The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattrasuk2514, 2021-03-18 04:42:25

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

พฒั นำระบบบริหำรจัดกำรใหม้ ีประสทิ ธิภำพ

งบประมาณ ความสอดคลอ้ ง
(บาท)
ผู้รับผิดชอบ นโยบายรัฐบาล
หลัก เร่งด่วน
ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 ย.ศธ ย.สป
แม่บท ปฏิรูป .

กล่มุ นโยบาย 25,000 6 12 12 1 8 - 3 3
และแผน

74

ยุทธศำสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยธุ ยำ ท่ี 5 พ

โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตวั ช้ีวดั /คา่ เปา้ หมายตัวชวี้ ดั ผ

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 14. ตรวจตดิ ตาม 1. เพือ่ สนบั สนนุ การ 1. สานกั งานศึกษาธิการ ก
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรร) ประเมนิ ผล
การดาเนนิ งานตาม ตรวจราชการของผตู้ รวจ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา มี
นโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ ประจา ราชการกระทรวง รายงานการติดตาม ตรวจสอบ
ปบี ประมาณ
2564 ศกึ ษาธกิ าร และศธ. และประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน

ภาค 1 ตามนโยบายและยทุ ธศาสตร์

2. เพือ่ ประสานงาน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เร่งรัดตดิ ตามผลการ ทกุ หนว่ ยงานในสงั กัด

ดาเนนิ งานตามนโยบาย สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั

และยุทธศาสตร์ของ พระนครศรีอยธุ ยา

กระทรวงศึกษาธกิ าร จานวน 1 ฉบับ

ประจาปงี บประมาณ 2. หนว่ ยงานทางการศึกษาใน

พ.ศ.2564 ในพนื้ ท่ี กลมุ่ เปา้ หมาย มีการประสาน

จงั หวดั พระนคร ความร่วมมอื และขบั เคล่อื น

ศรีอยุธยา การปฏบิ ัตงิ านตามนโยบาย

และยทุ ธศาสตร์ของ

กระทรวงศึกษาธิการ พร้อม

รับการตรวจตดิ ตามผลการ

ดาเนนิ งานตามนโยบาย

รอ้ ยละ 85

พัฒนำระบบบริหำรจดั กำรใหม้ ปี ระสทิ ธิภำพ

งบประมาณ ความสอดคลอ้ ง
(บาท)
ผรู้ ับผิดชอบ นโยบายรัฐบาล
หลกั เรง่ ดว่ น
ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 ย.ศธ ย.สป
แมบ่ ท ปฏิรปู .

กลุ่มนเิ ทศฯ 80,000 6 20 2 6 11 - 5 5

75

ยุทธศำสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยธุ ยำ ที่ 5 พ

โครงการ วตั ถุประสงค์ ตัวชีว้ ดั /คา่ เป้าหมายตวั ชี้วดั ผ

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 15. ประชุม 1. เพอื่ สรา้ งการรบั รู้ 1. จดั ประชมุ ผบู้ รหิ าร ก
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ผ้บู รหิ ารโรงเรยี น ความเขา้ ใจระเบยี บ โรงเรียนเอกชนในระบบ
เอกชนในระบบ การบริหารโรงเรียน หรอื ผ้แู ทนและบุคลากรของ
จงั หวัดพระนคร- เอกชน สานักงานศึกษาธิการจังหวดั
พระนครศรีอยุธยา 2 ครัง้
ศรอี ยธุ ยา 2. เพือ่ ขบั เคลือ่ นการ 2. รายงานการประชมุ
พฒั นาคุณภาพ ผู้บริหารโรงเรยี นเอกชนใน
โรงเรยี นเอกชน ระบบจงั หวดั พระนคร
ศรีอยุธยา 2 ฉบบั

พัฒนำระบบบริหำรจดั กำรใหม้ ีประสิทธิภำพ

งบประมาณ ความสอดคล้อง
(บาท)
ผูร้ ับผดิ ชอบ ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 นโยบายรฐั บาล ย.ศธ ย.สป
แมบ่ ท ปฏิรูป หลัก เร่งด่วน .

กลมุ่ 20,000 6 12 12 1,6 8 - 6 5
ส่งเสรมิ
การศกึ ษา
เอกชน

76

ยทุ ธศำสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยธุ ยำ ท่ี 5 พ

โครงการ วตั ถุประสงค์ ตวั ช้ีวดั /คา่ เป้าหมายตัวช้ีวดั ผ

16.การบรหิ าร 1. เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ การ 1. ดาเนนิ การพิจารณายา้ ย

งานบคุ คล พจิ ารณายา้ ยข้าราชการ ขา้ ราชการครูและบุคลากร บ

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา สานกั งาน ครูและบุคลากรทางการ ทางการศึกษา ทั้ง 3
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร)
ศกึ ษาธิการ ศกึ ษา ในสถานศกึ ษา เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ใน

จังหวดั พระ ภายในจังหวัดพระนคร จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

นคร ศรีอยุธยาไดอ้ ย่างถกู ต้อง - พิจารณ าย้าย ตาแหน่ง

ศรีอยธุ ยา โปร่งใสเปน็ ธรรม ทันตาม ครูผู้สอนในสถานศึกษ า

ประจาปี กาหนดเวลา ตามหลกั ธรร กรณีปกติ จานวน 2 รอบ

งบประมาณ มาภิบาล และการบริหาร - พิจารณ าย้าย ตาแหน่ง

พ.ศ. 2564 กจิ การบา้ นเมอื งท่ดี ี และ ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า

เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ประจาปี และพิจารณาย้าย

และวิธกี ารที่ ก.ค.ศ. เพิ่มเติมตามท่ีสานักงาน

กาหนด เขตพ้นื ท่ีการศึกษาประกาศ

2 เพ่ือส่งเสริมสนับสนุน ตาแหน่งว่างเพ่มิ เติม

ให้ ข้ าราช ก ารค รูแ ล ะ ร้อยละ 100

บุคลากรทางการศกึ ษา ใน 2. ตรวจสอบคุณ สมบัติ

เ ข ต พื้ น ท่ี จั ง ห วั ด ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ข อ ง

พระนครศรีอยุธยา ข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษาที่ขอมีหรือ

เลื่ อ น วิ ท ย ฐาน ะ ทั้ ง 3

เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา

พัฒนำระบบบริหำรจดั กำรใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพ

งบประมาณ ความสอดคลอ้ ง
(บาท)
ผู้รบั ผดิ ชอบ ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 นโยบายรฐั บาล ย.ศธ ย.สป
แม่บท ปฏริ ูป หลัก เรง่ ดว่ น .

กลุ่ม 20,000 6 20 2 6 11 65
บริหารงาน

บุคคล

77

ยทุ ธศำสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยุธยำ ท่ี 5 พ

โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตวั ชีว้ ัด/คา่ เป้าหมายตัวชว้ี ดั

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 16.การบริหาร มีและเล่ือนวิทยฐานะ เพื่อนาเสนอ อกศจ. และ
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร)
งานบคุ คล ไดอ้ ย่างถกู ต้อง รวดเร็ว กศจ. พจิ ารณาแตง่ ต้ัง

สานกั งาน เป็นไปตามหลักเกณฑ์ กรรมการประเมนิ อนุมัตผิ ล

ศกึ ษาธกิ าร และวิธีการที่ ก.ค.ศ. การประเมิน ทกุ คร้งั ทีม่ กี าร

จงั หวดั พระนคร กาหนด ประชุม รอ้ ยละ 100

ศรีอยธุ ยา 3.เพอ่ื สถานศกึ ษา 3. บรรจุและแต่งตั้งข้าราชการ

ประจาปี ใน เข ต พื้ น ที่ จั งห วั ด ครูและบุคลากรทางการศึกษา

งบประมาณ พระนครศรีอยุธยา ได้รับ ตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา

พ.ศ. 2564(ต่อ) การบรรจุและแต่งตั้งผู้ และ ตาแหน่งครูผู้ช่วย ตาม

ผ่ าน ก ารคั ด เลื อก ให้ ตาแหนง่ ที่ได้รบั อนุมตั ิ ตรงกับ

ดารงตาแหน่งผู้บริหาร ความต้องการของสถานศกึ ษา

สถานศึกษาและผู้ผ่าน ทง้ั 3 เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา

การคดั เลือก/อบแขง่ ขัน ร้อยละ 100

ได้ตาแหน่งครูผู้ช่วยตรง

ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง

สถาน ศึกษ า เป็ น ผู้มี

ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ

ตามมาตรฐานตาแหน่ง

พฒั นำระบบบริหำรจัดกำรใหม้ ีประสทิ ธิภำพ

งบประมาณ ความสอดคล้อง
(บาท)
ผู้รับผดิ ชอบ ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 นโยบายรัฐบาล ย.ศธ ย.สป
แม่บท ปฏิรปู หลัก เร่งด่วน .

78

ยุทธศำสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยธุ ยำ ที่ 5 พ

โครงการ วตั ถุประสงค์ ตัวชวี้ ัด/คา่ เป้าหมายตัวชวี้ ัด ผ

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 16.การบริหาร 4 .เพ่ื อ ส่ ง เส ริ ม ให้ 4. สถานศึกษาใน จังหวดั
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร)
งานบุคคล สถานศึกษาในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา มี

สานกั งาน พระนครศรีอยุธยา มี ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

ศกึ ษาธิการจังหวัด ผู้บริหารสถานศึกษา ครผู ูส้ อน ตามเกณฑ์

พระนคร ครูผสู้ อนตามเกณฑ์ อัตรากาลงั ท่ี ก.ค.ศ.กาหนด

ศรอี ยุธยา อัตรากาลังที่ ก.ค.ศ. มีวิชาเอกตรงกับทสี่ ถาน

ประจาปี กาหนด และเป็นผู้มี ศึกษาต้องการ ผู้เรียนได้

งบประมาณ ความรู้ความสามารถ เรียนรู้กับครูผู้สอนในสาขา

พ.ศ. 2564(ต่อ) มีวิช าเอกต รงกั บ ท่ี วิชาเอกโดยตรง ส่งผลต่อ

สถานศกึ ษาต้องการ ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนสูงข้ึน

ร้อยละ 100

1 7 .การป้ องกัน ๑. เพื่อสร้างระบบ 1) หน่วยงานในสานกั งาน
ทุ จ ริต แ ล ะส ร้าง ก า ร ก า กั บ ดู แ ล ท่ี ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนคร บ
ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส เส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม ศรอี ยธุ ยามีระบบการควบคมุ
ประจาปีงบ โป ร่ ง ใ ส แ ล ะ ก า ร ภายใน รอ้ ยละ 90

ประมาณ ป้องกันทุจรติ
พ.ศ. ๒๕๖4 2. เพ่ือสร้างระบบ

การต รวจส อบ ท่ี มี

ประสทิ ธภิ าพ

พัฒนำระบบบริหำรจดั กำรใหม้ ปี ระสิทธภิ ำพ

งบประมาณ ความสอดคลอ้ ง
(บาท)
ผู้รบั ผดิ ชอบ ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 นโยบายรฐั บาล ย.ศธ ย.สป
แม่บท ปฏริ ูป หลกั เรง่ ด่วน .

กลุ่ม 10,500 6 20 2 6 11 65
บริหารงาน

บุคคล

79

ยทุ ธศำสตร์ ศธจ.พระนครศรอี ยธุ ยำ ที่ 5 พ

โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวช้ีวัด/คา่ เป้าหมายตวั ชว้ี ดั ผ

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา 17. การป้องกนั 3. เพื่อสร้างความรู้ 2) หนว่ ยงานในสานักงาน
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) ทุจริตและสรา้ ง ความเขา้ ใจ ถา่ ยทอด ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด
ความโปรง่ ใส มาตรการสู่การปฏบิ ัติ พระนครศรีอยุธยา
ประจาปี ตามหลักธรรมาภบิ าล ไดร้ ับการตรวจสอบภายใน
และขับเคลือ่ นการ
งบประมาณ ปอ้ งกันและราบปราม รอ้ ยละ 90
พ.ศ. ๒๕๖4 การทจุ รติ และความ 3) ข้าราชการครแู ละ
(ต่อ) โปร่งใสในการ บุคลากรทางการศกึ ษา ใน
ดาเนินงานของ สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั
บุคลากรท่เี ก่ียวข้อง พระนครศรีอยุธยา จานวน
4. เพ่ือสร้างระบบการ 45 คน มีความรู้ ความ
จั ด ก า ร ข้ อ ร้ อ ง เรี ย น เข้าใจ ได้รับการถา่ ยทอด
มาตรการสู่การปฏบิ ัติ และ
ขบั เคล่ือนการปอ้ งกันและ
ปราบปรามการทุจรติ และ
สร้างความโปร่งใสในการ
ปฏบิ ตั งิ าน ร้อยละ 80

พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรใหม้ ีประสทิ ธิภำพ

งบประมาณ ความสอดคล้อง
(บาท)
ผรู้ ับผิดชอบ ย.ชาติ แผน แผน แผนฯ12 นโยบายรัฐบาล ย.ศธ ย.สป
แม่บท ปฏิรปู หลัก เร่งด่วน .

