการละลายของสาร
- กลุ่มที่ 5 การคน การเขย่า หรือการปนั่ เหวย่ี งทีม่ ีผลต่อการละลายของสาร

อธิบายความรู้ (Explain)
1. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลของปจั จัยตา่ ง ๆ ต่อการละลายของสาร
2. ถามคาถามกบั นกั เรียน โดยใชค้ าถามดังนี้

- ขนาดของตวั ละลายมผี ลตอ่ การละลายของสารอย่างไร
(แนวตอบตัวละลายขนาดใหญ่ละลายได้ช้ากว่าตัวละลายขนาดเล็ก เน่ืองจากตัวละลายขนาดเล็กมีพ้ืนที่ผิวสัมผัส
มากกว่า จงึ จบั กับอนุภาคของตัวทาละลายได้มากกวา่ ทาให้ละลายไดด้ กี ว่าตัวละลายขนาดใหญ่)
- ความดนั มีผลต่อตัวละลายทอ่ี ยูใ่ นสถานะใด อยา่ งไร
(แนวตอบความดันมีผลต่อตัวละลายท่ีอยู่ในสถานะแก๊ส ซึ่งหากความดันเพ่ิมสูงข้ึนจะทาให้แก๊สละลายได้ดีข้ึน
เนอ่ื งจากมกี ารชนกันของอนุภาคตัวละลายและตัวทาละลายไดม้ ากขึน้ )
- การคน การเขยา่ หรือการป่นั เหวี่ยง มีผลต่อการละลายอย่างไร
(แนวตอบ การคน การเขย่า หรือการปั่นเหวี่ยง ทาให้อนุภาคของตัวละลายและตัวทาละลายเคล่ือนท่ีเร็วข้ึน จึงเกิด
การชนกนั ไดม้ ากข้นึ ทาให้เกดิ การละลายไดด้ ขี ้นึ )
3. ถามคาถามท้าทายการคิดขั้นสูง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 กับนักเรียนว่า เพราะเหตุใด เมื่อเปิด
นา้ อัดลมทงิ้ ไวน้ าน ๆ จงึ มรี สชาตติ ่างจากนา้ อัดลมท่ีเปิดขวดใหม่ ๆ
(แนวตอบน้าอัดลมเป็นสารละลายท่ีเกิดจากการอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลงในน้าท่ีมีน้าตาลละลายอยู่ ซ่ึงจัดว่ามี
น้าเปน็ ตวั ทาละลาย มีน้าตาลและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นตัวละลาย ซึ่งเมื่อเปิดขวดน้าอัดลมท้ิงไว้เป็นเวลานาน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะแยกออกไป ทาให้น้าอัดลมมีส่วนประกอบที่แตกต่างไป ซึ่งประกอบด้วยน้าเป็นตัวทา
ละลาย และน้าตาลเป็นตวั ละลาย จงึ มรี สชาติท่ีเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม)
4. นกั เรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกับปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ การละลายของสารเพือ่ ให้ไดข้ ้อสรุป ดังนี้

- อุณหภมู ิ มผี ลต่อตวั ละลายในสถานะต่าง ๆ แตกต่างกัน โดยตัวละลายท่ีเป็นของแข็งและของเหลวจะละลายได้
มากขนึ้ เมื่ออุณหภมู เิ พม่ิ ข้ึน แต่ตัวละลายท่เี ปน็ แกส๊ จะละลายได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมเิ พิ่มขึ้น
- ชนิดของตัวทาละลาย มีผลต่อตัวละลายแต่ละชนิดแตกต่างกัน ตัวทาละลายชนิดเดียวกันอาจละลายตัวละลาย
ชนดิ หนึง่ ได้ดี แต่อาจไมล่ ะลายตัวละลายอกี ชนดิ หนง่ึ ได้

- ขนาดของตัวละลาย ซึ่งตัวละลายท่ีมีขนาดเล็กจะละลายได้ดีกว่าตัวละลายที่มีขนาดใหญ่ เน่ืองจากมีพ้ืนที่
ผวิ สมั ผสั มากกวา่
- ความดนั มีผลตอ่ ตัวละลายที่เป็นแก๊ส ซึง่ หากความดันสูงข้ึนจะทาให้ตวั ละลายที่เป็นแก๊สละลายได้ดขี ้นึ
- การคน การเขยา่ หรือการปน่ั เหวีย่ ง ทาให้อนภุ าคของตัวทาละลายและตัวละลายเคลื่อนที่เร็วขึ้น จึงเกิดการชน
กนั ถี่ข้นึ ทาใหก้ ารละลายเกิดได้ดีและเร็วขึน้

ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. นักเรียนทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เรอื่ ง สภาพละลายได้ของสาร
2. นักเรียนทาแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

ขน้ั สรปุ

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร แล้วเขียนผังมโนทัศน์ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อ

การละลายของสารสง่ ครผู ู้สอน
2. ตรวจสอบผลจากผงั มโนทศั น์ เรือ่ ง ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ การละลายของสาร
3. ประเมนิ ผลจากการนาเสนอการวิเคราะห์ เรอ่ื ง ปจั จัยที่มผี ลต่อการละลายของสาร
4. ประเมนิ ผลจากการทากิจกรรม ผลของอณุ หภมู ติ ่อสภาพละลายไดข้ องสาร
5. ประเมินผลจากการทากิจกรรม ผลของชนดิ ตวั ละลายตอ่ สภาพละลายได้ของสาร
6. ประเมนิ ผลจากการทากิจกรรม ผลของชนดิ ตวั ทาละลายตอ่ สภาพละลายไดข้ องสาร
7. ตรวจสอบผลจากการทาTopic Question ท้ายหัวข้อ เร่อื ง สภาพละลายได้ของสาร
8. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้
ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 สารละลาย
2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สารละลาย
3) PowerPoint เรอ่ื ง สภาพละลายไดข้ องสาร

แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) หอ้ งสมุด
3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

7. บันทกึ ผลหลังแผนการจดั การเรียนรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางที่ 1 แสดงคา่ รอ้ ยละระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรอ่ื ง ...................................................

ระดับผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบวา่ นกั เรยี นผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยใู่ นระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านักเรยี น....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ ร้อยละระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่อื ง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบว่านกั เรียนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน รอ้ ยละ................อย่ใู นระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดับ................และพบว่านักเรยี น
.............................................................................................................................................................

1.3 ด้านเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชื่อมโยงกบั มาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เรอ่ื ง ............................................

ระดบั ผลสัมฤทธิ์ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบว่านกั เรยี นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดบั ...............และพบวา่ นกั เรยี น.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี …………………………..
1) นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนอยใู่ นระดับ...................
2) นักเรยี นมีทักษะในระดบั ..................

