0
แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ
ช่ือวชิ า การออกแบบระบบไฟฟ้า รหสั วชิ า 30104-2002 ทฤษฎี 2 ปฏิบตั ิ 3 หน่วยกติ 3
หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง
ประเภทวชิ าช่างอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าไฟฟ้า
สาขางานไฟฟ้ากาลงั
จดั ทาโดย
ว่าที่ ร.ต.ประจวบ แสงวงค์
วทิ ยาลยั การอาชีพสว่างแดนดิน
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร
1
คานา
แผนการสอนวิชา “การออกแบบระบบไฟฟ้า ” รหัสวิชา 30104-2002 จดั ทาข้ึนเพ่ือใชเ้ ป็ นแนวทางใน
การจดั การเรียนการสอน วิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า ตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
พุทธศกั ราช 2563 ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจดั การเรียนการสอนท้งั หมด 18 สัปดาห์
สปั ดาห์ละ 5 ชวั่ โมง เน้ือหาภายใน ประกอบดว้ ย ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า ชนิดและ
ขนาดสายไฟฟ้า เครื่องป้องกนั ประแสเกิน ท่องานไฟฟ้า การเดินสายในรางเดินสาย และการเดินสายแบบอื่น ๆ
การเดินสายในรางเดินสาย และรางเคเบิล ระบบสายดิน ระบบป้องกนั ฟ้าผ่า การปรับปรุงตวั ประกอบกาลงั การ
ออกแบบระบบไฟฟ้า แหล่งจ่ายไฟฟ้าสารอง แรงดนั ตกในระบบไฟฟ้า การบารุงรักษาระบบไฟฟ้า
สาหรับแผนการสอนรายวิชาน้ี ผูจ้ ดั ทาไดท้ ุ่มเทกาลงั กาย กาลงั ใจและเวลาในการศึกษาคน้ ควา้ ทดลอง
เพอ่ื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพตอ่ การเรียนการสอน และการจดั การเรียนการสอนตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
แบบพอเพยี ง
ทา้ ยท่ีสุดน้ี ผจู้ ดั ทาขอขอบคณุ ผทู้ ี่สร้างแหล่งความรู้ และผทู้ ี่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นส่วนสาคญั ท่ีทา
ให้แผนการสอนวิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า เล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย และหากผใู้ ช้พบขอ้ บกพร่อง
หรือมีขอ้ เสนอแนะประการใด ขอไดโ้ ปรดแจง้ ผจู้ ดั ทาทราบดว้ ย จกั ขอบคุณยงิ่
ประจวบ แสงวงค์
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564
2
สารบญั หน้า
เรื่อง 3
คานา 4
แผนการเรียนรู้รายวิชา 16
รายการหน่วย ช่ือหน่วย และสมรรถนะประจาหน่วย 17
รายชื่อหน่วยการสอน/การเรียนรู้ 40
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยท่ี 1 60
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยท่ี 2 80
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยท่ี 3 101
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยท่ี 4 126
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยที่ 5 150
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยที่ 6 174
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยที่ 7 198
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยท่ี 8 220
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยที่ 9 238
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยที่ 10 255
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยท่ี 11 275
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎีหน่วยที่ 12
บรรณานุกรม
3
แผนการเรียนรู้รายวชิ า
ชื่อรายวิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า
รหสั วชิ า
ระดบั ช้นั 30104-2002 (ท-ป-น) 2-3-3
หน่วยกิต
ทฤษฎี ปวส. สาขาวชิ า/แผนกวชิ า ช่างไฟฟ้ากาลงั
ภาคเรียนที่
3 จานวนคาบรวม 90 คาบ
2 คาบ/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 3 คาบ/สัปดาห์
1 ปี การศึกษา 2564
จดุ ประสงค์รายวชิ า เพื่อให้
1. เขา้ ใจหลกั การมาตรฐาน การออกแบบระบบไฟฟ้า
2. คานวณ กระแส แรงดนั กาลงั ไฟฟ้าในระบบ
3. มีกิจนิสัยในการทางานร่วมกบั ผอู้ ื่น ดว้ ยความประณีต รอบคอม และปลอดภยั
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ียวกบั มาตรฐาน การออกแบบระบบไฟฟ้า
2. เลือกใช้ วสั ดุ อุปกรณ์ ในการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
3. เลือกใชอ้ ุปกรณ์ ในงานป้องกนั ระบบไฟฟ้า
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเก่ียวกบั กฎมาตรฐานทางไฟฟ้า การคานวณ ออกแบบ การติดต้งั ระบบไฟฟ้า ระบบจ่ายกาลงั แสง
สว่าง ส่ือสาร ระบบป้องกนั ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร นอกอาคาร และในโรงงาน ระบบป้องกนั ฟ้าผ่า ระบบ
กราวด์
4
รายการหน่วย ชื่อหน่วย และสมรรถนะประจาหน่วย
ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยท่ี 1 ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและ สมรรถนะ
มาตรฐานการตดิ ต้ังระบบไฟฟ้า - ติดต้งั ระบบไฟฟ้า
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายการใชแ้ รงดนั สูงเพอื่ การส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
ได้
2. บอกอนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูงได้
3. สาธิตระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้าได้
4. แกป้ ัญหาระบบไฟฟ้าได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
5. ผลิตระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้าได้
ด้านจติ พสิ ัย
6. ยอมรับมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้าได้
7. ปฏิบัติตามข้อกาหนดสาหรับสถานท่ีติดต้ังเครื่อง
อปุ กรณ์ได้
5
ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
หน่วยท่ี 2 ชนดิ และขนาดสายไฟฟ้า สมรรถนะ
- เลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธพิ สิ ัย
1. อธิบายส่วนประกอบของสายไฟฟ้าได้
2. บอกชนิดของสายไฟฟ้าและลกั ษณะการติดต้งั ได้
3. แกป้ ัญหาขนาดกระแสของสายไฟฟ้าได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
4. ผลิตจานวนสายในท่อร้อยสายได้
ด้านจติ พสิ ัย
5. เลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านได้
6
ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยท่ี 3 เครื่องป้องกนั กระแสเกนิ สมรรถนะ
- เลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธพิ สิ ัย
1. อธิบายฟิ วส์ป้องกนั กระแสเกินได้
2. บอกหลกั การทางานเซอร์กิตเบรกเกอร์ได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
3. สาธิตหลกั การทางานของเคร่ืองตดั ไฟร่ัวได้
ด้านจติ พสิ ัย
4. จาแนกหลกั การใชง้ านของแผงยอ่ ยและแผงสวิตชไ์ ด้
5. เลือกใชง้ านของเคร่ืองป้องกนั กระแสเกินได้
7
ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยท่ี 4 ท่องานไฟฟ้า การเดินสาย สมรรถนะ
ในรางเดินสายและการเดินสายแบบ - เดินสายในรางเดินสาย และการเดินสายแบบอ่ืนๆ
อื่นๆ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธพิ สิ ัย
1. อธิบายทอ่ ร้อยสายชนิดต่างๆ ได้
2. บอกขอ้ กาหนดการใชง้ านและติดต้งั ท่อร้อยสายชนิด
ตา่ งๆ ได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
3. คานวณหาขนาดท่อร้อยสายที่เหมาะสมกบั จานวน
สายไฟฟ้าได้
ด้านจติ พสิ ัย
4. จาแนกวธิ ีดึงสายทอ่ ร้อยสายได้
5. เลือกใชช้ นิดท่อร้อยสายใหเ้ หมาะสมกบั งานได้
8
ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยที่ 5 การเดนิ สายในรางเดินสาย สมรรถนะ
- เดินสายในรางเดินสาย และรางเคเบิล
และรางเคเบิล
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านพุทธิพสิ ัย
1. บอกขอ้ กาหนดการใชง้ านของรางเดินสายได้
2. อธิบายขอ้ กาหนดการติดต้งั รางเดินสายได้
3. คานวณหาขนาดรางเดินสายที่เหมาะสมกบั จานวน
สายไฟฟ้าได้
4. อธิบายชนิดตา่ งๆ ของรางเคเบิลได้
5. อธิบายชนิดของสายเคเบิลท่ีสามารถติดต้งั บนราง
เคเบิลได้
6. คานวณหาขนาดรางเคเบิลที่เหมาะสมกบั จานวนสาย
เคเบิลได้
7. บอกขนาดกระแสของสายเคเบิลในรางเดินสายได้
8. อธิบายขอ้ กาหนดการเดิน Bus way ได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
9. เดินสายในรางเดินสาย และรางเคเบิลได้
ด้านจิตพสิ ัย
10.ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดการเดินสายในรางเดินสายได้
9
ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยที่ 6 ระบบสายดนิ สมรรถนะ
- ติดต้งั ระบบสายดิน
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธพิ สิ ัย
1. อธิบายความสาคญั ของระบบสายดินได้
2. เปรียบเทียบความแตกตา่ งในดา้ นความปลอดภยั
ระหวา่ งระบบไม่มีสายดินและมีสายดินได้
3. บอกส่วนประกอบของระบบสายดินได้
4. อธิบายวธิ ีการติดต้งั ระบบสายดินได้
5. เลือกขนาดสายต่อหลกั ดินท่ีเหมาะสมกบั ตวั นา
ประธานได้
6. อธิบายวธิ ีการต่อหลกั ดินเขา้ กบั สายตอ่ หลกั ดินได้
7. เลือกขนาดสายดินท่ีเหมาะสมกบั พกิ ดั เคร่ืองป้องกนั
กระแสเกินได้
