The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattrasuk2514, 2021-03-18 04:42:25

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร)

คำนำ

ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หมวด 3 มาตรา 9 (1) , (2) ได้กาหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า
และแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณท่ีจะต้องใช้ใน
การดาเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิและตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ
หน่วยงาน และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2562 มาตรา 7 กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน โดยคานึงถึงยุทธศาสตร์ชาติ
พ.ศ. 2561-2580 (แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564 นโยบายและแผนระดับชาติ
ว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่น
ท่ีเกยี่ วขอ้ ง รวมถงึ กาลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อ่ืนประกอบกัน
กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หนว่ ยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ให้
สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ นั้น

ดังน้ัน เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบ้านเมอื งที่ดี
พ.ศ.2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และสนบั สนนุ การบรรลุเป้าหมายในแผนระดบั 1 และแผนระดับ 2
รวมท้ังสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 นโยบาย
และจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติการด้านการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนแผนพัฒนาการศึกษา
(พ.ศ. 2563-2565) สานักงานศึกษาธิการภาค 1แผนพัฒนาการศึกษา(พ.ศ.2563-2565) จังหวัด
พระนครศรีอยุธยาและเช่ือมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring
and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบ
ว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูป
ประเทศ พ.ศ.2562 สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ฉบับปรับปรุงตาม
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ข้ึน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานของผู้บริหารและกลุ่มงานในสังกัดใช้
เปน็ กรอบแนวทางในการปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือในการ
จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา (ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ด้รับจดั สรร) ฉบบั น้ีสาเร็จลลุ ว่ งตามวัตถปุ ระสงค์

สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
กลุ่มนโยบายและแผน

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ด้รบั จดั สรร)



บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหำร

ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.
2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1) , (2) ได้กาหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ
ลว่ งหน้า และแผนปฏิบัตริ าชการดงั กล่าวต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณทจ่ี ะตอ้ งใช้ใน
การดาเนินการของแต่ละขัน้ ตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิและตวั ช้ีวัดความสาเร็จของภารกจิ หน่วยงาน และ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 มาตรา 7
กาหนดให้ส่วนราชการ จัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน โดยคานึงถึงยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 -2580 (แผน
ระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ.2560-2564 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (แผนระดับ
2) นโยบายของคณะรัฐมนตรี ท่ีแถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงกาลังเงินงบประมาณของประเทศ
ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม
2562 เหน็ ชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรงุ แผนระดับ 3 ให้สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตรช์ าติ น้นั

ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1
และแผนระดับ 2 รวมท้ังสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 -
2579 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2564 ของสานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ แผนปฏิบัติการด้านการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนระยะ 3 ปี(พ.ศ.2563-2565) สานักงาน
ศึกษาธิการภาค 1 (ฉบับปรับปรุง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนพฒั นาการศึกษา (พ.ศ. 2563-2565)
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเช่ือมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring
and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบี ยบ
วา่ ด้วยการติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ.
2562 สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ข้ึน
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานของผู้บริหารและกลุ่มงานในสังกัด ใช้เป็นกรอบแนวทางในการ
ปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้

1. วิสัยทัศน์
“เป็นองค์กรส่งเสริม บูรณำกำรกำรจัดกำรศึกษำและกำรเรยี นรู้ตลอดชีวิตอย่ำง

มีคุณภำพ ก้ำวทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 บนพื้นฐำนของพหุปัญญำ สอดคล้อง
ตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง และมอี ตั ลักษณข์ องชำวอยุธยำ”

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรร)



2. พันธกจิ
1. ส่งเสริม สนับสนุน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการทุกระดับ
ทกุ ประเภท อย่างทวั่ ถงึ และมีคณุ ภาพในศตวรรษที่ ๒๑ และมอี ตั ลักษณข์ องชาวอยธุ ยา
2. ส่งเสริม พฒั นาคุณภาพการศึกษาสู่ความเปน็ เลิศ บนพ้นื ฐานของพหปุ ญั ญา
3. สง่ เสรมิ พฒั นาการวจิ ัย เพอื่ สร้างองค์ความรู้ และนวตั กรรม
4. สง่ เสรมิ สนับสนุนการจดั การเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. ส่งเสริม สนับสนุน ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อสร้างเครือข่าย
ในการจดั การศกึ ษา
3. เป้ำประสงค์รวม
1. ผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาสคู่ วามเปน็ เลิศ บนพ้ืนฐานของ
พหุปญั ญา
2. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะและสมรรถนะการเรียนรู้ที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 และ
มอี ัตลักษณ์ของชาวอยธุ ยา
3. ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาทักษะชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. ครู และบุคลากรทางการศึกษา ใช้กระบวนการวิจัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้ และ
นวตั กรรม
5. หน่วยงานทางการศึกษา มีการบูรณาการ ประสานความร่วมมือในการ
จัดการศึกษากับทุกภาคส่วน
4. ยุทธศำสตร์
1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพอ่ื ความม่นั คง
2. พฒั นากาลังคน การวิจยั เพือ่ สรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
3. พัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ให้มคี ณุ ภาพ
4. สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
5. พฒั นาระบบบริหารจดั การให้มีประสทิ ธภิ าพ
5. ค่ำนยิ มองคก์ ร
SMILE
S = Service Mind มจี ติ มงุ่ บริการ
M = Moral and Integrity มศี ลี ธรรมและมคี วามซื่อสตั ย์
I = Integration บูรณาการการทางาน
L = learn more มุ่งมัน่ หมัน่ เรยี นรู้ พฒั นาตนเอง
E = Efficiency เนน้ ประสิทธภิ าพการทางาน
ยุทธศำสตร์ท่ี 1. พฒั นำกำรจดั กำรศกึ ษำเพ่ือควำมม่ันคง
เปำ้ ประสงค์
- ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนาทักษะชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยทุ ธ์
1. พัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตที่สอดคล้องเหมาะสมกับความมั่นคง
ในแต่ละบริบทของพ้นื ท่ี

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร)



2. ส่งเสริม สนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือภัยคุกคาม ในรูปแบบใหม่
ทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ความมั่นคง

3. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรมจริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง
วนิ ยั สจุ รติ จิตอาสา โดยผ่านกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 2 พฒั นำกำลังคน กำรวจิ ัย เพือ่ สรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั ของประเทศ

เปำ้ ประสงค์
- ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใชก้ ระบวนการวิจัยเพ่อื สร้างองคค์ วามรู้ และนวตั กรรม
กลยทุ ธ์
1. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือทท่ี นั สมยั และสอดคล้องกับเทคโนโลยี
โดยเนน้ ให้ผเู้ รยี นมที กั ษะการคดิ วิเคราะห์ และทกั ษะการส่ือสารภาษาต่างประเทศ
2. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดว้ ยกระบวนการวจิ ยั เพอ่ื สร้างองคค์ วามรแู้ ละนวัตกรรม
3. พัฒนาสถานศึกษาให้ผลิตกาลงั แรงงานท่ีมีคุณภาพตามสภาพและบริบทของพ้ืนท่ี รวมท้ัง
สอดคลอ้ งความต้องการแรงงานของประเทศในปจั จบุ นั และอนาคต
ยุทธศำสตร์ที่ 3. พัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรพั ยำกรมนษุ ย์ให้มคี ุณภำพ
เป้ำประสงค์
- ผู้เรยี นมีคณุ ภาพ ทักษะและสมรรถนะการเรียนร้ทู ่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 และมี
อตั ลักษณ์ของชาวอยุธยา
กลยุทธ์
1. ส่งเสริมพัฒนาหลักสูตร เน้ือหาสาระ สื่อและนวัตกรรม กระบวนการจัดการเรียนรู้
การวดั ประเมินผล ใหส้ อดคล้องกบั สงั คมการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
2. ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต
สามารถอยูร่ ว่ มและทางานร่วมกบั ผ้อู น่ื ภายใต้การเปลยี่ นแปลงของสงั คมในศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสริมและบูรณาการการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะและสมรรถนะการเรียนรู้
ท่ีจาเป็นในศตวรรษ ท่ี 21 มีอัตลกั ษณข์ องชาวอยธุ ยา (ร้ปู ระวัตศิ าสตร์ รกั ทอ้ งถ่นิ มจี ติ สาธารณะ)
4. พัฒนาผู้เรียนให้มที ักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่าง
มปี ระสิทธิภาพโดยจดั การเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จรงิ
ยทุ ธศำสตร์ที่ 4. สรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ
เปำ้ ประสงค์
- ผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาสคู่ วามเปน็ เลศิ บนพน้ื ฐานของพหุปญั ญา
กลยุทธ์
1. เพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้ผู้เรียนเข้าถึงโอกาสทางการเรียนร้ไู ด้อย่างหลากหลาย ครอบคลมุ ทุกพื้นท่แี ละกล่มุ เป้าหมาย
2. พฒั นาแพลตฟอร์มเพ่อื การเรยี นรู้ และใชด้ จิ ทิ ลั เป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้
3. ส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ ้เู รียนไดร้ ับทุนการศึกษา
4. พฒั นาการเรยี นรู้สู่ความเป็นเลศิ บนพนื้ ฐานของพหุปัญญา

แผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร)



ยุทธศำสตรท์ ี่ 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การให้มีประสิทธิภาพ

เป้ำประสงค์

-หน่วยงานทางการศึกษามีการบูรณาการ ประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษากับทุกภาคสว่ น

กลยทุ ธ์

1. พัฒนาระบบฐานข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษา

2. สง่ เสริมความร่วมมอื ในการจัดการศกึ ษากับหนว่ ยงานทางการศึกษาท่ีเกยี่ วข้อง

3. พฒั นาระบบการบริหารจัดการและพฒั นากาลงั คนให้สอดคล้องกบั การปฏริ ปู การศกึ ษา

4. สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาเป็นนิติบุคคล ให้สามารถบรหิ ารจดั การได้อยา่ งอสิ ระและ

มปี ระสทิ ธิภาพ

งบประมำณในห้วงจัดทำตำมแผนปฏบิ ัติรำชกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564

ของสำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวดั พระนครศรอี ยุธยำ (ฉบบั ปรับปรุงตำมงบประมำณที่ได้รับจัดสรร)

ที่ รำยกำร งบประมำณ

ก งบดำเนนิ งำน 2,226,800

1. ค่ำตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 1,698,000

1.1 ค่าตอบแทนผ้ปู ฏบิ ตั งิ านให้ราชการ(3 คน อตั ราเดือนละ 15,000 บาท ) 540,000

1.2 ค่าจ้างเหมาทาความสะอาดสานกั งาน(1 คน อตั ราเดือนละ 9,000 บาท) 108,000

1.3 คา่ จ้างพนักงานขบั รถ(1 คน อัตราเดือนละ 10,000 บาท) 120,000

1.4 คา่ ถา่ ยเอกสาร 20,000

1.5 คา่ ใชจ้ า่ ยเดนิ ทางไปราชการ 70,000

1.6 วสั ดสุ านักงาน 400,000

1.7 วสั ดุเชอ้ื เพลงิ และหล่อล่ืน 60,000

1.8 คา่ ซ่อมแซมครุภณั ฑ์ 60,000

1.9 ปรับปรุงซอ่ มแซมอาคารและส่ิงก่อสรา้ ง 40,000

1.10 ค่าใชจ้ า่ ยอื่น ๆ 10,000

1.11 จัดสรรสำหรบั จดั ทำโครงกำรในแผนปฏบิ ัตริ ำชกำรฯ 270,000

1)โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารครผู สู้ อนเพศวถิ ศี ึกษาและทักษะชีวิต 40,000

2)โครงการทุนการศกึ ษาพระราชทาน ม.ท.ศ.ป2ี 564 18,000

3) โครงการจดั ทาแผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 17,000

4)โครงการประเมินผลการปฏิบัติราชการตัวชี้วัดตามคารับรองปฏิบัติราชการ 20,000

ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยุธยา

5)โครงการสานกั งานนา่ ดู น่าอยู่ น่าทางาน 10,000

6)โครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพบุคลากรในสานักงานศึกษาธิการจงั หวัด 100,000

7)โครงการบริหารข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษา 25,000

8)โครงการประชมุ ผู้บรหิ ารโรงเรียนเอกชนในระบบ 20,000

9)โครงการบริหารงานบุคคลสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 20,000

ประจาปงี บประมาณ 2564

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร)



งบประมำณในห้วงจัดทำตำมแผนปฏบิ ตั ริ ำชกำรประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2564

ของสำนักงำนศึกษำธกิ ำรจังหวัดพระนครศรีอยุธยำ (ฉบบั ปรับปรุงตำมงบประมำณท่ีไดร้ ับจดั สรร)

ท่ี รำยกำร งบประมำณ

2. คา่ สาธารณปู โภค 392,000
3. คา่ เชา่ รถยนต์ (เดือนละ 22,800บาท) (จดั ให้ 6 เดอื น) 136,800
ข. งบรำยจ่ำยอนื่ 264,300
1. โครงการจัดทาแผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวดั 38,900
2. โครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพบุคลากรในสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด 45,400
3. โครงการตรวจ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานตามนโยบายและยทุ ธศาสตร์ 80,000
4. คา่ ใช้จา่ ยโครงการขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสทิ ธิภาพ 100,000

การศกึ ษาฯ(กศจ.) 10,000
โครงกำรที่ สป. จดั สรรจำกแผนงำนข้ันพื้นฐำน
1. โครงการจติ อาสาบาเพ็ญประโยชน์ 60,000
โครงกำร สป.จัดสรรจำกแผนงำนบูรณำกำร
1. โครงการส่งเสรมิ เวทีและประชาคมเพอื่ การจดั ทารปู แบบและแนวทางพฒั นาหลกั สตู ร 284,000

ต่อเนอื่ งเช่อื มโยงการศึกษาขัน้ พื้นฐานกับอาชวี ศึกษาและอุดมศกึ ษา 60,000
2. โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา
10,500
เพือ่ พฒั นาการศกึ ษา
3. โครงการขับเคลอ่ื นการพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในระดับพ้นื ท่ี
โครงกำรทีย่ งั ไม่ไดร้ บั งบประมำณ
1. โครงการการป้องกันทุจริตและสรา้ งความโปรง่ ใสประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖4

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดร้ ับจดั สรร)

(1)

สำรบัญ หนำ้

คำนำ
บทสรุปสำหรับผบู้ ริหำร (ก)
สำรบญั (1)
สว่ นที่ 1 บทนำ 1
- ความเป็นมา 1
- วัตถุประสงค์ 1
- วธิ ีการดาเนินงาน 1
- ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั 2
สว่ นท่ี 2 กรอบแนวคิดและควำมสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดบั 3
1) รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 3

2) ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 4

3) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561-2580) 5

4) แผนการปฏริ ูปประเทศ 6

5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ทีส่ บิ สอง พ.ศ.2560-2564 8

6) นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2562-2565) 8

7) นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี) 9

8) เป้าหมายการพฒั นาท่ียงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 9

9) แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 12

10) นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ งบประมาณ พ.ศ.2564 15

11) ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาภาค 19

13) แผนปฏิบตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 20

ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

14) แผนพัฒนาการศกึ ษา(พ.ศ.2563-2565) จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา 21

15) ความสอดคลอ้ งกับแผน 3 ระดบั ตามนยั ยะมตคิ ณะรฐั มนตรี 21

เม่ือวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560
ส่วนท่ี 3 สำระสำคัญของแผนปฏิบัตริ ำชกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564 ของสำนักงำน 50
ศกึ ษำธิกำรจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยำ (ฉบับปรบั ปรงุ ตำมงบประมำณท่ีไดร้ ับจัดสรร)

- วิสยั ทัศน์ 50

- พนั ธกจิ 50

- เป้าประสงคร์ วม 50

- ค่านิยม 50

- แผนปฏิบัติราชการตามยุทธศาสตร์ 51

- แผนผงั ความเช่ือมโยงสาระสาคัญของแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ 55

พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา (ฉบับปรับปรุง

ตามงบประมาณท่ีไดร้ บั จดั สรร)

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร)

(2)

ส่วนที่ 4 ตำรำงสรปุ งบประมำณ/โครงกำรตำมแผนปฏบิ ตั ิรำชกำรประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2564 56

ส่วนท่ี 5 โครงกำรและงบประมำณตำมประเด็นยุทธศำสตรป์ ระจำปงี บประมำณ พ.ศ.2564 60

ของสำนกั งำนศึกษำธิกำรจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยำ

5.1 ยุทธศาสตร์ ศธจ.พระนครศรีอยธุ ยา ท่ี 1 พัฒนาการจดั การศึกษาเพ่อื ความมนั่ คง 60

5.2 ยทุ ธศาสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยุธยา ท่ี 2 พัฒนากาลังคน การวิจัย เพ่อื สร้าง 61

ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

5.3 ยทุ ธศาสตร์ ศธจ.พระนครศรีอยุธยา ท่ี 3 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพ 64

5.4 ยุทธศาสตร์ ศธจ.พระนครศรีอยุธยา ที่ 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 68

5.5 ยทุ ธศาสตร์ ศธจ.พระนครศรีอยุธยา ที่ 5 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธิภาพ 70

ส่วนที่ 6 ระบบกำรติดตำม ประเมินผลและรำยงำนผลแผนปฏิบตั ริ ำชกำร 172
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564 ของสำนักงำนศกึ ษำธกิ ำรจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยำ

ภำคผนวก
- คาสงั่ สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ท่ี 443/๒๕63

เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะทางานจัดทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการ และตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ริ าชการ

ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- หนงั สืออนมุ ตั แิ ผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งาน

ศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร้ บั จดั สรร)

……………………………………..

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ีไดร้ บั จดั สรร)

1

ส่วนที่ 1
บทนำ

ควำมเปน็ มำ
ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.