3) นักเรยี นมีคุณลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลี่ยนแผนการจัดการเรยี นรู้ (ถ้าม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ข้อคน้ พบดา้ นพฤตกิ รรมการจดั การเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อ่นื ๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/สิง่ ทีพ่ ฒั นา / แนวทางแก้ปญั หา / แนวทางการพัฒนา

ปัญหา/ส่งิ ทพ่ี ฒั นา สาเหตุของปัญหา/ แนวทางแกไ้ ข/ วธิ แี ก้ไข/พฒั นา ผลการแกไ้ ข/พัฒนา
ส่ิงทีพ่ ัฒนา พัฒนา

รับทราบผลการดาเนนิ การ ลงช่อื ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้

ลงช่อื ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวีระ แกว้ กลั ยา )

ผอู้ านวยการโรงเรียนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จังหวัดเพชรบรุ ี

8. ความคดิ เหน็ (ผู้บริหาร / หรอื ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ของ.................................................แล้วมีความเหน็ ดังน้ี
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ใช้กระบวนการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ทย่ี ังไม่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป
8.3 เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรงุ ก่อนนาไปใช้
8.4 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชือ่ ....................................................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ความคิดเห็นของรองผ้อู านวยการฝุายวชิ าการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชือ่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผู้อานวยการกลุม่ บริหารงานวิชาการ
ความคดิ เหน็ ของผอู้ านวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................
( นายวรี ะ แกว้ กลั ยา )

ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบุรี

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3

เรอื่ ง ความเขม้ ข้นของสารละลาย เวลา 5 ช่วั โมง ระดับชน้ั มธั ยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลักฐานการเรยี นรู้ / การวัดและการประเมนิ ผล

มาตรฐานการเรียนรู้และ สิง่ ทตี่ ้องรู้และปฏิบตั ไิ ด้ ผลงาน / ชิ้นงาน การวดั ผลและการ

ตวั ชีว้ ดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/5 1. ความสามารถในการ การประเมินชิ้นงาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
ส่ือสาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบตั กิ าร
เทคโนโลยี

2. สาระการเรียนรู้ (Learning Contents)
1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธิบายความหมายของความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวล ร้อยละโดยปริมาตร และ ร้อยละ
โดยมวลต่อปริมาตร(K)

2. คานวณหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวล ร้อยละโดยปริมาตร และร้อยละโดยมวลต่อ
ปริมาตร (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
3. เตรยี มสารละลายในหน่วยรอ้ ยละโดยปรมิ าตรและร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตรได้ (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1.สนใจใฝุรใู้ นการศึกษา (A)
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ช้ินงานหรือภาระงาน (Work)
การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน/ประเมนิ การนาเสนอผลงาน/ประเมินการปฏบิ ตั กิ าร/แบบทดสอบ

4. การวดั และการประเมนิ ผล ( Evaluation )

ส่งิ ที่วดั ผล วธิ วี ดั ผล เคร่อื งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรยี น - ประเมินการนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กจิ
กรรมเป็รายบคุ คล - สังเกตพฤตกิ รรมการ - ประเมินการปฏิบตั ิการ
หรือเป็นกลุ่ม ทางานรายบคุ คล

- สังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลุม่

- สังเกตความมวี ินัย ใฝุ

เรียนรู้ และมงุ่ มั่นในการ

ทางาน

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมการ -ประเมินการปฏิบัติการ
เจตคต/ิ คุณลกั ษณะ (A)
ในการทางานเปน็ ทางานรายบคุ คล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบคุ คลและเปน็ - สงั เกตพฤติกรรมการ ผลงาน

กลุ่มในดา้ นการ ทางานกล่มุ - ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร
ส่อื สารการคดิ การ - สังเกตความมวี นิ ัย ใฝุ
แกป้ ญั หา
เรียนรู้ และมุ่งม่ันในการ

ทางาน

-ประเมินพฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล
รายบุคคลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ความมวี นิ ยั ความใฝุ ทางานกล่มุ
เรยี นรู้

สมรถนะของผู้เรยี น (C)

5. กระบวนการการจดั กิจกรรม / รูปแบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้/แนวทางการเสรมิ แรงหรือชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กิจกรรมการเรยี นการสอน

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
 แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นกั เรยี นทา Understanding Check จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง

กอ่ นเรียน
2. เตรียมสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตความเข้มข้นร้อยละ 5 และ 10 โดยมวลต่อปริมาตร และอธิบายว่า

สารละลายโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตทั้ง 2 บีกเกอร์ มีน้าเป็นตัวทาละลาย และโพแทสเซียม-เปอร์แมงกาเนตเป็น
ตวั ละลาย แล้วถามนักเรียนว่า สารละลายทั้ง 2 ชนดิ แตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบสารละลายทั้ง 2 ชนิด มีปริมาตรตัวละลายในสารละลายท่ีแตกต่างกัน โดยในบีกเกอร์ท่ีมีสีม่วงเข้มจะมี
ปริมาณโพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนตมากกวา่ ทาให้สารละลายมคี วามเขม้ ขน้ มากกว่าอกี บกี เกอรท์ มี่ ีสีมว่ งอ่อนกวา่ )
3. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า
สดั สว่ นของตวั ละลายในตัวทาละลายมผี ลตอ่ สารละลายอยา่ งไร
(แนวตอบสดั สว่ นของตัวละลายในตวั ทาละลายมผี ลต่อความเข้มขน้ ของสารละลาย)

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. เกริ่นให้นักเรียนฟังว่า ความเข้มข้นของสารละลายเป็นค่าท่ีแสดงปริมาณตัวละลายที่อยู่ในตัวทาละลาย หรือ

สารละลาย สามารถบอกความเข้มข้นของสารละลายได้หลายประเภท ได้แก่ ร้อยละโดยมวล ร้อยละโดยปริมาตร
และร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตร
2. นกั เรียนศึกษาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวลจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หรือ
ศกึ ษาจาก QR Code เร่ือง รอ้ ยละโดยมวล
3. นาตวั อย่างโจทยท์ ่ี 3.1 และ 3.2 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 มาอธิบายการคานวณความเข้มข้นของ
สารละลายในหนว่ ยร้อยละโดยมวลใหน้ กั เรียนดู

อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. ตั้งโจทย์คาถามเกี่ยวกับการหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวล โดยให้นักเรียนฝึกคานวณหา
ความเข้มขน้ ของสารละลายในหนว่ ยร้อยละโดยมวลแล้วจบั สลากเลอื กนกั เรยี นออกมาแสดงวธิ ีการคานวณ เช่น
- จงคานวณหาความเขม้ ข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ซ่งึ ประกอบดว้ ยโซเดยี มคลอไรด์ 5 กรมั ละลายในนา้ จน
ไดส้ ารละลาย 200 กรัม

(แนวตอบ ร้อยละโดยมวล = (มวลของตัวละลาย/มวลของสารละลาย) x 100
= (5/200) x 100

= 2.5
ดังนั้น สารละลายสารละลายโซเดยี มคลอไรด์มีความเขม้ ข้นร้อยละ 2.5 โดยมวล)
- หากตอ้ งการเตรียมสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตความเข้มข้นร้อยละ 10 โดมยมวล จานวน 500 กรัม จะต้อง
ใชค้ อปเปอร์ (II) ซัลเฟตกี่กรัม
(แนวตอบ ร้อยละโดยมวล = (มวลของตวั ละลาย/มวลของสารละลาย) x 100
10 = (มวลของตวั ละลาย/500) x 100
มวลของตวั ละลาย = (10 x 500)/100
= 50
ดงั น้ัน ตอ้ งใช้คอปเปอร์ (II) ซลั เฟต จานวน 50 กรัม เพื่อเตรียมสารละลายคอปเปอร์ (II) ซลั เฟตความ
เข้มขน้ ร้อยละ 10 โดยมวล จานวน 500 กรัม)
- หากต้องการเตรียมสารละลายน้าตาลกลูโคสความเข้มข้น 12.5 กรัม จานวน 400 กรัม จะต้องใช้น้าตาลกลูโคส

และนา้ อย่างละกก่ี รัม = (มวลของตัวละลาย/มวลของสารละลาย) x 100
(แนวตอบ ร้อยละโดยมวล