8. บอกอุปกรณ์ที่ตอ้ งต่อและไม่ตอ้ งต่อสายดินได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
9. ติดต้งั ระบบสายดินได้
ด้านจิตพสิ ัย
10. ปฏิบตั ิตามขอ้ ยกเวน้ ท่ีไม่จาเป็นตอ้ งต่อลงดินได้
10
ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยที่ 7 ระบบป้องกนั ฟ้าผ่า สมรรถนะ
- ติดต้งั ระบบป้องกนั ฟ้าผา่
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านพทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายหลกั การเบ้ืองตน้ ของการเกิดฟ้าผา่ ได้
2. วิเคราะห์หลกั การเบ้ืองตน้ ของการป้องกนั ฟ้าผา่ ได้
3. บอกส่วนประกอบของระบบป้องกนั ฟ้าผา่ ได้
4. อธิบายการป้องกนั ฟ้าผา่ แบบมุมป้องกนั และแบบตา
ข่ายได้
5. อธิบายความหมายของมุมป้องกนั ได้
6. อธิบายลกั ษณะของตวั นาลอ่ ฟ้าแบบปลายแหลมได้
7. อธิบายระบบตวั นาลงดินได้
8. อธิบายลกั ษณะรากสายดินได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
9. ติดต้งั ระบบป้องกนั ฟ้าผา่ ได้
ด้านจติ พสิ ัย
10. ปฏิบตั ิตามหลกั ความปลอดภยั ทางการไฟฟ้าได้
11
ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
หน่วยท่ี 8 การปรับปรุงตัวประกอบ สมรรถนะ
กาลงั - ปรับปรุงตวั ประกอบกาลงั
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพุทธิพสิ ัย
1. อธิบายความสัมพนั ธ์ของค่ากาลงั ไฟฟ้าต่างๆ และ
ค่าตวั ประกอบกาลงั ได)้
2. อธิบายค่าตวั ประกอบกาลงั ต่าสุดท่ีการไฟฟ้ากาหนด
ได้
3. อธิบายขอ้ ดีของการปรับปรุงค่าตวั ประกอบกาลงั ได้
4. อธิบายหลกั การในการปรับปรุงค่าตวั ประกอบกาลงั
ได้
5. บอกลกั ษณะการติดต้งั ชุดปรับปรุงค่าตวั ประกอบ
กาลงั ได้
6. หาขนาดสายไฟฟ้าและอปุ กรณ์ป้องกนั กระแสเกินท่ี
เหมาะสมได้
7. ออกแบบและคานวณหาขนาดคาปาซิเตอร์ได)้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
8. ปรับปรุงตวั ประกอบกาลงั ได้
ด้านจติ พสิ ัย
9. นาความรู้เรื่องการปรับปรุงตวั ประกอบกาลงั ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้
ช่ือเรื่อง 12
บทท่ี 9 การออกแบบระบบไฟฟ้า สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
สมรรถนะ
- ออกแบบระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารที่อย่อู าศยั
อาคารพาณิชยแ์ ละโรงงานอตุ สาหกรรม
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายข้นั ตอนการออกแบบระบบไฟฟ้าได้
2. แยกแยะขอ้ กาหนดสาหรับวงจรย่อยและขอ้ กาหนด
สาหรับสายป้อน
3. รวบรวมข้อกาหนดสาหรับตัวนาประธานและ
ขอ้ กาหนดสาหรับบริภณั ฑป์ ระธานได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
4. ฝึ กคานวณหาขนาดสายตวั นาวงจรย่อย สายป้อน
และตัวนาประธานและคานวณหาขนาดเครื่ อง
ป้องกนั กระแสเกินท่ีเหมาะสมได้
5. สาธิตการออกแบบระบบไฟฟ้าสาหรับอาคารที่อยู่
อาศยั อาคารพาณิชยแ์ ละโรงงานอุตสาหกรรมใน
เบ้ืองตน้ ได้
ด้านจติ พสิ ัย
6. สนบั สนุนการป้องกนั กระแสเกินสาหรับวงจรย่อย
และสายป้อน
ช่ือเรื่อง 13
บทท่ี 10 แหล่งจ่ายไฟฟ้าสารอง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
สมรรถนะ
- แสดงความรู้เกี่ยวกับแหล่งจ่ายไฟฟ้าสารอง
และขนาดแหล่งจ่ายไฟฟ้าสารอง
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายมลภาวะทางไฟฟ้าได้
2. ยกตัวอย่างส่วนประกอบของแหล่งจ่ายไฟฟ้า
สารองได้
ด้านทักษะพสิ ัย
3. สาธิตการเลือกขนาดของแหลง่ จ่ายไฟฟ้าสารองได้
(ดา้ นทกั ษะพิสยั )
ด้านจิตพสิ ัย
4. จาแนกชนิดของแหล่งจ่ายไฟฟ้าสารองได้
ชื่อเรื่อง 14
บทท่ี 11 แรงดนั ตกในระบบไฟฟ้า สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
สมรรถนะ
- คานวณหาแรงดนั ตกในระบบไฟฟ้า
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายผลของแรงดนั ตกต่อการทางานของโหลด
ได้
2. ตีคา่ ผลของแรงดนั ตกต่อกาลงั ไฟฟ้าสูญเสียได้
ด้านทกั ษะพสิ ัย
3. ฝึกคานวณหาแรงดนั ตกได้
4. ทดลองประมาณค่าแรงดนั ตกได้
ด้านจิตพสิ ัย
5. ช้ีแจงผลของค่าตวั ประกอบกาลงั ต่อแรงดนั ตกได้
6. ติดตามของขนาดอิมพีแดนซข์ องสายไฟฟ้าได้
ชื่อเร่ือง 15
บทที่ 12 การบารุงรักษาระบบไฟฟ้า สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
สมรรถนะ
- บารุงรักษาระบบไฟฟ้าและจัดเรียงความ
ปลอดภยั สาหรับการบารุงรักษา
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านพทุ ธพิ สิ ัย
1. อธิบายความสาคัญของการบารุงรักษารักษา
ระบบไฟฟ้าได้
2. ยกตัวอย่างความหมายของการบารุ งรักษา
เบ้ืองต้น การบารุงรักษาเพ่ือป้องกันและการ
บารุงรักษาเพ่ือคาดการณ์ได้
ด้านทักษะพสิ ัย
3. สาธิตการทดสอบเพื่อวิเคราะห์และการทดสอบ
กราวดไ์ ด้
4. เตรียมความปลอดภยั สาหรับการบารุงรักษาได้
ด้านจิตพสิ ัย
5. จดั ลาดบั รายการบารุงรักษาอปุ กรณ์ไฟฟ้าได้
16
รายชื่อหน่วยการสอน/การเรียนรู้
หน่วยการสอน/การเรียนรู้
วิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า
รหัส...30104-2002......คาบ/สัปดาห์.......5......คาบ
รวม......90…… คาบ
หน่วยที่ ช่ือหน่วย ทฤษฎี จานวนคาบ
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1 ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
2 ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า 46
3 เครื่องป้องกนั ประแสเกิน 23
4 ทอ่ งานไฟฟ้า การเดินสายในรางเดินสาย และการเดินสายแบบ 23
46
อื่น ๆ
5 การเดินสายในรางเดินสาย และรางเคเบิล 46
6 ระบบสายดิน 23
7 ระบบป้องกนั ฟ้าผา่ 46
8 การปรับปรุงตวั ประกอบกาลงั 23
9 การออกแบบระบบไฟฟ้า 23
10 แหล่งจ่ายไฟฟ้าสารอง 46
11 แรงดนั ตกในระบบไฟฟ้า 23
12 การบารุงรักษาระบบไฟฟ้า 46
รวม 90
17
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 1
ช่ือวิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า สอนสปั ดาห์ท่ี 1-2
ชื่อหน่วย ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั คาบรวม 10
ระบบไฟฟ้า
ชื่อเรื่อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า จานวนคาบ 10
สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
ติดต้งั ระบบไฟฟ้า
สาระสาคญั
รางเดินสายไฟฟ้าและรางเคเบิลเป็ นส่วนหน่ึงในการติดต้ังอุปกรณ์สายไฟฟ้า นิยมใช้ในการเดิน
สายไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม มีขอ้ ดีคือการติดต้งั ง่าย สะดวกรวดเร็ว และสามารถวางสายสาหรับการติดต้งั
สายไฟฟ้าไดจ้ านวนมาก ๆ เน่ืองจากมีขนาดที่กวา้ งกวา่ ท่อร้อยสาย ระบายอากาศไดด้ ี
เรื่องที่จะศึกษา
1. การใชแ้ รงดนั สูงเพอื่ การส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
2. อนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูง
3. ระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้า
4. ระบบไฟฟ้า
5. ระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้า
6. มาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้า
7. ขอ้ กาหนดสาหรับสถานที่ติดต้งั เครื่องอุปกรณ์
18
จุดประสงค์การเรียน/การสอน
• จดุ ประสงค์ท่ัวไป
1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า (ด้าน
พทุ ธิพิสัย)
2. เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการผลิตระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้า(ด้านทักษะพิสัย)
3. เพื่อใหม้ ีมีเจคติท่ีดีในการปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดสาหรับสถานที่ติดต้งั เครื่องอุปกรณ์ (ด้านจิตพิสัย)
• จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. อธิบายการใชแ้ รงดนั สูงเพอื่ การส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าได้ (ดา้ นพุทธิพสิ ัย)
2. บอกอนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูงได(้ ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย)
3. สาธิตระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้าได(้ ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย)
4. แกป้ ัญหาระบบไฟฟ้าได(้ ดา้ นพทุ ธิพิสยั )
5. ผลิตระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้าได้ (ดา้ นทกั ษะพิสยั )
6. ยอมรับมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้าได้ (ดา้ นจิตพสิ ัย)
7. ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดสาหรับสถานที่ติดต้งั เครื่องอปุ กรณ์ได้ (ดา้ นจิตพิสยั )
19
เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้
1.1.1 การใช้แรงดันสูงกระแสสลบั
การใชแ้ รงดนั AC เพื่อส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า นบั เป็นประโยชน์สาคญั ประการแรกของการสร้างแรงดนั
สูง การเลือกระดบั แรงดนั ของสายส่งใหเ้ หมาะสมน้นั ข้ึนอย่กู บั ปริมาณพลงั งานและระยะทางท่ีตอ้ งการส่ง โดย
ระดบั แรงดนั สูง ท่ีใชส้ ่งกาลงั ไฟฟ้าอยใู่ นปัจจุบนั น้ี แบ่งออกเป็น 3 ช่วงดว้ ยกนั คอื
