The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วิร้ตน์ ปุ่นอุดม, 2019-06-04 03:00:13

unit1

unit1

100

1. ก
2. ง
3. ข
4. ค
5. ง
6. ค
7. ค
8. ข
9. ค
10. ง

101

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 7
ช่อื วิชา การผลติ สกุ ร สอนครั้งท่ี 25-36
ช่อื หน่วย การจดั การสุกรระยะตา่ งๆ ชั่วโมงรวม 24

ชอื่ เร่อื ง การจัดการลูกสกุ รหลังคลอด (1) สอนครง้ั ที่ 28-30 จานวนชวั่ โมง 6

สาระสาคญั
การดูแลแม่สุกรขณะคลอดและหลังคลอดถือว่าเป็นจุดบ่งชี้ถึงความสาเร็จของการเล้ีย งสุกรสภาพใน

คอกคลอดของแม่สุกรต้องสะอาด และอยู่อย่างสบายการจัดการลูกสุกรหลังคลอดย่ิงมีความสาคัญต่อการ
ดาเนนิ กจิ การของฟาร์มเปน็ อยา่ งมาก ลกู สุกรแรกเกิดจะมีภูมิปูองกันโรคต่าและต้องการเวลาในการปรับตัวให้
เข้ากับสภาพคอกคลอดอย่างน้อย 48 ชั่วโมงหลังคลอด การผายปอดเป็นการช่วยชีวิตลูกสุกรข้ันต้น การตัด
สายสะดือเปน็ การปูองกันเช้ือโรคจากคอกคลอดไม่ให้เข้าสู่ตัวลูกได้ การตัดเขี้ยวเพ่ือปูองกันการกัดเต้านมแม่
สุกร การตัดหางเพ่ือปูองกันการกัดหางกันเองเมื่อนาไปเลี้ยงในเล้าขุนส่วนการชั่งน้าหนักแรกคลอดก็เพ่ือดู
น้าหนักรวมของลูกสุกรครอกนั้นๆซึ่งจะแปรผลไปถึง ความสมบูรณ์ของแม่สุกรขณะต้ังท้องซ่ึงผู้เลี้ยงจะได้
หาทางปอู งกันแกไ้ ขได้ทนั ท่วงที

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพอ่ื ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการจัดการลูกสุกรหลังคลอด
2. เพ่อื ให้จัดการลกู สุกรหลังคลอดได้
3. เพื่อใหท้ างานรว่ มกับผ้อู ่ืนด้วยความรบั ผิดชอบ รอบคอบและปลอดภยั
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. บอกประโยชน์ของการจดั การลกู สุกรหลงั คลอดได้
2. จดั การลกู สุกรหลังคลอดโดยการผายปอด การตดั สายสะดือ การตัดเขี้ยว การตดั หางและการช่ัง
นา้ หนักลูกสกุ รแรกคลอดไดต้ ามหลักการและกระบวนการ
3. ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ด้วยความรบั ผิดชอบ รอบคอบและปลอดภัย

สาระการเรยี นรู้
1. การจัดการลกู สกุ รหลงั คลอด
การผายปอด
การตดั สายสะดือ

102

การตดั เขี้ยว
การตัดหาง
การช่งั นา้ หนักลูกสุกรแรกคลอด
2. การดูแลลูกสกุ รหลังคลอด
ใหด้ ่มื นมน้าเหลือง
การกกลูกสุกรท่ีอณุ หภมู ิ 35 องศาเซลเซียส
การย้ายฝากลกู สุกร

กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ผสู้ อนนาเข้าสบู่ ทเรียนด้วยการนาเสนอรปู ภาพแม่สกุ รขณะคลอดลูก ลกู สุกรแรกคลอดและรปู แบบคอก

คลอดแบบต่าง ๆ แล้วแจกแบบทดสอบก่อนเรยี นให้ผู้เรียนทา (20 นาที)
2. แบง่ กลมุ่ ผเู้ รียนออกเปน็ 5 กลมุ่ ๆ ละ 3-5 คนตามสมัครใจ พร้อมแจกใบความรู้ที่ 5.2 เรอื่ ง การ

จดั การลูกสุกรหลงั คลอด (1) คอื การผายปอด การตัดสายสะดอื การตดั เขยี้ ว การตัดหาง และการชัง่
น้าหนักลูกสกุ รแรกคลอดตามลาดับ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศึกษา และผ้สู อนอธบิ ายเน้ือหาวชิ าใหผ้ ู้เรียนเข้าใจ
(100 นาที)
3. ผสู้ อนเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์สาธติ การปฏิบัตจิ ัดการลูกสุกรหลงั คลอด (10 นาที)
4. ผสู้ อนแจกใบงานท่ี 5.3 ให้ผู้เรยี นรว่ มกันศกึ ษาให้เข้าใจข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ านตามใบงาน (50 นาที)
5. ผสู้ อนสาธิตปฏิบัติการจัดการลูกสกุ รหลังตลอดคือ การผายปอด การตัดสายสะดือ การตัดเขยี้ ว การตัด
หาง และการชั่งน้าหนักลูกสกุ รแรกคลอด ตามลาดับ (60 นาท)ี
6. ผู้สอนตรวจการแตง่ กายของผู้เรยี นให้รดั กมุ เพื่อเตรียมความพรอ้ มในการปฏิบตั งิ าน (10 นาที)
7. ให้กลมุ่ ผเู้ รยี นเตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์และปฏบิ ตั ิการลูกสกุ รหลงั คลอดคือการผายปอด การตัดสายสะดือ การ
ตัดเขีย้ ว การตัดหางและการชั่งน้าหนกั ลกู สุกรแรกคลอดหมุนเวียนกันจนครบทกุ กิจกรรมโดยมีผู้สอนคอย
แนะนาการปฏบิ ัติงานอย่างใกลช้ ดิ พร้อมกบั สงั เกตพฤติกรรมกลุ่มระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน (60 นาท)ี
8. ผู้เรยี นรายงานกลุ่มถึงผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม (20 นาที)
9. ผ้สู อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรูท้ ่ีได้และปญั หาที่เกิดข้ึนในการปฏิบัติงาน (25นาที)
10. แจกแบบทดสอบหลงั เรยี นให้ผ้เู รียนทา (5นาท)ี

รวม 360 นาที

สอ่ื การเรยี นการสอน
ส่ือสิง่ พมิ พ์
1. ใบความรู้ท่ี5.2
2. ใบงานที่ 5.3
3. แบบประเมินกิจกรรมกล่มุ

103

4. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน
สอ่ื โสตทัศน์
1. เครือ่ งคอมพิวเตอร์
2. โปรเจคเตอร์ LCD.
สือ่ ของจรงิ
1. อปุ กรณ์ในการปฏิบัติงานได้แก่ ผ้าสะอาด/กรรไกร/ด้ายมัดสายสะดอื /คีมตดั เขี้ยว/สาล/ี นา้ ยาฆา่

เชือ้ โรค(เดทตอล)/คีมตัดหาง/ทงิ เจอร์ไอโอดนี /แอลกอฮอล/์ ตราช่ังขนาด 15 กิโลกรัม
2. ลูกสกุ รแรกคลอดประมาณ 20-30 ตวั ในฟาร์มสุกรวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี

การประเมนิ ผล
ส่ิงทป่ี ระเมิน
1. พฤติกรรมการเรียนรู้
2. ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
วิธีประเมิน
1. สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นตลอดการปฏบิ ตั งิ านให้คะแนนลงในแบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม (10
คะแนน)
2. จากรายงานผลการปฏิบตั งิ านกลุ่ม (5 คะแนน)
3. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น (5 คะแนน)
เครือ่ งมือประเมนิ
1. แบบประเมนิ กิจกรรมกลมุ่
2. รายงานผลการปฏิบตั งิ านกลุ่ม
3. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น

104

บันทกึ หลังการสอน
หนว่ ยที่ 7 เร่ือง การจดั การลกู สุกรหลังคลอด (1)

สอนคร้งั ที่ 28-30 จานวน 6 ชวั่ โมง
ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรยี นของผู้เรยี น

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

105

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงช่อื ....................................ครปู ระจาวชิ า

ใบความรู้ท่ี 7.2 สอนครงั้ ท่ี 28-30
เวลารวม 24 ชม.
รหัสวชิ า 2501-2202 ช่อื วิชา การผลิตสกุ ร เวลา 100 นาที
หน่วยท่ี 7 ชอ่ื หนว่ ย การจดั การสกุ รระยะตา่ ง ๆ
ช่อื เร่ือง การจัดการลกู สุกรหลังคลอด (1)

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. เพือ่ ให้มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั การจดั การลูกสกุ รหลงั คลอด
2. เพ่อื ให้จดั การลูกสุกรหลงั คลอดได้
3. เพ่ือใหท้ างานร่วมกับผู้อน่ื ด้วยความรบั ผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภยั

106

เน้อื หาสาระ
1. การอุม้ ท้อง

แมส่ กุ รจะอมุ้ ทอ้ งนาน 114 วนั โดยเฉล่ยี ภายหลังท่ีแม่สุกรได้รับการผสมพันธุ์แล้ว ภายในระยะเวลา
ประมาณ 21 วัน หลังผสม ถ้าแม่สุกรไม่แสดงอาการเป็นสัดข้ึนอีกก็แสดงว่าผสมติดแล้ว แต่ถ้าแม่สุกรแสดง
อาการเป็นสดั อกี ครงั้ แสดงว่าผสมไมต่ ดิ ตอ้ งผสมใหม่อีก หรอื อาจคดั ท้งิ กไ็ ด้

การจดั การแมส่ กุ รหลังผสมพันธุ์
1. ควรแยกแม่สุกรไปเลย้ี งในคอก หรอื ซองเด่ียว
2. พยายามหลกั เลย่ี งการยา้ ยแม่สุกรทอ่ี ยูใ่ นระยะอุ้มท้อง
3. ไมค่ วรทาวคั ซีนใหก้ ับแม่สกุ รระยะอมุ้ ท้อง ยกเว้นวัคซีนบางชนิดท่ีจาเป็นเพ่ือใหแ้ มส่ ุกร
สร้างภมู ติ า้ นทานสง่ ใหแ้ ก่ลกู ด้วย เชน่ วัคซนี ปอู งกนั โรคพิษสนุ ัขบา้ เทยี ม จะฉดี ใหก้ ับแมส่ ุกรก่อนครบกาหนด
คลอด 4 สัปดาห์
4. จดั สภาพแวดลอ้ มให้แมส่ ุกรอุ้มท้องได้อยูอ่ ยา่ งสบาย เช่น มกี ารใหน้ า้ หยดเพอ่ื ลดอุณหภมู ิ
ไม่ให้ร้อนเกนิ ไป
5. ตรวจสขุ ภาพแม่สกุ รทุกวนั ถ้าพบมีอาการปวุ ยให้รบี รักษาพยาบาล

2. การดูแลแม่สุกรอุ้มท้อง

1. ช่วงอุ้มท้องระยะแรก (84 วันแรก) ให้อาหารสูตรอุ้มท้องซึ่งมีโปรตีนในสูตรอาหาร 14-15% (ใน
สุกรสายพันธุเ์ ดนมาร์คอาจให้สูงกว่าน้ี )และให้แบบจากดั ปรมิ าณ โดยจะให้ประมาณ 1.8-2.0 กโิ ลกรมั /ตวั /วนั

2. ช่วงอุ้มท้องระยะหลัง (ต้ังแต่อุ้มท้อง 84 วัน จนถึงคลอด) ในระยะน้ีลูกสุกรภายในท้องจะ
เจรญิ เตบิ โตเร็วมาก สงั เกตจากท้องของแมส่ กุ รจะขยายใหญ่ขึน้ มองเห็นได้ชัดเจน ในระยะนี้ต้องเพิ่มอาหารแก่
แมส่ ุกรเปน็ 2.5-3 กิโลกรัม/ตวั /วัน และควรมีอาหารหยาบเพ่ิมเตมิ เพอื่ ไม่ให้แมส่ ุกรมีอาการท้องผูก

3. การจดั การแมส่ กุ รก่อนคลอด

1. ทาความสะอาดคอกคลอด และอปุ กรณ์ทาคลอด
2. กอ่ นครบกาหนดคลอด 10-14 วันควรถ่ายพยาธใิ หแ้ ม่สกุ ร กาจดั พยาธิภายนอก
3. กอ่ นครบกาหนดคลอด 7 วนั อาบน้าทาความสะอาด
4. กอ่ นครบกาหนดคลอด 5 วนั ยา้ ยเขา้ คอกคลอด
4. การดแู ลสุขภาพแมส่ กุ รหลังคลอด
เมื่อมีสุกรคลอดลูกเสร็จแล้ว แม่สุกรมักมีอาการอ่อนเพลีย กระหายน้า ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ จะมี
อาการบอบช้ามาก จึงเกิดอาการเครียดสูง ภูมิต้นทานต่า ทาให้มีโอกาสติดเชื้อ หรือเป็นไข้ได้ง่าย ดังนั้น จึง
ต้องได้รับการเอาใจใส่มากเป็นพิเศษ เพราะถ้าแม่สุกรมีสุขภาพไม่ดีจะทาให้ความสามารถในการเลี้ยงลูกต่า
เป็นผลให้ผลผลติ ของฟารม์ ลดลง ปญั หาดา้ นสขุ ภาพที่พบมากหลงั คลอด ได้แก่ อาการไข้สูง ไม่กินอาหาร หรือ
กนิ นอ้ ย เต้านมอกั เสบ มดลกู อักเสบ ไมม่ ีนา้ นม รกค้าง อาการทอ้ งผกู

107

5. การเล้ยี งดูแมส่ กุ รหลังคลอด
การเลี้ยงดูแม่สุกรหลังคลอดเป็นจุดบ่งช้ีถึงความสาเร็จของการเล้ียงสุกร ถ้าการดูแลดีจะมีผลต่อการ

เจริญเติบโต และอัตราการรอดชีวิตของลูกสุกร และมีผลต่อการเป็นสัดหลังการหย่านมของแม่สุกร ดังนั้นใน
การดูแลจึงเน้นไปท่ีอาหารของแม่สุกร ต้องมีคุณภาพดี มีโปรตีนในสูตรอาหาร 16 % มีระดับแคลเซียมและ
ฟอสฟอรัสเพียงพอต่อความต้องการที่จะนาไปสร้างเป็นน้านม และเพียงพอต่อการคงสภาพของแม่สุกร ซ่ึง
ความต้องการอาหารของแม่สุกรข้ึนอยกู่ บั

