The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสุขศึกษา ป.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khwan_3469, 2021-10-29 04:21:21

คู่มือสุขศึกษา ป.4

คู่มือสุขศึกษา ป.4

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด ep 3aseanรอบรู้อาเซียนและโลก

St ขั้นปฏบิ ตั ิ
และสรปุ ความรู้
การปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกาย หลังการปฏิบตั ิ
ตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
๘. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ีเข้าใจเป็น
ความร้รู ่วมกนั ดงั นี้
การปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย • การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย สามารถปฏิบัติได้ ดังนี้
เป็นการวัดความสามารถทางร่างกาย
๑. ทดสอบสมรรถภาพทางกายและจดบันทึกผลการทดสอบด้านต่าง ๆ ว่าอยู่ในระดับใด เพ่ือปรับปรุงให้มี
๒. นาำ ผลการทดสอบไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐานหรอื วธิ คี ดิ คะแนน สมรรถภาพทางกายท่ีดีและมีสุขภาพ
เพื่อตรวจสอบว่าสมรรถภาพด้านใดบ้างที่บกพร่อง ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ร่างกายท่ีแข็งแรง สามารถปฏิบัติ
๓. ฝึกสร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกายด้านที่บกพร่องอย่าง กจิ กรรมตา่ ง ๆ ได้ดี
สมำา่ เสมอ และนาำ ผลไปตรวจสอบกบั เกณฑม์ าตรฐานเปน็ ระยะ ๆ จนกวา่ จะปรบั ปรงุ
แก้ไขสมรรถภาพด้านที่บกพร่องได้
๔. สร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกายทุก ๆ ด้านอย่างสมำ่าเสมอ
เพื่อให้เกิดความชำานาญ และมีสมรรถภาพทางกายที่ดีในทุกด้าน

เว็บไซต์แนะนำา

เกณฑม์ �ตรฐ�นสมรรถภ�พท�งก�ย ส�ำ นกั วทิ ย�ศ�สตรก์ �รกฬี � www.sportscience.go.th

กิจกรรมพฒั นาการอา่ น ให้นักเรียนอ่านคำาและความหมายของคำาต่อไปนี้
ควำมหมำย
ค�ำศัพท์ ค�ำอ่ำน
ชาำ -นาน เชี่ยวชาญ จัดเจน
ชำานาญ ความสามารถ

สมรรถภาพ สะ-มัด-ถะ-พาบ

การสร้างเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกาย 133 133 สุดยอดคู่มือครู

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

สมรรถภาพทางกาย หมายถงึ ขอ้ ใด
๑ ความพร้อมในการท�ำ กิจกรรมได้นาน ๆ
๒ ความพรอ้ มในการท�ำ กจิ กรรมอย่างรวดเรว็
๓ ความพร้อมในการท�ำ กิจกรรมด้วยทา่ ทางท่ีสวยงาม
๔ ความสามารถและความพรอ้ มของรา่ งกายในการทำ�กจิ กรรมตา่ ง ๆ
(เฉลย ๔ เพราะสมรรถภาพทางกาย คอื การทรี่ า่ งกายสามารถทำ�กจิ กรรมต่าง ๆ
ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ไม่เหนอ่ื ยง่าย)

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 4
St St ผังสรุปสาระสำาคัญ
ขน้ั สอื่ สารและนำ� เสนอ
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย ไดแ้ ก่
๙. นักเรียนออกมานำ�เสนอผลการปฏิบัติ ความแข็งแรง ความทนทาน ความคล่องแคล่วว่องไว
การทดสอบสมรรถภาพทางกายของ ความเรว็ ความออ่ นตัว การทรงตวั และพลงั
ตนเองหนา้ ชัน้ เรียน
สมรรถภาพทางกาย กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายเปน็ กจิ กรรม
5ep ข้นั ประเมนิ เพ่อื เพิ่มคุณคา่ และกจิ กรรมสรา้ งเสริม ทชี่ ่วยใหร้ ่างกายแข็งแรงมีสมรรถภาพทางกาย
บรกิ ารสังคม สมรรถภาพทางกาย ทีส่ มบูรณ์ กจิ กรรมสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย
และจติ สาธารณะ ทเ่ี หมาะสมกบั วยั มดี งั น้ี
 ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ขา : ยนื -นงั่ ยนื เตะเทา้
๑๐. นักเรียนนำ�แบบทดสอบสมรรถภาพ  ความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว : ว่ิงสลับฟันปลา
ทางกายไปทดสอบความแข็งแรง ว่งิ แตะพ้ืน
ของรา่ งกายของน้องทบ่ี ้าน พรอ้ มทั้ง  ความอ่อนตัว : นอนแอ่นหลงั
แนะนำ�การปรับปรุงสมรรถภาพ  การทรงตวั : ยืนขาเดยี วทรงตัว
ทางกายให้ดีขึ้น กแสารลมทสะรารทรง้าถดกงภาสเยสาอพรบมิ การทดสอบ เดินทรงตัว
สมรรถภาพ
ทางกายและ  ความแขง็ แรงทนทานของกลา้ มเนอ้ื แขน :
กจิ กรรมทดสอบ การโหนราว
สมรรถภาพทางกาย

ทกาารงปการยับตปารมุงผสลมกรารรถภาพ กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพเป็น
ททาดงสกอาบยสมรรถภาพ กจิ กรรมทีป่ ฏิบัติเพื่อตรวจสอบความสามารถและ
ความพร้อมของร่างกายในการปฏิบัติกิจกรรมเพอ่ื นาำ ไป
ปรบั ปรงุ และพัฒนาให้ดขี นึ้ ซึ่งกิจกรรมท่เี หมาะสม
กับวยั มีดังนี้
 ทดสอบความอ่อนตวั : ยืนก้มตวั ลงดา้ นหนา้
 ทดสอบความแขง็ แรงของกลา้ มเนื้อ : นง่ั รูปตัววี

เหว่ยี งแขนหมุนตวั
 ทดสอบความทนทาน : ยืนกระโดดขึ้นจากพ้นื
 ทดสอบการทรงตวั : ยดื ย่อ
การปรบั ปรุงสมรรถภาพทางกาย ปฏบิ ัตไิ ด้โดย
จดบนั ทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายทกุ ครง้ั
แล้วนาำ ไปเปรียบเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐาน
และสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายด้านทีบ่ กพรอ่ ง
เปน็ ประจำา

134 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 134 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
๑ มีทกั ษะด้านกฬี าด ี
๒ ทราบถงึ ความแข็งแรงของรา่ งกาย
๓ ทราบระดับความสามารถของร่างกาย
๔ เพอื่ เปรียบเทยี บกับความสามารถของนกั กฬี า
(เฉลย ๓ เพราะการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เป็นกิจกรรมท่ีต้องใช้สมรรถภาพ

ทางกายด้านตา่ ง ๆ ในการปฏบิ ตั ิ หากกิจกรรมใดท�ำ ไดไ้ ม่ดีแสดงวา่ สมรรถภาพทางกาย

ดา้ นน้นั บกพร่อง)

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด

พ ๔.๑ ป.๔/๔

กจิ กรรม การสรา้ งเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกาย

๑. ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายตามรายการ
ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. ยนื -นง่ั ๕. ยนื ขาเดยี วทรงตัว
๒. ยนื เตะเทา้ ๖. เดนิ ทรงตวั
๓. วิง่ สลบั ฟันปลา ๗. การโหนราว
๔. นอนแอ่นหลงั

๒. ให้นักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกายตามรายการ จากน้ันให้ครูบันทึกผล
ลงในแบบบนั ทึกตามตัวอยา่ ง และให้นกั เรียนประเมินผลกบั เกณฑ์
การประเมนิ แลว้ ตอบคำาถาม

แบบบันทึกกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย

กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย ดี ผลการปฏิบตั ิ ตา่ํ
ปานกลาง (๑ คะแนน)
(๓ คะแนน) (๒ คะแนน)

๑. ยืนก้มตัวลงด้านหน้า
๒. นั่งรูปตัววีเหวี่ยงแขนหมุนตัว
๓. ยืนกระโดดขึ้นจากพื้น
๔. ยืดย่อ

ได้คะแนนรวม คะแนน

เกณฑ์การประเมิน

ถ้าได้ ๑๐-๑๒ คะแนน นักเรียนปฏิบัติอยู่ในระดับ ดี
ถ้าได้ ๖-๙ คะแนน นักเรียนปฏิบัติอยู่ในระดับ พอใช้
ถ้าได้ ๐-๕ คะแนน นักเรียนปฏิบัติอยู่ในระดับ ควรปรับปรุง

นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายอยู่ในระดับใด
การสร้างเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกาย 135

135 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

แนวค�ำตอบ

๑. ท�ำ ให้ทราบความสมบูรณ์แขง็ แรง คำาถามพฒั นากระบวนการคิด
ของร่างกายเพือ่ ปรับปรุงใหด้ ขี ึน้
๒. ต้องอบอุ่นร่างกายก่อนปฏบิ ตั ิ ๑. การสร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกายมีความสำาคญั อย่างไร
และไม่ควรปฏบิ ัตอิ ย่างหักโหม ๒. ขอ้ ควรระวงั ในการสร้างเสรมิ และทดสอบสมรรถภาพทางกายคอื อะไร
๓. สร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายดา้ นน้ัน ๓. หากพบวา่ มีสมรรถภาพทางกายด้านใดดา้ นหนง่ึ อยใู่ นระดบั ตำา่
เปน็ ประจ�ำ
๔. ความคลอ่ งแคล่วว่องไว นกั เรยี นจะทาำ อย่างไร
๕. การยกของหนัก ท�ำ งานบ้าน ๔. การว่งิ สลบั ฟันปลาช่วยสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายในดา้ นใด
๖. การทรงตวั ความอ่อนตัว ๕. กจิ กรรมในชีวิตประจาำ วนั อะไรบา้ งท่ีต้องใชค้ วามแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื
๗. ท�ำ งานได้นาน เคลื่อนไหวไดม้ ั่นคง
๘. รา่ งกายอ่อนแอ ในการปฏบิ ตั ิ
๙. ยนื กม้ ตัวลงด้านหน้า ๖. ถา้ ตอ้ งการมีบคุ ลกิ ภาพดีนักเรียนควรสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
๑๐. ช่างก่อสร้าง เพราะตอ้ งใชแ้ รง
ในการทำ�งานมาก ในดา้ นใด
๗. การมสี มรรถภาพทางกายดา้ นความทนทานอยู่ในเกณฑด์ ีมปี ระโยชน์อย่างไร
๘. หากไม่เคยสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายจะส่งผลอยา่ งไร
๙. ถ้าต้องการทราบความสามารถด้านความออ่ นตัว ควรทดสอบ

สมรรถภาพทางกายดว้ ยกจิ กรรมใด
๑๐. บคุ คลกลุ่มใดควรสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายเป็นประจำา

เพราะเหตใุ ด

136 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 136

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

เปา้ หมายการเรยี นรู้

๑๐การเรยี นรู้ท่ี ความสัมพันธ์ระหว่าง มาตรฐานการเรยี นรู้
สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
ห ่นวย มาตรฐาน พ ๔.๑
น เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม
สุขภาพ การดำ�รงสุขภาพ การป้องกันโรค
และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพอ่ื สุขภาพ

ตัวช้ีวดั สมรรถนะส�ำ คัญของผเู้ รยี น

อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงแวดลอ้ มกับสขุ ภาพ (พ ๔.๑ ป.๔/๑) ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
ผังสาระการเรียนรู้ ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ความสาำ คัญและประเภท สง่ิ แวดลอ้ มกับสุขภาพ ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
ของส่งิ แวดลอ้ ม ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ความสัมพันธ์ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ระหว่างสงิ่ แวดล้อม
ใฝเ่ รียนรู้
กบั สขุ ภาพ ตวั ชวี้ ัดที่ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามใน
การเรยี นและเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้
การดูแลรักษาส่งิ แวดลอ้ ม การจัดสิ่งแวดลอ้ ม ตวั ชีว้ ัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
ในทส่ี าธารณะ ที่ถกู สขุ ลักษณะ เรียนรู้ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอก
และเอือ้ ต่อสุขภาพ โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง
สาระสาำ คญั เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป
เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กัน เม่ือสิ่งแวดล้อมถูกทาำ ลายย่อมส่งผลเสียต่อชีวิตความเป็นอยู่ ประจ�ำ วนั ได้
ของมนุษย์ ดังน้ันทุกคนจึงมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เพ่ือให้มีส่ิงแวดล้อมท่ีดีซ่ึงจะ
ส่งผลให้ทกุ คนมีสขุ ภาพดีและดาำ รงชีวติ อยอู่ ยา่ งมีความสุข มจี ติ สาธารณะ
ตวั ช้ีวัดที่ ๘.๑ ช่วยเหลือผู้อ่ืนด้วยความ
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 จุดประกายโครงงา เต็มใจและพงึ พอใจ โดยไม่หวังสงิ่ ตอบแทน
ตัวชว้ี ัดท่ี ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็น
ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชมุ ชน และสงั คม

นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม เลือกศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อม

ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ กลมุ่ ละ ๑ ปญั หา โดยคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็

หรอื แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย วเิ คราะหส์ าเหตุ ผลกระทบต่อสขุ ภาพของ

มนุษย์ และแนวทางป้องกันปัญหา ออกแบบการนำ�เสนอข้อมูลให้น่าสนใจ

และจดั แสดงในรูปแบบแผงโครงงาน

137 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวชีว้ ดั ความส�าคญั และประเภทของส่งิ แวดล้อม

พ ๔.๑ ป.๔/๑ จดุ ประกายความคิด
ภาระงาน/ช้นิ งาน
แผนภาพความคดิ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน

Step 1 ขน้ั สังเกต

รวบรวมขอ้ มูล ถา้ โลกเราไม่มีต้นไม้เหลืออยู่
นักเรียนคดิ ว่าจะเกิดอะไรขึน้ กับมนุษย์
๑. นักเรยี นมองไปรอบ ๆ ตวั แล้วบอกว่า
ส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวนักเรียน สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
มีอะไรบ้าง ที่ส่งผลต่อการดำาเนินชีวิตของมนุษย์
๑. ความสำาคัญของสิ่งแวดล้อม
๒. นักเรียนสังเกตภาพส่ิงแวดล้อม สิ่งแวดล้อมมีความสำาคัญมากต่อชีวิตความเป็นอยู่ รวมทั้งสุขภาพร่างกาย
ตามธรรมชาติ เช่น ภาพป่าไม้ ภูเขา และสุขภาพจิตใจของมนุษย์ การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีทำาให้มีสุขภาพดี
น้ําตก และภาพส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์ ในทางตรงกันข้าม การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมก็จะทำาให้สุขภาพไม่ดี เช่น
สร้างข้ึน เช่น ภาพรถติดบนถนน การอยู่ในที่มีกลิ่นเหม็นจะทำาให้หายใจไม่สะดวก ได้รับออกซิเจนไม่เต็มที่
อากาศเปน็ พษิ แลว้ รว่ มกนั ตอบค�ำ ถาม ถ้าเปน็ เช่นนีเ้ วลานาน ๆ กอ็ าจทำาให้เกิดการเจบ็ ปว่ ย และกลิ่นเหม็นยังทำาใหร้ ูส้ กึ
ดังน้ี หงุดหงิด อารมณ์ไม่ดี สิ่งแวดล้อมจึงมีความสำาคัญอย่างมากต่อการดำาเนินชีวิต
และสุขภาพของมนุษย์
• ภาพท่ีนักเรียนดูทั้ง ๒ ภาพ มี
ลกั ษณะอยา่ งไร (ตัวอยา่ งคำ�ตอบภาพ 138 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔
ที่๑เปน็ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตาม
ธรรมชาติ เป็นส่ิงแวดล้อมท่ีดี และ เสริมความรู้ ครูควรสอน
ภาพท่ี ๒ เป็นภาพส่ิงแวดล้อมที่เป็น
มลพิษทม่ี นุษย์สร้างขึ้น) ออกซเิ จน เปน็ แกส๊ ทม่ี คี วามส�ำ คญั มากตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ของพชื และสตั ว์ รา่ งกาย
ของมนุษย์จำ�เป็นต้องใช้ออกซิเจน เราต้องหายใจเอาออกซิเจนเข้าไปเพ่ือใช้ใน
• นกั เรยี นชอบลกั ษณะสงิ่ แวดลอ้ ม ขบวนการเผาผลาญสารอาหารตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นพลังงาน และเพือ่ ใหเ้ ซลลต์ า่ ง ๆ ของ
ในภาพใด เพราะอะไร (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ รา่ งกายใชห้ ายใจ ดงั นน้ั ถา้ เซลลข์ องอวัยวะตา่ ง ๆ ในร่างกายได้รบั ออกซิเจนลดลง
ภาพที่ ๑ เพราะเป็นส่ิงแวดล้อมท่ีมี หรือขาดออกซเิ จน จะทำ�ใหอ้ วัยวะน้ัน ๆ ตายได้
ลักษณะทางธรรมชาติ มีป่าไม้ ภูเขา
นำ้ํ�ตก)

สุดยอดคู่มือครู 138

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 1aseanSt

๒. ประเภทของสิ่งแวดล้อม ข้ันสังเกต
สิ่งแวดล้อม แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ รวบรวมข้อมูล
๑. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น สัตว์ พืช ภูเขา นำ้าตก ทะเล
๒. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคารบ้านเรือน ตึก ถนน รถยนต์ ๓. นักเรียนมองไปนอกห้องเรียน แล้ว
เขียนสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่นักเรียน
ทะเลเป็นสิ่งแวดล้อม มองเห็น ในหัวข้อสิ่งแวดล้อมตาม
ตามธรรมชาติ ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมท่ีมนุษย์
สร้างขึ้น โดยจัดทำ�เป็นแผนภาพ
ความคดิ ดงั ตวั อย่าง

กอ้ นหิน

ตน้ ไม้ นก

สิง่ แวดลอ้ ม
ตามธรรมชาติ

สะพานลอยเป็นสิ่งแวดล้อม สงิ่ แวดลอ้ ม
ที่มนุษย์สร้างขึ้น

ความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงแวดล้อมกับสขุ ภาพ ส่งิ แวดลอ้ ม
สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพมีความสัมพันธ์กัน การดูแลรักษาให้มีสิ่งแวดล้อม ทีม่ นุษยส์ รา้ งขน้ึ

ที่ดีจะทำาให้มีสุขภาพดี แต่ถ้าไม่ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมหรือทำาให้สิ่งแวดล้อม โรงอาหาร รถยนต์
เป็นพิษก็จะทำาให้สุขภาพทรุดโทรม เกิดโรคหรือการเจ็บป่วยต่าง ๆ
ถนน
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิง่ แวดล้อมกบั สขุ ภาพ 139
๔. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง
ส่ิงแวดล้อมกับสุขภาพ จากหนังสือ-
เรยี นหรอื แหลง่ การเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย

139 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขั้นคดิ วเิ คราะห์
St

และสรุปความรู้ ทุกคนร่วมกันดูแลสิ่งแวดล้อม การมีสิ่งแวดล้อมที่ดี

๕. นักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับ สิ่งแวดล้อมที่ดีทำาให้มีสุขภาพดี
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม
กับสุขภาพ โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ

• ถ้านักเรียนอยู่ในสิ่งแวดล้อมท่ีดี จุดประกายความรู้
จะสง่ ผลตอ่ ตนเองอยา่ งไร วันสิ่งแวดล้อมโลกตรงกับวันใด
วันสิ่งแวดล้อมโลกตรงกับวันที่ ๕ มิถุนายน ของทุกปี
(ตวั อยา่ งค�ำ ตอบสขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง
มจี ิตใจท่ีสดช่นื แจม่ ใส) สนุกกับคำาศัพท์
health (เฮลธฺ) สุขภาพ
• ถ้านักเรียนอยู่ในสิ่งแวดล้อม
ที่ไม่ดีจะส่งผลต่อตนเองอย่างไร
(ตวั อย่างค�ำ ตอบ สขุ ภาพร่างกาย

ทรุดโทรม เจ็บปว่ ยงา่ ย)
• สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไรทนี่ กั เรยี นชอบ

เพราะอะไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ มีต้นไม้
ดอกไม้ นํ้ำ�สะอาด ไม่มีขยะ ไม่มีกลิ่น

เน่าเหม็น เพราะจะทำ�ให้เรามีสุขภาพกาย

และจติ ใจท่ีดี รู้สกึ สดชนื่ แจม่ ใส)
• ส่ิงแวดล้อมอย่างไรที่นักเรียน

ไม่ชอบ เพราะอะไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
ไม่มตี ้นไม้ การจราจรติดขัด เพราะกอ่ ให้

เกดิ มลพษิ จะทำ�ให้มีสขุ ภาพที่ไม่ดี)

140 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

การอยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ มที่ดีมผี ลตอ่ สุขภาพอย่างไร
๑ รา่ งกายอ่อนแอ ๒ อารมณไ์ มแ่ จม่ ใส
๓ ไมเ่ จ็บป่วยง่าย ๔ ไม่มสี มาธิในการเรียน
(เฉลย ๓ เพราะการอยู่ในส่งิ แวดล้อมทด่ี ีท�ำ ให้มีสขุ ภาพรา่ งกายท่แี ขง็ แรง
จิตใจแจม่ ใส จงึ ไม่เจบ็ ปว่ ยง่าย)