1. แรงดนั สูง
2. แรงดนั สูงพเิ ศษ
3. แรงดนั สูงยงิ่
1.1.2 การใชแ้ รงดนั สูงกระแสตรง
แรงดนั สูงกระแสตรงที่สร้างข้ึนสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ใช้ส่งพลงั งานไฟฟ้าใช้ทางการแพทย์ ใช้
ทดสอบความเป็นฉนวนของวสั ดุ การสร้างแรงดนั สูงกระแสตรงสาหรับส่งพลงั งานไฟฟ้ามีการใชง้ านเพ่ิมมาก
ข้ึนเน่ืองจากมีขอ้ ดีหลายประการคือ ไม่มีกาลงั ไฟฟ้าสูญเสียในฉนวนท่ีเกิดจากการสลบั ข้วั ของรูปคลื่นแรงดนั
การเช่ือมต่อระหวา่ งสถานีไฟฟ้าทาง่าย
1.2 อนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูง
ไฟฟ้าแรงสูงเป็นส่ิงที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม และเป็นอนั ตรายต่อคนและสัตวโ์ ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
ไฟฟ้าแรงสูงที่เกิดข้นึ ตามธรรมชาติ เช่น ปรากฏการณ์ฟ้าผา่ ท่ีก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่ทรัพยส์ ิน ไฟฟ้าแรงสูงที่
มนุษยส์ ร้างข้ึน เพ่ือใชป้ ระโยชน์ในการส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าการทดสอบและอ่ืนๆ อย่างไรก็ดี ไฟฟ้าแรงสูงท่ี
สร้างข้ึน หากใช้ถูกหลกั และถูกวิธีจะมีคุณประโยชน์มากมาย แต่ถา้ ใช้ไม่ถูกวิธีหรือวตั ถุประสงค์ ก็จะทาให้
เกิดผลเสียข้นึ มากมายเช่นกนั
1.2.1 อนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูงที่มนุษยส์ ร้างข้นึ แก่คนและสตั ว์
ไฟฟ้าแรงสูงท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน มีอนั ตรายแก่คนและสัตวท์ างตรงและทางออ้ มจากผลสืบเนื่อง อนั ตราย
ทางตรงก็คือ การสัมผสั กับไฟฟ้าแรงสูง หรือการสปาร์กเขา้ หาคนและสัตวท์ าให้เกิดหระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ร่างกาย อนั ตรายจากไฟฟ้าถูกกาหนดดว้ ยค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นร่างกาย อนั ตรายจากไฟฟ้าถกู กาหนดดว้ ยค่า
กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นร่างกายเกินค่าวกิ ฤต
1.2.2 ผลของสนามไฟฟ้าและสนามแมเ่ หลก็ คนและสัตว์
ผลกระทบหรืออนั ตรายจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีต่อคนและสัตว์ จะมีคาถามเร่ืองน้ีอยู่เสมอ
โดยเฉพาะผทู้ ่ีมีท่ีอยูอ่ าศยั หรือที่ทางานอยูใ่ กลก้ บั สายส่งจ่ายแรงสูง จะมีความวิตกกงั วลถึงอนั ตรายที่เกิดข้ึนจาก
ส่ิงท่ีมองไม่เห็น ในเร่ืองน้ีไดม้ ีการศึกษา แต่ยงั ไม่มีขอ้ สรุปใดๆ เพราะไม่มีหลกั ฐานหรือขอ้ มูลยนื ยนั ท่ีสามารถ
พิสูจน์ได้ แต่จากการศึกษาพบวา่ บริเวณใตส้ ายส่งจ่ายแรงสูงหรือในสถานีจ่ายไฟฟ้าย่อยค่าความเขม้ สนามไฟฟ้า
ยอ่ ยค่าความเขม้ สนามไฟฟ้าและความหนาแน่นของฟลกั ซ์แมเ่ หลก็ ต่ากวา่ คา่ ท่ีกาหนดไว้
1.2 ระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้า
20
ระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้าในประเทศไทยน้นั มีหลายระบบ โดยข้ึนอยูก่ บั ระดบั แรงดนั ที่จ่ายซ่ึงหน่วยงาน
ที่เก่ียวขอ้ งกบั การผลิตและการส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้ามีอยู่ 3 หน่วยงานหลกั คือการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซ่ึงมีลกั ษณะงานดงั น้ี
1.3.1 การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีหน้าท่ีผลิตไฟฟ้าและจดั ส่งไฟฟ้าให้กบั การไฟฟ้า
นครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภมู ิภาค
1.3.2 การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) มีหน้าท่ีจาหน่ายไฟฟ้าในพ้ืนท่ี 3 จงั หวดั คือ กรุงเทพมหานคร
นนทบรุ ีและสมทุ รปราการ
1.3.3 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) มีหนา้ ที่เช่นเดียวกยั การไฟฟ้านครหลวง โยจาหน่ายไฟฟ้าในพ้ืนที่
ต่างๆ ทวั่ ประเทศยกเวน้ 3 จงั หวดั ในเขตของการไฟฟ้านครหลวง
1.4 ระบบไฟฟ้า
ระบบไฟแรงสูงน้นั จะเป็นชนิด 3 เฟส 3 สาย โดยไม่มีสายนิวทรัล และสายดิน แรงดนั ท่ีระบุน้นั จะเป็น
แรงดนั ระหวา่ งสายเส้นไฟ สาหรับผใู้ ชไ้ ฟขนาดใหญ่
ระบบไฟแรงฟ้า แรงต่าน้นั จะมีท้งั ชนิด 1 เฟส และ 3 เฟส ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะการใชง้ าน โดยระบบ 1 เฟส
เท่าน้ัน เหมาะสมกบั โหลดท่ีมีขนาดเล็ก และตอ้ งการกาลงั ไฟฟ้าไม่มากนกั ส่วนใหญ่จะใชก้ บั ท่ีอยู่อาศยั ส่วน
ระบบ 3 เฟส ใชก้ บั อาคารหรือโรงงานท่ีมีความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้ามากหรือโหลดท่ีมีกาลงั ไฟฟ้าสูงๆ การเลือก
ขนาดสายไฟฟ้าหรือเคร่ืองป้องกนั น้ันจะข้ึนอยู่กับขนาดของกระแสใช้งานสูงสุดของโหลดท่ีต่ออยู่ในวงจร
เดียวกนั เพราะหากมีขนาดนอ้ ยเกินไปสายไฟฟ้าหรือเคร่ืองป้องกนั อาจไหมห้ รือตดั วงจรไดแ้ มใ้ นสภาวะปกติ แต่
ตอ้ งมีขนาดท่ีไม่สูงเกินไป เพราะเป็นการสิ้นเปลือง
1.4.1 ระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงสูงจากการไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าแรงสูงคือมีแรงดันเกิน 1000 โวลต์ โดยจะมีระบบเดียวคือ 3 เฟส 3 สายขนาด
แรงดนั ท่ีระบุจะเป็นแรงดนั แตกตา่ งระหวา่ งสายเส้นไฟ
1.5 ระบบจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้า
การจ่ายไฟฟ้าในระบบแรงต่าคือ ไม่เกิน 1000 โวลต์ โดยทวั่ ไปจะมีอยู่ 2 รูปแบบข้ึนอยู่กับ
ลกั ษณะ การใชง้ านของผใู้ ชไ้ ฟฟ้า ดงั น้ี
1.5.1ระบบ 1 เฟส 2 สาย (ไมร่ วมสายดิน)
1.5.2 ระบบ 3 เฟส 4 สาย (ไมร่ วมสายดิน)
21
1.6 มาตรฐานการตดิ ต้งั ทางไฟฟ้า
ดงั ท่ีไดก้ ล่าวแลว้ ขา้ งตน้ วา่ การติดต้งั ทางไฟฟ้าน้นั มีความสาคญั ดงั น้นั จึงมีมาตรฐานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การ
เดินสายและอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่มู ากมาย โดยมาตรฐานสาหรับประเทศไทยน้นั เรียกว่า มาตรฐานการติดต้งั ไฟฟ้า
สาหรับประเทศไทย ซ่ึงเป็นมาตรฐานบงั คบั ใชส้ าหรับการออกแบบและติดต้งั อุปกรณ์ไฟฟ้ามาตรฐานฉบบั น้ีได้
ออกเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยวิศวกรรมสถานท่ีแห่งประเทศไทย ร่วมกบั การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
และหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวขอ้ งไดร้ ่วมกนั ร่างมาตรฐานฉบบั น้ี แต่เดิมน้ันการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วน
ภมู ิภาคไดอ้ อกมาตรฐานของตนเองเพ่อื บงั คบั ใชเ้ ฉพาะในพ้ืนที่จาหน่ายไฟฟ้าของหน่วยงานตนเองเทา่ น้นั ทาให้
มีขอ้ กาหนดบางส่วนที่แตกต่างกนั แต่ปัจจุบนั ไดร้ วมกนั เป็นมาตรฐานฉบบั เดียว เพ่ือความสะดวกในการใชง้ าน
และมาตรฐานน้ีจะมีการปรับปรุงอยเู่ สมอ
เครื่องอุปกรณ์และสายไฟฟ้าทุกชนิดท่ีผูใ้ ช้ไฟจะหามาติดต้งั ใช้งาน จะต้องมีคุณสมบัติเป็ นไปตาม
มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (มอก.) หรือมาตรฐานที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคยอมรับ
หากเครื่องอุปกรณ์ใดที่ไม่ไดผ้ ลิตตามมาตรฐานท่ีการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคยอมรับ จะตอ้ งได้รับความ
เห็นชอบจาก การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคก่อน ท้งั น้ีเพือ่ ความปลอดภยั ของผใู้ ชไ้ ฟเอง โดยแยกรายละเอียดได้ ดงั น้ี
1.6.1 สายไฟฟ้าและตวั นาไฟฟ้า
1.6.1.1 สายไฟฟ้าหุม้ ฉนวน
- สายไฟฟ้าทองแดงหุม้ ฉนวนพีวีซี เป็นไปตาม มอก.11
- สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมหุม้ ฉนวนพีวซี ี เป็นไปตาม มอก.293
1.6.1.2 สายไฟฟ้าเปลือย
- ตวั นาไฟฟ้าทองแดงรีดแข็งสาหรับสายส่งกาลงั เหนือดิน เป็นไปตาม มอก.64 สายไฟฟ้าอะลูมิเนียมตี
เกลียวเปลือย เป็นไปตาม มอก.85
- สายไฟฟ้าอะลมู ิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหลก็ เป็นไปตาม มอก.86
1.6.1.3 สายไฟฟ้าและตวั นาไฟฟ้าชนิดอื่น ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคยอมรับ
1.6.1.4 รหัสสีของสายไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้าไดก้ าหนดสีของสายไฟฟ้าหุ้มฉนวน
แรงดนั ต่า
1.6.2 อุปกรณ์ตัดตอนและเคร่ืองป้องกนั กระแสเกนิ
1.6.2.1 ตวั ฟิ วส์และตวั ยดึ ฟิ วส์ เป็นไปตาม มอก.506 และ มอก.507
1.6.2.2 สวติ ซ์ที่ทางานดว้ ยมือ เป็นไปตาม อก.824
1.6.2.3 สวติ ซใ์ บมีด เป็นไปตาม อก.706
1.6.2.4 อุปกรณ์ตดั ตอนและเครื่องป้องกนั กระแสเกินชนิดอ่ืน ตอ้ งเป็ นไปตามมาตรฐาน ที่การไฟฟ้า
ส่วนภูมิภาคยอมรับ
22
1.6.3 มาตรฐานหลกั ดนิ และส่ิงทีใ่ ช้แทนหลกั ดิน
1.6.3.1 แท่งเหล็กอาบโลหะชนิดกนั การผุกร่อน หรือแท่งเหล็กหุ้มทองแดง หรือแท่งทอง ตอ้ งมีขนาด
เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางไม่นอ้ ยกวา่ 15 มิลลิเมตร ยาวไมน่ อ้ ยกวา่ 180 เซนติเมตร
1.6.3.2 แผ่นโลหะท่ีมีพ้ืนท่ีสัมผสั ไม่นอ้ ยกว่า 1,800 ตารางเซนติเมตร ถา้ เป็ นเหล็กอาบโลหะชนิดกนั