1. อายุ และสขุ ภาพของแม่สุกร
2. จานวนลูกสุกร
3. ความสามารถเฉพาะตวั ในการกนิ อาหารของแมส่ ุกร
สภาพภายในคอกคลอดของสุกรต้องสะอาด และสบาย ในบางครั้งต้องใช้น้าช่วยระบาย ความร้อน
ให้แก่แม่สุกร เพ่ือกระตุ้นให้แม่สุกรกินอาหารมากข้ึน ถ้าพบว่าแม่สุกรมีอาการผิดปกติ ต้องทาการช่วยเหลือ
ทนั ที มฉิ ะน้ันอาจก่อให้เกดิ ความเสยี หายอย่างรนุ แรงต่อฟาร์มได้
6. การจดั การลูกสกุ รหลังคลอด
การจัดการลูกสุกรหลังคลอดเป็นจดุ สาคัญอีกจุดหนึ่งเนื่องจากลูกสุกรจะมีภูมิคุ้มกันต่า ต้องปรับตัวให้
เข้ากบั สภาพแวดล้อมใหม่ จึงควรพจิ ารณาถึงเรอ่ื งตอ่ ไปนี้คือ
6.1 การใหล้ ูกสกุ รไดก้ นิ นมแม่ น้านมจากแมส่ ุกรในระยะแรก ๆ คลอด เรียกวา่ นมนา้ เหลือง
มภี ูมิคุม้ กันโรคสงู และมีคุณค่าทางอาหารสูง เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของลูกสกุ ร
6.2 การกกลูกสุกร ลูกสกุ รแรกคลอดตอ้ งการอุณหภมู ิสูงถึง 35 องศาเซลเซียส และในชว่ ง
สัปดาหแ์ รกหลงั คลอด ลูกสุกรตอ้ งการอุณหภมู ิ 27-30 องศาเซลเซยี ส ดงั นนั้ จงึ ควรมีอุปกรณ์สาหรบั กกลกู
สุกรไวด้ ว้ ย
6.3 ทาการย้ายฝากลูกสกุ ร ในกรณที ่ีแมส่ ุกรใหล้ กู จานวนมากเกนิ กวา่ จานวนเต้านมทม่ี ีอยู่
หรือในกรณแี มส่ กุ รเกดิ ตายข้ึน
6.4 การให้ธาตเุ หลก็ ลูกสุกรแรกเกดิ จะมธี าตุเหล็กสะสมในรา่ งกายน้อย และในสปั ดาหแ์ รก
ลูกสุกรจะมีอตั ราการเจริญเติบโตเรว็ มาก จงึ อาจทาให้เกดิ อาการขาดธาตเุ หลก็ ในลูกสุกรได้
6.5 การทาเคร่ืองหมายประจาตวั ลกู สุกร เพ่ือสะดวกในการจัดทาพันธุป์ ระวัติ ทาไดห้ ลายวธิ ี
เช่น การสักเบอรท์ หี่ ลู ูกสกุ ร การติดเบอรห์ ู และการตัดเบอร์หู
6.6 นมเป็นองค์ประกอบอยู่ดว้ ย โดยมีโปรตนี สงู 20-22 % ซงึ่ การใหอ้ าหารเสรมิ นี้จะทาให้
ลกู สกุ รโตเร็วข้ึน และช่วยปอู งกันไม่ใหแ้ มส่ ุกรมีร่างกายทรดุ โทรมมาก
6.7 การตอนลูกสุกร ลกู สุกรที่เป็นเพศผทู้ ่ีจะเลีย้ งเป็นสุกรขนุ จะตอ้ งทาการตอนเสียก่อน
การตอนนิยมทาขณะทลี่ กู สกุ รมีอายุตั้งแต่ 1-2 สัปดาห์ เพราะจะสะดวกในการจบั บังคบั และแผลหายเร็ว
6.8 การหยา่ นม นิยมปฏิบัตเิ มอ่ื ลูกสกุ รอายุได้ 4-5 สปั ดาห์ การหย่านมเรว็ จะชว่ ยใหแ้ มส่ ุกร
ฟืน้ ตัว และสามารถอุ้มท้องใหม่ไดเ้ ร็วข้นึ ไม่ควรหย่านมลูกสกุ รทมี่ ีนา้ หนกั น้อยกวา่ 5 กิโลกรัม

108

7. การผายปอด
เม่อื ลูกสุกรคลอดออกมาต้องรบี ทาการผายปอดและเชด็ เมอื กออกจากตวั ลกู สุกร ดังน้ี :-
- ใช้ผา้ สะอาดเช็ดลาตวั ลกู สกุ ร โดยเฉพาะช่วงอก โดยเชด็ แรง ๆ ไปมา
- ล้างเมือกออกจากปากและจมูกลูกสุกร
- ใช้มือกระแทกแรง ๆ บรเิ วณหนา้ อกลกู สุกร พยายามให้ลกู สุกรร้องให้ได้ ซง่ึ จะช่วยให้

ปอดลูกสกุ รทางานเร็วข้ึน
- ปลอ่ ยลูกสกุ ร

8. การตัดสายสะดอื
สายสะดือจะมีรูเปิดเขา้ ชอ่ งท้องของลกู สุกร เปน็ ทางผา่ นของเช้ือโรคจากคอกคลอดที่จะเข้าไปใน

ร่างกายลูกสุกร ในกรณีทค่ี อกคลอดสกปรก มีวิธกี ารปฏบิ ัติ ดงั นี้ :-
- เตรยี มอุปกรณ์ กรรไกรตดั สายสะดือ , นา้ ยาฆา่ เชื้อ , ทงิ เจอร์ไอโอดนี , สาลี , ดา้ ยมดั สาย

สะดือให้พรอ้ ม
- ใช้สาลีชุบทงิ เจอร์ไอโอดีนเช็ดบรเิ วณสายสะดอื ใหห้ ่างลงมากจากพื้นท้องประมาณ 1 นวิ้
- ใช้เชอื กมดั สายสะดอื ใหแ้ น่น
- ใชก้ รรไกรตดั เชอื กและสายสะดอื สว่ นทีเ่ หลือทิ้งไป
- ใช้สาลีชบุ ทงิ เจอรไ์ อโอดีนทาบริเวณทต่ี ดั
- ปลอ่ ยลูกสุกร

9. การตดั เขย้ี ว
เขี้ยวหรือฟันของลูกสุกรแรกเกิดมีท้ังหมด 8 ซ่ี (บน 4 ซ่ี ล่าง 4 ซ่ี) ถ้าหากสุกรดูดนมแม่อาจกัดนม

เปน็ แผลทาให้นมแมส่ ุกรอกั เสบน้านมไม่ไหลได้ มีวิธีการปฏบิ ัตดิ ังน้ี :-
- เตรียมอปุ กรณ์ คอื คมี ตดั เขยี้ วลกู สุกร
- จับลูกสกุ รอา้ ปาก ใชค้ ีมตัดเขี้ยว ตดั เขีย้ วลกู สุกรออกท้ัง 8 ซใ่ี หเ้ สมอกนั เชค็ ได้โดยใช้นว้ิ

มือลูบดูจะไม่มีส่วนแหลมคมตาน้ิว การตัดเข้ียวต้องระวังไม่ให้เข้ียวแตก โดยย่ืนคีมตัดเขี้ยวเข้าทางด้านหน้า
ของชอ่ งปากลูกสุกร ไมใ่ ชด่ า้ นข้าง จะปอู งกันไม่ใหเ้ ขีย้ วแตกได้

- ปลอ่ ยลกู สกุ ร

10. การตดั หางและชั่งน้าหนกั ลกู สกุ รแรกเกดิ
หางเป็นส่วนท่ียืนออกมาจากลาตัวส่วนท้าย เม่ือสุกรถูกเล้ียงรวมกันมาก ๆ จะเกิดการกัดหางกันขึ้น

ทาใหส้ กุ รตัวถกู กัดอาจเปน็ อันตรายถงึ ตายได้ มีวิธกี ารปฏิบัติ ดงั นี้ :-
- เตรยี มอุปกรณ์ คือ คีมตดั หาง , สาลี , ทงิ เจอร์ไอโอดนี ให้พร้อม
- ใชส้ าลีชุบทิงเจอรไ์ อโอดนี ทาบรเิ วณ ½ ของหางลกู สุกร

109

- ใชค้ มี ตัดหางตัดบริเวณท่ที าทิงเจอรไ์ อโอดีนไว้ เสร็จแล้วทาทับด้วยทงิ เจอร์ไอโอดีนอีก
- นาลกู สุกรไปชัง่ น้าหนักแรกเกิด จดบนั ทกึ เพศ , นา้ หนกั แรกเกิด , วัน เดอื น ปที ี่เกิด เบอร์
แมส่ กุ ร , เบอร์พ่อสุกร , น้าหนกั แรกเกดิ เฉลีย่ ทั้งครอก เป็นต้น
- ปลอ่ ยลกู สกุ ร
-

ใบงานท่ี 7.3

รหสั วชิ า 2501-2202 ชอื่ วิชา การผลิตสกุ ร สอนครง้ั ที่ 25-36
หน่วยท่ี 7 ช่ือหนว่ ย การจัดการสุกรระยะต่าง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ชื่องาน การจัดการลูกสุกรหลังคลอด (1) เวลา 60 นาที

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. จดั การลกู สกุ รหลังคลอด โดยการผายปอด การตัดสายสะดอื การตัดเข้ียว การตัดหาง และ

การชง่ั น้าหนักลกู สกุ รแรกคลอดได้ตามต้องการและกระบวนการ
2. ทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนดว้ ยความรับผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภยั

วสั ดุอุปกรณ์
1. อุปกรณ์ในการปฏบิ ัติงาน ไดแ้ ก่ ผ้าสะอาด, กรรไกร, ด้ายมัดสายสะดือ, คีมตัดเขีย้ ว, สาล,ี

นา้ ยาฆ่าเช้อื โรค (เดทตอล), คมี ตัดหาง, ทงิ เจอร์ไอโอดีน, แอลกอฮอล์, ตราชั่งขนาด 15 กโิ ลกรัม
2. ลูกสุกรแรกคลอด ประมาณ 20-30 ตวั ในฟารม์ สุกรวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี

ลาดับขนั้ การปฏบิ ตั ิงาน
1. แบ่งกลุม่ ผเู้ รียนออกเปน็ 5 กลุ่ม ตามสมัครใจ
2. ทุกกลุ่มเตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ตามใบงานที่ 5.3
3. ทกุ กลมุ่ ปฏิบตั ิการจดั การลูกสกุ รหลังคลอดคือ

กลมุ่ ที่ 1 การผายปอด
กลุ่มที่ 2 การตัดสายสะดือ
กลมุ่ ที่ 3 การตดั เขี้ยว
กลุ่มที่ 4 การตัดหาง
กลุ่มที่ 5 การชัง่ นา้ หนักลกู สุกรแรกคลอด
ปฏิบตั หิ มุนเวียนกนั จนครบทุกกลุ่มทุกกิจกรรม
กลมุ่ ที่ 1 การผายปอด
1. ใช้ผ้าสะอาดเชด็ ลาตวั ลกู สกุ ร โดยเฉพาะช่วงอกใหเ้ ช็ดแรง ๆ ไปมา

110

2. เชด็ เมอื กออกจากปากและจมูกลกู สุกร
3. ใช้มอื กระแทกแรง ๆ บริเวณหน้าอกลกู สุกร พยายามให้ลกู สกุ รรอ้ ง เพ่ือจะชว่ ยให้ปอดลูกสกุ ร

ทางานเรว็ ขึน้
4. ปล่อยลูกสกุ ร

กลุ่มท่ี 2 การตดั สายสะดือ
สายสะดือจะมีรูเปิดเขา้ ชอ่ งท้องของลูกสุกร เปน็ ทางผ่านของเชือ้ โรค จากคอกคลอดท่จี ะเข้าไปใน

ร่างกายลูกสกุ ร มีวธิ ีการปฏิบัติดงั นี้
1. เตรยี มอปุ กรณ์ คือ กรรไกรตัดสายสะดอื , น้ายาฆ่าเชอื้ โรค, ทิงเจอร์ไอโอดีน, สาลี, ด้ายมัดสาย
สะดือ
2. ใชส้ าลชี ุบทิงเจอรไ์ อโอดนี เช็ดบรเิ วณสายสะดือใหห้ า่ งลงมาจากพืน้ ท้องประมาณ 1 นิว้
3. ใช้ดา้ ยมัดสายสะดือใหแ้ น่น
4. ใช้กรรไกรตัดเชอื กและสายสะดอื สว่ นทเี่ หลอื ท้ิงไป
5. ใชส้ าลีชุบทิงเจอร์ไอโอดนี ทาบรเิ วณทตี่ ดั
6. ปลอ่ ยลูกสกุ ร

กลุ่มที่ 3 การตดั เขี้ยว
เขีย้ วหรือฟันของลูกสุกรแรกเกิดมที ง้ั หมด 8 ซี่ (บน 4 ซ่ี ล่าง 4 ซ)ี่ ถา้ สุกรดูดนมแม่อาจกัดนมเป็น

แผล ทาให้นมแม่สุกรอักเสบ น้านมไม่ไหล มีวิธกี ารปฏบิ ัติดังน้ี
1. เตรยี มอุปกรณ์คือ คีมตัดเขี้ยว ทาความสะอาดดว้ ยน้ายาเดทตอล
2. จับลกู สุกรอ้าปาก ใช้คีมตดั เขี้ยว ตดั เขย้ี วลกู สกุ รออกท้ัง 8 ซี่ ใหเ้ สมอกัน เชด็ ได้โดยใช้นิ้วมอื ลบู ดู
จะไม่มีส่วนแหลมคมตานิว้ การตดั เข้ยี วต้องระวังไม่ให้เขี้ยวแตก โดยยื่นคมี ตดั เขย้ี วเขา้ ทางดา้ นหน้า
ของช่องปากลูกสกุ ร ไม่ใชด่ า้ นหลัง จะปูองกันไม่ให้เขย้ี งแตกได้
3. ปล่อยลกู สกุ ร

กลมุ่ ที่ 4 การตัดหาง
หางเป็นสว่ นทีย่ ื่นออกมาจากลาตวั ส่วนทา้ ย เม่อื สุกรถูกนามาเลยี้ งรวมกันมาก ๆ อาจเกิดการกัดหาง

กันขน้ึ ทาใหส้ ุกรตัวถูกกัดอาจเป็นอนั ตรายถึงตายได้ มีวีการปฏิบตั ิดังน้ี
1. เตรยี มอปุ กรณ์ คือ คีมตัดหาง, สาลี, ทิงเจอรไ์ อโอดีน
2. ใช้สาลีชบุ ทงิ เจอร์ไอโอดนี ทาหางลกู สุกร
3. ใช้คมี ตัดหาง ตัดหางออกคร่ึงหนึ่งของความยาวหาง แล้วทาทบั ด้วยทงิ เจอร์ไอโอดีน
4. ปล่อยลูกสุกร

กลุ่มท่ี 5 การช่ังนา้ หนกั ลูกสุกรแรกคลอด
1. เตรยี มตราช่งั ขนาด 15 กิโลกรมั , สมดุ จดบันทึก

111

2. นาลกู สกุ รไปช่งั น้าหนักแรกเกิด จดบันทกึ นา้ หนกั แรกเกิด, เพศ, วนั เดือน ปีเกดิ , เบอร์แมส่ กุ ร,
เบอรพ์ ่อสกุ ร, นา้ หนกั แรกเกดิ เฉลย่ี ทงั้ ครอก

3. ปลอ่ ยลูกสุกร
การประเมินผล
1. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
2. ตรวจรายงานผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลุ่ม

แบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่
เร่ือง การจัดการลูกสุกรหลงั คลอด (1)

กลมุ่ ท…ี่ ……………………………

รายการประเมิน คะแนน คะแนนที่ไดใ้ นแต่ละกลุ่ม
เตม็ 1 2 3 45
1. ขนั้ เตรยี มการ
1.1 สมาชกิ ร่วมกันศึกษาใบงาน (2)
1.2 สมาชกิ เตรียมเคร่ืองมอื , อุปกรณ์
1
2. ขน้ั ดาเนินการ 1
2.1 การผายปอด
2.2 การตัดสายสะดือ (10)
2.3 การตดั เขี้ยว
2.4 การตดั หาง 2
2.5 การช่ังนา้ หนักแรกคลอด 2
2
2
2

3. ผลการดาเนนิ งาน (5)
3.1 สภาพลูกสุกรหลงั ปฏบิ ัตงิ าน 2
3.2 บันทึกผลการปฏิบตั งิ าน
3
4. คะแนนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ พสิ ัย
4.1 ความรบั ผิดชอบ (3)
4.2 ความรอบคอบ 1
4.3 ความปลอดภยั 1