สุดยอดคู่มือครู 140

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

Step 2asean

๑. ผลกระทบของปัญหาสิ่งแวดล้อม ขน้ั คดิ วเิ คราะห์
และสรปุ ความรู้

ปญั หาสิ่งแวดล้อม เช่น นำา้ เนา่ เสีย อากาศเปน็ พิษ ขยะลน้ เมืองได้ก่อใหเ้ กิด ๖. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ปัญหาอื่น ๆ ตามมา ซึ่งส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ปัญหาต่าง ๆ เ ก่ี ย ว กั บ ปั ญ ห า ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ส่ ง
ที่เป็นผลมาจากปัญหาสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ ผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน

ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม ปญั หาดา้ นสขุ ภาพ โดยตอบคำ�ถาม ดังน้ี
สิ้นเปลืองงบประมาณ ความเจ็บป่วย • ในชุมชนของนักเรียนมีปัญหา
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ด้วยโรคต่าง ๆ
สง่ิ แวดลอ้ มอะไรบา้ ง (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ

ปัญหาด้านสังคมและการเมือง ปัญหาน้ำ�ํ เน่าเสีย ปญั หาขยะมลู ฝอย)
สังคมไม่น่าอยู่ ต้องเร่งหา • ปัญหาส่ิงแวดล้อมในชุมชน
แนวทางแก้ไข
ดังกล่าวเกดิ จากสาเหตใุ ด
(ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ คนในชมุ ชนไมช่ ว่ ยกนั

ดูแลรักษาความสะอาด ท้ิงขยะ และ

สุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ปล่อยน้าํ เสียลงแม่นํ�้ำ ลำ�คลอง)

ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบ มลพิษทางอากาศ
ต่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี มีดังนี้
๑. ปัญหาอากาศเป็นพิษหรือ มลพิษทางนำ้า
มลพิษทางอากาศ
๒. ปัญหานำ้าเน่าเสียหรือ ความสมั พันธ์ระหว่างสงิ่ แวดลอ้ มกับสขุ ภาพ 141
มลพิษทางนำ้า
๓. ปัญหาเสียงดังหรือ
มลพิษทางเสียง
๔. ปัญหาภัยธรรมชาติ เช่น
นำ้าท่วม ฝนแล้ง

141 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ข้ันคิดวเิ คราะห์
St ๕. ปัญหาแหล่งเสื่อมโทรม ชุมชนแออัด
๖. ปัญหาขยะและของเสียต่าง ๆ
และสรุปความรู้ ๗. ปัญหาภาวะโลกร้อน

๗. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั นี้

• ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ส่งผลตอ่ สขุ ภาพอยา่ งไร

(ตัวอย่างคำ�ตอบ ทำ�ให้เจ็บป่วยได้ง่าย

สขุ ภาพจติ ไมด่ ี) ปัญหาขยะส่งผลเสียต่อสุขภาพ นำ้าท่วมทำาให้เกิดความเสียหาย
• นักเรียนจะมีวิธีป้องกันการ ของคนในสังคม ต่อชีวิตและทรัพย์สิน

เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนได้ ๒. สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม
อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ท้ิงขยะลงใน
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกิดจากสาเหตุ ดังนี้
ถังขยะ และมีมาตรการในการป้องกัน ๑. เกดิ จากการกระทำาของมนษุ ย์ เชน่ การใช้
รถยนต์ทำาให้เกิดควันพิษและอากาศเสีย การ
การปลอ่ ยน้ำํ�เสยี ลงในแหลง่ นำํ้�) ทิ้งขยะลงในแม่นำ้าลำาคลองทำาให้นำ้าเน่าเสีย
• ปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนใน

ปัจจุบันมีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคำ�ตอบ

นํ้ำ�เสีย อากาศเป็นพิษ เสียงดัง หรอื มลพิษ ๒. เกดิ จากการใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นการ
ทำาเกษตรกรรม เช่น ฉีดพ่นสารเคมีฆ่าแมลงและ
ทางเสยี ง) กำาจัดศัตรูพืช ทำาให้อากาศเป็นพิษ
• ปัญหาส่ิงแวดล้อมดังกล่าว การฉีดพ่นสารเคมีกำาจัดศัตรูพืช
ทำาให้ในอากาศมีสารพิษ
เกิดจากสาเหตใุ ด
(ตัวอย่างคำ�ตอบ การกระทำ�ของมนุษย์ ๓. เกิดจากการขยายตัวของ
โรงงานอุตสาหกรรม และมีการปล่อย
การขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม) นำ้าเสียลงในแม่นำ้าลำาคลองทำาให้
นำ้าเน่าเสีย

การปล่อยนำ้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรม
ทำาให้นำ้าเน่าเสีย

142 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

เสริมความรู้ ครูควรสอน

ควันพษิ ท่ีมาจากท่อไอเสียรถยนต์ เชน่ แกส๊ คารบ์ อนมอนอกไซด์ ทำ�ใหส้ ุขภาพเสอ่ื มโทรมเพราะทำ�ใหเ้ กดิ พิษภัย ไดแ้ ก่
อาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มีอารมณ์ฉุนเฉียว โกรธง่าย สารประกอบของตะกั่ว ทำ�ให้นอนไม่หลับ อารมณ์ไม่แจ่มใส
เบื่ออาหาร น้าํ หนักตวั ลด ท้องผูก อาเจยี น ปวดศรี ษะ ออ่ นเพลยี เหงือกซีด โลหติ จาง ไตพกิ าร แกส๊ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
เป็นแก๊สที่มีกลิ่นเหม็น ทำ�ให้ระบบทางเดินหายใจ เช่น จมูก ลำ�คออักเสบ ระคายเคือง ทำ�ให้เจ็บป่วยด้วยโรคระบบ
ทางเดินหายใจ เกิดหลอดลมอกั เสบเรอ้ื รงั

สุดยอดคู่มือครู 142

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 2aseanSt

๔. เกดิ จากการตัง้ ถิน่ ฐานบา้ นเรอื นทีอ่ ยูอ่ าศยั ไมถ่ กู สขุ ลกั ษณะ ทาำ ใหเ้ กดิ ขน้ั คิดวเิ คราะห์
แหล่งเสื่อมโทรม ชุมชนแออัด และสรปุ ความรู้
๕. การกาำ จดั ขยะไมถ่ กู วธิ ี ทาำ ใหเ้ กดิ ปญั หา
ขยะล้นเมืองและเกิดความสกปรก ๘. นกั เรยี นคดิ ประเมนิ เพอ่ื เพม่ิ คณุ คา่ โดย
๖. การปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี
ของโรงงานอตุ สาหกรรมและจากทอ่ ไอเสยี รถยนต ์
ทาำ ให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดปญั หา การตั้งบ้านเรือนที่ไม่ถูกสุขลักษณะ • การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็น
ภาวะโลกร้อน หน้าที่ของใคร และควรเริ่มต้นจากใคร
ทำาให้เกิดแหล่งเสื่อมโทรม (หน้าที่ของทุกคนในชุมชน และควร
เรมิ่ ตน้ ที่ตวั เรา)

ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านต่าง ๆ มีผลต่อสุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของ
มนุษย์ ดังนั้นทุกคนจึงต้องร่วมมือกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

๓. ปัญหาสิ่งแวดล้อม : ภาวะโลกร้อน
การเกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาต ิ ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ เชน่ พายถุ ลม่
นํา้ ทว่ ม แผน่ ดนิ ไหว สนึ าม ิ ภยั ธรรมชาตเิ หลา่ นีเ้ กดิ จาก ภาวะโลกรอ้ น คอื การที่
อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เนื่องจากการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของโรงงาน
อุตสาหกรรมและจากท่อไอเสียรถยนต์ขึ้นไปทําลายชั้นบรรยากาศ ทําให้แสง
ของดวงอาทิตย์ส่องลงมา
บนโลกได้มากขึ้น ทําให้
เกิดปัญหาตามมา เช่น
บ า ง พื้ น ที่ ก ล า ย เ ป็ น
ทะเลทราย สิ่งมีชีวิตที่
ไม่สามารถปรับตัวได้ก็
จะสูญพันธุ์ไป บางพื้นที่
อาจประสบปัญหาภัย-
ธรรมชาติ เกิดโรคระบาด
และที่สําคัญคือ สภาพ
อากาศร้อนรุนแรง บ้านเรือนและยานพาหนะเสียหายจากสึนามิ

ความสัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ แวดล้อมกับสขุ ภาพ 143

143 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 3 ขั้นปฏบิ ัติ
St St St แหลละงั สกราปุรปควฏาบิ มตั ริู้
๑. ผลของภาวะโลกร้อนต่อสุขภาพ
ภาวะโลกร้อน ส่งผลต่อสุขภาพ ดังนี้
๙. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม แตล่ ะกลุ่มร่วมกัน ๑) จำานวนยุงเพิ่มขึ้น เนื่องจากไข่ยุงกลายเป็นตัวยุงเร็วขึ้น ทำาให้การแพร่
เลือกตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อม ระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะนำาโรคมีจำานวนเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคไข้เลือดออก
ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนที่สนใจ กลุ่มละ
๑ ปัญหา พร้อมท้ังเขียนอธิบายเป็น ไข้มาลาเรีย โรคชิคุนกุนยา
๒) มีการแพร่ระบาดของโรคที่เกี่ยวกับนำ้าอย่างรวดเร็ว เช่น อหิวาตกโรค
แผนภาพความคิด โดยกำ�หนด (อ่านว่า อะ-หิ-วา-ตะ-กะ-โรก) โรคอุจจาระร่วง
หวั ข้อ ดังน้ี
๓) เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย
• ส า เ ห ตุ ท่ี ทำ � ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า อาหารเป็นพิษ เนื่องจากอาหารบูดเสียได้ง่าย
ส่ิงแวดลอ้ ม ๔) เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติทำาให้
• ผลกระทบของส่งิ แวดลอ้ ม ไม่มีที่อยู่อาศัย ขาดแคลนอาหาร และ
• แนวทางการอนุรักษ์และฟ้ืนฟู สิ่งจำาเป็นในชีวิต ทำาให้ดำารงชีวิตอยู่อย่าง
ยากลำาบาก และเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยต่าง ๆ
ส่ิงแวดล้อม
๑๐. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงท่ีเข้าใจเป็น เบ่อื จงั ภาวะโลกร้อนทำาให้เกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย
ความรรู้ ว่ มกัน ดังน้ี
• สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรามีผลต่อ ทำาไมร้อนอยา่ งน้ี ๕) อากาศรอ้ นรนุ แรง ทาำ ใหร้ สู้ กึ ไมส่ บาย
อารมณ์หงุดหงิดได้ง่าย
ก า ร ดำ � ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ภ า ว ะ สุ ข ภ า พ
๖) ทาำ ใหฤ้ ดรู อ้ นยาวนานขึน้ ฤดฝู นและ

การอยู่ในส่ิงแวดล้อมท่ีดีจะทำ�ให้ ฤดูหนาวสั้นลง และทำาให้เกิดภัยแล้ง

มสี ุขภาพดี สามารถใช้ชวี ิตประจำ�วัน ภาวะโลกร้อนทำาให้อารมณ์เสียได้ง่าย

ไดอ้ ย่างมีความสขุ จงึ ควรมีส่วนร่วม ๒. การป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน
ในการช่วยกันป้องกันและแก้ไข ๑) เลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีคุณภาพ และประหยัดไฟ
ปัญหาสง่ิ แวดล้อม ๒) ใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด เช่น ปิดไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้ เปิดหน้าต่างบ้าน
ep 4 ให้โล่งเพื่อให้อากาศถ่ายเทแทนการเปิดพัดลม หรือเครื่องปรับอากาศ
๓) ใช้นำ้าอย่างประหยัดและคุ้มค่า เช่น ใช้นำ้าสุดท้ายจากการซักผ้า รดนำ้า
ขนั้ สอ่ื สารและนำ� เสนอ ต้นไม้หรือล้างรถ

๑๑. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลงาน 144 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔
ของกลมุ่ ตนเองหน้าชนั้ เรียน
เสริมความรู้ ครูควรสอน
5ep ขั้นประเมนิ เพ่ือเพมิ่ คณุ ค่า
บริการสงั คม อหิวาตกโรค เป็นโรคติดเชื้อระบบทางเดินอาหารชนิดเฉียบพลัน เริ่มด้วย
และจติ สาธารณะ อาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ําอย่างมาก โดยไม่มีอาการปวดท้อง บางรายอุจจาระ
ขาวขนุ่ เหมอื นนาํ้ ซาวขา้ ว บางครง้ั มอี าการคลน่ื ไส้ อาเจยี น สญู เสยี นา้ํ อยา่ งรวดเรว็
๑๒. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับปัญหา จนเกิดภาวะเปน็ กรดในเลือด และการไหลเวียนโลหติ ล้มเหลว
ส่ิงแวดล้อมในชุมชนไปอธิบายให้
คนในชุมชนฟัง เพื่อให้เข้าใจถึง
ผลกระทบและความสำ�คัญในการ
แก้ปญั หา

สุดยอดคู่มือครู 144

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

๔) ลดและใช้นำ้ามันเชื้อเพลิงอย่าง ตัวช้ีวดั
ประหยัด เช่น ถีบรถจักรยานหรือเดิน
ไปโรงเรียนในระยะใกล้ ๆ ใช้บริการรถ- พ ๔.๑ ป.๔/๑
โดยสารประจำาทาง ภาระงาน/ชน้ิ งาน
๕) คัดแยกขยะก่อนทิ้ง เพราะ แผนภาพความคดิ วธิ กี ารจดั สงิ่ แวดลอ้ ม
ใหถ้ ูกสขุ ลกั ษณะ

สิ่งของที่ใช้แล้วบางชนิดอาจนำากลับมาใช้ การเดินไปโรงเรียนช่วยลดการใช้นำ้ามัน ep 1 ข้นั สงั เกต
ใหม่ได้ เช่น ขวดแก้ว ถุงพลาสติก
๖) ไม่ใช้โฟมและถุงพลาสติกใส่อาหารหรือ St รวบรวมขอ้ มูล

สิ่งของโดยเปลี่ยนมาใช้ใบตอง ใบบัวและถุงผ้าหรือ ๑. นกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาถงึ สง่ิ แวดลอ้ ม
วัสดุจากธรรมชาติแทน ที่นักเรียนพบเห็นระหว่างเดินทาง
๗) ช่วยกันปลูกต้นไม้และดูแลรักษาต้นไม้ใน มาโรงเรียน โดยบอกว่าเป็นสิ่งมีชีวิต
บ้านหรือที่สาธารณะ หรอื ไม่มชี วี ติ จากนัน้ ตัวแทนนกั เรียน
เ ขี ย น คำ � ต อ บ ที่ ไ ด้ ล ง ใ น แ ผ น ภ า พ
ความรู้รอบโลก การปลูกต้นไม้ ความคดิ บนกระดาน
ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศที่ประชากรใช้ ช่วยลดภาวะโลกร้อน
และทำาให้อากาศบริสุทธิ์ ๒. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น บ อ ก แ น ว ท า ง
รถจักรยานในการเดินทางจำานวนมาก โดยมีช่องทางขับขี่ การจัดส่ิงแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ
เฉพาะรถจักรยานและสัญญาณไฟจราจรสำาหรับผู้ใช้ และเอ้ือต่อสุขภาพ โดยตัวแทน
รถจกั รยานดว้ ย ซึง่ การใชร้ ถจกั รยานในการเดนิ ทางเปน็ การ นั ก เ รี ย น บั น ทึ ก คำ � ต อ บ ที่ ไ ด้ เ ป็ น
ช่วยลดการปล่อยควันพิษจากท่อไอเสียรถยนต์ ซึ่งเป็น แ ผ น ภ า พ ค ว า ม คิ ด บ น ก ร ะ ด า น
สาเหตุหนึ่งของภาวะโลกร้อน ดงั ตัวอย่าง

การจัดสง่ิ แวดล้อมทีถ่ กู สขุ ลักษณะและเอ้ือต่อสขุ ภาพ

๑. การจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้ถูกสุขลักษณะ ไม่ทงิ้ ขยะ ปลูกตน้ ไม้ ไม่ทิง้ ขยะ
บ้านเป็นสถานที่ใช้ชีวิตและอยู่อาศัย การอยู่ในบ้านที่มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ลงบนพน้ื ลงในแหล่งนำ้ํ�
จะส่งผลให้ทุกคนในบ้านมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและใช้ชีวิตในบ้านอย่างมี
ความสุข การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่บ้าน สามารถปฏิบัติได้ ดังนี้ การจัด
สง่ิ แวดลอ้ มท่ี
ความสมั พันธร์ ะหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ 145 ถูกสขุ ลักษณะและ
เอื้อต่อสุขภาพ

เสริมความรู้ ครูควรสอน ลดการใช้ ใช้น�ํ้ำ และไฟฟ้า
ถงุ พลาสติก อยา่ งประหยดั
ใบบัว คนในอดตี มักพกพาขา้ วไปรบั ประทานดว้ ยเม่ือออกไปท�ำ ไร่ ท�ำ นา
วิธีทำ�ข้าวห่อแบบไทย ๆ ทำ�โดยการนำ�ข้าวพร้อมกับข้าวใส่ในใบบัวแล้วห่อ
เป็นรูปสี่เหล่ียม มัดด้วยตอกก่อนนำ�ไปน่ึง กล่ินหอมของใบบัวช่วยทำ�ให้
ขา้ วหอมกรุ่น ชวนรับประทานมากยิง่ ขนึ้

145 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 1 ขน้ั สงั เกต
St

รวบรวมข้อมูล ๑. การจัดและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ บ้าน

๓. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ ๑) ดูแลรักษาบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้านให้สะอาดเรียบร้อย ไม่สกปรก
การดแู ลรกั ษาความสะอาดภายในบา้ น เช่น กวาดขยะและเศษใบไม้ทุกวัน ตัดหญ้าที่ขึ้น
โดยตอบคำ�ถาม ดงั น้ี รกสูงให้โล่งเตียน จัดวางสิ่งของให้เป็นระเบียบ
๒) มีอุปกรณ์กำาจัดขยะ ได้แก่ ไม้กวาด และ
• นกั เรยี นเคยชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง ถุงใส่ขยะไว้ภายในบ้าน คัดแยกขยะก่อนนำาไปทิ้ง
ทำ�งานบ้านหรอื ไม่ ท�ำ อะไรบา้ ง และทิ้งขยะในที่รองรับอย่างถูกวิธี ดังนี้

(ตวั อย่างคำ�ตอบ เคยช่วยทำ� เชน่

จัดตูห้ นังสอื รดน้ำ�ํ ตน้ ไม้ พับเสื้อผ้า) การทิ้งขยะในถังขยะ
• การชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ช่วยให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี
ท�ำ งานบ้านมปี ระโยชนอ์ ย่างไร
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ทำ�ให้บ้านสะอาดน่าอยู่ ขยะเปียก ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก ให้แยกใส่ถุงต่างหาก
ปิดปากถุงให้แน่น นำาไปทิ้งในถังขยะเปียก (สีเขียว)
ฝกึ ทกั ษะการทำ�งานบา้ น)
๔. นักเรียนสังเกตภาพส่ีเหล่ียมบน
กระดานที่มีขนาดเท่ากัน ๔ ภาพ
ซึ่งแทนห้องต่าง ๆ ภายในบ้าน แล้ว ขยะแห้ง ได้แก่ เศษกระดาษ เศษโลหะ แก้ว พลาสติก
นักเรยี นออกมาวาดภาพสงิ่ ของตา่ ง ๆ ถ้าเห็นว่านำากลับมาใช้อีกไม่ได้ให้รวบรวมใส่ถุง ปิดปากถุง
ให้สัมพันธ์กับห้อง เช่น เตียงอยู่ใน และนำาไปทิ้งในถังขยะแห้ง (สีเหลือง)
ห้องนอน จานชามอยู่ในห้องครัว
จ า ก นั้ น นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น ส น ท น า ถ้าไม่มีที่รองรับขยะต้องกำาจัดขยะโดยการฝัง หรือถ้า
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี เป็นขยะเปียกอาจนำาไปหมักทำาปุ๋ยได้ ไม่ควรกำาจัดขยะด้วย
• ห้องที่นักเรียนวาดมีสภาพ- วิธีการเผาเพราะจะทำาให้อากาศเป็นพิษ
แวดล้อมที่ดีหรือไม่ (มีสภาพแวดล้อม
๓) เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เหลือเป็นขยะน้อยที่สุด การใช้ถุงผ้าใส่ของ
ทดี่ /ี ไม่ดี) และไม่ทำาลายสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้ใบตองห่อของและใช้ เป็นการช่วยลดปริมาณขยะ
๕. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล
ถุงผ้าใส่ของแทนการใช้ถุงพลาสติก
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ท่ี
ถูกสุขลักษณะและเอ้ือต่อสุขภาพ 146 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔
จากหนังสือเรียนหรือแหล่งการเรียนรู้
ทีห่ ลากหลาย
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21