80

81

โครงกำร ศธ.จติ อาสาบาเพ็ญประโยชน์

แผนงำนงบประมำณ  แผนงานพืน้ ฐาน  แผนงานยทุ ธศาสตร์  *แผนงานบรู ณาการ

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำร กลมุ่ ลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน

ระยะเวลำดำเนินกำร พฤศจิกายน 2563 - มกราคม 2564

สอดคล้องกบั ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์

 ยทุ ธศาสตรช์ าติ

ยทุ ธศาสตรช์ าติ (หลกั ) ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

ยุทธศาสตรช์ าติ (รอง) ด้านความมนั่ คง

 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ

ประเดน็ (หลัก) ที่ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต

ประเด็น (รอง) ที่ 3 ดา้ นการพฒั นาเด็กตั้งแตช่ ว่ งวัยเรียน/วยั รนุ่

 แผนปฏริ ูปประเทศ ดา้ นการศึกษา

 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

 นโยบายรัฐบาล (หลกั ) ที่ 8 การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้และการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย

 ยทุ ธศาสตร์ ศธ. ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

 ยุทธศาสตร์ สป.ศธ. ท่ี 3 ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

 ยทุ ธศาสตร์ ศธภ.1 ท่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

 ยทุ ธศาสตร์จังหวดั ท่ี -

 ยุทธศาสตรแ์ ผนพัฒนาการศึกษาจงั หวดั ที่ 3 พฒั นาคุณภาพและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรยี นสู่

ทักษะในศตวรรษที่ 21

 ยทุ ธศาสตร์ ศธจ.อย. ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

1. หลกั กำรและเหตผุ ล
เน่ืองในวันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ

เบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ประกอบกับได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม
ให้กาหนดว่า วันท่ี 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ เพ่ือเป็นการร่วมน้อมราลึกถึง
พระองค์ท่าน กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงมีภารกิจสาคัญที่มุ่งให้นักเรียน นักศึกษา และเยาวชนได้รับการพัฒนา
คณุ ธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตรยิ ์ รวมท้ังมีความประพฤติท่ีเหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อสังคมและค่านยิ มท่ีถกู ต้อง เพอ่ื การ
พัฒนาทักษะชีวิต รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของสังคม ได้น้อมนาพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2529 ใจความว่า “การบาเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือ
ผู้อื่นน้ัน เป็นปัจจัยที่จะสร้างสรรค์ความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกันและกัน ความรักใคร่เผ่ือแผ่แบ่งปันในกันและกัน
ซ่งึ ในที่สุดจะก่อใหเ้ กิดความสามัคคีเป็นปึกแผ่นในชาติข้ึน จนเป็นพลังอนั ย่ิงใหญ่ทจี่ ะช่วยให้เราสามารถรักษา
ความเป็นอิสระ และความม่ันคงของชาติบ้านเมืองของเราให้ยืนยงอยู่ตลอดไป” ส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดกจิ กรรมต่างๆ ใหแ้ ก่เด็กและเยาวชน สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง มีทกั ษะ
ชีวิต มีลักษณะนสิ ยั เป็นผ้มู ีระเบยี บวินัย มคี วามอดทน อดกล้นั เสยี สละ มีน้าใจ มีเมตตา มคี วามเป็นผู้นา

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีไดรับจดั สรร)

82

ผู้ตามที่ดี มีความสามัคคี รักใคร่ปรองดอง รู้จักเสียสละ และบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม รู้คุณค่าใน
ศิลปวัฒนธรรมที่ดงี าม รวมทงั้ การรจู้ กั นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญดังกลา่ ว จงึ ไดก้ าหนด
จัดโครงการ ศธ.จิตอาสาบาเพญ็ ประโยชน์ ขนึ้

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพื่อน้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ

พล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
2.2 เพื่อปลกู ฝงั และสร้างจติ สานึกที่ดีใหก้ บั ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด นักศกึ ษาวิชาทหาร

และบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์ด้านสังคม และเป็นการขัดเกลาทางด้าน
จติ ใจ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมใหร้ ู้คุณคา่ ของการแบ่งปนั และชว่ ยเหลือผ้อู นื่

2.3 เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมีจติ สาธารณะและใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์

3. เป้ำหมำย
3.1 เชิงปริมำณ (Output) : ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศึกษาวิชาทหาร

ผบู้ งั คับบัญชา และบุคลากรทางการศกึ ษา รวมทั้งส้นิ 120 คน
3.2 เชิงคุณภำพ (Outcome) : ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศึกษาวิชาทหาร

ผู้บังคับบัญชา และบุคลากรทางการศึกษา มีจิตสานึกท่ีดี ในการมุ่งกระทาประโยชน์ต่อส่วนรวม และมีความ
รับผิดชอบตอ่ สังคม

4. กลุ่มเปำ้ หมำยโครงกำร (Target group)
4.1 บคุ ลากรทางการศึกษา ผูบ้ งั คับบญั ชา ผบู้ ริหารและครูโรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ 1”
4.2 ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด นกั ศกึ ษาวิชาทหาร โรงเรยี นบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ 1”

5. ตวั ช้วี ดั ค่ำเป้ำหมำย คา่ เป้าหมาย
5.1 เป้ำหมำยเชิงผลผลิต (Output)
ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 85
ตัวชว้ี ดั จานวน 1 เล่ม

1) ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจ
2) มรี ายงานผลการดาเนินงาน

6. ระยะเวลำ/พ้ืนท่ดี ำเนินกำร
ระยะเวลำ พฤศจกิ ายน 63 – มกราคม 64 (จัดกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์วันที่ 9 ธันวาคม 2563)
พืน้ ท่ีดำเนนิ กำร โรงเรยี นบางปะอนิ “ราชานเุ คราะห์ 1” และบริเวณสถานรี ถไฟบางปะอนิ

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดรบั จดั สรร)

83

7. กจิ กรรม/ระยะเวลำ/สถำนที่ดำเนินกำร/ผรู้ บั ผดิ ชอบ

ที่ กิจกรรมหลัก ระยะเวลำ สถำนทีด่ ำเนนิ กำร ผรู้ ับผิดชอบ

1 กิจกรรมท่ี 1 เตรียมการก่อนดาเนิน พฤศจิกายน สานกั งานศึกษาธิการจังหวัด กล่มุ ลูกเสือฯ

โครงการ 2563 พระนครศรีอยุธยา

1.1 จัดทาโครงการและขออนุมัติ

โครงการ

1.2 จัดทาคาส่ังแต่งตง้ั คณะกรรมการ

1.3 แจง้ สถานศกึ ษารว่ มดาเนินกิจกรรม

ที่ กิจกรรมหลกั ระยะเวลำ สถำนท่ดี ำเนนิ กำร ผรู้ ับผิดชอบ

2 กิ จกรรมที่ 2 จั ดกิ จกรรมบ าเพ็ ญ 9 ธนั วาคม - โรงเรยี นบางปะอิน “ราชา กลมุ่ ลูกเสอื ฯ

ประโยชน์ 63 นุเคราะห์ 1”

- บริเวณสถานรี ถไฟบางปะอนิ

3 กิจกรรมท่ี 3 รวบรวมสรุปรายงานผลการ มกราคม 64 สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั กลมุ่ ลูกเสอื ฯ

ดาเนนิ งานแจ้งใหผ้ ู้เกี่ยวข้องทราบ พระนครศรีอยุธยา

8. งบประมำณ : แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลิตผ้ไู ด้รับ

การสง่ เสริมและพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม งบรายจ่ายอนื่ : ค่าใช้จ่ายโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม

เพ่อื สร้างพ้นื ฐานแก่ผู้เรียนด้านการศึกษา 4 ด้าน ในระดับจงั หวัด

จานวนท้งั สิ้น 10,000 บาท (หนึ่งหม่ืนบาทถว้ น) รายละเอยี ดดังน้ี

ท่ี รายละเอยี ดกิจกรรม การใช้จา่ ยงบประมาณ
ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวัสดุ รวม

1 กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์

- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม (120 คน x 1 มอื้ 3,000 3,000

x 25 บาท)

- คา่ ป้ายไวนลิ 1,000 1,000

- ค่าวสั ดุ-อุปกรณ์ทาความสะอาด 6,000 6,000

รวมเป็นเงินทัง้ สนิ้ 4,000 6,000 10,000

(ขอถวั จา่ ยทกุ รายการ)

9. แผนกำรใช้งบประมำณ

โครงการได้รบั แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

งบประมาณท้งั สิน้ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
-
10,000 10,000 --

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดรบั จัดสรร)

84

10. กำรวเิ ครำะหค์ วำมเสี่ยงของโครงกำร
10.1 ปัจจยั ความเส่ยี ง : ระยะเวลาดาเนนิ การกระช้ันชดิ
10.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยง : ประสานขอความร่วมมือโรงเรยี นเพื่อเตรียมการ โดยใช้

ช่องทางการประสานทห่ี ลากหลาย
11. ผลทคี่ ำดวำ่ จะได้รับ

11.1 ได้น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

11.2 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศึกษาวิชาทหาร และบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ ได้ ร่วม
ปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสาบาเพ็ญประโยชน์เพ่ือช่วยเหลือสังคม เป็นแบบอย่างท่ีดี มีความเสียสละ ช่วยเหลือบรรเทา
ความเดอื ดร้อน และใช้เวลาใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณที่ไดรบั จดั สรร)

85

โครงกำร สง่ เสริมเวทแี ละประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตร

ตอ่ เนื่องเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกบั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศึกษา

แผนงำนงบประมำณ  แผนงานพืน้ ฐาน  แผนงานยุทธศาสตร์  แผนงานบูรณาการ

ผรู้ ับผิดชอบโครงกำร กลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

ระยะเวลำดำเนนิ กำร ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

สอดคล้องกับประเด็นยทุ ธศำสตร์

 ยุทธศาสตร์ชาติ

ยทุ ธศาสตรช์ าติ (หลัก) ดา้ นท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

ยทุ ธศาสตรช์ าติ (รอง) ดา้ น-

 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

ประเดน็ (หลัก) ที่ 12 ดา้ นการพฒั นาการเรียนรู้

ประเดน็ (รอง) ท่ี 3.1 ด้านการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลง

ในศตวรรษท่ี 21

 แผนปฏริ ปู ประเทศ ด้าน การศึกษา

 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนา

ศกั ยภาพทนุ มนุษย์

 นโยบายรัฐบาล นโยบายหลักขอ้ ท่ี 8 การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละพฒั นาศักยภาพของคนไทย

ทุกชว่ งวยั นโยบายเร่งดว่ น ท่ี 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21

 ยุทธศาสตร์ ศธ. ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้

 ยทุ ธศาสตร์ สป.ศธ. ท่ี 3 พฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ใหม้ ีคุณภาพ

 ยทุ ธศาสตร์ ศธภ.1 ที่ 1 สร้างโอกาสทางการศึกษาของประชาชนทุกคนทุกช่วงวยั อย่างท่ัวถึงเท่าเทยี ม

และสง่ เสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ

 ยุทธศาสตรจ์ งั หวัด ท่ี-

 ยทุ ธศาสตรแ์ ผนพฒั นาการศึกษาจังหวดั ที่ 5 พฒั นาการจดั การศกึ ษาเพื่อเสรมิ สรา้ งกาลังคน

ท่ีสอดคล้องกับภมู สิ ังคม

 ยุทธศาสตร์ ศธจ.อย. ที่ 3 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ยใ์ ห้มีคุณภาพ

1. หลักกำรและเหตผุ ล
สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา ครั้งท่ี 1/2559 เม่ือ

วันที่ 19 สิงหาคม 2559 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุม ซึ่ง
นายกรัฐมนตรีได้ให้ความสาคัญของแนวทางการขับเคล่ือนด้านการศึกษา โดยมุ่งเน้นบูรณาการความร่วมมือ
กับทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ เอกชน รวมถึงองค์กรประชาสังคม เพ่ือให้การพัฒนาด้านการศกึ ษามีความต่อเน่ือง
และเกิดความย่ังยืนในระยะยาวต่อไป รวมทั้งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศและ
อตุ สาหกรรมไทยแลนด์ 4.0

กระทรวงศึกษาธิการเห็นความสาคัญของการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนมีทางเลือก
ในการเข้าส่กู ารศกึ ษาท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การให้ผเู้ รยี นในสายอาชีพทง้ั ผเู้ รยี นระดบั

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดรับจัดสรร)

86

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สามารถเข้าสู่เส้นทางการศึกษาใน
ระดับอุดมศกึ ษาได้ ในการนี้ สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาจึงเห็นควรจัดโครงการ
ส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษา
ขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาเพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานทางการศึกษาในระดับจังหวัดมีนวัตกรรม
ที่จะสนับสนุนการศึกษาที่ต่อเน่ืองเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับอาชีวศึกษาและ
ระดับอุดมศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ สามารถพัฒนาทักษะผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการ
และบริบททางการศึกษาในแต่ละสาขาวิชาชีพให้มีทักษะต่อยอดในสถาบันอุดมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยอาศัยกระบวนการการมีส่วนร่วมผ่านการจัดเวทีและประชาคมเป็นเครื่องมือสาคัญในการสร้างและ
แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท้ังใน
ระดบั จงั หวัดต่อไป

2. วตั ถุประสงค์
1) เพ่ือดาเนินกระบวนการการมีส่วนร่วมผ่านการจัดเวทีและประชาคมการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง

เช่ือมโยงการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานกบั อาชวี ศึกษาและอุดมศึกษาในพื้นท่สี านกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
2) เพอ่ื พัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานทม่ี ีความเชอ่ื มโยงการจดั การเรียนรู้ในระดบั