1

112

รวม 20

ลงชือ่ ........................................
(………………………..)
ผูป้ ระเมินใหค้ ะแนน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ข้นั เตรยี มการ 1 = เตรยี มเครอ่ื งมอื ถกู ตอ้ ง, สมาชกิ รว่ มกันศึกษาใบงานทุกคน
ข้นั ดาเนนิ การ 2 = ปฏบิ ัติถกู ต้องตามหลกั การและกระบวนการ
ผลการดาเนนิ งาน 2 = สภาพลูกสกุ รปกต,ิ แขง็ แรง หลงั ปฏิบตั งิ าน

3 = มบี นั ทึกผลการปฏิบัตงิ าน
คุณธรรม จรยิ ธรรม 1 = มคี วามรบั ผิดชอบ, รอบคอบและปลอดภยั

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
วชิ า การผลิตสุกร รหัสวิชา 2501-2304
หนว่ ยที่ 7 เรอื่ ง การจดั การลูกสุกรหลังคลอด (1)

1. ทาไมจึงใหล้ ูกสกุ รร้องเมื่อแรกคลอด

ก. เพือ่ กระตุ้นแมส่ ุกรใหเ้ รง่ คลอดลกู ข. เพอ่ื ใหห้ ายใจสะดวกขน้ึ

ค. เพ่อื กระตุ้นปอดใหท้ าน ง. เพ่อื เร่งใหล้ กู ตัวอ่นื ๆ ไม่กินนมแม่

2. ปกตสิ ายสะดือจะขาดจากรกภายในก่นี าทหี ลังคลอด

ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

3. การตดั สายสะดือ ควรปล่อยใหย้ าวจากพ้นื ท้องเท่าไร

ก. 1 ซม. ข. 1 น้ิว ค. 2 ซม. ง. 2 น้ิว

4. ลูกสุกรแรกเกดิ มีเข้ียวทั้งหมดก่ีซ่ี

ก. 4 ข. 6 ค. 8 ง. 10

5. เม่อื ตดั เขีย้ วแลว้ เข้ยี วแตก ข้อใดไม่ใช่ผลเสียที่ตามมา

ก. ลกู สกุ รไมย่ อมดดู นม ข. เต้านมแมส่ กุ รอาจเป็นแผล

ค. ลูกสกุ รกัดกนั เอง ง. เกิดโรคบาดทะยัก

6. เหตุผลในการตัดหางลูกสุกรคือข้อใด

113

ก. ปอู งกันการกัดหางกนั เอง ข. ขายไดร้ าคาดี

ค. เพอ่ื ความสวยงาม ง. เพ่อื ความปลอดภยั ขณะขนย้าย

7. เมอื่ แมส่ ุกรมดลูกอักเสบ ผลทีต่ ามมาคือข้อใด

ก. ลกู สุกรท้องเสยี ข. นา้ นมไม่ไหล ค. เกดิ โรคอหิวาตส์ ุกร ง. แม่สุกรเดนิ ไม่ได้

8. ลูกสุกรแรกคลอด ต้องการเวลาปรบั ตวั ในคอกคลอดอย่างน้อยกีว่ ัน

ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

9. ยาฆ่าเช้ือโรคท่ีใช้ในการตัดหางลกู สุกรคือข้อใด

ก. แอลกอฮอล์ ข. ทิงเจอรไ์ อโอดีน ค. เดทตอล ง. ไลโซล

10. ลกู สกุ รแรกคลอดไดร้ บั ภูมคิ ุ้มกันโรคทางใด

ก. นมน้าเหลอื ง ข. ยาฉดี ธาตุเหล็ก ค. อาหารลกู สกุ รอ่อน ง. ยาปูายล้นิ

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น
วชิ า การผลิตสกุ ร รหัสวิชา 2501-2304
หนว่ ยท่ี 7 เรือ่ ง การจดั การลูกสุกรหลังคลอด (1)

1. ค
2. ง
3. ข
4. ค
5. ง
6. ก
7. ข

114

8. ก
9. ข
10. ก

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 7
ชอ่ื วิชา การผลิตสุกร สอนครง้ั ที่ 25-36
ชื่อหน่วย การจัดการสุกรระยะต่างๆ ชวั่ โมงรวม 24

ช่ือเร่อื ง การจัดการลูกสกุ รหลงั คลอด (2 ) สอนคร้ังที่ 31-33 จานวนชั่วโมง 6

115

สาระสาคัญ
การจัดการลูกสุกรหลังคลอดนับเป็นจุดวิกฤตอีกจุดหนึ่งของการเลี้ยงสุ กรเพราะลูกสุกรระยะนี้มี

ภูมิคุ้มกันต่า ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ ลูกสุกรท่ีหย่านมใหม่ ๆ จะมีความเครียดเนื่องจากการ
พรากจากแม่ การใหธ้ าตุเหล็กจะช่วยใหล้ ูกสกุ รมีสุขภาพแขง็ แรง ปลอดภัย การตัดเบอร์หูลูกสุกร เป็นการทา
เครื่องหมายบนตัวแทนการเรียกชื่อ การตอนลูกสุกรขนาดเล็ก ให้ผลดีกว่าการตอนสุกรตัวใหญ่ การถ่าย
พยาธิลูกสุกรซึ่งอาจจะติดมาจากคอกคลอดและการทาวัคซินอหิวาต์สุกรเป็น การสร้างภูมิคุ้มโรคให้แก่
สตั ว์ ดังน้นั การจดั การสกุ รระยะต่างๆไดอ้ ย่างถกู ต้อง จะทาให้ลดความเสียหายในการผลิตสกุ รได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป
1. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการจัดการลูกสกุ รหลงั คลอด
2. เพอ่ื ให้จดั การลกู สุกรหลงั คลอดได้
3. เพ่อื ให้ทางานร่วมกบั ผอู้ นื่ ดว้ ยความรับผิดชอบ รอบคอบและปลอดภัย
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. จัดการลกู สกุ รหลังคลอดโดยการฉดี ธาตุเหล็ก/ การตัดเบอร์ห/ู การตอนลกู สกุ ร
การถา่ ยพยาธิลกู สุกรและการทาวัคซนิ อหวิ าตส์ ุกรได้ตามหลกั การและกระบวนการ.
2. บอกประโยชนข์ องการจัดการลกู สกุ รหลังคลอดได้
3. ทางานร่วมกบั ผู้อนื่ ดว้ ยความรบั ผิดชอบ รอบคอบและปลอดภัย

สาระการเรียนรู้
1. การจัดการลกู สกุ รหลังคลอด หลงั จากให้ลกู สกุ รได้ด่ืมนมน้าเหลืองในตอนแรกคลอดแล้ว ควรกก

ลูกสุกรท่ีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส ถ้าแม่สุกรมีลูกมากเกินไปควรทาการย้ายฝาก การให้ ธาตุเหล็ก
จาเป็นมากเพราะลูกสุกรมีธาตุเหล็กสะสมอยู่น้อย การทาเครื่องหมายโดยการตัดเบอร์หู ลูกสุกรเพ่ือให้
สะดวกในการจดจาสุกร ควรให้อาหารเสริมเม่ือลูกสุกรอายุ 1 สัปดาห์ การตอนลูกสุกรเพศผู้ กระทาเม่ืออายุ
1-2 สัปดาห์ เพราะในสุกรเพศผู้เม่ือย่างเข้าสู่วัยหนุ่ม (อายุ 5-6 เดือน) ฮอร์โมน เพศผู้เร่ิมทางานฉะน้ันเนื้อ
สกุ รเพศผ้จู ะมกี ลนิ่ เหม็นเขยี วซึ่งไม่เปน็ ทีต่ อ้ งการของตลาด

2. การจัดการลูกสุกรระยะอนุบาล ลูกสุกรหลังหย่านมจนน้าหนัก 15 กิโลกรัมจัดเป็นลูกสุกรระยะ
อนุบาล การย้ายสุกรควรทาการย้ายในช่วงมีอากาศเย็น ลูกสุกรควรมีขนาดใกล้เคียงกัน เพื่อปูองการแย่งชิง
อาหาร ให้อาหารหมูออ่ น โปรตีนไม่ตา่ กว่า 22 % ถ่ายพยาธิ เมอ่ื ลกู สกุ รอายุ 5 สัปดาห์และ ฉีดวัคซีนอหิวาต์
สกุ รให้ลูกสกุ รเม่อื อายไุ ด้ 6 สัปดาห์ซึง่ จาเป็นต้องทา

กจิ กรรมการเรียนรู้

116

1. ผสู้ อนทบทวนบทปฏบิ ตั ิการครั้งกอ่ นเรือ่ งการจัดการลกู สุกรหลงั คลอดคอื การผายปอด การตัด สายสะดือ
การตดั เขย้ี ว การตดั หาง และการชงั่ น้าหนกั ลกู สุกรแรกคลอดพร้อมบอกวา่ จะมี การจัดการต่อเนื่อง
ในการปฏิบัติการคร้ังน้ีคือ การฉีดธาตุเหล็ก การตัดเบอร์หู การตอนลูกสุกรเพศผู้ การถ่ายพยาธิลูกสุกร
และการทาวคั ซินอหิวาตส์ กุ ร (10 นาที)

2. ผู้สอนแจกแบบทดสอบกอ่ นเรียนให้ผู้เรียนทา (10 นาที)
3. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละ 3-5 คนตามความสมัครใจ/ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 5.3 เรื่องการ

จดั การลูกสุกรหลงั คลอด (2) คือ การฉีดธาตุเหล็ก การตัดเบอร์หู การตอนลูกสุกรเพศผู้ การถ่ายพยาธิลูก
สกุ รและการทาวัคซินอหวิ าตส์ ุกร ตามลาดับให้แต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ท่ี 5.3 พร้อมกับผู้สอนแนะนาให้
ผู้เรียนเขา้ ใจในเน้อื หาวิชา (100 นาท)ี
4. ผู้สอนเตรียมวสั ดุอุปกรณ์สาธิตการปฏบิ ัตจิ ัดการลูกสกุ รหลงั คลอด (10 นาท)ี
5. ผสู้ อนแจกใบงานที่ 5.4 กลุ่มผเู้ รยี นร่วมกันศกึ ษาใบงานที่ 5.4 ใหเ้ ขา้ ใจขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน (50นาที)
6. ผู้สอนสาธิตปฏิบัติการจดั การลูกสกุ รหลังคลอดคอื การฉีดธาตุเหล็ก การตัดเบอร์หู การตอน ลูกสุกร
เพศผู้ การถ่ายพยาธลิ กู สุกรและการทาวคั ซินอหิวาตส์ ุกร ตามลาดบั (60นาที)
7. ผสู้ อนตรวจการแต่งกายของผู้เรยี นใหร้ ัดกุมเพอื่ เตรยี มความพร้อมในการปฏบิ ตั งิ าน (10นาที)
8. ให้กลุ่มผู้เรียนเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์และปฎิบัติการจัดการลูกสุกรหลังคลอดคือ การฉีดธาตุเหล็ก การตัด
เบอรห์ ู การตอนลกู สุกรเพศผู้ การถา่ ยพยาธิลูกสุกรและการทาวัคซินอหิวาต์สุกร หมุนเวียนกันจนครบทุก
กิจกรรม โดยมีผู้สอนคอยแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดพร้อมกับสังเกตพฤติกรรมกลุ่มระหว่างกา ร
ปฏิบัติงานและให้คะแนนกลุ่มในแบบประเมนิ กิจกรรมกลมุ่ (60 นาท)ี
9. ผู้เรยี นรายงานกลุ่มถงึ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม (20 นาท)ี
10. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปความรทู้ ่ีได้และปัญหาทีเ่ กิดข้ึนในการปฏิบตั งิ านกลมุ่ (25 นาท)ี
11. ผ้เู รียนทาแบบทดสอบหลังเรียน (5 นาที)

รวม 360 นาที

สื่อการเรยี นการสอน
ส่ือสิง่ พมิ พ์
11. เอกสารประกอบการเรียน
12. ใบความรู้ที่ 5.3
13. ใบงานที่ 5.4
14. แบบประเมินกจิ กรรมกลุม่
15. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น
สอื่ โสตทัศน์
1. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์
2. โปรเจคเตอร์ LCD.

117

สื่อของจริง
1. อุปกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน ได้แก่ เขม็ กระบอกฉีดยา ธาตเุ หลก็ สาลี คีมตดั เบอร์หู ใบมดี
ผา่ ตดั ทิงเจอร์ไอโอดีน แอลกอฮอล์ ยาฆา่ เชอื้ โรค (เดทตอล) เนกาซนั ท์ ยาถา่ ยพยาธิ
ตัวกลมในสกุ ร วคั ซินอหวิ าตส์ ุกร
2. ลกู สกุ รแรกคลอด ประมาณ 20 ตัวในฟาร์มสุกรวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี
อบุ ลราชธานี

การประเมินผล
ส่ิงท่ปี ระเมนิ
1. พฤติกรรมการเรยี นรู้
2. ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหา
3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
วิธกี ารประเมิน
1. สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียนตลอดการปฏบิ ัติงานให้คะแนนลงในแบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่ (10
คะแนน)
2. ตรวจรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน ( 5 คะแนน)
3. ตรวจข้อสอบกอ่ นและหลังเรียน ( 5 คะแนน)
เคร่ืองมอื ประเมิน
1. แบบประเมนิ กิจกรรมกล่มุ
2. แบบรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานกลมุ่
3. แบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น

ข้อควรระวงั
1. การฉีดธาตเุ หล็ก : การใชเ้ ข็ม และกระบอกฉีดยา เม่อื ใชแ้ ล้วให้เก็บทิ้งอยา่ ง ถูกต้องและ
ระมดั ระวงั ในการใชเ้ ข็ม หา้ มนาไปเล่น
2. การตอนลูกสุกร : ระวังใบมีดผ่าตัดซึ่งคมมาก หลีกเลีย่ งการตอนลูกสกุ รช่วงอากาศร้อน
3. การตดั เบอร์หู : อาจมีกิจกรรมอื่น ๆ เชน่ การตดิ เบอรห์ ูหรือการสักเบอรห์ ู เปน็ ตน้
4. การถ่ายพยาธลิ กู สกุ ร : ระวงั ลกู สกุ รอาจสาลกั ( Choking )
5. การทาวคั ซินอหวิ าตส์ กุ ร : เนอื่ งจากเปน็ วัคซนิ เช้อื เปน็ ระวังอย่าใหว้ คั ซินหกหรือหล่น

118

บนั ทกึ หลังการสอน
หน่วยท่ี เรอ่ื ง การจดั การลกู สกุ รหลงั คลอด (2)

สอนครั้งท่ี 31-33 จานวน 6 ชัว่ โมง

ผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรยี นของผูเ้ รยี น

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

119

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชอื่ ....................................ครูประจาวชิ า

ใบความรู้ที่ 7.3

รหัสวิชา 2501-2202 ช่ือวิชา การผลิตสกุ ร สอนครงั้ ที่ 31-33
หน่วยที่ 7 ชือ่ หนว่ ย การจัดการสกุ รระยะต่าง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ชือ่ เรอ่ื ง การจัดการลูกสุกรหลังคลอด (2) เวลา 100 นาที

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายวธิ ีการจัดการลูกสุกรหลงั คลอด (การฉีดธาตเุ หล็ก การตัดเบอรห์ ู การตอนลกู สุกรเพศผู้