นกั เรียนร่วมกันเสนอแนวทางการลดปริมาณขยะบนโลก คนละ ๑ แนวทาง
โดยชมเชยนักเรยี นที่แสดงความคดิ เห็นไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

สุดยอดคู่มือครู 146

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 2aseanSt

๔) ไม่ปล่อยนำ้าเสียและสิ่งสกปรกจากบ้านลงสู่แม่นำ้าลำาคลอง ข้ันคดิ วิเคราะห์
๕) บริเวณบ้านควรมีรั้วบ้าน ถ้า และสรปุ ความรู้
เป็นบ้านมีใต้ถุนสูง ใต้ถุนบ้านต้องแห้ง
สะอาดไม่เฉอะแฉะ ไม่มีนำ้าขัง ไม่อับชื้น ๖. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
๖) รอบ ๆ บริเวณบ้านควรปลูก เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ใ น ก า ร จั ด
ต้นไม้ให้ร่มรื่น และตัดแต่งกิ่งต้นไม้ ส่ิงแวดล้อมที่บ้านให้ถูกสุขลักษณะ
ไม่ให้รก โดยตอบค�ำ ถาม ดงั นี้

บริเวณบ้านที่สะอาดและเป็นระเบียบ • นักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนใน
จะทำาให้บ้านน่าอยู่อาศัย การจัดและดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม
ภายในบา้ นไดอ้ ยา่ งไร (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ
คำาถามท้าทาย การรดนำ้าต้นไม้เวลาใดได้ประโยชน์มากที่สุด ท�ำ ความสะอาดบา้ นโดยการกวาด ถูบา้ น
ใหส้ ะอาดทุกวัน จดั เกบ็ สง่ิ ของเคร่อื งใช้

ปลอดภัยไว้ก่อน ใหเ้ รยี บรอ้ ย เปน็ หมวดหม่)ู
• นักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนใน
ถา่ นใสอ่ ุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทัง้ แบตเตอรี่ เมื่อใช้เสรจ็ แล้วหา้ มเผาทาำ ลาย เพราะอาจทำาให้
หายใจรับสารพิษเข้าสู่ร่างกาย เกิดการเจ็บป่วยเฉียบพลันได้ การจัดและดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม
รอบ ๆ บา้ นไดอ้ ยา่ งไร (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ

๒. การจัดและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน ดูแลรักษาบ้านและบริเวณรอบ ๆ บ้าน
๑) ภายในบา้ น ควรมกี ารแบง่ แยกหอ้ ง
ออกเป็นสัดส่วน ได้แก่ ห้องนอน ห้องครัว ใหส้ ะอาดเรียบร้อย ไม่สกปรก)
และห้องนำ้า • หากบริเวณบ้านของนักเรียนมี

๒) ทำาความสะอาดบ้านโดยการกวาด ยงุ ลายชกุ ชมุ นกั เรยี นควรจดั และดแู ล
รักษาส่ิงแวดล้อมรอบบ้านอย่างไร
ถูบ้านให้สะอาดทุกวัน (ตัวอย่างคำ�ตอบ คว่ําภาชนะที่มีนำ้ํ�ขัง

บ้านที่มีการจัดอย่างเป็นระเบียบ ๓) จัดเก็บสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ให้ ไม่ใหย้ ุงมาวางไข่)
ทำาให้บ้านมีสุขลักษณะที่ดี เรียบร้อยและจัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อความ
สะดวกในการหยิบใช้

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่ิงแวดลอ้ มกบั สุขภาพ 147

เสริมความรู้ ครูควรสอน

การจัดวางส่ิงของเคร่ืองใช้บนชั้นหรือตู้วางส่ิงของ ควรวางส่ิงของที่หนักไว้
ชั้นล่าง และส่ิงของที่เบาไว้ชั้นบน เพื่อป้องกันสิ่งของท่ีหนักหล่นลงมาใส่ตัวเรา
จนอาจได้รบั อนั ตราย

147 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ข้นั คดิ วิเคราะห์
St

และสรปุ ความรู้ ๔) เปดิ ประต ู หนา้ ตา่ งบา้ น ในเวลา

๗. นักเรียนอ่านบัตรคำ�ช่ือส่ิงของต่าง ๆ กลางวันเพื่อให้มีการระบายถ่ายเทอากาศ
ภายในบ้านครงั้ ละ ๑ บตั รค�ำ จากน้นั และให้แสงแดดส่องเข้าถึงภายในบ้าน

ตัวแทนนักเรียนเลือกบัตรคำ�คนละ ๕) เครื่องนอน เช่น ผ้าห่ม ที่นอน การเปิดประตู หน้าต่าง ทำาให้อากาศ
๑ ใบ แล้วบอกวิธีการดูแลรักษาหรือ หมอน ต้องนำาออกตากแดดเสมอ ถ่ายเทสะดวก
ท�ำ ความสะอาดลงในแบบบนั ทึก ส่วนผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน มุ้ง
ตัวอย่างบัตรคำ� ควรหมั่นซักให้สะอาด และตากแดด
ให้แห้งสนิท

ถงั ขยะ ที่นอน ๖) ดูแลรักษาความสะอาดของ
ห้องนำ้าอยู่เสมอ

เครื่องครวั พื้นบ้าน ๗) ห้องครัว ต้องดูแลรักษา
ความสะอาดอยู่เสมอ อุปกรณ์เครื่องใช้
ตหู้ นงั สอื เกา้ อร้ี บั แขก ในครวั หรอื ภาชนะตา่ ง ๆ เมือ่ ใชเ้ สรจ็ แลว้
ต้องล้างทำาความสะอาด เช็ดให้แห้ง แล้ว
ตเู้ ส้อื ผา้ เพดานบา้ น จัดเก็บเข้าตู้ให้เรียบร้อย การทำาความสะอาดห้องนำ้า
การจดั และดแู ลบา้ นใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ ช่วยให้บ้านไม่มีกลิ่นเหม็น
ผนังบา้ น

๘. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ การจดั สงิ่ แวดลอ้ ม จะทาำ ใหบ้ า้ นมสี ิง่ แวดลอ้ มทีด่ ี นา่ อยอู่ าศยั
ที่บ้านให้ถูกสุขลักษณะเป็นความคิด สมาชิกในบ้านมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
รวบยอด และอยู่ในบ้านอย่างมีความสุข

การช่วยกันทำาความสะอาดบ้าน
จะทำาให้บ้านสะอาด ถูกสุขลักษณะ

148 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

เสริมความรู้ ครูควรสอน

อปุ กรณส์ �ำ หรบั ขัดพน้ื ห้องนํ้า
• แผ่นขัด ทำ�จากเส้นใยไนลอนทมี่ เี กลด็ ความคมทวั่ แผน่ เหนียวแนน่ ไมเ่ ป็นสนิม บางชนิดติดกบั แป้นพลาสติก หรือแปน้ ไม้
วธิ กี ารใชง้ าน ใชข้ ดั ถูคราบสกปรกท่พี ้นื กระเบ้อื ง เครื่องเรอื น และเครอ่ื งใช้ตา่ ง ๆ โดยใชร้ ว่ มกบั น้าํ ยาท�ำ ความสะอาด
วธิ ีการดูแลรกั ษา หลงั ใชง้ าน ล้างใหส้ ะอาด ผ่งึ ใหแ้ หง้ สนิท แลว้ เก็บในทเ่ี ก็บ ถ้าเป็นอปุ กรณท์ มี่ แี ปน้ และดา้ มจับใหแ้ ขวนไว้
• แปรงลวด ท�ำ ด้วยลวดขนาดเล็กผนึกติดอย่กู ับแผ่นไมห้ รอื แผน่ พลาสติก และมที ่จี ับอยู่ดา้ นบน
วธิ กี ารเลือกใช้ เลือกที่มซี ่ลี วดตดิ กันแนน่ เรียงเป็นระเบยี บเรยี บเสมอกนั
วิธีการใช้งาน ใชข้ ดั พนื้ ไม้ หรือพ้นื ซเี มนต์ทส่ี กปรกมาก และขัดในขณะทพ่ี ้นื เปียกชนื้ รว่ มกบั น้ํายาขดั พน้ื หรือผงซกั ฟอก
วธิ ีการดูแลรกั ษา หลงั ใชง้ าน ลา้ งใหส้ ะอาด ผ่ึงแดดให้แห้ง แลว้ เกบ็ ไวใ้ นทเ่ี ก็บใหเ้ รยี บร้อย
สุดยอดคู่มือครู 148

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม Step 2asean

ขั้นคิดวิเคราะห์
และสรปุ ความรู้

ใบไม้แห้งไม่ควรกำาจัดด้วยวิธีการเผา เพราะจะทำาให้เกิดแก๊สที่ทำาให้อากาศเสีย ๙. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ควรนำามากองไว้ที่โคนต้นไม้เพื่อปล่อยให้ย่อยสลายเป็นปุ๋ยต่อไป โดยตอบค�ำ ถาม ดังนี้

๒. การจัดสิ่งแวดล้อมที่โรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ • พื้นห้องเรียนมีขยะตกอยู่หรือไม่
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ด ี จะส่งผลดีต่อ
สุขภาพและชีวิตความเป็นอยู่ในโรงเรียน ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ ดังนี้ (ม/ี ไมม่ ี)
๑. การจัดและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน • โต๊ะและเก้าอ้ีวางเป็นระเบียบ
๑) เมื่อมาถึงโรงเรียนควรจัดเก็บกระเป๋านักเรียน อุปกรณ์การเรียน
และของใช้ต่าง ๆ ให้เรียบร้อย พร้อมทั้งตรวจดูโต๊ะ เก้าอี้ว่าอยู่ในสภาพดีและ เรียบร้อยหรือไม่ (วางเป็นระเบียบ
จัดเข้าที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
๒) จัดเวรทำาความสะอาดห้องเรียน และอาคารเรียนทุกวัน เรียบรอ้ ย/ไม่เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย)
๓) เก็บขยะในห้องเรียน และทิ้งขยะในถังขยะที่ทางโรงเรียนจัดเตรียม • นักเรียนดูแลรักษาความสะอาด
ไว้ให้ ไม่ทิ้งขยะบนพื้น บริเวณบันได หรือที่สนาม และถ้าพบว่ามีขยะตกหล่น
อยู่ตามที่ต่าง ๆ ให้เก็บและนำาไปใส่ถังขยะ ของหอ้ งเรยี นอยา่ งไร (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ
๔) ช่วยกันจัดหาดอกไม้ใส่แจกันมาวางในห้องหรือตกแต่งห้องด้วยภาพ
เพื่อให้ห้องเรียนดูสวยงามและน่าเรียน ช่วยกันทำ�ความสะอาดห้องเรียนโดย

แบ่งเวรทำ�ความสะอาดทุกวัน ต้ังแต่

วนั จนั ทร์ถึงวนั ศกุ ร์)
• นักเรียนทำ�ความสะอาดห้องเรียน

อย่างไรบา้ ง (ตวั อย่างคำ�ตอบ กวาดพนื้

ถูพ้ืน เช็ดโต๊ะ ท้ิงขยะ จัดหนังสือให้เป็น

ระเบียบ)

การช่วยกันทำาความสะอาดห้องเรียน การช่วยกันตกแต่งห้องเรียน
จะทำาให้ห้องเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ทำาให้มีบรรยากาศที่ดี

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ แวดลอ้ มกบั สขุ ภาพ 149

149 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขั้นคิดวเิ คราะห์
St
และสรปุ ความรู้
๒. การจัดและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียน
๑) ช่วยกันดูแลรักษาบริเวณโรงเรียนให้สะอาดเรียบร้อย เช่น เก็บขยะ
๑๐. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ในโรงเรียน ทิ้งขยะลงในถังขยะ
เกย่ี วกบั การจดั สงิ่ แวดลอ้ มทโ่ี รงเรยี น
ให้ถูกสุขลักษณะ โดยตอบคำ�ถาม
ดังนี้
• นักเรียนคิดว่าควรจะปรับปรุง
หอ้ งเรยี นอยา่ งไรเพอ่ื ใหม้ สี งิ่ แวดลอ้ ม
ที่ดีข้ึน (ตัวอย่างคำ�ตอบ หาดอกไม้

มาจัดใสแ่ จกัน จดั ป้ายนิเทศให้สวยงาม

มากขนึ้ ) การช่วยกันทำาความสะอาดโรงเรียนจะทำาให้โรงเรียนน่าอยู่น่าเรียน
• ถ้านักเรียนทุกคนร่วมกันดูแล
๒) ช่วยกันดูแลรักษาความสะอาด
รักษาสิ่งแวดล้อมภายในบริเวณ บริเวณโรงอาหาร เมื่อรับประทานอาหารเสร็จ
โรงเรยี นจะส่งผลอยา่ งไร ต้องเก็บภาชนะในที่รองรับให้เรียบร้อย
(ตัวอย่างคำ�ตอบ โรงเรียนสะอาด ๓) ช่วยกันปลูกต้นไม้และดูแลรักษา
ต้นไม้บริเวณโรงเรียน
นา่ อยู)่ ๔) ไมข่ ดี เขยี นหรอื วาดภาพตามทีต่ า่ ง ๆ
แลว้ รว่ มกนั สรปุ เปน็ ความคดิ รวบยอด

เชน่ ผนงั หอ้ ง กาำ แพงโรงเรยี น หรอื บนโตะ๊ เรยี น การจัดเก็บภาชนะในที่รองรับ
ให้สกปรกเลอะเทอะ ช่วยให้โรงอาหารสะอาด ไม่มีเชื้อโรค

๕) ใช้นำ้าและไฟฟ้าอย่างประหยัด เช่น ปิดก๊อกนำ้าให้สนิท ปิดไฟและ
พัดลมเมื่อเลิกใช้งาน
๖) ช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดของห้องนำ้า ห้องส้วมด้วยการราดนำ้า
ทุกครั้งหลังการขับถ่าย
๗) ไม่ยำ่าโคลนหรือสิ่งสกปรกเดินขึ้นบนอาคารเรียน

150 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 150

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

Step 2asean

๘) แก้ไขปัญหาขยะโดยใช้หลัก 7R ดังนี้ ขนั้ คดิ วิเคราะห์
และสรุปความรู้

รีฟิวซ์ (Refuse) เป็นการหลีกเลี่ยงบรรจุภัณฑ์ที่จะสร้าง ๑๑. นกั เรยี นเสนอวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาขยะ
ปัญหาขยะ และเป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ในทอ้ งถนิ่ ของตนเอง โดยใช้หลกั 7R
ใช้หยวกกล้วยแทนโฟมในการทำากระทง
รีฟิล (Refill) เป็นการเลือกใช้สินค้าชนิดเติม ซึ่งใช้บรรจุภัณฑ์ ๑๒. นักเรียนคิดประเมินเพ่ือเพิ่มคุณค่า
ที่น้อยชิ้นกว่า เช่น การใช้ผลิตภัณฑ์นำ้ายาซักผ้าหรือนำ้ายารีดผ้าชนิดเติม โดยตอบคำ�ถาม ดังนี้
รีเทิร์น (Return) เป็นการเลือกใช้สินค้าที่สามารถส่งคืน
บรรจุภัณฑ์กลับไปยังผู้ผลิตได้ เช่น เครื่องดื่มขวดแก้ว นำ้าดื่มชนิดถัง • เมื่อนักเรียนเห็นขยะตกเกล่ือน
ในสนามของโรงเรียน นักเรียน
ควรปฏิบัติอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
เกบ็ กวาดลงถงั ขยะ)
รีแพร์ (Repair) เป็นการซ่อมแซมเครื่องใช้ให้สามารถใช้
ประโยชน์ได้ต่อไป ไม่กลายเป็นขยะ เช่น เสื้อผ้า ของเล่น

รียูส (Reuse) เป็นการนำาบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
เช่น ขวดนำ้าดื่ม ถุงพลาสติก

รีไซเคิล (Recycle) เป็นการแยกขยะที่สามารถนำากลับมาใช้
ประโยชน์ได้ เพื่อง่ายต่อการจัดเก็บและแปรรูป เช่น ขวดพลาสติก แก้ว
กระป๋องเครื่องดื่ม

รดี วิ ซ ์(Reduce) เปน็ การลดบรโิ ภคและหาทางเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
การใช้งานของสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ

ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

เราใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน เราจึงต้องช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียน ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้เรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
และจิตใจร่าเริงแจ่มใส อยู่ในโรงเรียนอย่างมีความสุข

ความสัมพันธร์ ะหว่างสงิ่ แวดลอ้ มกับสขุ ภาพ 151

151 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

St บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ep 2 ขั้นคดิ วิเคราะห์ การดแู ลรักษาสงิ่ แวดลอ้ มในทีส่ าธารณะ

และสรุปความรู้

๑๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในที่สาธารณะ สามารถปฏิบัติได้ ดังนี้
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี ๑. ไม่ทิ้งขยะ และไม่บ้วนนำ้าลายลงบนถนนหรือในที่สาธารณะ
๒. เมื่อใช้ห้องนำ้าสาธารณะแล้วต้องทำาความสะอาดทุกครั้ง
• หากส่ิงแวดล้อมในที่สาธารณะ ๓. ช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดสถานที่สาธารณะ เช่น สวนสาธารณะ
ไม่ได้รับการดูแล จะส่งผลอย่างไร สนามเด็กเล่น ห้องสมุดชุมชน ศาลาหมู่บ้าน
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ชุมชนสกปรก ๔. ไม่ขีดเขียนข้อความหรือวาดภาพตามที่สาธารณะ เช่น ตู้โทรศัพท์-
สาธารณะ กำาแพงวัด
ไม่น่าอยู่อาศัย เป็นแหล่งเช้ือโรค ๕. เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนที่ช่วยดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น ทำาความ
สะอาดบริเวณวัด เก็บขยะในชุมชน
สุขภาพรา่ งกายเจ็บปว่ ยง่าย)
๑๔. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มรว่ มกัน

วิเคราะห์ปัญหาส่ิงแวดล้อมในชุมชน
ของตนเอง จากน้ันเสนอแนวทาง
ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ใ น ที่
สาธารณะและผลท่ีจะเกิดข้ึน แล้ว
สรปุ เป็นความคดิ รวบยอด
๑๕. นักเรียนคิดประเมินเพ่ือเพิ่มคุณค่า
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี
• หากนักเรียนร่วมกันปลูกต้นไม้
ใ น ชุ ม ช น แ ส ด ง ว่ า นั ก เ รี ย น มี การดูแลรักษาความสะอาดบริเวณวัดและการปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใด ช่วยให้ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี
(ตัวอย่างค�ำ ตอบ มีจติ สาธารณะ)
๖. ช่วยปลูกต้นไม้และดูแลรักษาต้นไม้ในที่สาธารณะ
๗. ช่วยกันดูแลรักษาและไม่ทำาลายสมบัติของส่วนรวม เช่น ตู้โทรศัพท์-
สาธารณะ เมื่อพบว่าชำารุดเสียหายต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบให้รับทราบ
เพื่อซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้งานได้ต่อไป
๘. ไม่ปล่อยสัตว์เลี้ยงให้ไปขับถ่ายอุจจาระในที่สาธารณะ

152 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔

เสริมความรู้ ครูควรสอน

การปลูกต้นไม้ มีประโยชน์คือ ช่วยดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และคาย
แกส๊ ออกซเิ จน ทำ�ให้อากาศบรสิ ุทธ์ิ

สุดยอดคู่มือครู 152

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

aseanSt

๙. ไม่นำาขยะไปทิ้งในที่สาธารณะและไม่ทิ้งลงในแม่นำ้าลำาคลอง ep 3 ขั้นปฏิบัติ
๑๐. ไม่เก็บสิ่งของต่าง ๆ จากแหล่งท่องเที่ยว เช่น ไม่เก็บเปลือกหอย หรือ และสรุปความรู้
ปะการังมาจากทะเล หลังการปฏบิ ัติ
การดำาเนินชีวิตในแต่ละวันนอกจากอยู่ในบ้านและที่โรงเรียนแล้ว เรายัง
เกี่ยวข้องกับที่สาธารณะต่าง ๆ ทุกคนจึงต้องร่วมกันรับผิดชอบดูแลรักษา ๑๖. นกั เรียนแบง่ กลุม่ แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั
สิ่งแวดล้อมในที่สาธารณะให้ดี เพื่อให้ชุมชนและสังคมมีสิ่งแวดล้อมที่ดีด้วย คิดเกี่ยวกับวิธีการจัดสิ่งแวดล้อม
สรุป มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันและส่งผลต่อกันทั้งทางตรง ให้ถูกสุขลักษณะ พร้อมอธิบายผล
ที่เกิดข้ึน โดยเขียนเป็นแผนภาพ
และทางอ้อม โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งส่งผลต่อการดำาเนินชีวิตและสุขภาพ ความคิด
โดยตรง ดังนั้นทุกคนจึงต้องช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมไว้ให้ดีเพื่อให้มีชีวิตอยู่
อย่างมีความสุข ๑๗. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็น
ความรรู้ ่วมกัน ดงั นี้

• การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
และในที่สาธารณะท่ีดีส่งผลให้เรามี
คำาถามท้าทาย ปะการังเป็นพืชหรือสัตว์ เว็บไซต์แนะนำา สุขภาพแข็งแรง และปฏิบัติกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
www.deqp.go.th