การศึกษาข้ันพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นท่ีสานักงานศึกษาธิการ
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

3. เป้ำหมำย
3.1 เชงิ ปริมำณ (Output)
1.) สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั พระนครศรีอยุธยาจัดเวทีประชาคมการพัฒนาหลักสูตร

ต่อเนอื่ งเช่ือมโยงการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานกบั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา
2.)สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษา

ขัน้ พ้ืนฐานกับอาชวี ศึกษาและอดุ มศึกษา
3.2 เชิงคณุ ภำพ (Outcome)
ผ้สู าเร็จการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษา มีทางเลือกในการเข้าสกู่ ารศกึ ษาระดับทสี่ ูงขึ้น

ท่ีหลากหลายสอดคล้องกบั บริบท และความต้องการของพนื้ ทใ่ี นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4. กลุ่มเปำ้ หมำยโครงกำร (Target group)
สถานศึกษาในพ้ืนที่จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยาทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ

5. ตัวช้ีวัดค่ำเปำ้ หมำย ค่าเปา้ หมาย
5.1 เปำ้ หมำยเชิงผลผลติ (Output) 2 หลกั สูตร

ตัวชีว้ ดั

1.มีหลกั สูตรต่อเนอื่ งเชอ่ื มโยงการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอดุ มศกึ ษา
2.จัดเวทีประชาคมการพัฒนาหลกั สูตรต่อเนอื่ งเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ
อาชวี ศกึ ษาและอุดมศกึ ษา

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ไี ดรบั จัดสรร)

87

5.2 เป้ำหมำยเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome)

ตัวชว้ี ัด คา่ เปา้ หมาย

1) แตล่ ะสถานศกึ ษามีรอ้ ยละของผู้เรียนต่อสายอาชพี เพม่ิ ขึ้น รอ้ ยละ 5

6. ระยะเวลำ/พ้ืนทดี่ ำเนินกำร

ระยะเวลา ต.ค 63 – 30 ก.ย. 64

พ้นื ทด่ี าเนนิ การ สถานศึกษาในพื้นที่จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

7. กจิ กรรม/ระยะเวลำ/สถำนทดี่ ำเนนิ กำร/ผู้รับผิดชอบ

ท่ี กจิ กรรมหลกั ระยะเวลา สถานท่ีดาเนนิ การ ผู้รบั ผิดชอบ

1. กจิ กรรมที่ 1 ก.พ.64 ศธจ. กลมุ่ นิเทศฯ

ประชมุ คณะทางานคดั เลอื กโรงเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ พระนครศรอี ยุธยา

2. กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมประชุมคณ ะจัดทา ก.พ.64 เอกชน กลุ่มนเิ ทศฯ

หลักสูตร(ครง้ั ที่ 1 )ลงนามบันทกึ ขอ้ ตกลงความ

รว่ มมอื MOU

1.1 ผู้บริหารสถานศึกษาสงั กัดอาชวี ศกึ ษา

1.2 ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เข้าร่วม

โครงการ

3. กจิ กรรมท่ี 3 จดั ทาหลักสูตร 2 หลักสูตร มีนาคม 64 เอกชน กลมุ่ นิเทศฯ

(10,000)

4. กิจกรรมท่ี 4 จัดเวทีและประชาคมการพัฒนา สงิ หาคม 64 เอกชน กลุม่ นเิ ทศฯ

หลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา โรงเรียนที่เข้า

รว่ มโครงการ จดั ทาหลักสตู ร (21,600)

5. กิจกรรมท่ี 5 นเิ ทศ ติดตาม มี.ค.64-ก.ย. สถานศึกษ าเข้า กลุ่มนเิ ทศฯ

สถานศึกษา 2 แห่ง 64 รว่ มโครงการ

6. กิจกรรมที่ 6 พัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับหลักสูตร มี.ค.64-ก.ย. สถานศึกษ าเข้า กล่มุ นิเทศฯ

ต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพื้นฐานกับ 64 ร่วมโครงการ

อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ท่ีหน่วยงานต่าง ๆ

จัดข้นึ

7. กจิ กรรมที่ 7 ก.ย.64 สถานศึกษ าเข้า กลมุ่ นเิ ทศฯ

สรปุ โครงการ ร่วมโครงการ

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดรับจดั สรร)

88

8. งบประมำณ : แผนงานยุทธศาสตร์เพ่ือสนบั สนนุ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพ

ทรัพยากรมนุษย์ จานวนทั้งสิ้น 60,000บาท (หกหม่ืนบาทถว้ น) รายละเอียดดังน้ี

การใช้จา่ ยงบประมาณ

ท่ี รายละเอยี ดกจิ กรรม ค่าตอบแทน คา่ ใช้ ค่าวัสดุ รวม
สอย

1 ประชุมคณะทางาน

- คา่ อาหารว่างและเครื่องดมื่ (20 คน x 2 มื้อ x 1,400 1,400

35 บาท)

- คา่ อาหารกลางวัน (20 คน x 1 มื้อ x 120 บาท) 2,400 2,400

รวมเป็นเงิน 3,800 3,800

2 ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการคณะจัดทาหลักสตู ร(คร้ังที่ 1 )

ลงนามบนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื MOU

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดม่ื (35 คน x 2 มือ้ x

50 บาท) 3,500 3,500

- ค่าอาหารกลางวัน (35 คน x 1 ม้ือ x 300 บาท) 10,500 10,500

- ค่าพาหนะ 5,000 5,000

- ค่าเอกสาร 1,000 1,000

รวมเป็นเงิน 19,000 1,000 20,000

3 จดั ทาหลักสูตร 2 หลกั สตู ร ๆ ละ 5,000 บาท 10,000 10,000

รวมเปน็ เงนิ 10,000 10,000

4 ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารคณะจัดทาหลกั สูตร

(ครงั้ ที่ 2) จัดเวทีและประชาคมการพฒั นาหลักสูตร

ตอ่ เน่ืองเชือ่ มโยงการศึกษาข้ันพื้นฐานกบั อาชวี ศกึ ษา

และอุดมศึกษา โรงเรยี นท่ีเขา้ รว่ มโครงการ จัดทา

หลักสตู ร

- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดืม่ (35 คน x 2 ม้อื x 3,500 3,500

50 บาท)

- คา่ อาหารกลางวนั (35 คน x 1 ม้ือ x 300 บาท) 10,500 10,500

-ค่าพาหนะ 2,200 1,000 2,200

- ค่าเอกสาร 3,600 1,000

-วทิ ยากร 3,600

รวมเป็นเงนิ 3,600 16,200 1,000 20,800

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดรับจดั สรร)

89

การใช้จา่ ยงบประมาณ

ท่ี รายละเอียดกิจกรรม ค่าตอบแทน ค่าใช้ ค่าวสั ดุ รวม
สอย

5 นเิ ทศ ติดตาม 2,000 2,000

สถานศึกษา 2 แหง่

รวมเป็นเงิน 2,000 2,000

6 พฒั นาบุคลากรเก่ียวกบั หลกั สูตรตอ่ เนอื่ งเชอื่ มโยง 2,000 2,000

การศึกษาข้นั พนื้ ฐานกับอาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษา ท่ี

หน่วยงานต่าง ๆจัดขึน้

รวมเปน็ เงนิ 2,000 2,000

7 สรปุ โครงการ

- ค่าเอกสาร 1,400 1,400

รวมเปน็ เงิน 1,400 1,400

รวมเปน็ เงินทัง้ สน้ิ 3,600 53,000 3,400 60,000

(ขอถวั จ่ายทกุ รายการ)

9. แผนกำรใชง้ บประมำณ

โครงการไดร้ ับ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

งบประมาณทัง้ ส้ิน ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

60,000 - 35,000 21,600 3,400

10. กำรวิเครำะหค์ วำมเสยี่ งของโครงกำร

10.1 ปัจจัยความเส่ยี ง :

1) การระบาดของ ไวรัส COVID-19'

2) ความรว่ มมือของหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง

10.2 แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง :

1) ตดิ ต่อสอบถามทางโทรศพั ท์

2) แต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งานทีป่ ระกอบดว้ ยบุคลากรทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทไี่ ดรับจดั สรร)

90

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณท่ไี ดรับจัดสรร)

91

โครงกำร โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) เพอ่ื พัฒนาการศึกษาจงั หวัด

พระนครศรีอยุธยา

แผนงำนงบประมำณ  แผนงานพน้ื ฐาน  แผนงานยุทธศาสตร์  แผนงานบรู ณาการ

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงกำร นายประชมุ พันธ์เรืองและคณะ

ระยะเวลำดำเนนิ กำร ตุลาคม 256๓ – กันยายน 256๔

สอดคลอ้ งกับประเด็นยทุ ธศำสตร์

 ยทุ ธศำสตร์ชำติ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ใหม้ ีคณุ ภาพ

ยุทธศำสตร์ชำติ(หลกั ) ข้อ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน

ยุทธศำสตร์ชำติ(รอง) -

 แผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ

ประเด็น (หลกั ) ที่ ขอ้ 12 ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้

ประเดน็ (รอง) ท่ี -

 แผนปฏริ ปู ประเทศ ด้าน 12 ด้านการศกึ ษา

แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนา

ศักยภาพทนุ มนุษย์

นโยบายรัฐบาล ข้อ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวยั

ยุทธศาสตร์ ศธ. ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้

ยุทธศาสตร์ สป.ศธ. ท่ี 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษยใ์ หม้ ีคุณภาพ

ยุทธศาสตร์ ศธภ.1 ที่ 5 สง่ เสรมิ การนานวัตกรรมมาใช้ในการพฒั นา

ยทุ ธศาสตร์จงั หวัด ท่ี -

ยทุ ธศาสตร์แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวัด ที่ 1 พัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาของ

จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา

 ยทุ ธศาสตร์ ศธจ.อย. ท่ี ข้อ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

1. หลักกำรและเหตุผล
การทจี่ ะพฒั นาประเทศไทยไปสคู่ วามมัน่ คง มั่งคงั่ และยงั่ ยนื ใหเ้ กิดข้ึนในอนาคตนน้ั จะต้อง

ให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศท่ีมีอยู่ให้เข้มแข็งและมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อน
กระบวนการการพัฒนาทั้งในระยะกลางและระยะยาวโดยเฉพาะ“การพัฒนาคน”ให้มีการเตรียมความพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีส่ิงที่สาคัญท่ีสุดคือ ทักษะการเรียนรู้และการเสริมสร้างปัจจัย
แวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาคุณภาพของคนโดยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาประยุกต์ใช้ท้ังในเชิงระบบและโครงสร้างของสังคมไทย
ใหม้ ภี ูมิคุ้มกนั ต่อการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ ท่ีจะเกดิ ขึ้น

ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ไดก้ าหนดเป้าหมายการพฒั นาประเทศ คอื
“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมคี วามสขุ เศรษฐกิจพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง สังคมเป็นธรรม ฐานทรพั ยากร

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ไี ดรับจดั สรร)

92

ธรรมชาติยั่งยืน” พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความ
เสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือ
ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –
2564) ได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์และวางเป้าหมายท่ีสามารถตอบสนองการพัฒนาที่สาคัญในด้านต่าง ๆ
คือ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ยุทธศาสตร์พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ท่ีมุ่งหวัง
ใหค้ นไทยมคี ุณธรรมจริยธรรม มภี ูมิคมุ้ กันต่อการเปลีย่ นแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต ซงึ่ ตอบสนอง
การพัฒนาในด้านคุณภาพและด้านการตอบโจทย์บริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยุทธศาสตร์ผลิต
พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา ที่มุ่งหวังให้มีการผลิตครูไดส้ อดคล้องกับความต้องการในการ
จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้
อย่างเต็มที่ ซ่ึงตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากาลังคน
รวมท้ังงานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ ที่มุ่งหวังให้กาลังคนได้รับการผลิตและ
พัฒนาเพ่อื เสริมสร้างศกั ยภาพการแขง่ ขันของประเทศ และมอี งคค์ วามรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการ
พัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ และด้านการตอบโจทย์บริบทท่ี
เปลย่ี นแปลง ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่อง ต ล อ ด ชีวิต ที่มุ่ง ห วัง ให้ก าร บ ริกา ร การศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มทุกวัยในระดับท่ีเ หมาะสมกับสภาพ
บริบทและสภาพพ้ืนที่ ซ่ึงตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการและด้านความเท่าเทียม
ยทุ ธศาสตร์ 5 ยทุ ธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษาที่มุ่งหวังให้คนไทยได้รับ
โอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้าน
การเข้าถึงการให้บริการ ด้านความเท่าเทียม และด้านประสิทธิภาพ และยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์พัฒนา
ระบบบริหารจดั การ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ที่มุ่งหวังให้มีการใช้ทรัพยากร
ท้ังด้านงบประมาณและบุคลากรได้อย่างคุ้มค่า ไม่เกิดการสูญเปล่า และมีความคล่องตัว ซ่ึงตอบสนองการ
พฒั นาในดา้ นประสิทธิภาพ