การถา่ ยพยาธิลูกสุกรและการฉีดวัคซนิ อหวิ าตส์ กุ ร) ตามหลักการและกระบวนการได้
2. เพอ่ื ให้ทางานร่วมกบั ผู้อื่นด้วยความรบั ผิดชอบ รอบคอบ และปลอดภัย

เนื้อหาสาระ
การจดั การลูกสุกรหลงั คลอด

1. การฉดี ธาตเุ หลก็ ให้ลูกสุกร
ธาตุเหลก็ มีความสาคัญต่อการผลิตเซลเม็ดเลือดแดง ซ่ึงมีหน้าท่ีในการนาพาออกซิเจน

ไปสู่เซลต่าง ๆ ของร่างกาย ในร่างกายสุกรจะมีธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบประมาณ 0.005 เปอร์เซ็นต์ของ
น้าหนักตัว ในลูกสุกรการขาดธาตุเหล็กจะทาให้เกิดโรคโลหิตจาง ซูบซีด ขนหยาบ ร่างกายอ่อนแอมีความ
ต้านทานโรคต่า

120

ในลูกสุกรมีโอกาสจะขาดธาตุเหล็กได้ง่าย ลูกสุกรแรกเกิดจะมีธาตุเหล็กสะสมอยู่ใน
ร่างกายน้อยมากเพียง 50 มิลลิกรัม ซ่ึงไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกสุกรและลูกสุกรระยะนี้ จะมีการ
เจริญเติบโตเรว็ มาก ปจั จบุ ันการเลีย้ งสุกรนยิ มเล้ียงบนพื้นปนู หรอื พื้นแสลทลูกสุกร ไม่มีโอกาสได้รับธาตุเหล็ก
จากดิน นอกจากน้านมแม่เท่าน้ัน ซ่ึงก็มีธาตุเหล็กอยู่น้อยเพียง 5-10 เปอร์เซ็นต์ของ ความต้องการลูก
สุกรเทา่ นน้ั

ในช่วง 3 สัปดาหแ์ รกลกู สุกรต้องการธาตุเหล็ก 250-300 มิลลิกรัม แต่ลูกสุกรได้ ธาตุเหล็กจากที่
สะสมในตัวเอง 50 มิลลกิ รมั จากน้านมแม่ประมาณ 23 มิลลกิ รมั จากอาหารสุกรอ่อน (อาหารเลียราง) 25-50
มิลลิกรมั รวมแล้วลูกสุกรได้รบั ธาตเุ หลก็ เพียง 98-123 มิลลกิ รมั เท่านน้ั ซงึ่ ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ดังน้ัน
จึงควรเสริมธาตุเหล็กให้แก่ลูกสุกรแรกเกิดในปริมาณ 1-2 ซีซี ข้ึนกับความเข้มข้นของธาตุเหล็กในสารละลาย
นั้น ๆ โดยคานวณให้ลูกสุกรได้รับธาตุเหล็ก 200 มิลลิกรัม โดยฉีดเข้ากล้ามเน้ือบริเวณคอหรือบริเวณขาพับ
เมือ่ ลกู สกุ ร อายุ 1-3 วนั หรืออาจให้ธาตุเหลก็ ชนิดปาู ยล้ินลกู สกุ รหรือทาบริเวณเตา้ นมแมส่ ุกร

2. การตัดเบอร์หลู กู สกุ ร
การตัดเบอร์หู (Ear notching) เป็นวิธีทาเคร่ืองหมายบนตัวลูกสุกรที่ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อยจึง

นิยมทากันทั่วไป การตัดใบหูลูกสุกรเพื่อทาเบอร์นั้นควรตัดเมื่อลูกสุกรอายุ 2-5 วัน รอยตัดนี้จะติดตัวสุกรไป
ตลอดชีวิต ซง่ึ รอยตดั แต่ละแหง่ จะมีรหสั อา่ นเปน็ ตวั เลขเฉพาะ และขน้ึ อยู่กับตาแหน่งบนใบหดู ้วย

ดังภาพ จะแบง่ ใบหูออกเป็น 3 ส่วน

- สว่ นทอี่ ยู่โคนหูจะเปน็ หมายเลข 1

- ส่วนกลางใบหูจะเปน็ หมายเลข 9

- สว่ นปลายใบหูจะเป็นหมายเลข 3

- หูขวาของลูกสุกรด้านบนจะเป็นหลกั พนั

- หซู ้ายด้านบนจะเปน็ หลักร้อย

- หูซา้ ยด้านลา่ งจะเป็นหลักสบิ

- หขู วาด้านล่างจะเปน็ หลักหน่วย

การตัดใบหูแต่ละตาแหน่งนั้นจะต้องตัดให้กระดูกอ่อนของใบหูแหว่งไปด้วยเพราะ การ

เจริญของเน้ือเย่ือที่ใบหูจะเจริญตามรูปร่างของโครงกระดูกอ่อนของใบหู ถ้าตัดให้กระดูกอ่อนแหว่งไปการ

เจริญของเน้ือเย่ือก็จะหุ้มกระดูกตามรูปที่แหว่ง ดังน้ัน เม่ือแผลรอยตัดหายแล้วจะเห็นเป็นรอยแหว่งอย่าง

ชัดเจนตลอดไปทาใหอ้ ่านรหสั เบอร์หไู ดง้ า่ ย ซ้าย

ขวา

3,000 9,000 1,000 100 900 300


3   30

121

ตวั อย่าง การตัดเบอร์หู 8524

ให้ตัดทีต่ าแหน่ง 3,000 2 คร้งั กจ็ ะได้ 6,000

ตดั ที่ตาแหนง่ 1,000 2 ครง้ั กจ็ ะได้ 2,000 รวมเป็น 8,000

ตดั ท่ีตาแหน่ง 300 1 ครงั้ ก็จะได้ 300

ตัดท่ตี าแหน่ง 100 2 คร้งั กจ็ ะได้ 200 รวมเปน็ 500

ตัดที่ตาแหน่ง 10 2 ครัง้ ก็จะได้ 20 รวมเป็น 20

ตัดท่ตี าแหน่ง 3 1 คร้งั ก็จะได้ 3

ตดั ทตี่ าแหน่ง 1 1 คร้งั ก็จะได้ 1 รวมเปน็ 4

8,524

3. การตอนลูกสุกรเพศผู้

ในสุกรเพศผู้ฮอร์โมนเพศผู้จะเร่ิมทางานเม่ืออายุประมาณ 5 เดือน (น้าหนัก 90 กิโลกรัม)

เม่ือชาแหละสุกรจะทาให้เน้ือสุกรเหม็นเขียวไม่เป็นที่นิยมของผู้บริโภคเราจึงจาเป็นต้องตอนสุกร เพศผู้

โดยท่ัวไปนิยมตอนในขณะเป็นลูกสุกรเพราะ จับบังคับง่าย เลือดออกน้อย แผลมีขนาดเล็ก และหายเร็ว คอก

คลอดยังสะอาดอยทู่ าใหแ้ ผลท่ตี อนไมส่ กปรก ลูกสุกรไม่เครยี ด

อายุลูกสุกรท่ีจะตอนประมาณ 10 วัน และต้องมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ควรตอนในช่วงท่ี

อากาศเย็นสบาย เช่น เช้าหรือเย็น จะช่วยลดความเครียดของลูกสุกร เนื่องจากการจับบังคับไม่ควรตอนลูก

สุกรใกล้หย่านมหรือหลังหย่านมใหม่ ๆ เพราะนอกจากลูกสุกรจะเกิดความเครียดจากการแยกจากแม่แล้วยัง

เครียดเน่ืองจากการตอนอีกด้วย ทาให้ลูกสุกรชะงักการเจริญเติบโต การตอนนั้นนิยมใช้วิธีการผ่าแผลเดียว

หรือสองแผลกไ็ ด้ และตัดเอาเมด็ อณั ฑะออกไป

4. การถา่ ยพยาธิลูกสกุ ร

พยาธทิ พี่ บมากในสุกรได้แก่พยาธติ ัวกลม พยาธิตัวตืด พยาธิภายในเหล่าน้ีนับว่า เป็นอันตรายต่อสุกร

ไมน่ อ้ ยจึงจาเปน็ อย่างยงิ่ ท่จี ะตอ้ งทาการควบคุมและปูองกันไม่ใหเ้ กิดขน้ึ กบั สุกรทีเ่ ลยี้ งดงั นี้

1. พยายามรักษาความสะอาดภายในคอกคลอดและคอกอนบุ าล

2. ถ่ายพยาธิแมส่ ุกรก่อนผสมพันธุ์และหลงั คลอด

3. ถ่ายพยาธลิ ูกสกุ รเม่อื อายุได้ 6 สปั ดาห์

122

ลูกสุกรที่เป็นพยาธิภายในรุนแรงมักจะเจริญเติบโตช้า มีอาการซึมเบ่ืออาหาร ซูบผอม ขนหยาบแห้ง
กรา้ น ผวิ หนงั มีขีร้ ังแคและเป็นสะเกด็ โลหิตจางอาจมอี าการบวมนา้ อจุ จาระรว่ งมีเลอื ดปน

สาหรับการรักษาเมอ่ื ทราบวา่ สกุ รตัวน้ัน ๆ เป็นพยาธชิ นดิ ใดใหท้ าการถา่ ยพยาธดิ งั นี้
1. เปน็ พยาธติ วั กลมใชย้ าในกลุ่ม ไดอะเบนดาโซน เลวามิโซน
2. เป็นพยาธติ ัวตืดใชย้ าในกลุ่ม นิโคลซาไมด์ แมนโซนิล
โดยกอ่ นใชย้ าแตล่ ะชนิด จะต้องศึกษารายละเอียดและวิธกี ารใช้ใหถ้ ูกต้อง

ใบงานท่ี 7.4 สอนคร้งั ท่ี 31-33
รหสั วิชา 2501-2304 ช่อื วิชา การเล้ยี งสกุ ร

หนว่ ยที่ 7 ชื่อหน่วย การจัดการสกุ รระยะต่าง ๆ 123
ชอื่ งาน การจดั การลกู สุกรหลังคลอด (2)
เวลารวม 24 ชม.
เวลา 60 นาที

จุดประสงค์การเรยี นรู้ ลูกสกุ ร
1. จัดการลูกสกุ รหลงั คลอด(การฉดี ธาตเุ หลก็ การตดั เบอร์หู การตอนลกู สุกรเพศผู้ การถา่ ยพยาธิ

และการทาวคั ซนิ อหวิ าตส์ กุ ร) ไดต้ ามหลกั การและกระบวนการ
2. บอกประโยชน์ของการจดั การลกู สุกรหลงั คลอดได้
3. ทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ รอบคอบ และปลอดภยั

วสั ด/ุ อปุ กรณ์
1. เข็มฉดี ยาเบอร์ 20 ยาว 0.5 นิ้ว
2. กระบอกฉีดยา
3. คมี ตัดเบอรห์ ู
4. ใบมีดผ่าตัดเบอร์ 23
5. ดา้ มมดี เบอร์4
6. หมอ้ ต้มเขม็ ฉีดยา
7. ธาตเุ หลก็ สาหรับฉดี 1 ขวด
8. สาลี
9. ทงิ เจอร์ไอโอดนี
10. แอลกอฮอล์
11. ผงกันหนอน/แมลงวนั (เนกาซนั ท)์
12. น้ายาฆา่ เช้ือโรค (Dettol)
13. ยาถา่ ยพยาธิตวั กลม
14. วัคซนี อหวิ าต์สุกร
15. น้ากลัน่ ผสมวัคซนี
16. นา้ ต้มสุก
17. ลกู สกุ ร 20 -30 ตวั

ลาดับขนั้ การปฏบิ ตั งิ าน
1. ให้ทุกกลุ่มศกึ ษาใบงานที่ 5.4 ใช้เวลา 30 นาที
2. ทกุ กลมุ่ เตรยี มวัสด/ุ อปุ กรณ์ตามใบงานที่ 5.4 และปฏบิ ัตติ ามใบงานที่ 5.4 หมนุ เวียนทากิจกรรมให้ครบ

ทุกฐานปฏิบัติ โดยใชเ้ วลาปฏิบัติทงั้ ส้นิ 60 นาที ดงั นี้

124

กลุม่ ท่ี 1 (การใหธ้ าตุเหลก็ )
ในลูกสุกรแรกเกิดจะมธี าตุเหลก็ สะสมอยู่ในรา่ งกายน้อย และลูกสกุ รระยะน้ีมีการเจริญเตบิ โตเร็วมาก

จาเปน็ ต้องเสรมิ ธาตุเหล็กใหก้ ับลกู สกุ ร มีวธิ ปี ฏบิ ตั ิดังนี้
1. เตรียมอปุ กรณ์ คือ เขม็ ฉีดยาเบอร์ 20 ยาว 0.5 นวิ้ กระบอกฉดี ยา ยาฉดี ธาตุเหลก็ สาลี
ทิงเจอร์ไอโอดีนใหพ้ ร้อม
2. ใชเ้ ขม็ เบอร์ 20 ยาว 0.5 นวิ้ และกระบอกฉดี ยาดดู ธาตเุ หล็กชนิดฉีด 1 ซซี ี
3. จับลกู สุกรใชส้ าลีชบุ ทงิ เจอร์ไอโอดนี ทากลา้ มเนื้อบริเวณหลงั คอลูกสุกร
4. เลอ่ื นหนังบรเิ วณลาคอลกู สกุ รไปดา้ นใดดา้ นหนึ่ง
5. ปกั เข็มฉดี ยาบริเวณกลา้ มเนอ้ื คอลกู สุกร เดนิ ยาจนหมด
6. ใช้สาลีชุบทิงเจอรไ์ อโอดีนเชด็ บริเวณที่ฉดี ซา้ อกี คร้ัง
7. ปลอ่ ยลูกสกุ ร
8. ฉดี ซา้ อีก 1 ซซี ี หลังจากฉีดคร้ังแรก 1 สัปดาห์

กลมุ่ ท่ี 2 (การตดั เบอรห์ ูลกู สุกร = Ear notching)
การตดั เบอรห์ ูเป็นวธิ ีการทาเครื่องหมายประจาตัวลูกสุกรท่ีนิยมทามากที่สุด เพราะเสียค่าใช้จ่ายน้อย

ควรตัดเมื่อลูกสุกร อายุ 2-5 วัน และรอยตัดน้ีจะติดตัวลูกสุกรไปตลอดรอยตัดแต่ละแห่งจะมีรหัสอ่านเป็น
ตวั เลขไดท้ กุ รอยขนึ้ อยูก่ ับตาแหนง่ บนใบหู

ขวา 9,000 1,000 100 900 ซ้าย
3,000 300

39 

  30
1 10 90

การปฏบิ ตั ิ

1. เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์คอื นา้ ยาฆา่ เชอ้ื โรค (Dettol)/สาล/ี ทงิ เจอรไ์ อโอดนี และคมี ตดั เบอร์หู
2. ทาความสะอาดคีมตดั เบอร์หดู ้วยน้ายาฆา่ เชือ้ โรค

125

3. จบั ลกู สุกรหนั หนา้ เขา้ หาผตู้ ัด ให้ขาด

4. เช็ดบริเวณใบหทู ี่จะตดั ด้วยสาลีชบุ ทงิ เจอร์ไอโอดีน
5. ใชค้ มี ตัดเบอรห์ ูตดั บรเิ วณท่ีต้องการตามเบอรห์ ทู ่จี ะตัด (โดยตดั กระดูกอ่อนบริเวณน้นั