กิจกรรมพฒั นาการอ่าน ให้นักเรียนอ่านคำาและความหมายของคำาต่อไปนี้

คำ� ศัพท์ ค�ำอ่ำน ควำมหมำย

ทรุดโทรม ซุด-โซม เสื่อมไปเพราะร่วงโรย ครำ่าคร่า หรือตรากตรำา
เกินไป

มลพษิ มน-ละ-พิด พษิ เกิดจากความมวั หมองหรือความสกปรก
ของส่ิงแวดล้อม

สาธารณะ สา-ทา-ระ-นะ เพ่อื ประชาชนท่ัวไป ท่ัวไป

สุขลักษณะ สกุ -ขะ-ลกั -สะ-หนะ ลกั ษณะที่ถูกต้องตามหลักปฏบิ ตั ิเพื่อความ
ปราศจากโรคภยั ไข้เจบ็

อตุ สาหกรรม อดุ -สา-หะ-กาำ กิจกรรมท่ใี ช้ทุนและแรงงานเพือ่ ผลติ ส่งิ ของ
หรอื จดั ให้มีบรกิ าร

ความสมั พนั ธ์ระหว่างสง่ิ แวดลอ้ มกบั สขุ ภาพ 153

153 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

St Step 4

ขน้ั สอ่ื สารและนำ� เสนอ ผังสรุปสาระสำาคัญ ความสาำ คัญของสง่ิ แวดลอ้ ม : สิง่ แวดล้อมมคี วามสำาคญั ต่อ
ชวี ติ ความเปน็ อย ู่รวมทง้ั สขุ ภาพรา่ งกายและจติ ใจของมนษุ ย์
๑๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำ�เสนอ ความสำาคญั และ การอยใู่ นสง่ิ แวดลอ้ มทด่ี สี ง่ ผลใหม้ นษุ ยม์ สี ขุ ภาพทดี่ ีแตห่ าก
ผลงานของกลุ่มตนเองหน้าชนั้ เรียน ประเภทของ อยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เสื่อมโทรมก็จะส่งผลให้มนุษย์เจ็บป่วย
สง่ิ แวดลอ้ ม และอารมณไ์ ม่แจ่มใส
5ep ข้นั ประเมินเพอื่ เพ่ิมคุณคา่
บรกิ ารสังคม ความสมั พันธ์ระหวา่ ง ประเภทของสง่ิ แวดลอ้ ม : สง่ิ แวดลอ้ มแบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท
และจติ สาธารณะ สิง่ แวดล้อมกบั สขุ ภาพ คือ ส่งิ แวดลอ้ มตามธรรมชาตหิ รอื ส่ิงที่เกิดข้นึ เอง และ
สิง่ แวดลอ้ มทีม่ นุษยส์ ร้างข้นึ
๑๙. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น จั ด ป้ า ย นิ เ ท ศ ความสมั พันธ์
การดูแลรักษาสภาพแวดล้อมใน ระหวา่ งสิ่งแวดลอ้ ม ผลกระทบของปัญหาสง่ิ แวดล้อม : ปัญหาส่งิ แวดล้อมส่งผล
โรงเรียน เพ่ือรณรงค์ให้นักเรียน กระทบทั้งในด้านสุขภาพทำาให้เจ็บป่วยเป็นโรค ด้านสังคม
เห็นความสำ�คัญของการมีสภาพ กับสขุ ภาพ ทำาให้สังคมเสื่อมโทรม ไม่น่าอยู่ และด้านเศรษฐกิจทำาให้
แวดล้อมในโรงเรยี นท่ีดี ตอ้ งสนิ้ เปลอื งงบประมาณในการนาำ มาแกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม
การจัดสงิ่ แวดลอ้ ม สาเหตขุ องปัญหาสิ่งแวดล้อม : ปญั หาสิ่งแวดล้อมสว่ นใหญ่
ท่ีถูกสขุ ลกั ษณะ เกดิ จากการกระทาำ ของมนุษย ์ และการขยายตัวของภาค
และเอือ้ ตอ่ สุขภาพ อุตสาหกรรม ท่ีทำาให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ี
เส่อื มโทรม
ปัญหาส่ิงแวดล้อม : ภาวะโลกร้อน คือการที่อุณหภูมิของ
โลกสูงขึ้นจากการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นไป
ทำาลายช้ันบรรยากาศ ซึ่งผลของภาวะโลกร้อนทำาให้เกิด
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เกิดโรคระบาดมากข้ึน ซึ่งล้วนส่ง
ผลเสยี ต่อสขุ ภาพของมนษุ ย์

การจดั สง่ิ แวดลอ้ มทบี่ า้ นใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ ควรทาำ ทงั้ ภายในบา้ น
และรอบบริเวณบ้าน เพื่อให้บ้านน่าอยู่อาศัย สมาชิกในบ้านมี
สขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง และอยใู่ นบ้านอยา่ งมคี วามสขุ
การจัดสิ่งแวดล้อมที่โรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ควรทำาท้ังใน
หอ้ งเรียนและบรเิ วณโรงเรียน เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนมีสงิ่ แวดล้อมท่ีดี
นกั เรียนทกุ คนมีสขุ ภาพแข็งแรง จติ ใจแจม่ ใส

การดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในท่ีสาธารณะ สามารถทำาได้โดยการดูแล
รักษาสาธารณสมบัติของชุมชนใหส้ ะอาด อยใู่ นสภาพท่ีดี ไม่ทงิ้ ขยะใน
ที่สาธารณะ ปลกู ต้นไม้ในชมุ ชน เพ่ือให้คนในชมุ ชนมสี ุขภาพร่างกาย
ทีส่ มบรู ณ์แขง็ แรง

154 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ปัญหาสงิ่ แวดล้อมใดท่สี ่งผลตอ่ สุขภาพของคนในชุมชนมากที่สุด
๑ ไมม่ ีสวนสาธารณะ ๒ แหลง่ นํา้ เนา่ เสีย
๓ อากาศรอ้ น ๔ ฝนไม่ตก
(เฉลย ๒ เพราะคนในชุมชนทอี่ าศยั อย่ใู กล้แหล่งนํ้าทเี่ นา่ เสยี จะไดร้ ับผลกระทบ
เช่น กลิน่ เหม็น โรคตดิ ต่อทางนํ้า และขาดแคลนนา้ํ ส�ำ หรับอุปโภค-บรโิ ภค)

สุดยอดคู่มือครู 154

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

ตัวช้ีวัด

กจิ กรรมการเรียนรู้ พ ๔.๑ ป.๔/๑

กจิ กรรมที่ ๑ การดแู ลรักษาส่งิ แวดล้อมในบ้าน

๑. ใหน้ กั เรียนบนั ทึกพฤติกรรมเก่ยี วกบั การดูแลรักษาสงิ่ แวดลอ้ มในบา้ นของ
ตนเองในชว่ ง ๑ สัปดาหท์ ่ผี ่านมาลงในแบบบนั ทึก ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

การดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ มในบา้ น ABC
ปฏิบตั แิ ลว้ ปฏิบัตไิ ด้ ไมส่ ามารถ
๑. กวาดและถูพื้นบ้าน
๒. นำาขยะไปทิ้งในถังขยะนอกบ้าน แต่ไม่ไดป้ ฏบิ ัติ ปฏิบตั ไิ ด้
๓. ปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้าน
๔. ดูแลทำาความสะอาดห้องนำ้า
๕. ล้างจานชามและทำาความสะอาดห้องครัว

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันประมวลผลพฤติกรรมของนักเรียน และอภิปรายว่า (ตัวอยา่ งแผนภาพความคดิ )
ถกู ต้องหรอื ไม่ แล้วช่วยกนั เสนอวธิ ีการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในบ้าน
ของนักเรียนเพื่อนำาไปปฏบิ ตั ติ อ่ ไป โดยสรุปขอ้ มูลเป็นแผนภาพความคิด (กวาดถบู า้ น (จดั สิ่งของในบา้ น
ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี ทกุ วัน) ใหเ้ ป็นระเบยี บ)

วิธีกำรดูแลรักษำ วธิ ีการดแู ล
สิ่งแวดล้อมในบ้ำน รกั ษาสง่ิ แวดล้อม

ในบา้ น

ความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ แวดล้อมกับสุขภาพ 155 (ปลูกและดแู ล (กำ�จัดขยะ
ต้นไมใ้ นบ้าน) อย่างถกู ตอ้ ง)

155 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวชี้วัด กิจกรรมท่ี ๒ การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน

พ ๔.๑ ป.๔/๑

๑. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๖-๗ คน รว่ มกนั กาำ หนดประเดน็ ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม
ในโรงเรยี นกลมุ่ ละ ๑ ปญั หา โดยตกลงไมใ่ หซ้ า้ำ กนั จากนนั้ รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั
สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมน้ัน แล้วสรุปเป็นแผนภาพก้างปลาดังตัวอย่าง
ต่อไปน้ี

ปัญหาสิ่งแวดล้อม สาเหตุ
ในโรงเรียน

๒. ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ผแู้ ทนกลุ่มออกมานาำ เสนอแผนภาพกา้ งปลา
หน้าชั้นเรียน

๓. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดล้อม
ในโรงเรียนที่กล่มุ ตนเองเลือกและอธบิ ายผลทีเ่ กดิ ขนึ้ บนั ทกึ เป็นแผนภาพ
ดงั ตวั อย่างต่อไปน้ี

แนวทางแกไ้ ขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม ผลท่เี กิดข้ึน
ในโรงเรียน

ปัญหา

ขอ้ แนะนำ�
นักเรียนอาจดำาเนินกิจกรรมในลักษณะเดียวกันนี้ในประเด็นปัญหา

สิ่งแวดล้อมในบ้านและในชุมชน

156 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 156

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

แนวคำ� ตอบ

คาำ ถามพัฒนากระบวนการคดิ ๑. มีสขุ ภาพดี รา่ งกายแข็งแรง จิตใจแจม่ ใส
๒. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น นก มด
๑. การอยู่ในสง่ิ แวดลอ้ มทด่ี สี ่งผลต่อสุขภาพอยา่ งไร
๒. ท่ีบ้านของนกั เรียนมอี ะไรบา้ งที่เป็นส่งิ แวดล้อมตามธรรมชาติ ต้นไม้ แม่นา้ํ
และสง่ิ แวดล้อมที่มนษุ ยส์ รา้ งขนึ้ สิ่งแวดล้อมท่ีมนุษย์สร้างขึ้น เช่น บ้าน
๓. พฤตกิ รรมใดบ้างทที่ าำ ใหเ้ กิดปัญหาส่งิ แวดล้อม
๔. นกั เรยี นจะมสี ่วนร่วมในการดูแลรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชนได้อย่างไร ถนน จาน ชาม
๕. การอยใู่ นบา้ นทีส่ ะอาดจะส่งผลตอ่ ผ้อู ยอู่ าศัยอย่างไร ๓. ท้งิ ขยะลงในแม่น้ําล�ำ คลอง
๖. นักเรยี นจะมวี ิธีการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี นได้อยา่ งไร เผาขยะในบริเวณบ้าน
๗. นักเรยี นจะมีวิธีการลดปัญหาภาวะโลกรอ้ นได้อยา่ งไร ๔. เกบ็ ขยะ และปลกู ต้นไมใ้ นชมุ ชน
๘. ปัญหาภาวะโลกรอ้ นสง่ ผลกระทบต่อสุขภาพอย่างไร ๕. มสี ุขภาพดี
๙. ขยะเปยี กและขยะแห้งมวี ธิ ีการแยกทิ้งอย่างไร ๖. ชว่ ยกันดูแลรกั ษาความสะอาดห้องนาํ้
๑๐. การทง้ิ ขยะลงในแม่นำา้ ลาำ คลองส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อมอย่างไร ห้องสว้ ม ท้ิงขยะลงในถงั ขยะ
๗. ใชถ้ ุงผา้ ใส่ส่ิงของแทนถงุ พลาสติก
แยกขยะตามประเภทท้ิงลงในถงั ขยะ
๘. ทำ�ให้เกดิ การเจ็บปว่ ย สุขภาพจิตไม่ดี
อารมณ์หงุดหงดิ งา่ ย
๙. ขยะเปียกใสถ่ งั สีเขียว
ขยะแหง้ ใส่ถงั สเี หลอื ง
๑๐. ท�ำ ใหน้ ํ้าเนา่ เสียสง่ กล่ินเหมน็
เปน็ แหล่งแพร่เช้ือโรค

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสง่ิ แวดลอ้ มกับสุขภาพ 157

157 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

เป้าหมายการเรยี นรู้

มาตรฐานการเรียนรู้ ๑๑การเรยี นรู้ท่ี สภาวะทางอารมณ์
ที่ส่งผลต่อสุขภาพ
มาตรฐาน พ ๔.๑ ห ่นวย
เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม นตวั ชีว้ ัด
สุขภาพ การดำ�รงสุขภาพ การป้องกันโรค อธบิ ายสภาวะอารมณ์ ความรสู้ ึกทม่ี ผี ลตอ่ สุขภาพ (พ ๔.๑ ป.๔/๒)
และการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพอื่ สขุ ภาพ
ผังสาระการเรยี นรู้
สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรยี น
ลกั ษณะของอารมณ์
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด สภาวะทางอารมณ์ท่ี สภาวะทาง
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา มผี ลตอ่ สขุ ภาพทางบวก อารมณ์
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ สภาวะทางอารมณท์ ี่ ทีส่ ง่ ผลตอ่ สุขภาพ
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี มผี ลตอ่ สขุ ภาพทางลบ

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การจดั การกบั อารมณ์ สภาวะทางอารมณ์ สาเหตุของ
ในเบ้อื งตน้ ทส่ี ง่ ผลต่อสขุ ภาพ ความเครียด
ใฝ่เรียนรู้ การปฏบิ ตั ติ น
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามใน สาระสาำ คัญ ความเครยี ด เพอ่ื ลด
การเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ และการ ความเครยี ด
ตัวชี้วัดท่ี ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง จดั การกับ
เรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง ความเครยี ด
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป
เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต อารมณ์เป็นส่ิงที่เกิดขึ้นกับทุกคนได้เสมอ สิ่งที่สำาคัญคือ การควบคุมอารมณ์และการแสดงออกทาง
ประจ�ำ วันได้ อารมณอ์ ย่างเหมาะสม อารมณท์ ร่ี นุ แรงจะทำาใหเ้ กดิ ความเครยี ดซงึ่ สง่ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพ ดังนนั้ การจดั การ
กบั ความเครียดและการเรียนร้ใู นการแสดงออกทางอารมณอ์ ย่างถูกตอ้ งจะทาำ ใหม้ ีสขุ ภาพจิตดี

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 จุดประกายโครงงา

นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดการแสดงบทบาทสมมุติ

เลือกตัวอย่างสถานการณท์ ี่ท�ำ ให้เกดิ ความเครยี ดท่สี นใจ ๑ สถานการณ์ และ

วธิ ปี ฏบิ ตั ติ นเพอื่ ลดและแกไ้ ขปญั หาความเครยี ดนนั้ อยา่ งถกู ตอ้ ง แลว้ ออกมา

แสดงหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม เพ่ือน ๆ ถ่ายคลิปวิดีโอ แล้วนำ�ไปเผยแพร่ใน

เฟซบ๊กุ ของโรงเรยี น

สุดยอดคู่มือครู 158

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

สภาวะทางอารมณท์ ี่ส่งผลต่อสุขภาพ St ตัวชว้ี ดั

จุดประกายความคดิ พ ๔.๑ ป.๔/๒

นักเรยี นเคยมี ภาระงาน/ชนิ้ งาน
ความรสู้ ึก แบบบนั ทกึ ลักษณะทางอารมณ์
หรืออารมณ์
เหมือนในภาพ ep 1 ขั้นสังเกต
ใดบ้าง และ
เหตุการณ์น้ัน รวบรวมข้อมูล
เป็นอย่างไร
๑. นักเรียนสังเกตภาพจุดประกาย
๑. ลักษณะของอารมณ์ ความคิด แล้วร่วมกันสนทนาทบทวน
ประสบการณเ์ ดมิ โดยตอบค�ำ ถาม ดงั นี้
อารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกภายในจิตใจที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ซึ่ง
สามารถแสดงออกมาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มากระทบต่อจิตใจ • ภาพท่ี ๑ เด็กผู้หญิงมีอารมณ์
อารมณ์แบ่งได้ ๒ ลักษณะ ดังนี้ แบบใด เพราะเหตุใด (เศร้า เสียใจ
เพราะปลาที่เลย้ี งตาย)
สภาวะทางอารมณ์ทีส่ ง่ ผลต่อสขุ ภาพ 159
• ภาพที่ ๒ ด้านบนขวา เด็กผู้ชาย
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ มอี ารมณ์แบบใด เพราะเหตใุ ด
อารมณ์ในข้อใดเป็นอารมณ์ทางบวกทสี่ ง่ ผลดตี อ่ สุขภาพ
๑ หงุดหงดิ ทเี่ พ่อื นมาชา้ กวา่ เวลาท่นี ัดหมายกนั ไว้ (อจิ ฉานอ้ ง เพราะแมร่ ักและเอ็นดนู อ้ ง)
๒ ย้มิ และหัวเราะเมอื่ ชนะการแขง่ ขันกีฬา • ภาพท่ี ๓ ด้านลา่ งซา้ ย เด็กผชู้ าย
๓ อิจฉานอ้ งท่พี อ่ ซอ้ื ของเลน่ ใหม่ให้
๔ เสยี ใจท่ีทำ�ขอ้ สอบไม่ได้ มอี ารมณแ์ บบใด เพราะเหตุใด
(เฉลย ๒ เพราะการย้มิ และหัวเราะเมือ่ ชนะการแขง่ ขนั กีฬาเปน็ อารมณท์ ี่มีความสขุ (กลัว เพราะกลับบ้านเวลากลางคนื )
ท�ำ ใหส้ บายใจจึงเกิดผลดีต่อสขุ ภาพ) • ภาพที่ ๔ ดา้ นลา่ งขวา เดก็ ผหู้ ญงิ

มอี ารมณแ์ บบใด เพราะเหตใุ ด
(โมโห เพราะมีนักเรียนหลายคนแย่งซ้ือ

อาหารทต่ี นเองจะซอื้ เชน่ กัน)
• นกั เรยี นเคยมอี ารมณเ์ หมอื นเดก็

ในภาพใดบ้าง และเพราะเหตุใดจึงมี
อารมณ์แบบนัน้ (นกั เรียนแตล่ ะคนตอบ
ตามประสบการณ)์
๒. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับลักษณะของอารมณ์และ
สภาวะทางอารมณ์ที่มีผลต่อสุขภาพ
จากหนังสือเรียนหรือแหล่งการเรียนรู้
ทห่ี ลากหลาย

159 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขัน้ คดิ วเิ คราะห์
St
และสรุปความรู้
๑. อารมณ์ทางบวก เช่น ดีใจ ชอบใจ รัก ชื่นชม สุขสบาย สนุกสนาน
ลักษณะอารมณ์ทางบวกจะส่งผลดีต่อสุขภาพ
๓. ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงอารมณ์
ท่ีสอดคล้องกับบัตรคำ�ที่จับสลากได้ ๒. อารมณ์ทางลบ เช่น โกรธ อิจฉาริษยา เสียใจ เศร้าใจ กลัว เกลียด
หน้าช้ันเรียน โดยห้ามพูด จากนั้น วิตกกังวล เครียด ลักษณะอารมณ์ทางลบจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ
เพ่อื น ๆ ทายวา่ แสดงอารมณ์ใด
อารมณ์แต่ละลักษณะมีรายละเอียด ดังนี้
ตวั อยา่ งบัตรค�ำ ๑. อารมณ์พึงพอใจหรือเบิกบานใจ
เป็นลักษณะอารมณ์ที่ดี เกิดขึ้นเมื่อสามารถ
ทำาในสิ่งที่ต้องการได้ ประสบความสำาเร็จในเรื่อง
ชดอใี จบ รักและ สนุก- หงดุ หงดิ โกรธ ที่คาดหวัง หรือได้รับสิ่งที่ดี เช่น ได้รับรางวัล ได้รับ
ช่ืนชม สนาน เกลยี ด

เเศสรียา้ ใใจจ เกควงัริตวยี กลด อจิ ฉา เบ่อื หน่าย กลวั คำาชมเชย
ริษยา ท้อแท้ เมื่อมีอารมณ์พึงพอใจหรือเบิกบานใจ จะทำาให้

๔. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่น ๆ รู้สึกมีความสุข
ลักษณะของอารมณ์​ โดยตอบคำ�ถาม ไม่เกิดความเครียด และมีกำาลังใจในการเรียนและ
ดังน้ี อารมณ์พึงพอใจ เบิกบานใจ
• เม่ือนักเรียนถูกเพ่ือนแกล้ง ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เมื่อได้รับของขวัญ
๒. ความอยากรู้อยากเห็น
นักเรียนรู้สึกอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
วัยเรียนเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องต่าง ๆ และจะทดลอง
รู้สึกโกรธ) ทำาเพื่อแสวงหาเหตุผลของเรื่องนั้น ๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น ความ