จากรายงานสรุปผลการดาเนนิ การตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี 2562 พบวา่ ในแผนแมบ่ ท
ดา้ นการพัฒนาการเรียนรู้ ซึง่ มีเป้าหมายให้วัยเรียน วัยรุ่น มคี วามรู้และทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถว้ น รู้จัก
คิดวิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา
ปรับตัว สื่อสารและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีข้ึน ผลการประเมินด้านทักษะ อยู่ท่ี
62.30 คะแนน ต่ากว่า ปี 2561 ซ่ึงผลการประเมินอยู่ท่ี 63.00 และจากรายงานวิจัยเพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) พบว่า ปัญหาคุณภาพการศึกษาไทยสาเหตุหลักส่วนหนึ่ง เกิดจากระบบการศึกษา
ไทยไม่เอ้ือต่อการสร้างความรับผิดชอบ (Accountability) หลักสูตรและตาราเรียนของไทย ไม่สอดคล้อง
กับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 การทดสอบยังคงเน้นการจดจาเนื้อหามากกว่าการเรียนเพ่ือให้มี
ความรู้ ความเข้าใจอย่างแทจ้ ริง

กระบวนการบรหิ ารจดั การศึกษาท่ีมีคณุ ภาพประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ
บริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศ ติดตามและประเมินผล
ซ่ึงจะต้องมีความร้อยรัดสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี โดยต้องอาศัยความร่วมมือกันของบุคลากรท่ีเก่ียวข้องจาก
ทุกภาคส่วน การสร้างเครือข่ายในการทางานในแต่ละพื้นท่ี จึงมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา ซ่งึ จะตอ้ งมกี ารรว่ มคดิ รว่ มทาร่วมประเมนิ ผลอยา่ งตอ่ เนื่อง มกี ารพฒั นากระบวนการทางานและ

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณทไ่ี ดรับจดั สรร)

93

สร้างนวัตกรรมในการทางานให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพบริบทและความต้องการของแต่ละพ้ืนที่
รองรับการพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามร้แู ละทักษะในศตวรรษที่ 21

จากเหตุผลและความจาเป็นดงั กล่าว สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จึงได้
จัดทาโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) เพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ข้ึน
ซ่ึงเป็นโครงการต่อเนื่อง โดยการนาผลการวิเคราะห์และการวิจัยการพัฒนารูปแบบและแนวทางในการจัดการ
เรยี นการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและผลการวิเคราะหแ์ ละการวจิ ยั แนวทาง การนเิ ทศ ตดิ ตาม
และประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For Education) และโครงการ
“ Coaching Teams” เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา จากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 มาสรุป
หลอมรวมและใช้ในการวางแผนในการพัฒนาการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษา เพ่ือสร้างและพัฒนา
เครือข่ายความร่วมมือของบุคลากรในทุกภาคส่วนมาร่วมกันสร้างนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ทั้งในด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษา
เพ่อื ยกระดับคุณภาพของผเู้ รียนในดา้ นทกั ษะการเรียนรู้ ทกั ษะอาชีพ และทักษะชีวติ ในศตวรรษ ที่ 21

2. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงกำร
1. เพ่ือใหม้ ีศนู ย์กลางขอ้ มลู สารสนเทศ นวัตกรรม และการวิจยั ทางการศึกษาระดบั จังหวดั
2. เพ่ือส่งเสริม สนบั สนนุ พฒั นา นวตั กรรมการบริหารจดั การ การจัดการเรียนรู้การนเิ ทศ

ตดิ ตามและประเมนิ ผล
3. เพื่อวเิ คราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเผยแพรน่ วตั กรรมการบรหิ ารจดั การ การจัดการ

เรียนรู้ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล
4. เพื่อสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
5. เพ่ือส่งเสริม สนบั สนนุ พฒั นาใหส้ ถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดบั ชาติขัน้ พื้นฐานผา่ นเกณฑ์เพิม่ ข้นึ

3. เป้ำหมำย
3.1 เชงิ ปริมำณ (Output)
1. มศี นู ยก์ ลางขอ้ มูล สารสนเทศ นวัตกรรมและการวิจัยทางการศกึ ษา อยา่ งนอ้ ย 1 ศูนย์
2. มรี ูปแบบ แนวทาง นวตั กรรมกระบวนการบริหารจัดการศกึ ษา กระบวนการจดั การ

เรยี นการสอน และกระบวนการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล อยา่ งน้อยประเภทละ 1 รปู แบบ
3. มี Best Practices กระบวนการบริหารจดั การศกึ ษา กระบวนการจัดการเรียนการ

สอนและกระบวนการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล อยา่ งนอ้ ยประเภทละ 1 ชิน้
๔. มีเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างน้อย 5 เครือข่าย
5. มรี ายงานการวิจัย กระบวนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา กระบวนการจดั การเรียนการสอน

และกระบวนการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล อยา่ งนอ้ ยประเภทละ 1 ช้นิ

3.2 เชิงคณุ ภำพ (Outcome)
สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา หน่วยงานทางการศึกษา มีข้อมูลสารสนเทศ

ท่ีสมบูรณ์ เพื่อนาไปวางแผนในการพัฒนารูปแบบ แนวทาง นวัตกรรมกระบวนการบริหารจัดการศึกษา
กระบวนการจัดการเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศ ติดตามและประเมินผลอยา่ งมีประสิทธิภาพท่ีส่งผล
ตอ่ ผลการทดสอบการศกึ ษาระดบั ชาตสิ งู ขน้ึ

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ไี ดรับจดั สรร)

94

4. กลุม่ เป้ำหมำยโครงกำร (Target group)
หนว่ ยงานทางการศึกษา ผอู้ านวยการโรงเรียน ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ผูเ้ รยี นในสถานศึกษา

ท่เี ขา้ ร่วมโครงการ

5. ตวั ช้วี ัดและคำ่ เป้ำหมำย

5.1 เปำ้ หมำยเชิงผลผลิต (Outputs)

ที่ ตวั ช้ีวดั ค่าเปา้ หมาย

1 มีศูนย์กลางขอ้ มลู สารสนเทศ นวตั กรรมและการวิจัยทาง อย่างน้อย 1 ศูนย์

การศกึ ษา

2 มีรปู แบบ แนวทาง นวัตกรรมกระบวนการบรหิ ารจัดการศึกษา อยา่ งน้อยประเภทละ 1 รูปแบบ

กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

3 มี Best Practices กระบวนการบรหิ ารจดั การศึกษา กระบวนการ อยา่ งน้อยประเภทละ 1 ชน้ิ

จัดการเรียนการสอนและกระบวนการนเิ ทศ ติดตามและ

ประเมินผล

4 มเี ครอื ข่ายความรว่ มมือในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา อยา่ งน้อย 5 เครอื ข่าย

5 มีรายงานการวิจัย กระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการ อย่างน้อยประเภทละ 1 ชิ้น
จดั การเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศ ตดิ ตามและ
ประเมนิ ผล

5.2 เป้ำหมำยเชงิ ผลลัพธ์ (Outcomes)

ที่ ตวั ชี้วัด ค่าเป้าหมาย

1 สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หน่วยงาน มรี ปู แบบ แนวทาง นวตั กรรม

ทางการศกึ ษา มรี ูปแบบ แนวทาง นวตั กรรมกระบวนการบริหาร กระบวนการบริหารจัดการศึกษา

จดั การศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนและกระบวนการ กระบวนการจดั การเรียนการสอน

นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพที่ส่งผลต่อผล และกระบวนการนเิ ทศ ติดตาม

การทดสอบการศึกษาระดับชาติสงู ข้นึ และประเมนิ ผล

6. ระยะเวลำ/พนื้ ท่ีดำเนนิ กำร
ระยะเวลำ ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564
พ้ืนทีด่ ำเนินกำร หนว่ ยงานทางการศกึ ษา สถานศึกษา ในจังหวดั พระนครศรีอยุธยาท่ีเข้ารว่ มโครงการ

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดรบั จัดสรร)

95

7. กจิ กรรม/ระยะเวลำ/สถำนทด่ี ำเนนิ กำร/ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา สถานที่ ผูร้ บั ผิดชอบ
ท่ี กิจกรรมหลัก ดาเนินการ
สถานที่เอกชน กลุม่ นิเทศ
1 กิจกรรมท่ี 1 ตดิ ตาม
ศธจ.อย.หรอื และประเมนิ ผล
พฒั นาบคุ ลากรการดาเนนิ งานตามโครงการ Innovation ธันวาคม สถานท่ีเอกชน
ศธจ.และ
For Thai Education (IFTE) เพือ่ พฒั นาการศึกษาจงั หวดั 2563- ศธจ.อย.หรอื คณะกรรมการ
สถานที่เอกชน ขับเคล่ือน
พระนครศรอี ยธุ ยา กันยายน โครงการในแต่
ละพ้ืนที่
2564
ศธจ.และ
2 กิจกรรมท่ี 2 คณะกรรมการ
ขับเคลื่อน
ประชุมเชงิ ปฏิบัติการโครงการ Innovation For Thai กุมภาพันธ์ โครงการในแต่

Education (IFTE) เพ่ือพัฒนาการศึกษาจงั หวดั 2564 ละพ้ืนที่

พระนครศรีอยุธยา เพ่ือช้ีแจงการดาเนินงานตามโครงการ

3 กิจกรรมท่ี 3
ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารโครงการ Innovation For Thai กุมภาพันธ์

Education (IFTE) เพอ่ื วิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศผลการ 256๔
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาต(ิ O-NET)

๔ กจิ กรรมท่ี ๔ กุมภาพนั ธ์ ศธจ.อย.หรือ ศธจ.และ
ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารโครงการ Innovation For Thai 256๔ สถานทเ่ี อกชน คณะกรรมการ
Education (IFTE) เพื่อคัดเลือกโรงเรียนท่ีเข้าร่วม ขบั เคลื่อน
โครงการ โครงการในแต่
ละพ้ืนที่
๕ กิจกรรมที่ ๕
จดั สรรงบประมาณใหโ้ รงเรียนที่เข้ารว่ มโครงการ มนี าคม ศธจ.อย. ศธจ.อย.
2564
6 กิจกรรมที่ ๖
ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการโครงการ Innovation For Thai เม.ย. สถานทเ่ี อกชน ศธจ.และ
Education (IFTE) ฯ เพอ่ื พฒั นารปู แบบ แนวทาง 2564 หนว่ ยงาน
นวัตกรรมกระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการ
จัดการเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศ ติดตามและ ทางการศกึ ษา
ประเมินผล บุคลากร

โรงเรียนท่ีเข้า
รว่ มโครงการ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณท่ีไดรบั จัดสรร)

96

ที่ กิจกรรมหลัก ระยะเวลา สถานทดี่ าเนินการ ผรู้ ับผดิ ชอบ
7 กิจกรรมที่ 7 มนี าคม-
กนั ยายน หนว่ ยงาน ศธจ.และ
นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลหนว่ ยงานทางการศกึ ษา 2564 ทางการศกึ ษา คณะกรรมการ
และโรงเรียนที่เข้ารว่ มโครงการ และโรงเรยี นท่เี ข้า ขับเคลื่อน
กรกฎาคม ร่วมโครงการ โครงการในแต่
8 กิจกรรมที่ 8 2564
ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการโครงการ Innovation For Thai ละพ้ืนท่ี
Education (IFTE) เพ่อื คดั เลือก Best Practices สิงหาคม
รูปแบบ แนวทาง นวตั กรรมกระบวนการบริหารจัด 2564 ศธจ.อย.หรอื ผเู้ ชยี่ วชาญ
การศกึ ษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนและ สถานทเี่ อกชน ศธจ.และ
กระบวนการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล คณะกรรมการ
ขับเคลื่อน
9 กิจกรรมที่ 9 โครงการในแต่
ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการโครงการ Innovation For Thai ละพ้ืนที่
Education (IFTE) เพ่อื สรุป รายงานผลการดาเนนิ งาน
ตามโครงการ ศธจ.อย.หรอื ศธจ.และ
สถานท่เี อกชน คณะกรรมการ
ขับเคลื่อน
โครงการในแต่
ละพื้นที่

8. งบประมำณ : แผนงานบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ ีคุณภาพเท่าเทียมและท่ัวถึง

จานวนท้ังสน้ิ 284,000 บาท (สองแสนแปดหมืน่ สี่พันบาทถ้วน) รายละเอียดดงั นี้

การใชจ้ ่ายงบประมาณ

ที่ รายละเอยี ดกิจกรรม ค่าตอบแท ค่าใช้ ค่าวัสดุ รวม
น สอย

1 กิจกรรมท่ี 1 5,000 5,000

คา่ พาหนะ เบ้ยี เลย้ี งบุคลากรการดาเนินงานตาม

โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE)

เพอ่ื พฒั นาการศกึ ษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รวมเปน็ เงิน 5,000 - - 5,000

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีไดรับจดั สรร)