2546 หมวด 3 มาตรา 9 (1),(2) ได้กาหนดให้ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ
ล่วงหน้า และแผนปฏบิ ตั ิราชการดงั กล่าวต้องมรี ายละเอยี ดของขัน้ ตอน ระยะเวลา และงบประมาณทจี่ ะตอ้ งใช้ใน
การดาเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์และตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจหน่วยงาน
และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 มาตรา 7
กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน โดยคานึงยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580
(แผนระดับ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ.2560-2564 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
(แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงกาลัง
งบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อน่ื ประกอบกนั กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี
เม่ือวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
และแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ นัน้

ดังนั้น เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บา้ นเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ.2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และ
แผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579
นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) แผนปฏิบัติการด้านการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลาง
ตอนบนระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แผนพัฒ นาการศึกษา (พ.ศ. 2563 -2565) จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา และการเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ(Electronic
Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR)
ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตรช์ าติและแผนการ
ปฏิรูปประเทศ พ.ศ.2562 สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ฉบับปรับปรุงตาม
งบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร) ขน้ึ

วตั ถุประสงค์
เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) สาหรับใช้เป็นเคร่ืองมือในการ
บรหิ ารงานของผู้บรหิ ารและให้ทุกกลุ่มงานใชเ้ ป็นกรอบแนวทางในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

วธิ ีดำเนนิ งำน
1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์แผนระดับ 1 แผนระดับ 2 ของประเทศ และบริบทต่าง ๆ ท่ี

เกยี่ วขอ้ ง ประกอบด้วย ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580)

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร้ บั จดั สรร)

2

แผนการปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ.2560-2564
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) นโยบายรัฐบาล(พลเอก ประยุทธ์
จันทร์โอชา) แถลงต่อรัฐสภา เม่ือวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน Sustainable
Development Goals : SDGs) เป้าหมายท่ี 4 เป้าหมายด้านการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคนโยบาย
และจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติการด้านการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนระยะ 3 ปี
(พ.ศ.2563 – 2565) สานักงานศึกษาธิการภาค 1 (ฉบับปรับปรุง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564)
แผนพัฒนาการศกึ ษา (พ.ศ. 2563-2565) จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
ผลที่คำดว่ำจะไดร้ ับ

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีแผนปฏิบัติราชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ฉบับปรับปรุงตาม
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ที่ผู้บริหารสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการบริหารงาน และทุกกลุ่มงานในสังกัด
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ



แผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรร)

3

สว่ นที่ 2
กรอบแนวคดิ และควำมสอดคล้องกบั แผน 3 ระดับ

กรอบแนวคิด
แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) ได้จัดทาภายใต้กรอบแนวคิดแผนระดับ 1
ระดับ 2 และแนวนโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย ยุทธศาสตร์
จุดเน้น แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการด้านการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนระยะ 3 ปี(พ.ศ.2563-2565) สานักงานศึกษาธิการ
ภาค 1 (ฉบับปรับปรุง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564) แผนพัฒนาการศึกษา(พ.ศ. 2563-2565) จังหวัด
พระนครศรีอยุธยารวมท้ังเชื่อมโยงข้อมูลสู่ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring
and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ดังนี้

1) รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560
2) ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2561-2580
3) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ
4) แผนการปฏริ ปู ประเทศ
5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ีสบิ สอง พ.ศ.2560-2564
6) นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ด้วยความมั่นคงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2562-2565)
7) นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี
8) เปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ่งั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
9) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579
10) นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ ปี 2564 (รวมแผนฟ้ืนฟู และ นโยบาย
ยกกาลงั สอง)
11) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาค
12) แผนการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมจากผลกระทบของไวรัสโควดิ -19 ตามพระราชกาหนด
ให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบ
จากการระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 พ.ศ.2563

1) รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560 กฎหมายหลักในการปกครองประเทศได้กาหนดหมวดสาคัญๆ ท่ีเกยี่ วกับการจัดการศึกษา
การสง่ เสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษา และการเข้ารับบรกิ ารการศึกษาของประชาชน

หมวดหน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหน้าท่ีเข้ารับการศึกษาอบรม
ในการศึกษาภาคบังคับ

หมวดหน้าที่ของรัฐ มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา
สิบสองปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้อง
ดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ
วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วย รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษา

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร)

4

ตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือระหว่าง
รัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ
กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ท้ังน้ี ตาม
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่งึ อย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการ
ดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาท้ังปวงตอ้ งมุ่ง
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติ มีความสามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความ
รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และ
พัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ
และได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์
เพื่อลดความเหล่ือมล้าในการศึกษาและเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐ
จัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้า
กองทุนได้รบั ประโยชน์ในการลดหย่อนภาษดี ้วย ทง้ั นต้ี ามที่กฎหมายบญั ญัติซง่ึ กฎหมายดงั กล่าวอยา่ งน้อย
ต้องกาหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นอิสระและกาหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อบรรลุ
วัตถปุ ระสงคด์ ังกลา่ ว

หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการศึกษา
ให้เกดิ ผลดังต่อไปนี้

(1) เร่ิมดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ
เพ่ือให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัยโดยไม่เก็บ
คา่ ใช้จ่าย

(2) ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อ
ลดความเหล่ือมล้าในการศึกษา และเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ให้แล้วเสร็จ
ภายในหนงึ่ ปนี ับตั้งแตว่ ันประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู น้ี

(3) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์
ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ
ความสามารถ และประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล
ของผู้ประกอบวิชาชพี ครู

(4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความ
ถนัด และปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งใน
ระดับชาติ และระดับพืน้ ท่ีดังกลา่ ว

หมวดการปฏิรปู ประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ดา้ นการศึกษา
ให้มีคณะกรรมการท่ีมีความเป็นอิสระคณะหน่ึงที่คณะรัฐมนตรีแต่งต้ังดาเนินการศึกษาและจัดทา
ข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องในการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย เพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรี
ดาเนนิ การ

2) ยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ.2561-2580 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติให้รัฐ
พึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็น

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร)

5

กรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่
เปา้ หมาย

วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ
พัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

เป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาติยัง่ ยนื ”

ยทุ ธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศ 6 ด้ำน และภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สนบั สนุนให้บรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญทงั้ 6 ดา้ น ดังน้ี

1) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมน่ั คง
2) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
4) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
6) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
กำรประเมนิ ผลกำรพฒั นำตำมยุทธศำสตรช์ ำติ
1) ความอยูด่ ีมีสขุ ของคนไทยและสังคมไทย
2) ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้
3) การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศ
4) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม และความยง่ั ยืนของ

ทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการและการเขา้ ถึงการให้บริการของภาครัฐ

3) แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุ
เป้าหมายตามท่ีกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติ
ให้เป็นไปตามน้ัน รวมท้ังการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 23 ประเด็น 62 แผนย่อย (ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การ
ประกาศแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) ณ วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึ่ง
เก่ยี วขอ้ งกับภารกจิ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ 12 ประเด็น 16 แผนย่อย ดงั นี้

(1) ประเด็นความม่ันคง ใน 2 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ
3.2 การป้องกนั และแก้ไขปัญหาทีม่ ีผลกระทบต่อความมัน่ คง

(10) ประเด็นการปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การปลูกฝัง
คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และการเสริมสรา้ งจติ สาธารณะและการเป็นพลเมืองท่ดี ี

(11) ประเด็นการพั ฒ นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ใน 4 แผนย่อย ได้แก่
3.2 การพัฒนาเด็กต้ังแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย 3.3 การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น 3.4 การพัฒนา
และยกระดับศักยภาพวยั แรงงาน 3.5 การสง่ เสริมศกั ยภาพผสู้ ูงอายุ

(12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การปฏิรูปกระบวนการ
เรยี นรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร)

6

(17) ประเด็นความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม ใน 1 แผนย่อย คอื 3.1 การคมุ้ ครอง
ทางสงั คมข้ันพนื้ ฐานและหลักประกนั ทางเศรษฐกิจ สังคม และสขุ ภาพ

(18) ประเด็นการเติบโตอย่างยั่งยืน ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.5 การยกระดับกระบวนทัศน์
เพ่ือกาหนดอนาคตประเทศ

(20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ใน 4 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การ
พัฒนา บริการประชาชน 3.2 การบริหารจัดการการเงินการคลัง 3.4 การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ 3.5
การสร้างและพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั

(21) ประเด็นการตอ่ ต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนย่อย คอื 3.1 การป้องกัน
การทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ

(22) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การพัฒนา
กฎหมาย

(23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.4 การวิจัยและ
พัฒนานวตั กรรมด้านองคค์ วามรู้พ้นื ฐาน

4) แผนกำรปฏิรูปประเทศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กาหนดให้รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ
เพื่อเป็นเป้าหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และมาตรา 259 กาหนดให้ทา
การปฏิรูปประเทศเพ่ือวางรากฐานการพัฒนาไปสู่ประเทศที่มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุล ประชาชนในสังคมมีโอกาสทัดเทียมกัน และมี
คุณภาพชีวิตท่ีดี รวมท้ังมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข โดยจะต้องดาเนินการปฏริ ูปอยา่ งตอ่ เน่ืองในชว่ งห้าปขี ้างหน้า เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ในแผนการปฏิรูปแต่ละด้าน รวม 13 ด้าน ซ่ึงเกี่ยวข้องกับภารกิจสานักงานศึกษาธิการ
จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ดงั น้ี

(1) แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการเมอื ง ในเปา้ หมายท่ี1 ให้ประชาชนมีความร้คู วามเข้าใจ
ท่ีถูกต้องเก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขฯ ประเด็นปฏิรูป
ท่ี 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

(2) แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ใน 5 ประเด็นปฏริ ูป ไดแ้ ก่
ประเด็นปฏิรูปที่ 2 ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเช่ือมโยงกัน ก้าวสู่รัฐบาลดิจิทัล ประเด็น
ปฏิรูปท่ี 3 โครงสร้างภาครัฐ กะทัดรัด ปรับตัวได้เร็ว และระบบงานมีผลสัมฤทธ์ิสูง ประเด็นปฏิรูปท่ี 4 กาลังคน
ภาครัฐมีขนาดท่ีเหมาะสมและมีสมรรถนะสูงพร้อมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นปฏิรูปท่ี 5 ระบบ
บริหารงานบุคคลท่ีสามารถดึงดูด สร้าง และรักษาคนดีคนเก่งไว้ในภาครัฐ ประเด็นปฏิรูปท่ี 6 การจัดซ้ือจัด
จา้ งภาครฐั คลอ่ งตัว โปรง่ ใส และมกี ลไกป้องกนั การทุจรติ ทกุ ขั้นตอน

(3) แผนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ในเป้าหมายที่ 1 ประเด็นปฏิรูปที่ 1 มีกลไกให้
การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่จาเป็น รวมท้ังมีกลไกในการทบทวนกฎหมายที่มีผลบังคับแล้ว
เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั หลกั การ ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย

(6) แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในเป้าหมายที่ 1
ระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งกาเนิดมีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อมและคุณภาพชีวิตท่ีดี
สาหรับประชาชน ประเดน็ ปฏริ ปู ที่ 1 เสรมิ สร้างระบบบรหิ ารจัดการมลพิษที่แหลง่ กาเนดิ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรร)

7

(8) แผนการปฏิรูปประเทศด้านสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในเป้าหมายท่ี 2
ส่อื เป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรแู้ ก่ประชาชน ปลูกฝังวัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝังทัศนคติที่ดี
ประเด็นการปฏริ ูปที่ 1 การปฏริ ูปการรเู้ ทา่ ทันสื่อของประชาชน

(9) แผนการปฏิรปู ประเทศด้านสังคม ในเปา้ หมาย คนไทยมกี ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ไปสู่การมีจิตสาธารณะเพ่ิมข้ึน ประเด็นการปฏิรูปที่ 5 การมีส่วนร่วม การเรียนรู้ การรับรู้และการส่งเสริม
กิจกรรมทางสังคม

(11) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ
มิชอบในเป้าหมาย ประเทศไทยมีระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index :
CPI) อยู่ใน 20 อันดับแรกของโลกในปี 2579 ประเด็นการปฏิรูปท่ี 1 ด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง และ
ประเด็นการปฏิรูปท่ี 2 ดา้ นการป้องปราม

(12) แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา ใน 7 เรอื่ ง รวม 22 ประเดน็
เร่ืองท่ี 1 การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ ประเด็นที่

1.1) การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทา แก้ไข และปรับปรุงกฎหมายท่ี
เกี่ยวข้อง ประเด็นท่ี 1.2) การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน เพื่อการ
จัดการศึกษา ประเด็นที่ 1.3) การขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพ่ือการ
เรยี นรูต้ ลอดชวี ติ เพือ่ รองรับการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ

เรื่องที่ 2 การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กวัยเรียน ประเด็นท่ี 2.1) การพัฒนา
ระบบการดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้เพ่ือให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์
สังคม และสติปัญญาให้ สมกับวัย ประเด็นที่ 2.2) การสื่อสารสังคมเพื่อสร้างความเข้าใจในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย

เรื่องที่ 3 การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา ประเด็นที่ 3.1) การ
ดาเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษา ประเด็นที่ 3.3) การยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษาในพื้นที่
ห่างไกล หรอื ในสถานศกึ ษา ทต่ี อ้ งมกี ารยกระดับคณุ ภาพอย่างเร่งด่วน

เร่ืองที่ 4 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพ
ครูอาจารย์ ประเด็นท่ี 4.1) การผลิตครู และการคัดกรองครู เพ่ือให้ได้ครูท่ีมีคุณภาพตรงกับความต้องการ
ของประเทศ และมีจิตวิญญาณของความเป็นครู ประเด็นท่ี 4.2) การพัฒนาวิชาชีพครูประเด็นที่ 4.3) เส้นทาง
วิชาชีพครู เพื่อให้ครูมีความก้าวหน้าได้รับค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม ประเด็นที่ 4.4) การพัฒนา
ผู้บริหารสถานศึกษา เพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ประเด็นท่ี 4.5) องค์กรวิชาชีพ
ครู และปรับปรงุ กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

เรื่องที่ 5 การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
ในศตวรรษท่ี 21 ประเด็นที่ 5.1) การปรับหลักสูตรพร้อมกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการ
ประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ประเด็นที่ 5.2) การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้าง
คุณธรรมและจริยธรรม ประเด็นที่ 5.3) การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาระดับชาติและระบบคัดเลือกเข้า
ศึกษาต่อ ประเด็นท่ี 5.4) การพฒั นาคณุ ภาพระบบการศึกษา

เรื่องท่ี 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา ประเด็นท่ี 6.1)
สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษาประเด็นที่ 6.3) การปรับปรุงโครงสร้างของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร้ ับจดั สรร)

8

เร่ืองท่ี 7 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล
(Digitalization for Educational and Learning Reform) ประเด็นที่ 7.1) การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วย
ดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ ประเด็นท่ี 7.2) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการศึกษา
(Big Data for Education)ประเดน็ ที่ 7.3) การพฒั นาความเปน็ พลเมืองดจิ ิทลั (digital citizenship) ในด้านความ
ฉลาดรู้ดิจิทัล (digital literacy) ความฉลาดรสู้ ารสนเทศ (information literacy) ความฉลาดรู้ส่อื (media
literacy) เพ่ือการรู้วิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนการมี
พฤติกรรม ทส่ี ะทอ้ นการรู้กตกิ า มารยาท จริยธรรมเก่ียวกับการใช้สื่อและการส่อื สารบนอนิ เทอรเ์ น็ต

5) แผนพฒั นำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564 สานกั งานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง
พ.ศ.2560-2564 สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึงเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทย
ให้เปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแล้ว มคี วามม่นั คง ม่งั คั่ง ยงั่ ยืน ดว้ ยการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ยุทธศาสตร์การพัฒนา 10 ยุทธศาสตร์ โดยมี 6 ยุทธศาสตร์ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ.2561-2580) และอีก 4 ยุทธศาสตร์ที่เป็นปัจจัยสนับสนุน ซึ่งภารกิจสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยาสนับสนนุ ใหบ้ รรลุเป้าหมายรวม 9 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1) การเสรมิ สร้างและพฒั นา
ศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2) การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3)
การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 4) การเติบโตที่เป็นมิตรกับ
ส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 5) การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนา
ประเทศสู่ความม่ันค่งั และยั่งยืน ยุทธศาสตรท์ ี่ 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกนั การทุจริตประพฤติมิ
ชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ที่ 7) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์
ยุทธศาสตร์ที่ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9) การพัฒนา
ภาคเมือง และพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจ

6) นโยบำยและแผนระดับชำติว่ำด้วยควำมม่ันคงแห่งชำติ (พ.ศ.2562-2565) ได้ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา ณ วันท่ี 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 เพื่อเป็นแผนหลักของชาติท่ีเป็นกรอบทิศทาง การ
ดาเนินการป้องกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยับย้ังภัยคุกคาม เพื่อธารงไว้ซ่ึงความม่ันคงแห่งชาติ รวม 7
กรอบแนวคิด 16 นโยบาย 19 แผน มีสว่ นเกี่ยวข้องกับสานักงานศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ได้แก่นโยบายที่
1) เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สอดรับด้วย แผนท่ี 3) แผนการเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ
ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นโยบายที่ 2) สร้างความ
เป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ในชาติ สอดรับด้วย แผนท่ี 6) แผนการสร้างความสามัคคี
ปรองดอง นโยบายที่ 5) สร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ และนโยบายที่
8) เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกัน ความม่ันคงภายใน สอดรับด้วย แผนท่ี 10) แผนการป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด นโยบายที่ 9) เสริมสร้างความม่ันคงของชาติจากภัยการทุจริต สอดรับด้วย แผนท่ี 11)
แผนการเสริมสร้างความมั่นคงของชาติจากภัยทุจริต และนโยบายที่ 10) เสริมสร้างความม่ันคงปลอดภัยไซ
เบอร์ สอดรับด้วย แผนท่ี 15) แผนการป้องกันและแก้ไขปญั หาความมัน่ คงทางไซเบอร์

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ีไดร้ บั จดั สรร)

9

7) นโยบำยรัฐบำล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี) นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบาย
ของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 รวม 12 นโยบายหลัก และ
12 นโยบายเร่งด่วน ซึ่งภารกิจสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีส่วนเกี่ยวข้อง รวม 11 นโยบายหลัก 5
นโยบายเร่งดว่ น ดงั นี้

