The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วิร้ตน์ ปุ่นอุดม, 2019-06-04 03:00:13

unit1

unit1

หน่วยท่ี 1ความสาคญั และปัจจยั ท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั การเล้ียงสุกร

user
[พมิ พช์ ื่อบริษทั ]
[เลือกวนั ที่]

1

แผนการจัดการเรียนรู้

แบบบูรณาการของเศรษฐกิจพอเพียง

วิชา การเลย้ี งสุกร
รหสั วิชา 2501-2304

หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2557

จดั ทาโดย
นายวริ ัตน์ ปุนอดุ ม

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

2

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1

วชิ า การเลย้ี งสุกร รหัสวิชา 2501–2304 สัปดาหท์ ่ี 1
หน่วยที่ 1 ช่อื หน่วย ความสาคัญและปจั จยั ที่เกี่ยวข้องกบั การเลีย้ งสุกร.

สาระสาคัญ
การเลี้ยงสุกรมีการเล้ียงเกือบท่วั โลก ภาคกลางเปน็ ภาคทเี่ ลีย้ งมากท่สี ดุ รองลงมาไดแ้ ก่ภาค

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคเหนอื ภาคใต้ ตามลาดับ ในประเทศไทยสภาพการเลีย้ งสุกรสามารถแบง่ ได้ 3
ขนาด คอื เลยี้ งแบบรายย่อย การเล้ยี งแบบก่งึ การค้า การเล้ยี งแบบการคา้ การเลี้ยงสุกรมีความสาคัญในการ
เปน็ อาหารโปรตีน ก่อใหเ้ กิดการลงทุน และการมงี านทา โดยรปู แบบฟาร์มสุกรในประเทศไทย จะมีการเล้ยี ง
แบบสุกรขนุ สุกรพนั ธุ์ และเลี้ยงแบบครบวงจร ปัจจยั ทีส่ าคัญในการเลยี้ งคือ พันธุส์ ุกร อาหารและการให้
อาหาร และการจดั การฟาร์ม ขอ้ ดีในการเลี้ยงสุกรคอื ข้อจากดั ในการเลยี้ งสุกรคือ สกุ รเป็นสัตว์ทเี่ ลีย้ งง่ายโต
เร็ว ซากสุกรสามารถใช้บริโภคไดป้ ระมาณร้อยละ 75 ของนา้ หนักสุกรมีชวี ติ สกุ รเปน็ สัตว์ทก่ี ินอาหารงา่ ย ใช้
พื้นทีน่ ้อย มลู สกุ รสามารถนาไปใช้ไดห้ ลายอย่าง เช่นเล้ียงปลา ผลิตก๊าชชวี ภาพ การเล้ียงสุกรมีข้อจากดั คอื มลู
สุกรมีกลน่ิ เหมน็ ทาให้เกิดมลภาวะตอ่ สงิ่ แวดล้อม และราคาวัตถุดบิ ราคาสุกรขึน้ ลงไม่แนน่ อน ทามีความเสี่ยง
ตอ่ การขาดทุน

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทัว่ ไป

1. เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวสภาพการเลย้ี งสกุ ร
2. เพอื่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจข้อดีและข้อจากดั ในการเล้ียงสุกร
3. เพ่ือใหใ้ ห้ทราบถึงคุณค่า และปัจจยั ที่สาคัญในการเลี้ยงสกุ ร สามารถทางานร่วมกบั ผู้อ่นื ด้วยความ

สามัคคมี ีมนษุ ยสัมพนั ธ์

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. สามารถอธิบายสภาพการเล้ยี งสกุ รในประเทศได้
2. สามารถบอกข้อดีและข้อจากัดในการเลีย้ งสกุ รได้
3. สามารถบอกปจั จัยที่สาคัญในการเลี้ยงสกุ รได้
4. เห็นคุณค่าในการเล้ียงสุกร
5. ทางานร่วมกบั ผู้อ่นื ดว้ ยความสามัคคมี ีมนษุ ยสมั พันธ์

3

สาระการเรียนรู้

1. สภาพการเลี้ยงสกุ รในประเทศไทย
สกุ รแต่เดิมน้นั เปน็ สัตวป์ ุา ต่อมามนุษย์ได้นามาเลย้ี ง ซ่งึ มีการเลยี้ งสุกรในเกือบทุกประเทศท่ัวโลก เชน่

สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เดนมาร์ค เนเธอรแ์ ลนด์ แคนาดา จนี ไทย ฯลฯ แตใ่ นการเล้ยี งสุกรน้ัน กอ่ ใหเ้ กิด
มลภาวะทเ่ี ปน็ พิษ เช่น กลิน่ เหมน็ มีนา้ เสยี มีแมลงวนั มาก ทาให้บางประเทศมีกฎหมายหา้ มเลีย้ งสุกร เช่น
สิงคโปร์

การเล้ยี งสุกรเปน็ กจิ กรรมหนึ่งในระบบไร่นาของประเทศไทย ในอดตี สุกรเป็นสตั ว์ทีเ่ ล้ียงไวเ้ พ่ือเก็บกิน
เศษอาหารเหลือทิ้งจากครัวเรอื นและผลพลอยได้จากไร่นาโดยไม่ได้มุ่งประกอบเป็นอาชพี หลัก เกษตรกรจะ
เลยี้ งนอ้ ยตวั ตอ่ มามีการเปลยี่ นแปลงจากการเลยี้ งพ้ืนบ้านมาเป็นการเลย้ี งแบบอุตสาหกรรม รวมท้ังเกษตรกร
มีความรูม้ ากข้นึ ในการแสวงหาสกุ รทด่ี ีจากต่างประเทศ ปรับปรุงยกระดับการเลี้ยงดูต่าง ๆ เช่น อาหาร
โรงเรือนและการจดั การให้ได้มาตรฐาน และแหล่งท่ีเลย้ี งสกุ รในประเทศไทยไดม้ กี ารกระจายไปทุกจังหวดั ตาม
ภาคตา่ ง ๆ ของประเทศโดยภาคกลางเป็นภาคทเี่ ลี้ยงมากท่ีสุด รองลงมาได้แกภ่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนอื ภาคใต้ ตามลาดบั เชน่ ภาคกลางไดแ้ ก่จงั หวดั นครปฐม ราชบรุ ี สพุ รรณบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้แก่ จงั หวัด นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ ร้อยเอด็ ภาคเหนือได้แก่ จังหวดั
เชียงใหม่ นครสวรรค์ ลาพูน เชียงราย ภาคใต้ไดแ้ ก่จังหวัด สรุ าษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช ในประเทศไทย
สภาพการเลี้ยงสกุ รสามารถแบ่งได้ 3 ขนาด คือ

1.1 การเลย้ี งแบบรายย่อย (เลยี้ งแบบหลงั บา้ น) เปน็ เกษตรกรที่เลีย้ งจานวนน้อย ตั้งแต่ 1-2 ตวั ข้ึน
ไป

1.2 การเลีย้ งแบบก่ึงการคา้ เป็นเกษตรกรทเ่ี ล้ยี งสุกรมากขึ้นกวา่ กลุ่มแรก เกษตรกรบางรายอาจเลี้ยง
400-500 ตัว การเลย้ี งมกี ารลงทนุ ท่ีสูงกวา่ กลุ่มแรก มีการเล้ียงคอ่ นข้างสมา่ เสมอ

1.3 การเล้ียงแบบการค้า(ฟาร์มขนาดใหญ่) เปน็ กลมุ่ เกษตรกรทมี่ ีการทาฟาร์มขนาดใหญ่ มีปรมิ าณท่ี
แนน่ อนสม่าเสมอ มีการนาหลักวชิ าการและเทคโนโลยเี ขา้ ช่วย เลีย้ งสกุ รเกนิ 1,000 ตัว

2.ความสาคัญของการเลยี้ งสุกร
ความสาคญั ของการผลติ สกุ รจาแนกเป็นข้อ ๆ ดังน้ี
2.1 เปน็ แหล่งอาหารโปรตนี ที่สาคัญ แก่ผู้บริโภค ทัง้ นเี้ พราะเน้อื สุกรมรี าคาถกู และมรี สชาดดี

เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับเน้ือโค เป็นที่นิยมบริโภคมากกว่าสัตวป์ ระเภทอืน่
2.2 กอ่ ใหเ้ กดิ การลงทุนในอตุ สาหกรรมอื่น ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง เชน่ โรงงานอาหารสตั ว์ โรงงานปลาปนุ

โรงงานผลิตภณั ฑส์ ตั ว์ โรงฆา่ สตั ว์ เปน็ ต้น

4

2.3 ทาให้ประชาชนมงี านทา ช่วยใหม้ ีการจ้างงานมากขน้ึ และลดปัญหาการว่างงานได้
สุกรเปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ ที่มีวงจรชีวิตส้นั จึงเหมาะท่จี ะนามาใช้ในการพฒั นาอตุ สาหกรรมการเลีย้ งสตั วข์ อง
ประเทศได้

3.รูปแบบของฟาร์มสกุ รในประเทศไทย
รปู แบบของฟาร์มสุกรทีเ่ ลีย้ งในปัจจบุ ันถา้ แบง่ ตามวัตถุประสงคข์ องการเลี้ยงสุกรแบ่งฟารม์ สุกรได้เป็น

3 ชนดิ คือ
3.1 ฟารม์ เลี้ยงสกุ รขุน เปน็ ฟาร์มทม่ี ีการเฉพาะสุกรขนุ เทา่ นัน้ โดยจะซือ้ ลูกสกุ รซ่ึงมีนา้ หนกั เฉลี่ย 15-

18 กิโลกรัม เขา้ มาเลย้ี งจนสุกรมีนา้ หนัก 100 กิโลกรมั ก็จะจาหนา่ ย
3.2 ฟารม์ เลีย้ งสกุ รพนั ธุ์ เปน็ การเล้ยี งเฉพาะพ่อ-แม่พันธส์ุ กุ ร เรมิ่ จากการเลี้ยงแมส่ ุกรสาวจนถงึ

จาหนา่ ยได้ ฟาร์มเลี้ยงสุกรพันธุม์ จี ดุ ประสงค์ 2 อยา่ งคือ ฟาร์มสกุ รพนั ธ์ุแทเ้ พอื่ ขยายพันธุ์ หรอื สุกร 2
สายเลือด และฟาร์มสกุ รพันธ์ุเพอ่ื ผลติ ลูกสุกร 3 สายเลือด โดยมกี ารนาแมส่ ุกร 2 สายเลือดจากฟาร์มแรกมา
เลีย้ ง และผลิตสกุ ร 3 สายเลอื ด ซึง่ เหมาะจะสาหรับใชเ้ ลีย้ งสกุ รขุนสง่ ให้ฟาร์มสุกรขนุ

3.3 ฟารม์ เลี้ยงสกุ รขุนครบวงจร เปน็ การเลี้ยงทปี่ ระกอบด้วยการเลี้ยงสุกรพ่อแม่พนั ธุ์ การผลติ ลกู
สกุ ร และการเล้ยี งสุกรขนุ

4.ปจั จยั สาคญั ในการเลยี้ งสุกร
4.1 พนั ธุ์สกุ ร พันธุ์สกุ รมผี ลชว่ ยลดตน้ ทนุ ในการผลิต หรือเพมิ่ ตน้ ทุนไดเ้ ช่นกัน ถ้าสกุ รพันธด์ุ ี

มีการเจริญเติบโตสูง มีการแลกเนอื้ ดี จะทาใหต้ น้ ทนุ การผลิต ตอ่ เนื้อ 1 กิโลกรัมนน้ั ตา่ กว่าสุกรสายพนั ธุไ์ ม่ดี
4.2 อาหารและการให้อาหาร เปน็ ทีท่ ราบกนั ดวี ่าต้นทนุ การผลิตของสุกรส่วนใหญ่กวา่ 75 เปอรเ์ ซน็ ต์

ของค่าใชจ้ า่ ยท้ังหมด คือค่าอาหาร และการท่ีสุกรสามารถเจรญิ เติบโตได้ดี และมีคุณภาพซากตรงตามพันธุ์นั้น
จะต้องได้รบั อาหารท่ีมีคุณภาพดี มโี ภชนะครบถ้วนตามความต้องการของสุกร และควรให้อาหารใหถ้ ูกตอ้ ง
ตามระยะความต้องการของสุกร เช่น แมอ่ มุ้ ท้องตอ้ งให้อาหารแมอ่ ุ้มทอ้ ง แมเ่ ลีย้ งลกู ตอ้ งใหอ้ าหารแม่เลีย้ งลกู
และเลอื กใช้วัตถดุ ิบอาหารสตั ว์ทม่ี ีคณุ ภาพดี ปลอดสารพษิ เลอื กใช้ใหถ้ ูกต้องตามฤดูกาล เหมาะสมกับพ้นื ทต่ี งั้
ฟารม์ ช่วยใหต้ ้นทุนค่าอาหารลดลง

4.3 การจัดการฟาร์ม การจัดการทด่ี คี วรมีการวางแผนการดาเนินการไว้ลว่ งหนา้ มกี ารศึกษาภาวะ
ตลาดของสุกร และราคาวัตถุดบิ อาหารสตั ว์อยู่เสมอ เพ่ือนาข้อมูลมาวางแผนการผลติ ให้ดขี น้ึ
และในการเลยี้ งสุกรควรมีการวางแผนการก่อสร้างและใชโ้ รงเรือนอย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกบั
แรงงานสามารถปฏบิ ัตงิ านได้สะดวก มีการจดั การโรงเรอื นตามหลักสขุ าภบิ าลท่ีดี มีการทาโปรแกรมวคั ซีนเพ่ือ
ปอู งกันโรคต่าง ๆ ดูแลเรือ่ งการเปน็ สดั และการผสมพันธขุ์ องสุกรอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

5

5.ข้อดแี ละขอ้ จากดั ในการเล้ียงสุกร
การเลยี้ งสุกรมีขอ้ ดีและข้อจากัดในการเล้ียงต่อไปนี้
5.1 ข้อดใี นการเลย้ี งสุกร
5.1.1 สกุ รเป็นสัตวท์ เ่ี ลย้ี งงา่ ยโตเรว็ มกี ารขยายพนั ธุไ์ ด้รวดเร็ว สามารถขายได้ทุกระยะ

ของการเล้ยี งดู เช่นระยะลูกสุกร สกุ รเลก็ สุกรขนุ ทาให้เกษตรกรไดร้ บั ผลตอบแทนการลงทนุ เร็ว
5.1.2 ซากสกุ รท่ีไดห้ ลังจากการชาแหละ สามารถใช้บริโภคไดป้ ระมาณร้อยละ 75 ของ

น้าหนักสกุ รมีชีวิต
5.1.3 สกุ รเป็นสัตว์ที่กินอาหารงา่ ย สุกรสามารถกินเศษอาหาร ผลพลอยได้ทางการเกษตร

เชน่ ราละเอียด หัวมนั หรือผลพลอยได้จากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น กากมัน กากมะพร้าว ซง่ึ เป็นของทไี่ ม่มี
ราคา หรอื ราคาถกู แลว้ เปลยี่ นมาเป็นเน้อื สุกรท่มี รี าคาแพงกวา่ เป็นการชว่ ยเพม่ิ ผลผลติ ในทางอ้อม

5.1.4 การเลี้ยงสุกรใช้พื้นที่น้อยกวา่ การเลี้ยงโคกระบอื และไมส่ น้ิ เปลืองแรงงานในการเลี้ยง
ดู เกษตรกรสามารถใชแ้ รงงานท่เี หลอื จากการเกษตรหลกั ทีท่ าอยู่ใชเ้ ลี้ยงสกุ รได้ เป็นการใชแ้ รงงานและพนื้ ท่ีที่
มีอยูใ่ หม้ ีประสทิ ธิภาพมากขึน้ เปน็ การใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ และช่วยให้เกษตรกรมรี ายได้เพ่ิมข้นึ

5.1.5 มูลสกุ รซ่ึงเป็นผลพลอยได้จากการเล้ียงสกุ ร สามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดหลายทาง
เชน่ การใช้มลู สุกรเล้ยี งปลา การนาไปหมกั ให้เกดิ แกส๊ ชีวภาพ นามาใชใ้ นการให้แสงสว่าง หุงตม้ หรือใชก้ ับ
เคร่ืองกาเนดิ ไฟฟาู นอกจากนี้มลู สุกรยังสามารถนาไปใช้เป็นป฻ยุ เพมิ่ ความสมบูรณ์แก่ดนิ อกี ดว้ ย