• เม่ือนักเรียนชนะการแข่งขันวิ่ง อยากรู้อยากเห็นเป็นสิ่งที่ดี และควรใช้ให้

นักเรียนรู้สึกอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ถูกต้องเหมาะสม เช่น การศึกษาค้นคว้า
เรื่องที่ต้องการรู้ด้วยตนเอง จากห้องสมุด
รสู้ ึกดใี จ) หรอื ถามพอ่ แม่ ผปู้ กครอง หรอื ครทู สี่ ามารถ
ให้คำาตอบในเรื่องนั้นได้อย่างถูกต้อง
• เม่ือนกั เรียนทำ�ของหาย นกั เรียน
รสู้ กึ อยา่ งไร(ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ รสู้ กึ เสยี ใจ

เสยี ดาย) การหาความรู้เพิ่มเติมในห้องสมุด
เป็นการหาความรู้ที่เหมาะสม
๕. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับข้อดี-ข้อเสียของความอยากรู้ 160 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔
อยากเห็น แล้วเขียนเป็นแผนภาพ

ความคิด

เสริมความรู้ ครูควรสอน

เม่ือเกิดความเครียดให้ฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเน้ือกะบังลมบริเวณหน้าท้อง
แทนการหายใจโดยใช้กล้ามเน้ือหน้าอก เม่ือหายใจเข้าท้องจะพอง และเมื่อ
หายใจออกท้องจะยบุ ลง เมือ่ ฝกึ ทกุ วันจะท�ำ ให้รา่ งกายแจม่ ใส กระปร้กี ระเปรา่
ไม่ง่วง พรอ้ มทีจ่ ะปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ในแต่ละวนั

สุดยอดคู่มือครู 160

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ขั้นSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

๓. อารมณ์อิจฉาริษยา Step 2asean

ขั้นคดิ วิเคราะห์
และสรปุ ความรู้

เด็กอายุ ๙-๑๒ ปี มักมีอารมณ์ดังกล่าวนี้กับบุคคลภายนอกบ้าง เช่น ๖. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เพื่อนวัยเดียวกัน โดยจะเกิดขึ้นเมื่อมีการเปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่นที่ดีกว่า โดยตอบคำ�ถาม ดงั นี้

การเห็นคนอื่นได้ในสิ่งที่ดีกว่าตน หรือรู้สึกว่าคนอื่นมีสิ่งที่ดีกว่าหรือเหนือ • อารมณ์อิจฉาริษยามักเกิดจาก
สาเหตุใด (ตัวอย่างคำ�ตอบ เกิดจาก
กว่าตน เช่น เพื่อนได้คะแนนสอบดีกว่าหรือเพื่อนได้รับความสนใจจากครู การถูกเปรียบเทียบกับผู้อ่ืน เห็นผู้อื่น

มากกว่า ขอบใจจ้ะ ได้ในสงิ่ ท่ีดกี ว่าตนเอง)
เธอกเ็ ขยี นสวย • อารมณโ์ กรธมกั เกดิ จากสาเหตใุ ด
การแสดงอารมณ์อิจฉาริษยา เป็นสิ่งที่ เธอเขยี นตวั หนังสอื สวย เหมอื นกันนะ
เหมือนท่คี ณุ ครชู มจรงิ ๆ (ตวั อย่างคำ�ตอบการถกู ขัดใจ ถูกเพื่อน
ไมเ่ หมาะสม เราควรชืน่ ชมหรอื แสดงความยนิ ดี

เมื่อเห็นเพื่อนหรือผู้อื่นประสบความสำาเร็จ

๔. อารมณ์โกรธ แกลง้ )
อาจเกิดจากการไม่ได้รับสิ่งที่ต้องการ หรือ การแสดงความยินดีกับเพื่อน ๗. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สภาวะ
ไม่สามารถทำาสิ่งที่ต้องการหรือสิ่งที่คาดหวังได้ อย่างจริงใจ ทำาให้รู้สึกมีความสุข
เชน่ ตอ้ งการสอบไดค้ ะแนนสงู ๆ เมือ่ ไมไ่ ดก้ โ็ กรธ ทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพ แล้ว
ตนเอง บางคนโกรธคนอื่นเพราะไม่ทำาตามที่ตน สรุปเปน็ ความคดิ รวบยอด
ต้องการ เช่น ชวนให้เพื่อนเล่นด้วยแล้วเพื่อน
ไม่เล่นด้วยก็โกรธเพื่อน

การแสดงออกถงึ อารมณโ์ กรธ อาจแสดงออก การแสดงอารมณ์โกรธ
โดยการต่อต้าน คือ เงียบหรือไม่พูดด้วย เมื่อไม่ได้สิ่งที่ต้องการ

พดู จาไม่สุภาพ กา้ วร้าวกับคนหรอื สิ่งที่ทาำ ใหโ้ กรธ
ขว้างปา หรือทำาลายสิ่งของ ซึ่งเป็นการกระทำา
ที่ไม่เหมาะสม และไม่ควรปฏิบัติอย่างยิ่ง

สภาวะทางอารมณ์ท่ีส่งผลตอ่ สขุ ภาพ 161

เสริมความรู้ ครูควรสอน

การตง้ั ใจเรยี น มสี มาธขิ ณะทคี่ รกู �ำ ลงั สอน กลบั บา้ นทบทวนบทเรยี นอยเู่ สมอ
และทำ�การบา้ นด้วยตนเอง จะทำ�ใหเ้ รามีคะแนนสอบทด่ี ี

161 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 3 ขัน้ ปฏิบัติ
แหลละงั สกราปุรปควฏาิบมัตริู้St

๘. นักเรียนบันทึกลักษณะทางอารมณ์ สนุกกับคำาศัพท์
ของตนเองลงในแบบบนั ทึก
fun (ฟัน) ความสนุกสนาน
ดงั ตัวอยา่ ง
happy (แฮพ ่พี) สบายใจ เบิกบานใจ

sad (แซด) เสียใจ เศร้า

แบบบนั ทกึ ลกั ษณะทางอารมณ์ ๒. สภาวะทางอารมณ์ที่มีผลต่อสุขภาพทางบวก

ลักษณะอารมณ์ การแสดงออก การมีอารมณ์ที่ดี เช่น ดีใจ สนุกสนาน
(๓ คบะอ่ แยนน) (๒บคางะคแรนงั้ น) (น๑านคะๆแนคนร้ัง) เบิกบาน จะมีผลดีต่อสุขภาพร่างกาย

๑. ดใี จ ชอบใจ ✓ และจิตใจ คือ ทำาให้จิตใจร่าเริงแจ่มใส

๒. รกั และชน่ื ชม ✓ สดชื่น ยิ้มแย้ม มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง

๓. สนุกสนาน ✓ ไมเ่ จบ็ ปว่ ยงา่ ย ไมเ่ บือ่ อาหารหรอื ปวดศรี ษะ

(๑ คะแนน)(๒ คะแนน)(๓ คะแนน)

๔. โกรธ เกลยี ด ✓ รับประทานอาหารได้ตามปกติ การทำาอารมณ์ให้ร่าเริงแจ่มใส
จะทำาให้มีความสุข
๕. เสยี ใจ เศรา้ ใจ ✓

๖. กลัว ✓ ๓. สภาวะทางอารมณ์ที่มีผลต่อสุขภาพทางลบ

ได้คะแนนรวม (๑๘) คะแนน สภาวะของอารมณ์มีความสัมพันธ์กับ
สุขภาพของแต่ละบุคคล การมีอารมณ์วิตก-
เกณฑก์ ารประเมนิ กังวล เครียด หรือเศร้าใจ อาจทำาให้เกิดอาการ
๑๐-๑๘ คะแนน การแสดงออกทางอารมณ์อยู่ในระดับ ดี ปวดศีรษะ ปวดท้อง เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
๐-๙ คะแนน การแสดงออกทางอารมณอ์ ย่ใู นระดบั ไม่ดี จิตใจเศร้าหมอง และหากมีอารมณ์โกรธ
หงุดหงิดเป็นประจำา ก็จะทำาให้เกิดอาการ
• นักเรียนได้คะแนนรวมเท่าไร การมีอารมณ์เศร้าเสียใจ หายใจเร็ว ตัวสั่น ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพกาย
จะทำาให้จิตใจไม่แจ่มใส และจิตใจ
(๑๘ คะแนน)
• นักเรียนมีการแสดงออกทาง

อารมณอ์ ยู่ในระดับใด
(ตัวอยา่ งค�ำ ตอบ ด)ี

162 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

สถานการณใ์ ดทำ�ใหเ้ กดิ อารมณท์ างบวก
๑ ฟังเพลง ๒ ถกู แมด่ ุ
๓ ทะเลาะกับนอ้ ง ๔ ทำ�การบ้านไมไ่ ด้
(เฉลย ๑ เพราะการฟังเพลงท�ำ ใหเ้ กดิ ความสบายใจ สนุกสนาน อารมณ์ดี รา่ เริง
ซง่ึ เป็นลักษณะของอารมณท์ างบวก)

สุดยอดคู่มือครู 162

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด ep 3aseanรอบรู้อาเซียนและโลก

St St St ขัน้ ปฏิบัติ
และสรุปความรู้
หลงั การปฏิบัติ
๔. การจัดการกับอารมณ์ในเบื้องต้น

๑. เมื่อมีปัญหาควรเล่าให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูหรือเพื่อนที่ไว้วางใจ ๙. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็น
ได้ฟัง เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา ความรู้รว่ มกนั ดงั น้ี

๒. รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ปลูกต้นไม้ อ่านหนังสือ ทำา • อารมณ์เป็นความรู้สึกท่ีเกิดข้ึน
กิจกรรมที่ตนเองชื่นชอบ ในจิตใจที่ทุกคนแสดงออก เมื่อมี

๓. ฝึกนั่งสมาธิ เพื่อควบคุมอารมณ์ และทำาจิตใจให้สงบ ความสุขจะทำ�ให้เกิดความรู้สึก
ทางบวก ทำ�ให้ร่าเริงแจ่มใส สุขภาพ
๔. ไม่ใช้กำาลังหรือความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา ร่างกายแข็งแรง แต่เมื่อมีความทุกข์
๕. รู้จักผ่อนคลายอารมณ์ด้วยการออกกำาลังกาย เล่นกีฬา ร้องเพลง จะทำ�ให้เกิดอารมณ์ทางลบ ทำ�ให้
วาดภาพ หรือดูโทรทัศน์รายการที่ชอบ ไม่ร่าเริงแจ่มใส เจบ็ ปว่ ยได้ง่าย
๖. ฝึกรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและรู้จักมองโลกในแง่ดี
ep 4

ขนั้ สอื่ สารและนำ� เสนอ

เมื่อมีปัญหาควรเล่าให้พ่อแม่ การเล่นดนตรีช่วยผ่อนคลายอารมณ์ได้ ๑๐. นักเรียนออกมานำ�เสนอผลการ
หรือคนในครอบครัวฟัง แสดงออกทางอารมณ์ของตนเอง
หน้าชนั้ เรียน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
5ep ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพ่ิมคุณค่า
การปลูกและรดนํ้าต้นไม้ ช่วยให้ผ่อนคลายอารมณ์และความเครียด นอกจากนี้การอยู่ บริการสงั คม
ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ก็ช่วยให้มีจิตใจและอารมณ์ที่แจ่มใส และจติ สาธารณะ

๑๑. นักเรียนร่วมกันจัดป้ายนิเทศ
การจัดการกับอารมณ์ในเบื้องต้น
เพื่อให้เข้าใจและจัดการกับอารมณ์
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

สภาวะทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อสุขภาพ 163

เสริมความรู้ ครูควรสอน

การนง่ั สมาธิ มปี ระโยชน์ คอื สง่ ผลใหจ้ ติ ใจผทู้ �ำ สมาธผิ อ่ งใส สะอาด บรสิ ทุ ธ์ิ
สงบ จงึ ชว่ ยใหห้ ลบั สบายคลายกงั วล ไมฝ่ นั รา้ ย ชว่ ยพฒั นาใหม้ บี คุ ลกิ ภาพดขี น้ึ
กระปร้ีกระเปร่า มีความเช่ือม่ันในตนเองมากข้ึน และควบคุมอารมณ์ จิตใจ
ไดด้ ีขน้ึ

163 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

St St ตวั ชว้ี ัด ความเครียดและการจัดการกบั ความเครยี ด

พ ๔.๑ ป.๔/๒ ความเครียดเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน การมีความเครียดจะส่งผล
กระทบต่อจิตใจและทำาให้เกิดการเจ็บป่วยได้
ภาระงาน/ช้นิ งาน
แผนภาพความคิดผลที่เกดิ ขน้ึ ความเครียดแบ่งได้ ๒ ลักษณะ ดังนี้
จากการแสดงอารมณ์ ๑. ความเครยี ดทางรา่ งกาย คอื การทีร่ า่ งกายมกี ารตอบสนองตอ่ สิง่ ทีม่ า
คุกคาม เช่น ตกอยู่ในสถานการณ์ที่น่ากลัว พ่อแม่ทะเลาะกันทุกวัน หรืออยู่ใน
ep 1 ขั้นสังเกต ที่ที่มีเสียงดังเป็นเวลานาน ทำาให้เกิดความเครียด
๒. ความเครียดทางจิตใจ คือ การตอบสนองเมื่อคิดหรือรู้สึกว่าจะเกิด
รวบรวมข้อมูล อันตราย เช่น คิดว่าต้องถูกพ่อแม่ผู้ปกครองดุหรือลงโทษ ถ้ากลับบ้านผิดเวลา
หรือคิดว่าครูจะทำาโทษ ถ้ามาโรงเรียนสาย
๑. นกั เรียนรว่ มกันสนทนา โดยตอบค�ำ ถาม ๑. สาเหตุของความเครียด
ดังนี้ ความเครียดเกิดจากสาเหตุ ดังนี้

• นั ก เ รี ย น คิ ด ว่ า ค ว า ม เ ค รี ย ด ๑. เกิดจากการสูญเสียสิ่งที่ตนรัก ผิดหวังหรือไม่ได้ในสิ่งที่คาดหวังไว้
แสดงออกทางร่างกายได้อย่างไรบ้าง เช่น สัตว์เลี้ยงตาย ไม่ชนะการประกวด
(ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ ใบหน้าเศร้าหมอง
๒. เกิดจากความกลัวหรือความวิตกกังวล เช่น กลัวสอบตก กลัวถูก
ไมส่ ดใส ปวดศีรษะ ปวดท้อง) ทำาโทษ
• นักเรียนเคยมีความเครียดหรือไม่
๓. เกิดจากต้องเผชิญการเปลี่ยนแปลงหรือต้องเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมใหม่
เพราะเหตุใดจึงมีความเครียด (นักเรียน เช่น การย้ายโรงเรียน การที่พ่อแม่แต่งงานมีครอบครัวใหม่
แต่ละคนตอบตามประสบการณ)์
๒. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล ๔. เกิดจากสภาพแวดลอ้ มภายนอก เช่น การจราจรติดขดั อากาศเปน็ พษิ
เก่ียวกับความเครียดและการจัดการ อยู่ในที่ที่เสียงดังมาก ๆ
กับความเครียด จากหนังสือเรียนหรือ
แหลง่ การเรียนรูท้ ีห่ ลากหลาย ๕. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เช่น มีประจำาเดือนครั้งแรก
มีสิวขึ้นที่ใบหน้า
ep 2 ข้ันคิดวิเคราะห์
164 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔
และสรุปความรู้
เสริมความรู้ ครูควรสอน
๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี ประจ�ำ เดอื น (menstruation) เปน็ เลือดที่เกิดจากการหลุดลอกของเยอ่ื บุ
โพรงมดลูก โดยแต่ละรอบเดือนจะมีช่วงเวลาประมาณ ๒๖-๓๐ วัน ข้ึนอยู่กับ
• เมื่อมีความเครียดจะส่งผลกระทบ แตล่ ะบคุ คล ทำ�ใหป้ ระจำ�เดอื นเกิดขน้ึ เฉลีย่ เดอื นละ ๑ ครง้ั การมีประจ�ำ เดอื น
ต่อส่ิงใด (ตัวอย่างคำ�ตอบ ส่งผลกระทบ ของผู้หญิงแสดงวา่ มคี วามพร้อมในการตง้ั ครรภไ์ ด้
ต่อจิตใจและร่างกาย)

• ความเครียดเกิดจากสาเหตุใด
(ตัวอย่างคำ�ตอบ เกิดจากการเสียของรัก
สภาพร่างกายทเ่ี จบ็ ปว่ ยบ่อย)

๔. นักเรียนร่วมกันสนทนาว่าหากตนเอง
ต้องย้ายไปเรียนที่โรงเรียนใหม่จะทำ�
อย่างไรให้ตนเองไม่เครียดและปรับตัว
เข้ากับเพื่อนท่ีโรงเรยี นใหมไ่ ด้

สุดยอดคู่มือครู 164

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

๒. การปฏิบัติตนเพื่อลดความเครียด St Step 2asean

ขัน้ คิดวเิ คราะห์
และสรปุ ความรู้

เมื่อมีความเครียดเกิดขึ้น ควรลดความเครียดด้วยการปฏิบัติ ดังนี้ ๕. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
๑. ทำาความเข้าใจกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างถูกต้อง และรู้จัก โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี

ยอมรับความเป็นจริง • นักเรียนมีวิธีปฏิบัติตนอย่างไร
๒. เมื่อมีปัญหาหรือความเครียด ควรปรึกษากับพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือ เพ่ือลดความเครียด (ตัวอย่างคำ�ตอบ
เมื่อเกิดปัญหาปรึกษาพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ครู เพื่อหาทางแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง ออกก�ำ ลังกาย)
๓. ไม่แก้ปัญหาความเครียดด้วยวิธีการที่ผิด ๆ เช่น การหนีเรียน
๖. นักเรียนคิดประเมินเพ่ือเพ่ิมคุณค่า
การหนีออกจากบ้าน เที่ยวเตร่ สูบบุหรี่ โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี
๔. ไม่คาดหวังสิ่งที่เกินความเป็นจริง
• ถ้าถูกเพื่อนล้อเลียน นักเรียนจะ
ไว้ล่วงหน้าหรือที่เรียกว่า ตีตนไปก่อนไข้ เช่น ปฏิบัติตนอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
กลัวสอบตกทั้งที่ยังไม่ได้สอบ ไม่สนใจค�ำ พูดของเพ่อื น และเดินเลี่ยงไป
ทางอ่นื )
๕. หางานอดเิ รกทีช่ อบทาำ เชน่ เลีย้ งสตั ว์
สะสมแสตมป์ ep 3 ข้นั ปฏิบตั ิ
และสรปุ ความรู้
๖. ใช้เวลาว่างทำากิจกรรมที่มีประโยชน์ หลงั การปฏบิ ัติ
เช่น ออกกำาลังกาย ฟังเพลง รดนำ้าต้นไม้

เมื่อมีปัญหาหรือความเครียด
ควรปรึกษาพ่อแม่

ส รุป ความเครียดเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับ อาชีพน่ารู้ ๗. นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกัน
วิเคราะห์ผลท่ีเกิดข้ึนจากการแสดง
ทุกคน การปฏิบัติตนเพื่อลดความเครียดอย่าง นักจิตวิทยา คือ ผู้ที่ทําหน้าที่ อารมณ์ แล้วเขียนลงในแผนภาพ
เหมาะสม ทำาให้ดำารงชีวิตอย่างมีความสุข คน้ หาสาเหตุ ใหก้ ารบาํ บดั รกั ษา และ ความคิด ดังตัวอย่าง
คําแนะนําในการปฏิบัติตนกับผู้ที่มี
เว็บไซต์แนะนำา ปัญหาทางด้านจิตใจ

กรมสุขภาพจิต www.dmh.go.th อารมณ์ท่ีมผี ลต่อสุขภาพ อารมณ์ท่มี ผี ลตอ่ สขุ ภาพ
ทางบวก ทางลบ

(ดีใจ ชอบใจ) (เครยี ด วติ กกงั วล)

สภาวะทางอารมณท์ ่ีสง่ ผลต่อสขุ ภาพ 165 ผลที่เกิดขนึ้ ผลที่เกิดขนึ้

๘. นักเรียนรว่ มกันสรปุ ส่งิ ท่ีเข้าใจเปน็ ความร้รู ว่ มกัน ดังนี้ (ทำ�ใหม้ ีความสขุ จิตใจ (ไม่สบายใจ ใบหนา้
• อารมณ์เป็นสภาพของจิตใจท่ีอาจเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งท่ีมากระทบ อิ่มเอม รา่ เริง แจ่มใส เศรา้ หมอง หงุดหงิดงา่ ย
ยิม้ แย้ม) ไม่อยากพูดกบั ใคร)
มกั แสดงออกทางอารมณแ์ ละสหี นา้ ซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ หากเรารจู้ กั ปรบั ตวั
และควบคุมจัดการกับอารมณ์ได้ จะทำ�ให้สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่าง นกั เรียนควรปฏบิ ตั ติ นอย่างไร เพอ่ื ให้มอี ารมณท์ ดี่ อี ย่เู สมอ
มคี วามสุข (๑. เลน่ เกมกบั เพือ่ นในยามว่าง
๒. ดูโทรทศั น์รายการท่ีชอบ
๓. ฝึกนั่งสมาธเิ ป็นประจ�ำ
๔. ฟงั เพลงเพื่อผอ่ นคลายอารมณ)์