นโยบายหลักที่ 1 การปกป้องและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ นโยบายหลักที่ 2 การสรา้ ง
ความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ นโยบายหลักท่ี 3 การทานุบารุง
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (3.2 ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีดี ทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความ
ซ่ือสัตย์ การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมีส่วนร่วมทาประโยชน์ให้ประเทศ และการเป็น
พลเมืองดี) นโยบายหลักท่ี 4 การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก (4.2 สร้างความเป็นปึกแผ่นของอาเซียน)
นโยบายหลักท่ี 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย (5.3 พัฒนาภาคเกษตร 5.4 พัฒนา
ภาคการท่องเที่ยว) นโยบายหลักที่ 6 การพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกจิ และการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค (6.1 ส่งเสริม
พ้ืนท่เี ศรษฐกจิ พิเศษเพ่ือเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเอเชีย 6.2 ส่งเสริมและเร่งรดั การพัฒนาเมืองอจั ฉริยะน่า
อยู่ท่ัวประเทศ) นโยบายหลักที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย
(8.1 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธ์ุใหม่ 8.5 วิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย์
การพฒั นาประเทศ 8.6 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทุกช่วงวัย 8.7 จดั ทาระบบปริญญาชุมชนและการ
จัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน) นโยบายหลักท่ี 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม
(9.4 สร้างหลักประกันทางสังคม) นโยบายหลักท่ี 10 การฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษา
ส่ิงแวดล้อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน นโยบายหลักท่ี 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครฐั นโยบาย
หลักท่ี 12 การปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยตุ ธิ รรม

นโยบายเร่งด่วนท่ี 6 การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต นโยบายเร่งด่วน
ที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นโยบายเร่งด่วนที่ 8 การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวง
ราชการ นโยบายเร่งด่วนที่ 9 การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพ้ืนท่ีชายแดนภาคใต้
นโยบายเรง่ ด่วนที่ 10 การพฒั นาระบบการให้บริการประชาชน

8) เป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป้ำหมำยท่ี 4 สร้ำง
หลักประกันให้กำรศึกษำมีคุณภำพอย่ำงเท่ำเทียมและครอบคลุม และส่งเสริมโอกำสในกำรเรยี นรู้ตลอดชีวิต
สำหรับทุกคน ประเทศไทยได้ร่วมรับรองเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development
Goals : SDGs) ในการประชุมสุดยอดสหประชาชาติสมัยสามัญ (UN General Assembly) ครั้งท่ี 70 ณ กรุง
นิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันท่ี 25 กันยายน 2558 ซ่ึงประกอบด้วย 17 เป้าหมาย (Goals) 169
เป้าประสงค์ (Targets) มีระยะเวลาดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558-2573 (ค.ศ. 2015 - ค.ศ. 2030)
และประเทศไทยไดม้ กี ารดาเนินการกาหนดและจดั ทากรอบแนวทางตามกลไกติดตามเปา้ หมายการพัฒนาที่
ยง่ั ยืน เพ่ือให้เกิดกลไกการติดตามผลการดาเนนิ งานที่เป็นรูปธรรม โดยแตง่ ตัง้ คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนา
ที่ยั่งยืน (กพย.) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่
ย่งั ยืน (กพย.) 3 คณะ

เป้าหมายที่ 4 เป็นเป้าหมายด้านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รับผิดชอบหลัก
เพียงกระทรวงเดียวและมีหน่วยงานอื่นมีบทบาทเป็นหน่วยงานสนับสนุน กระทรวงศึกษาธิการได้แต่งต้ัง
คณะกรรมการอานวยการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาเพ่ือรับผิดชอบ (1) กาหนด
นโยบายและอานวยการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษา (2) กาหนดเป้าหมายและ

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร)

10

ตวั ช้วี ัดการพฒั นาที่ย่ังยนื ในเป้าหมายท่ี 4 และเป้าหมายอนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับด้านการศึกษา ทสี่ อดคล้องกับ
บริบทการศึกษาและแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศ (3) จัดทา Roadmap การขับเคลื่อนเป้าหมาย
การพัฒนาท่ีย่ังยืนในเป้าหมายที่ 4 (4) ให้คาปรึกษาและกาหนดกรอบการติดตามประเมิน และการรายงานผล
การดาเนินงานการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในเป้าหมายที่ 4 และเป้าหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
กับการศึกษา และ (5) ทาหน้าท่ีกากับ ติดตามการดาเนินการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
ด้านการศกึ ษาของส่วนราชการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องใหเ้ ป็นไปตาม Roadmap

ตัวช้ีวัดเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนด้านการศึกษา เป้าหมายท่ี 4 สร้างหลักประกัน
ให้การศึกษามีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและครอบคลุม และส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับทุกคน
ประกอบด้วย เป้าประสงค์ 10 ข้อ (ข้อมูล : เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการจัดทาตัวช้ีวัดเป้าหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืนด้านการศึกษาในส่วนของประเทศไทย SDG 4 National Indicators วันท่ี 7-8 สิงหาคม
2562 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร) และจาแนกเป็น 2 ส่วนคือ (1) ส่วนที่เป็นตัวชี้วัด
ระดับโลกที่ทุกประเทศจะต้องรายงาน และ (2) ส่วนท่ีกาหนดตัวชี้วัดทดแทนและตัวช้ีวัดเพ่ิมเติม เพ่ือให้
สอดคล้องกับความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูลในประเทศและการจัดทาฐานข้อมูลของ ประเทศที่มีอยู่แล้ว
รวมทั้งมอบหมายผู้รบั ผิดชอบในการดาเนินการในแตล่ ะประเดน็ ดว้ ย

ภำรกิจของสำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร มีส่วนเกี่ยวข้องกับเป้ำหมำยกำรพัฒนำ
ที่ย่ังยืน เป้ำหมำยท่ี 4 สร้ำงหลักประกันให้กำรศึกษำมีคุณภำพอย่ำงเท่ำเทียมและครอบคลุม และ
สง่ เสริมโอกำสในกำรเรียนรู้ตลอดชีวติ สำหรบั ทุกคน (SDG4) ใน 6 เป้ำประสงค์ ดงั น้ี

เป้ำประสงค์ที่ 4.1 (SDG 4.1) : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสาเร็จ
การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ผลลัพธ์
ทางการเรียนทีม่ ีประสิทธผิ ล ภายในปี พ.ศ.2573 ประกอบดว้ ยตัวช้ีวดั ดงั นี้

4.1.1) ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 3 (ป.3) ที่มีค่าคะแนนเฉล่ียผลการ
ทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) ระดับ ป. 3 ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด :
ตัวช้ีวัดทดแทน : ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ. 2565 (สพฐ. : หน่วยจัดเก็บข้อมูลหลัก / สช. :
หนว่ ยรว่ มสนบั สนุน)

4.1.4) อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษา ตัวชี้วัดเพิ่มเติม : ค่าเป้าหมายไว้ท่ี
ร้อยละ 100 ภายในปี พ.ศ. 2564 (สกศ. : หน่วยจดั เก็บข้อมูลหลกั / ศทก. : หน่วยสนับสนนุ )

4.1.5) อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษา ตัวช้วี ัดเพิ่มเติม : ค่าเป้าหมายระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 100 มัธยมศึกษาตอนปลายร้อยละ 80 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ. : หน่วย
จดั เก็บข้อมูลหลัก / ศทก. : หนว่ ยสนบั สนุน)

4.1.6 อัตราการสาเร็จการศึกษาของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด
เพิ่มเติม : ค่าเป้าหมายระดับประถมศึกษา ร้อยละ 100 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 100 ส่วนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ ร้อยละ 90 สายอาชีวศึกษา ร้อยละ 80 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ. :
หนว่ ยจดั เกบ็ ข้อมูลหลกั / ศทก. : หนว่ ยสนบั สนนุ )

เป้ำประสงค์ที่ 4.2 (SDG 4.2) : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการ
พัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ ภายในปี
2573 เพอ่ื ให้เดก็ เหลา่ นน้ั มคี วามพร้อมสาหรับการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา ประกอบด้วยตัวช้วี ัด ดงั น้ี

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรร)

11

4.2.1 ร้อยละของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ที่มีพัฒนาการทางด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และ
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัย ตัวชี้วัดหลัก : ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 92 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ. : หน่วย
จดั เก็บข้อมลู หลกั สสช. และ UNICEF สธ. / สป. : หนว่ ยสนับสนุน)

4.2.2 อตั ราการเข้าเรยี นปฐมวยั (อย่างน้อย 1 ปี กอ่ นถงึ เกณฑ์อายเุ ข้าเรียน
ประถมศึกษา) ตัวช้วี ดั หลัก : ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 90 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ., สสช. : หน่วยจัดเกบ็
ขอ้ มลู หลัก / สป. : หนว่ ยรว่ มสนับสนนุ )

เป้ำประสงค์ท่ี 4.3 (SDG 4.3) : สร้างหลักประกันให้ชายและหญิงทุกคนเข้าถึงการศึกษา
ระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัยท่ีมีคุณภาพในราคาท่ีสามารถจ่ายได้ ประกอบด้วยตัวช้ีวัด
ดงั น้ี

4.3.1 อตั ราการเข้าเรียนของเยาวชนและผู้ใหญ่ ทง้ั ในระบบนอกระบบการศกึ ษา ตวั ช้ีวัด
หลกั ประกอบดว้ ยตัวชว้ี ัดยอ่ ยตอ่ ไปนี้

4.3.1.1 อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา ตัวช้ีวัด
ย่อยเทียบตัวช้ีวัดทดแทน : ค่าเป้าหมาย สัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีวศึกษา :
สายสามัญศึกษา 45 : 55 ภายในปี พ.ศ. 2564 (สกศ., ศทก. : หน่วยจัดเก็บข้อมูลหลัก / สป. : หน่วย
ร่วมสนับสนุน)

4.3.1.2 อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ตัวชี้วัดย่อยเทียบตัวชี้วัดทดแทน :
ค่าเป้าหมาย ระดับอนุปริญญา ประเภทอาชวี ศึกษา 60 ระดับอุดมศึกษา 50 ภายในปี พ.ศ.2564 (สกศ., ศทก.
: หน่วยจัดเกบ็ ข้อมลู หลัก)

4.3.1.3 จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ ปวช. ตวั ชี้วดั ทดแทน :
ค่าเป้าหมายระหวา่ งกาหนด (ศทก. : หน่วยจัดเกบ็ ข้อมูลหลัก / กศน. : หน่วยสนับสนนุ )

4.3.1.4 จานวนนักศึกษา/ผ้รู บั บริการหลกั สูตรการอบรม ตัวชว้ี ดั ยอ่ ยภายใตต้ ัวชี้วดั
หลกั : คา่ เปา้ หมายระหวา่ งกาหนด (สศก., ศทก. : หน่วยจัดเกบ็ ข้อมูลหลัก / สป. : หน่วยร่วมสนับสนนุ )

เป้ำประสงค์ท่ี 4.7 (SDG 4.7) : สร้างหลักประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะที่
จาเป็น สาหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างย่ังยืนและการมีวิถี
ชีวิตท่ีย่ังยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุข และไม่ใช้
ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมสี ่วนร่วม
ของวฒั นธรรมต่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื ภายในปี 2573 ประกอบดว้ ยตวั ช้วี ัด ดังนี้

4.7.1 มีการดาเนินการเก่ียวกับ (i) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก และ (ii)
การจัด การศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน รวมถึงความเสมอภาคทางเพศ และสิทธิมนุษยชน ซึ่งถูกให้ความสาคัญ
ทุกระดับใน (a) นโยบายการศึกษาของประเทศ (b) หลักสูตร (c) ระดับการศึกษาของครูและ (d) การประเมินผล
นักเรยี น ตัวช้ีวัดหลกั (สป. : หนว่ ยจดั เก็บขอ้ มูลหลัก)

เป้ำประสงคท์ ี่ 4.A (SDG 4.A) : สรา้ งและยกระดับอปุ กรณแ์ ละเครื่องมือทางการศึกษา
ที่อ่อนไหวต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความ
รุนแรง ครอบคลมุ และมปี ระสิทธผิ ลสาหรบั ทุกคน ประกอบดว้ ยตวั ชว้ี ัด ดงั นี้

4.A.1 สดั ส่วนของโรงเรียนทม่ี ีการเข้าถึง (a) ไฟฟ้า (b) อนิ เทอร์เนต็ ที่ใช้ในการเรยี น
การสอน (c) เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ท่ใี ช้ในการเรยี นการสอน (d) โครงสรา้ งพนื้ ฐานและวัสดุอปุ กรณ์ท่ีไดร้ ับการ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร)

12

ปรับให้เหมาะสมกบั นักเรียนท่มี คี วามบกพร่องทางร่างกาย ตวั ชวี้ ดั หลกั (ศทก.สป. : หน่วยจดั เก็บข้อมูลหลัก
/ สป. : หน่วยรว่ มสนับสนนุ )

เป้ำประสงค์ท่ี 4.C (SDG 4.C) : เพิ่มจานวนครูท่ีมีคุณวุฒิ รวมถึงการดาเนินการผ่าน
ทางความร่วมมือระหว่างประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศ
พฒั นาน้อยท่สี ุด และรฐั กาลังพัฒนาท่ีเปน็ เกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573 ตัวชี้วดั ที่กาหนด ประกอบด้วย

4.C.1 สัดส่วนของครูในระดับ (a) ก่อนประถมศึกษา (b) ประถมศึกษา (c) มัธยมศึกษา
ตอนต้น และ (d) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษา) ท่ีอย่างน้อยได้รับการ
อบรมครู (เช่นการฝกึ อบรมการสอน)ทัง้ ก่อนประจาการ(Pre-Service)หรอื ระหว่างประจาการ (In-Service)ในระดบั /เกณฑ์
มาตรฐานของประเทศ ตัวช้ีวัดหลกั : ค่าเป้าหมาย 100 (สกศ., สป. : หน่วยจัดเก็บขอ้ มูลหลกั )

9) แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.2560-2579 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนที่วาง
กรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถ
เข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มี
ประสิทธภิ าพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะในการทางานทสี่ อดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการ
พัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสาคัญในการจัดการศึกษา
ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเท่า
เทียม และท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีกทั้งยึดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ
คุณภาพของคนช่วงวัย การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลื่อมล้าของการกระจาย
รายได้ และวิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการจัดทาแผนการ
ศึกษาแหง่ ชาติ โดยมีสาระสาคญั ดงั น้ี

วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต
อยา่ งเปน็ สุข สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศกึ ษาท่มี ีคุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้อง

กับบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รัก

สามัคคี และร่วมมือผนกึ กาลังมุ่งสกู่ ารพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวขา้ มกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้า

ภายในประเทศลดลง
ยุทธศำสตรแ์ ผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์

ซง่ึ เก่ียวข้องกบั ภารกิจของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ดังน้ี
ยุทธศำสตร์ท่ี 1 กำรจดั กำรศกึ ษำเพือ่ ควำมมั่นคงของสังคมและประเทศชำติ
เป้ำหมำย 1) คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีได้รับจดั สรร)

13

จังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ีพิเศษได้รับการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3) คนทุกช่วงวัยได้รบั การศึกษา
การดูแลและป้องกนั จากภัยคุกคามในชีวติ รูปแบบใหม่

แนวทำงกำรพัฒนำ 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบัน
หลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 4) พัฒนาการจัด
การศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรง
ในรปู แบบตา่ ง ๆ ยาเสพติด ภัยพบิ ัติจากธรรมชาตภิ ัยจากโรคอบุ ตั ิใหม่ภยั จากไซเบอร์ เป็นตน้

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 กำรผลิตและพัฒนำกำลังคน กำรวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้ำง
ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ

เป้ำหมำย 1) กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาด
งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิต
บณั ฑิต ท่ีมคี วามเชย่ี วชาญและเป็นเลศิ เฉพาะด้าน 3) การวจิ ัยและพฒั นาเพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้และนวตั กรรม
ท่ีสรา้ งผลผลติ และมลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกจิ

แนวทำงกำรพัฒนำ 1) ผลิตและพฒั นากาลังคนใหม้ ีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความต้องการ
ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากาลังคนท่ีมี
ความเชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม
ท่สี รา้ งผลผลิตและมูลคา่ เพ่ิมทางเศรษฐกจิ

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 3 กำรพัฒนำศักยภำพคนทุกช่วงวยั และกำรสรำ้ งสังคมแห่งกำรเรยี นรู้
เป้ำหมำย 1) ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ
คุณลักษณะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 2) คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตาม
มาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชพี และพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดต้ ามศกั ยภาพ 3) สถานศึกษาทุกระดับ
การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แหล่ง
เรียนรู้ ส่ือตาราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงได้
โดยไม่จากัดเวลาและสถานท่ี 5) ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ
6) ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7) ครู อาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษาไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน
แนวทำงกำรพัฒนำ 1) ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ
และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย 2) ส่งเสริมและพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึง
แหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 3) สร้างเสริมและปรับเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย
จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4) พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผล
ผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาคลังข้อมูล ส่ือ และนวัตกรรมการเรียนรู้ ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน
6) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 7) พัฒนาคุณภาพครู
อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 4 กำรสร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียมทำงกำรศกึ ษำ
เป้ำหมำย 1) ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาท่ีมี
คุณภาพ 2) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรร)

14

3) ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพ่ือการวาง
แผนการบรหิ ารจัดการศึกษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล

แนวทำงกำรพัฒนำ 1) เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
2) พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวัย 3) พัฒนาฐานข้อมูลด้านการศึกษาที่มี
มาตรฐาน เช่ือมโยงและเข้าถงึ ได้

ยุทธศำสตร์ท่ี 5 กำรจดั กำรศึกษำเพือ่ สรำ้ งเสริมคณุ ภำพชวี ติ ทเ่ี ป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม
เป้ำหมำย 1) คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนา
แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 2) หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่
ส่งเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3) การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสรา้ งเสริมคุณภาพ
ชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม
แนวทำงกำรพัฒนำ 1) ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม
จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนินชีวิต 2) ส่งเสริม
และพัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ และสื่อการเรียนรตู้ ่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการสรา้ งเสริม
คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 3) พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริม
คุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม
ยุทธศำสตร์ท่ี 6 กำรพฒั นำประสทิ ธิภำพของระบบบริหำรจัดกำรศกึ ษำ
เป้ำหมำย 1) โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว
ชดั เจนและสามารถตรวจสอบได้ 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลส่งผลต่อ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3) ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาท่ีตอบสนองความ
ตอ้ งการของประชาชนและพน้ื ที่ 4) กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับ
ลักษณะที่แตกต่างกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ 5) ระบบ
บริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญกาลังใจ และ
สง่ เสริมให้ปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ
แนวทำงกำรพัฒนำ 1) ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 2) เพิ่มประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการสถานศึกษา 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา 4) ปรับปรุง
กฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 5)
พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา

10) นโยบำยและจุดเน้นกระทรวงศึกษำธิกำร ปี 2564 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ
นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้ส่วนราชการใน
สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดาเนินงานในการจัดทาแผนและงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมทั้งขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการศึกษา ให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ
โดยใช้จ่ายงบประมาณอย่างคมุ้ คา่ เพ่อื มงุ่ เป้าหมาย คือ ผู้เรียนทุกชว่ งวัย ดงั นี้

หลักกำรตำมนโยบำย ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564 กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่น
ดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ในฐานะหน่วยงาน
เจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยท่ี 3 ในประเด็น 11

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร)

15

ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมท้ังแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายรัฐบาลท้ังในส่วน
นโยบายหลักด้านการปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบาย
เร่งด่วน เร่ือง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ยังสนับสนุนการขับเคล่ือนแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564)
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมี
ความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มงั่ คง่ั และย่ังยืน ดงั นัน้ ในการเรง่ รัดการทางาน
ภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามี
คุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ดงั นี้

1. ปรับร้ือและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวม
ภารกจิ และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ
ที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนาเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั เข้ามาช่วยท้งั การบรหิ ารงานและการจดั การศึกษารองรับความเปน็ รฐั บาลดจิ ิทัล

2. ปรบั ร้ือและเปลีย่ นแปลงระบบการบรหิ ารทรพั ยากร โดยมงุ่ ปฏิรปู กระบวนการวางแผนงาน/
โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ย่ังยืน
รวมท้ังกระบวนการจัดทางบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ
ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และนานาชาติ เชื่อมั่นและรว่ มสนบั สนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษามากย่งิ ขน้ึ

3. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ
โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากาลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้
ความสามารถของบุคลากรภาครฐั ให้มีความพร้อมในการปฏิบตั งิ านรองรับความเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั

4. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุม
ถึงการจัดการศกึ ษาเพื่อคณุ วฒุ ิ และการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ทสี่ ามารถตอบสนองการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21

จุดเนน้ ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564
1. กำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์

1.1 กำรจดั กำรศึกษำเพอื่ คณุ วฒุ ิ
- จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ัง

แนวทาง การจัดการเรียนรู้เชิงรุกและการวัดประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศกึ ษาแหง่ ชาติ

- ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษา
ตามความต้องการจาเปน็ ของกลุ่มเป้าหมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบริบทของพ้ืนที่

- พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์
จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปิดโลกทัศน์มุมมอง
ร่วมกันของผู้เรียนและครูให้มากขน้ึ

- พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพ่ือเป็นเครื่องมือในการดารงชีวิต
และสร้างอาชพี อาทิ การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั สขุ ภาวะและทัศนคติทีด่ ีต่อการดแู ลสขุ ภาพ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีไดร้ บั จดั สรร)

16

1.2 กำรเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ
- จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับ

ทักษะภาษาอังกฤษ (English for All)
- ส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพ

ท่ีเหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร
BUDDY โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์
เพื่อสง่ เสริมประชาสัมพันธส์ ินค้าออนไลนร์ ะดบั ตาบล

- ส่งเสริมโอกาสการเข้าถงึ การศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทา ในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นที่พิเศษ (พื้นท่ีสูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บ ชายแดน และพ้ืนที่
เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่าง
ดา้ ว)

- พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็น
ระบบและมเี หตผุ ลเป็นข้ันตอน

- พัฒนาครูอาชีวศึกษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on
Experience) เพ่ือให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาชั้นนา
ของประเทศจดั หลกั สูตรการพฒั นาแบบเข้มขน้ ระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี

- พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ
ใหม้ ีความพรอ้ มในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจัดใหม้ ีศูนย์พัฒนา
สมรรถนะบุคลากรระดับจังหวัดทั่วประเทศ

2. กำรพฒั นำกำรศึกษำเพอ่ื ควำมมน่ั คง
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์

พระราชทาน “เข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา” เป็นหลกั ในการดาเนนิ การ
- เฝ้าระวังภัยทุกรูปแบบท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะ

ภยั จากยาเสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์
- ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถ่ินร่วมกับภาษาไทยเป็นสื่อจัดการเรียนการสอนในพ้ืนท่ี

ท่ีใช้ภาษาอย่างหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมท้ังมีทักษะ
การสือ่ สารและใช้ภาษาทีส่ ามในการต่อยอดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

- ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความ
พอเพยี ง วนิ ัย สจุ รติ จิตอาสา โดยใชก้ ระบวนการลกู เสือ และยุวกาชาด

3. กำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน
- สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกาลังแรงงานท่ีมีคุณภาพ ตามความเป็นเลิศ

ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้ืนท่ี รวมท้ังสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของประเทศท้ังในปจั จุบัน
และอนาคต

- สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรียน
การสอนด้วยเคร่ืองมือปฏิบัติที่ทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผ้เู รียนมีทักษะการวิเคราะห์
ขอ้ มูล (Data Analysis) และทกั ษะการสอ่ื สารภาษาตา่ งประเทศ

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรร)

17

4. กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศกึ ษำ
- พัฒนาแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพือ่ การเรียนรู้ และใช้ดิจทิ ลั เป็นเครือ่ งมือการเรยี นรู้
- ศึกษาและปรับปรุงอัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ให้สอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกิจและบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู
- ระดมสรรพกาลังเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนาร่องพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา

เพือ่ ลดความเหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษาให้สอดคล้องพระราชบัญญตั ิพน้ื ทีน่ วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
5. กำรจัดกำรศกึ ษำเพือ่ สร้ำงเสรมิ คุณภำพชีวิตท่เี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
- เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ

พฤติกรรมท่พี งึ ประสงคด์ า้ นสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ให้สามารถ

เป็นอาชพี และสรา้ งรายได้
6. กำรปรับสมดุลและพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำร
- ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ

ของหน่วยงานที่มีภารกิจใกล้เคียงกัน เช่น ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี
ด้านกฎหมาย เป็นต้น

- ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เป็นอุปสรรคและข้อจากัดในการดาเนินงาน
โดยคานงึ ถึงประโยชนข์ องผเู้ รยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธิการโดยรวม

- สนบั สนนุ กจิ กรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
- พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษา (Big Data)
- พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการและพฒั นากาลังคนของกระทรวงศกึ ษาธิการ ให้สอดคลอ้ ง
กบั การปฏริ ปู องค์การ
- สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาท่ีมี
คุณภาพไดอ้ ย่างอิสระและมปี ระสิทธภิ าพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธกิ าร
- จัดต้ังหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ บุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- ส่งเสรมิ โครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดลอ้ มทงั้ ภายใน
และภายนอกบริเวณโรงเรียนให้เอื้อตอ่ การเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ
กำรขับเคล่อื นนโยบำยและจุดเนน้ สกู่ ำรปฏิบัติ
1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้น
เป็นกรอบแนวทางมาใช้ในการวางแผนและจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย
คานงึ ถงึ มาตรการ 4 ขอ้ ตามที่รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ให้แนวทางในการบริหารงบประมาณ
ไว้ ดังนี้ (1) งดดูงานต่างประเทศ 1 ปี ยกเว้นกรณีที่มีความจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อกระทรวงศึกษาธิการ
(2) ลดการจัดอบรมสัมมนาที่มีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (3) ยกเลิกการจัดงาน Event และ (4)
ทบทวนงบประมาณท่ีมีความซ้าซ้อน
2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและ
จุดเน้นสู่การปฏิบัติระดับพื้นท่ี โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน สานักงานศึกษาธิการ
ภาค และสานักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร)

18

ตามลาดับโดยมบี ทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ตดิ ตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงาน
เสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลาดบั

3. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นท่ีหรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
และดาเนนิ การแก้ไขปัญหาในระดับพื้นท่ีกอ่ น โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พรอ้ มทั้งรายงาน
ต่อคณะกรรมการติดตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ตามลาดบั

อนึ่ง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงาน
ในเชิงหน้าที่ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนที่ (Area) ซ่ึงได้ดาเนินการอยู่ก่อน
เม่ือรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญเพ่ิมเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือจาก
ท่ีกาหนดหากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการ
หลัก และหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จ และมี
ประสิทธิภาพอย่างเป็นรูปธรรมดว้ ยเช่นกนั

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ได้มอบนโยบาย
“การศึกษายกกาลังสอง : Thailand Education Eco-System” (TE2 S: การศึกษาที่เข้าใจ Supply และ
ตอบโจทย์ Demand) แกห่ นว่ ยงานในสังกัด เม่อื วันที่ 17 สิงหาคม 2563 ดงั นี้

 ก ารศึ ก ษ าย ก ก าลั งส อ ง (Thailand Education Eco-System: TE2 S) คื อ
การศึกษาทมี่ คี วามยดื หยุ่น สามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมและตลาด โดยมุ่งเนน้ พฒั นาศกั ยภาพ
คน สู่ความเป็นเลศิ ตามบริบทในแบบ ฉบับของตนเอง (เขา้ ใจ Supply และตอบโจทย์ Demand)

 ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence
Center : HCEC) เป็นศูนย์ฝึกอบรมพัฒนาวิชาชีพครูท่ีกระจายท่ัวประเทศและมีมาตรฐานเดียวกัน เน้น
อบรมครูในโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีทักษะ ความรู้ท่ีจาเป็น เน้นอบรมครูอาชีวศึกษาตามวิชาชีพท่ี
ตลาดตอ้ งการ เพื่อทาหนา้ ทเี่ ป็น Train the Trainer ขยายผลพฒั นาตอ่ ไปยังครูอื่น ๆ

 แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence
Platform : DEEP) เป็นแพลตฟอร์มหลักในการเรียนรู้ออนไลน์ของประเทศ เพ่ือตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผ่าน www.deep.go.th โดยปลดล็อกให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเน้ือหา เพื่อให้มีทางเลือกในการเรียนรู้
ที่หลากหลาย นักเรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษาได้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ เป็นช่องทางแหง่ การเรียนรู้
แบบ Digital Platform ทส่ี ามารถแสดงพฒั นาการในการเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

 แผนพัฒนารายบคุ คลเพ่อื ความเปน็ เลศิ (Excellence Individual Development
Plan : EIDP) เพ่ือตอบโจทย์เส้นทางความสาเร็จของชีวิตในรูปแบบของตนเอง โดยนักเรียนมีแผนพัฒนา
ตนเองซ่ึงจะช่วยให้ค้นพบตัวเองได้เร็ว ครูมีแผนพัฒนาทักษะ ความรู้ท่ีช่วยพัฒนาเรื่องการสอนและลดงาน
เอกสาร ผู้บริหารทางการศึกษา สร้างสภาพแวดล้อมของโรงเรียนท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ และเตรียมความพร้อม
ไปสูผ่ ู้บรหิ ารชั้นนา

 ระบบนิเวศทางการศึกษา ประกอบไปด้วย HCEC ,DEEP และ EIDP ทางาน
ประสานเชอื่ มโยงกัน “ปลดล็อก ปรับเปลยี่ น เปิดกว้าง” ทางการศึกษาไทยสู่รูปโฉมใหม่ ดงั นี้

 นักเรียนยกกาลงั สอง : เรยี นเพอื่ รู้ พฒั นาทักษะเพอ่ื ลงปฏิบัติ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร้ ับจดั สรร)

19

 ครยู กกาลังสอง : เพิ่มคนเกง่ มาเปน็ ครู พัฒนาครูในระบบ
 หอ้ งเรียนยกกาลังสอง : เรียนที่บา้ น ถามทโ่ี รงเรยี น
 หลักสูตรยกกาลงั สอง : ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ (Enabler)
 ส่ือการเรยี นรู้ยกกาลังสอง : เรียนผ่านสื่อผสมผสาน ผ่านชอ่ งทางท่ีหลากหลาย ได้แก่

On-Site : เรียนท่ีโรงเรียน ผ่านตารา/ Presentation/ อุปกรณ์ทดลอง/ ธรรมชาติใน
ชมุ ชน

Online : เรียนออนไลน์ผ่าน DEEP ที่มีเนื้อหาหลักสูตรแกนกลางและเน้ือหา
จากผผู้ ลิตอสิ ระ และผู้สนใจด้านการศึกษา

On-Air : เรียนผ่านโทรทัศน์ DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
เนือ้ หามาตรฐาน และจากผูผ้ ลติ เน้ือหาเปน็ เอกชน

On-Demand : เรียนได้ทุกท่ีทีม่ อี ินเทอร์เนต็ และอุปกรณเ์ ชอื่ มต่อ
 โรงเรียนยกกาลังสอง: เน้นคุณภาพ และโรงเรยี นศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อความเปน็ เลิศ
ทางวิชาการ เพื่อความเป็นเลิศทางภูมิปัญญาท้องถ่ินและวิสาหกิจชุมชน เน้นคุณภาพของวิทยาลัย
อาชีวศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศและความเช่ียวชาญท่ีสามารถตอบโจทย์ทักษะและความรทู้ ่ีเพิ่มความเช่ียวชาญใน
การปฏบิ ตั งิ าน

11) ยุทธศำสตรก์ ำรพฒั นำภำค
ภาคกลางและพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร : พัฒนากรุงเทพมหานครสู่มหานครทันสมัย และภาค

กลางเปน็ ฐานการผลติ สนิ ค้าและบรกิ ารท่ีมีมูลคา่ สงู

12) แผนปฏิบัติรำชกำรประจำปงี บประมำณ พ.ศ.2564 ของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
1. วิสัยทศั น์
ผู้เรียนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติให้เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพพร้อมขับเคล่ือน

การพัฒนาประเทศสู่ความมนั่ คง มัง่ คั่ง ยั่งยืน
2. พันธกจิ
1) ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั ทุกประเภทตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ

และเทียบเทา่ ระดบั สากล
2) สรา้ งความเสมอภาคและลดความเหล่อื มลา้ ทางการศกึ ษา
3) ผลติ พฒั นา และสรา้ งเสริมศกั ยภาพกาลงั คนให้มีความพร้อมรองรบั การพฒั นาประเทศ
4) วิจัยและพฒั นาเพื่อสรา้ งองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และส่งิ ประดษิ ฐ์
5) พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหม้ ีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภบิ าล

3. เป้ำประสงคร์ วม
1) ผเู้ รียนไดร้ ับการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ

และส่งเสรมิ ทักษะท่จี าเป็นในศตวรรษที่ 21
2) ประชาชนทุกช่วงวัยและกลุ่มเป้าหมายมีโอกาสเข้าถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ

อย่างทวั่ ถงึ เสมอภาค
3) กาลงั คนได้รับการพฒั นาให้มีศักยภาพตอบสนองต่อความต้องการของประเทศ

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ดร้ ับจดั สรร)

20

4) ผลงานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี องค์ความรู้ และส่ิงประดิษฐ์ สามารถนาไปใช้
ประโยชน์หรอื ตอ่ ยอดเชิงพาณิชย์

5)ระบบบรหิ ารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลโดยการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น

13) แผนปฏิบัติรำชกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2564 ของสำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร
(ฉบบั ปรบั ปรุงตำมงบประมำณทไ่ี ดรบั จดั สรร)

วสิ ัยทัศน์
การบริหารและจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการมีประสิทธภิ าพ ผู้เรียนไดรบั การเรียนรู ตลอด
ชวี ิตอย่างมคี ณุ ภาพและมีทกั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21
พนั ธกจิ
1. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การบรหิ ารและจดั การศึกษาแบบบูรณาการการ ทกุ ระดบั ทุกพนื้ ท่ี
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ส่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน
2. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้สอดคลองกบั ทกั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21
3. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างโอกาส และความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาอย่าง
ท่ัวถึง ตามศกั ยภาพของผู้เรียน เพอ่ื ลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา
4. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะ ของ
ขา้ ราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาที่สง่ ผลตอ่ การพฒั นาทักษะทจ่ี าเปน็ ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
คำนิยม TEAMWINS
T = Teamwork การทางานเป็นทีม
E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทางาน
A = Accountability ความรบั ผิดชอบ
M = Morality and Integrity การมีศีลธรรมและมีความซ่ือสตั ย์
W = Willful ความมุง่ มั่น ต้ังใจทางานอย่างเตม็ ศกั ยภาพ
I = Improvement การพฒั นาตนเองอยาอย่างเนอ่ื งสม่าเสมอ
N = Network and Communication การเปน็ เครือข่ายทม่ี ีปฏสิ ัมพันธท์ ด่ี ีต่อกนั
S = Service Mind การมจี ิตมุงบรกิ าร
เปำ้ ประสงคร์ วม
1. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล
2. ผู้เรยี นมีการศกึ ษาและเรียนรูตลอดชีวิตทมี่ คี ณุ ภาพ และมีทักษะท่จี าเป็นในศตวรรษ
ที่ 21
3. ผู้เรยี นไดรับโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทัว่ ถึงและเสมอภาค
4. ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏิบัติงานและสมรรถนะ
วชิ าชพี ในศตวรรษที่ 21

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณที่ได้รบั จดั สรร)

21

14) แผนพฒั นำกำรศึกษำ (พ.ศ. 2563-2565) จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยำ
การพัฒนาการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี พ.ศ. 2562-2565 มุ่งเน้นโอกาสการ

เข้าถึงบริการทางการศึกษา ลดความเหลือ่ มล้า ยกระดับคุณภาพการศึกษาตั้งแต่เด็กแรกเกิดจนถึงมีงานทา
และมีมาตรฐานการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียมกัน โดยการสร้างความ
เช่ือมั่นให้แก่นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง ประชาชนในพ้ืนที่ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิตอย่าง
เสมอภาค สามารถพัฒนาเยาวชนใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม พ่ึงพาตนเองได้ และมีทักษะที่สาคัญในศตวรรษที่
21 และมีอัตลักษณ์ความเป็นอยุธยา ตอบสนองความต้องการของพ้ืนท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสงั คมโลก
จึงไดก้ าหนดทิศทางการพฒั นาการศึกษา ปี พ.ศ. 2562-2565 ดังนี้