97

การใช้จ่ายงบประมาณ

ที่ รายละเอยี ดกิจกรรม ค่าตอบแท คา่ ใช้ คา่ วสั ดุ รวม
น สอย
2 กจิ กรรมที่ 2 1,820
ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการโครงการ Innovation For 1,820 - 3,120
Thai Education (IFTE) ฯเพ่ือชีแ้ จงการดาเนินงาน 4,800
ตามโครงการ 3,120 9,740
-ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม(26 คนๆละ 35 บาท 4,800
๒ มื้อ) เปน็ เงิน 4,800 4,940 1,400
-คา่ อาหารกลางวนั (26 คนๆละ120 บาท ๑ ม้ือ) 2,400
เป็นเงนิ 1,400 - 4,800
-ค่าเบีย้ เล้ยี ง/พาหนะ 8,600
รวมเปน็ เงนิ 2,400
4,800 980
3 กจิ กรรมที่ 3 4,800 3,800 1,680
ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการโครงการ Innovation For 2,400
Thai Education (IFTE)ฯ เพื่อวเิ คราะหผ์ ลการ 980 5,060
ทดสอบทางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน(O-NET) 60,000
- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื (20 คนๆละ35 บาท 1,680 - 60,000
2 มอ้ื )เป็นเงนิ 2,400
- คา่ อาหารกลางวนั (20 คนๆละ120 บาท ๑ มื้อ)
เป็นเงิน 2,400 2,660
- คา่ เบย้ี เลี้ยง/พาหนะ
รวมเปน็ เงนิ 60,000
60,000
4 กจิ กรรมท่ี 4
ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการ Innovation For
Thai Education (IFTE) ฯ เพ่อื คดั เลือกโรงเรยี นที่
เข้าร่วมโครงการ
- ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม(14 คนๆละ35 บาท
2 ม้ือ)เปน็ เงิน
- ค่าอาหารกลางวัน(14 คนๆละ120 บาท ๑ ม้ือ)
เปน็ เงนิ
- ค่าเบ้ียเลี้ยง/พาหนะ
รวมเป็นเงนิ

5 กิจกรรมท่ี 5
จดั สรรสอื่ วสั ดุอปุ กรณ์ให้กับโรงเรยี นท่ีเข้าร่วมโครงการ
รวมเป็นเงิน

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทไี่ ดรบั จัดสรร)

98

ที่ รายละเอยี ดกิจกรรม คา่ ตอบแท การใช้จา่ ยงบประมาณ รวม
คา่ ใชส้ อย คา่ วสั ดุ


6 กจิ กรรมท่ี 6

ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารโครงการ Innovation For

Thai Education (IFTE) ฯ เพ่อื พัฒนารูปแบบ

แนวทาง นวัตกรรมกระบวนการบริหารจัดการศึกษา

กระบวนการจัดการเรียนการสอนและกระบวนการ

นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล

-คา่ อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม(6๐ คนๆละ๕๐ บาท

๒ ม้อื เป็นเงนิ 6,๐00 6,๐00

-คา่ อาหารกลางวัน(6๐ คนๆละ3๐๐ บาท ๑ มอ้ื

เปน็ เงิน 1๘,๐๐๐ 1๘,๐๐๐
24,000 3,120 3,120
-ค่าวัสดุ เอกสาร เล่มรายงาน
24,000
-คา่ เบ้ยี เลย้ี ง/พาหนะ 24,000 7,200

-คา่ ตอบแทนวิทยากร 7,200 3,120 58,320

รวมเปน็ เงิน 31,200

7 กิจกรรมที่ 7

นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลสถานศกึ ษาทีเ่ ข้ารว่ ม

โครงการ

- คา่ เบยี้ เล้ียง พาหนะในการนิเทศ 60,000 60,000

รวมเปน็ เงิน 60,000 60,000

8 กิจกรรมที่ 8 36,000 6,000 6,000
ประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารโครงการ Innovation For 6,000 18,000
Thai Education (IFTE) ฯ เพอ่ื คดั เลือก Best 42,000 9,000 18,000
Practices 24,000 9,000 9,000
- ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม (6๐ คนๆละ ๕๐ บาท 36,000
๒ ม้อื เปน็ เงิน 6,000
-คา่ อาหารกลางวนั (6๐ คนๆละ3๐๐ บาท ๑ มื้อ
เปน็ เงนิ 75,000
-คา่ โลร่ างวลั
-ค่าเบ้ยี เล้ียง/พาหนะ
-ค่าตอบแทนกรรมการ

รวมเป็นเงนิ

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดรบั จดั สรร)

99

ท่ี รายละเอยี ดกิจกรรม การใช้จ่ายงบประมาณ รวม
ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย ค่าวสั ดุ
9 กจิ กรรมที่ 9
ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารโครงการ Innovation For 840 840
Thai Education (IFTE) ฯ เพือ่ สรุปและรายงานผล
การดาเนินงานตามโครงการ 1,440 1,440
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดืม่ (12 คนๆละ35 บาท
๒ มื้อ เปน็ เงนิ - 2,280 2,280
-ค่าอาหารกลางวัน(12 คนๆละ120 บาท ๑ มือ้
เป็นเงิน 150,200 61,680 72,120 284,000
-คา่ วัสดุ เอกสาร เล่มรายงาน
รวมเปน็ เงนิ
รวมเปน็ เงินทง้ั สิน้

(ขอถวั จา่ ยทุกรายการ)

9. แผนกำรใช้งบประมำณ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ

โครงการไดร้ บั งบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
ท้ังสิน้ - 137,280
118,320 28,400
284,000

10. กำรวเิ ครำะหค์ วำมเสี่ยงของโครงกำร
10.1 ปัจจยั ควำมเสยี่ ง
ความเสย่ี งดา้ นการดาเนนิ งาน เนื่องจากมีหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องในการดาเนนิ การจานวนมาก

และหลายหนว่ ยงานอาจทาให้เกดิ อุปสรรคในการทางานและการทาความเข้าใจ
10.2 แนวทำงกำรบรหิ ำรควำมเส่ยี ง
มีการแต่งตั้งคณะทางานฯ และประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจ กากับ ดูแล ติดตาม และ

ประเมินผลโครงการ และเน่ืองจากมีหน่วยงาน องค์กร และบคุ ลากรจากหลายภาคส่วนร่วมดาเนินการ ทาให้
เกิดความหลากหลายทางความคิด และประสบการณ์ การรวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้
จึงต้องดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบ

แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณทไ่ี ดรบั จัดสรร)

100

11. ผลทีค่ ำดวำ่ จะได้รับ
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหน่วยงานทางการศึกษา มีเครือข่ายและ

แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ระดับจังหวัด
ที่สอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของพ้ืนที่ เกิดรูปแบบ แนวทาง นวัตกรรม รูปแบบ แนวทาง นวัตกรรม
กระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลซึ่งจะส่งผลให้จานวนนักเรียนท่มี ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐานแต่ละรายวิชาผ่านเกณฑ์
คะแนนรอ้ ยละ 50 เพิ่มขน้ึ

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณทีไ่ ดรับจดั สรร)

101

ชือ่ โครงกำร : โครงกำรอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิกำรครผู สู้ อนเพศวิถศี กึ ษำและทักษะชวี ติ
แผนงำนงบประมำณ แผนงำนพน้ื ฐำน  แผนงำนยทุ ธศำสตร์ *แผนงำนบรู ณำกำร
ผ้รู ับผดิ ชอบโครงกำร นำงอัจฉรำภรณ์ กนกอุดม นำงสำวเพ็ญจันทร์ รื่นเนตร และคณะ
ระยะเวลำดำเนนิ กำร ๑ ธันวำคม ๒๕๖๓ – ๓๐ กนั ยำยน ๒๕๖๔
สอดคลอ้ งกับประเดน็ ยุทธศำสตร์

 ยุทธศำสตรช์ ำติ
ยุทธศำสตร์ชำติ (หลัก) ดำ้ นกำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งศกั ยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์

 แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์
ประเดน็ (หลกั ) ท่ี ๑๑ ศกั ยภำพตลอดชว่ งชีวิต

 แผนปฏิรูปประเทศดำ้ นกำรศกึ ษำ
 แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี ๑๒ ยุทธศำสตรท์ ่ี ๑ กำรเสริมสรำ้ งศักยภำพ

ทรพั ยำกรมนุษย์
 นโยบำยรัฐบำลกำรเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑
 ยุทธศำสตร์ ศธ ท่ี ๓ ด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งทรัพยำกรมนุษย์
 ยทุ ธศำสตร์ สป.ศธ. ท่ี ๓ ดำ้ นกำรพฒั นำและเสรมิ สรำ้ งศกั ยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์
 ยุทธศำสตร์จงั หวัด ท่ี -
 ยทุ ธศำสตรแ์ ผนพัฒนำกำรศกึ ษำจงั หวัด ท่ี ๓ พฒั นำคุณภำพและกระบวนกำรเรียนรู้ของ

ผเู้ รียนสู่ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑
 ยุทธศำสตร์ ศธจ.อย. ที่ ๓ ด้ำนกำรพัฒนำและเสรมิ สร้ำงศักยภำพทรพั ยำกรมนุษย์
๑. หลักกำรและเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกและภูมิภาคท้ังในด้านเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีพัฒนาแบบก้าวกระโดด
สภาพภูมิอากาศการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการค้าระดับภูมิภาคและระดับโลก รูปแบบเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศท่ีมีการบูรณาการและเช่ือมโยงเศรษฐกิจของโลกเข้าด้วยกัน การเปล่ียนแปลงทางสังคม ภูมิ
ปัญญาและวัฒนธรรม ปัจจัยเหล่านี้ล้วนนามาซ่ึงการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วิถีชีวิต รูปแบบเศรษฐกิจและ
ปฏิสัมพันธ์ของคนในสังคมไทย จึงจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้กับคนทุกช่วงวัยให้สามารถดารงชีวิตใน
สังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ให้มีการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และทักษะ
คุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยตรงตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 และยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 และ
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๙
ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนา
ระบบการศึกษาท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตท่ีมีคุณภาพ และมีระบบการดูแล
ช่วยเหลือท่ีเหมาะสม เพื่อให้เด็กและวัยรุ่นมีพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย และสอดคล้องกับช่วงวัยด้วย
รูปแบบการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีทัศนคติที่ดีมีข้อมูลรอบด้าน ได้ฝึกทักษะการ
วิเคราะห์เท่าทัน และเกิดความตระหนักในคุณค่าตนเอง รู้จักเคารพให้เกียรติ ยอมรับความแตกต่างระหว่าง
บุคคล และความเสมอภาคทางเพศ รวมทั้งสามารถตัดสินใจโดยใช้เหตุผล และรับผิดชอบการตัดสินใจของ
ตนเอง ไดร้ ับการดแู ลชว่ ยเหลือและคมุ้ ครองอย่างเป็นระบบเมื่อประสบปญั หา

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ดรบั จัดสรร)

102

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสาคัญของ
การสง่ เสรมิ การเรียนรดู้ ้านเพศวถิ ีศึกษาและทักษะชีวติ ที่มีคุณภาพ และมรี ะบบการดูแลชว่ ยเหลือทีเ่ หมาะสม
จึงกาหนดจัดโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต เพ่ือสนับสนุนให้มีการ
จดั การเรียนรูเ้ พศวิถศี ึกษาและทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.1 เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนาครใู หม้ คี วามรู้ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้เพศวถิ ศี ึกษา
๒.๒ เพอื่ ให้ครูผูส้ อนสามารถใหค้ าปรึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภใ์ นวยั รนุ่

๓. เป้ำหมำย
๓.1 เชงิ ปรมิ ำณ
ครแู นะแนว หรอื ครสู ุขศึกษา หรอื ครผู รู้ บั ผิดชอบงานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น จานวน ๓๐ คน
๓.2 เชิงคณุ ภำพ
ครูผู้สอน มีความรู้ ความเข้าใจ การจัดกระบวนการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต ได้อย่าง

มีประสิทธิภาพ

๔. กลมุ่ เป้ำหมำยโครงกำร
ครูแนะแนว หรือครสู ุขศกึ ษา หรอื ครผู รู้ บั ผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ของโรงเรียนเอกชน

ในสังกัด

๕. ตวั ชว้ี ัดค่ำเปำ้ หมำยโครงกำร คา่ เป้าหมาย
๕.๑ เปำ้ หมำยเชิงผลผลติ (Output) จานวน ๓๐ คน

ตัวชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ
จัดอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแก่ครูแนะแนว หรือครสู ุขศึกษา หรอื ครผู ู้รบั ผดิ ชอบ
งานระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น โรงเรียนเอกชนในสังกดั 80

๕.๒ เป้ำหมำยเชิงผลลัพธ์ (Outcome)

ตัวชี้วดั

ครูผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการจัดการเรียนรู้
เพศวิถีศึกษาและทกั ษะชีวติ

๖. ระยะเวลำ /พืน้ ทดี่ ำเนินกำร
ระยะเวลำ ธันวาคม ๒๕๖๓ – กนั ยายน ๒๕๖๔
พืน้ ทีด่ ำเนนิ กำร ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรพั ย์ครพู ระนครศรีอยุธยา

แผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดรับจัดสรร)

103

๗. กิจกรรม/ระยะเวลำ/สถำนทดี่ ำเนินกำร/ผรู้ บั ผิดชอบ

ท่ี กจิ กรรมหลกั ระยะเวลำ สถำนที่ดำเนนิ กำร ผู้รบั ผดิ ชอบ

๑ เสนอแตง่ ต้ังคณะทางาน ธนั วาคม ศธจ. กลุม่ พัฒนา
พระนครศรีอยุธยา การศกึ ษา
๒๕๖๓

๒ จดั ประชุมคณะทางาน มกราคม ห้องประชุม ศธจ. กลุ่มพัฒนา
การศกึ ษา
๒๕๖๔ พระนครศรีอยธุ ยา คณะทางาน

๓ จัดอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารครผู สู้ อนเพศวิถีศึกษาและ เมษายน- หอ้ งประชุม คณะทางาน

ทักษะชีวติ มถิ ุนายน สหกรณ์ออมทรัพย์

๒๕๖๔ ครู

พระนครศรอี ยธุ ยา

4 สรุปและรายงานผล มถิ นุ ายน – หอ้ งประชุม ศธจ.