ด้วย)
6. ใชส้ าลชี บุ ทงิ เจอร์ไอโอดีนเชด็ รอยแผลทต่ี ดั แลว้
7. ปล่อยลูกสุกร

กลุม่ ท่ี 3 (การตอนลกู สกุ รเพศผู้)
ในสุกรเพศผู้เม่ือมีอายุสมควรจาหน่าย (5-6 เดือน) ฮอร์โมนเพศผู้จะเร่ิมทางานแล้ว ทาให้เน้ือสุกรมี

กลิ่นเหม็นเขยี ว ไมเ่ ป็นท่ีนยิ มของผู้บริโภค จึงต้องทาการตอนเม่ืออายุประมาณ 1-2 สัปดาห์ ลูกสุกรท่ีจะ
ตอนต้องมีสุขภาพแข็งแรง การตอนลูกสุกรอายุน้อย มีข้อดีคือ เสียเลือดน้อย จับบังคับง่าย แผลหายเร็ว เกิด
ความเครียดน้อยกว่าอายุมาก และควรตอนในช่วงอากาศเย็นสบาย การตอนนิยมแบบผ่าเอาอัณฑะออกท้ัง 2
ขา้ ง
การปฏบิ ตั ิ

1. เตรียมอปุ กรณ์ ใบมีดผา่ ตัด ดา้ มมีดผ่าตัด นา้ ยาฆา่ เชื้อโรค สาลี ทิงเจอรไ์ อโอดีน เนกาซันท์ ให้
พร้อม

2. จบั สกุ รวางหงายบนโต๊ะตอนหรอื อปุ กรณ์อ่ืน ๆ ทีใ่ ช้ในการตอน
3. เช็ดบริเวณอณั ฑะให้สะอาดด้วยนา้ ยาฆ่าเชอื้
4. ใช้มดี กรดี ลูกอณั ฑะแต่ละขา้ ง ดันลูกอณั ฑะแต่ละขา้ งให้ปลิ้นออกมาและตดั ท้ิงไป ทากบั อณั ฑะ

ท้งั 2 ขา้ ง
5. ใส่ทงิ เจอร์ไอโอดีนลงไปในแผลที่ผา่ เอาอัณฑะออก
6. ใส่ผงกนั หนอนแมลงวัน (เนกาซนั ท์ )
7. ปลอ่ ยลูกสุกร
กลุ่มท่ี 4 ( การถ่ายพยาธลิ ูกสกุ ร )
ลกู สกุ รในคอกคลอดอาจจะได้รับพยาธิหรอื ไข่พยาธิจากคอกคลอดที่สกปรกหรือบริเวณเต้านมของแม่
ทาให้ไมเ่ จรญิ เตบิ โตหรอื แคระแกรน เมื่อลกู สกุ รอายุ 4 สัปดาหใ์ ห้หยา่ นมลกู สกุ รและถ่ายพยาธิเมื่อลูกสุกรอายุ
ได้ 5 สปั ดาห์

การปฏิบตั ิ
1. เตรียมวัสดุ/อปุ กรณค์ ือ ยาถ่ายพยาธติ วั กลม/นา้ ตม้ สุก/กระบอกฉีดยา
2. เตรยี มยาถา่ ยพยาธโิ ดยผสมกับนา้ ต้มสุกตามอตั ราสว่ นท่ีกาหนดในเอกสารกากับยา
3. ใชก้ ระบอกฉีดยาดูดยาถ่ายพยาธทิ ีผ่ สมไว้แลว้ จานวน10 ซีซี
4. จับลูกสุกรอ้าปากนากระบอกฉีดยาทด่ี ดู ยาถา่ ยพยาธไิ วแ้ ล้วใสเ่ หนอื โคนล้นิ

126

พ่นยาถา่ ยพยาธเิ ข้าปากลกู สุกร บบี ลาคอลูกสกุ รเพือ่ ใหล้ ูกสกุ รกลืนยา
5. ปล่อยลกู สกุ ร
กลมุ่ ที่ 5 (การทาวัคซนี อหิวาตส์ ุกร)

เมื่อลกู สุกรอายุได้ 6 สัปดาห์ ควรทาวัคซีนอหวิ าตส์ กุ ร เพื่อปูองกันโรคท่ีอาจเข้าสู่ฟาร์มสุกร เพราะ
ในชว่ งน้ลี กู สุกรเพง่ิ จะหย่านมใหม่ ๆ ความตา้ นทานโรคยงั มนี อ้ ย

การปฏิบัติ
1. เตรยี มอุปกรณใ์ นการทาวัคซีนคอื เข็มฉีดยาเบอร์ 20 ยาว 0.5 นิ้ว กระบอกฉดี ยา
วัคซีนอหิวาต์สุกร น้ากลัน่ ผสมวัคซีน สาลี แอลกอฮอล์
2. ตม้ นา้ ฆ่าเช้ือโรคอปุ กรณ์ในการทาวัคซนี คอื เขม็ เบอร์ 20 และกระบอกฉีดยา
3. นาวคั ซีนและน้ากล่นั ผสมให้เข้ากนั
4. จบั ลูกสกุ รทลี ะตัว
5. ใชเ้ ข็มเบอร์ 20 ยาว 0.5 นว้ิ และกระบอกฉดี ยาดดู วัคซนี จานวน 1 ซซี ี
6. นาสาลีชุบแอลกอฮอล์เชด็ บริเวณกลา้ มเนอ้ื แผงคอ
7. แทงเข็มลงบรเิ วณกลา้ มเน้ือแผงคอแลว้ เดนิ ยาเสรจ็ แล้วจึงถอนเข็มออก
8. นาสาลีชบุ แอลกอฮอล์เช็ดบริเวณท่ถี อนเขม็ ออก
9. ปลอ่ ยลกู สกุ ร
10. ฆ่าเชือ้ โรคเข็ม/กระบอกฉดี ยาและขวดวคั ซีนทหี่ มดแลว้ โดยการต้ม
11. ฝังขวดวัคซนี ท่ตี ้มแล้วให้เรยี บร้อย

3. เมื่อนักเรยี นปฏบิ ตั ิเสร็จสิน้ ทง้ั 5 กล่มุ แลว้ กส็ ลบั กันปฏบิ ัติงานให้ครบทั้ง 5 อยา่ ง
4. นามาแลกเปลีย่ นประสบการณแ์ ละรายงานผลการปฏิบตั ิงานทุกกลุม่
5. ครูบรรยายสรุป อธิบายเนอ้ื หา พร้อมเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามเพื่อความเข้าใจ
6. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน

แบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่
เร่อื ง การจดั การลูกสกุ รหลังคลอด (2)

กล่มุ ท…่ี ……………………………

รายการประเมนิ คะแนน คะแนนทไ่ี ดใ้ นแต่ละกลุ่ม
เตม็ 1 2 3 45
1. ขน้ั เตรยี มการ
1.1 สมาชิกเตรยี มเคร่ืองมือ (2)
1.2 สมาชกิ รว่ มกนั ศึกษาใบงาน
1
1

127

2. ขน้ั ดาเนนิ การ (10)
2.1 การฉดี ธาตุเหล็ก
2.2 การตัดเบอร์หลู กู สกุ ร 2
2.3 การตอนลกู สกุ ร 2
2.4 การถ่ายพยาธิ 2
2.5 การการทาวัคซีนอหิวาต์สุกร 2
2
3. ผลการดาเนินงาน
3.1 สภาพลกู สุกรหลังปฏบิ ตั ิงาน (5)
3.2 บันทึกผลการปฏิบตั งิ าน 2

4. คะแนนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3
4.1 ความรับผดิ ชอบ
4.2 ความรักสามัคคี (3)
4.3 ความมวี นิ ัย 1
รวม 1

1

20

ลงชอ่ื ........................................
(………………………..)
ผู้ประเมินใหค้ ะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน
ขัน้ เตรียมการ 2 = สมาชกิ รว่ มกันเตรยี มเครอ่ื งมือ ร่วมกันศกึ ษาใบงานทกุ คน
ขนั้ ดาเนนิ การ 10 = ปฏบิ ตั กิ ารทกุ กิจกรรมได้ถูกตอ้ งตามขนั้ ตอนและหลักการ
ผลการดาเนินงาน 5 = สภาพลูกสกุ รเปน็ ปกติ มีบนั ทึกผลการปฏบิ ตั งิ าน
คะแนนคณุ ธรรม จริยธรรม 3 = มคี วามรบั ผดิ ชอบ รกั สามัคคี และมวี นิ ยั

แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน
วชิ า การผลติ สุกร รหสั วิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 5 เรื่อง การจดั การลกู สกุ รหลังคลอด (2)

1. การฉีดธาตุเหลก็ ใหล้ กู สุกร มปี ระโยชน์คอื ขอ้ ใด

ก. ปูองกนั โรคกระดกู อ่อน ข. ปอู งกนั โรคโลหติ จาง

ค. ปูองกนั โรคอหิวาต์สุกร ง. ปอู งกนั โรคผิวหนงั ตกสะเก็ด

2. ถ้าจะตัดหลู กู สกุ รเบอร์ 825 จะมีรอยตดั ทใ่ี บหูทีร่ อย

ก. 5 ข. 7 ค. 9 ง. 11

3. ปจั จุบนั นิยมตอนลกู สกุ รอายุเทา่ ใด

128

ก. 1 วัน ข. 10 วัน ค. 20 วัน ง. 30 วัน

4. ขอ้ ควรระวงั ในการกรอกยาถ่ายพยาธลิ กู สกุ รคอื ขอ้ ใด

ก. สกุ รดนิ้ จับลาบาก ข. อาจจะกรอกยาตัวเดิมซ้าได้

ค. ปรมิ าณยาอาจไม่เพยี งพอตอ่ การถ่ายพยาธิ ง. สกุ รสาลักยา

5. อายลุ ูกสกุ รทจี่ ะฉีดวคั ซีนอหวิ าต์สุกรได้คือข้อใด

ก. 4 สปั ดาห์ ข. 5 สัปดาห์ ค. 6 สปั ดาห์ ง. 7 สปั ดาห์

6. การให้ธาตเุ หลก็ แกล่ กู สุกรไม่ใชใ้ นกรณีใด

ก. ผสมอาหาร ข. ฉดี ค. ปาู ยล้นิ ง.ทาทเ่ี ตา้ นม

แม่

7. รหสั เลขมาตรฐานในการตดั เบอรห์ ูลกู สุกร เลข 9 อยใู่ นตาแหน่งใดบนใบหู

ก. โคนหู ข. ปลายหู ค. กลางหู ง. หลังหู

8. วัคซินปูองกันโรคอหิวาต์สุกรมคี วามคุ้มโรคนานเท่าใด

ก. 3 เดือน ข. 6 เดอื น ค. 8 เดือน ง. 12 เดอื น

9. ยาในกลมุ่ ใดใชถ้ ่ายพยาธิตัวกลมในสุกร

ก. เลวามโิ ซล ข. นิโคลซาไมด์ ค. แมนโซนนิ ง.ไนโตรซนิ นิ

10. ลูกสุกรแรกเกิดมีธาตเุ หล็กในรา่ งกายตดิ ตวั มาเท่าใด

ก. 30 มิลลิกรัม ข. 50 มลิ ลิกรัม ค. 80 มลิ ลกิ รมั ง. 100 มิลลกิ รมั

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
วชิ า การผลิตสุกร รหสั วิชา 2501-2304
หนว่ ยท่ี 7 เรอื่ ง การจดั การลกู สกุ รหลังคลอด (2)

1. ข
2. ค
3. ข
4. ง
5. ค
6. ก
7. ค
8. ง

129

9. ก
10. ข

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 7
ชอ่ื วิชา การผลติ สกุ ร สอนครั้งท่ี 25-36
ชอ่ื หน่วย การจัดการสุกรระยะตา่ ง ๆ ชั่วโมงรวม 24

ชอ่ื เรอื่ ง การจดั การสุกรขุนและการจัดจาหนา่ ย สอนคร้ังที่ 34-36 จานวนช่ัวโมง 6

130

สาระสาคญั
สุกรขุนหมายถึงสุกรเพศผู้ตอนและสุกรเพศเมียท่ีมีน้าหนักตัวตั้งแต่ 60 กิโลกรัมถึงส่งตลาด การให้

อาหารสุกรขนุ จะใหก้ นิ ตลอดเวลาแตค่ วรคานงึ ถึงการตกหล่นของอาหารและการจดั สุกรขนาดน้าหนักใกล้เคียง
กันไว้ในคอกเดียวกัน สุกรขุนต้องการพื้นที่ 1.2-1.5 ตารางเมตร/ตัว อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 16-20 องศา
เซลเซยี ส การตดั หางในขณะท่ยี งั เลก็ อย่กู เ็ พ่ือปูองกนั การกดั หางกนั ในช่วงสุกรขนุ นั่นเอง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสุกรขุน
2. เพ่อื ให้จัดการสกุ รขุนได้
3. เพือ่ ให้ทางานร่วมกับผอู้ ่ืนด้วยความรับผิดชอบรอบคอบปลอดภัย
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. บอกประโยชน์ของการจัดการสุกรขนุ ได้
2. จัดการสกุ รขนุ ได้ตามหลักการและกระบวนการ
3. ทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ด้วยความรบั ผิดชอบรอบคอบปลอดภัย

สาระการเรยี นรู้
1. การเตรยี มรับสุกรจากคอกอนุบาลมายังคอกสกุ รขุน
2. การรับสุกรเขา้ คอกขุน
3. การกัดหางกัน
4. การจบั สกุ รขนุ สง่ ตลาด

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ผูส้ อนทบทวนบทปฏิบตั ิการครั้งก่อนเร่ือง การจัดการลูกสุกรหลังคลอด(ต่อ) คือ การฉีดธาตุเหล็ก การตัด

เบอรห์ ู การตอนลกู สกุ รการถ่ายพยาธิและการทาวัคซีนอหวิ าตส์ ุกรพร้อมบอกว่าจะมี การจัดการสุกร
ขนั้ ตอ่ ไปคือ การจัดการสุกรขนุ (10 นาที)
2. แจกแบบทดสอบกอ่ นเรยี นให้ผูเ้ รยี นทา (10 นาท)ี
3. แบง่ ผเู้ รยี นออกเปน็ 5 กลุม่ ๆละ 3-5 คน ตามความสมัครใจ (5 นาท)ี
4. แจกใบความรทู้ ่ี 5.4 เรื่องการจดั การสุกรขุนให้ผู้เรียนศกึ ษา (25 นาที)
5. แจกใบงานที่ 5.5 เรือ่ งการเตรียมคอกสุกรขนุ ใหผ้ เู้ รยี นปฏิบัติการเตรียมคอกสกุ รขุนเพื่อรับลกู สุกรจาก
คอกอนบุ าลมายังคอกขุน (70 นาท)ี
6. แจกใบงานท่ี 5.6 เรอ่ื ง การรับลกู สกุ รจากคอกอนุบาลเข้าคอกขนุ ใหผ้ เู้ รียนปฏิบตั ิท้งั น้ีผู้สอนควรดูแลการ
ปฏบิ ตั ิงานอย่างใกล้ชิด (120 นาที)

131

7. แจกใบงานท่ี 5.7 เร่อื ง การจับสุกรขุนส่งตลาดให้ผู้เรยี นปฏบิ ตั ิ ทัง้ นผี้ ู้สอนตอ้ งนัดกับผูซ้ ้ือสุกร(พ่อค้า) มา
ให้ตรงกับเวลาทีม่ ีการปฏบิ ตั งิ านด้วย (90 นาท)ี

8. ผสู้ อนและผ้เู รียนรว่ มกันสรปุ ปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นในการปฏบิ ตั ิงานรวมถึงข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข (25
นาที)