วิสัยทศั น์ (VISION)
ผู้รับบริการการศึกษาได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กา้ วทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ของโลกศตวรรษท่ี 21 และมีอัตลักษณ์ของชาว
อยุธยา
พันธกจิ (MISSION)
1. เสริมสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาให้กับผู้รับบริการทุกกลุ่ม ทุกระดับ
ทุกประเภทอย่างทว่ั ถงึ และเทา่ เทียม
2. พัฒนาคุณภาพการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ทุกระดับ ทุกประเภท ให้มีทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีอตั ลกั ษณข์ องชาวอยธุ ยา
3. ส่งเสรมิ การพัฒนาศักยภาพตามพหปุ ัญญาของผรู้ บั บรกิ ารทุกชว่ งวยั
4. เสรมิ สร้างและพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การสถานศกึ ษา
5. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อสร้างกาลังคนที่สอดคล้องกับความต้องการพัฒนาอาชีพ
ตามภมู สิ งั คม
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. พฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาของจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
2. สง่ เสริมโอกาสการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาที่เป็นระบบให้กับผรู้ บั บริการอยา่ งท่ัวถึงและเท่าเทียม
3. พฒั นาคุณภาพและกระบวนการเรียนร้ขู องผู้รับบรกิ ารทางการศกึ ษา
4. พัฒนาคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา
5. ส่งเสรมิ การผลติ และการพฒั นากาลังคนท่ีสอดคลอ้ งกับการพัฒนาอาชพี ตามภูมิสงั คม

15) ควำมสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตำมนัยยะของมติ ครม. เม่อื วนั ท่ี 4 ธนั วำคม พ.ศ.2560
17.1 แผนระดับ 1 : ยุทธศาสตรช์ าติ (ทัง้ 6 ดา้ น)
1. ยุทธศาสตรช์ าติ “ดา้ นความม่นั คง”
(1) เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง 1) ประชาชนอยู่ดี กินดี และมี

ความสุข 2) บา้ นเมอื งมีความมนั่ คงในทุกมิตแิ ละทุกระดับ
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความม่ันคง 1) การรักษาความสงบภายในประเทศ

1.3) การพัฒนาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขท่ีมี
เสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชนส่วนตน 2) ป้องกันและ
แก้ไขปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อความม่ันคง 2.2) การติดตามเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจอุบัติขึ้น
ใหม่ (ภยั คุมคามไซเบอร)์

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร)

22

(3) การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความม่ันคง ด้วย 3 กลยุทธ์ 1) ปลูกฝัง
ค่านิยมและหลักคิดท่ีถูกต้องเพ่ือเสริมสร้างเสถียรภาพสถาบันหลักของชาติ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข น้อมนาเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
แนวทางพระราชดาริ 2) ยกระดับและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะการ
เรียนรู้ /วิขาชีพ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนท่ีพิเศษ (พื้นที่สูง พ้ืนท่ี
ตามตะเข็บชายแดน และพ้ืนท่ี เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่ม
ชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าว) 3) พัฒนากลไกบูรณาการระบบบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ (ยาเสพติด, ภยั ไซเบอร,์ ภัยพบิ ัติธรรมชาต,ิ โรคอบุ ตั ใิ หม่ ฯลฯ)

2. ยทุ ธศำสตรช์ ำติ “ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน”
(1) เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2)

ประเทศมีขดี ความสามารถในการแข่งขันสงู ข้ึน
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 5) พัฒนา

เศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ 5.1) สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ วางรากฐานการศึกษาท้ังใน
ระบบและนอกระบบให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ให้มีทักษะและจิตวิญญาณในการประกอบการ รวมท้ังสร้างทักษะ
พืน้ ฐานที่จาเป็นและความถนดั ทีแ่ ตกตา่ งและหลากหลายของแรงงาน

(3) การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ด้วยการส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาบุคลากรวิจัยทางการศึกษา
และพัฒนาทกั ษะแรงงานฝมี ือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นท่ีและภมู ภิ าค

3. ยุทธศำสตรช์ ำติ “ดำ้ นกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์” (หลกั )
(1) เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร

มนษุ ย์ 1) คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พรอ้ มสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี 21
(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร

มนุษย์ 1) การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม 1.2) การบูรณาการเรื่องความซ่ือสัตย์วินัย คุณธรรม
จริยธรรมในการจัด การเรียนการสอนในสถานศึกษา 1.4) การปลูกฝังคา่ นิยมและวฒั นธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
2) การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต 2.1) ชว่ งการตัง้ ครรภ์/ปฐมวัย 2.2) ช่วงวยั เรียน/วยั รุน่ 2.3) ช่วงวัย
แรงงาน 2.4) ช่วงวัยผู้สูงอายุ 3) ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21
3.1) การปรับเปล่ียนระบบการเรียนรู้ให้เอ้ือต่อการพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษท่ี 21 3.2) การเปล่ียนโฉม
บทบาท ‘ครู’ ให้เป็นครูยุคใหม่ 3.3) การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
3.4) การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3.6) การวางพ้ืนฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัล
แพลตฟอร์ม

(3) การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร
มนุษย์ ด้วย 8 กลยุทธ์ 1) พัฒนาการจัดการศึกษาโดยบูรณาการองค์ความรู้แบบสะเต็มศึกษา 2) ส่งเสริมการ
จัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบผ่านประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏิบัติ
3) สร้างเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีสมวัย ทักษะอาชีพและทักษะชีวิตท่ีเท่าทันและสามารถอยู่ร่วมใน
สังคมศตวรรษท่ี 21 4) สร้างแพลตฟอร์มดิจิทัลรองรับการเรียนรู้รูปแบบใหม่ 5) พัฒนาทักษะการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศและสมรรถนะท่ีจาเป็นของผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 21
6) บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เสรมิ สร้างหลกั คิดและทัศนคติที่ถกู ต้องดา้ นระเบียบ วนิ ัย คุณธรรมจริยธรรม

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ด้รบั จดั สรร)

23

จิตสาธารณะ ความเป็นพลเมือง 7) พัฒนาทักษะการส่ือสารและการใช้ภาษาไทย ภาษาถิ่น (ภาษาแม่) ต่อยอด
การเรยี นร้แู ละการประกอบอาชีพ 8) พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา

4. ยทุ ธศำสตรช์ ำติ “ดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม”
(1) เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

1) สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ 2) กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ
และสังคม เพ่ิมโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ 4) เพิ่มขีด
ความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพ่ึงพาตนเองและการจัดการตนเองเพ่ือสร้างสังคม
คณุ ภาพ

(2) ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1) การ
ลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ 1.7) สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษา 2) การ
กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 2.5) สนับสนุนการพัฒนาพ้ืนท่ีบน
ฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ขยายเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้ชุมชนสามารถเข้าถึง
ข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และบทบาทสถานศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพ่ือร่วมพัฒนาพื้นท่ีและชุมชนท้องถ่ิน
4) การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถ่ินในการพัฒนา การพึ่งพาตนเองและการจัดการตนเอง
4.1) ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือนให้มีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ
ครอบครวั การเงินและอาชพี โดยใชข้ ้อมลู ความรู้และการยกระดับการเรียนรู้ของครวั เรือน

(3) การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคมด้วยกลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 1) เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างหลากหลาย ครอบคลุมทุกพ้ืนที่
และกลุ่มเป้าหมาย 2) ส่งเสริม พัฒนาโปรแกรมประยุกต์และสอ่ื การเรยี นรู้ผา่ นระบบดจิ ิทัลออนไลน์แบบเปิด
ทีเ่ หมาะสมและหลากหลาย สะดวกทุกท่ี ทกุ เวลาตอ่ การเขา้ ถงึ และพัฒนาการเรียนรูต้ ลอดชีวิต

5. ยุทธศำสตรช์ ำติ “ดำ้ นกำรสรำ้ งกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตท่ีเปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(1) เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร

ต่อสิ่งแวดล้อม 4) ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
และวฒั นธรรมบนหลกั ของการมสี ่วนรว่ มและธรรมาภิบาล

(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม 6) ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ 6.1) ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม
ทพ่ี งึ ประสงคด์ ้านสิง่ แวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ีของคนไทย

(3) การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยกลยุทธ์ ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในการจัดการ
คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ มด้วยกระบวนการมีส่วนรว่ ม

6. ยุทธศำสตร์ชำติ “ด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำร
ภำครฐั ”

(1) เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ 1) ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทางานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความ

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร)

24

ต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 2) ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการ
เปล่ียนแปลง 3) ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

(2) ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ 1) ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวก
รวดเร็ว โปร่งใส1.2) ภาครัฐมีความเช่ือมโยงในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมา
ประยุกต์ใช้ 2) ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเช่ือมโยงการพัฒนา
ในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่ 2.1) ใช้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นกลไกขับเคลื่อนพัฒนา
ประเทศ 3) ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาประเทศ 3.1) ภาครัฐมีขนาดเหมาะสม 4) ภาครัฐมีความทันสมัย 4.2) พัฒนาปรับระบบวิธีปฏิบัติ
ราชการให้ทันสมยั 5) บคุ ลากรภาครัฐเปน็ คนดีและเกง่ ยดึ หลักคณุ ธรรม จริยธรรม มีจติ สานึก มคี วามสามารถ
สูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ 5.1) ภาครัฐ มีการบริหารกาลังคนที่มีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม
5.2) บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทางานเพ่ือประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเส้นทาง
ความก้าวหน้าในอาชีพ 6) ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ 6.2) บุคลากร
ภาครัฐยึดมน่ั ในหลักคุณธรรม จริยธรรม และความซื่อสัตย์สุจรติ 7) กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับ
บรบิ ทตา่ ง ๆ และมีเทา่ ทีจ่ าเป็น 7.1) ภาครัฐจดั ให้มีกฎหมายสอดคล้องเหมาะสมกบั บรบิ ทต่าง ๆ

(3) การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ ด้วยกลยุทธ์ 7 กลยุทธ์ 1) สง่ เสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบรหิ าร
ราชการ /บริการประชาชน 2) พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ภาค และฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษา
ให้เปน็ เอกภาพ เชื่อมโยงกนั เป็นปจั จุบนั และทนั ตอ่ การใชง้ าน 3) สร้างและพฒั นากลไกการบริหารจดั การศกึ ษา
ให้มีประสิทธิภาพในการบูรณาการเช่ือมโยงทุกระดับ รวมทั้งการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วนในพ้ืนท่ีนวัตกรรม
การศึกษา 4) เร่งรัด ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบท
ที่เปล่ียนแปลง 5) ปรับปรุงโครงสร้างและอานาจหน้าที่ของหน่วยงานให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว ไม่ซ้าซ้อน
และทันสมัย เอื้อต่อการพัฒนาประสิทธิภาพและขีดสมรรถนะองค์กร 6) พัฒนาเครือข่ายต่อต้านการทุจริต
ประพฤติมิชอบให้มีส่วนร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวัง และติดตามพฤติกรรมเส่ียงการทุจริต 7) พัฒนา
ระบบงานการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนและบุคลากรการศึกษาอื่น เพื่อยกระดับสมรรถนะ
การปฏิบตั งิ าน

17.2 แผนระดับ 2
17.2.1 แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ
(1) แผนแม่บทท่ี 12 ประเด็น “การพัฒนาการเรียนรู้” (หลกั )
(1.1) เป้าหมายระดับประเดน็ “การพัฒนาการเรียนรู้”
- เป้าหมายท่ี 1 คนไทยมีการศึกษาที่มี คุณภาพตามมาตรฐานสากลเพ่ิมข้ึน

มีทักษะที่จาเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทางานร่วมกับผู้อื่น
ได้อยา่ งมีประสทิ ธิผลเพม่ิ ขนึ้ มีนิสยั ใฝเ่ รียนร้อู ยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ

- การบรรลุเป้าหมาย ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ที่จาเป็น
ในศตวรรษท่ี 21

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร)

25

(1.2) แผนย่อยที่ 3.1 “การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการ
เปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21”

- แนวทางการพัฒนา 1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สาหรับศตวรรษที่ 21
1.1) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ทุกระดับชั้นที่ใช้ฐานความรู้และระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ
1.2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อพัฒนา
ทักษะสาหรับศตวรรษท่ี 21 1.3) พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมือปฏิบัติ รวมถึงมี
ทักษะด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต 1.4) พัฒนาระบบการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนสามารถกากับการเรียนรู้ของตน
ได้ 2) เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ 2.1) วางแผนพัฒนาและปรับบทบาท “ครูยุคใหม่” ให้
เป็น “ผู้อานวยการการเรียนรู้” 2.2) ปรับระบบการพัฒนาครู ต้ังแต่การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงเข้า
มาเป็นครู 2.3) ส่งเสริมระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมทั้งเงินเดือน สาย
อาชีพ และระบบสนับสนุนอื่น ๆ 3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
3.1) ปฏิรูปโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ 3.2) จัดให้มีมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุก
ระดับ 3.3) ปรบั ปรุงโครงสร้าง การจัดการศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพและเพิ่มคุณภาพการศกึ ษา 3.4) เพิม่ การ
มีส่วนร่วมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา 4) พัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.1) จัดให้มีระบบ
การศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะท่ีมีคุณภาพสูงและยืดหยุ่น 4.4) พัฒนาระบบเครือข่าย
เทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแพลตฟอร์ม ส่ือดิจิทัลเพื่อการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภทการศึกษาอย่างทั่วถึง
และมีประสิทธิภาพ 4.5) พัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรือส่ือการเรียนรู้ดิจิทัลที่มีคุณภาพท่ีนักเรียน นักศึกษา
และประชาชนสามารถเข้าถงึ และใชป้ ระโยชน์ในการเรยี นรู้และพฒั นาตนเอง

- เปา้ หมาย คนไทยได้รบั การศึกษาทมี่ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะ การเรียนรู้
และทักษะทจ่ี าเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถงึ การเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิตดขี ึน้

- การบรรลุเป้าหมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาโดยบูรณาการองค์ความรู้
แบบสะเต็มศึกษา 2) สร้างเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สมวัย ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตที่เท่าทัน
และสามารถอยู่ร่วมในสังคมศตวรรษท่ี 21 3) สร้างแพลตฟอร์มดิจิทัลรองรับการเรียนรู้รูปแบบใหม่ 4) พัฒนา
สมรรถนะท่จี าเปน็ ของผเู้ รียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 2

(2) แผนแม่บทท่ี 11 ประเดน็ “ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ ”
(2.1) เป้าหมายระดับประเดน็ “ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต”
- เป้าหมาย คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มข้ึน ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล

ท้ังด้านร่างกายสติปัญญาและคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 รักการ
เรียนรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต

- การบรรลุเป้าหมาย คนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล โดยสร้าง
เสริมและพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ท่ีสมวัย ทักษะอาชีพและทักษะชวี ิตที่เท่าทันและสามารถอยู่ร่วม ในสังคม
ศตวรรษที่ 21

(2.2) แผนย่อยที่ 3.2 “การพฒั นาเด็กตงั้ แตช่ ว่ งการตัง้ ครรภจ์ นถงึ ปฐมวยั ”
- แนวทางพัฒนา 3) จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพฒั นาการ สมรรถนะ

และคณุ ลกั ษณะท่ีดีท่ีสมวยั ทกุ ด้าน
- เป้าหมาย เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึง

บรกิ ารทม่ี ีคุณภาพมากขน้ึ

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ด้รบั จดั สรร)

26

- การบรรลุเป้าหมาย ปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ.2561 ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก ประกอบด้วย 1) พัฒนาการด้าน
ร่างกาย 2) พัฒนาการด้านอารมณ์ 3) พัฒนาการด้านสงั คม 4) พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา

(2.3) แผนย่อยท่ี 3.3 “การพัฒนาช่วงวัยเรยี น/วยั รุน่ ”
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนาทักษะที่สอดรับกับทักษะในศตวรรษท่ี 21

โดยเฉพาะทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีซับซ้อน ความคิด
สรา้ งสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อ่ืน

- เป้าหมาย วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถ้วน
รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการ
แกป้ ญั หา ปรับตวั สือ่ สาร และทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ อย่างมีประสิทธผิ ลตลอดชีวติ ดีข้ึน

- การบรรลุเป้าหมาย พัฒนาทักษะการเรียนรู้และทักษะอาชีพแก่ผู้เรียน
ใหส้ อดรบั กับทกั ษะในศตวรรษท่ี 21

(2.4) แผนย่อยท่ี 3.4 “การพฒั นาและยกระดับศกั ยภาพวัยแรงงาน”
- แนวทางพัฒนา 1) ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วง

วัยทางานให้มีคุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการของ
ตลาดแรงงาน รวมทงั้ เทคโนโลยีสมยั ใหม่

- เป้าหมาย 1) แรงงานมีศักยภาพในการเพ่ิมผลผลิต มีทักษะ อาชีพสูง
ตระหนักในความสาคัญ ท่ีจะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถปรับตัวและเรียนรู้ส่ิงใหม่ตามพลวัต
ของโครงสร้างอาชีพ และความตอ้ งการของตลาดแรงงานเพม่ิ ขน้ึ

- การบรรลเุ ป้าหมาย ยกระดบั ศักยภาพ ทักษะ และสมรรถนะของคนในช่วง
วัยทางานให้มคี ุณภาพมาตรฐานสอดคลอ้ งกับความสามารถเฉพาะบุคคล

(2.5) แผนยอ่ ยท่ี 3.5 “การสง่ เสริมศกั ยภาพผูส้ ูงอายุ”
- แนวทางพัฒนา 1) ส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุให้พ่ึงพาตนเองได้

ทางเศรษฐกจิ และร่วมเป็นพลังสาคัญตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนและประเทศ
- เป้าหมาย ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความม่ันคงในชีวิต มีทักษะการ

ดารงชีวติ เรยี นรู้พัฒนา ตลอดชีวิต มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมสงั คม สรา้ ง มลู คา่ เพ่ิมใหแ้ ก่สงั คมเพ่มิ ขึ้น
- การบรรลุเป้าหมาย ส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุให้พ่ึงพาตนเองได้

ทางเศรษฐกิจ
(3) แผนแม่บทที่ 10 ประเดน็ “การปรบั เปลยี่ นค่านิยมและวัฒนธรรม”
(3.1) เป้าหมายระดับประเด็น “การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม”
- เป้าหมาย คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และมีความรัก

และภูมิใจ ในความเป็นไทยมากขึ้น นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การดารงชีวิต สังคมไทย
มีความสขุ และเป็นท่ยี อมรับของนานาประเทศมากข้ึน