12.5 = (มวลของตัวละลาย/400) x 100
มวลของตัวละลาย = (12.5 x 400)/100
= 50
มวลของตวั ทาละลาย = มวลของสารละลาย – มวลของตวั ละลาย
= 400 – 50
= 350
ดังนัน้ ตอ้ งใชน้ า้ ตาลกลูโคส50 กรัม ผสมกับนา้ 350 กรัม เพื่อเตรียมสารละลายนา้ ตาลกลโู คสความ
เขม้ ขน้ ร้อยละ 12.5 โดยมวล จานวน 400 กรัม)

3. นกั เรยี นทาใบงานท่ี 3.2 เรือ่ ง รอ้ ยละโดยมวล

ชว่ั โมงที่ 2

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. นักเรียนศึกษาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยปริมาตรจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

หรอื ศกึ ษาจาก QR Code เร่ือง ร้อยละโดยปริมาตร
2. นาตัวอย่างโจทย์ที่ 3.3 และ 3.4 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1มาอธิบายการคานวณความเข้มข้นของ

สารละลายในหน่วยร้อยละโดยปรมิ าตรใหน้ กั เรยี นดู

อธิบายความรู้ (Explain)
1. ตั้งโจทยค์ าถามเกี่ยวกบั การหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยปริมาตร โดยให้นักเรียนฝึกคานวณหา

ความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยรอ้ ยละโดยปรมิ าตร แล้วจบั สลากเลือกนักเรียนออกมาแสดงวิธกี ารคานวณ เช่น
- นากรดแอซีติก 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาละลายในน้า 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาความเข้มข้นของ
สารละลายกรดแอซตี ิก
(แนวตอบ ร้อยละโดยปริมาตร = (ปรมิ าตรของตัวละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100

= (25/200+25)/100
= 11.11
ดงั นน้ั สารละลายกรดแอซตี ิกมีความเขม้ ขน้ ร้อยละ 11.11 โดยปริมาตร)
- สารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ความเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 7.5โดยปรมิ าตร จานวน 400ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาปริมาตร
ของเอทิลแอลกอฮอล์ทล่ี ะลายอยู่ในสารละลายน้ี
(แนวตอบ รอ้ ยละโดยปรมิ าตร = (ปรมิ าตรของตัวละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100
7.5 = (ปรมิ าตรของตัวละลาย/400) x 100
ปริมาตรของตัวละลาย = (7.5 x 400)/100
= 30
ดงั นนั้ ปรมิ าตรของเอทิลแอลกอฮอล์ทล่ี ะลายอยู่ในสารละลายนเี้ ท่ากับ 30 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร)
- ถ้าต้องการเตรียมสารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยปริมาตร จานวน 500 ลูกบาศก์
เซนตเิ มตร จะตอ้ งใช้นา้ และเอทิลแอลกอฮอลอ์ ยา่ งละก่ีลกู บาศก์เซนติเมตร
(แนวตอบ รอ้ ยละโดยปรมิ าตร = (ปรมิ าตรของตวั ละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100
15 = (ปรมิ าตรของตวั ละลาย/500) x 100
ปริมาตรของตัวละลาย = (15 x 500)/100
= 75

ปริมาตรของตัวทาละลาย = ปรมิ าตรของสารละลาย –ปรมิ าตรของตวั ละลาย
= 500 – 75
= 425

ดังนัน้ การเตรียมสารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยปริมาตร จานวน 500 ลูกบาศก์
เซนติเมตร จะต้องใชเ้ อทิลแอลกอฮอล์ 75 ลูกบาศก์เซนติเมตร ผสมกับน้า 425 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร)

- ถ้าต้องการเตรียมสารละลายกรดแอซีติกความเข้มขน้ รอ้ ยละ 12.5 โดยปริมาตร จานวน 800 ลกู บาศก์เซนติเมตร
จะต้องใชน้ า้ และกรดแอซีติกอยา่ งละกี่ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร
(แนวตอบ ร้อยละโดยปรมิ าตร = (ปริมาตรของตวั ละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100

12.5 = (ปริมาตรของตัวละลาย/800) x 100
ปรมิ าตรของตวั ละลาย = (12.5 x 800)/100

= 100
ปรมิ าตรของตวั ทาละลาย = ปริมาตรของสารละลาย –ปริมาตรของตัวละลาย

= 800 – 100
= 700
ดังนัน้ การเตรียมสารละลายกรดแอซตี ิกเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 12.5 โดยปริมาตร จานวน 800 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร จะตอ้ ง
ใช้กรดแอซตี ิก 100 ลกู บาศก์เซนติเมตร ผสมกับน้า 700 ลูกบาศก์เซนติเมตร)
2. ถามคาถามท้าทายการคิดข้ึนสูงกับนักเรียนว่า หากต้องการเตรียมสารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ความเข้มข้นร้อยละ
40 โดยปริมาตร จานวน 800 ลูกบาศก์เซนตเิ มตรจะต้องใชเ้ อทิลแอลกอฮอลแ์ ละนา้ อยา่ งละก่ีลกู บาศก์เซนตเิ มตร
(แนวตอบ ร้อยละโดยปรมิ าตร = (ปริมาตรของตวั ละลาย/ปรมิ าตรของสารละลาย) x 100
40 = (ปริมาตรของตวั ละลาย/800) x 100
ปริมาตรของตวั ละลาย = (40 x 800)/100
= 320
ปรมิ าตรของตัวทาละลาย = ปริมาตรของสารละลาย –ปรมิ าตรของตวั ละลาย
= 800 – 320
= 480
ดงั น้ัน การเตรียมสารละลายเอทิลแอลกอฮอล์ความเข้มข้นร้อยละ 40 โดยปริมาตร จานวน 800 ลูกบาศก์
เซนตเิ มตร จะต้องใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 320 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร ผสมกบั น้า 480 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร)
3. นักเรียนทาใบงานท่ี 3.3 เรื่อง รอ้ ยละโดยปรมิ าตร

ช่วั โมงที่ 3

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงท่ีแล้วให้นักเรียนทราบถึงการเตรียมสารละลายในหน่วยร้อยละโดยปริมาตร ซึ่งทบทวนได้

จาก QR Code เร่อื ง ร้อยละโดยปริมาตร
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม การเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทาละลายเป็นของเหลวเพื่อ

เตรยี มสารละลายนา้ หวานทค่ี วามเข้มข้นตา่ ง ๆ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. จับสลากเลือกกลมุ่ นกั เรยี นอย่างน้อย 5 กลุม่ นาเสนอผลการทากิจกรรมการเตรียมสารละลายที่ตัวละลายและตัวทา

ละลายเป็นของเหลว
2. ถามคาถามทา้ ยกิจกรรมกับนักเรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้