กนั ยายน พระนครศรีอยธุ ยา

๒๕๖๔

๘. งบประมำณ: แผนงานยทุ ธศาสตร์เพอ่ื สนบั สนนุ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์
ผลผลติ นโยบายและแผนดา้ นการศึกษา สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
จานวนทั้งสิ้น ๔๐,๐๐๐ บาท (สหี่ มน่ื บาทถ้วน) รายละเอยี ดดงั นี้

ท่ี รำยละเอยี ดกิจกรรม กำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ

คำ่ ตอบแทน คำ่ ใชส้ อย ค่ำวสั ดุ รวม
-
๑ เสนอแตง่ ต้งั คณะทางาน - -- -

๒ จดั ประชุมคณะทางาน - -- ๓๙,๐๐๐
-
๓ จดั อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารครูผสู้ อนเพศวถิ ีศึกษาและ
๔๐,๐๐๐
ทักษะชวี ติ หลกั สูตร ๒ วัน

- คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม

(4๕ คน x ๒ ม้อื x ๓๕ บาท x ๒ วัน) ๖,๓๐๐

- ค่าอาหารกลางวนั

(๔๕ คน x ๑ ม้อื x ๑๒๐ บาท x ๒ วัน) ๑๐,๘๐๐

- ค่าวิทยากร ๒๐,๐๐๐

- ค่าวสั ดแุ ละคา่ ป้ายไวนลิ ๑,๙๐๐

รวม ๒๐,๐๐๐ ๑๗,๑๐๐ ๑,๙๐๐

๔ สรปุ และรายงานผล - - ๑,๐๐๐

รวมท้ังสิน้ 20,000 17,๑๐๐ ๒,๙๐๐

*(ขอถวั จ่ำยทกุ รำยกำร)

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทีไ่ ดรบั จัดสรร)

104

๙. แผนกำรใช้งบประมำณ

โครงกำรได้รับ แผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ

งบประมำณ ไตรมำส ๑ ไตรมำส ๒ ไตรมำส ๓ ไตรมำส ๔

ทง้ั ส้นิ

40,000 - - 39,000 1,000

๑๐. กำรวเิ ครำะห์ควำมเสี่ยงของโครงกำร

๑๐.๑ ปัจจยั ความเสีย่ ง : ครูท่ีเข้ารับการอบรมอาจไมต่ รงกับเป้าหมายของโครงการ

๑๐.๒ แนวทางการบรหิ ารความเสย่ี ง : ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ แก่ผู้บรหิ ารสถานศึกษาในการสง่ ครู

เข้ารับการอบรม

1๑. ผลท่ีคำดวำ่ จะได้รบั
๑๑.1 ครทู ่ผี า่ นการอบรม สามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนเพศวถิ ีศึกษาและทกั ษะชีวติ อย่าง

มปี ระสทิ ธภิ าพ
1๑.2 นักเรียน มคี วามรู้ดา้ นเพศวถิ ีศกึ ษา มีทักษะชีวิตทด่ี ี รวมถึงได้รับการชว่ ยเหลืออย่างเหมาะสม

เม่ือประสบปัญหา

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ดรบั จดั สรร)

105

โครงกำร ขับเคลอื่ นการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พ้ืนที่

ประจาปงี บประมาณ 2564

แผนงำนงบประมำณ  แผนงานพื้นฐาน  แผนงานยทุ ธศาสตร์  แผนงานบรู ณาการ

ผู้รบั ผิดชอบโครงกำร กลุม่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั

พระนครศรีอยุธยา

ระยะเวลำดำเนนิ กำร ตลุ าคม 2563 ถงึ กนั ยายน 2564

สอดคล้องกับประเดน็ ยทุ ธศำสตร์

 ยุทธศาสตรช์ าติ

ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ที่ 11 ศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ (แผนยอ่ ยท่ี 3.2)

การพฒั นาเดก็ ต้งั แตช่ ่วงการต้งั ครรภจ์ นถึงปฐมวัย

 แผนปฏิรูปประเทศ ดา้ นการศึกษา ประเด็นการปฏิรูปท่ี 2 การปฏริ ูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรยี น

 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560 – 2565)

ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศาสตรก์ ารเสริมสร้างและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์

 นโยบายรัฐบาล นโยบายหลกั ข้อท่ี 8 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทย

ทกุ ช่วงวัย นโยบายเร่งดว่ นข้อท่ี 7 การเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21

 ยทุ ธศาสตร์ ศธ. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสังคม

แหง่ การเรียนรู้

 ยุทธศาสตร์ สป.ศธ. ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ให้มีคณุ ภาพ

 ยุทธศาสตร์ ศธภ.1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 สร้างโอกาสทางการศึกษาของประชาชนทุกคนทุกช่วงวยั อยา่ ง

ทัว่ ถึงเทา่ เทยี มและสง่ เสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ

 ยทุ ธศาสตร์จงั หวัด -

 ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาการศึกษาจงั หวัด ที่ 3.พฒั นาคุณภาพและกระบวนการเรยี นรู้

ของผรู้ ับบรกิ ารทางการศึกษา

 ยุทธศาสตร์ ศธจ.อย. ท่ี 3 พัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ให้มคี ุณภาพ

1. หลกั กำรและเหตุผล
ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 54 รัฐต้อง

ดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่าง
มีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา
ตามวรรคหน่ึง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและ
สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วย ท้ังน้ี ตาม
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ
การดาเนินการ และตรวจสอบการดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย ในการดาเนินการให้
เดก็ เล็กได้รับการดูแลและพัฒนารัฐตอ้ งดาเนินการใหผ้ ู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยใน

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณทไี่ ดรับจัดสรร)

106

การศึกษาตามความถนัดของตน ประกอบกับพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562
กาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นคณะกรรมการระดับชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็น
ประธาน มีอานาจในการจัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย เสนอต่อคณะรัฐมนตรเี พ่ือให้
ความเห็นชอบ ประสานงาน กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย บูรณาการการทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรอ่ืนใดที่เก่ียวข้องในระดับชาติถึง
ระดับชุมชน เสนอหรือแก้ไขกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง จัดให้มีและพัฒนาฐานขอ้ มูลเด็กปฐมวัย เสนอความเห็นต่อ
คณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการจัดทางบประมาณแบบบูรณาการของหน่วยงานรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายการดาเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ คือ การมี
แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ และการพัฒนาระบบ
สารสนเทศ

นอกจากนั้น นโยบายรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา
เม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 ได้กาหนดให้การส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นนโยบายหลักของ
นโยบายปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนา ศักยภาพคนไทยทุกช่วงวัย รวมถึงรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ นายณัฐพล ทีปสุวรรณ ได้มอบนโยบายให้ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการ
ในโอกาสเข้ารับตาแหน่งอย่างเป็นทางการได้กาหนด ให้การศึกษา ปฐมวัยเป็นนโยบายสาคัญด้วย ดังน้ัน
เพ่ือให้การดาเนินงาน ของกระทรวงศึกษาธิการ มีกรอบทิศทางและเป้าหมายการดาเนินงานในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการขับเคล่ือน การพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านการจัดการศึกษาท่ีชัดเจน เป็นไปตามข้อกาหนดของ
กฎหมาย สอดคล้อง กับแนวนโยบายและเป้าหมายการพัฒนาของ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการ และแผนอ่ืน ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง เพ่ือให้เกิดการรวมพลัง ในการผลักดันและขับเคล่ือน
การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องเพ่ือให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
มีความพร้อมสาหรับการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงข้ึน เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ ตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์
ชาติ

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ประสานกับทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการด้านการจัดการศึกษาปฐมวัยของ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2563-2565 ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1.กาหนดกรอบทิศทางและเป้าหมาย
ของการจัดการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการ ในช่วงปี 2563-2565 และให้หน่วยงานในสังกัดท่ี
เกี่ยวข้องนาไปใช้เป็นกรอบแนวทาง การดาเนินงานของหน่วยงาน 2.ให้ผู้บรหิ ารกระทรวงศึกษาธิการใช้เป็น
เคร่ืองมือในการบริหารงาน จัดสรรงบประมาณ กากับ ติดตาม และประเมินผลความสาเร็จของการจัด
การศึกษาปฐมวัยในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ 3.ใช้เป็นกรอบทิศทางและเป้าหมายการดาเนินงาน
สาหรับการบูรณาการการทางานร่วมกัน หรือส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ขอบเขตของแผน ตามกฎหมายกาหนดให้กระทรวงศึกษาธิการมีอานาจ
หน้าท่เี กีย่ วกบั การส่งเสริมและกากับดแู ล การศึกษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท

ปั จจุบั นการดาเนิ นงาน เกี่ยวกับ การจัดการศึกษ าเด็กป ฐมวัย มีห น่ วยงาน ใน สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการที่เก่ียวข้อง ได้แก่ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซงึ่ ทุกหนว่ ยงานมีความคบื หนา้ ของการดาเนินงานตามภารกจิ

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
(ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ีไดรบั จัดสรร)

107

ท่ีเก่ียวข้องมาเป็นลาดับ สาหรับในส่วนของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับจัดสรรงบประมาณ
เพ่ือการดาเนินงานเก่ียวกับ การส่งเสริมและพัฒ นาการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัยในระดับพื้นที่
ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซ่ึงสานักงานศึกษาธิการจังหวัดได้มีการดาเนินงานใน 4 เรื่องหลัก โดยมีผล
การดาเนนิ งานที่สาคญั ได้แก่

1. สรา้ งความร้คู วามเข้าใจผบู้ ริหาร ครู ผู้ดแู ลเดก็ และผเู้ กี่ยวขอ้ งทง้ั ภาครฐั และเอกชน
2. จัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศเดก็ ปฐมวยั
3. การคัดเลือก รวบรวม และขยายผล งานวิจัย นวัตกรรม รูปแบบและแนวปฏิบัติที่ดีของการจัด
การศกึ ษาปฐมวัย
4. การนิเทศ กากับ ติดตามความคืบหน้าของการดาเนินงานของโรงเรียนในโครงการ เป็นระยะ
อย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น ในการดาเนินงานข้างตน้ สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ได้มีการประสานงาน สรา้ ง
ความรว่ มมอื และบูรณาการการทางานร่วมกับหน่วยงานของกระทรวงหลกั ที่เกยี่ วข้องในพน้ื ทเี่ ปน็ อย่างดี
ดังน้ันเพ่ือให้การขับเคล่ือนสนับสนุนส่งเสริม และพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในจังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยาเป็นไปอย่างต่อเน่ือง และมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับข้อกาหนดของกฎหมาย สานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงจัดทาโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยใน
ระดับพนื้ ท่ขี ึ้น
2. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการดูแลและพัฒนาในการจัดการศึกษาปฐมวัย
อยา่ งทั่วถึง และมพี ัฒนาการสมวัย
2. เพ่ือส่งเสรมิ สนับสนุน และพฒั นาสถานศกึ ษา/สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน
สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
3. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ การตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมี
สว่ นร่วมในการสง่ เสริม สนบั สนนุ การดแู ล พฒั นาและการจัดการศกึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
3. เป้ำหมำย
3.1 เชงิ ปรมิ ำณ (Output)

1) เด็กปฐมวัย (อายุ 3-5 ปี) ได้รับการดแู ล พัฒนา จดั ประสบการณ์เรียนรู้ และจัดการศกึ ษา
ให้มพี ัฒนาการสมวยั ในทุกดา้ น

2) สถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ทุกแห่งได้รับการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้มี
คุณภาพข้นั ตน้ ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2561

3) ผู้บรหิ าร ครู ผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน มีความรู้ความ
เข้าใจ ตระหนัก และมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแล พัฒนาและการจัดการศึกษาสาหรับเด็ก
ปฐมวัย

3.2 เชงิ คณุ ภำพ (Outcome)
เดก็ ปฐมวยั (อายุ 3-5 ป)ี มพี ัฒนาการสมวยั ในทุกด้าน

4. กลุ่มเป้ำหมำยโครงกำร (Target group)
1) เดก็ ปฐมวยั (อายุ 3-5 ป)ี
2) สถานศกึ ษาและสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในโครงการ
3) ผูบ้ รหิ าร ครู ผูป้ กครอง ผู้ดแู ลเดก็ ผรู้ บั บริการ และผมู้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ งทุกภาคส่วน

แผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณทไี่ ดรับจดั สรร)

108

4) หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องกบั การจดั การศึกษาปฐมวยั ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดแ้ ก่ สานักงาน

พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวัด,ทอ้ งถ่ินจังหวดั ,สาธารณสุขจังหวดั ,สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา เขต 1 ,สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพระนครศรอี ยุธยา เขต 2,

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น,สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน,สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ,

องค์การภาคเอกชน, มูลนิธิ ฯลฯ

5. ตัวชี้วัดค่ำเป้ำหมำย

5.1 เปำ้ หมำยเชิงผลผลิต (Output)

ตวั ช้วี ัด คา่ เปา้ หมาย

1) เด็กปฐมวยั (อายุ 3-5 ปี) ของโรงเรียนในโครงการไดร้ บั การดแู ล พัฒนา รอ้ ยละ 100