การผุกร่อน ตอ้ งหนาไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร ถา้ เป็ นโลหะอ่ืนท่ีทนต่อการผุกร่อน ตอ้ งหนาไม่น้อยกว่า 1.50
มิลลิเมตร
1.6.3.3 หลกั ดินชนิดอ่ืน ตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคก่อน
1.6.4 ท่อเดินสายไฟฟ้า
1.6.4.1 ท่อพวี ซี ีแขง็ สาหรับร้อยสายไฟฟ้า เป็นไปตาม มอก.216
1.6.4.2 ท่อเหล็กกลา้ เคลือบสังกะสี ตอ้ งเป็นชนิดท่ีใชส้ าหรับร้อยสายไฟฟ้าเท่าน้นั มีคุณสมบตั ิเป็นไป
ตามมาตรฐาน ที่การไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคยอมรับ เช่น JIS BS UL
1.6.4.3 ท่อเอชดีพีอีแข็ง ท่ีนามาทาท่อร้อยสายไฟฟ้าฝังดินโดยตรงต้องมีคุณสมบตั ิตามมาตรฐาน
ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม มอก. 2982
1.6.4.4 ทอ่ และทางเดินสายชนิดอ่ืนๆ ตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคยอมรับ
1.6.5 มาตรฐานตวั นาไฟฟ้า
1.6.5.1 บสั บาร์ทองแดง ตอ้ งมีความบริสุทธ์ิของทองแดงไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 98
1.6.5.2 บสั บาร์อะลูมิเนียม ตอ้ งมีความบริสุทธ์ิของอะลูมิเนียมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 98
1.6.5.3 บสั เวย์ ตอ้ งเป็นชนิดที่ประกอบสาเร็จรูปจากบริษทั ผผู้ ลิตและไดม้ ีการทดสอบแลว้ ตามมาตรฐาน
ขา้ งตน้
1.7 ข้อกาหนดสาหรับสถานทต่ี ดิ ต้งั เคร่ืองอปุ กรณ์
พ้ืนท่ีว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงาน ตอ้ งมีที่ว่างเพื่อการปฏิบตั ิงานสาหรับเคร่ืองอุปกรณ์อยา่ งเพียงพอรวมท้งั มี
ทางเขา้ ไปไดด้ ว้ ย ท้งั น้ี เพอื่ ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานและบารุงรักษาเคร่ืองอุปกรณ์
1.7.1 ระบบแรงต่า
1.7.1.1 ตอ้ งมีที่ว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงานอย่างเพียงพอ ที่จะปฏิบตั ิงานได้สะดวกและปลอดภัยในการ
บารุงรักษาเคร่ืองอุปกณ์ ที่ว่างเพื่อการปฏิบตั ิงานตอ้ งมีความสูง ไม่น้อยกว่า 2 เมตร ความกวา้ งไม่นอ้ ยกว่า 75
เซนติเมตร และความลึกตอ้ งเป็นไปตาม ที่กาหนดในตารางท่ี 1.1
1.7.1.2 ความลึกให้วดั จากส่วนที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่งอยู่ หรือวดั จากดา้ นหนา้ ของเคร่ืองห่อหุ้มท่ีว่าง เพ่ือการ
ปฏิบตั ิงานตอ้ งพอเพยี ง สาหรับการเปิ ดประตตู ู้ หรือฝาตไู้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 90 องศา ในทุกกรณี
1.7.1.3 ทางเขา้ ถึงท่ีวา่ งเพ่ือการปฏิบตั ิงาน ตอ้ งมีอยา่ งนอ้ ย 1 ทาง
1.7.1.4 แผงสวิตซ์และแผงควบคุมท่ีมีพิกดั กระแส ต้งั แต่ 1,200 แอมแปร์ ข้ึนไป และมีความกวา้ งของ
แผงเกิน 180 เซนติเมตร ท่ีวา่ งเพือ่ การปฏิบตั ิงานตอ้ งมีทางเขา้ ท้งั สองดา้ น ทางเขา้ ตอ้ งมีความกวา้ งไม่นอ้ ยกว่า 60
เซนติเมตร และมีความสูงไม่นอ้ ยกวา่ 2 เมตร
23
ยกเวน้ เม่ือดา้ นหนา้ ของตูอ้ ุปกรณ์จนถึงทางเขา้ ไม่มีส่ิงกีดขวาง หรือมีท่ีว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงาน
เป็นสองเทา่ ของที่กาหนดไว้ ยอมใหม้ ีทางเขา้ ทางเดียวได้
1.7.1.5 ส่วนที่มีไฟฟ้าเปิ ดโลง่ และอยใู่ กลก้ บั ทางเขา้ ตอ้ งมีการก้นั อยา่ งเหมาะสมตามขอ้ 3.2.1
1.7.1.6 ที่ว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงาน ตอ้ งจดั ให้ไดร้ ับแสงสว่างอยา่ งเพียงพอท่ีจะปฏิบตั ิงานได้ ยกเวน้ เมน
สวติ ซห์ รือแผงจ่ายไฟในท่ีอยอู่ าศยั ที่มีขนาดรวมกนั ไม่เกิน 100 แอมแปร์
1.7.1.7 หา้ มใชท้ ี่วา่ งเพอื่ การปฏิบตั ิงานเป็นที่เกบ็ ของ
1.7.1.8 ถา้ ท่ีว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงานเป็นท่ีโล่ง หรือเป็นทางผา่ น ตอ้ งก้นั ท่ีวา่ งน้นั ดว้ ยวิธีการที่เหมาะสม
ในขณะท่ีมีการเปิ ดเคร่ืองห่อหุม้ เครื่องอปุ กรณ์ เพอื่ การปฏิบตั ิงาน
1.7.2 ระบบแรงสูง
1.7.2.1 ตอ้ งมีท่ีวา่ งเพอ่ื ปฏิบตั ิงานอยา่ งเพียงพอ ท่ีจะปฏิบตั ิงานไดส้ ะดวกและปลอดภยั ในการบารุงรักษา
เครื่องอุปกรณ์ ในท่ีซ่ึงมีไฟฟ้าเปิ ดโล่งอยู่ ที่วา่ งเพ่ือการปฏิบตั ิงาน ตอ้ งมีความสูงไม่นอ้ ยกวา่ 2 เมตร ความกวา้ ง
ไม่นอ้ ยกว่า 90 เซนติเมตร และความลึกตอ้ งเป็นไปตามท่ีกาหนดใน ตารางท่ี 3-2 ที่ว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงาน ตอ้ ง
พอเพียงสาหรับการเปิ ดประตูตู้ หรือฝาตไู้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 90 องศาในทุกกรณี
1.7.2.2 ทางเข้าถึงที่ว่างเพ่ือการปฏิบัติงาน ต้องมีอย่างน้อย 1 ทาง ท่ีมีความกว้างไม่น้อยกว่า 60
เซนติเมตร และความสูงไม่นอ้ ยกวา่ 2 เมตร
1.7.2.3 แผงสวิตซ์และแผงควบคุมที่มีความกวา้ งเกิน 180 เซนติเมตร ตอ้ งมีทางเขา้ ท้งั สองขา้ งของแผง
ยกเวน้ เมื่อดา้ นหน้าของตูอ้ ุปกรณ์ ไม่มีสิ่งกีดขวางหรือมีที่ว่างเพื่อการปฏิบตั ิงานเป็ นสองเท่าของที่กาหนดไว้
ยอมใหม้ ีทางเขา้ ทางเดียวได้
1.7.2.4 เมื่อมีตวั นาเปลือยหรือหุ้มฉนวนท่ีมีไฟฟ้าเปิ ดโล่งอยู่ใกลเ้ คียงกบั ทางเขา้ ตอ้ งมีการก้นั ตามขอ้
3.2.2
1.7.2.5 ส่วนที่มีไฟฟ้าเปิ ดโล่ง ซ่ึงไม่มีการก้นั ถา้ อยู่เหนือพ้ืนท่ีปฏิบตั ิงานตอ้ งติดต้งั อยู่ในระดบั สูงไม่
นอ้ ยกวา่ ที่กาหนดใน ตารางที่ 3-3
1.7.2.6 ตอ้ งมีบนั ไดถาวรที่เหมาะสมในการเขา้ ไปยงั ท่ีว่างเพื่อการปฏิบตั ิงานในกรณีที่เคร่ืองอุปกรณ์
ติดต้งั แบบยกพ้นื ท่ี ช้นั ลอย หรือที่ในลกั ษณะเช่นเดียวกนั
1.7.2.7 ระบบให้แสงสว่างสาหรับท่ีว่างเพ่ือการปฏิบตั ิงานตอ้ งจดั ใหส้ ามารถซ่อมแซมหรือเปล่ียนดวง
ไฟไดโ้ ดยไม่เกิดอนั ตราย จากส่วนที่มีไฟฟ้า
1.7.3 การก้นั ส่วนท่ีมีไฟฟ้า
ส่วนที่มีไฟฟ้าของเครื่องอุปกรณ์ที่มีแรงดัน ต้ังแต่ 50 โวลต์ข้ึนไป ต้องมีการก้ันส่วนที่มีไฟฟ้าเพ่ือ
ป้องกนั การสมั ผสั โดยบงั เอิญ โดยกาหนดรายละเอียด ดงั น้ี
1.7.4 ระบบแรงตา่
การก้นั อาจใชเ้ คร่ืองห่อหุม้ หรือวิธีการหน่ึงวธิ ีการใด ต่อไปน้ี
1.7.4.1 อยใู่ นหอ้ งหรือเคร่ืองห่อหุม้ ท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกนั ซ่ึงใหเ้ ขา้ ไดเ้ ฉพาะผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งเท่าน้นั
24
1.7.4.2 อยู่ในสถานที่ซ่ึงมีที่ก้นั หรือที่ปิ ดบงั อย่างมนั่ คงและการเขา้ ไปยงั ที่ว่าง ซ่ึงอาจสัมผสั ส่วนที่มี
ไฟฟ้าไดน้ ้นั ทาไดเ้ ฉพาะผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งเท่าน้นั ช่องเปิ ดใด ๆ ของท่ีก้นั หรือท่ีปิ ดบงั ตอ้ งมีขนาดหรืออยใู่ น
ตาแหน่งที่ผอู้ ื่น ไม่อาจสมั ผสั ส่วนท่ีมีไฟฟ้าได้ โดยบงั เอิญ หรือไม่อาจนาวตั ถซุ ่ึงเป็นตวั นาไฟฟ้า ไปสมั ผสั ส่วนท่ี
มีไฟฟ้าน้นั ไดโ้ ดยบงั เอิญ
1.7.4.3 โดยการติดต้งั ใตร้ ะเบียง ใตก้ นั สาด หรือบนนง่ั ร้าน มิใหผ้ ทู้ ่ีไมม่ ีหนา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งเขา้ ไปได้ 1.7.4.4
ติดต้งั สูงจากพ้ืนไมน่ อ้ ยกวา่ 240 เซนติเมตร
1.7.5 ระบบแรงสูง
การก้นั ในระบบแรงสูง มีขอ้ กาหนดดงั น้ี
1.7.5.1 การติดต้งั ภายในอาคาร ในถานท่ีบุคคลทว่ั ไปเขา้ ถึงได้ เคร่ืองอุปกรณ์ตอ้ งอยู่ในเคร่ืองห่อหุ้มท่ี
เป็นโลหะ หรืออยใู่ นห้องหรือบริเวณท่ีใส่กุญแจได้ สวิตซ์เกียร์ที่อยใู่ นเครื่องห่อหุ้มท่ีเป็นโลหะ Unit substation
หมอ้ แปลง กล่องดึงสาย กล่องต่อสาย และเครื่องอุปกรณ์อื่นที่คลา้ ยกัน ตอ้ งทาป้ายหรือเคร่ืองหมายเตือนที่
เหมาะสม ช่องระบายอากาศของหมอ้ แปลงแบบแห้ง หรือช่องของเคร่ืองอุปกรณ์อ่ืนท่ีคลา้ ยกนั ตอ้ งออกแบบให้
วตั ถจุ ากภายนอกลอดเขา้ ไปเบ่ียงเบนพน้ ไปจากส่วนท่ีมีไฟฟ้า นอกจากจะกาหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอื่นเป็นการเฉพาะ
1.7.5.2 การติดต้งั ภายนอกอาคารในสถานท่ีบุคคลทวั่ ไปเขา้ ถึงได้ การติดต้งั ทางไฟฟ้าตอ้ งอยู่ในเคร่ือง
ห่อหุม้ หรือวธิ ีการอ่ืนท่ีไดร้ ับการรับรองแลว้ วา่ ปลอดภยั
1.7.5.3 ในท่ีซ่ึงมีการติดต้งั สวิตซ์ หรือเครื่องอุปกรณ์อื่นในระบบแรงต่าตอ้ งมีการก้นั แยกออกจากระบบ
แรงสูง ดว้ ยแผ่นก้นั ร้ัว หรือตาข่ายท่ีเหมาะสม การติดต้งั ทางไฟฟ้าในหอ้ งท่ีปิ ดลอ้ ม หรือบริเวณท่ีลอ้ มรอบดว้ ย
กาแพง ผนัง หรือร้ัวโดยมีการปิ ดก้นั ทางเขา้ ดว้ ยกุญแจ หรือวิธีการอื่นที่ได้รับการรับรองแลว้ ให้ถือว่าเป็ น
สถานที่เขา้ ไดเ้ ฉพาะบุคคลท่ีมีห้าท่ีเก่ียวขอ้ งเท่าน้นั ชนิดของเคร่ืองห่อหุ้มตอ้ งออกแบบ และสร้างใหส้ อดคลอ้ ง
กับประเภทและระดับของอันตรายท่ีเก่ียวข้องกับการติดต้งั กาแพง ผนัง หรือร้ัวที่มีความสูงน้อยกว่า 213
เซนติเมตร ไม่ถือวา่ เป็นการป้องกนั การเขา้ ถึง นอกจากจะมีสิ่งอ่ืนเพิ่มเติม ทาใหก้ ารก้นั น้นั มีคุณสมบตั ิ ในการก้นั
เทียบเท่ากาแพง ผนงั หรือร้ัวท่ีมีความสูงไม่นอ้ ยกวา่ 213 เซนติเมตร
1.7.6 การก้นั ส่วนทม่ี ีประกายไฟ
เคร่ืองอุปกรณ์ซ่ึงในการทางานปกติ เกิดประกายไฟ การอาร์ค หรือโลหะหลอมละลายตอ้ งมีการปิ ดก้นั
ดว้ ยวสั ดุท่ีเหมาะสม และแยกออกจากวสั ดุที่ติดไฟได้