- สารละลายน้าหวานมสี ารใดเปน็ ตวั ทาละลายและตัวละลาย เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบ สารละลายน้าหวานมีน้าเป็นตัวทาละลาย และน้าหวานเป็นตัวละลาย ซึ่งสารท้ัง 2 ชนิด อยู่ในสถานะ
เดียวกนั สารทม่ี ีปรมิ าณมากกว่าจึงเปน็ ตัวทาละลาย)
- สารละลายท่ีเตรียมจากน้าหวานปริมาตร 10 20 และ 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีลักษณะเหมือนและแตกต่างกัน
อย่างไร
(แนวตอบสารละลายน้าหวานท่เี ตรียมจากนา้ หวานปริมาตรแตกต่างกัน จะมีความเข้มข้นของสารละลายแตกต่างกัน
ซงึ่ สารละลายท่มี ีความเขม้ ขน้ มากจะมสี เี ข้ม สว่ นสารละลายท่ีมีความเข้มขน้ น้อยจะมสี ที ่อี อ่ นกว่า)
- จงคานวณหาความเขม้ ขน้ ของสารละลายน้าหวานในหน่วยร้อยละโดยปริมาตร จากสารละลายน้าหวานที่เตรียมได้
จากกจิ กรรม
(แนวตอบจากสตู ร ร้อยละโดยปรมิ าตร = (ปริมาตรของตวั ละลาย/ปรมิ าตรของสารละลาย) x 100

สารละลายทเี่ ตรียมจากนา้ หวาน 10 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร
ร้อยละโดยปรมิ าตร = (10/100) x 100 = 10

สารละลายทเ่ี ตรียมจากน้าหวาน 20 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร
ร้อยละโดยปรมิ าตร = (20/100) x 100 = 20

สารละลายท่ีเตรียมจากนา้ หวาน 40 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร
ร้อยละโดยปริมาตร = (40/100) x 100 = 40

ดงั นน้ั สารละลายที่เตรียมไดจ้ ากนา้ หวานปรมิ าตร10 20 และ 40ลูกบาศกเ์ ซนติเมตรจะมีความเข้มขน้ ร้ อ ย
ละ 10 20 และ 40 โดยปริมาตร ตามลาดับ)
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม การเตรียมสารละลายท่ีตัวละลายและตัวทาละลายเป็นของเหลว เพ่ือให้ได้
ข้อสรุป ดังน้ี สารละลายท่ีเตรียมได้มีความเข้มข้นเป็นร้อยละโดยปริมาตร มีน้าเป็นตัวทาละลาย และน้าหวานเป็นตัว
ละลาย โดยสารละลายท่ีเตรียมจากน้าหวานปริมาตร 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเข้มข้นสูงสุด คือ ร้อยละ 40 โดย
ปรมิ าตร ตามดว้ ยสารละลายท่เี ตรียมจากนา้ หวานปรมิ าตร 20 และ 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเข้มข้นที่ร้อยละ 20
และ 10 โดยปรมิ าตร ตามลาดับ

ช่ัวโมงที่ 4

ขนั้ สอน

สารวจคน้ หา(Explore)
1. นักเรยี นศึกษาความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตรจากหนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม

1 หรือจาก QR Code เรือ่ ง รอ้ ยละโดยมวลต่อปริมาตร
2. นาตวั อยา่ งโจทย์ท่ี 3.5 และ 3.6 จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 มาอธิบายการคานวณความเข้มข้นของ

สารละลายในหนว่ ยร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตรใหน้ กั เรียนดู

อธิบายความรู้ (Explain)
1. ตั้งโจทย์คาถามเกี่ยวกับการหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร โดยให้นักเรียนฝึก

คานวณหาความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร แล้วจับสลากเลือกนักเรียนออกมาแสดง
วิธีการคานวณ เช่น
- ละลายน้าตาลกลูโคส 15 กรัมในน้า จนได้สารละลายปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาความเข้มข้นของ
สารละลายกลโู คส
(แนวตอบ จากสูตรร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = (มวลของตวั ละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100)

= (15/200) x 100
= 7.5
ดงั นนั้ สารละลายน้าตาลกลโู คสมีความเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 7.5 โดยมวลต่อปรมิ าตร)
- ละลายโซเดียมคลอไรด์ 7.5 กรมั ในน้า จนได้สารละลายปริมาตร 350 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาความเขม้ ข้นของ
สารละลายโซเดียมคลอไรด์
(แนวตอบ จากสตู รรอ้ ยละโดยมวลต่อปริมาตร = (มวลของตัวละลาย/ปรมิ าตรของสารละลาย) x 100)
= (7.5/350) x 100
= 2.14
ดงั นนั้ สารละลายโซเดียมคลอไรด์มคี วามเขม้ ขน้ รอ้ ยละ 2.14 โดยมวลต่อปริมาตร)

- หากต้องการเตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้นร้อยละ 17.5 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 250
ลกู บาศก์เซนตเิ มตร จะตอ้ งใช้โซเดียมไฮดรอกไซดก์ ีก่ รมั

(แนวตอบ จากสตู รร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร = (มวลของตวั ละลาย/ปรมิ าตรของสารละลาย) x 100)
17.5 = (มวลของตวั ละลาย/250) x 100

มวลของตัวละลาย = (17.5 x 250) / 100
= 43.75

ดงั น้นั ต้องใชโ้ ซเดยี มไฮดรอกไซด์ 43.75 กรมั ในการเตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดค์ วามเขม้ ข้น
ร้อยละ 17.5 โดยมวลต่อปรมิ าตร จานวน 250 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร)
4. นักเรียนทาใบงานท่ี 3.4 เร่อื ง รอ้ ยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร

ชั่วโมงท่ี 5

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงที่แล้วให้นักเรียนทราบถึงการเตรียมสารละลายในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร ซึ่ง

ทบทวนได้จาก QR Code เรือ่ ง ร้อยละโดยมวลตอ่ ปริมาตร
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทากิจกรรม การเตรียมสารละลายท่ีตัวละลายเป็นของแข็งและตัวทา-ละลายเป็น

ของเหลวเพื่อเตรียมสารละลายคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต ท่ีความเข้มข้นตา่ ง ๆ จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

อธิบายความรู้ (Explain)
1. จับสลากเลือกกลุ่มนักเรียนอย่างน้อย 5 กลุ่ม นาเสนอผลการทากิจกรรมการเตรียมสารละลายท่ีตัวละลายเป็น

ของแขง็ และตวั ทาละลายเปน็ ของเหลว
2. ถามคาถามท้ายกิจกรรมกับนกั เรยี น โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- สารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต มีสารใดเปน็ ตวั ทาละลายและตัวละลาย เพราะเหตุใด
(แนวตอบ สารละลายคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต มนี า้ เปน็ ตวั ทาละลาย และคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตเป็นตัวละลาย เนื่องจาก
สารทง้ั 2 ชนดิ อยู่ในสถานะต่างกัน แตเ่ มือ่ ผสมกนั แลว้ ไดส้ ารละลายท่อี ย่ใู นสถานะของเหลวเชน่ เดยี วกบั น้า)
- สารละลายท่เี ตรยี มจากคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต 2 5 และ 10 กรมั มลี ักษณะเหมือนและแตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตท่ีเตรียมจากคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตปริมาณแตกต่างกัน จะมีความเข้มข้น
ของสารละลายแตกต่างกนั ซ่ึงสารละลายท่ีมีความเข้มข้นมากจะมีสีเข้ม ส่วนสารละลายท่ีมีความเข้มข้นน้อยจะมีสีที่
ออ่ นกวา่ )
- จงคานวณหาความเข้มข้นของสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตในหน่วยร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร จากสารละลาย
คอปเปอร์ (II) ซัลเฟตที่เตรียมได้จากกจิ กรรม
(แนวตอบ จากสูตร รอ้ ยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร = (มวลของตวั ละลาย/ปรมิ าตรของสารละลาย) x 100
สารละลายทเ่ี ตรยี มจากคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต 2 กรมั