165 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

St Step 4

ขน้ั สอื่ สารและนำ� เสนอ ผังสรุปสาระสำาคัญ

๙. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา สภาวะทาง ลกั ษณะของอารมณ ์: อารมณ ์คอื ความรสู้ กึ ภายในใจทม่ี ตี อ่ สง่ิ รอบ ๆ
นำ�เสนอแผนภาพความคิดของกลุ่ม อารมณท์ ่ีสง่ ผล ตัว และแสดงออกมาในหลายรูปแบบ มีท้ังอารมณ์ทางบวกที่
ตนเองหนา้ ชน้ั เรียน ตอ่ สุขภาพ ส่งผลดีต่อสุขภาพและอารมณ์ทางลบท่สี ง่ ผลเสียตอ่ สุขภาพ
สภาวะทางอารมณ์ท่ีมผี ลตอ่ สุขภาพทางบวก คอื การมีอารมณท์ ่ดี ี
5ep ขนั้ ประเมินเพ่ือเพิม่ คุณค่า สภาวะทาง เบิกบาน แจม่ ใส สดชื่น ทำาใหร้ ู้สึกมคี วามสุข เน่อื งจากไดร้ บั สิ่งท่ี
บรกิ ารสังคม อารมณ์ทส่ี ่งผล พึงพอใจ
และจติ สาธารณะ สภาวะทางอารมณ์ท่ีมีผลต่อสุขภาพทางลบ คือ การมีความรู้สึก
ตอ่ สขุ ภาพ วิตกกงั วล เศร้าใจ เสียใจ ซึ่งสง่ ผลกระทบไปยังสุขภาพกาย ทาำ ให้
๑๐. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั แบง่ หนา้ ท่ี ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง เจ็บปว่ ยได้
ความรับผิดชอบ โดยให้แต่ละกลุ่ม ความเครียดและ การจัดการกับอารมณ์ในเบื้องต้น : เมื่อมีอารมณ์ไม่ดีต้องรู้จัก
คัดเลือกนิทานสำ�หรับเด็กเพื่อนำ�ไป การจัดการกบั ควบคมุ อารมณต์ นเอง ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรง และผอ่ นคลายอารมณ์
อ่านหรือเล่าให้น้อง ๆ ฟัง ทำ�ให้ ความเครียด ด้วยกิจกรรมที่ทำาแล้วสนกุ สนาน ผ่อนคลาย หากมีปัญหาควรเล่า
เปน็ การสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี ี สง่ ผล ใหพ้ ่อแม ่ ผปู้ กครองฟงั
ดีต่ออารมณแ์ ละสุขภาพ สาเหตขุ องความเครยี ด : ความเครยี ดเกดิ จากการผิดหวัง
สญู เสียสิ่งท่รี กั ความกลัวและวติ กกังวลสิ่งต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
กับตนเอง
การปฏบิ ตั ติ นเพอื่ ลดความเครยี ดทาำ ไดโ้ ดย การทาำ ความเขา้ ใจกบั
เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เหตุผล หางานอดิเรกทำา พูดคุยหรือเล่า
ปัญหาใหพ้ อ่ แม ่ ผ้ปู กครองฟัง

ตัวช้ีวัด กิจกรรมการเรยี นรู้

พ ๔.๑ ป.๔/๒ กิจกรรมท่ี ๑ สภาวะทางอารมณท์ ีส่ ง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ
๑. ให้นักเรียนออกมาเล่าเรื่องหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับลักษณะทางอารมณ์
ของตนเอง ๑ เรื่อง เมื่อเล่าจบถามเพ่ือน ๆ ว่า จากเหตุการณ์ที่เล่าตนเอง
มีอารมณ์อย่างไร ให้เพ่ือน ๆ วาดภาพใบหน้าแสดงอารมณ์ตามเหตุการณ ์
ท่เี ลา่ อย่างงา่ ย ๆ

166 สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

เมื่อเกิดความเครยี ดหรือวติ กกงั วลควรปฏิบัตติ นอยา่ งไร
๑ ออกไปเทย่ี วกลางคนื ๒ นงั่ สมาธิทำ�จติ ใจให้สงบ
๓ หาเร่อื งทะเลาะกับเพอื่ น ๔ เก็บตวั อยคู่ นเดยี ว
(เฉลย ๒ เพราะการนง่ั สมาธิท�ำ ให้จิตใจสงบ ม่ันคง ความเครียด หรอื ความ
วติ กกังวลลดลง และสามารถควบคุมอารมณ์ให้สงบลงได้)

สุดยอดคู่มือครู 166

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

ตัวช้ีวัด

๒. ให้นักเรียนยกตัวอย่างสภาวะทางอารมณ์ท่ีมีผลต่อสุขภาพทางบวก พ ๔.๑ ป.๔/๒
และสภาวะทางอารมณ์ที่มีผลต่อสุขภาพทางลบ อย่างละ ๑ อารมณ์
วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละบนั ทึกเป็นแผนภาพก้างปลา ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้

สภาวะทางอารมณ์ที่มีผล
ต่อสุขภาพทางบวก

สาเหตุ

สภาวะทางอารมณ์ที่มีผล
ต่อสุขภาพทางลบ

สาเหตุ

สภาวะทางอารมณท์ สี่ ่งผลตอ่ สขุ ภาพ 167

(ตัวอย่างแผนภาพกา้ งปลา) สภาวะทาง (สอบไดค้ ะแนนนอ้ ย) สภาวะทาง
อารมณท์ มี่ ผี ล สาเหตุ อารมณท์ ี่มีผล
(ไดร้ บั ค�ำ ชมเชยจากพ่อแม่ ตอ่ สุขภาพทางบวก ต่อสขุ ภาพทางลบ
ผู้ปกครอง) (ถูกเพื่อนแกล้ง)
สาเหตุ (ดใี จ) (เสียใจ)

(สอบได้คะแนนด)ี 167 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวช้ีวัด กจิ กรรมท่ี ๒ การจดั การกับความเครยี ด

พ ๔.๑ ป.๔/๒ ๑. ให้นักเรียนร่วมกันคัดเลือกตัวแทนนักเรียน ๒-๓ คน ออกมา
เล่าประสบการณ์ที่ทำาให้เกิดความเครียด และการปฏิบัติตนในการ
ลดความเครียด

๒. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติตน
ในการลดความเครียด

๓. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและช่วยกันเขียนคำาขวัญเก่ียวกับการจัดการกับ
ความเครียด แลว้ นำาไปตดิ ไว้ทีป่ า้ ยนเิ ทศในโรงเรยี น

แนวค�ำตอบ คำาถามพฒั นากระบวนการคิด

๑. ทำ�ให้สุขภาพดี เพราะไม่ต้องเครียดหรือ ๑. อารมณท์ ่ดี ีส่งผลตอ่ สุขภาพของนกั เรยี นอย่างไร
วิตกกังวล ๒. อารมณท์ ี่ไม่ดสี ่งผลเสียต่อสุขภาพของนกั เรียนอย่างไร
๓. เม่อื นักเรียนโกรธควรปฏิบตั ิตนอย่างไรเพ่ือลดความโกรธ
๒. สุขภาพไมด่ ี เพราะทำ�ให้ปวดทอ้ ง ๔. ความเครยี ดเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
รบั ประทานอาหารไม่ได้รา่ งกายทรดุ โทรม ๕. เมอื่ เกิดความเครยี ด นกั เรยี นควรปฏบิ ัตติ นอยา่ งไร
๓. นับ ๑-๑๐ ในใจ ๖. เมื่อเพอ่ื นมคี วามเครยี ด นกั เรยี นควรปฏิบตั ิอยา่ งไร
๔. การเปล่ยี นแปลงทางรา่ งกาย ๗. ความเครยี ดสง่ ผลต่อสขุ ภาพอยา่ งไร
ทำ�ผดิ แล้วกลัวถกู ลงโทษ ๘. เมื่อมีอารมณอ์ จิ ฉาริษยา นกั เรียนจะควบคมุ อารมณอ์ ย่างไร
๕. ทำ�กจิ กรรมทีผ่ อ่ นคลาย ๙. นกั เรยี นจะสงั เกตผู้ที่มปี ญั หาทางอารมณ์และความเครียดได้อย่างไร
เล่าปัญหาให้พ่อแม่ ผูป้ กครองฟงั ๑๐. การมีอารมณท์ ่ีเบิกบานสง่ ผลตอ่ สุขภาพกายอย่างไร
๖. ชวนเพอ่ื นเลน่ กีฬา
๗. ทำ�ใหส้ ุขภาพออ่ นแอ เจบ็ ปว่ ยได้งา่ ย 168 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ป.๔
๘. ย้ิม และใหน้ ึกถงึ คนทีด่ ้อยกวา่ เรา
เพ่อื จะได้ไม่อจิ ฉาริษยาผอู้ นื่
๙. ดซู ึมเศรา้ และไม่รา่ เรงิ
๑๐. ร่างกายสมบรู ณ์ แข็งแรง เจริญเตบิ โต
ตามวยั

สุดยอดคู่มือครู 168

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

เปา้ หมายการเรยี นรู้

๑๒การเรยี นรู้ที่ ฉลากอาหาร มาตรฐานการเรียนรู้
และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ห ่นวย มาตรฐาน พ ๔.๑
น เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม
สุขภาพ การดำ�รงสุขภาพ การป้องกันโรค

และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ

ตัวช้ีวัด สมรรถนะสำ�คญั ของผู้เรียน
วิเคราะห์ขอ้ มลู บนฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ เพือ่ การเลอื กบริโภค (พ ๔.๑ ป.๔/๓)
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
ผงั สาระการเรียนรู้ หลักในการอา่ นขอ้ มูล ๒. ความสามารถในการคิด
ฉลากผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
ผลิตภณั ฑ์สุขภาพ ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
ท่ีพบในชวี ติ ประจำาวนั และฉลากอาหาร ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เครื่องหมายบนฉลาก
ผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

ฉลากอาหาร ใฝเ่ รียนรู้
และผลิตภัณฑ์ ตัวช้ีวัดที่ ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามใน
การเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้
สุขภาพ ตัวช้ีวัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จาก
แหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก
สาระสาำ คัญ โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่ืออย่าง
อาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพเปน็ สง่ิ ทตี่ อ้ งใชใ้ นการดาำ รงชวี ติ การรจู้ กั เลอื กบรโิ ภคอาหารและใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป
สขุ ภาพอยา่ งถกู ตอ้ ง และการเรยี นรทู้ าำ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั รายละเอยี ดบนฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต
ก่อนซ้อื จะทำาให้บรโิ ภคอาหารและใชผ้ ลติ ภณั ฑ์สุขภาพได้อยา่ งปลอดภัย ประจ�ำ วันได้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 จุดประกายโครงงา

นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันสำ�รวจผลิตภัณฑ์สุขภาพและ
ผลิตภัณฑ์อาหารภายในโรงเรียนและชุมชนว่ามีชนิดใดบ้างที่ได้มาตรฐาน
รับรองคณุ ภาพ และมีความปลอดภยั ในการใชห้ รือบรโิ ภค และมชี นดิ ใดบา้ ง
ท่ีไม่มีมาตรฐานรับรองคุณภาพและไม่ควรเลือกใช้หรือบริโภค และจัดแสดง
ผลงานในรูปแบบแผงโครงงาน

169 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ตัวชวี้ ัด ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพทพ่ี บในชีวิตประจา� วนั
พ ๔.๑ ป.๔/๓
ภาระงาน/ชิ้นงาน จุดประกายความคดิ
ภาพวาดระบายสีเครื่องหมายเตือนอันตราย
หรอื เครอ่ื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑค์ ณุ ภาพ

Step 1 ข้นั สังเกต

รวบรวมขอ้ มูล

๑. นักเรียนบอกชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ นักเรียนอยากให้
หรือสินค้าที่มีใช้ในบ้านตนเองคนละ ฉลากสินคา้ ต่าง ๆ
๒ ชนิ้ (ตวั อย่างค�ำ ตอบ ยาสระผม สบ)ู่ มีขอ้ มูลอะไรบ้าง

๒. นักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับ การใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อสุขภาพ เราควรมีความรู้ในการเลือกซื้อ
ประสบการณ์การซื้อของของนักเรียน ที่ถูกต้อง เพื่อให้เรามีสุขภาพดี และเกิดความปลอดภัย
โดยตอบคำ�ถาม ดังนี้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบบ่อยในชีวิตประจำาวัน คือ เครื่องสำาอาง
• นักเรียนเคยไปซื้อของในตลาด เครื่องสำ�อ�ง
หรือห้างสรรพสินค้าหรือไม่ (เคย/ เครอื่ งสาำ อางมจี ดุ ประสงคใ์ นการ
ใช้เพื่อความสวยงามของร่างกาย แต่
ไมเ่ คย) เครื่องสาำ อางก็อาจก่อให้เกิดอันตราย
• ถ้าเคย นักเรียนไปซ้ืออะไร กับร่างกายได้ ถ้าเลือกใช้ไม่ถูกต้อง

(ตัวอยา่ งคำ�ตอบ ของเล่น ขนม) เครื่องสำาอาง
• นักเรียนใช้วิธีการเลือกซื้อของ
170 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔
อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ เลือกซ้ือของ
• ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีหลายชนิด นักเรียนมีวิธีการเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์
ที่อยากได้ ราคาไมแ่ พง และมคี ณุ ภาพ) ชนิดน้ันอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ เลอื กทม่ี คี วามสด ใหม่ มีรสชาติอร่อย)
๓. นักเรียนสังเกตผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ
• ขณะที่นักเรียนเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เคยดูวัน เดือน ปีท่ีผลิต
เชน่ ขนมปงั นมกลอ่ ง จากนนั้ นกั เรยี น หรือวันหมดอายหุ รือไม่ (เคย/ไม่เคย)
ร่วมกันสนทนา โดยตอบคำ�ถาม ดงั นี้
• นักเรียนเคยเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์
ดังกล่าวหรือไม่ (เคย/ไม่เคย)

สุดยอดคู่มือครู 170

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

หลักการเลือกใช้เครื่องสำาอาง Step 1asean

ข้นั สังเกต
รวบรวมขอ้ มลู

๑. เลือกใช้เครื่องสำาอางเฉพาะที่จำาเป็นเท่านั้น โดยใช้แป้งฝุ่นสำาหรับ ๔. นักเรียนฟังการอธิบายเพิ่มเติมว่า
เด็กทาหน้า หรือทาตัวเพื่อป้องกันการอับชื้น ใช้ลิปสติกมัน หรือขี้ผึ้งทาปาก ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดจะมีฉลากอาหาร
ในฤดูหนาว ไม่ควรใช้เครื่องสำาอางของผู้ใหญ่ เพราะอาจทำาให้แพ้ได้ หรือฉลากโภชนาการกำ�กับ เพื่อแสดง
ข้อมูลทางด้านโภชนาการซึ่งระบุ
๒. อ่านฉลากผลิตภัณฑ์ทุกครั้งก่อนซื้อและต้องดูรายละเอียด ดังนี้

รายละเอียดของชนิด และปริมาณ
สารอาหารท่ีมีอยู่ในอาหารน้ัน ทำ�ให้
๑. ชื่อผลิตภัณฑ์ ผบู้ รโิ ภคสามารถเลอื กซอื้ อาหารไดต้ รง

๖. สรรพคุณ ตามความต้องการ นอกจากนี้ยังมี
ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีผลโดยตรงต่อ
สุขภาพ เช่น ยา เคร่ืองสำ�อาง การใช้
ผลติ ภณั ฑ์สุขภาพต้องใช้อยา่ งถูกต้อง
๕. วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ ๘. ส่วนประกอบสำาคัญ ตามวธิ กี ารทรี่ ะบไุ วบ้ นฉลาก จงึ จะเกดิ

ผลดีตอ่ สขุ ภาพและปลอดภัย
๕. นักเรียนสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์
ในหนังสือเรียนแล้วร่วมกันวิเคราะห์
โดยตอบคำ�ถาม ดงั น้ี
๙. คำาเตือนในการใช้ • ผลติ ภัณฑน์ ี้ช่อื อะไร (BENA)

๓. วัน เดือน ปีที่ผลิต ๒. ชื่อและที่ตั้ง • ผลิตภัณฑ์นี้เป็นผลิตภัณฑ์
ของผู้ผลิต ประเภทใด (โลชันบ�ำ รงุ ผวิ )
ส่วนประกอบบนฉลากผลิตภัณฑ์
๗. ปริมาณสุทธิ • ผลติ ภณั ฑ์นมี้ ีวิธีใช้อย่างไร

๔. วัน เดือน ปี (ลูบไลท้ ั่วเรือนรา่ งทกุ ครัง้ หลังอาบนํ้า)
ที่หมดอายุ • ผลิตภัณฑ์นี้มีคำ�เตือนในการใช้

อยา่ งไร (๑. เก็บให้พ้นแสง ๒. หากเกิด

ฉลากอาหารและผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพ 171 อาการคนั ระคายเคอื งหรอื มเี มด็ ผน่ื แดง
ควรหยุดใชแ้ ละปรกึ ษาแพทย์)

• ผลิตภัณฑ์น้ีผลิตและหมดอายุ
เมอื่ ไร(ผลติ วนั ที่๑๗เดอื นพฤศจกิ ายน

พ.ศ. ๒๕๕๕ หมดอายุวันที่ ๑๗ เดือน

พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑)

๖. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูล
เก่ียวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบใน
ชีวิตประจำ�วัน จากหนังสือเรียนหรือ
แหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย

171 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ขัน้ คิดวเิ คราะห์
St

และสรุปความรู้ ๑. ชื่อผลิตภัณฑ์ ๒. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต

๗. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ๓. วัน เดือน ปีที่ผลิต ๔. วัน เดือน ปีที่หมดอายุ
แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับหลักการ
ป ฏิ บั ติ ต น ใ น ก า ร เ ลื อ ก ซ้ื อ อ า ห า ร ๕. วิธีใช้ผลิตภัณฑ์ ๖. สรรพคุณ
๗. ปริมาณสุทธิ ๘. ส่วนประกอบสำาคัญ
และผลิตภัณฑ์สุขภาพ แล้วสรุป ๙. คำาเตือนในการใช้
เป็นความคิดรวบยอด โดยเขียน
เป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน ๓. อ่านวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างละเอียดก่อนใช้เพื่อให้ใช้
ดงั ตัวอยา่ ง ผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้อง
การปฏบิ ตั ติ นในการเลอื กใชเ้ ครือ่ งสำาอางอยา่ งถกู ตอ้ ง ชว่ ยใหป้ ลอดภยั
อา่ นฉลากก่อนซือ้ ถา้ ไม่เข้าใจต้องถาม จากอันตรายจากการใช้เครื่องสำาอางได้
ทกุ ครัง้ ผทู้ ี่มีความรู้

หลกั การปฏบิ ัตติ น หลกั ในการอา่ นข้อมูลฉลากผลิตภณั ฑส์ ขุ ภาพ
ในการเลือกซ้ืออาหาร และฉลากอาหาร

และผลติ ภัณฑ์ ๑. ก�รอ่�นฉล�กผลิตภัณฑ์สุขภ�พ
สุขภาพ ๑. อ่านชื่อผลิตภัณฑ์ว่าใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดและให้ประโยชน์ต่อ
ร่างกายอย่างไร
ตรวจสอบอาหารและ ปฏิบัตติ ามวธิ กี ารบรโิ ภค ๒. อ่านวิธีการใช้ เพื่อให้ใช้ผลิตภัณฑ์อย่างถูกวิธี
ผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพนั้นวา่ ทร่ี ะบไุ วบ้ นฉลาก ๓. ดูวัน เดือน ปีที่ผลิต ว่าผลิตมานานมากน้อยเพียงใด
ตรงตามทรี่ ะบบุ นฉลากหรอื ไม่ อย่างเคร่งครดั ๔. ดูวัน เดือน ปีที่หมดอายุ ว่าสินค้านั้นหมดอายุหรือยัง ถ้าหมดอายุ
แล้วไม่ควรซื้อผลิตภัณฑ์นั้น
๘. นักเรียนคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า ๕. ดูสถานที่ผลิต ว่าผลิตที่ใด หรือใครเป็นผู้จัดจำาหน่าย เมื่อเกิด
โดยตอบคำ�ถาม ดังน้ี ปัญหาทางสุขภาพ จะได้ทราบแหล่งที่ผลิต และแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์

• หากนกั เรยี นน�ำ หลกั การเลอื กซอ้ื 172 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๔
ไปปฏิบตั ิจะสง่ ผลอย่างไร

(ตัวอย่างคำ�ตอบ ได้สนิ คา้ ท่มี คี ุณภาพ
มีความปลอดภยั )

เสริมความรู้ ครูควรสอน

• วัน เดอื น ปที ่ีผลิต ส่วนใหญจ่ ะระบเุ ปน็ ปคี รสิ ตศ์ กั ราช (ค.ศ.)
• สรรพคุณ คณุ สมบัติของส่งิ ท่เี ปน็ ยา
• ส่วนประกอบส�ำ คัญ ระบไุ ว้เพอ่ื ตรวจสารทีท่ ำ�ให้เกิดการแพไ้ ด้