- การบรรลุเป้าหมาย การบูรณาการเรื่องความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม
ในการจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษาเอกชน และการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

(3.2) แผนย่อยที่ 3.1 “การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้าง
จติ สาธารณะ และการเป็นพลเมืองทีด่ ”ี

แผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร)

27

- แนวทางพัฒนา 2) บูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม
และด้านส่ิงแวดล้อม ในการจัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนการสอน
ตามพระราชดาริและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้
และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้รองรับการเปล่ียนแปลงทั้งในประเทศและ
ตา่ งประเทศ
4) ปลกู ฝังคา่ นิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน ส่งเสริมชุมชนใหเ้ ป็นฐานการสร้างวิถีชีวติ พอเพยี ง

- เป้าหมาย คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความพร้อมในทุกมิติตาม
มาตรฐานและสมดุลท้ังด้านสติปัญญา คุณธรรมจริยธรรม มีจิตวิญญาณท่ีดี เข้าใจในการปฏิบัติตนปรับตัว
เข้ากับสภาพแวดล้อมดีขน้ึ

- การบรรลุเป้าหมาย บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างหลักคิด
และทัศนคติท่ีถูกต้องด้านระเบียบ วินัย คุณธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ ความเป็นพลเมือง ส่งเสริม
กิจกรรมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนักในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการมีสว่ นรว่ ม

(4) แผนแม่บทท่ี 1 ประเดน็ “ความมน่ั คง”
(4.1) เป้าหมายระดับประเด็น “ความมน่ั คง”
- เปา้ หมายท่ี 2 ประชาชนอย่ดู ี กินดแี ละมคี วามสุขดีขึน้
- การบรรลุเป้าหมาย พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรียนรู้

ทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษที่ 21 สอดคลอ้ งเหมาะสมกับการเสริมสรา้ งความมั่นคงในแตล่ ะบริบท
(4.2) แผนยอ่ ย 3.1 รกั ษาความสงบภายในประเทศ
- แนวทางพัฒนา 2) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ ภายใต้

การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึง
ความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย
ผ่านทางกลไกต่าง ๆ รวมถึงการศกึ ษาประวัติศาสตร์ในเชิงสรา้ งสรรค์ น้อมนาและเผยแพรศ่ าสตรพ์ ระราชา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่าง ๆ ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้และ
นาไปประยกุ ต์ปฏบิ ัติใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง จดั กจิ กรรมเฉลิมพระเกยี รติและพระราชกรณยี กิจอย่างสม่าเสมอ

- เป้าหมายท่ี 2) คนไทยมีความจงรักภักดี ซื่อสัตย์ พร้อมธารงรักษาไว้ซ่ึง
สถาบนั หลกั ของชาติ สถาบันศาสนาเปน็ ที่เคารพ ยดึ เหนีย่ วจิตใจของคนไทยสูงขึน้

- การบรรลุเปา้ หมาย 1) ปลูกฝงั คา่ นยิ มและหลกั คิดท่ีถกู ต้อง เพื่อเสรมิ สรา้ ง
เสถียรภาพสถาบันหลักของชาติ ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับ
และสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้/วิขาชีพ ในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นท่ีพิเศษ (พื้นท่ีสูง พ้ืนท่ีตามตะเข็บชายแดน และพื้นท่ี
เกาะแก่ง ชายฝ่ังทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงาน
ตา่ งด้าว)

(4.3) แผนย่อย 3.2 การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
(ยาเสพตดิ , ไซเบอร,์ ความไม่สงบ จชต.)

- แนวทางพัฒนา 1) ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) ป้องกันและแก้ไข
ปัญหาความม่ันคงทางไซเบอร์ 9) ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาความไมส่ งบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร)

28

- เป้าหมายท่ี 1) ปัญหาความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น ปัญหายาเสพติด
ความม่นั คงทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์ ฯลฯ ได้รับการแกไ้ ขดขี ึ้นจนไมส่ ่งผลกระทบตอ่ การบรหิ ารและพัฒนา
ประเทศ

- การบรรลุเป้าหมาย พัฒนากลไกบูรณาการระบบบริหารจัดการการป้องกัน
และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ หรอื ภัยคกุ คามรูปแบบใหม่

(5) แผนแมบ่ ทที่ 6 ประเด็น “พนื้ ทแ่ี ละเมอื งน่าอย่อู ัจฉริยะ”
(5.1) เปา้ หมายระดับประเดน็ “พน้ื ท่แี ละเมอื งน่าอยอู่ จั ฉรยิ ะ”
- เป้าหมายที่ 1) ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น เกิด

ศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในทุกภูมิภาคของประเทศ เพ่ือกระจายความเจริญทางด้าน
เศรษฐกจิ และสังคม

- การบรรลุเป้าหมาย ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา
มสี มรรถนะที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการแขง่ ขนั ของประเทศ

(5.2) แผนย่อย 3.1 การพฒั นาเมอื งนา่ อยู่อจั ฉรยิ ะ
- แนวทางพัฒนา 2) พัฒนาเมืองขนาดกลาง 2.1) พัฒนาเมืองขนาดกลางทาง

เศรษฐกิจให้เป็นเมืองอัจฉริยะที่มีความน่าอยู่ 2.1 (4) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมให้สามารถยกระดับ
คุณภาพชวี ิตและสง่ เสริมศกั ยภาพของประชาชนอยา่ งเต็มรปู แบบ

- เป้าหมาย เมืองในพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการพัฒนา เพ่ือกระจายความเจริญ
และลดความเหลือ่ มลา้ ในทุกมติ ิ

- การบรรลเุ ปา้ หมาย พฒั นาทักษะแรงงานฝีมือตรงกบั ความต้องการของ
ตลาดแรงงาน ในพื้นท่ีและภมู ิภาค (อาทิ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม ท่องเทีย่ ว พื้นท่เี มอื งนา่ อยอู่ จั ฉริยะ)

(6) แผนแม่บทที่ 17 ประเดน็ “ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสงั คม”
(6.1) เป้าหมายระดับประเดน็ “ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม”
- เปา้ หมาย คนไทยทกุ คนไดร้ บั การคมุ้ ครองและมีหลกั ประกันทางสงั คมเพม่ิ ข้ึน
- การบรรลุเป้าหมาย ผู้เรียนได้รบั โอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ อย่างทั่วถึง

และเสมอภาคด้วยรปู แบบหลากหลาย
(6.2) แผนย่อย 3.1 การคุ้มครองทางสังคมขั้นพ้ืนฐานและหลักประกันทาง

เศรษฐกจิ สงั คม และสขุ ภาพ
- แนวทางพัฒนา 1) ขยายฐานความคุ้มครองทางสังคม โดยการจัดโครงข่าย

การคุ้มครองทางสังคม สาหรับผู้ด้อยโอกาสและคนยากจนให้สามารถเข้าถึงบริการพื้นฐานของภาครัฐ
ได้อย่างมีคุณภาพ 2) สร้างหลักประกันสวัสดิการสาหรับแรงงาน โดยส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะ
แรงงานให้สามารถประกอบอาชีพและมีรายได้ตามศักยภาพ รวมถึงส่งเสริมให้มีการจ้างงานผู้สูงอายุเพ่ือให้
ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเองด้านรายได้ รวมท้ังเป็นทางเลือกท่ีสาคัญช่วยบรรเทาปัญหาจากการลดลง
ของประชากรวัยแรงงาน

- เป้าหมาย คนไทยทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบาง
ได้รับการคุม้ ครองและมหี ลักประกันทางสงั คมเพ่ิมขนึ้

- การบรรลุเป้าหมาย 1) เพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ
นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนท่ีมีคุณภาพได้อย่าง

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทีไ่ ดร้ บั จดั สรร)

29

หลากหลาย ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีและกลุ่มเป้าหมาย 2) ส่งเสริมพัฒนาโปรแกรมประยุกต์และส่ือการเรียนรู้
ผ่านระบบดิจทิ ลั ออนไลนแ์ บบเปิดท่ีเหมาะสมต่อการเข้าถงึ และพฒั นาการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต

(7) แผนแมบ่ ทท่ี 18 ประเดน็ “การเติบโตอย่างยัง่ ยนื ”
(7.1) เปา้ หมายระดับประเด็น “การเติบโตอย่างยง่ั ยนื ”
- เป้าหมาย สภาพแวดล้อมของประเทศไทยมีคุณภาพดีข้นึ อยา่ งยั่งยนื
- การบรรลุเป้าหมาย หน่วยงาน/สถานศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะ

ท่ีพงึ ประสงคแ์ ละปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมให้เปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
(7.2) แผนย่อย 3.5 การยกระดบั กระบวนทัศนเ์ พอ่ื กาหนดอนาคตประเทศ
- แนวทางพัฒนา 1) ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์

ด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย สร้างความรู้ความเข้าใจ การตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วม
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้รองรับการเปลี่ยนแปลงท้ังในระดับประเทศและระดับสากล
โดยสอดแทรกในหลกั สูตรการศกึ ษาและ/หรือการจดั การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ทงั้ ในระบบและนอกระบบ

- เป้าหมาย คนไทยมีคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม
และคุณภาพชีวิตท่ดี ี

- การบรรลุเป้าหมาย ส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก
ในการจดั การคุณภาพสงิ่ แวดล้อมดว้ ยกระบวนการมีส่วนร่วม

(8) แผนแมบ่ ทท่ี 20 ประเดน็ “การบริการประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครฐั ”
(8.1) เป้าหมายระดับประเดน็ “การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครฐั ”
- เป้าหมายท่ี 1) บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ

ของผูใ้ ช้บริการ
- การบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

ตอบสนองความตอ้ งการของผู้รับบรกิ ารได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส ตามหลักธรรมาภบิ าล
(8.2) แผนย่อย 3.1 การพฒั นาบรกิ ารประชาชน
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนารูปแบบบริการภาครัฐเพื่ออานวยความสะดวก

ในการให้บริการประชาชน 2) พัฒนาการให้บริการภาครัฐผ่านการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
3) ปรับวธิ กี ารทางาน เพ่ือสนับสนุนการพฒั นาบริการภาครฐั ท่มี ีคุณค่าและได้มาตรฐานสากล

- เป้าหมาย งานบริการภาครัฐที่ปรบั เปลีย่ นเป็นดิจทิ ลั เพม่ิ ขนึ้
- การบรรลเุ ป้าหมาย สง่ เสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาประยกุ ต์
ใชใ้ นการบริหารราชการ/บริการประชาชน
(8.3) แผนยอ่ ย 3.2 การบรหิ ารจัดการการเงนิ การคลัง
- แนวทางพัฒนา 3) จัดทางบประมาณตอบสนองต่อเป้าหมายตามยุทธศาสตร์
ชาติ 5) กาหนดให้มีการติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและผลสัมฤทธิ์ของ
แผนงาน/โครงการ
- เปา้ หมาย หนว่ ยงานภาครัฐบรรลผุ ลสมั ฤทธติ์ ามเปา้ หมายยุทธศาสตร์ชาติ
- การบรรลุเป้าหมาย สร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาให้มี
ประสิทธภิ าพในการบูรณาการเช่ือมโยงทุกระดับ และการมสี ว่ นร่วมกบั ทกุ ภาคสว่ นในพน้ื ทน่ี วัตกรรมการศึกษา

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรร)

30

(8.4) แผนย่อย 3.4 การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนาหน่วยงานภาครัฐให้เป็น “ภาครัฐทันสมัย

เปิดกว้าง เป็นองค์กรขีดสมรรถนะสูง” 2) กาหนดนโยบายและการบริหารจัดการท่ีต้ังอยู่บนข้อมูลและ
หลักฐานเชิงประจักษ์ 3) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การและออกแบบระบบการบริหารงานใหม่
ใหม้ คี วามยืดหยนุ่ คลอ่ งตัว กระชับ ทนั สมัย

- เป้าหมาย ภาครัฐมีขีดสมรรถนะสูงเทียบเท่ามาตรฐานสากลและมีความ
คลอ่ งตัว

- การบรรลุเป้าหมาย 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลของจังหวัด ภาค และ
ฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษา ให้เป็นเอกภาพ เชื่อมโยงกัน เป็นปัจจุบัน และทันต่อการใช้งาน 2) ปรับปรุง
โครงสร้างและอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว ไม่ซ้าซ้อน และทันสมัย เอื้อต่อการ
พัฒนาประสิทธภิ าพและขดี สมรรถนะองคก์ ร

(8.5) แผนยอ่ ย 3.5 การสรา้ งและพัฒนาบคุ ลากรภาครฐั
- แนวทางพัฒนา 1) ปรับปรุงกลไกในการกาหนดเป้าหมายและนโยบาย

กาลังคนในภาครัฐให้มีมาตรฐานและเกิดผลในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) เสริมสร้างความ
เข้มแข็งในการบริหารงานบุคคลในภาครัฐให้เป็นไปตามระบบคุณธรรมอย่างแท้จริง 3) พัฒนาบุคลากร
ภาครัฐทุกประเภทให้มีความรู้ความสามารถสูง มีทักษะการคิดวิเคราะห์และการปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลีย่ นแปลง

- เป้าหมาย บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทางานเพ่ือประชาชนยึดหลัก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจติ สานึก มคี วามสามารถสงู มุง่ ม่ัน และเปน็ มอื อาชพี

- การบรรลุเป้าหมาย พัฒนาระบบงานการบริหารงานบุคคลของข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อยกระดับสมรรถนะการปฏบิ ัตงิ าน

(9) แผนแมบ่ ทท่ี 21 ประเด็น “การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ”
(9.1) เป้าหมายระดับประเดน็ การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ”
- เปา้ หมาย ประเทศไทยปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ
- การบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ

ตอบสนองความต้องการของผู้รบั บรกิ ารไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็วโปรง่ ใส ตามหลกั ธรรมาภบิ าล
(9.2) แผนย่อย 3.1 การปอ้ งกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
- แนวทางพัฒนา 1) ปลูกและปลุกจติ สานึกการเป็นพลเมอื งทดี่ ี มีวัฒนธรรม

สุจริต และการปลูกฝัง และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ 2) ส่งเสริม
การปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐให้มีความใสสะอาด ปราศจากพฤติกรรมที่ส่อไปในทาง
ทุจริต 5) ปรับระบบงานและโครงสรา้ งองคก์ รทีเ่ อื้อต่อการลดการใชด้ ลุ พนิ จิ ในการปฏิบตั งิ านของเจ้าหนา้ ที่

- เปา้ หมายที่ 1) ประชาชนมีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสตั ย์สุจริต
- การบรรลุเป้าหมาย พัฒนาเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบให้มีส่วน
ร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ เฝา้ ระวัง และติดตามพฤตกิ รรมเส่ียงการทจุ รติ
(10) แผนแม่บทท่ี 22 ประเด็น “กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม”
(10.1) เปา้ หมายระดบั ประเด็น “กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม”

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ได้รบั จดั สรร)

31

- เป้าหมายที่ 1) กฎหมายเป็นเครื่องมือให้ทุกภาคส่วนได้ประโยชน์จากการ
พฒั นาประเทศอย่างเท่าเทยี มและเปน็ ธรรม

- การบรรลุเป้าหมาย หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ
ตอบสนองความตอ้ งการของผรู้ ับบรกิ ารได้อย่างสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล

(10.2) แผนย่อย 3.1 การพัฒนากฎหมาย
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการ

ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับบริบทและเอ้ือต่อการพัฒนาประเทศ 2) มีวิธีการบัญญัติกฎหมายอย่างมีส่วนร่วม
3) พัฒนาการบังคับใชก้ ฎหมาย 4) ส่งเสริมเทคโนโลยีดจิ ิทลั และนวตั กรรมในกระบวนการกฎหมาย

- เป้าหมาย กฎหมายไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาภาครัฐ และภาคเอกชนอยู่
ภายใต้กรอบกฎหมายที่มุ่งใหป้ ระชาชนในวงกว้างได้รับประโยชน์จากการพัฒนาประเทศโดยท่วั ถงึ

- การบรรลเุ ป้าหมาย เร่งรัด ปรบั ปรุง แกไ้ ขกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับ
ให้สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั บริบทท่ีเปล่ยี นแปลง

(11) แผนแมบ่ ทท่ี 23 ประเด็น “การวิจยั และพัฒนานวตั กรรม”
(11.1) เป้าหมายระดบั ประเดน็ “การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม”
- เป้าหมายท่ี 1) ความสามารถในการแข่งขันด้านโค รงสร้างฐาน

ทางเทคโนโลยี และดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐานทางวิทยาศาสตรข์ องประเทศเพิ่มสูงข้นึ
- การบรรลุเป้าหมาย 1) ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา

มสี มรรถนะที่ตอบสนอง ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการแขง่ ขันของประเทศ
(11.2) แผนยอ่ ย 3.4 การวิจยั และพัฒนานวตั กรรมด้านองคค์ วามร้พู ้ืนฐาน
- แนวทางพฒั นา 2) พฒั นาองคค์ วามรู้พ้นื ฐานทางสังคมและความเป็นมนุษย์
- เป้าหมาย ประเทศไทยมีขีดความสามารถของเทคโนโลยีฐานทั้ง 4 ด้าน

ทดั เทยี มประเทศท่ีกา้ วหน้าในเอเชยี
- การบรรลุเป้าหมาย ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัด

การศึกษา และพัฒนาบคุ ลากรวจิ ัยทางการศึกษา
17.2.2 แผนกำรปฏิรปู ประเทศ
(1) แผนปฏิรูปประเทศดำ้ นกำรศึกษำ
เร่ืองที่ 1. การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดย

พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติฉบบั ใหมแ่ ละกฎหมายลาดับรอง (สอดคล้อง 3 ประเดน็ )
ประเด็นท่ี 1.1) การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ….. และมีการ

ทบทวน จดั ทา แกไ้ ข และปรบั ปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ ง (สอดคลอ้ ง 1 กิจกรรม)
กิจกรรม จัดทาแก้ไขและปรบั ปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ.การศกึ ษา

แหง่ ชาติ พ.ศ. .....
เป้าหมายกจิ กรรม ไมน่ ้อยกว่า 2 ฉบบั

ประเด็นท่ี 1.2) การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ินและเอกชน เพ่อื การจัดการศึกษา (สอดคลอ้ ง 5 กจิ กรรม)

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรร)

32

กิจกรรม - 3. จัดทาข้อเสนอว่าด้วย แผนความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ระดบั ปฐมวยั ครอบคลุมการจัดการทางการคลงั และผู้จัดการศึกษา

กิจกรรม - 4. จัดทาข้อเสนอว่าด้วย แนวทางสนับสนุนงบประมาณและงบ
ลงทุนใหส้ ถานศกึ ษาเอกชนในรูปแบบความรว่ มมอื รัฐและเอกชน สาหรับเดก็ ท่มี ีความสามารถพเิ ศษ

กิจกรรม - 5. ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาตามข้อเสนอว่าด้วยบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัด
การศกึ ษา

กิจกรรม - 6.ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาโดย
ภาคเอกชนตามข้อเสนอว่าด้วยการเพ่ิมบทบาทของภาคเอกชนในการจัดการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ การ
กากบั ดแู ลทเ่ี หมาะสม

กจิ กรรม - 7. จัดทาและขับเคลื่อนตามข้อเสนอแนวทางการสร้างและ
เพมิ่ สัดส่วนของความรว่ มมอื ระหวา่ งรัฐ

เป้าหมายกิจกรรม มีส่วนร่วมดาเนินการกับหน่วยงานรับผิดชอบหลัก
แตล่ ะกิจกรรม

ประเด็นท่ี 1.3) การขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและ
การศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อรองรับการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต (สอดคล้อง 2
กจิ กรรม)

กิจกรรม - 2. จัดทาดัชนีการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิตของการศึกษา
ไทย (Thailand Lifelong Education Index : TLEI)

เป้าหมายกิจกรรม ร่วมสร้างตัวช้ีวัดเก่ียวกับการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้
ตลอดชีวิตของประเทศไทย (Thailand Lifelong Education Indicators) กับ สกศ.