จัดประสบการณ์เรยี นรู้ และจัดการศึกษาใหม้ พี ัฒนาการสมวัยในทกุ ด้าน

2) สถานศกึ ษา/สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยในโครงการ มคี ณุ ภาพ ร้อยละ 80

ระดบั ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต้นตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2561

ตวั ชวี้ ดั ค่าเปา้ หมาย
รอ้ ยละ 90
3) ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วน
จานวนไม่น้อยกว่า 100 คน ได้รับการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาให้มีความรู้
ความเข้าใจ มีความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล พัฒนาและจัด
การศกึ ษาใหเ้ ด็กปฐมวัย

5.2 เปำ้ หมำยเชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome) ค่าเป้าหมาย
ตวั ชว้ี ดั ร้อยละ 90

เดก็ ทีจ่ บการศกึ ษาระดับปฐมวยั มพี ัฒนาการสมวัยในทุกดา้ น อยใู่ นระดบั ดี

6. ระยะเวลำ/พนื้ ท่ีดำเนินกำร
ตลุ าคม 2563 ถึง กันยายน 2564
พ้ืนท่ดี าเนินการ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดรับจัดสรร)

109

7. กิจกรรม/ระยะเวลำ/สถำนท่ีดำเนินกำร/ผ้รู บั ผดิ ชอบ

ท่ี กจิ กรรมหลัก ระยะเวลา สถานท่ี ผู้รบั ผิดชอบ

ดาเนนิ การ

1 กิจกรรมท่ี 1 สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยไดร้ ับกำรดูแล

และพัฒนำในกำรจัดศึกษำปฐมวัยอย่ำงท่ัวถึง และมี

พัฒนำกำรสมวัย

๑. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจง/ทบทวนเร่ือง ม.ค. - สถานที่ กลุม่ นิเทศฯ

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ และการ ก.พ. 64 ราชการ ศธจ.อย./สพป.อย.1/

จดั เก็บรวบรวมข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 สพป.อย.2/พมจ.อย/

ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามแบบบันทึกการประเมิน สช./

ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ให้แก่ ท้องถิน่ จังหวดั

ผู้รับผิดชอบ/ผู้แทน ทุกสังกัดท่ีมีสถานพัฒนาเด็ก

ปฐมวยั

2. รวบรวมและสรุปข้อมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัย พ.ค.-ม.ิ ย. ศธจ.อย. กลมุ่ นเิ ทศฯ

(เดก็ 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 ตามมาตรฐานสถาน ๖๔ ศธจ.อย./สพป.อย.1/

พั ฒ น า เด็ ก ป ฐ ม วั ย แ ห่ ง ช า ติ เป็ น ภ า พ ร ว ม ใน ร ะ ดั บ สพป.อย.2/พมจ.อย/

จังหวัด สช./

3 . จัดท าเอกสารรายงาน ข้อมู ลสารสนเท ศ ศธจ.อย. ทอ้ งถ่ินจังหวัด

พัฒนาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา พ.ค.-ม.ิ ย. กลมุ่ นเิ ทศฯ ศธจ.อย.

2563 ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ 64

ระดับจังหวัด

4. รายงานขอ้ มูลสารสนเทศพฒั นาการเด็กปฐมวัย ภายใน ศธจ.อย. กลุ่มนเิ ทศฯ ศธจ.อย.

(เด็ก 3-6 ปี) ปกี ารศึกษา 2563 ตามมาตรฐานสถาน 15 ก.ค.

พัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาตริ ะดับจังหวดั นาส่ง ๖๔

สานกั งานศึกษาธิการภาค

5. เผยแพรห่ น่วยงานการศึกษาทีเ่ ก่ยี วข้อง ศธจ.อย. กล่มุ นเิ ทศฯ ศธจ.อย.

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดรับจัดสรร)

110

ท่ี กจิ กรรมหลกั ระยะเวลา สถานท่ี ผู้รบั ผดิ ชอบ

ดาเนนิ การ

๒ กิจกรรมท่ี 2 กำรนเิ ทศ กำกับ ติดตำมกำร

ดำเนนิ งำน

1. แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ กากับ ม.ค. 64 สถานทร่ี าชการ กลมุ่ นเิ ทศฯ

ติดตาม วางแผนการดาเนินงานและกาหนด ศธจ.อย./สพป.อย.1/

กรอบแนวทางการดาเนนิ งาน จัดทาคู่มือการ สพป.อย.2/

นิเทศ และ ปฏิทินการนิเทศ กากับ ติดตาม พมจ.อย/สช./

ผ ล ก า ร ด า เนิ น ง า น ข อ ง ส ถ า น พ ัฒ น า เด ็ก ท้องถน่ิ จงั หวดั

ปฐมวัย ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถาน

พัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ

2. ประสานหน่วยงานต้นสังกัดและ ก.พ.-ม.ี ค. 64 ศธจ.อย.

ดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตามผลการ กลุ่มนิเทศฯ ศธจ.อย.

ดาเนินงานของสถานพัฒนา เด็กปฐมวัย

3. รวบรวม วิเคราะห์ และสรปุ ผลการนิเทศ พ.ค.-ม.ิ ย. 64 ศธจ.อย. กลุ่มนิเทศฯ ศธจ.อย.

4. สรุปและจัดทารายงานผลการดาเนินงาน เพื่อ ภายใน 14 ศธจ.อย. กลุ่มนิเทศฯ ศธจ.อย.

รายงานสานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค ก.ค.64

3 กิจกรรมท่ี ๓ สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ

กำรตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรพัฒนำ

เด็กปฐมวัย และกำรมีส่วนร่วมในกำร สป.

สง่ เสริม สนับสนุนกำรดูแล พัฒนำและกำร

จัดกำรศกึ ษำสำหรับเด็กปฐมวัย กลุม่ นิเทศฯ

3.1 การสรา้ งการรับรดู้ ้วยระบบออนไลน์ ม.ค.–ม.ิ ย.64 สป. ศธจ.อย./สพป.อย.1/

(สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจัดทา) สพป.อย.2/

๓.๒ การสร้างการรับร้กู ารจดั การศึกษา ม.ค.-ก.ค.64 สถานทร่ี าชการ พมจ.อย/สช./

ปฐมวยั ตามบรบิ ทและความตอ้ งการของแต่ ทอ้ งถน่ิ จังหวัด

ละพืน้ ท่ี

๔ กิจกรรมท่ี ๔ กำรคัดเลือกหรือสรรหำ ภายใน โรงเรียน กลุม่ นิเทศฯ

รูป แ บ บ /วิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ เป็ น เลิ ศ (Best 15 ก.ค. ๖๔ ในโครงการ ศธจ.อย./สพป.อย.1/

Practices) สพป.อย.2/

พมจ.อย/สช./

ท้องถ่ินจังหวัด

๕ กจิ กรรมที่ ๕

พัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการจัดการศึกษา ต.ค.2563 สถานที่ หนว่ ยงานทีจ่ ดั อบรม

ปฐมวัยในการเข้าร่วมอบรมสัมมนาที่ ถงึ ราชการ/ พฒั นาเก่ียวกบั การ

หนว่ ยงานตา่ งๆจดั ขึ้น ก.ย.2564 สถานท่ีเอกชน จดั การศกึ ษาปฐมวยั

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดรับจัดสรร)

111

8. งบประมำณ : แผนงานยทุ ธศาสตร์เพอื่ สนบั สนนุ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

จานวนท้งั สิ้น 60,000 บาท (หกหม่ืนบาทถว้ น) รายละเอียดดังน้ี

ที่ รายละเอยี ดกจิ กรรม การใชจ้ ่ายงบประมาณ

ค่าตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ รวม

1 1.1จดั ประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารชี้แจง/ทบทวนเรอ่ื ง - ๗๐๐ - ๗๐๐
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ และการ - 1,200 - 1,200
จดั เก็บรวบรวมข้อมูลพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั - - 1,๐00 1,๐00
(เด็ก 3-6 ปี) ปีการศึกษา 2563 - 1,900 1,๐00 2,900

-ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม(10คนx2ม้ือx35บาท) - ๗๐๐ - ๗๐๐
- 1,200 - 1,200
-คา่ อาหารกลางวนั (10คน x 1มื้อ x 120บาท) - - 1,๐00 1,๐00
- 1,900 1,๐00 2,900
-ค่าวสั ดุ
รวมเปน็ เงนิ - - 1,000 1,000
- - 1,000 1,000
1.2 รวบรวมสรุปข้อมูลและจัดทาเอกสารรายงาน
พฒั นาการเด็กปฐมวัย (เด็ก 3-6 ปี) ปี 2563 - ๒,000 - ๒,000
ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ
เปน็ ภาพรวมในระดับจงั หวัด - - 1,000 1,000

-คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื (๑๐คนx2ม้ือx35บาท) - ๒,000 1,000 ๓,000

-ค่าอาหารกลางวัน (๑๐คน x 1มอ้ื x 120 บาท) - - ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐

-คา่ วัสดุ

รวมเปน็ เงิน
1.3จดั ทาเอกสารรายงานข้อมูลสารสนเทศพัฒนาการเด็ก
ปฐมวยั (เด็ก3-6 ป)ี ปกี ารศึกษา2563ตามมาตรฐานสถาน
พฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ ระดบั จังหวัด

-ค่าวัสดุ
รวมเป็นเงนิ

2 นเิ ทศติดตามผลการดาเนินงาน ปัญหา อปุ สรรค
และแนวทางแก้ปัญหา

-คา่ พาหนะผ้อู อกนิเทศ

-ค่าวัสดุ

รวมเปน็ เงิน
3 สรา้ งความรู้ ความเข้าใจการตระหนักถงึ ความสาคัญของการ

พัฒนาเด็กปฐมวยั และการมีส่วนรว่ มในการส่งเสริมสนบั สนนุ
การดูแลพฒั นาและการจัดการศึกษาสาหรบั เดก็ ปฐมวัย
๓.๑การสร้างการรบั รดู้ ว้ ยระบบออนไลน์ (สานกั งาน
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจัดทา)-
ค่าวสั ดุ

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ไี ดรบั จดั สรร)

112

การใช้จา่ ยงบประมาณ

ท่ี รายละเอยี ดกจิ กรรม คา่ ตอบแทน คา่ ใช้ ค่าวสั ดุ รวม
สอย

3 ๓.๒ การสรา้ งการรบั ร้กู ารจัดการศึกษาปฐมวัย

จัดประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารรปู แบบการจัดกิจกรรม

สาหรับเด็กปฐมวัย

-คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 1,800 - - 1,800

-คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื (100คน x 2มอื้ x - 7,000 - 7,000
35บาท)

-คา่ อาหารกลางวัน (100คน x 1มอ้ื x 150 บาท) - 15,000 - 15,000

-ค่าวัสดุ - - 3,000 3,000

รวมเป็นเงิน 1,800 22,000 4,000 27,800

๔ คดั เลอื กผลการวิจยั นวตั กรรมรูปแบบและแนว

ปฏิบัติทด่ี ี (Best practice) จานวน 2 เร่อื ง

-ค่าตอบแทนคณะกรรมการตัดสนิ 6,000 - - 6,000

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดมื่ (20คน x 2มื้อ x 35 - 1,400 - 1,400
บาท)

-คา่ อาหารกลางวัน (20คน x 1มือ้ x 120บาท) - 2,400 - 2,400

-คา่ วสั ดุ - - 5,800 5,800

รวมเป็นเงนิ 6,000 3,800 5,800 15,600

๕ พฒั นาบุคลากรเกย่ี วกบั การจัดการศึกษาปฐมวยั ใน - 6,800 - 6,800

การเข้ารว่ มอบรมสัมมนาท่หี น่วยงานต่างๆจดั ขึน้

รวมเปน็ เงนิ - 6,800 - 6,800

รวมเป็นเงนิ ทง้ั ส้ิน 7,800 38,400 13,800 60,000

(ขอถวั จ่ายทกุ รายการ)

9. แผนกำรใชง้ บประมำณ

โครงการไดร้ บั แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

งบประมาณทัง้ สน้ิ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

๖๐,๐๐๐.๐๐ - 6,500 8,100 45,400

10. กำรวเิ ครำะหค์ วำมเสย่ี งของโครงกำร
10.1 ปัจจยั ความเสยี่ ง :
ความเส่ียงดา้ นความร่วมมือของหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งเนอื่ งจากมหี น่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องในการ

ดาเนินการเป็นจานวนมาก อาจทาให้เกดิ อุปสรรคในเร่ืองการสื่อสารและความไม่เข้าใจตรงกัน
10.2 แนวทางการบรหิ ารความเสย่ี ง : มกี ารแตง่ ตั้งคณะทางานฯ ท่ปี ระกอบดว้ ยบคุ ลากรจากทุก

หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องและประชุมชแี้ จง ทาความเข้าใจโครงการ

แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณที่ไดรับจดั สรร)

113

11. ผลท่ีคำดวำ่ จะไดร้ ับ
11.1 เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการดูแลและพัฒนาในการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างทั่วถึง

และมีพัฒนาการสมวัยมีพฤติกรรมทางสังคมและสุขภาพท่ีพึงประสงค์ มีความพร้อมในการเรียนต่อระดับ
ประถมศึกษา