5.2 ขอ้ จากัดในการเล้ยี งสกุ ร การเลยี้ งสกุ รมีข้อจากัดในการดาเนินกิจการไดแ้ ก่
5.2.1 มูลและนา้ เสยี จากฟาร์มสุกรจะมีกลน่ิ รนุ แรงรบกวนเพ่ือนบ้าน และยงั ก่อให้เกิด
มลภาวะกบั สภาพแวดลอ้ มอีกด้วย จงึ เป็นสาเหตใุ หบ้ างประเทศห้ามการเลี้ยงสกุ ร
5.2.2 ภาวะราคาผลผลติ ของสกุ รไม่แน่นอน ทาให้เกษตรกรผเู้ ล้ียงสุกรมคี วามเส่ยี งต่อการ
ขาดทุนสงู
5.2.3 สกุ รเป็นสตั วท์ ก่ี นิ อาหารขน้ เป็นหลกั แต่ราคาวตั ถุดิบอาหารสตั วไ์ มแ่ น่นอน ทาให้
ต้นทุนคา่ อาหารของสุกรสูงกวา่ สตั ว์ท่ีกนิ อาหารหยาบ และมีตน้ ทนุ ไมแ่ นน่ อนตามราคาของอาหารสัตวอ์ ีกด้วย

กิจกรรมการเรยี นการสอน
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาช่วยกนั คน้ คว้าหาความสาคัญของการเลี้ยงสุกรและปัจจัยท่เี กย่ี วขอ้ งกับการ
เล้ยี งสุกร.ต่อตวั เกษตรกรเองและประเทศชาติ
2. นกั ศึกษาคัดเลือกตวั แทนกลุ่มนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น
3. ครูบอกถงึ สภาพการเลี้ยงสุกรในประเทศไทย
4. ครบู อกถงึ ข้อดีและขอ้ จากัดในการเลย้ี งสุกร
5. ครบู อกปจั จัยท่สี าคัญในการเล้ยี งสุกร
6. นักศกึ ษาชว่ ยกันสรปุ เกี่ยวกบั ข้อดี , ขอ้ จากัด และปัจจัยที่สาคัญในการเล้ยี งสกุ ร

6

สือ่ การสอน
1. ภาพนง่ิ สภาพการเลย้ี งสุกรในประเทศ
2. สไลดค์ อมพวิ เตอร์ หัวขอ้ เรอ่ื งทสี่ อน
3. ใบความรู้หน่วยท่ี 1

การวดั ผลประเมนิ ผล
1. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น

เอกสารอ้างอิง
1. สกุ ญั ญา วงศ์วัฒนา และ มนูญ ชานาญเกษกรณ์. ไม่ระบุปี . เอกสารประกอบการสอนทักษะ
สกุ ร . กรงุ เทพฯ
2. สกุ ญั ญา วงศว์ ฒั นา . 2539 . เทคนคิ การผลติ สุกร .ราชบุรี : วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ราชบุรี .
3. มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช 2549.การจดั การผลติ สุกรและสัตว์ปกี . นนทบรุ ี : สานกั พมิ พ์
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

7

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน

1. ประเทศไทยสภาพการเลี้ยงสุกรสามารถแบ่งได้กขี่ นาด
ก. 2 ขนาด คือ รายยอ่ ย และรายใหญ่
ข. 2 ขนาด คือ เล็ก และใหญ่
ค. 3 ขนาด คือ เล็ก กลาง และใหญ่
ง. 3 ขนาด คือ รายย่อย กึ่งการค้า และการค้า

2. กลมุ่ ทเ่ี ลี้ยงสุกรจานวนนอ้ ย 1-2 ตวั ข้ึนไป จนถึง 10-50 ตวั เปน็ สภาพการเลย้ี งสกุ รแบบใด
ก.การเลีย้ งสุกรแบบรายย่อย
ข.การเลย้ี งสุกรแบบกึง่ การคา้
ค.การเลี้ยงสุกรแบบการคา้
ง.การเลยี้ งสุกรแบบรายย่อย และกง่ึ การคา้

3. กลุ่มทเี่ ล้ยี งสุกรท่ีมปี ริมาณการผลติ แนน่ อนและสม่าเสมอ มีการใช้หลักวชิ าการท่ีถกู ต้อง
เป็นสภาพการเลย้ี งสุกรแบบใด
ก.การเลี้ยงสุกรแบบรายย่อย
ข.การเลีย้ งสกุ รแบบกึ่งการคา้
ค.การเลยี้ งสุกรแบบการคา้
ง.การเลี้ยงสกุ รแบบรายย่อย และก่ึงการค้า

4. กลุม่ ทีเ่ ลีย้ งสกุ รจานวน 400-500 ตวั มกี ารเลยี้ งคอ่ นข้างสมา่ เสมอ เป็นสภาพการเลี้ยงสุกร
แบบใด
ก.การเล้ยี งสกุ รแบบรายย่อย
ข.การเล้ียงสุกรแบบกง่ึ การคา้
ค.การเลี้ยงสุกรแบบการค้า
ง.การเล้ยี งสุกรแบบรายย่อย และกึ่งการคา้

5. ฟาร์มเลีย้ งสกุ รในปจั จบุ ัน ถ้าแบง่ ตามวตั ถปุ ระสงค์การเลย้ี งสกุ รเราสามารถแบ่งฟาร์มสกุ ร
ออกได้เปน็ กีช่ นดิ อะไรบา้ ง
ก. 2 ชนิดคอื ฟาร์มเล้ียงสกุ รขุน และฟาร์มเล้ยี งสกุ รครบวงจร
ข. 3 ชนิดคอื ฟาร์มเล้ยี งสุกรขุน สกุ รพนั ธุ์ และฟารม์ เลย้ี งสุกรครบวงจร
ค. 4 ชนดิ คอื ฟาร์มเล้ยี งสุกรปุา สุกรขุน สุกรพันธุ์ และฟาร์มเลี้ยงสกุ รครบวงจร
ง. 5 ชนิดคือฟาร์มเลี้ยงสุกรปุา สุกรขนุ สุกรพนั ธุ์ เล้ียงสกุ รตามวงจร
และเลย้ี งสกุ รแบบครบวงจร

8

6. ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ การผลติ สุกรใหป้ ระสบความสาเรจ็ มีปจั จัยใดบ้าง
ก. พนั ธุส์ ุกร อาหารและการให้อาหาร และการจัดการฟาร์ม
ข. พันธส์ุ ุกร อาหารและการใหอ้ าหาร การสุขาภิบาล
ค. พนั ธ์ุสุกร อาหารและการใหอ้ าหาร การสขุ าภิบาล และการตลาด
ง. พนั ธส์ุ กุ ร อาหารและการให้อาหาร การทาวัคซนี การถ่ายพยาธิ และการตลาด

7. การผลติ สกุ รมคี วามสาคัญอยา่ งไร
ก.เปน็ แหลง่ อาหารโปรตนี สามารถใชพ้ ื้นที่วา่ งนามาเลี้ยงสุกรได้
ข.เปน็ แหล่งอาหารโปรตีน ทาให้เกดิ การลงทนุ ในการพฒั นาเศรษฐกิจของชาติ
ค.เป็นแหล่งอาหารโปรตีน ทาใหเ้ กดิ การลงทนุ และมีการจา้ งงาน
ง.เปน็ แหลง่ อาหารโปรตนี ทาใหเ้ กดิ การลงทุน มีการจา้ งงาน และสามารถใช้พื้นที่วา่ งที่ไม่
สามารถปลูกพืชได้นามาเลีย้ งสุกร

8. ขอ้ ดขี องการเล้ียงสกุ รข้อใดถกู ทส่ี ุด
ก.สุกรเปน็ สตั ว์ทเ่ี ลี้ยงง่ายโตเร็ว โตเรว็ ซากสุกร 65 % สามารถใช้บริโภคได้
ข.สุกรเป็นสตั ว์ทก่ี นิ อาหารงา่ ย โตเร็ว ซากสุกร 70 % สามารถใชบ้ ริโภคได้
ค.สกุ รใช้พ้นื ทน่ี ้อย กินอาหารง่าย โตเรว็ ซากสุกร 70 % สามารถใชบ้ รโิ ภคได้
ง.สกุ รใช้พื้นทีน่ ้อย กนิ อาหารง่าย โตเร็ว ซากสกุ ร 75 % สามารถใชบ้ ริโภคได้

9. การเล้ยี งสุกรก่อให้เกิดมลภาวะข้อใดถกู ทส่ี ดุ
ก.ดา้ นเสียง สง่ เสียงรอ้ งดงั รบกวนเพื่อนบ้าน และมลู สุกรส่งกลิ่นเหม็น
ข.กลน่ิ เหมน็ ทีเ่ กิดจากการหมักหมมของมลู สกุ ร และทาให้แมลงวันชุกชมุ
ค. มีแมลงวนั ชกุ ชุม ส่งเสยี งร้องรบกวน มลู สุกรสง่ กล่นิ เหม็น เกดิ นา้ เสีย
ง. ด้านเสยี งร้องรบกวนเพื่อนบา้ น และทาใหเ้ กิดน้าเสยี

10. การเล้ียงสกุ รมีข้อจากัด ข้อใดถูกทส่ี ุด
ก.อาหารสกุ รมีราคาแพง
ข.เสยี งรอ้ งรบกวนเพือ่ นบา้ น
ค. มแี มลงวันชกุ ชุม สง่ เสียงร้องรบกวนเพือ่ นบ้าน
ง. ราคาอาหาร และราคาสกุ รขึ้นลงไม่แน่นอนเสีย่ งต่อการขาดทนุ

9

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
หนว่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง ความสาคญั และปจั จยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการเล้ยี งสกุ ร.

1. ง
2. ก
3. ค
4. ข
5. ข
6. ก
7. ง
8. ง
9. ค
10. ง

2. เพือ่ ให้บอกหลักและลักษณะในการคดั เลือกพ่อ-แม่พันธสุ์ ุกรได้
3. เพอ่ื ใหเ้ กิดความสนใจใฝรุ ู้และเชอ่ื มัน่ ในตนเอง

10

เนือ้ หาสาระ
1. ลักษณะประจาพันธข์ุ องสุกรทีน่ ิยมเล้ียงในประเทศไทย

1.1 สุกรพนั ธพ์ุ น้ื เมือง
1) พนั ธไ์ุ หหลา (สุกรจนี ) อาจเรยี กวา่ "หมทู ้องขาว , หมตู ะเภา" เล้ียงมากในเขตภาคกลาง ใต้

ของไทย มีสีดาตรงหัวไหล่ หลัง ด้านท้าย ส่วนท้องขาว จมูกยาว หลังแอ่น ไหล่ใหญ่ แฮมเล็ก โตเต็มท่ี ตัวผู้
หนัก 125-150 กก. ตวั เมีย 100-125 กก. ประสทิ ธภิ าพการใช้อาหารต่า คอื 4-6

2) พนั ธุค์ วาย พบมากในภาคเหนอื สว่ นใหญข่ องลาตวั มีสีดา จมูกตรงสนั้ ขอบตามีสีขาวชัดเจน
ขอ้ ขาอ่อน ขนาดโตเต็มทต่ี ัวผู้หนัก 160-180 กก. ตัวเมยี 100-120 กก.

3) พันธ์ุราด พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีสีดาคล้ายสุกรพันธ์ุเบอร์กเซีย มีสี
ขาว 6 แห่งคือ ปลายจมูก เท้าท้ังสี่ ปลายหาง หัวยาวตรง ตัวส้ันปูอม โตเต็มท่ีตัวผู้หนัก 100-120 กก. ตัวเมีย
90-100 กก.

4) พันธ์ุพวง (หมูกระโดน , หมูขี้ซี) พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สีดา ลาตัวเล็ก หนัง
หยาบ โตชา้ มรี าคาต่ากว่าสุกรพันธุ์อ่นื ๆ โตเต็มที่จะมนี ้าหนกั 60-70 กก.

1.2 สุกรพันธต์ุ า่ งประเทศ
1) พันธแ์ุ ลนด์เรซ (Landrace) เป็นสุกรประเภทเบคอน กาเนิดจากประเทศเดนมาร์ก เกิดจาก

การผสมพันธ์ุระหว่างพันธุ์ลาร์จไวท์และพันธุ์พื้นเมืองของเดนมาร์ก ได้รับการรับรองเป็นพันธุ์แท้ เม่ือปี พ.ศ.
2433 เรียกว่า เดนิช แลนด์เรซ (Danish Landrace) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2477 สหรัฐอเมริกาได้นาสุกรแลนด์
เรซเข้าไปเล้ยี งปรับปรุงพันธ์ุกลายเป็น อเมริกัน แลนด์เรซ (American Landrace) โดยประเทศไทยได้นาเข้า
พนั ธน์ุ ้ี เมื่อปี พ.ศ. 2506 และนิยมแพร่หลายในปัจจบุ นั

ลักษณะประจาพันธ์ุ เป็นสุกรขนาดใหญ่ ลาตัวยาวกว่าพันธุ์อื่น ๆ เพราะมีกระดูกซี่โครง
มากกว่าพนั ธ์ุอืน่ 1-2 คู่ (มีซีโ่ ครง 16-17 ค)ู่ ลาตัวสีขาวแต่อาจมจี ดุ ดาบ้าง (Black skin spots) ขาส้ัน เรียว
เล็ก ตัวเล็กเรียว จมูกยาว หูปรก ซ่ึงอเมริกันแลนด์เรซ จะหูใหญ่มากกว่าเดนิช แลนด์เรซ แต่ลาตัวส้ันกว่า
อัตราการเจรญิ เตบิ โตสูง ประสทิ ธิภาพการเปลี่ยนอาหารดี คุณภาพซากดี ให้ลูกดก เล้ียงลูกเก่ง แต่มีข้อเสียคือ
ข้อขาอ่อน ทนทานตอ่ สภาพแวดลอ้ มในเมอื งไทยไม่ดนี ัก มีอปุ นสิ ยั ใน การเป็นแม่พันธุ์ที่ดี เกษตรกรจึงนิยม
เลยี้ งเป็น แมพ่ นั ธุ์

2) สุกรพนั ธุล์ ารจ์ ไวท์ (Large white) เป็นสุกรประเภทเบคอน ถิน่ กาเนิดในประเทศอังกฤษ
เกดิ จากการผสมระหวา่ งสุกรพันธุ์ยอรด์ เซยี ร์ (Yorkshire) ซงึ่ เป็นพันธพุ์ ื้นเมืองกบั สุกรพันธุ์ ไลเคสเตอร์

ลักษณะประจาพันธุ์ เป็นสุกรลาตัวยาว หูตั้ง สีขาว อาจมีสีดาท่ี ผิวหนัง ได้บ้าง หัวโตปาน
กลาง ไหล่หนา ข้อขาแข้งแรง คุณภาพซากดี ให้ลูกดก เลี้ยงลูกเก่ง ทนทานต่อสภาพแวดล้อมในประเทศไทย
ได้ดี นยิ มเลีย้ งเปน็ พอ่ -แม่พนั ธุ์

3) สุกรพันธุ์ดูร็อคเจอร์ซี่ (Duroc Jersey) เป็นสุกรประเภทเน้ือ ถิ่นกาเนิดในสหรัฐอเมริกา มี
2 สายเลือดด้วยกนั คือ สีแดงออ่ นและ แดงเขม้ (นิยมมากกวา่ )

11

ลักษณะประจาพันธุ์ มีสีแดง หลังโค้ง หัวโตพอสมควร หน้าส้ัน หูเล็ก โคนหูตั้งปลายหูปรก

(หูตก) สะโพกใหญ่ ไหล่หนา โตเร็ว มีประสิทธิภาพในการเปล่ียนอาหารดี ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม

เมืองไทยได้ดี ใหล้ ูกดกปานกลาง แต่เล้ยี งลูกไม่เกง่ นิยมเลยี้ งเป็น พ่อพนั ธุ์

4) สุกรพนั ธแุ์ ฮมเซียร์ (Hampshire) เป็นสกุ รประเภทเน้ือ กาเนดิ ในอังกฤษ

ลักษณะประจาพันธุ์ ลาตัวมีสีดา แต่มีสีขาวบริเวณไหล่ลงมารอบ ๆ ลาตัวจรดขาหน้าทั้ง 2

ข้าง และสีขาวน้ีไม่ควรเกิน 2/3 ของความยาวลาตัว หัวเล็ก จมูกยาว ใบหูเล็กตั้ง ลาตัวสั้นหนา หลังโค้ง