กิจกรรม - 3. บูรณาการการดาเนินงานร่วมกันของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
กับการศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาตนเอง และการศึกษาเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ในลกั ษณะเครอื ข่ายความร่วมมือ

เป้าหมายกิจกรรม บูรณาการการดาเนินงานร่วมกันกับหน่วยงาน
ที่เก่ียวข้องกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในลักษณะเครือข่าย
ความร่วมมือ สร้างโอกาสการศึกษากบั กลุ่มผู้ท่ีอยู่นอกระบบโรงเรียนโดยเรียนผ่านทางไกล หรือรูปแบบอื่น
ที่เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มเป้าหมาย ปรับบทบาท กศน. เป็นศูนย์ส่งเสริม สนับสนุน มากกว่าการเป็น
ผู้จัด ทบทวนศักยภาพและการดาเนินงานของหน่วยปฏิบัติในสังกัด กศน. ให้เป็นองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพ
ในการจัดกิจกรรมท่ีตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายจัดการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน
แหล่งเรียนร้แู ละศูนยก์ ารเรียนเพิ่มขึ้น มีแนวทางการดาเนินงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือ
การเรียนรู้ตลอดชีวิต กาหนดคุณภาพการพัฒนาวิชาการและการพัฒนาบุคลากร พัฒนาบทบาทของ
สถานีโทรทัศน์และวิทยุเพ่ือการศึกษาให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวบรวมและผลิตส่ือและเทคโนโลยีสาหรับ
การเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตของประชาชนทัว่ ไป จัดทาแผนท่ี สถานศึกษา และศูนย์การเรียนรู้ เพื่อจัดสรรให้เหมาะสม
และมีความเชื่อมโยง ตามบริบทและความต้องการ

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ด้รบั จดั สรร)

33

เร่ืองที่ 2 การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กวัยเรียน (สอดคล้อง 2
ประเด็น)

ประเด็นท่ี 2.1) การพัฒนาระบบการดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้เพ่ือให้
เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้ สมกับวัย (สอดคล้อง
5 กจิ กรรม)

กิจกรรม - 2. จัดทาแนวทางการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนระดับช้ันประถม
ศึกษาปที ่ี 1 ดว้ ยวิธีการทีเ่ หมาะสมกบั ช่วงวัย

เป้าหมายกิจกรรม ร่วมจัดข้อเสนอแนวทางการคัดเลือกเด็กเข้าเรียน
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ที่เหมาะสมกับช่วงวยั

กจิ กรรม - 3. จัดทาระบบคัดกรอง และกลไกการติดตามและประเมินผล
สาหรับเด็กท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ

เป้าหมายกิจกรรม ร่วมจัดทาข้อเสนอว่าด้วยระบบการคัดกรอง และร่วม
สง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั และเด็กที่มีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษในหนว่ ยให้บริการ

กจิ กรรม - 4. จัดทาแนวทางการพัฒนาในช่วงรอยเช่ือมต่อ (transition
period) ระหวา่ งวัย 2 - 6 ปี

เป้าหมายกิจกรรม จัดทาข้อเสนอแนวทางการพัฒนาในช่วงรอยเชื่อมต่อ
(transition period) ระหว่างวยั 2 - 6 ปี

กิจกรรม - 5. จัดทาแผนปฏิบัติการร่วมกันระหว่างกระทรวงหลัก 4
กระทรวงทเี่ กย่ี วข้องเพ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

เป้าหมายกิจกรรม ร่วมจัดทาแผนปฏิบัติการร่วมกันระหว่างกระทรวงหลัก
4 กระทรวงทเี่ ก่ยี วข้องเพื่อเตรยี มความพร้อมพ่อแม่ผูป้ กครอง และพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มีความพร้อมรอบดา้ น

กิจกรรม - 6. จัดทาข้อเสนอแผนปฏิบัติการว่าด้วยการยก ระดับคุณภาพ
ของศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ และศนู ยเ์ ลย้ี งเด็ก

เป้าหมายกิจกรรม ร่วมยกร่างข้อเสนอแผนปฏิบัติการว่าด้วยการ
ยกระดับคุณภาพของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและศูนย์เลี้ยงเด็ก รวมท้ังส่งเสริมครู พี่เลี้ยงเด็ก และบุคลากร
ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เข้ารับการอบรมพัฒนาใหม้ ีทกั ษะความเช่ยี วชาญในศาสตร์การดแู ลและพฒั นาเด็กเลก็

ประเด็นที่ 2.2) การส่ือสารสังคมเพื่อสร้างความเข้าใจในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
(สอดคลอ้ ง 1 กจิ กรรม)

กิจกรรม - 1. สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
เป้าหมายกิจกรรม ร่วมจัดทาแนวทางการสร้างความรู้ความเข้าใจ ผลิต
สอ่ื ประชาสัมพันธ์ และร่างคู่มือการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนการตั้งครรภ์ การเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนา
เด็กปฐมวัยอย่างตอ่ เนอื่ ง
เรื่องท่ี 3 การปฏริ ปู เพ่อื ลดความเหล่ือมลา้ ทางการศึกษา (สอดคลอ้ ง 2 ประเดน็ )
ประเด็นท่ี 3.1) การดาเนนิ การเพื่อลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา (สอดคลอ้ ง
5 กจิ กรรม)

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร)

34

กิจกรรม - 1. ส่งเสริมโอกาสและพัฒนาคุณภาพนักเรียน เพ่ือบรรเทา
อุปสรรคการมาเรียนของนักเรียนยากจนพิเศษและยากจนให้มีความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
จนสาเรจ็ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและตามศกั ยภาพ

เป้าหมายกิจกรรม นักเรียนยากจนพิเศษและยากจน ได้รับเงินอุดหนุน
ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจนแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) เพ่ือบรรเทาอุปสรรคการมาเรียน
ในปีการศึกษา 2/2563 และ 2/2564

กจิ กรรม - 4. สนบั สนุนให้เด็ก เยาวชนนอกระบบการศกึ ษา กลับเขา้ สรู่ ะบบ
การศึกษาและพัฒนาทักษะอาชพี

เป้าหมายกิจกรรม สนับสนุนให้เด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาให้กลับ
เข้าศึกษาต่อหรือไดร้ ับการพฒั นาทักษะอาชีพ

กิจกรรม - 5. ส่งเสรมิ การพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธิภาพครู
เปา้ หมายกิจกรรม ครูนอกระบบ ได้รับการเสริมสร้างและพฒั นาคณุ ภาพ
และประสิทธิภาพ
กจิ กรรม - 6. พัฒนาองค์ความรู้เพ่ือการจัดการเชิงระบบเพ่ือความเสมอ
ภาคทางการศึกษาทม่ี ีประสิทธิภาพย่งิ ขึ้น
เปา้ หมายกจิ กรรม พฒั นาฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) ของกลุ่มเป้าหมาย
เด็กและเยาวชนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาสทั้งในและนอกระบบการศึกษา จากเลขประจาตัว
ประชาชน 13 หลัก ท่ีเช่ือมโยงและบูรณาการ 6 กระทรวง เพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ งแม่นยา และสนับสนุน
การวเิ คราะห์เพื่อใช้ประโยชนใ์ นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
กจิ กรรม - 7. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพ่ือสร้างสังคมแห่ง
โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาท้ังในและตา่ งประเทศ
เป้าหมายกิจกรรม สารวจสถานะความเหลื่อมล้าและคุณภาพทรัพยากร
มนษุ ย์ระดบั จังหวดั (School Readiness, Career Readiness, Workforce Competencies, SDGS)
ประเดน็ ท่ี 3.3) การยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาในพ้ืนที่หา่ งไกล หรือ
ในสถานศกึ ษาท่ีต้องมกี ารยกระดบั คณุ ภาพอย่างเร่งดว่ น (สอดคลอ้ ง 1 กิจกรรม)
กจิ กรรม - 3. พฒั นาระบบสอบบรรจแุ ละแตง่ ตงั้ ครู ให้กระจายตัวออกไป
ในพืน้ ท่ที ม่ี คี วามขาดแคลนครู
เป้าหมายกิจกรรม ระบบสอบบรรจุและแต่งตั้งครู ที่กระจายตัวออกไปใน
พนื้ ทที่ ่ีมคี วามขาดแคลนครู
เรื่องที่ 4 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบ
วิชาชพี ครู อาจารย์ (สอดคล้อง 5 ประเด็น)
ประเด็นที่ 4.1) การผลิตครู และการคัดกรองครู เพ่ือให้ได้ครูที่มีคุณภาพ
ตรงกบั ความตอ้ งการของประเทศ และมีจิตวญิ ญาณของความเปน็ ครู (สอดคลอ้ ง 2 กิจกรรม)
กจิ กรรม - 2. กาหนดอตั ราบรรจุครทู ี่จบการศึกษาโดยผ่านแผนการผลิต
และพัฒนาครู
ป้าหมายกิจกรรม วิเคราะห์อัตรากาลังในการผลิตและพัฒนาครู เพ่ือขอ
จัดสรรทุนกบั กองทนุ เพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ด้รับจดั สรร)

35

กิจกรรม - 3. จัดทาระบบข้อมูลครูท่ีรวบรวมข้อมูลการผลิต การใช้ และ
การคาดการณอ์ ตั รากาลังครูในสาขาที่ขาดแคลน

เป้าหมายกิจกรรม มีระบบข้อมูลครู ที่สามารถสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการ
ผลิต การใช้ และการคาดการณ์อตั รากาลงั ครูในสาขาที่ขาดแคลนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ประเดน็ ท่ี 4.2) การพฒั นาวชิ าชีพครู (สอดคลอ้ ง 4 กิจกรรม)
กิจกรรม - 1. จัดตั้งหน่วยงานกลางในการบริหารจัดการ การพัฒนาทาง

วิชาชีพให้กับครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
เป้าหมายกิจกรรม มีหน่วยงานกลางในการบริหารจัดการการพัฒนาทาง

วชิ าชีพให้กับครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ
กิจกรรม - 5. จัดทาระบบและกลไกใหม่เพ่ือให้ครูมีการพัฒนาตนเองหรือ

วิชาชีพอย่างต่อเนือ่ ง
เป้าหมายกิจกรรม ออกแบบระบบพัฒนาครูตามหลักสูตรสาระที่กาหนด

โดยเน้นผา่ นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื ให้ครูไดม้ ีโอกาสในการเขา้ ถงึ ข้อมูลได้ง่าย
กิจกรรม - 10. จัดทาระบบในการประเมินการปฏิบัติงานและสมรรถนะ

หลกั สาหรบั ครูชานาญการ
เป้าหมายกิจกรรม ครูชานาญการมีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าท่ี

และเป็นไปตามมาตรฐาน
กิจกรรม - 11. จัดทาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขับเคลื่อนเครือข่ายครู

National Professional Teacher Platform (NPTP)
เปา้ หมายกจิ กรรม ออกแบบและพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศขบั เคลอ่ื น

เครือขา่ ยครู National Professional Teacher Platform (NPTP) ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
ประเด็นที่ 4.3) เส้นทางวิชาชีพครูเพ่ือให้ครูมีความก้าวหน้าได้รับ

ค่าตอบแทนและสวัสดกิ ารทีเ่ หมาะสม (สอดคลอ้ ง 2 กจิ กรรม)
กจิ กรรม - 1. กาหนดมาตรฐานวิชาชพี ครูในการปฏบิ ัติงานครู
เป้าหมายกจิ กรรม มาตรฐานในการปฏบิ ัติงานของครู
กิจกรรม - 2. แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทน การเล่ือน

วทิ ยฐานะ และการคงวิทยฐานะของครู
เป้าหมายกิจกรรม ครูมีคุณภาพในการจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน

โดยได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม รวมท้ังมีการเลื่อนและการคงวิทยฐานะ ที่สอดคล้องกับคุณภาพในการ
ปฏิบตั งิ าน

ประเด็นท่ี 4.4) การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการ
จัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา (สอดคล้อง 3 กจิ กรรม)

กิจกรรม - 1. จัดทาข้อกาหนดสมรรถนะหลัก และมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ของผ้บู รหิ าร

เป้าหมายกิจกรรม ข้อกาหนดสมรรถนะหลักและมาตรฐานการ
ปฏบิ ัติงานของผบู้ รหิ ารเป็นเกณฑห์ น่ึงสาหรบั การประเมนิ ผู้บริหาร

กิจกรรม - 3. จัดทาแผนอตั รากาลังและการพฒั นาศกั ยภาพของผบู้ รหิ าร

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ด้รับจดั สรร)

36

เป้าหมายกิจกรรม การบริหารอัตรากาลังและการพัฒนาศักยภาพของ
ผู้บริหารมีประสิทธิภาพ และผู้บริหารมีสมรรถนะตามข้อกาหนดสมรรถนะหลัก และมาตรฐานการ
ปฏบิ ตั ิงาน

กจิ กรรม - 4. ระบบคัดกรองและพัฒนาผู้บริหาร ให้มสี มรรถนะหลักและ
ไดม้ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของผบู้ ริหาร

เป้าหมายกิจกรรม ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณสมบัติตามข้อกาหนด
สมรรถนะหลักและมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน

ประเด็นที่ 4.5) องค์กรวิชาชีพครู และปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
(สอดคลอ้ ง 2 กิจกรรม)

กิจกรรม - 3. กาหนดบทบาทหน้าที่และอานาจของ ก.ค.ศ. โดยเน้น
ระบบคณุ ธรรมในการบริหารงานบคุ คล

เป้าหมายกิจกรรม บทบาทและอานาจหน้าท่ีของ ก.ค.ศ.ท่ีมีความชัดเจน และ
สอดคลอ้ งกับภารกจิ

กิจกรรม - 5. ยกร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. ....

เป้าหมายกิจกรรม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. ....

เร่ืองที่ 5 การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปล่ียนแปลง
ในศตวรรษที่ 21 (สอดคลอ้ ง 5 ประเดน็ )

ประเด็นที่ 5.1) การปรับหลักสูตรพร้อมกระบวนการจัดการเรียนการสอน
และการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรยี นรเู้ ป็นหลักสตู รฐานสมรรถนะ (สอดคลอ้ ง 3 กจิ กรรม)

กิจกรรม - 2. พัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ และการวัด ประเมินผล
เพื่อพัฒนาผูเ้ รียน รวมทง้ั การพัฒนาความรู้ และสมรรถนะดา้ นเนื้อหาสาระท่ีสอน ดา้ นศาสตรก์ ารสอน ด้านการใช้
สอ่ื และเทคโนโลยีในการเรียนรู้และการสอนด้านการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และด้านบทบาทของ
ครใู นยคุ ใหม่

เป้าหมายกิจกรรม ครูมีความรู้ ความเข้าใจสามารถจัด การเรียนรู้เชิงรุกได้
ศึกษานิเทศก์มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้คาแนะนาหรือช่วยเหลือครูออกแบบรายวิชาเพิ่มเติม หรือ
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น และการนาไปจัดการสอนหรอื จดั กิจกรรมให้ผู้เรยี น

กจิ กรรม - 3. สนับสนุนชุดการสอน ส่ือ ตัวอย่างรายวิชา สนับสนุนชุดการ
สอน สื่อ ตวั อย่างรายวชิ า เพิม่ เตมิ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นรายวชิ าเพิ่มเติม

เป้าหมายกิจกรรม จัดตั้งคลังชุดการสอนสาเร็จรูป รายวิชาเพ่ิมเติม และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ผ่านการคัดกรองจากผู้เช่ียวชาญ ให้ครูเข้าถึงเพ่ือนาไปใช้และเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
ขึ้นเองได้ สถานศกึ ษามีรายวิชาเพิ่มเตมิ หรอื กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่พัฒนาขึ้นเอง สอดคล้องกบั จุดมุ่งหมาย
ของหลกั สตู ร ความพร้อม จดุ เน้นของสถานศกึ ษา และเกณฑก์ ารจบหลักสูตร

กจิ กรรม - 4. จัดใหม้ ีศูนยร์ วบรวมสือ่ และเทคโนโลยีการศึกษา
เป้าหมายกิจกรรม ศนู ย์รวบรวมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อให้ ครูและ
นกั เรยี นเลือกใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับสถานการณก์ ารเรยี นรู้

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ีได้รับจดั สรร)

37

ประเด็นท่ี 5.2) การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม
(สอดคลอ้ ง 2 กจิ กรรม)

กจิ กรรม - 2. ปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอน
เพอื่ ส่งเสริมคุณธรรมและจรยิ ธรรมใหแ้ กผ่ ู้เรียน

เป้าหมายกิจกรรม ปรับปรุงรูปแบบ กิจกรรม และสาระการเรียนการ
สอน เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่ผ้เู รยี น