สุดยอดคู่มือครู 172

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพg่ือuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

๖. อ่านดูปริมาณสุทธิเพื่อ St asean
เปรียบเทียบกับราคาว่าคุ้มค่าหรือไม่
และตรวจสอบปริมาณให้ถูกต้อง ep 1
ตรงตามที่ฉลากระบุไว้
ขนั้ สงั เกต
๒. ก�รอ่�นฉล�กผลิตภัณฑ์อ�ห�ร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวบรวมขอ้ มลู

ฉลากอาหาร หรือฉลากโภชนาการ หมายถึง ฉลากแสดงข้อมูลทาง ๙. นักเรียนสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร
ดา้ นโภชนาการของอาหาร ซึง่ ระบรุ ายละเอยี ดของชนดิ และปรมิ าณสารอาหาร แล้วร่วมกันวิเคราะห์แสดงความคิดเห็น
ที่มีอยู่ในอาหารนั้น ทำาให้ผู้บริโภคสามารถเลือกอาหารได้ตรงตามความ โดยตอบค�ำ ถาม ดงั น้ี
ต้องการ
• นักเรียนคิดว่าฉลากอาหารมี
อาหารที่ได้รับการตรวจจากสำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ความสำ�คัญอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
(อย.) จะมีตรา อย. บนฉลากอาหาร และแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับอาหาร ทำ�ให้ผู้บริโภคทราบข้อมูลเกี่ยวกับอาหารท่ี
โดยบอกองค์ประกอบที่สำาคัญ ดังนี้ บริโภค)

• รายละเอยี ดทปี่ รากฏบนซองอาหาร
มีอะไรบ้าง (ตัวอย่างคำ�ตอบ ช่ืออาหาร
ส่วนประกอบของอาหาร ชื่อและท่ีต้ังของ
บริษัทที่ผลิต คำ�แนะนำ�ในการเก็บรักษา
ปริมาณของอาหาร วัน เดือน ปีท่ีผลิตและ
หมดอาย)ุ

เสริมความรู้ ครูควรสอน

๑. ชื่ออาหาร ๒. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต สายดว่ น อย. หมายเลข ๑๕๕๖
๓. ปริมาณสุทธิ ๔. ส่วนประกอบของอาหาร/ รายละเอียดของเลขสารบบหรือตัวเลข
๕. วิธีใช้หรือวิธีรับประทาน ๑๓ หลักในเคร่ืองหมาย อย. แบ่งออก
๗. วัน เดือน ปีที่ผลิต ข้อมูลด้านโภชนาการ เป็น ๕ กลุ่ม ดงั น้ี
๙. เครื่องหมาย อย. ๖. คาำ แนะนาำ ในการใชห้ รอื เกบ็ รกั ษา กลุ่มท่ี ๑ ประกอบด้วยเลขสองหลัก
๘. วัน เดือน ปีที่หมดอายุ หมายถึง จังหวัดท่ีตั้งของสถานที่ผลิต
อาหารหรือนำ�เข้าอาหาร โดยใช้ตัวเลข

เครื่องหมาย อย. บนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร แทนอักษรย่อของจังหวดั
กลุ่มที่ ๒ ประกอบด้วยเลขหนึ่งหลัก
หมายถึง สถานะของสถานท่ีผลิตอาหาร
ฉลากอาหารและผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพ 173 หรือนำ�เข้าอาหาร และหน่วยงานท่ีเป็น

ผู้อนุญาต โดยหมายเลข ๑ หมายถึง

ส ถ า น ที่ ผ ลิ ต อ า ห า ร ที่ สำ � นั ก ง า น
คณะกรรมการอาหารและยาเป็นผู้อนุญาต หมายเลข ๒ หมายถึง สถานท่ีผลิตอาหารท่ีจังหวัดเป็นผู้อนุญาต หมายเลข ๓ หมายถึง

สถานทน่ี �ำ เขา้ อาหารทสี่ �ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาเปน็ ผอู้ นญุ าต หมายเลข ๔ หมายถงึ สถานทนี่ �ำ เขา้ อาหารทจี่ งั หวดั เปน็ ผอู้ นญุ าต
กลุ่มที่ ๓ ประกอบด้วยเลขห้าหลัก หมายถึง เลขสถานที่ผลิตอาหารหรือเลขสถานท่ีนำ�เข้าอาหารที่ได้รับอนุญาต และ พ.ศ. ที่อนุญาต
โดยตัวเลขสามหลักแรก คือ เลขสถานที่ผลิตหรือนำ�เข้าอาหารแล้วแต่กรณี ส่วนตัวเลขสองหลักสุดท้าย คือ ตัวเลขสองหลักสุดท้าย

ของ พ.ศ. ท่ไี ด้รบั อนญุ าต
กลุ่มท่ี ๔ ประกอบด้วยเลขหนง่ึ หลัก หมายถึง หน่วยงานทอ่ี อกเลขสารบบอาหาร
กล่มุ ท่ี ๕ ประกอบดว้ ยเลขส่หี ลัก หมายถึง ล�ำ ดับท่ีของอาหารท่ผี ลิตหรือน�ำ เข้าของสถานท่แี ตล่ ะแหง่ แยกตามหน่วยงานทีเ่ ป็นผู้อนญุ าต

173 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 2 ข้ันคดิ วิเคราะห์
St
และสรุปความรู้
๗. วัน เดือน ปีที่ผลิต

๑๐. นักเรียนเลือกฉลากอาหารหรือ ๑. ชื่ออาหาร ๘. วัน เดือน ปี
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภ า พ ใ น ค ร อ บ ค รั ว ๕. วิธีใช้หรือวิธี ที่หมดอายุ
มา ๑ ชนิด นำ�ฉลากมาติดหรือวาด
ฉลากผลิตภัณฑ์นั้นลงในกระดาษ รับประทาน ๙. เครื่องหมาย อย.
แล้ววิเคราะห์รายละเอียดของฉลาก ๔. ส่วนประกอบของ
ผลิตภัณฑ์ ดังนี้
อาหาร/ข้อมูล
• ช่ือผลติ ภัณฑ์ ด้านโภชนาการ
• ขอ้ มลู หรอื รายละเอยี ดบนฉลาก ๒. ชื่อและที่ตั้งของ
ผู้ผลิต
ผลิตภณั ฑ์
๑๑. นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจาก ๖. คำาแนะนำาในการ
ใช้หรือเก็บรักษา
การวิเคราะห์ฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร
และสุขภาพว่าตนเองได้รับความรู้ ๓. ปริมาณสุทธิ
อย่างไร มีเรื่องใดเกี่ยวกับการอ่าน
ฉลากผลติ ภณั ฑท์ ต่ี อ้ งศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ๓. ประโยชนข์ องก�รอ�่ นฉล�กผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภ�พและฉล�กอ�ห�ร
หรือไม่ และหากว่านักเรียนนำ�หลัก
การอ่านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพและ ๑. ๒.
ฉลากอาหารไปใช้จะได้รับประโยชน์
อย่างไร รู้ส่วนประกอบของอาหาร รู้วิธีรับประทานและวิธีใช้
และประโยชน์ของ เพื่อให้บริโภคได้อย่าง
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ถูกต้อง

๖. ประโยชนข์ องการ ๓. รู้คำาเตือนเพื่อให้
อา่ นฉลากผลติ ภณั ฑ์
รู้ชื่อและที่อยู่ สุขภาพและฉลาก ใช้ผลิตภัณฑ์ได้
ของผู้ผลิต อย่างปลอดภัย

๕. อาหาร
รู้วันผลิตและวันหมดอายุ
ของอาหารและผลิตภัณฑ์ ๔. รู้วิธีการเก็บรักษา
สุขภาพนั้น ที่ถูกต้องเหมาะสม

174 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

เสริมความรู้ ครูควรสอน

ตัวย่อท่ีแสดงวันผลิตและวันหมดอายุที่พบบ่อยบนฉลากผลิตภัณฑ์ เช่น
MFG หรือ MFD ย่อมาจากคำ�ว่า Manufacturing Date แปลว่า วันท่ีผลิต
EXP หรอื Exp. ยอ่ มาจากคำ�ว่า Expiration Date แปลว่า วนั ท่หี มดอายุ

สุดยอดคู่มือครู 174

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

ep 1aseanSt

ส รุป การมที กั ษะในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข้นั สงั เกต
รวบรวมขอ้ มลู
บนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ กระปุกหรอื ขวดโหลของผลิตภณั ฑ์สุขภาพ
พร้อมทั้งมีทักษะในการเลือกรับประทาน ที่ใช้หมดแล้ว สามารถนำามาใช้ใส่สิ่งของ ๑๒. นักเรียนบอกเคร่ืองหมายเตือน
อาหาร และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ต่าง ๆ ได้อีกเพื่อลดปริมาณขยะ อั น ต ร า ย ท่ี ต น เ อ ง รู้ จั ก ห รื อ เ ค ย
ได้อย่างถูกต้องจะทำาให้มีสุขภาพดี พบเห็น

ความรู้รอบโลก ๑๓. นกั เรยี นรว่ มกนั ดเู ครอ่ื งหมายบนฉลาก
ประเทศเยอรมนี เป็นประเทศแรกที่เริ่มใช้ฉลากเขียว (Green label) หรือฉลากเพื่อ ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ ประกอบด้วย
สิ่งแวดล้อม เพื่อแสดงว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าสินค้าประเภท
เดียวกันที่ไม่ได้รับการรับรอง เคร่อื งหมายเตือนอันตราย
• ค�ำ เตือน
เครอ่ื งหมายบนฉลากผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ • เครื่องหมายหัวกะโหลกไขว้
• เครือ่ งหมายวัตถุไวไฟ
๑. เครื่องหม�ยเตือนอันตร�ย • เครือ่ งหมายอันตรายจาก
ฉลากของผลิตภัณฑ์สุขภาพบางชนิด
จะมีการระบุเครือ่ งหมายเตือนอันตรายไว้ สารเคมปี ระเภทกรด-ด่าง
เพื่อให้ใช้ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ อย่างปลอดภัย เครอื่ งหมายมาตรฐาน
เครื่องหมายเตือนอันตรายที่พบได้บ่อยใน ผลิตภัณฑค์ ณุ ภาพ
ชีวิตประจำาวัน มีดังนี้ • เครือ่ งหมายมาตรฐานทว่ั ไป
๑. คำาเตือน เช่น ควรบริโภคก่อน • เคร่อื งหมายมาตรฐานบงั คบั
วันที่... ควรเก็บไว้ในที่แห้งและเย็น ยาใช้ • เคร่ืองหมายมาตรฐาน
ภายนอก ห้ามรับประทาน
เฉพาะดา้ นความปลอดภัย
จากนั้นร่วมกันบอกว่านักเรียน

เคยเหน็ เครอ่ื งหมายแบบใดบา้ ง และ
เคยเหน็ ในผลิตภณั ฑใ์ ด

คำาเตือนยาใช้ภายนอก ห้ามรับประทาน
เพราะอาจทำาให้เกิดอันตราย

ฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑส์ ุขภาพ 175

เสริมความรู้ ครูควรสอน

• คำ�เตอื น อาจท�ำ ให้เกดิ อันตรายหากไมป่ ฏบิ ัติตาม สว่ นใหญจ่ ะเขียนด้วย
ตวั อกั ษรสแี ดง
• ฉลากยา มี ๒ ประเภท คอื ๑. ยาใช้ภายนอก เป็นฉลากสีแดง ตวั อกั ษร
สแี ดง มกั เขยี นฉลากสแี ดงตดิ ขา้ งกลอ่ งวา่ “ยาใชภ้ ายนอก หา้ มรบั ประทาน” และ
๒. ยาใช้ภายใน เป็นฉลากสขี าว

175 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ขั้นสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

St บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ep 2 ข้ันคดิ วิเคราะห์ ๒. เครื่องหมายหัวกะโหลกไขว้ ส่วนใหญ่

และสรปุ ความรู้

๑๔. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น จะอยบู่ นฉลากผลติ ภณั ฑป์ ระเภทสารเคมฆี า่ แมลง
ซึ่งหมายถึง ห้ามรับประทานโดยเด็ดขาด หรือ
เก่ยี วกบั เครอ่ื งหมายเตอื นอันตราย และ

เครอ่ื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑค์ ณุ ภาพ ไม่ควรสัมผัสโดยตรงเพราะอาจได้รับอันตราย

แต่ละเคร่ืองหมาย โดยพิจารณาภาพ ถึงชีวิต ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
เคร่อื งหมาย แล้วตอบคำ�ถาม ดังน้ี
• เครื่องหมายนี้คืออะไร หมายถึง เครื่องหมายหัวกะโหลกไขว้
แสดงว่าเป็นผลิตภัณฑ์อันตราย

อะไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ เครื่องหมาย ๓. เครื่องหมายวัตถุไวไฟ ส่วนใหญ่จะอยู่
บนฉลากผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารเคมีติดไฟได้ง่าย
หัวกะโหลกไขว้ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ มักเขียนคำาเตือนกำากับไว้ที่เครื่องหมาย เช่น ห้าม
นำาไปไว้ใกล้กับไฟ เพราะอาจทำาให้เกิดอัคคีภัยได้
อันตราย) ถ้าพบเครื่องหมายนี้ในผลิตภัณฑ์สุขภาพชนิดใด
• เครื่องหมายน้ีส่วนใหญ่อยู่บน

ฉลากผลติ ภณั ฑช์ นดิ ใด (ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ

ยาฆา่ แมลง สารเคมีอันตราย) ควรระมัดระวัง ไม่ใช้ใกล้กับเปลวไฟ เครื่องหมายวัตถุไวไฟ
แสดงว่าสามารถติดไฟได้ง่าย
• ถา้ ผบู้ รโิ ภคไมป่ ฏบิ ตั ติ ามจะเกดิ ผล
อย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ ทำ�ให้เกิด

อนั ตรายต่อร่างกายและอาจถงึ ชวี ติ ได)้ ๔. เครื่องหมายอันตรายจากสารเคมี
๑๕. นกั เรยี นพจิ ารณาภาพเครอื่ งหมายมาตรฐาน ประเภทกรด-ดา่ ง เชน่ นาำ้ ยาซกั ผา้ ขาว แสดงวา่
ผลิตภัณฑ์ที่ใช้มีส่วนผสมที่เป็นอันตราย
ผลิตภัณฑ์คุณภาพ เช่น เครื่องหมาย ต่อผิวหนังหรือเสื้อผ้า ควรทำาให้เจือจางด้วย
มาตรฐานทว่ั ไป แลว้ นกั เรยี นแสดงความ เครื่องหมายแสดงว่าผลิตภัณฑ์ การผสมนำ้าก่อนนำาไปใช้
คดิ เหน็ โดยตอบคำ�ถาม ดังนี้
• จากภาพคือเครื่องหมายชนิดใด มีความเข้มข้นสูงต้องผสมนำ้า
และหมายความว่าอย่างไร (ตัวอย่าง ให้เจือจางก่อนใช้

คำ�ตอบ คือ เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป เครื่องหมายเตือนอันตรายเหล่านี้ช่วยเตือนให้บริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์
นั้น ๆ ได้อย่างปลอดภัย ไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
หมายถึง เคร่ืองหมายที่แสดงการรับรอง
176 สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๔
คณุ ภาพ)
• นกั เรยี นเคยเหน็ เครอ่ื งหมายชนดิ นี้

ทผี่ ลิตภัณฑ์ใดบ้าง (ตวั อย่างคำ�ตอบ

ซองบะหม่กี ่ึงส�ำ เร็จรูป หลอดยาสีฟัน)
๑๖. นักเรียนคิดประเมินเพ่ือเพ่ิมคุณค่า

โดยตอบคำ�ถาม ดังน้ี
• นักเรียนสามารถนำ�ความรู้เร่ือง

เครื่องหมายเตือนอันตราย และ
เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑค์ ณุ ภาพ
ไปใช้ในชีวิตประจำ�วันอย่างไร (ตัวอย่าง
คำ�ตอบ ใช้ในการพิจารณาเลือกซ้ือ

ผลิตภณั ฑส์ ุขภาพและผลติ ภัณฑอ์ าหาร)

สุดยอดคู่มือครู 176

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขinั้นgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพlaิ่มtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด ep 3aseanรอบรู้อาเซียนและโลก

St ขัน้ ปฏิบัติ
และสรุปความรู้
๒. เครื่องหม�ยม�ตรฐ�นผลิตภัณฑ์คุณภ�พ หลังการปฏิบตั ิ

เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมหรอื มอก. เปน็ เครอื่ งหมาย ๑๗. นั ก เ รี ย น ว า ด ภ า พ ร ะ บ า ย สี
ที่สำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้อนุญาตให้แสดง เครื่องหมายเตือนอันตราย หรือ
เครือ่ งหมาย เพือ่ บง่ ชีว้ า่ ผลติ ภณั ฑม์ มี าตรฐานตามทีก่ าำ หนด ซึง่ มเี ครือ่ งหมาย เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์
คุณภาพท่ีพบเห็นในชีวิตประจำ�วัน
ดังนี้ มา ๑ เคร่อื งหมาย แล้วตอบค�ำ ถาม
๑. เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป คือ เครื่องหมายที่
แสดงการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์มาตรฐานที่ไม่ได้มีการ
บังคับว่าได้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ สมอ. กำาหนดแล้ว ซึ่งผู้ผลิต
สินค้าต่าง ๆ สามารถยื่นขอใบอนุญาตแสดงเครื่องหมาย
เครื่องหมาย (ตวั อยา่ งภาพเครอ่ื งหมาย
ดังกล่าวได้ด้วยความสมัครใจ มาตรฐานทั่วไป หวั กะโหลกไขว)้

๒. เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ คือ เครื่องหมาย • เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ท่ี ว า ด น้ี คื อ
บนผลิตภัณฑ์ที่กฎหมายได้กำาหนดให้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เคร่ืองหมายอะไร (เครื่องหมาย
ต้องมีมาตรฐานเป็นไปตามที่กำาหนด หากไม่กระทำาตาม
จะผิดกฎหมาย เพื่อเป็นการคุ้มครองความปลอดภัยแก่ หัวกะโหลกไขว้)
เครื่องหมาย ผู้บริโภค เมื่อนำาไปใช้งาน เช่น ผงซักฟอก ยาจุดกันยุง • เคร่ืองหมายนี้พบในผลิตภัณฑ์
มาตรฐานบังคับ สายไฟฟ้า
๓. เครื่องหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความ อะไร (นาํ้ ยากำ�จดั ศัตรูพืช)
ปลอดภัย คือ เครื่องหมายที่แสดงบนผลิตภัณฑ์ที่เน้น • เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย ดั ง ก ล่ า ว มี
เรื่องความปลอดภัยในการใช้งาน เพื่อแสดงว่าผลิตภัณฑ์
นั้นได้ผ่านการตรวจสอบด้านความปลอดภัยแล้วเพื่อเป็น ความหมายอย่างไร (หา้ มรบั ประทาน
การคุ้มครองผู้บริโภคให้ใช้อย่างปลอดภัย เช่น เครื่องใช้- เครื่องหมายมาตรฐาน
ไฟฟ้า เฉพาะด้านความปลอดภัย โดยเด็ดขาด)
๑๘. นักเรียนร่วมกันสรุปส่ิงที่เข้าใจเป็น
ฉลากอาหารและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ 177
ความรรู้ ่วมกัน ดงั น้ี
เสริมความรู้ ครูควรสอน • ทุกคนจำ�เป็นต้องใช้ผลิตภัณฑ์

• สำ�นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เป็นหน่วยงานท่ี ตา่ งๆในชวี ติ ประจ�ำ วนั ซง่ึ ผลติ ภณั ฑ์
กำ�หนดมาตรฐานและก�ำ กับดูแลคณุ ภาพของสินค้าให้เปน็ ไปตามข้อกำ�หนด บางชนิดอาจมีอันตรายหากใช้ผิดวิธี
ความเข้าใจเคร่ืองหมายต่าง ๆ บน
ฉ ล า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะ ช่ ว ย เ ตื อ น
ผู้บริโภคใหใ้ ช้ผลิตภณั ฑ์นั้น ๆ อยา่ ง
ปลอดภัย ก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ

177 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ขั้นคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

St Step 4

ขนั้ สอื่ สารและนำ� เสนอ ส รุป เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เว็บไซต์แนะนำา

๑๙. นักเรียนออกมานำ�เสนอภาพวาด คุณภาพ เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความมั่นใจใน สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
เกี่ยวกับเคร่ืองหมายเตือนอันตราย การเลือกซื้อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ www.fda.moph.go.th
เพราะได้รับการรับรองคุณภาพจากหน่วยงาน
หรอื เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ที่เชื่อถือได้
คุณภาพ และร่วมกันแสดงความ
ผังสรุปสาระสำาคัญ

คิ ด เ ห็ น เ พ่ื อ ข ย า ย ค ว า ม รู้ ท่ี ห น้ า ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพ ฉลากอาหาร เครือ่ งหมายบนฉลาก
ช้นั เรียน ทพี่ บในชวี ิตประจาำ วัน และผลิตภณั ฑ์ ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ

5ep ขั้นประเมนิ เพือ่ เพ่มิ คณุ คา่ สุขภาพ เคร่ืองหมายเตือนอันตราย
บรกิ ารสงั คม เป็นเคร่ืองหมายหรือข้อความ
และจติ สาธารณะ เคร่ืองสำาอาง คือ ผลิตภัณฑ์ หลักในการอ่านขอ้ มูล ที่ระบุเตือนไว้เพ่ือให้ใช้ผลิต-
ที่ใช้เพ่ือความสะอาด และ ฉลากผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพ ภัณฑ์อย่างปลอดภัย ท่ีพบ
๒๐. นักเรียนร่วมกันจัดป้ายนิเทศ สวยงามของร่างกาย การซื้อ บ่อย คอื คำาเตอื น เคร่ืองหมาย
เกี่ยวกับเคร่ืองหมายเตือนอันตราย เครื่องสำาอาง ผู้ซ้ือต้องอ่าน และฉลากอาหาร หัวกะโหลกไขว้ เคร่ืองหมาย
หรอื เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ฉลากผลิตภัณฑ์ทุกคร้ังก่อน วตั ถไุ วไฟ เครอ่ื งหมายอนั ตราย
คุณภาพ เพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้กับ ซื้อ และศึกษารายละเอียด การอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ จากสารเคมปี ระเภทกรด-ดา่ ง
สมาชกิ ทุกคนในโรงเรียน ข้อมูลบนฉลากให้ครบถ้วน ควรอา่ นขอ้ มลู สำาคญั ดงั น้ี
รวมทั้งอ่านวิธีใช้ก่อนนำาไปใช้  ชื่อผลติ ภัณฑ์ เครอื่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ เพราะการซอ้ื และใชเ้ ครอื่ งสาำ อาง  วธิ ีการใช้ คุณภาพ เป็นเคร่ืองหมายท่ี
ไม่ถูกต้องจะทำาให้เกิดอันตราย  วนั ผลติ และวันหมดอายุ แสดงวา่ ผลติ ภณั ฑน์ นั้ มมี าตรฐาน
๑. การอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนซ้ือ กบั รา่ งกายได้  สถานที่ผลติ ตามท่ีกำาหนด ท่ีสำาคัญ คือ
 ปรมิ าณสุทธิ เครื่องหมายมาตรฐานท่ัวไปท่ี
ผผู้ ลติ ยน่ื ขอไดต้ ามความสมคั รใจ
การอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑอ์ าหาร : อาหารทไ่ี ดร้ บั การตรวจจาก อย. จะมตี รา ไม่บังคับ เครื่องหมายมาตรฐาน
อย. บนฉลากอาหาร และแสดงรายละเอยี ดบนฉลาก ดงั น้ี บั ง คั บ บ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ก า ร
 ชอื่ อาหาร  ชอื่ และทอ่ี ยผู่ ผู้ ลิต กำาหนดมาตรฐาน หากไม่กระทาำ
 ปรมิ าณสทุ ธิ  ส่วนประกอบ/ขอ้ มูลโภชนาการ ตาม มีความผิดตามกฎหมาย
 วธิ ีใช/้ รับประทาน  คำาแนะนำาในการใช้/เก็บรกั ษา แ ล ะ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ม า ต ร ฐ า น
 วนั ท่ีผลิต/หมดอายุ  เครือ่ งหมาย อย. เฉพาะด้านความปลอดภัยที่
แสดงว่าผลิตภัณฑ์ผ่านการ
ประโยชน์ของการอ่านฉลากผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพและฉลากอาหาร ตรวจสอบด้านความปลอดภัย
 ร้สู ่วนประกอบและประโยชนท์ ี่ได้รบั  รูจ้ กั วิธีการบรโิ ภคทถี่ กู ตอ้ ง ในการใชเ้ รยี บรอ้ ยแล้ว
 รู้คำาเตอื น ทำาให้บริโภคได้อยา่ งปลอดภัย  รวู้ ธิ กี ารเกบ็ รกั ษาใหใ้ ชไ้ ดน้ าน
 รู้วนั ผลิตและวนั หมดอายขุ องผลิตภณั ฑ์  รชู้ ื่อและท่ีอยผู่ ้ผู ลติ เพื่อ

สามารถนาำ ไปรอ้ งเรยี นไดห้ าก
เกดิ อนั ตรายหรือปัญหาจาก
การบรโิ ภค

มีประโยชน์อย่างไร 178 สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๔
๑ ไดส้ ินค้าหายาก
๒ ไดส้ นิ คา้ ราคาถูก
๓ ได้สินค้าราคาแพง
๔ ไดส้ นิ คา้ ทมี่ คี ณุ ภาพและปลอดภยั ๒. การเลอื กซอื้ ผลิตภณั ฑอ์ าหารในขอ้ ใดปลอดภยั ต่อสุขภาพ
(เฉลย ๔ เพราะการอา่ นฉลากผลติ ภณั ฑ์ ๑ เลือกซือ้ โดยดทู ช่ี ่ือ ๒ เลอื กซอ้ื โดยดูท่ปี รมิ าณ
ก่อนซื้อเป็นการศึกษารายละเอียดของ ๓ เลอื กซอื้ โดยดูทชี่ ่ือผผู้ ลิต ๔ เลือกซอ้ื โดยดทู ีเ่ คร่ืองหมาย อย.

สินค้าว่าได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ (เฉลย ๔ เพราะเปน็ สิง่ ท่ชี ว่ ยสร้างความมน่ั ใจ สามารถเชื่อถอื ได้

หรือไม่ และมีวิธีใช้อย่างไรเพ่ือความ ในการเลอื กซ้ือเลือกใช้ผลติ ภณั ฑ)์

ปลอดภัย)

สุดยอดคู่มือครู 178

A ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgส่ือthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวช้ีวัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตัวชี้วัด

พ ๔.๑ ป.๔/๓

กจิ กรรม ความปลอดภยั จากการอ่านฉลากอาหาร และผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพ (ตวั อย่างแผนภาพความคดิ )

๑. ให้นักเรียนสำารวจฉลากอาหารหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพภายในครอบครัว (ได้ผลิตภณั ฑ์ (ใชผ้ ลติ ภณั ฑ์
๑ ชนิด นำามาตดิ ในกระดาษเปลา่ แล้วอธิบาย ดงั นี้ ทไ่ี มห่ มดอาย)ุ ได้ถูกต้อง)
๑.๑ ฉลากอาหารหรอื ฉลากผลิตภัณฑท์ สี่ ำารวจคอื อะไร
๑.๒ มีรายละเอยี ดหรอื ข้อมูลอะไรบนฉลากบา้ ง
๑.๓ นักเรียนจะเลือกบริโภคอาหารหรอื ผลติ ภัณฑ์นต้ี ่อไปหรอื ไม่
เพราะอะไร ประโยชน์ของ
๒. ให้นักเรยี นร่วมกนั สรุปประโยชน์ การอ่านฉลากอาหาร
ของการอา่ นฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑ์ ประโยชน์ของการ
สขุ ภาพกอ่ นซอ้ื เปน็ แผนภาพความคดิ อ่านฉลากอาหารและ และผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สุขภาพ

ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี (ใช้ผลิตภัณฑ์ (รูว้ ธิ กี ารเกบ็ รกั ษา
ไดอ้ ย่างปลอดภัย) ท่ีถกู วธิ )ี
คาำ ถามพัฒนากระบวนการคิด

๑. การอา่ นฉลากกอ่ นซื้อสนิ ค้ามีประโยชน์อยา่ งไร แนวค�ำตอบ
๒. ฉลากผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพควรมีส่วนประกอบใดบ้าง
๓. นกั เรยี นควรเลอื กซ้ือผลติ ภัณฑ์ทม่ี ีเครื่องหมาย อย. หรอื ไม่ เพราะอะไร ๑. ท�ำ ใหไ้ ด้สินคา้ ที่มีคุณภาพดี
๔. การเลอื กใช้เคร่ืองสำาอางไม่ถูกต้องจะส่งผลอยา่ งไร ๒. ช่ือผลติ ภณั ฑ์ วธิ ใี ช้ สรรพคณุ
๕. การเลอื กซ้ือผลิตภัณฑอ์ าหารใหป้ ลอดภัยควรพจิ ารณาอะไรบ้าง วนั เดอื น ปีที่ผลติ และหมดอายุ
๖. วัน เดือน ปที ผี่ ลิตและวนั หมดอายุบนฉลากอาหารมคี วามสาำ คญั อย่างไร ปริมาณสุทธิ ค�ำ เตอื น ที่ต้งั ของผูผ้ ลติ
๗. การรู้ส่วนประกอบบนฉลากอาหารมปี ระโยชนอ์ ย่างไร ๓. ควรเลือกซ้ือ เพราะแสดงให้เห็นว่า
๘. หากซ้อื ผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยไม่อ่านฉลากก่อนซื้อจะส่งผลอยา่ งไร
๙. ขอ้ มลู บนฉลากผลิตภณั ฑ์สุขภาพขอ้ มูลใดมีความสาำ คัญที่สดุ เพราะอะไร ผลติ ภณั ฑน์ นั้ ไดร้ บั การตรวจสอบแลว้ วา่
๑๐. ข้อความควรบรโิ ภคก่อน ๑๕.๐๒.๒๕๕๖ บนฉลากมีความหมายวา่ อยา่ งไร ปลอดภยั
๔. ทำ�ให้เกิดผลข้างเคียง เป็นอันตรายต่อ
ฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ 179 ร่างกาย
๕. ส่วนประกอบของอาหาร วัน เดือน ปีที่ผลิต
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ และหมดอายุ วธิ ีรับประทาน
เครอ่ื งหมาย อย.
กอ่ นซือ้ ผลติ ภณั ฑ์อาหารต้องดูสง่ิ ใดเปน็ สำ�คญั ๖. ทำ�ให้ทราบว่าอาหารผลิตมานานเท่าไร
๑ ราคาสนิ คา้ ๒ ฉลากสนิ ค้า หมดอายเุ มอ่ื ไร
๓ ร้านคา้ ทจ่ี ะซือ้ ๔ รปู ทรงของสินค้า ๗. ท�ำ ใหท้ ราบสารอาหารทร่ี า่ งกายจะไดร้ ับ
(เฉลย ๒ เพราะการดฉู ลากสนิ ค้าทำ�ใหท้ ราบรายละเอียดของสนิ ค้า ๘. ไดส้ นิ ค้าท่ไี มม่ คี ุณภาพ ไม่ปลอดภัยต่อ
และผลิตภัณฑ์อาหารนัน้ ๆ จงึ ใช้ไดอ้ ย่างถกู วธิ ีและปลอดภยั ) การบริโภค
๙. เครือ่ งหมาย อย. เพราะทำ�ใหส้ ามารถ
บรโิ ภคไดอ้ ย่างปลอดภยั
๑๐. ควรบริโภคก่อนวันท่ี ๑๕
เดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖

179 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้
บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21
ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

เป้าหมายการเรยี นรู้

มาตรฐานการเรยี นรู้ ๑๓การเรยี นรู้ที่ ยาและสารเสพติดให้โทษ
มาตรฐาน พ ๕.๑ ห ่นวย
ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรม นตัวชีว้ ดั
เส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา
สารเสพติด และความรนุ แรง ๑. อธบิ ายความสาำ คญั ของการใชย้ าและใชย้ าอยา่ งถูกวิธี (พ ๕.๑ ป.๔/๑)
๒. วิเคราะหผ์ ลเสียของการสูบบหุ รี่และการด่ืมสรุ าท่มี ตี อ่ สุขภาพและการป้องกัน (พ ๕.๑ ป.๔/๓)
สมรรถนะส�ำ คญั ของผู้เรยี น
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ผังสาระการเรียนรู้
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสำาคญั ของยา ความสาำ คญั ของยา การใชย้ า ยาใชภ้ ายนอก
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ประเภทของยา และประเภท อยา่ งถูกวิธี วธิ ีรับประทานยา
ของยา หลกั การ
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ รับประทานยา

ใฝ่เรยี นรู้ ยาและสารเสพติด
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามใน บุหร่ี ให้โทษ
การเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวช้ีวัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่ง สุรา
เรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก สารเสพตดิ ใหโ้ ทษ
โรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง
เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุป สาระสำาคญั
เป็นองค์ความรู้ สามารถนำ�ไปใช้ในชีวิต ๑. ยามีไว้เพื่อรักษาโรค การใช้ยาต้องมีความระมัดระวังและต้องใช้อย่างถูกต้องตามประเภทของยา
ประจ�ำ วนั ได้ จึงจะได้ผลและไม่เกิดอันตราย การเรียนรู้เก่ียวกับการใช้ยาจึงเป็นสิ่งจำาเป็นเพ่ือนำาไปปฏิบัติใน
ชีวิตประจำาวนั ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
มงุ่ มน่ั ในการท�ำ งาน ๒. สารเสพติดมีทัง้ ผดิ กฎหมาย และไม่ผิดกฎหมาย ซึ่งกอ่ ใหเ้ กดิ โทษและพิษภัยทัง้ ส้นิ สารเสพตดิ ที่ใกล้ตวั
ตัวชี้วัดท่ี ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบใน และเปน็ สารเสพตดิ ทีไ่ ม่ผดิ กฎหมาย ได้แก่ บุหรี ่ และสรุ า ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ โทษและพิษภัยตอ่ รา่ งกาย รวมท้ัง
การปฏบิ ตั ิหน้าที่การงาน จิตใจของท้ังผู้เสพและครอบครัว ดังนั้นจึงควรเรียนรู้ท่ีจะป้องกันตนเองไม่ให้เก่ียวข้องกับสารเสพติด
ตัวช้ีวัดที่ ๖.๒ ทำ�งานด้วยความเพียร เพือ่ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครวั และสังคม
พยายามและอดทนเพ่ือให้งานสำ�เร็จ
ตามเปา้ หมาย บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 จุดประกายโครงงา

นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ วาดภาพ
ระบายสีสัญลักษณ์รณรงค์ให้คนเลิกสูบบุหร่ีและเลิกดื่มสุราสำ�หรับติด
บริเวณตา่ ง ๆ ในโรงเรียนหรือชมุ ชน ขนาด ๔ Ö ๖ น้ิว

สุดยอดคู่มือครู 180

A ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ Applyขin้ันgสื่อthสeารCแoลmะนm�ำuเnสiนcaอtion Skill ข้ันSปeรlะfเม-Rินeเพgื่อuเพla่ิมtคinุณgค่า

pplying and Constructing the Knowledge

เสริมความรู้ ครูควรสอน ตัวชี้วัด รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

ความสา� คัญของยาและประเภทของยา ตวั ชว้ี ัด

จดุ ประกายความคดิ พ ๕.๑ ป.๔/๑
ภาระงาน/ชิน้ งาน
แบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมการใช้ยาของตนเอง

ถ้าสามารถคิดค้น ep 1 ข้ันสงั เกตSt
สูตรยารกั ษาโรคได้
นักเรียนจะคิดคน้ สตู รยา รวบรวมขอ้ มลู
เพอื่ รกั ษาโรคอะไร
๑. นักเรียนสังเกตภาพหรือยาสามัญ
เพราะเหตุใด ประจำ�บ้านหลาย ๆ ชนดิ แลว้ รว่ มกัน
สนทนาโดยตอบค�ำ ถาม ดังนี้
๑. ความสำาคัญของยา
ยา คือ สิ่งที่ใช้บำ�บัดรักษ�โรคและบรรเท�อ�ก�รเจ็บป่วยต่�ง ๆ หรือใช้ • ในตู้ยามียาชนิดใดบ้าง และมี
ป้องกันโรค ก�รใช้ย�อย่�งถูกต้องจะทำ�ให้รักษ�อ�ก�รเจ็บป่วยได้ แต่ถ้�ใช้ สรรพคุณอย่างไร (ตัวอย่างคำ�ตอบ
ไม่ถูกต้องจะทำ�ให้เกิดอันตร�ยกับร่�งก�ยได้ พาราเซตามอล-แก้ปวด
๒. ประเภทของยา
๑. ยารับประทาน ได้แก่ ย�เม็ด ยาธาตนุ า้ํ ขาว-แก้ปวดท้อง)
ย�แคปซูล และย�นำ้� • นกั เรยี นเคยใชย้ าในตชู้ นดิ ใดบา้ ง

ย�รับประท�น แ ล ะ เ พื่ อ รั ก ษ า อ า ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย ใ ด
(ตัวอย่างคำ�ตอบ
ยาและสารเสพติดใหโ้ ทษ 181 ยาธาตนุ า้ํ ขาว- แกป้ วดทอ้ ง)
• ทบี่ า้ นของนกั เรยี นมยี าชนดิ ใดบา้ ง
(ตวั อยา่ งค�ำ ตอบ ยาแก้ปวด)
๒. นักเรียนบอกยาท่ีตนเองรู้จักหรือ
เคยใช้ พร้อมบอกสรรพคุณของยา
ดังกล่าว

ข้อสอบเน้นสมรรถนะ

ข้อใดควรปฏิบัตเิ ปน็ ล�ำ ดับแรกในการใช้ยาน้าํ
๑ เขย่าขวด ๒ เปดิ ฝาขวด
๓ อา่ นฉลากและวธิ ีการใช้ยา ๔ เชด็ บริเวณปากขวดยาใหส้ ะอาด
(เฉลย ๓ เพราะการใชย้ าทุกชนิดต้องอ่านฉลากเพือ่ ดูรายละเอยี ดต่าง ๆ และวธิ กี าร
ใช้ยาอยา่ งถกู ต้อง เพอ่ื ใหเ้ กิดความปลอดภยั )

181 สุดยอดคู่มือครู

GPAS 5 Steps ข้ันสังGเกตatรhวeบrรiวnมgข้อมูล ข้ันคิดวิPเคrรoาcะหe์แsลsะiสnรgุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ข้อสอบเน้นสมรรถนะ
ep 1 ข้ันสงั เกต
St

รวบรวมข้อมูล ๒. ยาฉีด ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของนำ้�

๓. นักเรียนบอกชื่อยาใช้ภายนอกท่ี หรือของเหลว ผู้ที่จะฉีดย�ได้ต้องเป็นแพทย์
ตนเองรู้จักหรือเคยใช้ พร้อมบอก พย�บ�ล หรือบุคล�กรท�งก�รแพทย์เท่�นั้น
สรรพคณุ ของยาดงั กล่าว
๔. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น อ่ า น ตั ว อ ย่ า ง
สถานการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตน ย�ฉีด
ในการใชย้ าที่ตดิ บนกระดาน ดังน้ี
๓. ยาใช้ภายนอก เป็นย�ที่ใช้สำ�หรับภ�ยนอกร่�งก�ยเท่�นั้น
ส่วนใหญ่ใช้โดยก�รท� ถู และนวด มีหล�ยรูปแบบและหล�ยประเภท เช่น
ขี้ผึ้ง ครีม เจล นำ้� และนำ้�มัน ห้ามรับประทานโดยเด็ดขาด เพร�ะอ�จก่อ
เด็กชายมานพรู้สึกปวดศีรษะมาก ให้เกิดอันตร�ยถึงขั้นเสียชีวิตได้
จึงไปหยิบยามารับประทานเอง และ
รับประทานทันทีโดยไม่อ่านฉลาก
ใหเ้ ขา้ ใจ หลงั จากรบั ประทานแลว้ อาการ การใชย้ าอยา่ งถูกวธิ ี
กไ็ มด่ ี กลับปวดศรี ษะมากข้ึน
ย�เป็นสิ่งจำ�เป็นในชีวิตประจำ�วัน ห�กใช้ย�ไม่ถูกต้อง จะทำ�ให้ใช้ย�
จากน้ันนักเรียนร่วมกันสนทนา ไม่ได้ผล ไม่ห�ยจ�กโรค หรืออ�จทำ�ให้เกิดอันตร�ยและผลข้�งเคียง
โดยตอบค�ำ ถาม ดังน้ี ๑. ยาใช้ภายนอก

• เด็กชายมานพมีอาการอย่างไร ยาขี้ผึ้ง เป็นย�ใช้ท�เฉพ�ะที่ ตัวย�มีลักษณะ
(รู้สกึ ปวดศรี ษะมาก) เป็นมันข�วขุ่น (หรือมีสีต�มที่ผสมสีลงไป) และลื่น
ล้�งนำ้�ออกย�ก เช่น ขึ้ผึ้งท�แผล ย�หม่อง
• เด็กชายมานพมีพฤติกรรมการ
รับประทานยาอย่างไร (หยิบยามา ย�หม่อง
รบั ประทานเองโดยไมอ่ า่ นฉลากยากอ่ นใช)้
ยาครีม มีลักษณะเป็นของแข็งกึ่งของเหลว ครีมแก้ปวดเมื่อย
• พ ฤ ติ ก ร ร ม ดั ง ก ล่ า ว ส่ ง ผ ล สีข�ว ท�แล้วซึมเข้�เป็นเนื้อเดียวกันกับผิวหนัง
ต่อเด็กชายมานพอย่างไร (ทำ�ให้เกิด และล้�งนำ้�ออกง่�ย เช่น ครีมท�แก้ปวดเมื่อย
อาการปวดศรี ษะมากขนึ้ ) ครีมท�แก้เชื้อร�

182 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ป.๔

สุดยอดคู่มือครู 182


Click to View FlipBook Version