1.7.7 ระยะห่างในการติดต้งั สายไฟฟ้า
ระยะห่างในการติดต้งั สายไฟฟ้าเหนือพ้ืนดิน อาคารหรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ ใหเ้ ป็นไปตามตารางท่ี 1.4
25
กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน
1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที )
1. ผูส้ อนจดั เตรียมเอกสาร พร้อมกบั แนะนา 1. ผูเ้ รียนเตรียมหนังสือและฟังผูส้ อนแนะนา
รายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใช้ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลท่ีใชก้ บั
กบั วิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า วชิ า การออกแบบระบบไฟฟ้า
2. ผสู้ อนช้ีแจงเร่ืองที่จะศึกษาและจุดประสงค์ 2. ผูเ้ รี ยนฟังผูส้ อนช้ีแจงเรื่องท่ีจะศึกษาและ
เชิงพฤติกรรมประจาบทท่ี 1 เร่ือง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจาบทท่ี 1 เรื่อง ระบบส่ง
และมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า จ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
3. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั 3. ผูเ้ รียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบส่ง
ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้ังระบบ จ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
ไฟฟ้า
2. ข้ันให้ความรู้ (220 นาที )
2. ข้นั ให้ความรู้ (220 นาที) 1. ผู้เรี ยนฟังงานนาเสนอวิชาการออกแบบ
1. ผูส้ อนเปิ ดงานนาเสนอวิชาการออกแบบ ระบบไฟฟ้า บทท่ี 1 เรื่ อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและ
ระบบไฟฟ้า บทที่ 1 เรื่อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและ มาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
มาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า 2. ผู้เรียนเปิ ดหนังสือเรียนวิชาการออกแบบ
2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนเปิ ดหนังสือเรียนวิชาการ ระบบไฟฟ้า บทที่ 1 ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐาน
ออกแบบระบบไฟฟ้า บทที่ 1 เรื่อง ระบบส่งจ่าย การติดต้งั ระบบไฟฟ้า
ไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
26
กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน
3. ข้นั ประยุกต์ใช้ ( 320 นาที ) 3. ข้นั ประยุกต์ใช้ ( 320 นาที )
1. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาแบบฝึกหดั บทท่ี 1 1. ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั บทท่ี 1
4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 45 นาที ) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 45 นาที )
1. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือในบทที่ 1 1. ผเู้ รียนและผสู้ อนร่วมกนั สรุปเน้ือหาในบทที่
เร่ือง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบ 1 เรื่อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้ัง
ไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า
(บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-7) (บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-7)
(รวม 600 นาที หรือ 10 คาบเรียน)
27
งานท่ีมอบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล
ก่อนเรียน
1. จดั เตรียมเอกสารบทท่ี 1 เรื่อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
2. ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของบทที่ 1 เรื่อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการ
ติดต้งั ระบบไฟฟ้า
3. แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
ขณะเรียน
1. ทาแบบฝึกหดั บทท่ี 1
หลงั เรียน
1. ร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รียนใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน
1. แบบฝึกหดั บทที่ 1
28
สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้
สื่อสิ่งพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงค์
เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-7)
2. แบบฝึกหดั บทท่ี 1 ใชข้ ้นั ประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ ท่ี 1
สื่อโสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1. เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์
2. งานนาเสนอ
ส่ือของจริง
-
29
แหล่งการเรียนรู้
ในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมดุ
2. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์
นอกสถานศึกษา
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ิน
การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอ่ืน
1. บูรณาการกบั วิชาภาษาไทย เรื่อง อธิบายการใชแ้ รงดนั สูงเพื่อการส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า การบอก
อนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูง การสาธิตระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้า
2. บรู ณาการกบั วิชาไฟฟ้า เร่ือง การผลิตระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้า
3. บูรณาการกบั วชิ าสงั คมศึกษา เร่ือง การปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดสาหรับสถานที่ติดต้งั เคร่ืองอปุ กรณ์
30
การประเมินผลการเรียนรู้
• หลกั การประเมินผลการเรียนรู้
ก่อนเรียน
-
ขณะเรียน
1. ตรวจแบบฝึกหดั บทท่ี 1
หลงั เรียน
-
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน
1. แบบฝึกหดั บทท่ี 1
31
สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์
ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า
1. วเิ คราะห์และตีความหมาย
2. สาธิตพร้อมแสดงท่าทางประกอบ
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็น
4. ประยกุ ตค์ วามรู้สู่งานอาชีพ
สมรรถนะการปฏบิ ัติงานอาชีพ
ติดต้งั ระบบไฟฟ้า
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง
จากการเรียนสัปดาห์ท่ี 1-2 เรื่อง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการติดต้งั ระบบไฟฟ้า ผเู้ รียนจะมี
ความรู้เก่ียวกับ การใช้แรงดันสูงเพ่ือการส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า อันตรายจากไฟฟ้าแรงสูง ระบบส่งจ่าย
กาลงั ไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้า มาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้า ขอ้ กาหนด
สาหรับสถานท่ีติดต้งั เคร่ืองอุปกรณ์ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
32
รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 1 อธิบายการใชแ้ รงดนั สูงเพ่ือการส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธิบายการใช้แรงดันสูงเพื่อการส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้าได้ จะได้ 1
คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 2 บอกอนั ตรายจากไฟฟ้าแรงสูงได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : อธิบายขอ้ กาหนดการติดต้งั รางเดินสายได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 3 สาธิตระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้าได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : สาธิตระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้าได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 4 แกป้ ัญหาระบบไฟฟ้าได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : แกป้ ัญหาระบบไฟฟ้าได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 5 ผลิตระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้าได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ผลิตระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงต่าจากการไฟฟ้าได้ จะได้ 2 คะแนน
33
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 6 ยอมรับมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้าได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ยอมรับมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้าได้ จะได้ 2 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 7 ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดสาหรับสถานที่ติดต้งั เคร่ืองอุปกรณ์ได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดสาหรับสถานที่ติดต้งั เครื่องอุปกรณ์ได้ จะได้ 2
คะแนน
34
แบบฝึ กหดั บทท่ี 1
ตอนที่ 1 จงเติมคาหรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง
1. โรงไฟฟ้าแห่งแรกของประเทศไทย คอื ............................ ใชพ้ ลงั งาน ..............................................