๑๑.๒ สถานศึกษา/สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ไดร้ ับการพัฒนาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยแห่งชาติ และมคี วามพร้อมในการจัดประสบการณ์ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
อยา่ งตอ่ เนื่อง

๑๑.๓ เกดิ การมีส่วนรว่ มในการพัฒนาและการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย จากผู้เก่ยี วข้อง
ทุกภาคส่วน ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย เกิดการบูรณาการการทางานร่วมกันมีส่วน
รว่ มในการสง่ เสรมิ สนับสนุนการดแู ล พัฒนาและการจัดการศึกษาสาหรบั เด็กปฐมวัย

(ลงชื่อ) ผเู้ สนอโครงการ
(นางตรยั นภา จ่าพันดุง)
ตาแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์

(ลงช่อื ) ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นายประชุม พนั ธ์เรอื ง)

ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการกลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล

(ลงชอ่ื ) ผเู้ ห็นชอบโครงการ
(นางสาเนา พงษ์อารีย์)

ตาแหนง่ รองศึกษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

(ลงช่อื ) ผอู้ นุมัติโครงการ
(นายอุดมศักดิ์ เพชรผา)

ตาแหนง่ ศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
(ฉบับปรับปรงุ ตามงบประมาณที่ไดรบั จดั สรร)

114

โครงกำร ขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธภิ าพการศึกษาจังหวัดโดยผา่ นกลไกของ กศจ.
แผนงำนงบประมำณ แผนงานพ้นื ฐาน √ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานบูณาการ
ผู้รับผิดชอบโครงกำร นายสุรวงศ์ ทรงกลด
ระยะเวลำดำเนนิ กำร ตลุ าคม 256๓ - กนั ยายน 256๔
ควำมสอดคล้องเช่ือมโยง

 ยทุ ธศำสตรช์ ำติ
ยทุ ธศำสตร์ชำติ (หลัก) ข้อ ๒ ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
ยทุ ธศำสตรช์ ำติ (รอง) -

 แผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตรช์ ำติ
ประเด็น (หลัก) ท่ี ข้อ ๑๒ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้
ประเด็น (รอง) ที่ .......ด้าน.........................................................................

 แผนปฏิรปู ประเทศ ดา้ น ๑๒ ด้านการศึกษา
 แผนพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ ฉบับท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างและพฒั นา

ศักยภาพทนุ มนษุ ย์
 นโยบายรฐั บาล ขอ้ ๘ การปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวยั
 ยทุ ธศาสตร์ ศธ. ที่ ๓ การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัยและการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
 ยทุ ธศาสตร์ สป.ศธ. ที่ ๓ พฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ใหม้ ีคุณภาพ
 ยทุ ธศาสตร์ ศธภ.๑ ที่ ๕ ส่งเสริมการนานวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนา
 ยทุ ธศาสตร์จังหวัดที่ –
 ยุทธศาสตร์แผนพฒั นาการศึกษาจงั หวดั ท่ี ๑ พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของ
จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
 ยทุ ธศาสตร์ ศธจ.อย. ที่ ๓ พฒั นาและส่งเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษยใ์ หม้ ีคณุ ภาพ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. หลกั กำรและเหตผุ ล
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งม่ันดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐
ปี (2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขบั เคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู้
และแผนย่อยที่ ๓ ในประเด็นท่ี ๑๑ ศักยภาพคนตลอดชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
และนโยบายรฐั บาลทั้งในสว่ นนโยบายหลกั ด้านการปฏิรปู กระบวนการเรยี นรู้และการพัฒนาศักยภาพของคน
ไทยทุกช่วงวยั และนโยบายเร่งด่วน เร่ืองการเตรียมคนสู่ศตวรรษที่ ๒1 นอกจากน้ยี ังสนบั สนนุ การขับเคล่ือน
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอ่ืนๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ.
๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๒ - ๒๕๖๕) รวมท้ัง
นโยบายและแผนต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุก ช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี
คนเกง่ มคี ณุ ภาพ และมคี วามพร้อมรว่ มขบั เคลือ่ นการพฒั นาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังคัง่ และยง่ั ยนื

แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบบั ปรับปรุงตามงบประมาณทีไ่ ดรับจดั สรร)

115

ในยุคปัจจุบันหน่วยงานทางการศึกษา ถือเป็นหน่วยงานที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อน
ภารกิจของหน่วยงานต้นสังกัดให้บรรลุจุดหมายของแผนทุกระดับ เพราะมีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
โดยตรง ในการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของชาติให้มีคุณลักษณะตามท่ีสังคมคาดหวัง ดังน้ันการ
ดาเนินการตามบทบาทเพ่ือให้ภารกิจบรรลุเป้าหมายตามแผนท่ีกาหนด จาเป็นจะต้องมีระบบข้อมูล
สารสนเทศที่มีคุณภาพ มีความละเอียดครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับความต้องการ ทันสมัยและ
ทันเวลา เพื่อเป็นฐานในการตัดสินใจในการดาเนินการด้านต่างๆ โดยเฉพาะการวางแผนการศึกษา และการ
กาหนดนโยบายทางการศกึ ษา คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 10/๒๕๕๙ ลงวันที่ 21
มีนาคม 2559 กาหนดให้ กศจ. มีอานาจและหน้าท่ีนอกจากข้อ 4 และข้อ ๕ ดังต่อไปน้ี (๑) กาหนด
ยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
ประสานและส่งเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรวมทั้งส่งเสริมและ
สนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในจังหวัด (๒) พิจารณาและ
ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัด (๓) พิจารณาและให้ความเห็นชอบกรอบการประเมินผล
การปฏิบัติงานและตัวชี้วัดในการดาเนินงานในลักษณะตัวช้ีวัดร่วมของส่วนราชการหรือหน่วยงาน และ
สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด (๔) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดต่อคณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการในภูมภิ าค (๕) กากับ เรง่ รัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัตงิ านของส่วนราชการหรือ
หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารในจงั หวัด (๖) วางแผนการจัดการศึกษาในจังหวดั และ
พิจารณาเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา (๗) เสนอคณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูป
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคเพื่อแต่งตงั้ คณะอนุกรรมการและคณะทางานเพื่อช่วยเหลือการ
ปฏิบัติงานของ กศจ.ได้ตามความจาเป็น และ (๘) ปฏิบัติหน้าที่อ่ืนตามที่กฎหมายกาหนด หรือตามที่
คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคมอบหมาย

อานาจและหน้าที่ของ กศจ. ถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพ
การศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัด ดังน้ัน การกาหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และ
การส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับและทกุ ประเภทให้มีคุณภาพและมาตรฐานนั้น จาเป็นจะต้อง
มีฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือประโยชน์ในการวางแผน การกากับ ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ให้มีคณุ ภาพ เท่าเทียม และทั่วถึงของจังหวัดตามแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษา และตัวช้ีวดั การ
ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด แต่จากการศึกษาพบว่ายังขาดการบูรณาการฐานข้อมูลสารสนเทศ
ทางการศึกษาระหว่างหน่วยงานทางการศึกษาภายในจังหวัด ด้วยตระหนักถึงความสาคัญของฐานข้อมูล
สารสนเทศและการปฏิบัติหน้าท่ีของ กศจ. สานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงได้จัดทา
โครงการน้ีขึ้น

2.วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพื่อจัดทาฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือวางแผนในการกากับ ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพ

การศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และท่ัวถึงของจังหวัดตามแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษา และตัวช้ีวัดการ
ดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการศึกษาจงั หวัด

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ดรับจัดสรร)

116

๒.๒ เพื่อให้มีการกากับเร่งรัด ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ
เท่าเทียม และท่ัวถึงของจังหวัดตามแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาและตัวชี้วัดการดาเนินงานตาม
แผนพฒั นาการศึกษาของจงั หวัด

๒.๓ เพ่ือสร้างเครือข่ายในการกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพการจัด
การศกึ ษา
๓. เปำ้ หมำย

๓.๑ เชงิ ปริมำณ (Output)
๑. มศี นู ยพ์ ัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศทางการศกึ ษาระดับจังหวัด ๑ ศูนย์
๒. มีแผนและการกากบั เรง่ รัด ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพ

เท่าเทียม และทั่วถึงของจังหวัดตามแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาและตัวชี้วัดการดาเนินงานตาม
แผนพฒั นาการศึกษาของจังหวดั ๑ ฉบับ

๓. มีเครือข่ายในการกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
อยา่ งนอ้ ย ๕ เครอื ขา่ ย

๔. มีรายงานผลการดาเนนิ งาน จานวน ๑ ฉบบั
๓.๒ เชงิ คณุ ภำพ (Outcome)

สานักงานศึกษาธิการจังหวัด หน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษา มีฐานข้อมลู สารสนเทศท่ีมีคุณภาพ
มคี วามละเอียดครอบคลุม ครบถว้ น ถกู ต้อง ตรงกับความต้องการ ทันสมัยและทันเวลา เพ่ือใชก้ ารตัดสินใจใน
การวางแผนการศกึ ษา และการกาหนดนโยบายทางการศึกษา และวางแผนในการกากบั ตดิ ตามและประเมินผล
การยกระดับคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึงของจังหวัดตามแนวทางการยกระดับคุณภาพ
การศึกษา และตัวชวี้ ัดการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวดั

๔. กล่มุ เป้ำหมำยโครงกำร (Target group)
๔.๑ หัวหนา้ หน่วยงานทางการศึกษา ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรยี นใน

สถานศึกษา ทุกสังกัดในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
๔.๒ หน่วยงานทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษา ในจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

๕. ตัวชีว้ ดั และคำ่ เปำ้ หมำยโครงกำร (Output) และตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์ (Outcomes)
๕.๑ เชิงผลผลติ (Output)

ท่ี ตวั ช้วี ัด ค่ำเปำ้ หมำย

๑ มศี นู ยพ์ ฒั นาฐานข้อมูลสารสนเทศทางการศกึ ษาระดบั จังหวดั ๑ ศนู ย์

๒ มีแผนและการกากับเร่งรัด ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพ ๑ ฉบับ

การศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และท่ัวถึงของจังหวัดตามแนวทางการ

ยกระดับคุณภาพการศึกษาและตัวช้ีวัดการดาเนินงานตามแผนพัฒนา

การศกึ ษาของจงั หวดั

๓ มีเครือข่ายในการกากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการยกระดับคุณภาพ อยา่ งน้อย ๕

การจดั การศกึ ษา เครือข่าย

๔ มรี ายงานผลการดาเนินงาน ๑ ฉบับ

แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
(ฉบับปรบั ปรงุ ตามงบประมาณทีไ่ ดรับจัดสรร)

117

๕.๒ เชงิ ผลลพั ธ์ (Outcome)

ที่ ตวั ชี้วดั คำ่ เป้ำหมำย

๑ สานักงานศึกษาธิการจังหวัด หน่วยงานทางการศึกษา และ มฐี านข้อมูลสารสนเทศทาง

สถานศึกษา มีฐานข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มี การศึกษา และแนวทางการ

ความละเอียดครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกับความ บริหารจัดการข้อมลู สารสนเทศ

ต้องการ ทันสมัยและทันเวลา เพ่ือใช้การตัดสินใจในการ เพื่อการวางแผน การกากับ

วางแผนการศึกษา และการกาหนดนโยบายทางการศึกษา ตดิ ตามและการประเมินผลการ

และวางแผนในการกากับ ติดตามและประเมินผลการยกระดับ ยกระดบั คุณภาพการศึกษา

คุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และท่ัวถึงของจังหวัด

ตามแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษา และตัวชี้วัดการ

ดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาการศกึ ษาจงั หวดั

๖. ระยะเวลำ/พน้ื ที่ดำเนินกำร
ระยะเวลำ ตุลาคม ๒๕๖๓ - กนั ยายน ๒๕๖๔
พื้นทด่ี ำเนนิ กำร หน่วยงานทางการศึกษา สถานศึกษา ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๗.กจิ กรรม/ระยะเวลำ/สถำนทด่ี ำเนนิ กำร/ผู้รบั ผดิ ชอบ

ระยะเวลำ สถำนท่ี ผรู้ บั ผิดชอบ
ดำเนนิ กำร กลุ่มนิเทศฯ
ท่ี กิจกรรมหลกั ดำเนินงำน สถานที่เอกชน กลมุ่ นิเทศฯ
สถานท่ีเอกชน
๑ ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาฐานข้อมูล ก.พ.๖๔ กล่มุ นิเทศฯ
สถานทเ่ี อกชน
สารสนเทศทางการศึกษาระดับจังหวดั กลุ่มนิเทศฯ
สถานท่เี อกชน
๒ ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารจัดทาคู่มือ/แนวทางการ เม.ย.๖๔ กล่มุ นิเทศฯ
สนง.ศธจ.อย.
บริหารจดั การฐานข้อมลู สารสนเทศทาง

การศกึ ษาระดับจังหวดั

๓ ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารจัดทาแผนและการกากับ พ.ค.๖๔

เร่งรัด ตดิ ตามและประเมินผลการยกระดบั

คุณภาพการศึกษา

๔ ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาเครือข่ายในการ ก.ค.๖๔

กากับ เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการ

ยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษา

๕ ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารจัดทารายงานผลการ ส.ค.๖๔

ดาเนินงานโครงการ

แผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ไดรบั จัดสรร)


Click to View FlipBook Version