9. แจกแบบทดสอบหลงั เรียนให้ผู้เรยี นทา (5 นาที)
รวม 360 นาที

สอ่ื การเรยี นการสอน
ส่อื สิ่งพิมพ์
1. ใบความรูท้ ี่ 5.4
2. ใบงานท่ี 5.5, 5.6, 5.7
3. แบบประเมนิ กิจกรรมกลุม่
4. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน
สื่อโสตทัศน์
1. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์
2. โปรเจคเตอร์ LCD.
สอ่ื ของจรงิ
1. อุปกรณ์ในคอกสุกรอาทิ ถงั อาหารกล อาหารสุกรขุน สายยาง ไมก้ วาดทางมะพร้าว ปนู ขาว
น้ายาฆา่ เชื้อโรค รองเทา้ บู๊ท คราดเหลก็ พลั่ว
2. ลกู สุกรอนบุ าลน้าหนักไม่ต่ากวา่ 15 กิโลกรมั จานวน 30 ตวั

การประเมนิ ผล
ส่ิงทปี่ ระเมิน
1. พฤติกรรมการเรียนรู้
2. ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
3. คุณธรรม จรยิ ธรรม
วิธปี ระเมิน
1. สงั เกตพฤตกิ รรมผ้เู รยี นขณะปฏบิ ัตงิ านใหค้ ะแนนลงในแบบประเมนิ กิจกรรมกลุ่ม
(15 คะแนน)
2. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน (5 คะแนน)
เครือ่ งมอื ประเมิน
1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม
2. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น

132

บนั ทกึ หลังการสอน
หนว่ ยที่ 7 เรอ่ื ง การจัดการสุกรขนุ
สอนคร้ังท่ี 34-36 จานวน 6 ชวั่ โมง

ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรียนของผู้เรียน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงช่อื ....................................ครูประจาวชิ า

133

ใบความรู้ท่ี 7.4

รหสั วิชา 2501-2202 ช่อื วิชา การผลิตสกุ ร สอนครงั้ ที่ 34-36
หนว่ ยท่ี 7 ชอื่ หนว่ ย การจัดการสุกรระยะต่าง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ชือ่ เร่อื ง การจัดการสกุ รขนุ เวลา 25 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการจัดการสกุ รขนุ
2. เพอ่ื ให้จัดการสกุ รขนุ ได้
3. เพื่อให้ทางานรว่ มกับผู้อื่นดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ รอบคอบ ปลอดภยั

เนื้อหาสาระ
1. การจดั การสกุ รขุน

1.1 การเตรียมรับสุกรจากคอกอนุบาลมายังคอกสุกรขนุ
- ลา้ งคอก , รางอาหาร . ถงั อาหาร
- พน่ นา้ ยาฆา่ เชือ้ โรคและยาฆา่ แมลง
- พักคอกให้แห้งทงิ้ ไว้ 1 สปั ดาห์
- เตรยี มอาหารและอปุ กรณ์ใหน้ ้าไว้ให้พร้อม

1.2 การรบั สุกรเข้าคอกขุน
- งดอาหารทเี่ ลา้ อนุบาลก่อน 1 มือ้ ก่อนยา้ ย
- ชัง่ น้าหนกั ลูกสกุ รทกุ ตวั ก่อนเขา้ ขุน
- แยกสุกรตามประเภทพนั ธ์ุ เพศ อายุ และขนาดให้ใกล้เคียงกัน
- ปอู งกนั และดูแลไม่ให้ลูกสกุ รกดั กันรนุ แรงเกนิ ไป

134

- ใช้นา้ ราดพืน้ คอกเปน็ ระยะเมอื่ ลูกสุกรหอบ
- ควบคุมการเปดิ ปิดมา่ นไมใ่ หล้ มโกรกเกนิ ไป
- เมื่อลูกสุกรมาถึงใหม่ ๆ ให้อาหารสูตรเดิม 3 ส่วน สูตรใหม่ 2 สว่ น
- วนั ที่ 2 ใหอ้ าหารสตู รเดิม 2 ส่วน สตู รใหม่ 2 สว่ น
- วนั ท่ี 3 ใหอ้ าหารสตู รเดิม 1 สว่ น สตู รใหม่ 3 ส่วน
- วันท่ี 4 ใหอ้ าหารสูตรใหม่ 100% ตามโปรแกรม
- ตรวจสงั เกตอาหารของลูกสกุ รผดิ ปกติ อาทิ :- นอนแยกตวั จากฝงู นอนหมอบห่อทอ้ ง
ขนลุกใต้ท้อง มีคาบนา้ ตา ดวงตาไม่สดใส ซมึ สวาปยุบ หายใจแรง ทาการรักษา แยกคอก
- ทาวคั ซีนตามโปรแกรม (ดังตาราง 5.1)

ตารางที่ 5-1 โปรแกรมวคั ซีนในสกุ รขุน/ทดแทน

ระยะสุกร รายการวคั ซนี ท่ีใช้

1. อายุ 6 สปั ดาห์ 1. อหวิ าต์สกุ ร

2. อายุ 8 สปั ดาห์ 2. ปากและเทา้ เปื่อย 3 ชนดิ /โพรงจมกู อักเสบ

3. อายุ 12 สปั ดาห์ 3. ปากและเทา้ เปื่อย 3 ชนิด/พิษสนุ ัขบ้าเทียม

4. อายุ 25 สปั ดาห์ 4. อหวิ าต์สกุ ร

5. อายุ 27 สปั ดาห์ 5. พิษสุนัขบา้ เทยี ม (กรณีไม่ได้ฉีดในชว่ งสุกรเลก็ )

6. อายุ 28 สัปดาห์ 6. ปากและเท้าเปื่อย

- การฝกึ สกุ รให้ถ่ายเป็นท่ี ให้กวาดมลู สกุ รไปรวมกนั ไว้บรเิ วณที่ต้องการและใช้น้าฉดี บรเิ วณน้นั ให้

เปยี ก กลิน่ ของมูลจะทาให้สุกรรู้ว่าเป็นทถี่ ่าย/หรืออาจนาสุขาไว้หลังคอกสุกรกไ็ ด้

2. การกัดหางกัน
สุกรบางตวั โดนกันอาจถงึ ตายได้
2.1 สาเหตุท่ที าใหส้ ุกรกัดหางกนั
- เลี้ยงสุกรหนาแน่นเกนิ ไป ทาใหเ้ กดิ ความเครียด
- สุกรไดร้ ับสารอาหารไม่เพียงพอ
- อุปนิสัยสว่ นตวั ของสุกร
2.2 แนวทางป้องกันการกดั หางกนั ของสุกร
- ควรตัดหางลูกสุกรออก 1/2 สว่ น ก่อนนาไปขุน

135

- แขวนโซ่ , ยางรถยนต์ , ลกู มะพรา้ ว ไว้ในคอกเพอื่ ให้ลกู สุกรกดั เล่น
- ขจัดสาเหตตุ ่าง ๆ ท่ที าใหเ้ กดิ ความเครยี ด
- แยกตวั ทีช่ อบกดั หางเพ่ือนเลีย้ งที่อนื่

3. การจบั สกุ รขนุ สง่ ตลาด
ตลาดของสุกรขุน หมายถึง ตลาดท่ีมีการซ้ือขายกันเฉพาะสุกรเพศผู้ตอนและสุกรสาว ที่มีอายุ 6-7

เดอื น นา้ หนัก 90-100 กโิ ลกรมั สกุ รเพศผูท้ ีไ่ มต่ อน หรอื สกุ รเพศเมียท่ีให้ลูกแล้ว คุณภาพซากจะไม่เป็นที่นิยม
ของผบู้ ริโภค ขอ้ ควรปฏิบัติในการจดั จาหนา่ ยสุกรขนุ มีดังนี้ :-

1. ยา้ ยสุกรขุนท่ีได้ขนาดจาหนา่ ยไปไวใ้ นคอกรอจาหนา่ ย
2. งดอาหารสุกร 24 ช่ัวโมง กอ่ นจบั ส่งตลาด เพราะถา้ สุกรกินอ่มิ อาจทาให้สุกรหอบและ
เครียดได้
3. ควรจับสง่ ตลาดในชว่ งอากาศเย็น อาทิ : กลางคนื , เชา้ มดื , เวลาเย็น
4. เมือ่ จบั ข้ึนรถแลว้ ควรฉีดนา้ ให้สุกร เพ่อื ชว่ ยลดความเครยี ด
5. ไมค่ วรจับสกุ รแน่นรถมากเกนิ ไป พยายามใหส้ กุ รเกดิ ความเครียดน้อยทสี่ ดุ
4. การใหน้ ้าสกุ รขุน
ปัจจุบันจะให้น้าแบบอัตโนมัติโดยใช้แบบนิปเป้ิล (nipple) ต่อเข้ากับท่อน้าให้สุกรดูดเอาเอง เม่ือ
ตอ้ งการกนิ นา้ สุกรจะได้กนิ น้าท่สี ะอาดอย่เู สมอพื้นคอกไม่เปียกแฉะน้า ไม่ขังสุกร ไม่ปัสสาวะใส่รางน้าเหมือน
แบบเดมิ

ตารางที่ 5-2 อตั ราการให้อาหารและใหน้ า้ สุกรขุนระยะต่าง ๆ

นา้ หนักสุกร วธิ ีการให้ ปรมิ าณอาหาร/ตัว/ F.C.R จุ๊บนา้ 1 อัน
วัน ต่อจานวนสกุ ร
โดยประมาณ(กโิ ลกรมั ) อาหาร 2.0-2.5
โดยประมาณ 2.5-3.2 (ตัว)
3.2-3.7 20
10-30 ให้กนิ เต็มที่ 0.6-1.2 3.7-4.2 15
15
30-60 ให้กินเตม็ ที่ 1.2-2.0 10

60-80 จากัดอาหาร 2.0-3.0

80-ขาย จากัดอาหาร 2.3-3.0

5. การอาบน้าสุกร
ในการเล้ียงสุกรขุน ยังไม่เป็นที่เด่นชัดหรือทดลองวิจัยชี้ชัดได้ว่าการอาบน้าให้สุกรมีข้อเสียหรือข้อดี

มากเกนิ ไป บางฟารม์ กไ็ ม่อาบนา้ ให้สกุ ร แต่บางฟารม์ กย็ งั อาบให้อยู่เช่นเดิม ในที่น้ีจะยกเหตุผลของการไม่ควร
อาบน้าใหส้ ุกรตามความติดเหน็ ของฟาร์มท่ีไม่อาบน้าให้แกส่ ุกรขนุ ดังน้ี

136

1. ทาให้สุขภาพของสุกรเสียโดยเฉพาะสกุ รน้าหนกั ต่ากวา่ 30 ก.ก. เม่ือถูกอาบน้าลมโกรก
แรง เกิดความเย็นจากน้าจะทาให้ระบบการย่อยชะงัก เกิดปัญหาท้องเสีย อาหารไม่ย่อย ปอดบวม ชะงักการ
เจริญเตบิ โต ร่างกายอ่อนแอ โรคแทรกง่าย สกุ รขนุ ทโี่ ตก็เช่นกัน โรคแทรกสว่ นมากได้แก่ ปอดบวม มีไข้ ไอ ไม่
ค่อยกินอาหารเปน็ ตน้

2. ทาให้เปลืองอาหารเพราะเมื่อสุกรถกู ความเยน็ จะทาให้สญู เสยี พลังงานความร้อนไปกบั
ความเยน็ ของน้าอาหารท่ีกนิ เขา้ ไปแทนทจ่ี ะไปชว่ ยทางด้านการเจริญเติบโตท้งั หมด แต่สว่ นหนงึ่ ตอ้ งไปสร้าง
พลังงานความร้อนเพอ่ื ชดเชยสว่ นที่เสียไป ดังนัน้ สุกรต้องกินอาหารมากขนึ้ แต่โตช้า

3. เปลืองแรงงาน เสียเวลาทางานอน่ื เสียค่าน้า ค่าไฟฟาู ป๊ัมน้า
4. ทาใหพ้ น้ื คอกเปยี กแฉะเปฯู ท่ีเพาะเชื้อโรค และทาใหส้ ุกรขาเจบ็ บ่อย ๆ โดยเฉพาะในสุกร
ใหญ่ เนอ่ื งจากกบี เท้าถูกนา้ จะนมิ่ และแตกงา่ ย
5. ทาใหส้ กุ รขนุ ไมท่ นรอ้ น เวลาจับส่งโรงฆ่าจะเสียหายจากการหอบตายและน้าหนกั
สูญเสยี จากการขนสง่ มากกวา่
6. ทาให้สุกรมีคุณภาพซากเลวลงไขมันมากขึน้ เนอื้ เละ

ตารางที่ 5-3 เปรยี บเทยี บการใหอ้ าหารสกุ รขนุ ทง้ั สองแบบ

แบบอัตโนมัติ (ad lib) แบบจากัด (Restrict)

1. สุกรโตเร็ว ใชร้ ะยะเวลาเลยี้ งสัน้ 1. สกุ รโตชา้ กว่า
อตั ราการแลกเนอ้ื ตา่ กวา่
2. อัตราการแลกเน้ือสงู กว่า 2. โอกาสทอ้ งเสยี มนี อ้ ยเพราะกินอาหารไดใ้ นจานวน
จากดั ไมม่ ากเกินไป
3. สุกรมโี อกาสทอ้ งเสยี ได้ง่ายโดยเฉพาะในสกุ รที่ยงั เลก็ 3. เพ่มิ แรงงานในการให้อาหาร
โอกาสสกุ รมีนา้ หนกั แตกต่างกนั มนี ้อยกว่าเพราะ
อยู่ ควบคมุ การใหอ้ าหารได้ทวั่ ถงึ
เหมาะสาหรับเลยี้ งสุกรขุน น.น. 60 ก.ก ขน้ึ ไป
4. ประหยดั แรงงานในการใหอ้ าหาร 4. จนถงึ ขาย ทาให้ไมอ่ ว้ น ไขมันน้อย คณุ ภาพซากดี

5. เมื่อเลยี้ งสกุ รไดร้ ะยะหนง่ึ สกุ รจะมขี นาดแตกตา่ งกัน 5.

ในคอกมากกวา่

6. เหมาะสาหรับสกุ รขนุ น.น.ไมเ่ กนิ 60 ก.ก. เพราะชว่ ง 6.