รอ้ ยละโดยมวลต่อปรมิ าตร = (2/100) x 100
=2

สารละลายทีเ่ ตรียมจากคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต 5 กรมั
ร้อยละโดยมวลตอ่ ปริมาตร = (5/100) x 100
=5

สารละลายทเี่ ตรียมจากคอปเปอร์ (II) ซลั เฟต 10 กรมั
ร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตร = (10/100) x 100
= 10

ดังน้นั สารละลายทเี่ ตรยี มได้จากคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต จานวน2 5 และ 10กรมั จะมีความเข้มขน้ รอ้ ยละ 2 5
และ 10 โดยมวลต่อปริมาตร ตามลาดับ)

3. นักเรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายผลกิจกรรม การเตรียมสารละลายท่ีตัวละลายเป็นของแข็งและตัวทาละลายเป็น
ของเหลวเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ สารละลายที่เตรียมได้จะมีความเข้มข้นร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร ซึ่งมีน้าเป็น
ตัวทาละลาย และคอปเปอร์ (II)ซัลเฟตเป็นตัวละลาย โดยสารละลายท่ีเตรียมจากคอปเปอร์ (II)ซัลเฟต จานวน
10 กรัม จะมีความเข้มข้นสูงท่ีสุด คือ ร้อยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร ตามด้วยสารละลายท่ีเตรียมจากคอป
เปอร์ (II)ซัลเฟต จานวน 5 และ 2 กรัม ซง่ึ มีความเขม้ ขน้ ร้อยละ 5 และ 2 โดยมวลตอ่ ปริมาตร ตามลาดับ

ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน สืบค้นข้อมูล เรื่อง ความเข้มข้นของสารละลายท่ีพบในชีวิตประจาวัน โดยสารวจ

สารละลายที่พบในชวี ติ ประจาวัน กล่มุ ละ 10 ชนดิ นามาคานวณหาความเข้มข้นในหน่วยต่าง ๆ พร้อมนาเสนอหน้า
ชน้ั เรียน
2. นักเรียนทา Topic Question ท้ายหวั ขอ้ เรอื่ ง ความเขม้ ข้นของสารละลาย
3. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1

ขน้ั สรุป

ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการคานาณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ และต้ังโจทย์คาถาม

เก่ียวกบั การหาความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยตา่ ง ๆ ให้นักเรยี นได้ฝึกคานวณ เชน่

-จงคานวณหาความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลกลโู คส ซ่งึ ประกอบดว้ ยน้าตาลกลโู คส 20 กรัม ในนา้ 180 กรัม

(แนวตอบ รอ้ ยละโดยมวล = (มวลของตัวละลาย/มวลของสารละลาย) x 100

= (20/20+180) x 100

= 10

ดงั น้นั สารละลายสารละลายนา้ ตาลกลโู คสมีความเขม้ ข้นรอ้ ยละ 10 โดยมวล)

- สารละลายเอทิลแอลกอฮอลค์ วามเข้มขน้ รอ้ ยละ 7.5โดยปรมิ าตร จานวน 400ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาปริมาตร

ของเอทิลแอลกอฮอล์ทล่ี ะลายอยใู่ นสารละลายน้ี

(แนวตอบ รอ้ ยละโดยปรมิ าตร = (ปรมิ าตรของตวั ละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100

7.5 = (ปรมิ าตรของตวั ละลาย/400) x 100

ปรมิ าตรของตวั ละลาย = (7.5 x 400)/100

= 30

ดังนัน้ ปรมิ าตรของเอทิลแอลกอฮอล์ท่ีละลายอยใู่ นสารละลายนี้เท่ากบั 30 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร)

- นาเอทิลแอลกอฮอล์ 30 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาละลายในน้า 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาความเข้มข้นของ

สารละลายอทิลแอลกอฮอล์

(แนวตอบ รอ้ ยละโดยปริมาตร = (ปรมิ าตรของตัวละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100

= (30/400+30) x 100

= 6.98

ดงั นนั้ สารละลายเอทิลแอลกอฮอลม์ คี วามเข้มข้นร้อยละ 6.98 โดยปริมาตร)

- สารละลายกรดแอซีติกความเข้มข้นร้อยละ 12.5 โดยปริมาตร จานวน 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาปริมาตร

ของกรดแอซติ กี ท่ีละลายอยใู่ นสารละลายน้ี

(แนวตอบ ร้อยละโดยปริมาตร = (ปริมาตรของตัวละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100

12.5 = (ปริมาตรของตัวละลาย/200) x 100

ปริมาตรของตัวละลาย = (12.5 x 200) x 100

= 25

ดังนัน้ ปรมิ าตรของกรดแอซีติกทล่ี ะลายอยู่ในสารละลายนี้เท่ากับ 25 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร)
- หากต้องการเตรียมสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตความเข้มข้นร้อยละ 12.5 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 400
ลกู บาศก์เซนติเมตร จะต้องใชค้ อปเปอร์ (II) ซัลเฟตก่ีกรัม
(แนวตอบ จากสตู รรอ้ ยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร = (มวลของตัวละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100)

12.5 = (มวลของตัวละลาย/400) x 100
มวลของตวั ละลาย = (12.5 x 400) / 100

= 50
ดงั นัน้ ตอ้ งใชค้ อปเปอร์ (II) ซลั เฟต 50 กรมั ในการเตรียมสารละลายคอปเปอร์ (II) ซลั เฟตความเขม้ ขน้
รอ้ ยละ 12.5 โดยมวลต่อปรมิ าตร จานวน 400 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร)
2. ตรวจสอบผลจากรายงาน เร่อื ง ความเขม้ ข้นของสารละลายท่ีพบในชวี ิตประจาวนั
3. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 3.2 เรื่อง ร้อยละโดยมวล
4. ตรวจสอบผลจากใบงานท่ี 3.3 เร่ือง ร้อยละโดยปริมาตร
5. ตรวจสอบผลจากใบงานที่ 3.4 เรอ่ื ง ร้อยละโดยมวลต่อปรมิ าตร
6. ประเมินจากการทากิจกรรม การเตรยี มสารละลายที่ตวั ละลายและตัวทาละลายเป็นของเหลว
7. ประเมินจากการทากิจกรรม การเตรยี มสารละลายที่ตัวละลายเปน็ ของแขง็ และตัวทาละลายเปน็ ของเหลว
8. ตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม Topic Question ท้ายหัวข้อ เร่อื ง ความเข้มขน้ ของสารละลาย
9. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
สอื่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 สารละลาย
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สารละลาย
3) ใบงานที่ 3.2 เรอ่ื ง รอ้ ยละโดยมวล
4) ใบงานที่ 3.3 เรือ่ ง ร้อยละโดยปรมิ าตร
5) ใบงานท่ี 3.4 เรื่อง รอ้ ยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร
6) PowerPoint เรอื่ ง ความเข้มข้นของสารละลาย
7) QR Code เรือ่ ง ร้อยละโดยมวลเร่ือง ร้อยละโดยปริมาตร และเร่ือง ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร

แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

7. บนั ทกึ ผลหลังแผนการจดั การเรยี นรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ด้านความรู้ (K)

ตารางที่ 1 แสดงคา่ รอ้ ยละระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เร่อื ง ...................................................

ระดบั ผลสัมฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 1 พบวา่ นกั เรยี นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ร้อยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ

รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดบั ...............และพบว่านกั เรียน....................................................

1.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P )

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เร่ือง ..................................................