ในการผลิตไฟฟ้า
2. ปัจจุบนั แรงดนั สายส่งสูงสุดอยทู่ ่ี………………………………… kV
3. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)มีหนา้ ท่ีจาหน่ายไฟฟ้าในพ้ืนท่ี 3 จงั หวดั คือ ..........................................
............................................................................................................................................................
4. ระบบจาหน่ายกาลงั ไฟฟ้า (Distribution System) เป็นระบบส่งจ่ายที่รับมาจากสถานีไฟฟ้ายอ่ ยของ
การไฟฟ้านครหลวงเอง เพอ่ื จาหน่ายใหก้ บั ผใู้ ชไ้ ฟฟ้าขนาดกลาง ปัจจุบนั มี 2 ระดบั แรงดนั คือ
.........................................................................................................................................................
5. ในระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงสูงจากการไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าแรงสูงคอื มีแรงดนั เกิน .............. โวลต์
6. การจ่ายไฟฟ้าในระบบแรงต่าคือไม่เกิน 1000 โวลต์ โดยทว่ั ไปจะมีอยู่ 2 แบบ คือ ...........................
7. ในมาตรฐานตวั นาไฟฟ้าบสั บาร์ทองแดง ตอ้ งมีความบริสุทธ์ิของทองแดงไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ
..........................................................................................................................................................
8. มาตรฐานหลกั ดินและส่ิงที่ใชแ้ ทนหลกั ดิน ตอ้ งมีความยาวไม่นอ้ ยกวา่ ............................................
9. การออกแบบ การติดต้งั อุปกรณ์ไฟฟ้าควรคานึงถึงส่ิงแรกคือ ...........................................................
10.โดยทวั่ ไปแลว้ ควรมีการตรวจสอบและบารุงรักษาระบบไฟฟ้าอยา่ งสม่าเสมอเพื่อป้องกนั เหตุอยา่ ง
นอ้ ยปี ละ .............................. คร้ัง
35
ตอนท่ี 2 จงทาเครื่องหมายกากบาท () ลงหนา้ ขอ้ ท่ีถกู ตอ้ งที่สุด
1. โรงไฟฟ้าข้นึ ท่ีวดั เลียบใชส้ ่ิงใดเป็นเช้ือเพลิงในการผลิตกาลงั ไฟฟ้า
ก. แกลบ
ข. ถา่ นหิน
ค. ไอน้า
ง. ไมม่ ีขอ้ ถูก
2. ประเทศไทยเริ่มใชไ้ ฟฟ้าเป็นทางการคร้ังแรก ณ สถานที่ใด
ก. พระบรมมหาราชวงั
ข. พระที่นง่ั อนนั ตสมาคม
ค. รัฐสภา
ง. ทาเนียบรัฐบาล
3. ในปัจจุบนั แรงดนั สายส่งสูงสุด ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตมีคา่ เทา่ ใด
ก. 150 kV
ข. 500 kV
ค. 800 kV
ง. 1000 kV
4. ขอ้ ใดเ้ ป็นระดบั แรงดนั ในระบบส่งยอ่ ยของการไฟฟ้านครหลวง
ก. 230 115 และ 80 kV
ข. 230 และ 115 kV
ค. 230 115 และ 69 kV
ง. 24 และ 12 kV
5. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยใชแ้ รงดนั ขนาดเท่าใด ในการเช่ือมต่อระหวา่ งประเทศไทยและ
ประเทศมาเลเซีย
ก. 150 กิโลโวลต์ กระแสสลบั
ข. 150 กิโลโวลต์ กระแสตรง
ค. 300 กิโลโวลต์ เป็นกระแสตรง
ง. 300 กิโลโวลต์ กระแสสลบั
6. ขอ้ ใดคอื ระบบการจ่ายไฟฟ้าแรงสูงจากการไฟฟ้า
ก. 1 เฟส 3 สาย
ข. 1 เฟส 4 สาย
ค. 3 เฟส 3 สาย
ง. 3 เฟส 4 สาย
36
7. การไฟฟ้านครหลวงมีหนา้ ท่ีจดั จาหน่ายไฟฟ้าในพ้ืนที่ 3 จงั หวดั ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
ก. กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ปทมุ ธานี
ข. กรุงเทพมหานคร นนทบุรี สมุทรปราการ
ค. ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม
ง. กรุงเทพมหานคร นนทบรุ ี สมทุ รสงคราม
8. สายดินของบริภณั ฑไ์ ฟฟ้ามาตรฐานกาหนดใหใ้ ชส้ ายสีใด
ก. สายสีเขยี ว
ข. สายสีเขียวแถบเหลือง
ค. สายสีน้าเงิน
ง. ถูกท้งั ก. และ ข.
9. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ มาตรฐานท่ีการไฟฟ้าส่วนภมู ิภาคยอมรับ
ก. DIN
ข. JIS
ค. ISO
ง. NEMA
10. การก้นั ส่วนที่มีไฟฟ้า ใชส้ าหรับส่วนที่มีไฟฟ้าต้งั แต่กี่โวลตข์ ้นึ ไป
ก. 30
ข. 40
ค. 50
ง. 60
ตอนที่ 3 จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหไ้ ดข้ อ้ ความสมบูรณ์
1. ใหอ้ ธิบายหนา้ ท่ีของการไฟฟ้านครหลวง
2. จงอธิบาย การใชแ้ รงดนั สูงกระแสสลบั ในการใชแ้ รงดนั สูงเพอ่ื การส่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า
3. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) มีหนา้ ท่ีจาหน่ายไฟฟ้าในพ้นื ที่ 3 จงั หวดั คือ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี
และสมทุ รปราการ โดยระบบส่งจ่ายกาลงั ไฟฟ้ามีดงั น้ี จงอธิบาย
4. การจ่ายไฟฟ้าในระบบแรงดนั ต่าคือไม่เกิน 1000 โวลต์ โดยทว่ั ไปจะมีอยู่ 2 แบบ ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะการ
ใชง้ านของผใู้ ชไ้ ฟฟ้า คือ
5. การออกแบบ ซ่ึงตอ้ งดาเนินการโดยผมู้ ีความรู้ทางดา้ นไฟฟ้า เก่ียวขอ้ งกบั การหาขนาดโหลด การ
คานวณคา่ ตวั แปรต่างๆ เพื่อเลือกขนาดและชนิดสายไฟฟ้า เครื่องป้องกนั และอ่ืนๆ ที่เก่ียวขอ้ ง โดย
ปัจจยั พ้นื ฐานในการออกแบบ มีปัจจยั ใดบา้ ง
37
แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
ช่ือกลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................
รายช่ือสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท่ี…….
ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คดิ เห็น
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจน (ความรู้เก่ียวกบั เน้ือหา ความถูกตอ้ ง
ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ )
2 รูปแบบการนาเสนอ
3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บุคลิกลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาใหผ้ ฟู้ ังมีความ
สนใจ
รวม
ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
เกณฑ์การให้ คะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจนถกู ตอ้ ง
3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถูกตอ้ ง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ครบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถูกตอ้ ง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคท่ีแปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นาเสนอท่ีน่าสนใจ นาวสั ดุในทอ้ งถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั
2 คะแนน = มีเทคนิคการนาเสนอที่แปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอที่น่าสน ใจ
แตข่ าดการประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในทอ้ งถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลมุ่
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลมุ่
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผฟู้ ัง
3 คะแนน = ผฟู้ ังมากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ
2 คะแนน = ผฟู้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมือ
1 คะแนน = ผฟู้ ังนอ้ ยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมือ
38
แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุ่ม
ช่ือกลุม่ ……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................
รายช่ือสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท่ี…….
ที่ รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คดิ เห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
2 การแบ่งหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 การปฏิบตั หิ นา้ ทท่ี ่ีไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรุงงาน
รวม
ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วนั ที่…………เดือน……………………..พ.ศ…………..
เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชดั เจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมสี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การมอบหมายหนา้ ท่ีรับผิดชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มกี ารจดั เตรียมสถานท่ี สื่อ /อุปกรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อม
เพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง แต่ขาดการจดั เตรียมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ วั่ ถงึ และมีสื่อ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั ิหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาท่ีกาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาท่ีกาหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเร็จตามเป้าหมาย
4. การประเมนิ ผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ่วนร่วมไมม่ ีส่วนร่วมปรึกษาหารือ และปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แตไ่ มป่ รับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมไม่มีส่วนร่วมปรึกษาหารือ และปรับปรุงงาน
39
บันทกึ หลงั การสอน
บทท่ี 1 เร่ือง ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าและมาตรฐานการตดิ ต้งั ระบบไฟฟ้า
ผลการใช้แผนการเรียนรู้
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
ผลการเรียนของนกั เรียน
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………
............................................................................................................................................