กจิ กรรม - 3 จัดทาจรรยาบรรณ (Code of conduct) ที่มุ่งส่งเสริมการ
ประพฤติปฏบิ ตั ิอย่างมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในระดับสถานศึกษา

เป้าหมายกิจกรรม จรรยาบรรณ (Code of conduct) ของครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษาในระดับสถานศึกษา

ประเด็นที่ 5.3) การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาระดับชาติและระบบ
คดั เลือกเข้าศึกษาตอ่ (สอดคล้อง 2 กจิ กรรม)

กิจกรรม - 1. จัดทาข้อเสนอวา่ ดว้ ยการปรบั ระบบการทดสอบระดับชาติ
เป้าหมายกิจกรรม ร่วมปรับปรุงการทดสอบระดับชาติ และพัฒนา
แบบทดสอบให้วัดสมรรถนะตามหลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพ โดยเน้นความสอดคล้องระหว่างสมรรถนะ
ท่ีคาดหวังตามหลักสตู รกบั เครอื่ งมอื /ข้อคาถามทใ่ี ชว้ ัด
กิจกรรม - 2. จัดทาข้อเสนอให้มีการทบทวนและปรับปรุงวิธีการในการ
จดั สรรโอกาสและการคดั เลือกเข้าศึกษาต่อและประกาศใช้
เป้าหมายกิจกรรม ผู้เรียนได้รับการจัดสรรโอกาสและได้เข้าศึกษาต่อด้วย
ด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย
ประเด็นที่ 5.4) การพัฒนาคุณภาพระบบการศึกษา (สอดคล้อง 3
กิจกรรม)
กจิ กรรม - 1. จัดทาข้อเสนอวา่ ด้วยการพัฒนาคุณภาพของการจัดการศกึ ษา
ผ่านการประกันคณุ ภาพ การประเมินคณุ ภาพ และการรบั รองคุณภาพ
เป้าหมายกิจกรรม สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ตามปรัชญาและ
เป้าหมายของสถานศึกษา และมีระบบความรับผิดชอบทางการศึกษา (Educational Accountability) บน
พ้ืนฐานสมรรถนะหลักของผเู้ รยี น
กจิ กรรม- 2. ประกาศ/กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ขอ้ กาหนดด้านคณุ ภาพของการจดั การศึกษาสาหรับการประกนั คุณภาพและการประเมินคุณภาพการศกึ ษา
ให้สถานศึกษานาไปปฏิบตั ิ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา
เป้าหมายกิจกรรม สถานศึกษามีแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพ
การประเมินคุณภาพ และการรับรองคุณภาพการศึกษา เป็นระบบท่ีมีความเชื่อมโยงสอดคล้อง ไม่สร้าง
ภาระต่อสถานศกึ ษาและการปฏบิ ตั ิหนา้ ทก่ี ารจดั การเรียนของครู
กจิ กรรม - 3. จัดสรรงบประมาณ และมีระบบสนับสนุนการดาเนินงาน
เพอ่ื พฒั นาระบบคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ได้รบั จดั สรร)

38

เป้าหมายกิจกรรม สถานศึกษาได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง
สามารถสร้างความเช่ือม่ันให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนได้ และเกิดวัฒนธรรมคุณภาพในการจัด
การศึกษาของครู ผู้บรหิ าร และบุคลากรทางการศึกษา

ประเด็นที่ 5.5) ระบบความปลอดภัยและระบบสวัสดิการของผู้เรียน
(สอดคล้อง 4 กจิ กรรม)

กจิ กรรม - 2 พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้เรียนในสถานศึกษาที่มีความ
ทันสมัยและรวดเร็ว เพื่อให้ครู ผู้เรียน และผู้ปกครอง เข้าถึงข้อมูลและแก้ไขปัญหาฉุกเฉินได้รวดเร็วและมี
ประสทิ ธภิ าพ

เป้าหมายกิจกรรม แอพพลิเคช่ันสาหรับการติดตาม ดูแล คุ้มครองผู้เรียน
ในสถานศกึ ษา

กจิ กรรม - 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจ
ในการใช้ระบบการคมุ้ ครองผเู้ รยี นในสถานศกึ ษา

เป้าหมายกิจกรรม ครูและบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพในการปฏิบัติ
ตามมาตรการการคมุ้ ครองผู้เรียนในสถานศกึ ษา

กจิ กรรม - 4. จดั บริการการดแู ลคุ้มครองผู้เรียน ท้ังในด้านความปลอดภัย
สุขภาพและสวสั ดิภาพ ครอบคลุมสถานศึกษาทุกสังกดั ทัว่ ประเทศ

เป้าหมายกิจกรรม ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือดูแล และคุ้มครองท้ัง
ดา้ นความปลอดภัย สุขภาพ และสวสั ดิภาพ

กิจกรรม - 5 ส่งเสริมสนับสนุนระบบการคุ้มครองผู้เรียนให้มี
ประสิทธิภาพต่อเน่ืองและยงั่ ยืน

เปา้ หมายกจิ กรรม สถานศึกษามรี ะบบคุ้มครองผเู้ รียนทมี่ ีประสิทธิภาพ
เรื่องท่ี 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่ือบรรลุเป้าหมาย
ในการปรบั ปรุง การจดั การเรยี นการสอนและยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษา (สอดคล้อง 2 ประเด็น)

ประเด็นที่ 6.1) สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจัด
การศกึ ษา (สอดคล้อง 1 กจิ กรรม)

กจิ กรรม - 1. จัดทาร่างกฎหมายเก่ียวกับการกระจายอานาจการบรหิ าร
จัดการท้ัง 4 ดา้ น (วิชาการ งบประมาณ บุคคล และบรหิ ารงานทั่วไป)เป้าหมายกิจกรรม สถานศึกษาได้รับ
การกระจายอานาจในการบริหารจัดการสถานศึกษาใน 4 ด้าน ตามความเหมาะสมและบริบทของพ้ืนที่
และการบรหิ ารจัดการมีประสทิ ธิภาพยิง่ ขนึ้

ประเด็นที่ 6.3) การปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการ
(สอดคล้อง 1 กิจกรรม)

กิจกรรม - จัดทาข้อเสนอการปรับปรุงบทบาทหน้าท่ีและอานาจ
ทส่ี อดคล้องกับบทบัญญตั ขิ องกฎหมายการศึกษาแหง่ ชาติฉบบั ให่

เป้าหมายกิจกรรม กระทรวงศึกษาธิการมีการแบ่งหน้าที่และอานาจท่ี
ชัดเจนระหว่างหน่วยงานนโยบาย หน่วยงานการกากับ หน่วยงานการสนับสนุน และหน่วยงานการ
ปฏบิ ตั กิ าร

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรร)

39

เรื่องที่ 7 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนร้โู ดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล
(Digitalization for Educational and Learning Reform) (สอดคลอ้ ง 3 ประเดน็ )

ประเด็นท่ี 7.1) การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้
ด้วยดิจิทลั แหง่ ชาติ (สอดคลอ้ ง 2 กิจกรรม)

กจิ กรรม - 2. นาผลการใช้ส่ือดิจิทัลและนวัตกรรมท่ีได้รับมาประมวล
และดาเนินการผูกรวมและนามาพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานของแพลตฟอร์มการเรียนร้ดู ว้ ยดจิ ทิ ัล

เป้าหมายกิจกรรม ร่วมพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของแพลตฟอร์มการ
เรียนรูด้ ว้ ยดจิ ทิ ลั

กจิ กรรม - 3 ขยายเครือข่ายแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัล โดยการ
สร้างความรว่ มมอื ของภาคส่วนท่เี กี่ยวขอ้ ง (PPP)

เป้าหมายกิจกรรม ผู้เรียน ครู และคนทุกช่วงวัยเข้าถึงทรัพยากรการ
เรียนรู้ และส่ือการจัด การเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ท่ีมีคุณภาพสูง ผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วย
ดจิ ิทัลแหง่ ชาติ และได้รับการแนะแนว (Consulting) ให้สามารถพัฒนาได้อย่างเตม็ ศกั ยภาพตามความถนัด
และความสนใจจนสามารถประกอบอาชพี และดารงชีวติ อยูใ่ นสงั คมได้อยา่ งยง่ั ยนื

ประเด็นท่ี 7.2) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Big Data for
Education) (สอดคล้อง 2 กจิ กรรม)

กิจกรรม - 1. จัดทาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการศึกษา (Big
Data In Education)

เป้าหมายกิจกรรม ระบบข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหารจัด
การศึกษา (Education Management Information System : EMIS) ซ่ึงมีฐานข้อมูลกลางรายบุคคล
ท่ีอ้างอิงจากเลขบัตรประจาตัว ประชาชน 13 หลัก เป็นรูปแบบเดียวกันของทุกหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา
ท้งั ในและนอกกระทรวงศึกษาธกิ าร และสามารถเชือ่ มโยงขอ้ มูลได้

กิจกรรม - 2. จัดทากฎหมายการบรหิ ารขอ้ มูลและสารสนเทศทางการศกึ ษา
เป้าหมายกิจกรรม ประกาศกฎหมายการบริหารข้อมูลและสารสนเทศ
ทางการศึกษา, จดั โครงสรา้ งองคก์ รศนู ย์ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาแหง่ ชาติ
ประเด็นท่ี 7.3) การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (digital citizenship)
ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล (digital literacy) ความฉลาดรู้สารสนเทศ (information literacy) ความฉลาด
รู้ส่ือ (media literacy) เพ่ือการรู้วิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจน
การมีพฤติกรรมท่ีสะท้อนการรู้กติกา มารยาท จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้สื่อและการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต
(สอดคล้อง 3 กิจกรรม)
กิจกรรม - 1. จัดทาข้อเสนอว่าด้วยการเสริมสร้างสมรรถนะด้านดิจิทัล
และการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ ของประชาชน
เป้าหมายกิจกรรม ข้อเสนอว่าด้วยการเสริมสร้างทักษะการรู้ดิจิทัลและการ
รู้เท่าทันสื่อของประชาชน, กาหนดสมรรถนะด้านดิจิทัลและการรู้เท่าทันส่ือ (Digitaland media literacy)
ที่ปรบั ตามความจาเป็นในแต่ละช่วงวยั ทเ่ี หมาะสม
กิจกรรม - 2. เสรมิ สร้างสมรรถนะดา้ นดจิ ิทลั และการรู้เทา่ ทันส่อื

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั จดั สรร)

40

เป้าหมายกิจกรรม บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเสริมสร้าง
สมรรถนะด้านดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ, คู่มือความรู้เกี่ยวกับสมรรถนะด้านดิจิทัลและการรู้ เท่าทันสื่อ
สาหรับผู้ปกครอง นักเรียน วัยทางาน ผู้สูงอายุ, ดาเนินงานร่วมกับศูนย์การเรียน และศูนย์ดิจิทัลชุมชน ในการ
พฒั นาทักษะดิจิทลั ใหก้ ับประชาชน เนน้ กลุม่ ผู้สงู อายุ

กจิ กรรม - 3. ประเมินสมรรถนะด้านดิจทิ ลั และการรู้เท่าทันสื่อของคนไทย
เป้าหมายกิจกรรม นาร่องการประเมินระดับสมรรถนะด้านดิจิทัลและการ
รู้เท่าทันสื่อแต่ละช่วงวัย และทบทวนแก้ไข ปรับปรุง, ประชาชนในวัยเรียนและผู้สูงอายุมีระดับสมรรถนะ
ด้านดจิ ิทลั และการรู้เท่าทนั สือ่ อย่ใู นระดับดีมาก
(2) แผนกำรปฏิรปู ประเทศดำ้ นกำรเมอื ง
เรื่องที่ 1/ประเด็นท่ี 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข
กิจกรรมที่ 1/กลยุทธ์ท่ี 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทาง
การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ของพลเมือย
เป้าหมายกิจกรรม มีโรงเรียน ประชาธิปไตยเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ต่อ
ปขี องจานวนโรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา/มธั ยมศกึ ษา
กิจกรรมท่ี 2/กลยุทธ์ท่ี 2 จัดให้มีการให้ความรู้ทางด้านการเมืองการปกครอง
(Political Education) วฒั นธรรมทางการเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย (Civic Education)
เป้าหมายกิจกรรม ระดับความรู้วัฒนธรรมทางการเมือง และการเมืองการ
ปกครองของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม/อบรม/สัมมนา ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60
(3) แผนกำรปฏริ ปู ประเทศดำ้ นกำรบรหิ ำรรำชกำรแผน่ ดนิ
เร่ืองที่ 2/ประเด็นท่ี 2 ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเช่ือมโยง
กนั กา้ วสู่รฐั บาลดิจทิ ัล
กิจกรรมท่ี 2/กลยุทธ์ที่ 2 นาระบบดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงาน และการ
บรหิ ารราชการ
เป้าหมายกิจกรรม หน่วยงานภาครัฐสามารถดาเนินงานตามภารกิจได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ โดยการนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้งาน
กิจกรรมที่ 3/กลยุทธ์ท่ี 3 บูรณาการข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐเพ่ือการ
บริหารราชการแผ่นดิน
เป้าหมายกิจกรรม 1) หน่วยงานของรัฐมี Chief Data Officer ซ่ึงมีอานาจ
หน้าท่ีที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีดิจิทัล 2) หน่วยงานภาครัฐมีการจัดทาข้อมูลสาคัญ
ตามมาตรฐานที่กาหนด และเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภายนอกได้ 3) หน่วยงานภาครัฐมีข้อมูลสาคัญที่ใช้
ในการตัดสินใจ และการจัดอันดับของประเทศในด้านต่าง ๆ 4) ผู้บริหารระดับสูงมีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน
ทันสมัย สาหรับใช้ในการตัดสินใจและการบริหารราชการแผ่นดิน 5) หน่วยงานมีผู้รับผิดชอบในการวบรวม
จัดการและวิเคราะห์ข้อมลู
เร่ืองท่ี 3/ประเด็นที่ 3 โครงสร้างภาครัฐ กะทัดรัด ปรับตัวได้เร็ว และ
ระบบงาน มีผลสัมฤทธิ์สูง

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรร)

41

กิจกรรมที่ 1/กลยุทธ์ท่ี 1 ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบ
บรหิ ารงานของรฐั และลด/ละลายความเป็นนติ ิบคุ คลของกรม

เป้าหมายกิจกรรม 1) ส่วนราชการมีการจัดทาแผนปฏิรูปองค์การ โดยมีการ
ทบทวน 4 ด้าน ได้แก่ โครงสร้าง กระบวนงาน บุคลากร และกฎหมาย 2) ปรับปรุงประสิทธิภาพการ
บริการภาครฐั

กิจกรรมท่ี 2/กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพและสร้างความเข้มแข็งของการ
บริหารจดั การเชงิ พน้ื ที่

เปา้ หมายกจิ กรรม ดาเนินการตามแผนได้ 100%
เรื่องท่ี 4/ประเด็นที่ 4 กาลังคนภาครัฐมีขนาดท่ีเหมาะสมและมีสมรรถนะสูง
พรอ้ มขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรช์ าติ

กิจกรรมท่ี 1/กลยุทธ์ที่ 1 จัดกาลังคนให้สอดคล้องกับความจาเป็นในการ
บริการสาธารณะทีส่ าคัญ และขบั เคล่อื นขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

เป้าหมายกิจกรรม กาลังคนท่ีเหมาะกับงาน/ชนิด/คุณภาพในเวลาท่ีต้องการ
ทสี่ อดคลอ้ งกับบทบาทของภาครฐั และทิศทางการพัฒนาประเทศตามยทุ ธศาสตรช์ าติ

กิจกรรมที่ 3/กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาทักษะและสมรรถนะใหม่เพ่ือสร้างความพร้อม
เชิงกลยทุ ธใ์ ห้กับกาลงั คนภาครัฐ (New Mindsets and Skillsets)

เป้าหมายกิจกรรม 1) ภาครัฐมีกาลังคนมีทักษะและสมรรถนะที่ทันต่อการ
เปล่ียนแปลงทันสมัย และเป็นสากล 2) ภาครัฐมีแผนและแนวทางในการใช้ประโยชน์กาลังคนสูงอายุท่ีมี
ศักยภาพ 3) ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีค่านิยมและอุดมการณ์ที่กล้ายืนหยัดกระทาในสิ่งท่ีถูกต้อง
แยกผลประโยชน์ส่วนตนออกจากประโยชน์สาธารณะ และดารงตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เจ้าหน้าท่ีของรัฐมีกระบวนทัศน์ใหม่ (New Paradigm)และมีจิตวิญญาณการเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ
(Public Entrepreneurial Spirit) มีกลไกและมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าท่ีจากการใช้อานาจที่ไม่เป็นธรรม
โดยผบู้ งั คับบญั ชา

กจิ กรรมท่ี 4/กลยุทธท์ ่ี 4 ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้กาลังคน
ในส่วนราชการและหนว่ ยงานของรัฐ (Workforce Audit)

เป้าหมายกิจกรรม 1) รัฐบาลมีสารสนเทศสาหรับการตัดสินใจเพื่อให้การใช้
กาลังคนภาครัฐมีประสิทธิภาพประสิทธิผล 2) ส่วนราชการมีสายงานตาแหน่ง และระดับสอดคล้องกับ
ความจาเปน็ ของภารกิจภาครฐั

เร่ืองท่ี 5/ประเด็นท่ี 5 ระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูด สร้างและรักษาคน
ดคี นเก่งไวใ้ นภาครฐั

กิจกรรมที่ 1/กลยุทธ์ท่ี 1 ดึงดูดผู้มีความรู้ความสามารถและมีจิตสาธารณะ
เข้ามาทางานในหนว่ ยงานของรฐั

เป้าหมายกิจกรรม 1) มีระบบ รูปแบบการจ้างงาน และช่องทางการสรรหา
บุคลากรภาครัฐท่ีหลากหลายเหมาะสมกับภารกิจ รวมท้ังวิถีการทางานและการใชช้ ีวิตของคนรุ่นใหมแ่ ละผู้
ทม่ี ีความรู้ความสามารถสูง 2) ส่วนราชการมีการพฒั นาจุดแข็งให้เป็นแรงดึงดูดและสร้างแรงบันดาลใจให้กับ
ผู้สมัครงาน 3) มีระบบการจัดสอบความรู้ความสามารถท่ัวไปด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4) มีระบบการ

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณที่ไดร้ บั จดั สรร)


Click to View FlipBook Version