ระดับผลสัมฤทธิ์ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 2 พบว่านักเรียนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน รอ้ ยละ................อยใู่ นระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยูใ่ นระดับ................และพบว่านักเรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คณุ ลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เชอ่ื มโยงกบั มาตรฐานหลกั สตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เรอ่ื ง ............................................

ระดับผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรยี น ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรบั ปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 3 พบวา่ นกั เรยี นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดับ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยู่ในระดบั ...............และพบว่านกั เรียน.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ …………………………..
1) นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นอยู่ในระดับ...................
2) นกั เรยี นมที กั ษะในระดบั ..................
3) นักเรียนมีคณุ ลกั ษณะในระดบั ...............

2.บรรยากาศการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปล่ยี นแผนการจัดการเรียนรู้ (ถ้าม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ขอ้ ค้นพบด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อ่นื ๆ....................................................................................................................................................

ปญั หา/ส่ิงท่พี ฒั นา / แนวทางแกป้ ัญหา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/สิ่งทพี่ ัฒนา สาเหตุของปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วธิ แี ก้ไข/พฒั นา ผลการแกไ้ ข/พัฒนา
สิง่ ทพี่ ัฒนา พฒั นา

ลงชือ่ ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนนิ การ

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้

ลงช่อื ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผ้อู านวยการกล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ

ลงชื่อ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผู้อานวยการโรงเรยี นโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบรุ ี

8. ความคดิ เห็น (ผู้บรหิ าร / หรอื ผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย)
ได้ทาการตรวจแผนการจดั การเรียนร้ขู อง.................................................แลว้ มคี วามเหน็ ดงั น้ี
8.1 เป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี
ดีมาก ดี
พอใช้ ตอ้ งปรบั ปรงุ
8.2 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ใช้กระบวนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
ท่ียังไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

8.3 เปน็ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนาไปใช้

8.4 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชือ่ ....................................................................
(นางสาวสจุ ิตรา สมวาส)
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้

ความคดิ เหน็ ของรองผูอ้ านวยการฝาุ ยวชิ าการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธธิ รานนท์ )

รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผอู้ านวยการโรงเรยี น

................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบุรี

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4

เร่ือง การใช้สารละลายในชวี ิตประจาวนั เวลา 3 ชวั่ โมง ระดับชั้นมัธยมปีที่ 2

__________________________________________________________________________

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ / หลกั ฐานการเรียนรู้ / การวดั และการประเมินผล

มาตรฐานการเรยี นรู้และ สิ่งท่ีตอ้ งร้แู ละปฏิบัติได้ ผลงาน / ชน้ิ งาน การวดั ผลและการ

ตวั ชว้ี ดั ประเมนิ ผล

ว 1.2 ม.2/6 1. ความสามารถในการ การประเมินชิ้นงาน/ภาระ - ประเมนิ การนาเสนอ
สือ่ สาร งาน ผลงาน
2. ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการใช้ - ประเมินการปฏิบัติการ
เทคโนโลยี

2. สาระการเรยี นรู้ (Learning Contents)

1. ความรู้ (Knowledge)

1. อธบิ ายการนาสารละลายไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจาวัน (K)
2. ระบคุ วามเข้มขน้ ของสารละลายที่นามาใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวัน (K)

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (Skill during the process)
1. ประยุกตใ์ ช้ความรู้เกยี่ วกบั สารละลายมาใช้ในชีวติ ประจาวันได้ (P)

4. สมรรถนะ (Competency)
1.สนใจใฝุรใู้ นการศกึ ษา (A)
2.ทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ (A)
3. หลกั ฐานการเรียนรู้ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (Work)

การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน/ประเมินการนาเสนอผลงาน/ประเมนิ การปฏิบตั กิ าร/แบบทดสอบ

4. การวดั และการประเมนิ ผล ( Evaluation )

สง่ิ ทวี่ ดั ผล วิธวี ดั ผล เครอื่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ (K) -ทดสอบกอ่ นเรยี น - ประเมินการนาเสนอ - ประเมนิ การนาเสนอ
ผลงาน ผลงาน
-ตรวจผลงาน/กิจ
กรรมเป็รายบุคคล - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร
หรือเปน็ กลมุ่ ทางานรายบุคคล

- สังเกตพฤตกิ รรมการ
ทางานกลุม่

- สงั เกตความมวี ินัย ใฝุ

เรยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการ

ทางาน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ(P) -ประเมนิ พฤติกรรม สังเกตพฤติกรรมการ -ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ
เจตคต/ิ คุณลักษณะ (A)
ในการทางานเป็น ทางานรายบุคคล - ประเมนิ การนาเสนอ
รายบุคคลและเป็น - สังเกตพฤตกิ รรมการ ผลงาน

กลุม่ ในดา้ นการ ทางานกลมุ่ - ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ
สือ่ สารการคดิ การ - สังเกตความมีวนิ ัย ใฝุ
แกป้ ญั หา
เรยี นรู้ และมงุ่ มั่นในการ

ทางาน

-ประเมนิ พฤติกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ในการทางานเป็น ทางานรายบคุ คล
รายบคุ คลในดา้ น - สงั เกตพฤตกิ รรมการ

ความมวี นิ ยั ความใฝุ ทางานกลมุ่
เรยี นรู้

สมรถนะของผ้เู รยี น (C)

5. กระบวนการการจัดกิจกรรม / รูปแบบการจดั กิจกรรม ( Learning Process )

การจดั กิจกรรมการเรียนร้/ู แนวทางการเสรมิ แรงหรือชว่ ยเหลือนักเรยี น
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

6. กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ชั่วโมงท่ี 1

ขน้ั นา

กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นกั เรียนทา Understanding Check จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง

กอ่ นเรียน
2. ถามคาถามPrior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า จง

ยกตัวอย่างสารละลาย และการนาไปใช้ประโยชน์ของสารละลายในชีวติ ประจาวนั ที่รจู้ กั
(แนวตอบคาตอบขึน้ อยู่กบั ดลุ ยพนิ จิ ของครูผู้สอน เชน่ นา้ ส้มสายชเู ปน็ สารละลายที่ประกอบด้วยน้าเป็นตัวทาละลาย
และกรดแอซีตกิ เปน็ ตวั ละลาย ใช้เพ่ิมรสเปร้ียวให้กับอาหาร หรือแอลกอฮอล์ล้างแผลเป็นสารละลายท่ีประกอบด้วย
เอทลิ แอลกอฮอลเ์ ป็นตัวทาละลาย และน้าเปน็ ตวั ละลาย ใช้ลา้ งแผลเพ่อื ฆ่าเช้ือโรคตา่ ง ๆ)

ขน้ั สอน

สารวจค้นหา(Explore)
1. เกริ่นให้นักเรียนฟังว่า ปัจจุบันมีการนาสารละลายต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ในหลายด้าน ทั้งด้านอุปโภคบริโภค ด้าน

การแพทย์ ดา้ นการเกษตร และดา้ นอตุ สาหกรรม สารละลายแต่ละชนิดถกู ใช้ท่ีความเขม้ ข้นแตกต่างกัน
2. นักเรียนศึกษาตัวอย่างสารละลายท่ีถูกนามาใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น น้าส้มสายชู แอลกอฮอล์ล้างแผล น้าเกลือ ทิน

เนอร์ นา้ ยาล้างเล็บ สารทาความสะอาด และสารเคมีกาจัดศัตรูพืชจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
3. นักเรยี นแบ่งกล่มุ เปน็ 4 กลุม่ สบื คน้ ข้อมูล เรือ่ ง การใชส้ ารละลายดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้