อัตราการเจริญเติบโตดี ประสิทธิภาพการเปล่ียนอาหารดี ทนทานต่อสภาพแวดล้อม แต่เน่ืองจาก

ลาตวั มีลกั ษณะสดี า จึงไม่เปน็ ที่นยิ มเล้ียง

2.2 ข้อแตกตา่ งของสุกรพนั ธพุ์ ื้นเมอื งและพนั ธตุ์ ่างประเทศ

ตารางที่ 3-1 สรุปขอ้ แตกต่างระหวา่ งสกุ รพันธ์ุพ้ืนเมืองและสกุ รพันธ์ุต่างประเทศ

ลกั ษณะ พันธพ์ุ ้นื เมือง พันธ์ุต่างประเทศ

1. ขนาดรูปร่าง ขนาดเล็ก ลาตวั ส้ัน หลังแอ่น ขนาดใหญ่ ลาตัวยาว หลงั ตรง

ท้องยาน ทอ้ งเรยี บ

2. การเจรญิ เติบโต โตช้า โตเร็ว

3. การเปล่ยี นอาหารเปน็ เน้ือ เปลยี่ นอาหารเปน็ เน้ือไม่ดี เปลย่ี นอาหารเป็นเน้ือไดด้ ี

4. ความทนทาน ทนทานต่อสภาพแวดลอ้ มไดด้ ี ไม่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม

5. คุณภาพซาก ซากมีมันมาก เน้ือแดงนอ้ ย ซากมีมนั น้อย เน้อื แดงมาก

6. ความตอ้ งการของตลาด ตลาดมีความต้องการน้อย ตลาดมีความต้องการมาก

7. ต้นทุนในการผลิต ต้นทุนต่า ต้นทนุ สูง

12

ใบงานที่ 5.1

รหัสวิชา 2501–2304 ชื่อวชิ า การเลี้ยงสกุ ร สอนคร้ังที่ 10-11
หนว่ ยที่ 3 ชอ่ื หน่วย ประเภทพนั ธ์สุ กุ ร และการคดั เลือก เวลารวม 14 ชม.
ชื่องาน พนั ธ์ุและลักษณะประจาพันธ์ุ เวลา 60 นาที

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถบอกลกั ษณะประจาพนั ธสุ์ ุกรได้ถูกตอ้ งอยา่ งน้อย 3พนั ธุ์
2. สามารถจาแนกสุกรออกเปน็ พันธุ์ต่าง ๆ ได้อยา่ งน้อย 3 พันธ์ุ
วัสดุอุปกรณ์
1. สุกรพันธแุ์ ลนด์เรช 1 ตัว
2. สกุ รพนั ธล์ุ ารท์ ไวท์ 1 ตัว
3. สุกรพนั ธ์ุดูร็อคเจอรซ์ ี่ 1 ตัว

ลาดบั ข้นั การปฏบิ ตั งิ าน

ขน้ั ที่ 1 ศึกษาลักษณะประจาพันธข์ุ องสุกรพนั ธ์ตุ า่ ง ๆ คอื
1. สกุ รพันธแ์ุ ลนดเ์ รช เป็นสุกรที่มขี นาดใหญ่ ลาตัวยาวกวา่ สกุ รพนั ธุ์อืน่ ๆ หปู รก
2. สุกรพนั ธ์ุลาร์ทไวท์ เปน็ สกุ รท่ีมีขนาดใหญ่ ลาตวั ยาว สขี าว หตู ัง้
3. สกุ รพันธด์ุ ูรอ๊ คเจอรซ์ ่ี เป็นสุกรท่ีมขี นาดใหญ่ ลาตัวสัน้ หลังโค้ง มสี เี หลืองทองไล่ไปจนถึงสีนา้ ตาล
ไหม้ สะโพกใหญ่ โคนหูต้ัง ปลายใบหูปรก

สกุ รพันธุล์ ูกผสม 3 ตวั
ขน้ั ท่ี 2 ศึกษาลักษณะประจาพนั ธุ์จากสไลด์พันธุส์ กุ ร
ข้ันที่ 3 ใหจ้ าแนกกลุ่มสุกรท่เี ตรียมไวว้ า่ มพี นั ธุ์อะไรบา้ ง จดั ทาเป็นรายงานสง่ ผู้สอน
การวดั ผล

1. นักเรยี นสามารถบอกลักษณะประจาพันธุ์ของสกุ รพนั ธุต์ ่าง ๆ ได้ถูกตอ้ งอยา่ งน้อย 2 พนั ธุ์
2. นกั เรียนสามารถจาแนกสุกรในกล่มุ ทจ่ี ดั เตรียมไวไ้ ด้อย่างถูกต้องอย่างน้อย 2 พันธ์ุ

การประเมนิ ผล
1. ตรวจการจาแนกความแตกตา่ งของสกุ รแตล่ ะพันธ์ุ

13

แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน
วิชา การผลิตสุกร รหสั วิชา 2501-2202
หนว่ ยท่ี 5 เรือ่ ง ประเภทและพันธ์ุสกุ ร

1. การจดั หมวดหมู่สกุ ร ข้อใดถูกต้อง

ก. สุกรเป็นสตั ว์ที่มกี ระดูกสันหลงั , กระเพาะรวม, เลี้ยงลูกด้วยนม

ข. สกุ รเปน็ สัตว์ที่มีกระดูกสันหลงั , กระเพาะเด่ยี ว, เลีย้ งลูกดว้ ยนม

ค. สุกรเปน็ สตั วก์ ีบค่,ู กระเพาะรวม, เลี้ยงลกู ด้วยนม

ง. สกุ รเปน็ สัตวก์ บี เดีย่ ว, กระเพาะเดยี่ ว, เลย้ี งลูกดว้ ยนม

2. ขอ้ ใดเป็นสุกรประเภทมัน

ก. แลนดเ์ รซ ข. ลารจ์ ไวท์ ค. ไหหลา ง. ดูรอ๊ ก

3. ข้อใดเป็นสกุ รประเภทเบคอน

ก. แลนดเ์ รซ ข. ดรู อ๊ ก ค. แฮมเชยี ร์ ง. โปแลนดไ์ ชนา่

4. ข้อใดเป็นสุกรประเภทเนอ้ื

ก. แลนด์เรซ ข. ลาร์จไวท์ ค. ไหหลา ง. ดรู ๊อก

5. เปน็ สุกรทมี่ ีลักษณะลาตวั สีดา ขอบตามีสขี าวรอบ ๆ ตาเหน็ ได้ชัด

ก. ไหหลา ข. ควาย ค. ราด ง. พวง

6. สุกรพนั ธ์ุใดมีซ่ีโครงมากกวา่ พนั ธ์อุ ื่นๆ

ก. ลาร์จไวท์ ข. แลนด์เรซ ค. ดรู อ๊ ก ง. แฮมเชียร์

7. เป็นสกุ รทม่ี ีถน่ิ กาเนิดในประเทศองั กฤษ ลักษณะเด่น หตู ้ัง เลี้ยงงา่ ย ให้ลูกดก เลี้ยงลกู เก่ง

ก. ลาร์จไวท์ ข. แลนดเ์ รซ ค. ดรู อ๊ ก ง. แฮมเชียร์

8. เป็นสกุ รท่มี ีลักษณะลาตัวสแี ดง หูปรกเป็นส่วนใหญ่ ลาตวั สั้น หนา หลังโค้ง

ก. ลาร์จไวท์ ข. แลนด์เรซ ค. ดูรอ๊ ก ง. แฮมเชยี ร์

9. สกุ รพนั ธุใ์ ดนิยมเล้ียงเป็นพ่อพนั ธุ์

ก. ลารจ์ ไวท์ ข. แลนดเ์ รซ ค. ดรู ๊อก ง. ไหหลา

10.ขอ้ ใดเปน็ ข้อดขี องสกุ รพันธุ์พืน้ เมือง

14

ก. ซากมเี น้ือแดงมาก ข. เปล่ียนอาหารเปน็ เนอ้ื ได้ดี

ค. มีความทนทานต่อสภาพแวดลอ้ ม ง. โตเร็ว

11. ลักษณะอัณฑะทองแดง หมายถงึ ข้อใด

ก. อณั ฑะมสี ีแดง ข. อัณฑะมีสีทอง ค. อณั ฑะมหี ลายลกู ง. อัณฑะมลี ูกเดียว

12.ลักษณะกระเทยในสุกร หมายถงึ ข้อใด

ก. เดนิ ส่ายสะโพก ข. ร้องกรดี๊ ๆ ค. มอี วัยวะทง้ั 2 เพศ ง. ชอบเพศเดียวกนั

13. ลกั ษณะสุกรที่มีลาไสต้ กมาอยนู่ อกชอ่ งท้อง บรเิ วณหนา้ ทอ้ ง และถงุ อัณฑะ ลักษณะนี้คือ

ลกั ษณะของอะไร

ก.ใสเ้ ลอ่ื น ข.อัณฑะทองแดง ค.ไม่มรี ูทวาร ง.กระเทย

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
วชิ า การผลิตสุกร รหสั วิชา 2501-2304
หนว่ ยท่ี 5 เรื่อง พนั ธแุ์ ละลกั ษณะประจาพันธ์ุสุกร

1. ข
2. ค
3. ก
4. ง
5. ง
6. ข
7. ค
8. ค
9. ง
10. ค
11. ง
12. ค
13. ก

15

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 6
ชอ่ื วิชา การผลิตสกุ ร สอนครั้งท่ี 17-24
ชื่อหน่วย อาหารและการให้อาหารสกุ ร ช่ัวโมงรวม 16

ชอ่ื เร่ือง ส่วนประกอบและหน้าทขี่ องระบบทางเดินอาหาร สอนคร้งั ท่ี 17-18 จานวนช่วั โมง 4

สาระสาคญั
การย่อยอาหารคือ การเปลี่ยนแปลงของอาหารที่สัตว์กิน เพ่ือเตรียมที่จะดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือด

การย่อยอาหารเกิดข้ึนในระบบทางเดินอาหารเริ่มตั้งแต่ปากจนถึงปลายสุดที่ทวารหนัก อาหารท่ีกินเข้าไป
มกั จะมีลักษณะเปน็ ช้ินหรือเป็นก้อน ร่างกายสัตว์ยังไม่สามารถนาไปได้ทันที ต้องผ่านกระบวนการย่อยอาหาร
เสียก่อน ซงึ่ การย่อยอาหารมที ั้งวิธกี ล (Mechanical mean) และการยอ่ ยทางเคมี (Chemical mean)

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
จุดประสงค์ท่ัวไป
1. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบทางเดนิ อาหาร
2. เพ่ือให้บอกการดดู ซึมและการนาอาหารไปใช้ประโยชน์ได้

16

3. เพ่อื ใหท้ างานดว้ ยความเชอ่ื ม่ันในตนเอง
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. บอกส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบทางเดนิ อาหารได้
2. บอกการดูดซมึ และการนาอาหารไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
3. ทางานด้วยความเช่ือม่ันในตนเอง

สาระการเรยี นรู้
1. ระบบทางเดินอาหาร ประกอบด้วยส่วนทเ่ี ป็นทางเดินอาหารซง่ึ เร่ิมต้งั แต่ ปาก หลอดคอ

กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไสใ้ หญ่ ตลอดจนอวัยวะทเี่ ก่ียวข้องกบั การย่อยอาหาร เช่น ตบั ตับอ่อน เปน็ ต้น
2. การดูดซมึ อาหาร เป็นการเคลื่อนยา้ ยอาหารทีย่ ่อยแล้วและอยใู่ นรปู สารละลาย ซมึ ผา่ นเย่ือบุ

ทางเดินอาหารเข้าสู่กระแสเลือดและหลอดน้าเหลอื งเพ่ือนาไปใช้ประโยชน์และเก็บสะสมไว้ในเนือ้ เย่อื ต่าง ๆ
ของร่างกาย

กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ผู้สอนนาเขา้ สบู่ ทเรยี นด้วยการสนทนาแล้วชแ้ี จงจดุ ประสงค์ของการเรียน แจกแบบทดสอบ ก่อนเรยี น

ใหผ้ เู้ รยี นทา (15 นาท)ี
2. ผสู้ อนนาเสนอรูปภาพแสดงสว่ นประกอบของระบบทางเดินอาหารพร้อมแจกใบความรู้ท่ี4.1 สว่ นประกอบ

และหน้าทข่ี องระบบทางเดนิ อาหารใหผ้ ู้เรยี นศึกษา (45 นาที)
3. ผูส้ อนอธบิ ายเนอ้ื หา,ต้งั คาถามเก่ียวกบั หนา้ ที่ของระบบทางเดนิ อาหาร, การดูดซึมอาหารให้ผู้เรยี นตอบที

ละคน (60 นาที)
4. ผสู้ อนอธิบายเนื้อหา,ตั้งคาถามเกย่ี วกับการนาอาหารไปใช้ประโยชน์ ใหผ้ เู้ รียนตอบทีละคน (60

นาท)ี
5. ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั สรปุ เนื้อหาวชิ า (50 นาที)
6. แจกแบบทดสอบหลังเรยี นให้ผู้เรยี นทา (10 นาที)

รวม 240 นาที

ส่อื การเรยี นการสอน
สือ่ สิ่งพมิ พ์
1. ใบความรู้ท่ี 4.1
2. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น
สื่อโสตทศั น์
1. เคร่อื งคอมพิวเตอร์

17

2. โปรเจคเตอร์ LCD.

การประเมินผล
สิ่งทปี่ ระเมนิ
1. พฤติกรรมการเรยี นรู้
2. ความร้คู วามเข้าใจในเนื้อหา
3. คุณธรรม จรยิ ธรรม
วิธปี ระเมิน
1. สังเกตความเอาใจใส่ในการเรียน,ให้คะแนนเป็นรายบุคคล (5 คะแนน)
2. ตอบคาถามด้วยความเช่ือมน่ั ในตนเองและถูกต้อง (5 คะแนน)
3. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น (5 คะแนน)

เคร่อื งมอื ประเมนิ
1. แบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
2. ถามคาถามให้ผ้เู รียนตอบคนละ 2 ขอ้
3. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน

บนั ทึกหลังการสอน
หนว่ ยท่ี 6 เร่ือง อาหารและการผสมอาหารสุกร

สอนคร้ังท่ี 16-18 จานวน 6 ชว่ั โมง

ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

18

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรียนของผู้เรียน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชื่อ....................................ครปู ระจาวิชา
(........................................)