ผลการสอนของครู
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
40
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยท่ี 2
ช่ือวิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า สอนสัปดาหท์ ี่ 3
ช่ือหน่วย ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า คาบรวม 15
ชื่อเรื่อง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า จานวนคาบ 5
สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
เลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน
สาระสาคญั
ตวั นาไฟฟ้าที่ใชใ้ นระบบไฟฟ้าน้นั อาจเป็นสายไฟฟ้าหรือบสั บาร์ก็ได้ โดยสายไฟฟ้าท่ีใชง้ านในระบบ
ไฟฟ้าน้นั มีอยหู่ ลายชนิด ซ่ึงสายไฟฟ้าท่ีสามารถนามาใชง้ านไดน้ ้นั ตอ้ งไดม้ าตรฐานซ่ึงมาตรฐาน มอก.11-2531
เป็นมาตรฐานตวั หน่ึงท่ีบงั คบั ใชส้ าหรับสายไฟฟ้าทองแดงหุม้ ฉนวนพีวีซีท่ีเปลือกของสายไฟฟ้าที่ไดม้ าตรฐาน
น้ีจะมีเคร่ืองหมาย มอก. กากบั อยู่ สาหรับสายไฟฟ้าที่ใช้งานไฟฟ้าสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทตาม
ลกั ษณะการใชง้ าน
เร่ืองทจี่ ะศึกษา
8. ส่วนประกอบของสายไฟฟ้า
9. ชนิดของสายไฟฟ้าและลกั ษณะการติดต้งั
10.ขนาดกระแสของสายไฟฟ้า
11.จานวนสายในทอ่ ร้อยสาย
41
จุดประสงค์การเรียน/การสอน
• จุดประสงค์ท่ัวไป
4. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า (ด้านพทุ ธิพิสัย)
5. เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการผลิตจานวนสายในท่อร้อยสาย (ด้านทักษะพิสัย)
6. เพอื่ ใหม้ ีมีเจคติที่ดีในการเลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน(ด้านจิตพิสัย)
• จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. อธิบายส่วนประกอบของสายไฟฟ้าได้ (ดา้ นพทุ ธิพิสัย)
2. บอกชนิดของสายไฟฟ้าและลกั ษณะการติดต้งั ได้ (ดา้ นพุทธิพสิ ยั )
3. แกป้ ัญหาขนาดกระแสของสายไฟฟ้าได้ (ดา้ นพทุ ธิพสิ ัย)
4. ผลิตจานวนสายในท่อร้อยสายได้ (ดา้ นทกั ษะพิสัย)
5. เลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านได้ (ดา้ นจิตพิสยั )
42
เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้
2.1 ส่วนประกอบของสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 2 ส่วนคือ
2.1.1 ตวั นา
ตวั นาของสายไฟฟ้าทามาจากโลหะที่มีความนาไฟฟ้าสูง อาจอยใู่ นรูปแกนเดี่ยว (Solid) หรือหลายแกนตี
เกลียว (Stand) คือตัวนาเล็กๆ พนั เป็ นเกลียว โลหะที่นิยมทาเป็ นตัวนาได้แก่ ทองแดง และอลูมิเนียม โดย
โลหะ 2 ตวั น้ีมีคณุ สมบตั ิต่างกนั
ทองแดง มี ความนาไฟฟ้าสูงมาก แข็งแรง เหนียว ทนต่อการกดั กร่อนไดด้ ี ขอ้ เสียคือ น้าหนกั มาก ราคา
แพง จึงไมเ่ หมาะกบั งานแรงดนั สูง แตเ่ หมาะกบั งานทว่ั ไปโดยเฉพาะงานในอาคาร
อลูมิเนียม มีความนาไฟฟ้ารองจากทองแดง แต่มีขอ้ ดีคือเม่ือเทียบกรณีกระแสเท่ากนั แลว้ อลูมิเนียมจะ
เบาและราคาถกู กวา่ จึงเหมาะกบั งานนอกอาคารและแรงดนั สูง ขอ้ เสียของอลูมิเนียมคือ ถา้ ทิ้งไวใ้ นอากาศ จะเกิด
ออกไซดเ์ ป็นฉนวนฟิ ลม์ บางๆป้องกนั การสึกกร่อน แตท่ าใหก้ ารเช่ือมตอ่ ทาไดย้ าก
2.1.2 ฉนวน
ทาหนา้ ที่ห่อหุ้มตวั นา เพื่อป้องกนั การสัมผสั โดยตรง ระหว่างตวั นา หรือตวั นากบั ส่วนที่ต่อลงดินใน
ระหว่างท่ีตัวนา นากระแสไฟฟ้า จะเกิดพลังงานสูญเสีย ในรู ปความร้อน ซ่ึงจะถ่ายเทไปยงั เน้ือฉนวน
ความสามารถในการทนต่อความร้อน ของฉนวน จะเป็ นตวั กาหนด ความสามารถในการทน ความร้อนของ
สายไฟฟ้านน่ั เองการเลือกใชช้ นิดของฉนวน จะข้ึนกบั อุณหภูมิใชง้ าน แรงดนั ของระบบ และสภาพแวดลอ้ มใน
การติดต้ังวัสดุที่นิยมใช้เป็ น ฉนวนมากที่สุดในขณะน้ีคือ Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked
Polyethylene(XLPE)
2.2 ประเภทของสายไฟฟ้า
2.2.1 สายไฟฟ้าแรงสูง เป็นตวั นาตีเกลียวท่ีมีขนาดใหญ่ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ
2.2.1.1 สายเปลือยใช้เป็ นสายไฟฟ้าแรงสูงท่ีเช่ือมโยงระหว่างเข่ือนกับสถานีจ่ายไฟหรือเชื่อมโยง
ระหว่างจงั หวดั ต่างๆ สายเปลือยสามารถจุกกระแสไฟฟ้าไดม้ ากกว่าสายหุม้ ฉนวน ท่ีมีขนาดและพ้ืนที่เท่ากนั ได้
เกือบเท่าตวั
2.2.1.2 สายไฟฟ้าท่ีมีฉนวนห่อหุ้ม เหมาะสาหรับใช้ในการเดินสายแรงสูงผ่านท่ีอยอู่ าศยั และอุปกรณ์
ไฟฟ้าหลายชนิด เพ่ือความปลอดภยั จึงจาเป็ นต้องใช้สายท่ีมีฉนวนหุ้มซ่ึงทาให้มีความเช่ือถือสูงข้ึน สายไฟฟ้า
ประเภทน้ีมีใชท้ ้งั ภายในและภายนอกอาคาร
43
2.2.2 สายไฟฟ้าแรงดนั ต่า (Low Voltage Power Cable)
เป็นสายไฟที่ใชก้ บั แรงดนั ไม่เกิน 750 V. เป็นสายหุม้ ฉนวน ทาดว้ ยทองแดงหรืออลมู ิเนียม โดยทว่ั ไปเป็น
สายทองแดงสายขนาดเล็กจะเป็นตวั นาเด่ียว แต่สายขนาดใหญ่เป็นตวั นาตีเกลียว วสั ดุฉนวนท่ีใชก้ บั สายแรงดนั
ต่าคือ Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross-Linked Polyethylene (XLPE)
2.2.2.1 สายวีเอเอฟ( VAF)
สายไฟตาม มอก.11-2531 ที่ตามทอ้ งตลาดเรียกว่า สายชนิด วีเอเอฟ (VAF) เป็นสายท่ีนิยมใชก้ นั มากตาม
บา้ นในประเทศไทย เป็นสายชนิด ทนแรงดนั 300 V มีท้งั ชนิดที่เป็นสายเดี่ยว สายคู่ และท่ีมีสายดินอยดู่ ว้ ย มีชนิด
2 แกน หรือ 3 แกน เป็ นสายแบน ตวั นานอกจากจะมีฉนวนหุ้ม แลว้ ยงั มีเปลือกหุ้มอีกช้นั หน่ึง สายคู่จะนิยมรัด
ดว้ ยเขม็ ขดั รัดสาย(Clip) ใชใ้ นบา้ นอยอู่ าศยั ทวั่ ไป สายชนิดน้ีหา้ มใชใ้ นวงจร 3 phase ที่มีแรงดนั 380 V (ในระบบ
3 phase แตแ่ ยกไปใชง้ านเป็นแบบ 1 phase แรงดนั 220 V. จะใชไ้ ด)้
2.2.2.2 สายทีเอชดบั เบิลยู( THW)
สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ที่ในทอ้ งตลาดนิยมเรียกว่า ทีเอชดบั เบิลยู (THW) เป็ นสาย ไฟฟ้าชนิดทน
แรงดนั 750 V เป็ นสายเดี่ยว นิยมใช้กันอย่างกวา้ งขวาง โดยเฉพาะใน โรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากใช้ใน
วงจรไฟฟ้า 3 phase ได้ ปกติจะเดินร้อยในท่อร้อยสาย ช่ือ THW เป็นช่ือตามมาตรฐานอเมริกนั ซ่ึงเป็นสายชนิด
ทนแรงดนั 600 V อุณหภูมิใชง้ านท่ี 75 องศาเซลเซียส แต่ในประเทศไทยนิยม เรียกสายท่ีผลิตตาม มอก. 11 -2531
วา่ สาย THW เนื่องจากมีโครงสร้างคลา้ ยกนั และรู้กนั ทวั่ ไปในทอ้ งตลาด
2.2.2.3 สายเอน็ วายวาย( NYY)
สายไฟฟ้าตาม มอก.11-2531 ตามทอ้ งตลาดนิยมเรียกว่าสายชนิด เอน็ วายวาย (NYY) มีท้งั ชนิดแกนเดียว
และหลายแกนสายหลายแกน ก็จะเป็ นสายชนิดกลมเช่นกัน สายชนิดน้ีทนแรงดันท่ี 750 V. นิยมใช้อย่าง
กวา้ งขวางเช่นกนั เนื่องจากวา่ มี ความทนต่อสภาพแวดลอ้ ม เพราะมีเปลือกหุม้ อีกช้นั หน่ึง บางทีเรียกว่าเป็นสาย
ฉนวน 3 ช้นั ความจริงแลว้ สายชนิดน้ีมีฉนวนช้นั เดียว อีกสองช้นั ท่ีเหลือเป็นเปลือกเปลือกช้นั ในทาหนา้ ที่เป็ น
แบบ (Form) ใหส้ ายแต่ละแกนที่ตีเกลียวเขา้ ดว้ ยกนั มีลกั ษณะกลม แลว้ จึงมีเปลือกนอกหุ้ม อีกช้นั หน่ึงทาหนา้ ท่ี
ป้องกนั ความเสียหายทางกายภาพ
2.2.2.4 สายวซี ที ี ( VCT)
สายไฟฟ้าตาม มอก.11 - 2531 ตามทอ้ งตลาดเรียกว่าสาย วีซีที (VCT) เป็นสายกลมมี ท้งั ชนิดหน่ึงแกน 2
แกน 3แกนและ 4 แกนทนแรงดนั ที่ 750 V. มีฉนวนและเปลือกเช่นกนั มีขอ้ พิเศษกว่าก็คือตวั นาจะประกอบไป
ดว้ ย ทองแดงฝอยเส้นเลก็ ๆ ทาใหม้ ีขอ้ ดีคือ อ่อนตวั และทนต่อสภาพการสน่ั สะเทือนไดด้ ี เหมาะท่ีจะใชเ้ ป็นสาย
เดินเขา้ เคร่ืองจกั รที่มีการสั่นสะเทือนขณะใชง้ าน สายชนิดน้ี ใชง้ านไดท้ ว่ั ไปเหมือนสายชนิด NYY สาย VCT มี