- กลุ่มท่ี 1 เรอื่ ง การใชส้ ารละลายในดา้ นการอปุ โภคและบรโิ ภค
- กลุ่มท่ี 2 เรือ่ ง การใช้สารละลายในด้านการแพทย์

- กลมุ่ ท่ี 3 เร่ือง การใช้สารละลายในด้านการเกษตร
- กลุ่มท่ี 4 เร่ือง การใช้สารละลายในดา้ นอตุ สาหกรรม
จดั ทารายงานและปาู ยนเิ ทศเพือ่ นาเสนอในชว่ั โมงต่อไป

อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. ถามคาถามนกั เรยี น โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้

- เพราะเหตใุ ดจงึ ไมใ่ ช้แอลกอฮอลล์ ้างแผลทคี่ วามเขม้ ขน้ สูงกว่ารอ้ ยละ 70 โดยปรมิ าตร

(แนวตอบเนอื่ งจากแอลกอฮอล์ทค่ี วามเขม้ ขน้ สูงกว่ารอ้ ยละ 70 โดยปริมาตร จะระเหยอย่างรวดเร็ว ทาให้ระยะเวลา

ในการฆา่ เช้อื โรคน้อยเกินไป)

- เพราะเหตใุ ดนา้ เกลอื ที่ให้กบั ผปู้ วุ ยจึงต้องใช้ท่คี วามเข้มข้นรอ้ ยละ 0.9 โดยมวลต่อปรมิ าตร

(แนวตอบ เนื่องจากน้าเกลอื ทีค่ วามเข้มขน้ ร้อยละ 0.9 โดยมวลตอ่ ปริมาตร เปน็ ความเข้มขน้ ท่เี ทา่ กับเกลือแร่ท่ีอยู่ใน

รา่ งกาย จงึ ถกู ใชเ้ พือ่ ปรับสมดลุ ของเกลือแร่ในร่างกาย)

- น้าในแอลกอฮอลล์ า้ งแผลกบั ในนา้ เกลือทาหน้าที่เหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร

(แนวตอบ น้าในแอลกอฮอล์ลา้ งแผลทาหน้าที่เปน็ ตวั ละลาย แต่น้าในน้าเกลอื ทาหนา้ ทีเ่ ป็นตวั ทาละลาย)

- เพราะเหตใุ ดการใช้สารเคมีกาจัดศตั รูพืชจงึ ต้องนามาผสมนา้ กอ่ นใช้

(แนวตอบเนื่องจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืชเป็นสารอันตราย หากได้รับเข้าสู่ร่างกายจะก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย

หรือก่อให้เกิดสารพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อมได้ จึงต้องนามาผสมน้าเพื่อทาให้มีความเข้มข้นลดลงก่อนนาไปใช้ เพื่อ

ไมใ่ หเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ผู้ใช้ หรอื ตกคา้ งในสง่ิ แวดล้อม)

2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใช้สารละลายในชีวิตประจาวันเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ สารละลายแต่ละ

ชนิดจะใช้ท่ีความเขม้ ขน้ แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น

- นา้ สม้ สายชู มีนา้ เป็นตัวทาละลาย และกรดแอซตี กิ เปน็ ตวั ละลาย ถกู นามาใชท้ ค่ี วามเขม้ ขน้ ร้ อ ย

ละ 4-18 โดยปริมาตร

- แอลกอฮอล์ล้างแผล มีเอทิลแอลกอฮอลเ์ ป็นตวั ทาละลาย และน้าเป็นตวั ละลาย ถูกใช้ที่ความ เข้มข้นร้อยละ

70 โดยปริมาตร

- น้าเกลอื มีน้าเปน็ ตวั ทาละลาย และโซเดียมคลอไรดเ์ ป็นตวั ละลาย ถูกใช้ท่คี วามเขม้ ข้นร้อยละ 0.9 ห รื อ

15 โดยมวลต่อปรมิ าตร ตามวตั ถุประสงคข์ องการใชง้ าน

- สารทาความสะอาด มกี รดไฮโดรคลอริกหรือกรดซลั ฟวิ รกิ เปน็ ตวั ละลาย ถูกใชท้ ี่ความเข้มข้นต่า

ชว่ั โมงที่ 2

ขนั้ สอน

อธิบายความรู้ (Explain)
1. ครูทบทวนความรู้จากชั่วโมงทแี่ ล้วให้นักเรยี นทราบว่า สารละลายถกู นามาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั หลาย ๆ ดา้ น

ไดแ้ ก่ ดา้ นการอุปโภคและบริโภค เช่น น้าส้มสายชู น้ายาล้างเล็บ ด้านการแพทย์ เช่น แอลกอฮอล์ล้างแผล น้าเกลือ
ดา้ นการเกษตร เชน่ สารเคมกี าจดั ศตั รูพชื ดา้ นอตุ สาหกรรม เช่น ทินเนอร์
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอปูายนิเทศ เร่ือง การใช้สารละลายด้านต่าง ๆกลุ่มละ 10 นาที และให้กลุ่มอื่นร่วมถาม
คาถามกลุ่มท่นี าเสนอ
3. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกับการใชส้ ารละลายดา้ นต่าง ๆ จากการนาเสนอของนักเรยี น
4. ครูให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน เตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับการทากิจกรรม Fun Science Activity เร่ือง ไข่
เค็ม ในชวั่ โมงต่อไป

ชวั่ โมงท่ี 3

ขน้ั สอน

สารวจคน้ หา(Explore)

1. ทบทวนความรู้ เรื่อง ความเข้มขน้ ของสารละลาย ซ่ึงเป็นค่าที่แสดงปริมาณตัวละลายในตัวทาละลายหรือสารละลาย

แบง่ ออกเป็นรอ้ ยละโดยมวล ร้อยละโดยปริมาตร และร้อยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร
2. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทากจิ กรรม Fun Science Activity เรอ่ื ง ไข่เค็มจากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

อธิบายความรู้ (Explain)

1. จับสลากเลือกกลุ่มของนักเรียน 3 กลุ่ม นาเสนอการเตรียมสารละลายเกลือเพ่ือใช้ในกิจกรรม Fun Science

Activity

2. ถามคาถามนกั เรียนเก่ยี วกับการเตรียมสารละลาย โดยใชค้ าถามต่อไปนี้

- นักเรียนจะเตรียมสารละลายเกลือความเข้มข้นร้อยละ 25 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 1000 ลูกบาศก์

เซนตเิ มตรอยา่ งไร

(แนวตอบ รอ้ ยละโดยมวลต่อปริมาตร = (มวลของตวั ละลาย/ปริมาตรของสารละลาย) x 100

25 = (มวลของตวั ละลาย/1000) x 100

มวลของตวั ละลาย = (25 x 1000) /100

= 250

ดังนัน้ ตอ้ งละลายเกลอื 250 กรัมในน้า ซ่งึ น้าทใี่ ชค้ วรมีปริมาตรตา่ กวา่ 1000 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร (อาจใช้ปรมิ าตร

เพียงคร่ึงหนึ่งของปรมิ าตรทต่ี อ้ งการ) แลว้ จึงปรับปรมิ าตรสดุ ทา้ ยเปน็ 1000 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร)