ใบความรูท้ ี่ 6.1 สอนครงั้ ท่ี 17-18
รหสั วชิ า 2501-2304 ช่ือวิชา การผลิตสกุ ร

หนว่ ยท่ี 6 ชือ่ หนว่ ย อาหารและการให้อาหารสุกร 19
ช่อื เรอ่ื ง ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบทางเดินอาหาร
เวลารวม 16 ชม.
เวลา 45 นาที

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. เพือ่ ให้มีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกับสว่ นประกอบและหนา้ ท่ขี องระบบทางเดินอาหาร
2. เพอ่ื ให้บอกการดดู ซึมและการนาอาหารไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
3. เพอ่ื ให้ทางานดว้ ยความเชื่อมั่นในตนเอง

เนอ้ื หาสาระ
1. ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบทางเดินอาหาร

1.1 ปาก (Mouth) เป็นอวัยวะรับอาหารและบดอาหาร โดยมีล้ินและฟันเป็นตัวช่วยในการบดเคี้ยว
อาหาร มีต่อมน้าลายซ่ึงสร้างน้าลายส่งเข้ามาช่วยผสมคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนนุ่ม และมีน้าย่อยคือ ไทอะลิน
(Ptyalin) ชว่ ยเปลีย่ นแปูงให้เปน็ นา้ ตาลมอลโตส (Maltose)

1.2 หลอดคอ (Esophagus) เป็นท่อยาวเชอ่ื มตอ่ ระหว่างปากและกระเพาะอาหาร ช่วยบีบไล่อาหาร
ให้เคลื่อนท่ีไปยังกระเพาะอาหารได้สะดวกและรวดเร็ว เพราะมีกล้ามเน้ือโดยรอบและบุด้วย เยื่อชุ่ม
(Mucous membrane)

1.3 กระเพาะอาหาร (Stomach) มีลักษณะเป็นถุงเด่ียวตอนต้นติดกับหลอดคอตอนปลายติดกับ
ลาไสเ้ ล็กสว่ นต้น ภายในกระเพาะมสี ภาพเป็นกรดเกลอื ชว่ ยยอ่ ยโปรตีนเบื้องต้น

1.4 ลาไส้เล็ก (Small intestine) เป็นท่อยาวประมาณ 18 เมตร ผนังด้านในยื่นเป็นติ่งฝอย เรียก
วิลไล (Villi) มีหน้าท่ีสาคัญคือ ย่อยอาหารขั้นสุดท้ายและดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้วผ่านผนังลาไส้เข้าสู่กระแส
เลือด มนี า้ ย่อยหลายชนดิ ช่วยย่อยอาหาร เช่น น้ายอ่ ยจากผนังลาไสเ้ ลก็ นา้ ย่อยจาก ตบั ออ่ น น้าดี

1.5 ลาไสใ้ หญ่ (Large intestine) ตรงรอยตอ่ ของลาไส้เล็กส่วนปลายและลาไส้ใหญ่ มไี ส้ติง่ เปน็ ทอ่
ส้นั , ตนั เป็นทก่ี ักเก็บกากอาหาร กอ่ นจะขับออกจากร่างกายและดูดซึมนา้ กลบั เข้าสู่ร่างกายดว้ ย

2. อวัยวะทีเ่ กี่ยวข้องกบั การยอ่ ยอาหาร
2.1 ตับออ่ น (Pancreas) เปน็ แหล่งสร้างน้ายอ่ ยและส่งเข้าส่ลู าไส้เลก็ สว่ นตน้ เพ่อื ทาการย่อยอาหาร

ซ่งึ มีนา้ ย่อยต่าง ๆ ดงั น้ี
1) เปปซนิ (Pepsin) ยอ่ ยโปรตีน , Protiose และ peptone ให้เป็นกรดอะมโิ น
2) ไคโมทริปซนิ (Chymotripsin) ย่อยโปรตีนใหเ้ ปน็ เปปไตดแ์ ละกรดอะมโิ น
3) อะไมเลส (Amylase) ย่อยแปูงให้เป็นนา้ ตาลมอลโตส
4) ไลเปส (Lipase) ยอ่ ยไขมันให้สลายตัวเปน็ กรดไขมันและกลีเซอรอล

2.2 ตบั (Liver) สร้างน้าดี (Bile) และขับออกมายงั ลาไสเ้ ล็กส่วนต้น ทาหน้าทีส่ นบั สนุน การ
ย่อยไขมนั

20

3. การดดู ซึมและการนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดข้ องอาหาร
3.1 การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต :- คาร์โบไฮเดรตที่ผ่านการย่อยจนถึงขั้นสุดท้ายจะได้น้าตาลโมเลกุล

เดยี วและถูกดูดซมึ เข้าสรู่ า่ งกายทางเสน้ เลอื ดไปช่วยให้พลังงานแก่รา่ งกาย
3.2 การดดู ซึมไขมัน อาหารไขมันเม่อื ถกู ย่อยในข้นั สดุ ทา้ ย จะไดก้ รดไขมันกับกลีเซอรอล ดูดซึมเข้า

สู่รา่ งกายทางหลอดนา้ เหลืองทลี่ าไสเ้ ลก็ ไขมันใหพ้ ลงั งานสูงกว่าคาร์โบไฮเดรตถึง 2.25 เทา่
3.3 การดูดซึมโปรตีน ผลการย่อยครั้งสุดท้ายของโปรตีน จะได้ กรดอะมิโน ซ่ึงส่วนใหญ่จะถูกดูดซึม

ผ่านผนังลาไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือดไปยังตับ เพ่ือนาไปใช้ในการสร้างเน้ือเยื่อและซ่อมแซมส่วนท่ีสึกหรอของ
ร่างกาย

3.4 การดูดซึมแร่ธาตุ : แร่ธาตุจะถูกดูดซึมในรูปของสารละลายและนาไปใช้ในกระบวนการทางาน
ตา่ ง ๆ ของร่างกาย แรธ่ าตุเปน็ สว่ นสาคัญของเลือดและของเหลวในร่างกาย

3.5 การดูดซึมวิตามิน วิตามินท่ีถูกดูดซึมจะมีอยู่ทั้งในรูปท่ีละลายได้ในน้าและละลายในไขมัน เป็น
สารอาหารท่ีร่างกายต้องการในปริมาณเล็กน้อยแต่ขาดไม่ได้ เพราะวิตามินมีผลต่อการเจริญเติบโต การ
สืบพันธุ์ และความตา้ นทานต่อโรค

แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน
วชิ า การผลิตสุกร รหัสวิชา 2501-2304
หนว่ ยที่ 6 เร่ือง ส่วนประกอบและหน้าทข่ี องระบบทางเดนิ อาหาร

1. นา้ ย่อยในน้าลายมีชื่อวา่ อะไร

ก. เปฺปซนิ ข. อะไมเลส ค. ไลเฟส ง. ไทอะลิน
ง. ลาไส้ใหญ่
2. ท่อเชื่อมต่อระหวา่ งปากและกระเพาะอาหารคืออะไร ง. เป็นกรดเขม้ ข้น
ง. ฟิลโล
ก. หลอดลม ข. หลอดคอ ค. ลาไสเ้ ลก็ ง. ดูดซึมน้า
ง. ลาไส้เล็กส่วนปลาย
3. กระเพาะอาหารมีสภาพเป็นอยา่ งไร

ก. เป็นกรดอ่อน ข. เป็นดา่ งออ่ น ค. เป็นกลาง

4. ติง่ ฝอยในผนังด้านในลาไส้เลก็ เรยี กวา่ อะไร

ก. ไสต้ ิง่ ข. ซีเลยี ค. วลิ ไล

5. ลาไส้ใหญ่ มหี นา้ ที่อะไร

ก. ยอ่ ยอาหาร ข. ดดู ซมึ อาหาร ค. ผลิตน้าย่อย

6. ตับอ่อน สรา้ งนา้ ย่อยส่งไปสว่ นใด

ก. กระเพาะอาหาร ข. ลาไสเ้ ลก็ ส่วนตน้ ค. ลาไสเ้ ลก็ สว่ นกลาง

7. ยอ่ ยโปรตีนให้เปน็ กรดอะมโิ น คือน้าย่อยอะไร

21

ก. เปปซนิ ข. ไคโมทริปซนิ ค. อะไมเลส ง. ไลเปส
ค. ตับ ง. กระเพาะอาหาร
8. “นา้ ดี” สรา้ งมาจากอวัยวะใด ค. วิตามิน ง. ไขมนั
ค. ลาไสเ้ ลก็
ก. ตบั ออ่ น ข. ลาไสเ้ ล็ก ง. ลาไสใ้ หญ่

9. “น้าดี” สนับสนุนการยอ่ ยสารอาหารใด

ก. โปรตีน ข. คารโ์ บไฮเดรต

10. การย่อยอาหารขนั้ ตอนแรกเกิดขนึ้ ทอ่ี วยั วะใด

ก. ปาก ข. กระเพาะอาหาร

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
วชิ า การผลติ สกุ ร รหัสวิชา 2501-2304
หนว่ ยท่ี 6 เร่อื ง ส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของระบบทางเดินอาหาร

1. ง
2. ข
3. ก
4. ค
5. ง
6. ข
7. ก
8. ค
9. ง
10. ก

22

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 6
ช่ือวิชา การผลิตสุกร สอนครง้ั ท่ี 17-24
ช่ือหน่วย อาหารและการผสมอาหารสกุ ร ช่วั โมงรวม 16

ชอ่ื เรื่อง โภชนะในวัตถดุ ิบอาหารสตั ว์ สอนคร้งั ที่ 19-20 จานวนชั่วโมง 4

สาระสาคญั
อาหารสตั ว์ นับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญประการหน่ึงในการเล้ียงสัตว์โดยเฉพาะสุกรซ่ึงต้นทุน การผลิต

65-70% เปน็ ค่าอาหาร ฉะนั้นวัตถดุ บิ อาหารสัตวแ์ ต่ละชนิดที่นามาประกอบสูตรอาหารต้องมีคุณภาพดี น่ากิน
มโี ภชนะครบถว้ นตามที่สกุ รตอ้ งการ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพ่ือใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโภชนะท่มี ีอยู่ในวตั ถุดิบอาหารสตั ว์
2. เพื่อให้จาแนกโภชนะในวตั ถดุ ิบอาหารสตั วไ์ ด้
3. เพอ่ื ให้จาแนกชนิดของวตั ถุดิบอาหารสัตวไ์ ด้
4. เพอ่ื ให้ทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ดว้ ยความรกั สามัคคแี ละรบั ผิดชอบ
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. บอกโภชนะท่มี ีอยูใ่ นวัตถุดบิ อาหารสตั วไ์ ด้
2. บอกประโยชน์ของโภชนะในวัตถุดบิ อาหารสัตวท์ ม่ี ีต่อสขุ ภาพสุกรได้
3. จาแนกวัตถดุ ิบอาหารสัตว์ออกเปน็ กลมุ่ ๆได้

23

4. ทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ด้วยความรกั สามคั คีและรบั ผิดชอบ

สาระการเรียนรู้
อาหารสัตว์ (Feed) หมายถึง สารหรือส่ิงที่สัตว์กินเข้าไปแล้ว สามารถถูกย่อย ดูดซึม และนาไปใช้

ประโยชนต์ ่อร่างกายสัตว์ได้
โภชนะ (Nutrient) หมายถึง สารที่เป็นส่วนประกอบของอาหารที่มีส่วนประกอบทางเคมีเหมือนกัน

มหี นา้ ทเี่ ฉพาะอยา่ งในการทาใหส้ ัตวม์ ีชีวติ อย่ไู ด้ และยังรวมท้งั สิ่งทมี่ นษุ ยส์ ังเคราะหข์ ึ้นมาดว้ ย
โภชนะทจ่ี าเปน็ ต่อร่างกายสัตว์ ไดแ้ ก่
- นา้
- คารโ์ บไฮเดรต
- โปรตนี
- แรธ่ าตุ
- ไขมนั
- ไวตามิน

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ผสู้ อนนาเขา้ ส่บู ทเรียนดว้ ยการสนทนาแลว้ ชี้แจงจดุ ประสงคข์ องการเรียน แจกแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น

ให้ผู้เรียนทา (15 นาที)
2. แบ่งผเู้ รยี นออกเป็นกลุม่ ๆ ละ 3 คน แจกใบความรู้ที่ 4.2 เรื่อง โภชนะในวัตถุดบิ อาหารสตั วใ์ หผ้ เู้ รียน

ศกึ ษา (45 นาที)
3. แจกใบงานที่ 4.1 ให้ผเู้ รยี นจาแนกวัตถุดบิ อาหารสัตว์ทง้ั 60 กลอ่ ง ออกเปน็ กลุ่ม ๆ กลุ่มของโภชนะสง่

ครูผู้สอน (60 นาที)
4. ใช้ผเู้ รียนกลุ่มเดิมใหผ้ ้เู รียนศึกษาใบความรู้ท่ี 4.2 เรือ่ งชนดิ ของวัตถุดบิ อาหารสัตว์ (40 นาท)ี
5. ผสู้ อนให้กลุม่ ผ้เู รยี นจาแนกชนดิ ของวตั ถุดบิ อาหารสัตว์บนกระดานดาแข่งขันกันในแต่ละกลุม่ โดยผู้สอน

ตรวจสอบความถูกตอ้ งแล้วใหค้ ะแนน (40 นาที)
6. ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรุปเนอื้ หาวิชา (30 นาที)
7. แจกแบบทดสอบหลงั เรยี นให้ผเู้ รยี นทา (10 นาท)ี

รวม 240 นาที

สื่อการเรียนการสอน
สอื่ สงิ่ พมิ พ์
1. ใบความรู้ที่ 4.2

24

2. ใบงานท่ี 4.1
3. แบบประเมนิ กิจกรรมกลุ่ม
4. แบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
สื่อของจริง
1. วัตถุดบิ อาหารสัตว์จานวน 60 กล่อง

การประเมินผล

สิง่ ทปี่ ระเมิน

1. พฤติกรรมการเรยี นรู้

2. ความรูค้ วามเข้าใจในเนื้อหา

3. คุณธรรม จริยธรรม

วิธีประเมิน

1. สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนในการแบง่ กลุ่มปฏิบตั งิ านแล้วใหค้ ะแนนลงในแบบประเมินกิจกรรม

กลมุ่ (10 คะแนน)

2. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการจาแนกชนิดของวตั ถุดบิ อาหารสตั ว์บนกระดานดา (5

คะแนน)

3. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น (5 คะแนน)

เครือ่ งมอื ประเมิน

1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม

2. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน

ใบความรทู้ ่ี 6.2

รหัสวชิ า 2501-2304 ชือ่ วิชา การผลิตสุกร สอนครง้ั ท่ี 19-20
หนว่ ยที่ 6 ชอ่ื หน่วย อาหารและการผสมอาหารสกุ ร เวลารวม 16 ชม.
ชือ่ เรือ่ ง โภชนะในวตั ถุดบิ อาหารสตั ว์ เวลา 45 นาที

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. เพื่อให้มีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกับโภชนะท่มี ีอยู่ในวตั ถุดบิ อาหารสัตว์
2. เพอื่ ใหจ้ าแนกโภชนะในวัตถดุ บิ อาหารสัตว์ได้
3. เพื่อใหจ้ าแนกชนิดของวตั ถุดบิ อาหารสตั วไ์ ด้
4. เพือ่ ให้ทางานร่วมกบั ผู้อื่นด้วยความรกั สามคั คีและรบั ผิดชอบ

25

เนอ้ื หาสาระ
1. โภชนะในวัตถดุ ิบอาหารสตั ว์และหนา้ ที่

1.1 อาหารสัตว์ (Feed) หมายถึง สารหรือสิ่งท่ีสัตว์กินเข้าไปแล้ว สามารถถูกย่อย ดูดซึม และ
นาไปใชป้ ระโยชน์ต่อรา่ งกายสัตว์ได้

1.2 โภชนะ (Nutrient) หมายถึง สารที่เป็นส่วนประกอบของอาหารที่มีส่วนประกอบทางเคมี
เหมือนกัน มีหน้าท่ีเฉพาะอย่างในการทาให้สัตว์มีชีวิตอยู่ได้ และยังรวมท้ังส่ิงที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมาด้วย
โภชนะท่จี าเป็นตอ่ ร่างกายสัตว์ ไดแ้ ก่

1.2.1 น้า (Water) เป็นโภชนะท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตของสัตว์ทุกชนิด สุกรต้องการน้าวัน
ละประมาณ 8 ลติ ร ในลูกสกุ รจะมีน้าอยปู่ ระมาณ 80% ของนา้ หนกั ตัว พอโตข้ึน เปอร์เซ็นต์น้าในร่างกายก็จะ
ลดลงตามลาดับ หนา้ ที่ของน้ามีดังน้ี :-

1) เปน็ ตัวนาโภชนะไปยงั เนอ้ื เย่ือตา่ ง ๆ ในร่างกาย
2) เปน็ ตวั ขบั ของเสยี ตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย ถา่ ยออกนอกรา่ งกาย ในรูปของ ปสั สาวะ
เหงื่อ
3) เปน็ ตวั ชว่ ยและเขา้ รว่ มในปฏิกิรยิ าทางเคมีต่าง ๆ ในขบวนการเผาพลาญอาหาร
ในรา่ งกาย
4) ชว่ ยรักษารปู รา่ งของเซลล์ให้ปกติ
5) เป็นตัวช่วยควบคุมระดับอณุ หภมู ใิ นรา่ งกายให้คงที่
6) ช่วยรักษาระดับความสมดลุ แรธ่ าตุออิ อน (Ionic balance) ของแรธ่ าตตุ า่ ง ๆ ใน
ร่างกาย
7) เป็นสว่ นประกอบสาคัญของของเหลวในร่างกาย เชน่ เลือด นา้ นม น้าอสจุ ิ
เป็นต้น
1.2.2 คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เปน็ สารประกอบอนิ ทรียท์ ่ีมีคาร์บอน , ออกซิเจน และ
ไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ ปลายข้าว ข้าวโพด ข้าว
ฟุาง มันเส้น ราละเอียด คาร์โบไฮเดรต สามารถแบ่งออกตามความสามารถในการย่อยได้ของสัตว์ ได้ 2 ชนิด
คอื
1) คาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่าย (Nitrogen - Free Extract , NFE) เป็นคาร์โบไฮเดรตที่
ย่อยได้ในระบบทางเดินอาหาร เช่น น้าตาลทุกชนิด แปูงไกลโดเจน ผลสุดท้ายจะได้ น้าตาล 1, 2 โมเลกุล ซ่ึง
ร่างกายสามารถดูดซมึ ไปใช้ได้ เชน่ กลูโคส ซโู คส แลคโตร เป็นตน้
2) คาร์โบไฮเดรตที่ย่อยยาก (Crude Fiber) ไม่ถูกย่อยด้วยน้าย่อยในระบบทางเดิน
อาหาร แตอ่ าจถูกย่อยสลายโดยจุลินทรียบ์ างชนดิ เชน่ เซลลูโลส (Cellulose)