น้ีอาหารท่สี ุกรกินเข้าไปจะไปสรา้ งเนือ้ แดงมากกวา่

137

สรา้ งมัน

ใบงานท่ี 5.5

รหสั วชิ า 2501-2202 ช่ือวิชา การผลิตสกุ ร 3 (6) สอนครัง้ ท่ี 25-36
หน่วยท่ี 5 ชือ่ หนว่ ย การจดั การสกุ รระยะต่าง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ช่อื งาน การเตรียมคอกสุกรขนุ เวลา 70 นาที

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. เตรยี มคอกสุกรขุนเพ่ือให้พรอ้ มรบั ลูกสกุ รมาเลีย้ งได้
2. ทางานร่วมกับผู้อนื่ ดว้ ยความรอบคอบ รบั ผิดชอบ และปลอดภัย

วัสดุอุปกรณ์
1. อปุ กรณท์ าความสะอาดคอกสุกร คือ สายยาง, ไม้กวาดทางมะพรา้ ว, รองเทา้ บูท๊ , คราดเหล็ก,

ปนู ขาว, นา้ ยาฆ่าเชอื้ โรค, พล่ัว
2. ถังอาหาร

ลาดับขัน้ การปฏบิ ัติงาน
แบง่ ผู้เรียนออกเป็น 5 กล่มุ (อาจใช้กลุ่มเดิมก็ได้) ใหผ้ ู้เรียนทาความสะอาดคอกสุกรขุน กลมุ่ ละ 1

คอก โดยปฏิบัติดงั น้ี
1. เก็บมลู สดออกจากคอกไปตากทล่ี านตากมลู
2. ใชส้ ายยางฉีดน้าลา้ งคอก โดยใชพ้ ลวั่ , คราดเหล็ก และไมก้ วาดทางมะพรา้ วร่วมดว้ ย
3. เมอ่ื สะอาดดแี ล้ว ราดด้วยนา้ ยาฆ่าเชื้อโรค
4. โรยพน้ื คอกดว้ ยปูนขาว
5. ตั้งถังอาหารกลไวใ้ นคอกสุกร ตากคอกท้งิ ไว้ 1 สัปดาห์

การประเมินผล
1. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม

ใบงานที่ 7.6

รหัสวิชา 2501-2304 ช่อื วิชา การผลติ สุกร สอนครั้งท่ี 25-36
หนว่ ยท่ี 7 ช่อื หนว่ ย การจัดการสุกรระยะต่าง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ช่ืองาน การรับลูกสกุ รจากคอกอนุบาลเขา้ คอกสุกรขนุ เวลา 120 นาที

138

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ขนย้ายลกู สกุ รจากคอกอนบุ าลสูค่ อกขุนได้
2. ปฏิบตั งิ านโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภยั ของลูกสุกร

วัสดุอุปกรณ์
1. เครื่องชงั่ น้าหนัก ขนาด 200 กโิ ลกรัม
2. กรงขนย้ายลูกสกุ รหรือรถเกษตรกร
3. บตั รบนั ทึกน้าหนักลูกสุกร

ลาดับข้ันการปฏบิ ัติงาน
1. ให้ผูเ้ รยี นอยใู่ นกลุม่ เดิม
2. ให้แตล่ ะกลุ่มขนย้ายลกู สุกรกลุ่มละ 10 ตัว จากคอกอนุบาลไปสูค่ อกขุน
3. จับลกู สุกรจากคอกอนบุ าล ชงั่ น้าหนักลกู สุกรให้ได้ตัวละไม่น้อยกว่า 15 กิโลกรัม บันทึกเพศ

น้าหนกั ที่ชั่งได้ ลงในบตั รบันทึก
4. ใช้รถเกษตรกรหรือกรงขนย้ายลูกสกุ ร ย้ายลูกสกุ รจากคอกอนุบาลมาสคู่ อกขุน
5. คดั ขนาดลูกสุกรให้มีขนาดใกลเ้ คยี งกับเล้ยี งคอกเดียวกัน เพศเดยี วกันอยู่ในคอกเดยี วกัน
6. สังเกตพฤติกรรมลกู สุกรในคอกสุกร ใชเ้ วลาประมาณ 2 ชว่ั โมง จึงเริ่มใหอ้ าหารลูกสุกร

แลว้ รายงานผลสง่ ครผู สู้ อน

การประเมินผล
1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม

139

ใบงานท่ี 7.7

รหสั วชิ า 2501-2202 ชอ่ื วิชา การผลิตสกุ ร สอนครง้ั ท่ี 25-36
หน่วยท่ี 7 ช่ือหนว่ ย การจดั การสกุ รระยะตา่ ง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ช่อื งาน การจับสุกรขนุ สง่ ตลาด เวลา 90 นาที

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. รเู้ ทคนคิ วิธกี ารจบั สุกรขุนสง่ ตลาด
2. ทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ ด้วยความรับผดิ ชอบ รอบคอบ ปลอดภยั

วัสดุอุปกรณ์
1. กรงจับสุกรขนุ
2. เครื่องช่ังนา้ หนกั ขนาด 200 กโิ ลกรมั
3. สมดุ บนั ทกึ , เครอ่ื งคานวณ
4. สายยาง, น้า

ลาดับขัน้ การปฏิบตั งิ าน
1. ก่อนจบั สุกรจาหนา่ ยงดอาหารสกุ รอย่างน้อย 12-24 ชวั่ โมง แลว้ ชงั่ กรงจบั สุกรเปลา่
2. ใช้กลุ่มเดิมของผเู้ รียนใหจ้ ับสุกรขนุ ใสก่ รงจบั สุกร กล่มุ ละ 5 ตวั
3. ยกกรงสกุ รขุนขึ้นช่ังน้าหนักบนั ทกึ ไว้
4. ยกกรงสุกรขุนขนึ้ รถของพ่อคา้ ใช้สายยางรดน้าสุกรให้เยน็ สบาย
5. นานา้ หนกั กรงรวมสุกรลบดว้ ยน้าหนกั กรงเปล่า จะเป็นน้าหนักสทุ ธขิ องสกุ รขนุ แต่ละตวั
6. ใหแ้ ต่ละกล่มุ คานวณรายไดท้ ่ไี ด้จากการขายสุกร ตามราคาสกุ รขนุ ปัจจบุ ัน
7. สง่ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่คี รูผสู้ อน

การประเมนิ ผล
1. แบบบันทึกกิจกรรมกลมุ่

140

แบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่
เร่อื ง การจัดการสกุ รขุน
วันท.่ี ...........................................................กลุม่ ท่ี………………

รายการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ีไดใ้ นแต่ละกล่มุ
เต็ม 1 2 3 45
1. ขน้ั เตรียมการ (5)
1.1 ศึกษาใบงานและแบ่งงานภายในกลุ่ม
1.2 การเตรยี มอปุ กรณ์ 2
3
2. ขั้นดาเนนิ การ
2.1 การทาความสะอาดเตรยี มคอกสกุ รขุน (15)
2.2 การยา้ ยสกุ รเขา้ คอกขุน
2.3 การจบั สกุ รขุนสง่ ตลาด 5
5
3. ผลการดาเนนิ งาน 5
3.1 ความสะอาดของคอกสกุ รขุน
3.2 ผลการย้ายลกู สุกร (5)
3.3 ผลการจับสกุ รขนุ ส่งตลาด
2
4. คะแนนคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ พิสยั 1
4.1 การเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ
4.2 การมวี ินยั ในตนเอง 2
4.3 ความรับผดิ ชอบ
4.4 ความรอบคอบ (5)
4.5 ทางานโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภยั 1
รวม 1

1
1
1

30

ลงชื่อ........................................
(………………………..)
ผูป้ ระเมนิ ใหค้ ะแนน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

141

ข้ันเตรยี มการ คะแนน 5 = ศกึ ษาใบงาน แบง่ งานกันทาและเตรียมอุปกรณ์ช่วยกนั ทกุ คน
ขั้นดาเนินการ คะแนน 15 = ทางานทุกขัน้ ตอนดว้ ยความสาเรจ็ ไมเ่ กดิ ปญั หา
ผลการดาเนนิ งาน คะแนน 5 = คอกสะอาด การขนย้ายไปเกิดบาดเจบ็ แกล่ กู สกุ ร จับสกุ รขุนส่งตลาดสาเรจ็
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คะแนน 5 = เขา้ ร่วมกิจกรรมทกุ คน มีวนิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ รอบคอบและทางานโดยคานงึ ถงึ

ความปลอดภัยทุกขณะที่ทางาน

แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน
วชิ า การผลติ สุกร รหัสวิชา 2501-2304

หน่วยท่ี 7 เรือ่ ง การจัดการสกุ รขนุ

1. คอกสุกรขุนใช้เลี้ยงสกุ รน้าหนักเร่ิมต้นกี่กิโลกรัม

ก. 10 ข. 15 ค. 20 ง. 25

2. สุกรขุนตอ้ งการอุณหภูมิทเี่ หมาะสมก่ีองศาเซลเซยี ส

ก. 10 ข. 15 ค. 20 ง. 25

3. สุกรขุนต้องการพืน้ ทต่ี ่อตัวก่ตี ารางเมตร

ก. 1 ข. 1.5 ค. 2 ง. 7.5

4. โรงเรอื นสกุ รขนุ แต่ละหลงั ควรหา่ งกนั ก่เี มตร

ก. 15 ข. 30 ค. 45 ง. 60

5. โรงเรือนสกุ รขุนแบบใดแข็งแรงทส่ี ดุ

ก. เพิงหมาแหงน ข. หนา้ จัว่ ช้ันเดียว ค. หน้าจ่วั สองช้ัน ง. หนา้ จวั่ สองชนั้ กลาย

6. กอ่ นจบั สกุ รขนุ จาหน่ายให้งดอาหารสุกรอย่างน้อยกชี่ ัว่ โมง

ก. 3 ข. 6 ค. 9 ง. 12

7. เม่อื ทาความสะอาดคอกสกุ รขุนแลว้ ควรใชส้ ่ิงใดในการฆ่าเชื้อโรคพืน้ คอก

ก. ปนู ขาว ข. โซดาไฟ ค. ทิงเจอร์ไอโอดนี ง. เดทตอล

8. เราใชอ้ ะไรใสอ่ าหารใหส้ กุ รขุนกิน

ก. รางอาหาร ข. กระสอบอาหาร ค. ถงั อาหารกลม ง. เทลงพืน้ คอก

9. สขุ าในคอกสุกร ควรจดั วางไวใ้ นตาแหนง่ ใดของคอก

ก. หนา้ คอก ข. กลางคอก ค. บริเวณถงั อาหาร ง. ทา้ ยคอกใกลจ้ ุ๊บน้า

10. พ้นื คอกสุกรขุน ควรใช้สแลท็ ชนิดใด

142

ก. ปูน ข. พลาสติก ค. เหลก็ ง. ลวดถกั

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
วชิ า การเลย้ี งสุกร รหสั วชิ า 2501-2304

หน่วยท่ี 5 เรอื่ ง การจดั การสุกรขุน

1. ข
2. ค
3. ข
4. ข
5. ง
6. ง
7. ก
8. ค
9. ง
10. ก

143

ใบงานที่ 7.1 สอนครง้ั ที่ 10-11
เวลารวม 14 ชม.
รหัสวิชา 2501–2304 ชื่อวิชา การเลยี้ งสุกร
หน่วยที่ 7 ช่ือหน่วย การจดั การเลย้ี งดูสุกรระยะต่างๆ เวลา 60 นาที
ชอ่ื งาน การคัดเลือกสกุ รแมพ่ นั ธุ์

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. สามารถบอกไดว้ า่ สกุ รตวั ใดเหมาะสมเปน็ พ่อพันธุ์ได้ถูกต้อง
2. สามารถบอกไดว้ ่าสกุ รตัวใดเหมาะสมเป็นพ่อพนั ธุไ์ ดถ้ ูกต้อง

วสั ดอุ ุปกรณ์
1. สุกรพนั ธ์ุ 2 สาย จานวน 4 ตวั
2. แบบตัดสนิ สุกรพันธุ์

144

ลาดับขั้นการปฏิบัติงาน

ข้นั ท่ี 1 ศึกษาลักษณะทว่ั ไปของสกุ รพ่อ แม่พันธดุ์ ที เ่ี ตรยี มไวใ้ ห้
ข้ันที่ 2 จดั กลมุ่ สุกรทจี่ ะใหน้ ักเรียนคดั เลอื กออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 4 ตัว สุกรแต่ละกลุม่ จะเปน็ สุกรพันธุ์
เดียวกนั เพศเดียวกนั และอายุเทา่ กนั หรอื ใกลเ้ คียงกนั
ข้นั ที่ 3 ให้นักเรียนสงั เกตรูปรา่ ง ลักษณะขา และข้อขา ขน ผิวหนงั หนา้ ตา ฯลฯ มลี ักษณะทด่ี ี และแข็งแรง
หรือไม่
ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบจานวนเต้านม ตาแหนง่ และลักษณะของเต้านมวา่ มีการวางเปน็ ระเบยี บหรือไม่ มหี ัวนม
บอดหรอื ไม่ หวั นมกลับ หรือไม่
ขั้นที่ 5 สงั เกตขนาดของสกุ รให้เหมาะสมกบั อายุ
ขน้ั ที่ 6 ตรวจสอบประวตั ขิ องสกุ รแตล่ ะตวั
ขน้ั ที่ 7 ดลู ักษณะทางเพศ ต้องมีอวยั วะเพศเหมาะสมกับตัว
ขั้นที่ 8 ให้นกั เรยี นเลอื กสุกรที่เหมาะสมจะใช้เปน็ สกุ รพ่อแม่พนั ธุ์ จากกลุ่มสกุ รทีจ่ ดั ไวใ้ ห้ กลุม่ ละ 1 ตัว พร้อม
ใหเ้ หตผุ ลประกอบว่า เหตใุ ดจึงเลอื กสกุ รตัวนั้น จัดทารายงานส่งผสู้ อน

การประเมินผล
1.นักเรยี นทกุ คนสามารถคัดเลอื กสุกรเพศผ้แู ละสุกรเพศเมียจากกลุ่มสุกรทจ่ี ัดไวใ้ ห้ สาหรบั นาไปใช้เปน็ สุกร
แมพ่ ันธุไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม
2.นกั เรียนทุกคนสามารถให้เหตผุ ลประกอบในการคัดเลอื ก แมพ่ ันธ์ุนนั้ ไดอ้ ย่างเหมาะสมและถูกต้องตาม
หลกั เกณฑ์

แบบให้คะแนนการตดั สินสุกรพนั ธ์ุ
คะแนน 10 คะแนน เวลา 25 นาที
ช่อื ผู้ตัดสนิ .......................................................ชนั้ ................เลขที่……………

วัน เดือน ปี................