- การเลือกใชเ้ กลือปนุ มขี ้อดีกวา่ การเลือกใชเ้ กลือเมด็ อย่างไร

(แนวตอบ เนอ่ื งจากเกลือป่นมขี นาดเล็กกว่าเกลือเม็ด จึงมพี ื้นทผี่ วิ สมั ผัสมากกว่า ทาให้เกลือป่นสามารถละลายน้าได้

ดีกว่าเกลือเมด็ )

3. นักเรียนและครรู ว่ มกันอภปิ รายผลกจิ กรรม Fun Science Activityเพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรุป ดงั นี้ การเตรียมสารละลายเกลอื

เขม้ ข้นร้อยละ 25 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน 1,000 ลกู บาศกเซนตเิ มตร สามารถคานวณจากสตู ร
มวลของตัวละลาย
ร้อยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตร ปรมิ าตรของสารละลาย

โดยในการเตรียมสารละลายเกลือจะนาเกลือปุนที่ใช้ทั้งหมดมาละลายในน้าก่อน ซ่ึงควรใช้น้าท่ีปริมาตรต่ากว่า
1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร (อาจใช้เพียง 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร) แล้วจึงปรับปริมาตรสุดท้ายเป็น 1,000
ลูกบาศก์เซนติเมตร และการใช้เกลือปุนในการเตรียมสารละลาย เน่ืองจากเกลือปุนมีขนาดเล็กกว่าเกลือเม็ด จึงมี
พ้ืนทผ่ี วิ สัมผสั มากกวา่ ทาให้เกลอื ปนุ ละลายน้าไดด้ ีกวา่ เกลอื เม็ด
4. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาไขเ่ คม็ ที่ทาจากกจิ กรรม Fun Science Activity มาส่งครู กลุ่มละ 2 ฟอง หลังจากเวลาผ่านไป
3 สปั ดาห์

ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
1. นกั เรยี นทา Topic Question ท้ายหวั ข้อ เร่ือง การใช้สารละลายในชีวิตประจาวันจากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2

เลม่ 1
2. นักเรยี นทา Self Check ทา้ ยหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สารละลาย จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
3. นกั เรยี นทา Unit Question ทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3สารละลายจากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
4. นกั เรียนทาแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 สารละลาย

ขน้ั สรปุ

ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเก่ียวกับการใช้สารละลายในชีวิตประจาวัน และให้นักเรียนสรุปความสาคัญของ

สารละลาย การใชส้ ารละลายในชีวติ ประจาวนั ประโยชนแ์ ละโทษของสารละลายที่ใช้ในชีวติ ประจาวันของนักเรยี นลง
ในกระดาษ A4 อยา่ งนอ้ ย 3 หนา้
2. ประเมินผลจากปูายนเิ ทศและการนาเสนอ เร่อื ง การใช้สารละลายในดา้ นตา่ ง ๆ
3. ตรวจสอบผลจากการสรปุ การใชส้ ารละลายในชวี ติ ประจาวัน
4. ประเมินผลจากการทากจิ กรรม Fun Science Activity เรือ่ ง ไขเ่ คม็
5. ตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม Topic Question ท้ายหวั ข้อ เรื่อง การใช้สารละลายในชีวิตประจาวนั
6. ตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม Unit Question ท้ายหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื ง สารละลาย
7. ตรวจสอบผลจากการทาแบบฝกึ หัดในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
8. ตรวจสอบผลจากแบบทดสอบหลงั เรียน

สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 สารละลาย
2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 สารละลาย
3) แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 สารละลาย
3) PowerPoint เรื่อง การใชส้ ารละลายในชวี ติ ประจาวัน

แหลง่ การเรยี นรู้

1) หอ้ งเรียน

2) หอ้ งสมดุ

3) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ

7. บันทกึ ผลหลงั แผนการจดั การเรียนรู้

1. ผลการเรียนรู้

1.1 ดา้ นความรู้ (K)

ตารางที่ 1 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เร่อื ง ...................................................

ระดบั ผลสัมฤทธ์ิ จานวนนักเรยี น ร้อยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 1 พบวา่ นกั เรยี นผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น รอ้ ยละ................อยู่ในระดับ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดบั ...............และพบว่านักเรยี น....................................................
............................................................................................................................................................

1.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P )

ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เรอ่ื ง ..................................................

ระดับผลสมั ฤทธิ์ จานวนนกั เรียน รอ้ ยละ

ดีมาก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรงุ (50-59 คะแนน)

จากตารางท่ี 2 พบว่านักเรยี นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ร้อยละ................อยู่ในระดบั ..........และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อยใู่ นระดับ................และพบว่านกั เรียน
.............................................................................................................................................................

1.3 ดา้ นเจตคติ / คุณลกั ษณะฯ (A)/ สมรรถนะ (C) เช่อื มโยงกับมาตรฐานหลักสตู ร

ตารางท่ี 3 แสดงค่าร้อยละคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เรื่อง ............................................

ระดับผลสมั ฤทธ์ิ จานวนนกั เรียน ร้อยละ

ดมี าก (80-100 คะแนน)

ดี (70-79 คะแนน)

พอใช้ (60-69 คะแนน)

ปรับปรุง (50-59 คะแนน)

จากตารางที่ 3 พบวา่ นักเรยี นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รอ้ ยละ..............อยใู่ นระดบั ............และ
รองลงมารอ้ ยละ.................อย่ใู นระดบั ...............และพบวา่ นักเรียน.....................................................
..................................................................................................................................................................
สรุป ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ …………………………..
1) นกั เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนอยู่ในระดับ...................
2) นกั เรยี นมที กั ษะในระดับ..................
3) นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะในระดับ...............

2.บรรยากาศการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การปรับเปลี่ยนแผนการจัดการเรยี นรู้ (ถา้ ม)ี
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ข้อคน้ พบด้านพฤตกิ รรมการจัดการเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5. อน่ื ๆ.........................................................................................................................................................

ปญั หา/ส่งิ ท่ีพัฒนา / แนวทางแก้ปัญหา / แนวทางการพัฒนา

ปญั หา/สิง่ ท่ีพฒั นา สาเหตุของปญั หา/ แนวทางแกไ้ ข/ วิธแี ก้ไข/พัฒนา ผลการแกไ้ ข/พฒั นา
ส่งิ ทพ่ี ัฒนา พัฒนา

ลงชื่อ............................................. ผสู้ อน
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)

รบั ทราบผลการดาเนนิ การ

ลงชอ่ื ...............................................
(นางสาวสจุ ติ รา สมวาส)
หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผ้อู านวยการกลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ

ลงช่ือ...........................................
( นายวรี ะ แก้วกลั ยา )

ผูอ้ านวยการโรงเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 47 จงั หวดั เพชรบรุ ี

8. ความคิดเห็น (ผ้บู ริหาร / หรอื ผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย)
ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง.................................................แล้วมคี วามเหน็ ดงั น้ี
8.1 เปน็ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ

8.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ใช้กระบวนการสอนได้อย่างเหมาะสม
ทีย่ งั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป

8.3 เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่
นาไปใช้สอนได้
ควรปรบั ปรุงกอ่ นนาไปใช้

8.4 ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ
................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวสุจติ รา สมวาส)
หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการฝุายวิชาการ
................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................
( นายชาญยทุ ธ สทุ ธิธรานนท์ )
รองผ้อู านวยการกลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ
ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการโรงเรยี น
................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................
( นายวรี ะ แกว้ กัลยา )

ผอู้ านวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 47 จงั หวัดเพชรบรุ ี


Click to View FlipBook Version