หนา้ ทข่ี องคาร์โบไฮเดรต

26

ก) เป็นแหล่งให้พลังงานและความรอ้ นแกร่ า่ งกาย

ข) เปน็ โครงสร้างทางเคมที สี่ าคัญในการสร้างโภชนะอนื่ ๆ

ค) เก็บสะสมไว้ในรา่ งกายในรปู พลงั งานสารอง เชน่ ไกลโดเจนในตับ หรือ

ไขมันตามสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย

1.2.3 โปรตีน (Protein) เป็นสารประกอบอินทรีย์ ท่ีมีคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และ

ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบ นอกจากนี้อาจมี กามะถัน, เหล็ก , ฟอสฟอรัส รวมอยู่ด้วย ผลจากการย่อย

โปรตนี จะไดก้ รดอะมโิ น (Amino Acid) มี 2 ชนิด คอื

1) กรดอะมิโนที่จาเป็นต่อร่างกาย (Essential amino acid) ต้องการปริมาณน้อย

รา่ งกายไมส่ ามารถสงั เคราะหข์ ้ึนมาได้ มอี ยู่ 10 ชนดิ (ดงั ตารางที่ 3.1)

2) กรดอะมิโนท่ีไม่จาเป็นต่อร่างกาย (Non-Essential amino acid) ร่างกายต้องการ

มาก และสงั เคราะห์ขึน้ มาได้เอง จึงไม่จาเปน็ ตอ้ งรบั จากภายนอก (ดังตารางท่ี 3.1)

ตารางที่ 4-1 แสดงกรดอะมิโนที่จาเป็นและไมจ่ าเป็นในสุกร

กรดอะมโิ นทจี่ าเป็นต่อรา่ งกาย กรดอะมโิ นท่ไี มจ่ าเปน็ ต่อร่างกาย

1. Anginine 1. Alanine

2. Histidine 2. Asparagine

3. Isoleucine 3. Aspartic acid

4. Leucine 4. Cysteine

5. Lysine 5. Cystine

6. Methionine 6. Glutamic acid

7. Phenylalanine 7. Glutamine

8. Threonine 8. Glycine

9. Tryptophan 9. Hydroxy proline

10. Valine 10. Proline

11. Serine

12. Tyrosine

แหล่งวตั ถดุ บิ ทีใ่ หโ้ ปรตีน มาจาก 2 แหลง่ ใหญ่ ๆ คือ
1) ไดจ้ ากสตั ว์ เปน็ โปรตนี ทีม่ กี รดอะมโิ นครบถ้วน และสมดุลท่สี ุด แต่ราคาแพง ไดแ้ ก่
ปลาปุน , เน้ือปนุ , นมผง , เลอื ดปุน ฯลฯ
2) ได้จากพืช ส่วนใหญ่ราคาถูกกว่าโปรตนี จากสตั ว์ ได้แก่ กากถั่วเหลือง กากถ่วั ลสิ ง ,
กากมะพร้าว , กากเมล็ดยางพารา ฯลฯ

หน้าท่ีของโปรตนี
ก) สรา้ งเนือ้ เยื่อใหมเ่ พ่ือการเจรญิ เติบโต , การสืบพันธ์ุ การใหล้ กู ใหน้ ม ฯลฯ

27

ข) ซ่อมแซมเน้ือเย่ือสตั วท์ ี่สึกหรอ
ค) เป็นโครงสรา้ งของสารประกอบทีส่ าคัญในรา่ งกาย เช่น ฮอร์โมน , น้ายอ่ ย ภูม
ต้านทานโรค ฯลฯ
ง) บางส่วนอาจใช้เป็นแหลง่ พลังงาน
จ) ใชล้ ดพิษของสารพิษบางชนดิ เชน่ อลั บูมิน (Albumin) ในไข่ขาว
การขาดโปรตีน จะทาใหส้ ัตวช์ ะงักการเจรญิ เตบิ โต ขนหยาบ กนิ อาหารน้อยลง ผวิ หนังตกสะเก็ด
ประสิทธิภาพในการเปล่ียนอาหารต่า , ประสิทธิภาพในการสืบพันธุ์ลดลง อ่อนแอและปุวยง่ายขึ้น จึงควรให้
สุกรไดร้ ับโปรตีนเต็มตามความต้องการเสมอ
1.2.4 แร่ธาตุ (Minerals) แร่ธาตุเป็นสารอนินทรีย์ที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโต การสืบพันธ์ุ ใน
ร่างกายสกุ ร จาแนกเปน็
1) แร่ธาตุที่จาเปน็ (Essential Elements) เป็นแร่ธาตทุ ่ีจาเปน็ ตอ่ ร่างกายใน
การเจรญิ เติบโตและให้ผลผลิต แบ่งเปน็ 2 ชนิด
ก) Macro elements ต้องการใหป้ ริมาณมากและขาดไม่ได้ เช่น แคลเซยี ม (Ca)
ฟอสฟอรสั (P) โซเดียม (Na) คลอรีน (Cl) ฯลฯ
ข) Trace elements ต้องการปรมิ าณน้อย แต่ขาดไม่ได้ เชน่ ทองแดง (Cu)
ฟลอู อรีน (F) ไอโอดนี (I) สังกะสี (Zn) ฯลฯ
2) แร่ธาตทุ ไ่ี ม่จาเป็น (Non-essential elements) ตรวจพบในรา่ งกาย แต่ไม่มี
บทบาทต่อกระบวนการตา่ ง ๆ เชน่ อลมู เิ นยี ม (Al) ตะกั่ว (Pb) อารซ์ ินิค (As)
3) แร่ธาตทุ เ่ี ปน็ พษิ (Toxic elements) ร่างกายต้องการแตถ่ า้ มากเกนิ ไปจะเป็นพิษต่อ
ร่างกาย เชน่ ฟลูออรัน (F) ซลิ เี นียม (Se) อาร์ซนี ิค (As)
หนา้ ที่ของแรธ่ าตุ
ก) ช่วยทาใหก้ ระดูกมีความแข็งแรงและคงรปู อยู่ได้
ข) กระตุน้ การทางานขอระบบน้าย่อยตา่ ง ๆ
ค) ชว่ ยควบคุมความสมดุลของของเหลวในรา่ งกาย ตลอดจนแรงดนั
ออสโมซสี (Osmotic pressure) และการขบั ถ่ายของเสีย
ง) เป็นองคป์ ระกอบส่วนหนึ่งของสารประกอบอินทรยี ์ เช่น โปรตีนและ
ไขมนั ซง่ึ นาไปสร้างอวัยวะตา่ ง ๆ เซลลเ์ ม็ดเลอื ดในร่างกาย
จ) ช่วยรักษาสมดุลของความเป็นกรดและด่างในรา่ งกาย
ฉ) ชว่ ยในการทางานของกลา้ มเนอื้ และระบบประสาท
1.2.5 ไวตามนิ (Vitamin) เป็นสารประกอบอนิ ทรยี ท์ ่จี าเป็นต่อปฏกิ ิริยาทางเคมีในร่างกาย สตั ว์
ตอ้ งการไวตามนิ เพื่อใชใ้ นการเจรญิ เติบโต การใหผ้ ลผลิต การสืบพันธุ์และมีสุขภาพสมบรู ณ์ ขาดไมไ่ ด้ ไวตามนิ
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ

28

1) ไวตามินทีล่ ะลายได้ในไขมนั (Fat - Soluble vitamins) มี 4 ชนิด คอื ไวตามนิ เอ
ดี อี เค ถ้ามมี ากเกนิ ไปจะสะสมในรา่ งกาย เกดิ อันตรายได้

2) ไวตามนิ ทีล่ ะลายไดใ้ นนา้ (Water - Soluble vitamins) คือกลุม่ ของ ไวตามินบี
ตา่ ง ๆ และไวตามินซี จาเปน็ ต้องได้รบั ทุกวนั

หนา้ ทข่ี องไวตามนิ ชนิดตา่ ง ๆ
ก) ไวตามินเอ ช่วยสร้างกระดูก , สมบูรณ์พันธ์ุ , มองเห็น มีมากใน ใบกระถิน
ข้าวโพด น้ามนั ตับปลา ตับสัตว์ ไข่ นม เปน็ ตน้
ข) ไวตามินดี ช่วยสร้างกระดูก ทาให้กระดูกแข็งแรง ให้สุกรได้รับแสงแดดอย่าง
พอเพยี ง อาหารที่มีไวตามินดีมากคอื หญ้าแหง้ นา้ มันตับปลา ยสี ตต์ ากแหง้
ค) ไวตามินอี เป็นสารปูองกันการหืนตามธรรมชาติ ปูองกันการหืนของไขมันที่ไม่
อิ่มตัวในร่างกาย มีอยู่ใน เมล็ดธญั พชื ตา่ ง ๆ ใบ ต้นถ่วั เหลอื ง ถวั่ ลสิ ง
ง) ไวตามินเค ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ปกติจุลินทรีย์ในลาไส้สุกรสามารถผลิตไว
ตามนิ เคได้เพียงพอตอ่ ความต้องการ
จ) โคลีน (Choline) ช่วยเคลื่อนย้ายไขมัน , ช่วยส่งสัญญาณของระบบประสาท
แหล่งอาหารทมี่ ีโคลนี มาก ไดแ้ ก่ กากเมล็ดฝูาย กากถ่ัวเหลอื ง เนอื้ และปลาปุน
ช) ไนอะซิน (Niacin) ช่วยในขบวนการเมตัวโมลิซ่ึมของไขมัน คาร์โบไฮเดรต และ
โปรตีน มมี ากในเมลด็ ธญั ญพืชตา่ ง ๆ เช่น ข้าวโพด ขา้ วฟุาง ปลายข้าว ราละเอียด
ซ) แพนโตธีนิค แอซิค (Pantothenic acid) เป็นองค์ประกอบของโคเอ็นไซม์เอ (Co
- enzyme A) มีหน้าทใี่ นการสังเคราะห์ไขมันและคลอเรสเตอรอล มีมากในผลิตภัณฑ์นม กากน้าตาล กากถั่ว
เหลือง ยสี ต์
ฌ) ไวตามินบี 1 (Thiamine) ชว่ ยกระตนุ้ ใหอ้ ยากกินอาหาร มีมากใน ราขา้ ว เมลด็
ธญั พชื ต่าง ๆ
ญ) ไวตามนิ บี 2 (Riboflavin) ถ้าสุกรขาดจะเบ่ืออาหาร อาเจยี น ขนหยาบ มปี ญั หา
ในการมองเหน็ พบมากใน ตับ เน้ือ ปลาปุน ยสี ต์ นม และผลติ ภัณฑ์
ฎ) ไวตามินบี 12 ช่วยในขบวนการเบต้าโมลิซึมของไขมันแลคาร์โบไฮเดรต เป็นไป
ด้วยดี สาคัญต่อการเจริญเติบโตและ การสืบพันธ์ุของสุกร และเป็นองค์ประกอบสาคัญใน การสร้างเม็ด
เลอื ดแดงให้สมบูรณ์ มมี ากใน ปลาปนุ ตบั ถั่วลสิ ง นม ผลติ ภัณฑท์ ี่ไดจ้ ากสตั ว์
ฏ) ไวตามนิ ซี สรา้ งคอลลาเจล (Collagen) ชว่ ยในการเคลอื่ นย้ายไฮไดรเจน สุกร
สามารถสงั เคราะหไ์ ด้เพยี งพอตอ่ ความต้องการ
1.2.6 ไขมนั (Fat) เมือ่ ถูกย่อยสลายแลว้ สามารถให้พลงั งานได้สูงกวา่ กลุ่มของคาร์โบไฮเดรตตงั้
2.25 เท่า แตม่ ีราคาแพงกว่า และเกบ็ รักษาได้ไมน่ าน แหล่งท่ีใหไ้ ขมนั ได้แก่ ไขววั น้ามันพชื ต่าง ๆ ไขมันใน
กากถั่วเหลือง ผลสดุ ทา้ ยของการย่อยไขมัน จะได้ กรดไขมัน (Falty acid) ซง่ึ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คือ

29

1) กรดไขมันที่จาเป็นต่อร่างกาย (Essential fatty acid) มี 3 ชนิดคือ Linoleic acid
Linolenic acid Pirachidonic acid เปน็ กรดไขมันไม่อิม่ ตัว มักพบในไขมนั ที่ได้จากพชื

2) กรดไขมันท่ีไม่จาเป็นต่อร่างกาย (Non - Essential fatty acid) เป็นกรดไขมัน อื่น
ๆ นอกเหนอื จาก 3 ชนิดที่กลา่ วมา ซึง่ มที ั้งกรดไขมนั ทอ่ี ่มิ ตัวและไม่อ่ิมตัว

หน้าทีข่ องไขมนั
ก) เปน็ แหลง่ ให้พลงั งานและความรอ้ นแก่ร่างกาย
ข) เป็นแหลง่ ให้กรดไขมนั ทจี่ าเป็น
ค) ชว่ ยในการดดู ซมึ และเคลื่อนย้ายไวตามินที่ละลายได้ในไขมัน
ง) การเสรมิ ไขมันลงในอาหาร จะทาให้อาหารมีรสชาดและกล่นิ นา่ กินขน้ึ
จ) กรดไขมนั บางตัวจะทาให้สัตวโ์ ตเร็ว

2. ลกั ษณะของอาหารทใี่ ช้เลี้ยงสุกร มอี ยู่ 2 ลกั ษณะใหญ่ ๆ คือ
2.1 อาหารเปียก โดยการนาอาหารมาผสมกับน้าให้พอเปียกหรือชื้น ๆ ก่อนนาไปเลี้ยงสุกร เพื่อลด

ความเป็นฝุนของอาหาร ทาให้น่ากินมากข้ึน แต่มีข้อเสียคือ จะทาให้อาหารบูดเน่าเสียได้ง่าย ดังนั้น ควรให้
สุกรกินใหห้ มดราง

2.2 อาหารแห้ง เป็นการให้อาหารที่นิยมเลี้ยงกันทั่วไป จะมี 2 ลักษณะคือ อาหารผงและอาหาร
อัดเม็ด ซง่ึ อาหารอดั เม็ดจะดกี ว่าอาหารผง เพราะ จะช่วยให้สุกรได้รับโภชนาเต็มที่ ช่วยลดความเป็น ฝุนของ
อาหาร แต่ต้นทุนการผลิตจะสูงกว่าอาหารผง สุกรที่กินอาหารอัดเม็ด จะมีอัตรา การเจริญเติบโต และอัตรา
การแลกเนื้อดีกว่าสกุ รท่กี ินอาหารผง

3. วธิ กี ารใหอ้ าหารสกุ ร
การให้อาหารในชว่ งอายุต่าง ๆ ของสกุ รมหี ลกั ในการให้อาหารมอี ยู่ 2 หลกั ใหญ่ ๆ คือ
3.1 ให้กินแบบเต็มท่ี (Ad. Libitum) โดยจะมีอาหารอยู่ในรางท่ีสุกรสามารถเข้าไปกินได้ตลอดเวลา

ปริมาณอาหารท่ีให้จะมากเกินพอต่อความต้องการของสุกร โดยปกติสุกรจะกินอาหารเฉล่ียประมาณ 3
เปอรเ์ ซ็นตข์ องน้าหนกั ตัว การให้อาหารแบบนี้จะทาใหส้ ุกรโตเร็ว มอี ัตราแลกเนือ้ สงู และสุกรจะอว้ น

3.2 ให้กินแบบจากัดปริมาณ (Restricted) เพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่งในการผลิต อาทิ
ควบคุมน้าหนักแม่พันธุ์ , ควบคุมคุณภาพซากของสุกรขุน เป็นต้น โดยปริมาณอาหารที่จากัดให้กับสุกรมาก
นอ้ ยเพียงใด จะข้นึ อยกู่ ับสกุ รระยะต่าง ๆ

4. ชนิดของอาหารที่ใช้เล้ยี งสุกรระยะตา่ ง ๆ แบ่งเปน็ 4 ชนิดคือ

30

4.1 อาหารสาเรจ็ รปู หมายถึง อาหารที่ผลิตจากโรงงานอาหารสตั ว์ มรี ะดับโภชนะในอาหารตรงตาม
ความตอ้ งการของสกุ รระยะตา่ ง ๆ อาหารสาเร็จรูปมักผลิตในรูปอัดเม็ด ซ่ึงจะทาให้อาหารไม่เป็นฝุน สุกรชอบ
กนิ และเจรญิ เตบิ โตไดด้ ี

4.2 ตัวอาหารเข้มข้น หมายถึง อาหารที่ผลิตจากโรงงานอาหารสัตว์ แต่มีระดับโภชนะในอาหารอยู่
มากเกินความต้องการของสุกร ต้องนามาผสมกับวัตถุดิบหลัก อาทิ ราละเอียด ปลายข้าว ข้าวโพด เป็นต้น
ตามสัดส่วนทีก่ าหนดไว้เสียก่อน จึงจะนาไปเลีย้ งสกุ รได้

4.3 อาหารผสมเองตามสตู ร หมายถงึ อาหารที่ผู้เล้ยี งสกุ รผสมขึ้นมาเอง จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ต่าง
ๆ ทค่ี านวณได้ ทาให้ได้อาหารผสมท่ีมีระดบั โภชนะตรงตามความต้องการของสุกรแบบต่าง ๆ

4.4 เศษอาหาร ผ้เู ล้ียงบางรายนาเศษอาหารมาผสมรา ปลายข้าว หยวกกล้วยหรือผักบุ้ง ก่อนนาไป
เล้ยี งสกุ ร ปจั จบุ ันไม่คอ่ ยนยิ มใช้ นอกจากกลุ่มเกษตรกรรายยอ่ ยเท่านั้น เน่อื งจากมคี ุณค่าทางอาหารตา่
5. สูตรอาหารสกุ ร

5.1 อาหารหมูอ่อน (Creep feed) มีหางนม เป็นองค์ประกอบ ใช้เลี้ยงสุกรต้ังแต่เริ่มหัดกิน (อายุ
10-15 วนั ) จนถึงนา้ หนกั 15 กโิ ลกรัม มีโปรตีนประมาณ 20-22 เปอร์เซ็นต์

5.2 อาหารหมูเล็ก ใช้เล้ยี งสุกรนา้ หนกั 15-30 กโิ ลกรัม มีระดบั โปรตีนประมาณ 16-18 เปอร์เซ็นต์
5.3 อาหารสุกรรนุ่ ใชเ้ ลีย้ งสกุ รนา้ หนัก 30-60 กิโลกรัม มีระดับโปรตนี ประมาณ 14-16 เปอร์เซ็นต์
5.4 อาหารสุกรขุน ใช้เลี้ยงสุกรน้าหนัก 60 กิโลกรัม จนถึง ส่งตลาด (95-100 กิโลกรัม) ซ่ึงมีระดับ
โปรตีนในอาหาร 12-14 เปอรเ์ ซน็ ต์

5.5 อาหารสุกรพันธุ์ เป็นอาหารท่ใี ช้เลีย้ งสุกรพ่อ-แม่พนั ธุ์ แบ่งออกเปน็ 2 สูตรใหญ่ ๆ คือ
1) อาหารสุกรอุ้มท้อง เปน็ อาหารทใ่ี ช้เล้ยี งสกุ รสาว (นา้ หนัก 60 กิโลกรมั ขน้ึ ไป) แมส่ ุกรอุ้ม

ทอ้ งและพ่อพันธุ์ มรี ะดบั โปรตนี ประมาณ 12-14 เปอรเ์ ซ็นต์
2) อาหารสกุ รให้นม ใช้เลย้ี งแม่สกุ รเลีย้ งลูก กนิ อาหารเพ่ือสร้างน้านมเลี้ยงลูก มรี ะดับโปรตีน

ประมาณ 14-16 เปอรเ์ ซน็ ต์

ใบงานที่ 4.1 3 (6) สอนครง้ั ที่ 19-20
เวลารวม 16 ชม.
รหัสวิชา 2501-2202 ช่ือวิชา การผลิตสุกร เวลา 60 นาที
หนว่ ยที่ 4 ช่ือหน่วย อาหารและการผสมอาหารสุกร
ชือ่ งาน การจาแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

31

1. จาแนกวัตถดุ ิบอาหารสัตว์เปน็ กลมุ่ ๆ ได้
2. ทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนดว้ ยความรบั ผดิ ชอบและสามัคคี

วัสดุอุปกรณ์
1. ตวั อย่างวัตถุดบิ อาหารสัตว์ จานวน 60 กล่อง

ลาดับขน้ั การปฏิบัติงาน
1. ใหผ้ ู้เรียนแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 3 คน ตามสมคั รใจ
2. ผูเ้ รียนศึกษาใบความรทู้ ี่ 4.2 เร่ือง โภชนะในวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์
3. จากตัวอย่างวตั ถดุ ิบอาหารสัตว์ จานวน 10 กล่อง ให้แต่ละกลมุ่ ผเู้ รียน จาแนกออกเป็นกลุ่ม

ตามโภชนะท้งั 6 กลุ่มคอื
- นา้
- คารโ์ บไฮเดรต
- โปรตีน
- ไขมนั
- แร่ธาตุ
- วิตามิน

4. จดรายช่ือวตั ถุดบิ อาหารสัตว์ทแ่ี บง่ ตามโภชนะท้ัง 6 กลุ่ม แล้วส่งครูผสู้ อน

การประเมนิ ผล
1. แบบประเมินกจิ กรรมกลุ่ม

แบบประเมินกจิ กรรมกลุ่ม
เรอ่ื ง การจาแนกวตั ถุดิบอาหารสัตว์

กลุ่มท่ี…………………………………..

ระดบั คณุ ภาพ

รายการประเมิน ดมี าก ดี ควรปรับปรงุ

1. การวางแผนการทางานในกลมุ่ (3) (2) (1)
2. การศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูลในใบความรู้

32

3. การจาแนกวตั ถุดบิ อาหารสตั ว์เป็นกลุ่ม ๆ ไดถ้ ูกต้อง
4. เวลาที่ใชใ้ นการจาแนก
5. ความสามคั คีและรบั ผิดชอบในกลุ่ม

ลงช่อื ........................................
(………………………..)
ผู้ประเมนิ ใหค้ ะแนน

คาชี้แจง
ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาคุณภาพพฤตกิ รรมของผู้เรียนแสดงออก แล้วเขยี นคะแนนลงในชอ่ งระดบั คุณภาพ
ระดบั 3 หมายถึง พฤติกรรมแสดงออก ดีมาก
ระดับ 2 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ดี
ระดบั 1 หมายถึง พฤติกรรมแสดงออก ควรปรับปรุง

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
วชิ า การผลติ สุกร รหัสวิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 6 เรือ่ ง โภชนะในวัตถุดิบอาหารสัตว์

33

1. การย่อยอาหารมีมากทส่ี ดุ บริเวณใด

ก. ปาก ข. กระเพาะอาหาร ค. ลาไสเ้ ลก็ ง. ลาไสใ้ หญ่
ง. 4.25
2. ไขมนั ให้พลังงานสงู กว่าคารโ์ บไฮเดรตก่ีเท่า ง. 10 ลติ ร
ง. ตบั
ก. 1.25 ข. 2.25 ค. 3.25 ง. โปรตีน
ง. เค (K)
3. สุกร 1 ตวั ตอ้ งการนา้ เฉลีย่ เท่าใดใน 1 วนั ง. ไขมัน
ง. โปตัสเซยี ม
ก. 4 ลิตร ข. 6 ลิตร ค. 8 ลิตร ง. B และ C
ง. พลังงานสงู มาก
4. อาหารตอ่ ไปนี้ข้อใดจดั อยใู่ นพวกคารโ์ บไฮเดรต

ก. ราข้าว ข. ปลาปุน ค. ผลไม้

5. โครงสร้างของร่างกาย มโี ภชนะใดเป็นส่วนประกอบมากที่สุด

ก. คาร์โบไฮเดรต ข. ไขมัน ค. แร่ธาตุ

6. วิตามนิ ใดทีล่ ะลายได้ในนา้

ก. เอ (A) ข. บี (B) ค. อี (E)

7. โภชนะใดต่อไปนี้ใหพ้ ลังงาน

ก. น้า ข. วติ ามิน ค. แรธ่ าตุ

8. แรธ่ าตใุ ดต่อไปน้ี ถ้าขาดจะทาให้สัตว์เป็นโรคโลหติ จาง

ก. เหล็ก ข. แคลเซยี ม ค. คลอรนี

9. วติ ามนิ ในข้อใดมีหน้าทเี่ กี่ยวกับการสรา้ งกระดูก

ก. A และ B ข. A และ D ค. C และ E

10. ข้อจากดั ในการใชร้ าละเอยี ดคือข้อใด

ก. ราคาแพง ข. โปรตีนต่า ค. เหม็นหืนงา่ ย

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
วชิ า การผลติ สกุ ร รหสั วิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 6 เรอื่ ง โภชนะในวัตถุดบิ อาหารสตั ว์

1. ค
2. ข
3. ค
4. ก
5. ง
6. ข
7. ง
8. ก
9. ข

34

10. ค หนว่ ยที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ สอนคร้ังท่ี 17-24
ช่ือวิชา การผลิตสุกร ช่วั โมงรวม 16
ชื่อหน่วย อาหารและการผสมอาหารสกุ ร

ช่อื เร่อื ง การสรา้ งและคานวณสูตรอาหารสุกร สอนครั้งท่ี 21-22 จานวนชว่ั โมง 4

สาระสาคญั

สูตรอาหารสัตว์ที่ดีจะถูกสร้างตามความต้องการของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์คือ ต้องมี ความ

เหมาะสมกับสัตว์ ในแต่ละอายุการให้ผลผลิต สภาพอากาศและสภาพการจัดการที่แตกต่างกันเพ่ือให้สัตว์มี

ผลผลิตเป็นทถ่ี ูกใจของผู้บริโภค สูตรอาหารสัตวท์ สี่ มดลุ จะทาให้สัตว์เจริญเติบโตและให้ผลผลิตเต็มท่ี ประหยัด

ตน้ ทนุ ในการเล้ยี งสัตว์ ทาให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนสงู สดุ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
จุดประสงคท์ ่ัวไป
1. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในการสรา้ งสตู รอาหารสุกร
2. เพอ่ื ให้คานวณสูตรอาหารสุกรได้
3. เพอ่ื ใหท้ างานรว่ มกบั ผู้อ่ืนด้วยความรอบคอบละเอียดถ่ีถ้วน
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกหลักในการสรา้ งสตู รอาหารสุกรไดต้ ามหลักการและกระบวนการ
2. คานวณสูตรอาหารสุกรได้
3. ทางานร่วมกบั ผู้อื่นดว้ ยความรอบคอบละเอยี ดถี่ถว้ น

สาระการเรียนรู้
1. ความสาคัญในการสร้างสตู รอาหารสตั วท์ ีด่ ี
2. หลกั การสรา้ งสูตรอาหารสตั ว์ทีด่ ี
3. หลักการเลอื กใชว้ ตั ถดุ บิ อาหารสัตว์
4. การคานวณสูตรอาหารสัตว์
5. การคานวณสูตรอาหารสัตว์โดยวธิ สี ่เี หลีย่ มของเปยี ร์สนั
6. การคานวณสตู รอาหารสตั วโ์ ดยวิธพี ชี คณิต
7. การคานวณสตู รอาหารสตั ว์โดยวธิ ีลองผิดลองถูกรว่ มกับวธิ ที ดแทน

35

กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ผู้สอนนาเข้าส่บู ทเรยี นดว้ ยการสนทนาแลว้ ชแี้ จงจดุ ประสงค์ของการเรยี น แจกแบบทดสอบ กอ่ น

เรียนให้ผู้เรียนทา (15 นาท)ี
2. แบง่ ผเู้ รียนออกเป็น 3 กล่มุ ๆละ4-5 คน ตามความสมัครใจ (5 นาท)ี
3. แจกใบความรู้ที่4.3 เร่ืองการสรา้ งและคานวณสูตรอาหารสกุ รใหผ้ ู้เรียนศกึ ษา โดยผู้สอนคอยอธบิ ายอย่าง

ใกล้ชดิ (40 นาที)
4. แจกใบงานที่ 4.2 ให้ผเู้ รียนคานวณสูตรอาหารสุกรดังนี้

กลุม่ ท่ี 1 คานวณโดยวิธสี เ่ี หลย่ี มของเปยี รส์ นั
กลมุ่ ท่ี 2 คานวณโดยวธิ ี พีชคณิต
กลุ่มท่ี 3 คานวณโดยวิธลี องผดิ ลองถกู ร่วมกับวิธีทดแทน
และให้หมุนเวยี นจนทุกกลุ่มไดค้ านวณครบทั้ง 3 วธิ ี แลว้ นาสง่ ผสู้ อน (120 นาท)ี
5. ผูส้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรุปเนอื้ หาวชิ า (50 นาที)
6. แจกแบบทดสอบหลังเรียนให้ผู้เรยี นทา (10 นาที)

รวม 240 นาที

ส่อื การเรียนการสอน
สือ่ ส่งิ พิมพ์
1. ใบความรู้ที่ 4.3
2. ใบงานท่ี 4.2
3. แบบประเมินกิจกรรมกลุม่
4. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน

การประเมนิ ผล
ส่งิ ที่ประเมนิ
1. พฤติกรรมการเรียนรู้
2. ความรูค้ วามเข้าใจในเน้ือหา
3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
วธิ ีประเมนิ
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการแบ่งกลุม่ คานวณสูตรอาหารแลว้ ใหค้ ะแนนลงในแบบประเมนิ กิจกรรมกลมุ่
(5 คะแนน)
2. ตรวจความถูกต้องของการคานวณสูตรอาหาร (10 คะแนน)
3. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น (5 คะแนน)
เคร่อื งมอื ประเมิน

36

1. แบบประเมินกิจกรรมกลมุ่
2. แบบเฉลยการคานวณสตู รอาหาร
3. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น

บนั ทกึ หลังการสอน
หน่วยท่ี 6 เร่ือง อาหารและการผสมอาหารสุกร

สอนครงั้ ท่ี 19-21 จานวน 6 ชัว่ โมง

ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรยี นของผ้เู รยี น

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

37

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชือ่ ....................................ครปู ระจาวิชา

ใบความรูท้ ี่ 6.3

รหัสวิชา 2501-2304 ชื่อวิชา การเลีย้ งสกุ ร สอนครงั้ ท่ี 21-22
หน่วยท่ี 6 ชื่อหน่วย อาหารและการผสมอาหารสกุ ร เวลารวม 16 ชม.
ช่ือเรอ่ื ง การสรา้ งและคานวณสูตรอาหารสุกร เวลา 40 นาที

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. เพื่อให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับการสร้างสูตรอาหารสกุ ร
2. เพื่อใหค้ านวณสตู รอาหารสุกรได้
3. เพอ่ื ใหท้ างานรว่ มกบั ผู้อื่นดว้ ยความรอบคอบละเอียดถ่ีถ้วน

เนื้อหาสาระ
1. การสร้างสตู รอาหารสัตว์

ความสาคญั ของการสร้างสตู รอาหารสัตว์ท่ดี ี สามารถกล่าวไดด้ งั นี้คือ
1. สูตรอาหารสตั ว์ท่สี มดลุ จะทาให้สัตว์เจริญเติบโตและใหผ้ ลผลติ เตม็ ที่
2. ทาให้สตั ว์กินอาหารมคี ุณคา่ ตลอดการเลีย้ ง อาหารมคี วามสม่าเสมอ ตรงตามพฤติกรรมของสัตว์ท่ี
ชอบสมา่ เสมอในการจัดการ

38

3. สตู รอาหารสัตวท์ ่สี ร้างมาอยา่ งดี จะชว่ ยประหยดั ต้นทุนในการเลี้ยงสตั ว์ ทาใหเ้ กษตรกรได้รบั
ผลตอบแทนสงู สุด

4. สูตรอาหารสัตว์ที่ดี จะถูกสร้างตามความต้องการของเกษตรกรท่ีเลี้ยงสัตว์ คือต้องมี ความ
เหมาะสมกับสัตว์ในแต่ละอายุการให้ผลผลิต สภาพอากาศ และสภาพการจัดการท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้สัตว์มี
ผลผลิตทีถ่ ูกใจผบู้ รโิ ภค สาหรับผลผลติ จากสัตวท์ ีข่ นึ้ อยกู่ บั คุณภาพอาหารสัตว์ เช่น ไขมนั นม ไขแ่ ดงสีสวย เนื้อ
มีความนุ่ม และมเี ปอรเ์ ซ็นตค์ ณุ ภาพซากสูง เปน็ ต้น

หลักการสร้างสูตรอาหารสัตว์ท่ีดี ในการสร้างสูตรอาหารสัตว์ท่ีดี ผู้สร้างจะต้องมีความรู้ 4 อย่าง
ดังน้ี

1. ความต้องการโภชนะของสัตว์แต่ละชนิด ในแต่ละช่วงอายุการเจริญเติบโต ซ่ึงได้จากตาราง
มาตรฐานการใหอ้ าหรสตั ว์ (feeding standard)

2. สว่ นประกอบทางโภชนะของวัตถุดบิ อาหารสัตว์ ดจู ากตารางแสดงสว่ นประกอบของอาหารสตั ว์
จากหน่วยงานทีน่ า่ เชื่อถือ หรือวเิ คราะหห์ าสว่ นประกอบของอาหารสัตวเ์ อง

3. ใช้วัตถุดิบหลายชนิด เพื่อประกอบสูตรอาหารให้เหมาะสมกับสัตว์ ในแต่ละช่วงอายุ การ
เจรญิ เติบโต และมคี วามสมดลุ ของโภชนะ ตลอดจนรูจ้ ักขอ้ จากัดในการใชว้ ตั ถดุ ิบดว้ ย

4. รู้จักข้นั ตอนวิธีการคานวณสตู รอาหาร

ตารางมาตรฐานการใหอ้ าหารสัตว์
ตารางมาตรฐานการใหอ้ าหาร คอื ตารางแสดงความต้องการโภชนะต่าง ๆ ของสัตว์แต่ละชนิดเพ่ือให้
ไดผ้ ลผลติ สูงสดุ
ตารางมาตรฐานอาหารสัตว์ จะเผ่ือค่าความต้องการโภชนะไว้ เพื่อความปลอดภัยในการเลี้ยงสัตว์
ดังนน้ั มาตรฐานอาหารสัตว์ จึงเป็นเพียงเคร่ืองแนะแนวทางว่า ควรจะสร้างสูตรอาหารที่มี ความต้องการ
โภชนะเทา่ ไร จึงจะเหมาะสมกับสัตว์
สาหรับบริษัทผลิตอาหารสาเร็จรูปในประเทศไทย จะทางานวิจัยเลี้ยงสัตว์ โดยเปรียบเทียบ ระดับ
ความต้องการโภชนะที่เหมาะสมท่ีสุดในการให้ผลผลิตของสัตว์ เพ่ือสร้างตารางมาตรฐาน ความต้องการ
อาหารสัตว์ของบริษัทของตนไว้ใช้เอง และถือเป็นความลับสุดยอด ไม่ยอมเผยแพร่ให้ใครทราบ เพ่ือปูองกัน
ไมใ่ ห้ค่แู ขง่ ขันทางการค้าล่วงรู้ แล้วนามาผลติ อาหารสาเรจ็ รปู ขายแขง่ กับตน ซึง่ การวิจัยระดับความต้องการ
โภชนะน้นั นับวา่ มคี วามสาคัญในการทาอุตสาหกรรมเล้ียงสัตว์มาก เช่น อุตสาหกรรมการเล้ียงกุ้งที่มีการปรับ
สตู รอาหารตลอดเวลา เพอ่ื ใหส้ ตู รเหมาะสมกับสภาพสิง่ แวดล้อมทเี่ ปลยี่ นแปลงไปตลอดการเลยี้ ง
ตารางมาตรฐานอาหารสัตว์ท่ีมีใช้และเปิดเผย ได้แสดงในภาคผนวกในหนังสือเล่มน้ีแล้ว สามารถ
นามาปรับเพิ่มค่าความต้องการอาหาร ให้เหมาะสมกับการเล้ียงสัตว์ในประเทศไทย การใช้ตารางต้อง
ระมัดระวังด้วย เพราะบางตารางมาตรฐานอาหารสัตว์น้ัน สร้างขึ้นจากการทดลองใช้ เล้ียงสัตว์ในฟาร์ม
วิจัยของประเทศแถบตะวันตก ซ่ึงเป็นสภาพท่ีสัตว์อยู่สบาย และอุณหภูมิก็ต่ากว่าประเทศไทย เมื่อพิจารณา
สภาพการจัดการฟาร์มในประเทศเรา พบว่าสัตว์จะมีความเครียดสูง และอากาศก็ร้อนกว่าประเทศตะวันตก

39

ด้วย สภาพดังกล่าว ถ้าให้สัตว์กินอาหารเท่ากับท่ีระบุไว้ในตาราง การเจริญเติบโตของสัตว์จะน้อยกว่า
มาตรฐาน เพราะสัตว์กินอาหารน้อยลง เพ่ือไม่ให้ร่างกายเกิด ความร้อนเพิ่มข้ึน ดังนั้นต้องเพิ่มระดับความ
เข้มข้นของโภชนะในสูตรอาหาร ให้สูงกว่าตารางมาตรฐาน เพ่ือให้สัตว์เจริญเติบโตเป็นปกติ ถึงสัตว์จะกิน
อาหารนอ้ ยกไ็ ดร้ ับโภชนะครบถว้ น

มาตรฐานอาหารสัตว์ แบง่ เปน็ พวกใหญ่ ๆ ได้ 3 พวกคอื
1. มาตรฐานอาหารสัตว์ท่ถี ือวา่ คา่ พลังงานสุทธิ (Net Energy, NE) เป็นหลกั หน่วยของพลังงานเปน็
เทอม (Therms) เช่น มาตรฐานของ Morrison
2. มาตรฐานอาหารสตั วถ์ ือค่าสมดุลของแปงู (Starch Equivalent, SE) เปน็ หลัก หน่วยของพลงั งาน
เปน็ ค่าร้อยละ เชน่ มาตรฐานของ Kellner
3. มาตรฐานอาหารสัตว์ ท่ีถือว่าโภชนะท่ีย่อยได้ทั้งหมด (Total Digestible Nutrient, TDN)เป็น
หลัก เช่น มาตรฐานอาหารสัตว์ของสภาวิจัยแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (National Research Council, NRC) ซ่ึง
ค่ามาตรฐานของ NRC เป็นที่นิยมใช้เป็นเครื่องแนะแนวทางในการสร้างสูตรอาหารในประเทศไทยมากท่ีสุด

หลักการเลอื กใช้วตั ถดุ บิ อาหารสัตว์
1. หาง่ายในทอ้ งถน่ิ มีตลอดปี และราคาเหมาะสมกบั คุณภาพ
2. รสชาตดิ ี และไม่มสี ารพิษ
3. ควรนามาผสมอาหารได้เลย ไม่ตอ้ งแปรรูปวตั ถดุ ิบอาหารอกี
4. เหมาะสมกบั สัตว์แต่ละชนดิ ในแตล่ ะช่วงอายุ
การคานวณสตู รอาหารสัตว์
การคานวณสูตรอาหารสตั ว์ มีหลายวธิ ี ในระดับพืน้ ฐานน้จี ะขอกลา่ วเพยี งถึง 3 วธิ คี ือ
1. วิธีสเ่ี หลยี่ มของเปียร์สนั
2. วธิ ีพชี คณติ
3. วธิ ีลองผิดลองถูก
หลักการคานวณ
เป็นการคานวณ เพื่อหาจานวนวัตถดุ บิ อาหารสตั วท์ ใ่ี ช้ในสตู รอาหาร และต้องใหโ้ ภชนะครบตามความ
ต้องการของสัตว์ด้วย ถ้าให้โปรตีนครบตามความต้องการของสัตว์แล้ว จะเรียกการคานวณแบบนี้ว่า การหา
สมดลุ ของโปรตีน ในทานองเดียวกนั ถา้ ตอ้ งการอาหารของสตั วเ์ ป็นโภชนะอ่ืน ก็จะเรียกการคานวณน้ันว่าเป็น
การหาสมดุลของโภชนะนั้น ๆ เช่น การหาสมดุลของพลังงาน การหาสมดุลของแคลเซียม เป็นต้น ซึ่งสูตร
อาหารใดทม่ี กี ารหาสมดลุ ของโภชนะหลายชนดิ จะทาใหส้ ูตรอาหารนัน้ มคี วามซับซ้อนยิ่งขึ้นในการคานวณ ซ่ึง
ในระดบั นจ้ี ะกล่าวถึงเพียงการหาสมดุลยข์ องโปรตีนเท่าน้ัน
ในการประกอบสตู รอาหารจะคานวณสตู รละ 100 หนว่ ยน้าหนักเสมอ เป็นหลกั สากลถึงแม้โจทย์ไม่ได้
บอกว่า ต้องการประกอบสูตรอาหารน้าหนักเท่าใดก็ตาม และถ้าโจทย์บอกความต้องการให้ประกอบสูตร

40

อาหาร มีน้าหนักน้อยกว่าหรือมากกว่า 100 หน่วยน้าหนัก ก็ให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์หาจานวนวัตถุดิบ เมื่อ
เสรจ็ สนิ้ การคานวณตามข้ันตอนแลว้

2. การคานวณสตู รอาหารสัตวโ์ ดยวิธีสี่เหลี่ยมเปียร์สัน
หลกั การคานวณ
ข้ันท่ี 1 แบ่งวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็น 2 แหล่งคือ แหล่งโปรตีนและแหล่งพลังงาน หาค่าร้อยละของ

โปรตีนในแตล่ ะแหลง่ แลว้ นาค่าร้อยละของโปรตีน มาเขียนมุมบนและล่างด้านซ้ายมือของส่เี หลี่ยมเปียรส์ ัน
ขั้นท่ี 2 ให้หาค่าร้อยละของโปรตีนท่ีเป็นความต้องการของสัตว์ ค่าที่ได้นามาเขียนไว้ตรงตาแหน่ง

จุดตัดของเส้นทะแยงมุมกลางส่ีเหล่ียม ค่าร้อยละของโปรตีนที่เป็นความต้องการของสัตว์จะเรียกว่า ตัวกลาง
ส่ีเหลยี่ ม ซงึ่ คา่ น้จี ะตอ้ งอยรู่ ะหวา่ งคา่ โปรตีนของแหล่งวตั ถุดิบด้วย

หลกั การขั้นท่ี 1 และ 2 จะเปน็ การเตรยี มข้อมูลก่อนการคานวณ ซึ่งค่าต่าง ๆ ได้จากตารางมาตรฐาน
อาหารสตั ว์ และตารางส่วนประกอบของวตั ถดุ บิ อาหารสตั ว์

ข้ันที่ 3 หาผลต่างตามเส้นทะแยงมุม ให้เอาค่ามากเป็นตัวต้ัง ค่าน้อยเป็นตัวลบ เขียนผลต่างท่ีได้ไว้
มุมบนและล่างด้านขวามือของส่ีเหล่ียมเปียร์สัน ค่านี้คือสัดส่วนของจานวนวัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ีใช้ ถ้ามุมของ
ส่ีเหล่ียมเป็นวัตถดุ บิ ใด คา่ สดั สว่ นของวตั ถุดิบที่ได้กเ็ ปน็ ของวตั ถุดิบชนิดน้ันด้วย

ขั้นท่ี 4 หาผลรวมของสัดส่วนวัตถุดิบอาหารสัตว์ แล้วเขียนผลรวมไว้ที่บรรทัดต่อมาตรงกับ ค่ามุม
ล่างขวาของสเ่ี หลย่ี ม

หลกั การขั้นท่ี 1-4 เรยี กกว่าเปน็ การเข้าส่เี หลีย่ มเปยี ร์สนั
ขน้ั ท่ี 5 เทียบบญั ญตั ิไตรยางศผ์ ลรวมสดั สว่ นของวตั ถุดิบอาหาร ให้เท่ากับจานวนวัตถุดิบ ทุกชนิด
ทเี่ หลอื ในสูตรอาหาร แลว้ เทยี บหาสัดส่วนวตั ถดุ บิ อาหารสัตวท์ ีละอยา่ งจนหมด
ขั้นที่ 6 ตรวจสอบระดับของโปรตีน ท่ีได้จากวัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ีเหลือแต่ละอย่าง แล้วหาผลรวม
ระดับโปรตีนจากวัตถุดิบทุกอย่าง ถ้าค่าระดับโปรตีนที่ได้ตรงกับระดับโปรตีนที่สัตว์ต้องการแสดงว่าการ
คานวณถูกต้อง
ขัน้ ท่ี 7 เขยี นตอบ

7.1 บอกชอื่ สตู รอาหารสัตว์ บอกความต้องการโปรตนี เป็นร้อยละ
7.2 บอกช่อื และจานวนวัตถุดิบอาหารสตั วท์ กุ อยา่ งที่ใช้
7.3 บอกผลรวมจานวนโปรตนี ท่ีได้จากวตั ถดุ ิบทุกอย่างท่ีใชใ้ นสูตร
7.4 บอกผลรวมของวตั ถดุ ิบและโปรตีนทง้ั หมด

3. การคานวณสูตรอาหารโดยวิธีพีชคณติ

41

การคานวณสูตรอาหารโดยวิธีพีชคณิต จะใช้หลักการคล้ายวิธีสี่เหลี่ยมเปียร์สัน แต่แทนที่จะเข้า

ส่ีเหล่ียมเปียร์สันเพ่ือคานวณหาจานวนวัตถุดิบ จะใช้วิธีสร้างสมการโดยกาหนดให้วัตถุดิบแต่ละแหล่งซ่ึงถูก

แบง่ เป็น 2 แหล่งนนั้ ใหเ้ ป็น X และ Y กิโลกรมั สามารถสรา้ งสมการได้ คือ

สมการที่ 1 เป็นสมการจานวนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่ใช้ในสูตร เช่น ต้องการสร้างสูตรอาหาร ไก่ไข่

จะสรา้ งสมการได้ตามเงอื่ นไข 2 อยา่ ง ดงั น้ี

1.1 ถา้ ไมม่ ีวัตถุดิบใดกาหนดให้ใช้คงทีใ่ นสูตรอาหาร

ในสตู รอาหารน้จี ะสมมติ ให้หัวอาหารไก่ไข่ จานวน X กิโลกรมั

และ ให้ปลายข้าว จานวน Y กโิ ลกรัม

สร้างสมการที่ 1 ได้ X+Y = 100

1.2 ถ้ามีการกาหนดให้ใช้วัตถุดิบคงท่ีในสูตรอาหาร เช่น กาหนดให้ใช้ปลายข้าว จานวน 20

กิโลกรัม ปลาปุน 3 กิโลกรัม วิตามิน-แร่ธาตุพรีมิกซ์ 2 กิโลกรัม วัตถุดิบอาหารท่ีเหลือให้ใช้กาก ถ่ัวเหลือง

และข้าวโพด

ในสูตรอาหารนจี้ ะสมมติ ใหห้ ัวอาหารไก่ไข่ จานวน X กโิ ลกรัม

และ ใหป้ ลายขา้ ว จานวน Y กิโลกรมั

วัตถุดิบคงท่ีกาหนดให้ใช้ในสูตร รวม 25 กิโลกรมั

สร้างสมการที่ 1 ได้ X+Y = 100-25 = 75

สมการที่ 2 เป็นสมการจานวนโปรตีนท่ีได้จากวัตถุดิบอาหาร ซ่ึงต้องเท่ากับจานวน ความ
ตอ้ งการโปรตีนของสตั ว์ เชน่ สูตรอาหารไกไ่ ข่ต้องการโปรตีนร้อยละ 16 จะสร้างสมการได้ ดงั นี้

2.1 ถ้าไม่มวี ตั ถุดบิ ใดกาหนดใหใ้ ชค้ งทีใ่ นสตู รอาหาร
สมมตใิ ช้หวั อาหารไกไ่ ขม่ ีโปรตีนรอ้ ยละ 30
และปลายข้าวมโี ปรตีนร้อยละ 7.3
หาโปรตนี ในวัตถดุ ิบอาหารสัตว์
หวั อาหาร 100 กโิ ลกรัม มโี ปรตีน30
ถา้ หวั อาหาร X กโิ ลกรัม มโี ปรตนี 30 x X = 30X
100 100

และโปรตีนในปลายขา้ ว Y กโิ ลกรัม = 7.3Y
100

สร้างสมการที่ 2 ได้ ----> 30X + 7.3Y = 16
100 100

42

2.2 ถ้ามีการกาหนดให้ใช้วัตถดุ ิบคงท่ี เช่น กาหนดให้ใช้ ปลายข้าว (7.3%CP) 20 กิโลกรัม ปลา

ปุน (63%CP) 3 กิโลกรัม วิตามิน-แร่ธาตุพรีมิกซ์ 2 กิโลกรัม สาหรับอาหารที่เหลือให้ใช้กาก ถั่วเหลือง

(44%CP) และขา้ วโพด (8.9%CP)

หาโปรตนี ในวัตถดุ บิ อาหารสัตวท์ กี่ าหนดใหใ้ ชค้ งที่ในสตู ร

- ปลาปนุ มโี ปรตีน 63x3 = 1.89
100

- ปลายขา้ วมโี ปรตนี 7.3x20 = 1.46
100

- รวมโปรตีน = 1.89 + 1.46 = 3.35

สร้างสมการท่ี 2 ได้ 30X + 7.3Y = 16 – 3.35 = 12.65
100 100

4. การคานวณสตู รอาหารโดยวิธีลองผดิ ลองถูกรว่ มกบั วิธีทดแทน

หลกั การในการคานวณสตู รอาหารโดยวธิ ีลองผดิ ลองถูกรว่ มกับวิธที ดแทน เปน็ ดังนี้

1. กาหนดจานวนวัตถุดิบท่จี ะใชใ้ นสูตรอาหาร ให้ศึกษาวิธกี าหนดการใชด้ ังกลา่ วจากรายละเอียดการ

ใชว้ ตั ถดุ บิ อาหารสัตว์ ตอ้ งกาหนดการใช้วตั ถดุ ิบทกุ ชนิด แลว้ รวมจานวนวตั ถุดิบทั้งหมดให้ได้ 100 กโิ ลกรมั

2. ตรวจสอบโปรตีนจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ทุกชนิดท่ีใช้ในสูตร ถ้าโปรตีนรวมมีค่ามากหรือน้อยกว่า

ความต้องการโปรตนี ในสูตรอาหาร ใหใ้ ชว้ ธิ ที ดแทนดงั น้ี

2.1 ถ้าโปรตีนรวมของวตั ถุดิบทกุ ชนิด มากกวา่ ความตอ้ งการ ให้ลดอาหารแหล่งโปรตีน แล้วเพ่ิม

อาหารแหลง่ พลังงาน

2.2 ถ้าโปรตีนรวมของวัตถุดิบทุกชนิด น้อยกว่าความต้องการ ให้เพิ่มอาหารแหล่งโปรตีน แล้ว

ลดอาหารแหล่งพลังงาน

ถ้าใช้วิธีทดแทนแล้ว โปรตีนรวมยังไม่ตรงกับความต้องการของสัตว์อยู่อีก ให้กาหนดการใช้

วตั ถุดบิ อาหารใหม่ เชน่ ถา้ โปรตนี รวมเกินไปจากความต้องการมาก ถึงแม้จะทดแทนแล้วก็ยังเกินอยู่อีก ก็ต้อง

กาหนดการใช้อาหารแหล่งโปรตีนลดลง ในทานองเดียวกันถ้ามีโปรตีนรวมต่ากว่า ความต้องการ

อาหารของสัตว์ กต็ อ้ งกาหนดการใช้วัตถดุ ิบอาหารสัตวแ์ หล่งโปรตนี เพ่ิมขึ้น

3. วธิ ที ดแทน มขี ้นั ตอนวธิ ีทาดังนี้

3.1 ให้หาจานวนโปรตีนใน 1 กิโลกรัม ของวัตถุดิบอาหารที่ต้องการเพ่ิม และท่ีต้องการลด

จานวน

43

3.2 ให้หาผลต่างของจานวนโปรตีนของวัตถุดิบอาหารทั้ง 2 แหล่งต่อ 1 กิโลกรัม แล้วเทียบ
บญั ญตั ิไตรยางศ์ กบั จานวนโปรตนี ท่ีมากหรอื นอ้ ยกว่าความต้องการ ทต่ี รวจสอบตง้ั แต่แรก

4. ตรวจสอบโปรตีนจากวัตถุดิบอาหารที่มีการทดแทนเรียบร้อยแล้ว ถ้ามีจานวนโปรตีนครบตาม
ความตอ้ งการ กแ็ สดงว่าการคานวณสตู รอาหารน้ันถูกต้อง

ตัวอย่างท่ี 1 ให้ประกอบสูตรอาหารสุกรขุนโดยวิธีลองผิดลองถูก ความต้องการโปรตีนร้อยละ 14
วัตถดุ ิบท่ีใช้คอื กากเมล็ดน่นุ มโี ปรตนี รอ้ ยละ 30 และมันเส้นมโี ปรตนี รอ้ ยละ 2

วธิ ีทา กาหนดใชก้ ากเมล็ดนุ่น 40 กโิ ลกรมั ให้โปรตีน 30 x 40 = 12 %
100

มนั เสน้ 60 กโิ ลกรมั ใหโ้ ปรตีน 2 x 60 = 1.2 %
รวมวตั ถุดบิ อาหารสัตว์ที่ใช้ 100 กโิ ลกรมั ให้โปรตนี รวม 12 +110.02 = 13.2 %

โปรตนี จากวัตถดุ บิ ขาดจากความต้องการ = 14 – 13.2 = 0.8 %

ต้องเพิ่มจานวนกากเมล็ดนนุ่ และ ลดมนั เสน้ เขา้ มาทดแทน ดงั น้ี

กากเมล็ดนุ่น 1 กโิ ลกรัม ใหโ้ ปรตนี 30 x 1 = 0.3 %
100

มันเส้น 1 กโิ ลกรมั ให้โปรตีน 1210x0ก1ิโลกร=มั 0.02 %
0.3 – 0.02 0.28 % ถา้ เพ่ิมกากเมลด็ นนุ่ ลดมนั เส้น
จะเพ่ิมโปรตนี =

ใหโ้ ปรตีนเพ่มิ ขึน้ = 0.8% ตอ้ งเพ่มิ กากเมล็ดนนุ่ ลดมันเสน้ = 1 x 0.8 = 2.86 กก.
0.28

ตรวจสอบโปรตนี 30 x 42.86 = 12.86 %
ใชก้ ากเมลด็ น่นุ 40 + 2.86 = 42.86 กก. ให้โปรตนี 100

มันเสน้ 60 – 2.86 = 57.14 กก. ใหโ้ ปรตนี 2 x 57.14 = 1.14 %
100

รวมโปรตนี จากกากเมล็ดนุ่น และ จากมนั เสน้ 12.86 + 1.14 = 14 %

ตอบ

สูตรอาหารสกุ รขุน มีความต้องการโปรตีนรอ้ ยละ 14 ประกอบด้วยวัตถุดิบ

อาหารสตั ว์มีหน่วยเป็นกโิ ลกรมั และให้คา่ โปรตนี มหี น่วยเปน็ ร้อยละ ดังน้ี

รายช่อื วัตถุดิบอาหารสัตว์ จานวน โปรตีน

กากเมลด็ น่นุ 42.86 12.86

มันเสน้ 57.14 1.14

รวม 100.00 14.00

44

ข้อสังเกต การสร้างสูตรอาหาร โดยใช้วิธีคานวณ ทั้ง 3 วิธี คาตอบที่ได้จะเหมือนกัน แต่ท่ีนิยมและ
คานวณไดง้ า่ ย เปน็ การคานวณ โดยใชว้ ิธสี ่ีเหลย่ี มของเปยี ร์สนั

ใบงานท่ี 6.2

รหสั วิชา 2501-2202 ชือ่ วิชา การผลิตสุกร สอนครั้งท่ี 21-22
หนว่ ยที่ 6 ชอื่ หนว่ ย อาหารและการผสมอาหารสุกร เวลารวม 16 ชม.
ชื่องาน การคานวณสูตรอาหารสกุ ร เวลา 120 นาที

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. คานวณสูตรอาหารสุกรได้
2. ทางานรว่ มกับผอู้ นื่ ดว้ ยความรอบคอบ ละเอียดถีถ่ ว้ น

วัสดุอุปกรณ์
1. เครอื่ งคานวณอย่างน้อยกลุ่มละ 1 เครอ่ื ง

ลาดบั ขัน้ การปฏบิ ตั ิงาน
1. ให้ผเู้ รียนแบง่ กลุม่ เปน็ 3 กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน
2. ผ้เู รียนแบ่งหนา้ ท่ีการทางานภายในกลุ่ม
3. ผ้เู รียนศึกษาใบความรู้ที่ 4.3 เรอ่ื ง การสร้างและคานวณสตู รอาหารสกุ ร

45

4. ผู้เรียนคานวณสูตรอาหารสุกร ดังนี้
กลุ่มท่ี 1 คานวณโดยวธิ ีส่ีเหล่ยี มของเปยี รส์ ัน
กลุ่มท่ี 2 คานวณโดยใช้วธิ พี ีชคณติ
กลุ่มท่ี 3 คานวณโดยวธิ ีลองผิดลองถูกรว่ มกบั วธิ ีทดแทน

แลว้ ใหห้ มุนเวยี นจนทกุ กลุ่มคานวณครบทงั้ 3 วิธี แลว้ นาส่งครูผู้สอน

การประเมินผล
1. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
2. ตรวจความถกู ตอ้ งของการคานวณสูตรอาหารสุกร

โจทย์ การคานวณสตู รอาหารสกุ ร

คาส่งั

ให้คานวณสูตรหัวอาหารสุกรขนุ โดยใช้วิธสี เ่ี หลีย่ มเปยี ร์สัน พชี คณติ และลองผดิ ลองถูกรว่ มกับวธิ ี

ทดแทน ความต้องการโปรตนี 40% ใหเ้ ลือกใช้วัตถุดบิ ดังนี้

ปลาปุน โปรตีน 63%

กากถัว่ เหลือง โปรตีน 44%

ปลายขา้ ว โปรตีน 13%

กากเมลด็ ปาล์มนา้ มนั โปรตีน 30%

ราละเอียด โปรตนี 13%

ใบกระถนิ ปนุ โปรตนี 24%

วิตามิน-แร่ธาตุ พรมี กิ ซ์ จานวน 2 กโิ ลกรมั

46

แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม
เรือ่ ง การคานวณสตู รอาหารสกุ ร
กลุม่ ที่…………………………………..

ระดบั คณุ ภาพ

รายการประเมิน ดมี าก ดี ควรปรับปรุง

1. การวางแผนการทางานในกล่มุ (3) (2) (1)
2. วิธีการคานวณสูตรอาหารสุกร
3. ผลการคานวณสตู รอาหาร
4. การสรปุ ผลการทางานของกลมุ่
5. ทางานด้วยความรอบคอบ ละเอียดถ่ีถ้วน

ลงชือ่ ........................................
(………………………..)
ผูป้ ระเมนิ ใหค้ ะแนน

คาชี้แจง
ให้ผูส้ อนพิจารณาคุณภาพพฤตกิ รรมของผ้เู รียนแสดงออก แลว้ เขยี นคะแนนลงในช่องระดบั คุณภาพ
ระดบั 3 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ดีมาก
ระดบั 2 หมายถึง พฤติกรรมแสดงออก ดี
ระดบั 1 หมายถึง พฤติกรรมแสดงออก ควรปรบั ปรงุ

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
วชิ า การผลติ สกุ ร รหสั วิชา 2501-2202
หน่วยที่ 4 เร่อื ง การสรา้ งและคานวณสูตรอาหารสกุ ร

1. ข้อใดไมใ่ ช่สตู รอาหารสตั วท์ ดี่ ี ข. สตั ว์เจริญเติบโต ให้ผลผลติ เต็มที่
ก. ประหยดั ต้นทนุ ในการเล้ียงสัตว์ ง. สัตว์ไดก้ นิ อาหารที่มีคณุ ค่าตลอดการเลย้ี ง
ค. ราคาถกู

47

2. ข้อใดไม่ใช่หลักในการเลือกใช้วัตถดุ บิ อาหารสตั ว์

ก. หาง่ายในทอ้ งถ่ิน ข. คุณภาพดี ราคาสูง ค. รสชาตดิ ี ไมม่ สี ารพษิ ง. มตี ลอดปี

3. ข้อใดเป็นแหล่งอาหารโปรตีน

ก. กากเมลด็ นนุ่ ข. ขา้ วฟาุ ง ค. มนั เสน้ ง. ราละเอียด

4. ขอ้ ใดเปน็ แหลง่ อาหารพลังงาน

ก. กากเมล็ดนุน่ ข. กากถ่ัวเหลือง ค. ปลาปุน ง. ปลายข้าว

5. การคานวณสูตรอาหาร ควรหาสมดลุ ของโภชนะใดเปน็ เบือ้ งต้น

ก. พลงั งาน ข. โปรตนี ค. แคลเซยี ม ง. ไขมัน

6. การคานวณสตู รอาหารโดยวธิ สี ่ีเหลี่ยมเปยี รส์ ัน จะแบง่ วตั ถุดิบอาหารสัตว์เปน็ 2 แหล่งใหญค่ ือ

ก. แหล่งโปรตีนและแคลเซยี ม ข. แหล่งโปรตีนและไขมัน

ค. แหลง่ โปรตนี และพลงั งาน ง. แหล่งพลังงานและไขมัน

7. ข้อใดคือวตั ถุดิบคงทใ่ี นสูตรอาหาร

ก. วิตามนิ ข. ปลายข้าว ค. กากถั่วเหลอื ง ง. ข้าวโพด

8. การคานวณสูตรอาหารวิธีใดที่นิยมมากที่สดุ

ก. พชี คณติ ข. ลองผิดลองถูก ค. ทดแทน ง. สีเ่ หลี่ยมเปยี รส์ ัน

9. ข้อใดเปน็ แหลง่ แคลเซียมและฟอสฟอรัส

ก. หนิ ปนู ข. เปลอื กหอย ค. ไคแคลเซยี มฟอสเฟต ง. หินฟอสเฟต

10. วัตถุดบิ อาหารสตั ว์ข้อใด รสชาติดี ไมม่ ีสารพษิ

ก. กากถ่ัวลิสง ข. กากเมลด็ ฝูาย ค. กากเมลด็ นุ่น ง. กากเมลด็ งา

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
วิชา การผลติ สุกร รหสั วิชา 2501-2202

48

หน่วยที่ 4 เร่ือง การสรา้ งและคานวณสตู รอาหารสุกร

1. ค
2. ข
3. ก
4. ง
5. ข
6. ค
7. ก
8. ง
9. ค
10. ง

49

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6
ช่ือวิชา การผลติ สุกร สอนครั้งที่ 17-24
ชอ่ื หน่วย อาหารและการผสมอาหารสุกร ชวั่ โมงรวม 16

ชื่อเรื่อง การผสมอาหารสุกร สอนครง้ั ท่ี 23-24 จานวนชวั่ โมง 4

สาระสาคัญ
การผสมอาหารสุกรเป็นอีกข้ันตอนหน่ึงที่มีความสาคัญเป็นอย่างสูงในการเล้ียงสุกรแบ่งเป็นการผสม

อาหารด้วยมือและการผสมอาหารด้วยเครื่องผสม ซึ่งผู้เล้ียงสัตว์ท่ีใช้อาหารผลิตเองจะมี ผลกาไรตอบ
แทนสูงกวา่ ทีซ่ อ้ื อาหารสาเร็จรูปมาเลยี้ ง

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
จุดประสงค์ท่ัวไป
1. เพอ่ื ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผสมอาหารสกุ ร
2. เพอ่ื ใหผ้ สมอาหารสุกรได้
3. เพอ่ื ใหท้ างานรว่ มกับผอู้ ืน่ ด้วยความรบั ผดิ ชอบและอดกลั้น
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. บอกประเภทของการผสมอาหารได้
2. ผสมอาหารสุกรได้
3. ทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ด้วยความรบั ผิดชอบและอดกลั้น

สาระการเรียนรู้
1. ความสาคญั ของอุตสาหกรรมอาหารสตั ว์
2. อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการผลติ อาหารสตั ว์
3. การบดวัตถุดิบอาหารสตั ว์
4. การผสมอาหารสุกร
5. การอดั เม็ด
6. รูปรา่ งลกั ษณะของอาหารสตั ว์
7. การบรรจุหลงั การผสมอาหารสตั ว์


Click to View FlipBook Version