ลาดบั ที่ ลักษณะท่ีพจิ ารณาให้คะแนน คะแนนเต็ม หมายเลขสกุ รและคะแนนท่ีได้ หมายเหตุ
1 2 34
1 รูปร่างความสมส่วนของรา่ งกาย 10
2 หวั , ตา, หู 8

145

3 คาง ไหล่ 8
4 หน้าอก 7
5 แนวหลังและสันหลัง 10
6 ความยาวของลาตวั 8
7 แนวดา้ นข้าง 8
8 ลกั ษณะของเต้านมและความ 8

สมบูรณ์ของเตา้ นม 12
9 ขา เทา้ และกบี 8
10 ลกั ษณะของอวยั วะเพศ 6
11 สขุ ภาพและความสมบรู ณ์ 7
12 ผวิ หนัง สะโพก และบ้ันท้าย 100

รวมคะแนน
ลาดบั ที่

เหตผุ ล
1. สุกรหมายเลข……………..ไดท้ ี่ 1 เพราะว่า………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…….
2. สุกรหมายเลข……………..ไดท้ ี่ 2 เพราะว่า………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..…….
3. สกุ รหมายเลข……………..ได้ที่ 3 เพราะว่า………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….
4. สุกรหมายเลข……………..ได้ท่ี 4 เพราะว่า………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ........................................................ผู้ตัดสนิ

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 8
ชอ่ื วิชา การเล้ียงสุกร สอนคร้งั ท่ี 25-36

146

ชอ่ื หน่วย การสุขาภบิ าลและของเสียในฟารม์ ชว่ั โมงรวม 24

ชอื่ เร่อื ง การสุขาภิบาลและของเสียในฟาร์ม สอนคร้งั ที่ 34-36 จานวนช่ัวโมง 6

สาระสาคญั
การสุขาภบิ าล(Sanitation) หมายถึง การสรา้ งและปรบั ปรุงสิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือจะใหไ้ ดผ้ ลดีต่อ

สขุ ภาพอนามัย การเล้ยี งสกุ ร มีของเสียทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการผลติ สุกรคือ มลู สุกร การจัดการมลู สกุ ร จะชว่ ยลด
มลภาวะในฟาร์มสกุ ร และสง่ิ แวดล้อมโดยรวม เม่อื มีการจัดการมูลสุกรทด่ี ีจะทาใหเ้ กดิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน
และการนาไปใชป้ ระโยชน์ด้านอ่นื ๆ ทาให้ลดมลภาวะทจี่ ะเกดิ ขึน้ การดาเนินงานของฟารม์ สุกร

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป

1. เพ่อื ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจความหมายการสุขาภบิ าล และวิธีการสุขาภบิ าลฟาร์ม
2. เพ่อื ใหม้ คี วามรู้เร่ืองการจัดการของเสยี ในฟาร์ม

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. สามารถบอกความหมายของการสขุ าภบิ าลได้
2. สามารถบอกวิธีการสขุ าภิบาลในงานฟาร์มสกุ รได้
3. สามารถบอกวธิ กี ารนาของเสียในฟารม์ สุกรไปใชป้ ระโยชน์ได้

เนือ้ หาสาระ

การสุขาภบิ าล(Sanitation) หมายถงึ การสร้างและปรบั ปรงุ ส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือจะให้ไดผ้ ลดตี อ่ สุขภาพ
อนามัย

ประเภทของการสุขาภิบาล
1. การสขุ าภบิ าลท่ัวไป ไดแ้ ก่ การสรา้ งและปรบั ปรงุ น้ากินนา้ ใช้ สิ่งปฏิกลู การถ่ายเทอากาศ แสง แมลง
และศัตรรู บกวน รวมถงึ สง่ิ แวดล้อมอน่ื ๆ ท่ีก่อใหเ้ กิดผลเสียหายตา่ ง ๆ ต่อการดารงชีวติ ความเป็นอยู่ และ
สุขภาพอนามยั ของสตั ว์
2. การสุขาภบิ าลเฉพาะ ได้แก่ การสร้างและปรับปรุงสงิ่ แวดล้อมทจ่ี าเป็นต่อการดารงชพี โดยตรง เช่น
การสขุ าภบิ าลเรื่องอาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั และส่ิงแวดล้อมเฉพาะอย่างท่ีก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ สขุ ภาพอนามยั

147

การสุขาภิบาลในฟาร์มสกุ ร
1. โรงเรือน ควรมีแสงแดดส่องถึง และการระบายอากาศดี
2. ต้องเก็บกวาดมลู ล้างทาความสะอาดมูลสกุ ร ทุกวนั มีการพน่ ยาฆา่ เชื้อ 1– 2 ครั้ง ต่อ

เดือน
3. มอี ่าง นา้ ยาฆ่าเชื้อ ก่อนเขา้ โรงเรอื น
4. ควรห้ามบุคคลภายนอกเข้าในฟารม์ หากจาเปน็ ตอ้ งให้เปลี่ยนเส้อื ผ้า และจุ่มรองเท้า

ในอา่ งนา้ ยาฆา่ เชอื้
5. ถ้านาสุกรใหมเ่ ข้าฟารม์ ควรจะกกั ไว้แยกต่างหาก ประมาณ 15 วัน

5. เมอ่ื ขายสกุ รหมดคอกแลว้ ควรล้างทาความสะอาดพ้ืน ผนังคอก อุปกรณ์ทกุ ชนดิ ใน
โรงเรือนให้ หมด

7. เลยี้ งสุกรตามแผนการปฏบิ ัติงานทถ่ี ูกตอ้ งตามหลักวิชาการ
8. ต้องมีการกาจัดสัตว์ทเ่ี ปน็ โรคติดตอ่ โรคเรอ้ื รังออกจากฟาร์ม
9. ต้องดูแลสุขภาพสตั วอ์ ย่างใกลช้ ดิ เพื่อดคู วามผดิ ปกติ หากพบจะไดแ้ กไ้ ขได้ทนั การณ์

การเล้ยี งสกุ ร ปญั หาด้านมลภาวะทส่ี ่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม เช่น แมลงวนั และกลนิ่ เหม็นท่ีเกดิ ข้ึน
จากมลู สุกร ของเสียและมลภาวะอาจมาจากตัวสุกรโดยตรง และเปน็ ผลเน่ืองมาจากการจัดการเล้ยี งดู หากผู้
เลี้ยงไมม่ ีการจดั การใหถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม จะทาให้เกิดมลภาวะขึน้ ได้ เชน่ เปน็ แหล่งสะสมของเช้ือโรค ทา
ใหเ้ กดิ นา้ เนา่ เสยี ในแหลง่ น้าได้ กอ่ ใหเ้ กดิ กลนิ่ เน่าเหมน็ ชุมชนใกลเ้ คยี งและคนทั่วไป และส่งิ ท่ีไม่สามารถ
มองข้ามและละเลยไปได้ คือ หากฟาร์มเลย้ี งสัตว์ไม่มรี ะบบกาจดั ของเสยี อย่างถูกต้องและมมี าตรฐานแล้ว ก็จะ
เป็นประเดน็ ปญั หาขอ้ กีดกันทางการคา้ ของผูบ้ รโิ ภคในตลาดโลก ทาใหไ้ มส่ ามารถส่งออกเนือ้ สัตว์ และ
ผลิตภณั ฑ์จากสตั ว์ไปยังประเทศผนู้ าเขา้ ได้ การจัดการของเสียจะช่วยในการอนรุ ักษ์พลังงานและสงิ่ แวดล้อมที่
เกดิ ขึ้นในฟารม์ การนาของเสียมาใชป้ ระโยชน์ เช่น ใช้เป็นปยุ฻ บารุงดิน ใช้เป็นแหล่งผลิตแกส๊ ชีวภาพ การ
นาไปใช้เป็นอาหารสตั ว์ เป็นต้น ของเสียและมลภาวะจากฟาร์มสุกร เช่น มูลและปสั สาวะสกุ ร นา้ เสยี แมลงวนั
กลน่ิ และแกส๊ ฝนุ เสยี งรอ้ งของสกุ ร เศษอาหาร เป็นต้น

ส่ิงขบั ถา่ ยและเศษอาหาร
ส่ิงขับถ่ายจากสุกร ได้แกม่ ลู สุกร ปัสสาวะ มลู สกุ รท่ีไมม่ ีการนาออกไปจากโรงเรือนและถูกปลอ่ ยทิ้งไว้

จะเกิดการหมักหมม ทาใหเ้ กิดกลน่ิ เหม็น เป็นแหลง่ สะสมของเชอื้ โรคและแหลง่ เพาะพนั ธุ์แมลงวนั หากเลี้ยง
สุกรท่มี นี ้าหนักตงั้ แต่ 15 กโิ ลกรมั จนมนี า้ หนักประมาณ 95 กิโลกรัม จะถ่ายมูลเปยี กประมาณ 440 กิโลกรัม
และปสั สาวะประมาณ 2-3 เท่าของมลู ทั้งน้สี ดั สว่ นและปรมิ าณของส่งิ ขับถ่ายที่เปน็ ของแข็ง และของเหลวน้ี
จะขน้ึ อยกู่ ับชนดิ อายุ และขนาดตวั สุกร ชนดิ ของอาหารท่ีกนิ ลักษณะโรงเรอื น และการเลี้ยงดู ฯลฯ

148

การกาจดั ของเสยี จากฟารม์ สุกร
การกาจัดของเสียจากฟารม์ สุกร ตอ้ งมีการวางแผน เตรียมและดาเนนิ การอย่างจรงิ จังและสมา่ เสมอ

โดยยดึ หลักการปูองกันไม่ใหม้ ีการสะสมและหมักหมมของส่ิงปฏิกลู และการกาจดั หรอื บาบัดสิ่งปฏิกูลใหห้ มด
ไปจากฟารม์ อย่างถกู ต้องและเหมาะสม วธิ กี ารกาจัดของเสียจากฟาร์มสกุ รจะมีความแตกต่างกนั ขึ้นอยู่กับ
ปรมิ าณของเสีย ทนุ ฯลฯ โดยท่วั ไปการจากดั ของฟาร์มสุกรไดแ้ ก่

1. การเกบ็ มูลสุกรสดประจาวัน แล้วรวบรวมมลู ท่เี กบ็ กวาดไปไวใ้ นทห่ี า่ งไกลจากโรงเรือนเล้ยี งสกุ ร
และที่อยู่อาศยั เพ่ือทาให้การล้างทาความสะอาดคอกเกิดความสะดวก ประหยัดน้าและยังเป็นการชว่ ยกาจดั
น้าเสยี จากน้าท้ิง มลู ทรี่ วบรวมไว้สามารถกาจดั หรือนาไปใช้ประโยชนไ์ ดโ้ ดย

1.1 ขายออกจากฟาร์มโดยเรว็
1.2 ตากแหง้ หากมีลานสาหรับตากแหง้ จากนั้นขายมูลแห้งออกจากฟารม์ โดยเร็ว หรอื นาไปใช้
ประโยชนเ์ ป็นอาหารปลา เป็นตน้
2. การมีบ่อตกตะกอนไว้แตล่ ะโรงเรือน เพ่ือรองรับนา้ ลา้ งคอก และเป็นที่ดักตะกอนโดยมีตะแกรงปิด
บริเวณปากบอ่ เกรอะนอกจากจะช่วยในการกาจัดของเสยี จากกน้ บ่อแล้ว ยังเป็นการชว่ ยรกั ษาบ่อใหอ้ ยู่ใน
สภาพท่ใี ช้งานได้
3. การบาบัดของเสยี ทเี่ ป็นของเหลว หลงั จากแยกของแข็งบางส่วนดว้ ยการกรองและการตกตะกอน
แลว้ ของเสยี ส่วนทเี่ ป็นของเหลวควรได้รับการบาบดั ให้มีคุณภาพดีข้ึนในระดับท่ีไม่ก่อให้เกิดปัญหามลภาวะ
เมอ่ื ไหลลงสแู่ หลง่ น้าสาธารณะ วิธีการบาบดั นา้ เสียสามารถทาไดด้ ว้ ยวธิ ี ตา่ ง ๆ ดังน้ี
3.1 ระบบเตมิ อากาศ (Areated lagoon) เชน่ การใช้ใบพัดตนี ้าเพ่ือเป็นการเตมิ ออกซิเจนลงในน้า
เพอื่ ให้เกิดการยอ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ์ วธิ ีนต้ี อ้ งใช้พืน้ ทบ่ี ่อพอสมควรและตอ้ งเสียคา่ ไฟ
3.2 ระบบบ่อออกซเิ ดชัน หรือบ่อเขียวหรือบ่อผงึ่ น้า (Oxidation pond) เป็นการบาบดั น้าเสยี โดย
ธรรมชาตดิ ้วยการใช้แพลงตอน และสาหรา่ ยสเี ขยี วทางานร่วมกนั กับแบคทเี รยี ที่ใช้ออกซิเจน วธิ นี ้ีตอ้ งใช้บอ่ ท่ี
มแี สงแดดส่องถงึ ไมต่ ้องเสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินการ
3.3 ระบบตะแกรงร่อน (Activated sludge) วธิ ีนใ้ี ชพ้ ืน้ ที่น้อย แตต่ ้องมคี วามรแู้ ละความชานาญใน
การดแู ลรักษา และต้องลงทนุ จดั หาเครอ่ื งจักรกลและสร้างถงั เก็บตะกอนท่ีมแี บคทเี รยี จานวนมากอยูเ่ พอื่ นา
กลบั มาใช้ยอ่ ยสลายสารอินทรยี ใ์ หม่ แลว้ ปลอ่ ยเฉพาะสว่ นนา้ ใสใหล้ ้นออกไป
3.4 ระบบบาบัดแบบไร้ออกซิเจน (Anaerobic treatment) เปน็ ชวี ภาพทีอ่ าศัยแบคทเี รียทไี่ ม่
ต้องการออกซเิ จนในการย่อยสลายสารอนิ ทรีย์ ซง่ึ จะได้แก๊สมีเทนและแกส๊ คาร์บอนไดออกโซด์ในสดั สว่ น
ประมาณ 60 ตอ่ 40 โดยปรมิ าตร แก๊สมเี ทนนสี้ ามารถนาไปใชเ้ ปน็ แกส๊ หงุ ตม้ วีธนี ใ้ี ช้เงินลงทุนสูงและต้องใช้
เทคโนโลยีการกอ่ สรา้ งและการดแู ลรกั ษา แต่ในระยะยาวจะให้ผลคุม้ ค่า ตะกอนที่เหลือสามารถนามาใช้เปน็
ปย฻ุ ทม่ี ีคุณภาพดีอกี ด้วย สาหรบั ฟาร์มสกุ รขนาดเลก็ การนาสารอเี อม็ หรือเชื้อแบคทีเรยี บางชนดิ เชน่ เชอ้ื
บาซิลลสั มาใชผ้ สมนา้ ใสใ่ นบ่อเก็บกกั นา้ เสีย จะเป็นวิธีท่มี ีการลงทุนตา่

149

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครแู จกแบบทดสอบกอ่ นเรยี นให้นกั ศึกษาทา
2. แบง่ นกั ศึกษาออกเป็นกลุ่ม นกั ศึกษาช่วยกนั ให้ความหมายการอนรุ ักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม
และบอกถงึ วธิ ีการอนรุ ักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อมในฟาร์มสุกร
3. นกั ศึกษาแตล่ ะกลุม่ เลือกตัวแทน เพอื่ นาเสนอความหมายและวธิ กี ารอนรุ กั ษ์พลงั งานและ
สง่ิ แวดลอ้ มในฟารม์ สกุ ร
4. ครูบรรยายประกอบส่ือภาพ จากสไลดค์ อมพวิ เตอร์ ให้ความรู้วิธีการอนรุ กั ษ์พลังงานและ
สงิ่ แวดล้อมในฟารม์ สกุ ร
5. ครแู ละนกั ศกึ ษาร่วมกนั สรุปความรูว้ ิธีการอนุรกั ษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อมในฟาร์มสกุ ร
6. ครแู จกแบบทดสอบหลงั เรียนให้นกั ศึกษาทา

ส่อื การสอน
1.สไลด์ภาพประกอบการบรรยาย จากคอมพวิ เตอร์

วดั ผลประเมนิ ผล
1.ประเมนิ จากแบบประเมนิ ผลก่อน-หลงั เรียน
2.งานมอบหมาย

เอกสารอ้างอิง

1. สถาบนั เทคโนโลยกี ๊าซชวี ภาพ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 2553 (ออนไลน์)สืบคน้ วนั ท่ี 19 พฤษภาคม 2553
สืบค้นจาก http://teenet.chiangmai.ac.th/btc/btc.php

2. มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช 2549.การจัดการผลิตสุกรและสัตว์ปีก. นนทบุรี : สานกั พมิ พ์
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

3. จาเนียร สัตยาพนั ธุ์ . 2527 . สขุ ศาสตรส์ ัตว์ . กรงุ เทพฯ : ภาควิชาสตั วบาล คณะเกษตร
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

แบบประเมนิ ผล
1. การสุขาภิบาลมีความหมายวา่ อยา่ งไร
2. การสุขาภบิ าลมกี ่ีประเภทอะไรบา้ ง พรอ้ มยกตัวอย่าง
3. จงบอกวธิ กี ารสุขาภิบาลในฟาร์มสุกร(บอกอยา่ งน้อย 3 ขอ้ )
4. จงบอกวิธกี ารจัดการของเสียในฟาร์มสกุ ร(อยา่ งน้อย 3 ข้อ)


Click to View FlipBook Version