หลายแบบตามรูปทรงโดยแบ่งไดท้ ้งั แบบ VCT - GRD ซ่ึงมี 2 แกน 3 แกนและ 4 แกนและมีสายดินเดินร่วมไป
ดว้ ยอีกเสน้ หน่ึงเพ่ือใหเ้ หมาะสาหรับใชเ้ คร่ืองอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีตอ้ งต่อลงดิน
44
2.2.2.5 สายควบ
คือการใช้สายต้งั แต่ 2 เส้นข้ึนไปเพื่อร่วมกันจ่ายโหลดในวงจรเดียวกนั โดยเฉพาะในวงจรที่มีการใช้
ไฟฟ้าปริมาณมากๆ ซ่ึงพิกดั กระแสของสายเส้นเดียวอาจไม่พอที่จะรองรับกระแสท้งั หมดในวงจรได้ จึงตอ้ งใช้
สายหลายเส้นต่อขนานกนั โดยปลายท้งั 2 ดา้ นของเฟสเดียวกนั ตอ้ งต่อเขา้ ดว้ ยกนั
ขอ้ กาหนดในการใชส้ ายควบมีดงั น้ีคือ
- ใชก้ บั ตวั นาที่มีขนาดต้งั แต่ 50 มิลลิเมตรข้ึนไป
- ตอ้ งเป็นสายชนิดเดียวกนั เช่น THW เหมือนกนั ทกุ เสน้
- ตอ้ งมีความยาวเทา่ กนั
- ตอ้ งมีลกั ษณะการเดินสายเหมือนกนั
สายควบมกั ใช้ในกรณีท่ีเป็ นสายเมนเช่น เดินจาหมอ้ แปลงไฟฟ้ามายงั ตูส้ วิตช์บอร์ด สาหรับระบบ
ไฟฟ้าแรงสูงการใชส้ ายควบมกั จะมีอุปกรณ์คนั่ สาย ติดต้งั เป็นระยะเพื่อป้องกนั สายพนั กนั จานวนสายควบอาจใช้
2 3 หรือ 4 เส้นกไ็ ด้
2.3 ขนาดของกระแสของสายไฟฟ้า
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าน้ันจะข้ึนอยู่กับพ้ืนท่ีหน้าตดั ของตวั นา โดยพ้ืนท่ีหน้าตดั มากจะมีขนาด
กระแสที่สามารถทนไดก้ ม็ ากข้นึ ตามไปดว้ ย นอกจากน้ีสายไฟฟ้าแต่ละชนิดและวธิ ีการเดินสายท่ีแตกต่างกนั จะมี
ผลต่อขนาดกระแสของสายไฟฟ้าที่มีพ้นื ท่ีหนา้ ตดั เท่ากนั ดว้ ย โดยปัจจยั ที่มีผลต่อขนาดกระแสของสายไฟฟ้าน้นั
คืออณุ หภมู ิหรือความร้อนของตวั นาไฟฟ้านนั่ เองเพราะกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นตวั นาจะทาให้อุณหภูมิของตวั นา
สูงข้ึน หากมีการระบายความร้อนที่ดีก็ยงั สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติแต่หากการระบายความร้อนไม่ดี อุณหภูมิ
ของสายไฟฟ้าก็จะสูงจนเกิดไหมไ้ ด้ ซ่ึงจากตารางขนาดกระแสของสายจะเห็นว่าสายชนิดเดินในอากาศจะมี
ขนาดกระแสสูงกวา่ น้ี ตอ้ งมีการคูณลดขนาดกระแสของสายไฟฟ้า นอกจากมีการพิจารณาถึงขนาดของสายไฟฟ้า
ท่ีสามารถทนกระแสไฟฟ้าไดแ้ ลว้ ส่ิงท่ีควรคานึงถึงอีกประการคือความยาวของสายไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าไป
ยงั โหลดซ่ึงถา้ ขนาดสายมีความยาวจะมีผลตามมาคือ แรงดันตกในสายไฟฟ้าซ่ึงแรงดันตกน้ีเกิดจากความ
ตา้ นทานภายในของตวั นาของสาย ทาใหแ้ รงดนั ท่ีโหลดลดลงต่าหวา่ พกิ ดั ซ่ึงปัญหาน้ีสามารถแกไ้ ขไดโ้ ดยการใช้
สายไฟฟ้าท่ีมีขนาดพ้ืนท่ีหนา้ ตดั ใหญข่ ้ึนหรือใชส้ ายควบ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมในการติดต้งั
2.4 จานวนสายสูงสุดในทอ่ ร้อยสาย
ขอ้ กาหนดตาม มอก.11-1531 สาหรับจานวนสายสูงสุดในท่อร้อยสาย แบ่งออกเป็น 2 กรณีคอื
2.4.1 สายไฟฟ้าที่มีขนาดเทา่ กนั ดูไดจ้ ากตารางท่ี 2.9 ซ่ึงเป็นขอ้ กาหนดสาหรับสาย THW
2.4.2 สายไฟฟ้าต่างขนาดตา่ งกนั เดินรวมกนั สามารถดูไดจ้ ากตารางที่ 2.10
2.4.3 เปอร์เซ็นตส์ ูงสุดของพ้ืนท่ีหนา้ ท่ีตดั รวมฉนวนของสาบไฟฟ้าต่อพ้ืนท่ีหนา้ ตดั ของท่อดงั ตารางท่ี 2.11 และ
ไดม้ ีขอ้ กาหนดเพม่ิ เติมคือในการคิดจานวนสายไฟฟ้าในท่อถา้ เป็นสายขนาดเดียวกนั เศษส่วนท่ีเกิน 0.8 ใหป้ ัดข้ึน
เช่น 3.82 เส้นใหค้ ิดเป็น 4 เส้นเป็นตน้ และสายไฟฟ้าหลายแกนใหถ้ ือเป็นสายแกนเดียว
45
กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน
1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที )
4. ผสู้ อนช้ีแจงเร่ืองท่ีจะศึกษาและจุดประสงค์ 4. ผูเ้ รี ยนฟังผูส้ อนช้ีแจงเร่ืองที่จะศึกษาและ
เชิงพฤติกรรมประจาบทท่ี 2 เร่ือง ชนิดและขนาด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมประจาบทที่ 2 เรื่อง ชนิดและ
สายไฟฟ้า ขนาดสายไฟฟ้า
5. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั 5. ผูเ้ รียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชนิดและ
ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า ขนาดสายไฟฟ้า
2. ข้นั ให้ความรู้ (105 นาที) 2. ข้ันให้ความรู้ (105 นาที )
3. ผูส้ อนเปิ ดงานนาเสนอวิชาการออกแบบ 3. ผู้เรี ยนฟังงานนาเสนอวิชาการออกแบบ
ระบบไฟฟ้า บทท่ี 2 เร่ือง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า บทที่ 2 เรื่อง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า
4. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนเปิ ดหนังสือเรียนวิชาการ 4. ผูเ้ รียนเปิ ดหนังสือเรียนวิชาการออกแบบ
ออกแบบระบบไฟฟ้า บทที่ 2 เร่ือง ชนิดและขนาด ระบบไฟฟ้า บทที่ 2 ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้า
46
กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน
3. ข้นั ประยุกต์ใช้ ( 150 นาที ) 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ ( 150 นาที )
2. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาแบบฝึกหดั บทที่ 2 2. ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั บทท่ี 2
4. ข้นั สรุปและประเมินผล ( 30 นาที ) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 30 นาที )
2. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือในบทท่ี 2 2. ผเู้ รียนและผสู้ อนร่วมกนั สรุปเน้ือหาในบทท่ี
เรื่อง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า 2 เรื่อง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า
(บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5) (บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-5)
(รวม 300 นาที หรือ 5 คาบเรียน)
47
งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมินผล
ก่อนเรียน
4. จดั เตรียมเอกสารบทท่ี 2 เร่ือง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า
5. ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของบทที่ 2 เร่ือง ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า
6. แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ชนิดและขนาดสายไฟฟ้า
ขณะเรียน
2. ทาแบบฝึกหดั บทท่ี 2
หลงั เรียน
2. ร่วมกนั สรุปเน้ือหาที่ไดเ้ รียนใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน
2. แบบฝึกหดั บทท่ี 2
48
ส่ือการเรียนการสอน/การเรียนรู้
ส่ือส่ิงพมิ พ์
3. เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงค์
เชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-5)
4. แบบฝึกหดั บทที่ 2 ใชข้ ้นั ประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ ที่ 1
ส่ือโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์
2. งานนาเสนอ
ส่ือของจริง
49
แหล่งการเรียนรู้
ในสถานศึกษา
3. หอ้ งสมดุ
4. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์
นอกสถานศึกษา
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ิน
การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอื่น
4. บูรณาการกับวิชาภาษาไทย เรื่อง การอธิบายส่วนประกอบของสายไฟฟ้า การบอกชนิดของ
สายไฟฟ้าและลกั ษณะการติดต้งั การแกป้ ัญหาขนาดกระแสของสายไฟฟ้า
5. บรู ณาการกบั วิชาไฟฟ้า เรื่อง ผลิตจานวนสายในท่อร้อยสาย
6. บูรณาการกบั วชิ าสังคมศึกษา เร่ือง การเลือกใชส้ ายไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน