The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วิร้ตน์ ปุ่นอุดม, 2019-06-04 03:00:13

unit1

unit1

150

5. จงบอกวธิ ีการนาของเสียในฟารม์ สกุ รไปใช้ประโยชน(์ บอกอยา่ งน้อย 3 ขอ้ )

ใบงานที่ 8 สอนครั้งท่ี 25-36
เวลารวม 24 ชม.
รหัสวิชา 2501-2304 ชอ่ื วิชา การเลีย้ งสกุ ร เวลา 30 วัน
หนว่ ยที่ 8 ชอ่ื หนว่ ย การจดั การสุขาภิบาลและของเสียในฟารม์
ชอื่ งาน การจัดการสขุ าภิบาลและของเสยี ในฟาร์ม

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. สามารถจดั การของเสียในฟารม์ สุกรได้

วัสดุอุปกรณ์
1. รถเข็นมูลสุกร
2. พลั่ว
2. มลู สกุ รสด
3. มลู สุกรตกแหง้
4. แปลงผัก

ลาดบั ขั้นการปฏบิ ัตงิ าน

151

ข้นั ที่ 1 แบ่งกลมุ่ นกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 คน ใหส้ ารวจลักษณะของมูลสุกรท่มี อี ยู่ในฟาร์มวา่ มลี ักษณะ
อย่างไร
ขน้ั ที่ 2 จากลักษณะของมูลสกุ รท่ีปรากฏ ใหภ้ ายในกลุ่มร่วมแสดงความคิดเหน็ ว่าจะนาไปใชป้ ระโยชน์ดว้ ยวธิ ี
ใดบา้ ง
ขั้นท่ี 3 นักเรยี นเลอื กวิธีการใชป้ ระโยชน์จากมลู สกุ รท่ีคิดวา่ ทาได้มากลุ่มละ 1 วธิ ี
ขัน้ ที่ 4 ลงมือปฏิบตั ิตามท่ีแตล่ ะกลมุ่ เสนอ(กรณีวิทยาลัยมีความพร้อม)หรือเลือกวิธกี ารใชป้ ระโยชน์มูลสุกร
เป็นปยุ฻ ของพชื โดยมีขน้ั ตอนการปฏิบตั ดิ งั นี้

4.1 เกบ็ มลู สุกรออกจากคอก
4.2 ตากมลู สดในลานตากมลู สกุ ร
4.3 บรรจมุ ูลแหง้ ในกระสอบอาหารสัตว์
4.4 นามูลสุกรแห้งใสต่ น้ พืชในปริมาณท่เี หมาะสม
4.5 พรวนดินรดนา้ ใหช้ ุ่มชื้น
4.6 สงั เกตการณ์เปล่ียนแปลงของพชื หลังจากใส่ปย฻ุ แลว้ 15 วัน
4.7 บนั ทกึ ผลการเปลีย่ นแปลงของพชื

การวัดผล
1. พิจารณาจากความสามารถในการแสดงความคิดเห็นในแต่ละคน
2. ปฏบิ ตั กิ ารนามลู สกุ รไปใชป้ ระโยชน์อย่างนอ้ ย 1 วธิ ี
3. พจิ ารณากระบวนการทางานและความร่วมมือในการทางานภายในกลมุ่ มีมากน้อยเพียงใด

แบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่

เรือ่ ง การจัดการสขุ าภิบาลและของเสียในฟาร์ม

วนั ท่ี............................................................กลุม่ ท่ี………………

รายการประเมิน คะแนน คะแนนท่ีไดใ้ นแตล่ ะกลุ่ม
เตม็ 1 2 3 45
1. ขัน้ เตรียมการ (5)
1.1 ศึกษาใบงานและแบง่ งานภายในกลุ่ม
1.2 การเตรียมอปุ กรณ์ 2
3
2. ขน้ั ดาเนินการ
(15)
2.1 เกบ็ มูลสกุ รออกจากคอก
2.2 ตากมูลสดในลานตากมูลสกุ ร 5
2.3 บรรจมุ ลู แห้งในกระสอบอาหารสตั ว์ 5
5

152

2.4 นามลู สุกรแหง้ ใสต่ น้ พืชในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม

3. ผลการดาเนินงาน (5)
3.1 ความสะอาดของคอกสุกร
3.2 ผลการตากมลู ความแหง้ ของมูล 2
3.3 ผลการเจรญิ เติบโตของพชื 1

4. คะแนนคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ พิสัย 2
4.1 การเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม
4.2 การมวี นิ ัยในตนเอง (5)
4.3 ความรับผดิ ชอบ 1
4.4 ความรอบคอบ 1
4.5 ทางานโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัย
รวม 1
1
1

30

ลงชอื่ ........................................
(………………………..)
ผ้ปู ระเมนิ ใหค้ ะแนน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ขน้ั เตรยี มการ คะแนน 5 = ศึกษาใบงาน แบง่ งานกนั ทาและเตรยี มอปุ กรณ์ชว่ ยกันทกุ คน
ขั้นดาเนนิ การ คะแนน 15 = ทางานทุกขั้นตอนดว้ ยความสาเรจ็ ไมเ่ กดิ ปญั หา
ผลการดาเนินงาน คะแนน 5 = คอกสะอาด มลู สุกรแหง้ สามารถนาไปใชป้ ลกู พืช พืชเจริญเตบิ โต
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คะแนน 5 = เขา้ รว่ มกิจกรรมทกุ คน มีวนิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบ รอบคอบและทางานโดยคานงึ ถงึ

ความปลอดภัยทกุ ขณะทที่ างาน

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 9
ชอื่ วิชา การผลิตสุกร สอนครั้งที่ 25-36
ชื่อหน่วย โรคและการปอู งกัน ชั่วโมงรวม 24

ช่อื เรื่อง โรคและการปูองกัน สอนครั้งท่ี 34-36 จานวนชวั่ โมง 6

สาระสาคัญ

153

การเลย้ี งสกุ ร โรคสุกรนับเป็นอีกปัจจัยท่ีมีความสาคัญ และมีผลต่อการลงทุน เน่ืองจากภาวะของโรค
เมอ่ื เกิดขน้ึ แลว้ จะส่งผลถงึ ต้นทุนการผลติ และถ้าไม่มีการปูองกันและควบคุมโรคท่ีดี อาจส่งผลถึงการขาดทุน
ได้ การควบคมุ และปอู งกนั โรคสุกร จงึ เปน็ สง่ิ ที่สาคญั ในการจัดการเล้ยี งสุกร

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เพ่อื ให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ความหมายของโรค
2. เพอื่ ให้มีความรูเ้ ร่ืองโรค สาเหตุของการเกิดโรค การปูองกนั และรักษาโรคในสกุ ร
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. สามารถบอกความหมายของโรคสตั วไ์ ด้
2. สามารถบอกสาเหตขุ องการเกดิ โรคได้
3. บอกอาการของโรค และการปูองกันควบคมุ โรคได้
4. ทางานร่วมกับผู้อื่นด้วยความรบั ผิดชอบ

เนือ้ หาสาระ
โรค (disease ) หมายถึง สภาวะอย่างหนึ่งที่ร่างกายส่วนใดส่วนหน่ึงหรือทุกส่วนไม่สามารถทา

หนา้ ทตี่ ามปกตไิ ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
โรคสัตว์ ( Animal disease ) หมายถึง สภาพของสัตว์ที่แสดงอาการผิดปกติไปจากธรรมชาติซึ่งทา

ให้ร่างกายไมส่ ามารถปฏบิ ัตงิ านในทางสรีระวทิ ยาได้

สาเหตขุ องการเกิดโรค
สาเหตุของการเกดิ โรคในร่างกายสตั ว์ เกดิ ได้ 2 สาเหตใุ หญ่ ๆ ดงั นี้
1. สาเหตทุ ีท่ าให้เกดิ โรคโดยตรง คือสาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ อาการของโรคกับอวัยวะของสัตว์โดยตรง ซึ่ง
เกิดไดห้ ลายประการ คอื
1.1 การไดร้ ับการกระทบกระเทือนหรือกระแทกกับสิง่ ของหรอื ของแขง็ ทีท่ าให้เกิดบาดแผล
1.2 ได้รับสารเคมี ท้งั ที่กินเข้าส่รู ่างกายหรือสัมผัสกบั อวัยวะภายนอก
1.3 ไดร้ บั อาหารไม่ถูกต้องไม่ตรงกับความต้องการและขาดโภชนะ
1.4 ได้รับเชือ้ จุลินทรยี เ์ ขา้ ส่รู า่ งกายรวมทั้งพยาธติ า่ ง ๆ

2. สาเหตุชักนาทาให้เกิดโรค เป็นสาเหตุที่ไม่ได้ทาให้เกิดโรคกับสัตว์โดยตรง แต่เป็นปัจจัยท่ีช่วย
กระตนุ้ ใหเ้ กิดโรคไดง้ ่าย เชน่

154

1. อายุโรคหลายชนิดเกิดข้ึนเฉพาะกับสัตว์อายุที่แตกต่างกัน เช่นสัตว์อายุน้อย มักเป็นโรค
กระดูกอ่อน สัตว์อายุมากมักเป็นโรคเก่ียวกับระบบย่อยอาหาร สัตว์อายุน้อยมักเกิดโรคได้ง่ายกว่าสัตว์อายุ
มาก เนอ่ื งจากมีความแข็งแรงและมคี วามตา้ นทานโรคน้อยกวา่

2. เพศ โรคบางชนิด เกิดข้ึนเฉพาะเพศ เช่น โรคนิ่วในท่อปัสสาวะมักเกิดกับสัตว์เพศผู้
มากกว่าเพศเมีย และสตั ว์เพศผจู้ ะไมเ่ ปน็ โรคเต้านมอักเสบและมดลูกอักเสบ

3. สี สีของขนและสีผวิ ของสตั ว์ มีสว่ นทาให้เกดิ โรคได้ เช่น โรคฝีมักจะเป็นกับสุกรที่มีขน
สีแดง หรอื สีเข้มเช่นสุกรพันธ์ดุ ูรอค

4. ลักษณะอวัยวะท่ีเหมาะสม อวัยวะของสัตว์แต่ละส่วนมีความเหมาะสมกับการเกิดโรค
แตกต่างกัน เช่น ปอดของสุกรเล็กและสุกรรุ่น จะเป็นอวัยวะที่เชื้อโรคปอดบวมชอบทาลายมากกว่าปอด
ของสุกรขนุ หรือพอ่ แม่พันธุ์ และสกุ รทขี่ อ้ เทา้ ออ่ นมักจะทาให้เกิดการอักเสบได้ง่าย

5. โรคทีเ่ คยเปน็ มากอ่ น โรคบางชนดิ ถา้ สัตวเ์ คยได้รบั เชอ้ื มาก่อนหรือเคยเป็นโรคน้ันมาก่อน จะ
มีภูมิคุ้มกันและจะไม่เป็นอีกเลย เช่น โรคลงแดงในโค ( รินเดอร์เปสท์ ) แต่โรคบางชนิดเม่ือเกิดขึ้นกับสัตว์
แล้ว มักจะเกดิ ขนึ้ อกี เช่น โรคหวั ใจ ไตพิการ โรคปอดบวม

6. การแพ้โรค เป็นลักษณะพิเศษเฉพาะตัวของสัตว์ท่ีมีความต้านทานโรคได้แตกต่างกัน เช่น
เป็ดมักจะแพพ้ ษิ จากเชื้อราไดร้ นุ แรง กวา่ ไก่ และสุกรเปน็ ตน้

7. การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิอย่างทันทีทันใด ทาให้สัตว์ปรับตัวไม่ทันเกิดความเครียดความ
ต้านทานโรคลดลง มโี อกาสเกดิ โรคได้ง่าย

8. สภาพอากาศ อากาศที่มีความร้อนชื้น ลมโกรก ทาให้สัตว์ปุวยได้ง่ายกว่าอากาศอบอุ่น
เชน่ อากาศเยน็ ทาใหส้ กุ รเป็นโรคไดง้ ่ายกวา่ อากาศร้อน

9. พันธกุ รรม โรคบางชนดิ เกิดจากการตดิ ต่อทางพนั ธุกรรม เช่น โรคพกิ าร โรคไส้เลอ่ื น
10 ความเครียด การกระทาให้สตั วเ์ กดิ อาการเครียด จะทาให้ความต้านทานโรคในร่างกายสัตว์
ลดลง สัตวอ์ อ่ นแอและจะปวุ ยได้ง่าย

ประเภทของโรคสัตว์
โรคสตั วส์ ามารถแบง่ ออกได้หลายประเภท ดังนี้
1 แบง่ ตาม ลกั ษณะอาการของการแพร่ของโรค
1.1 โรคระบาด หรือโรคติดต่อ ( Coutagious disease ) คือโรคท่ีเกิดจากการติดต่อของเชื้อ

โรคและมีการระบาดไปได้อยา่ งรวดเร็ว เชน่ โรคแอนแทรกซ์ โรคอหวิ าต์
1.2 โรคไม่ตดิ ตอ่ ( Non – Coutagious disease ) คือโรคทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ไม่มี การติดต่อ

ไปยงั สัตว์ตัวอื่น เช่น โรคฝี หนองธรรมดา โรคขาดอาหาร โรคขอ้ อักเสบท่ีเกดิ จากการติดเช้ือ
2 แบง่ ตามชนิดของเช้อื โรคทท่ี าใหเ้ กิดโรค
2.1 โรคท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ( Bacterial disease ) เช่น วัณโรคบาดทะยัก และ โรค

ปอดบวม เป็นตน้

155

2.2 โรคที่เกิดจากเช้ือไวรัส (Viral disease) เช่น โรคปากและเท้าเปื่อย โรคอหิวาต์สุกร
และโรคพิษสุนัขบา้ เทียม เปน็ ตน้

2.3 โรคที่เกิดจากตัวเบียฬ ( Parasitic disease ) เช่น โรคข้ีเรื้อน ซ่ึงเกิดจากตัวไร โรค
บิดท่ีเกิดจากเช้อื บดิ รวมท้ังพยาธติ ่าง ๆ

2.4 โรคท่ีเกิดจากเชื้อรา (Fungi disease) เช่นโรคฝีประคาร้อย (Epizootic Lymphangitis )
และโรคทีเ่ กิดจากการไดร้ บั สารพิษจากเช้อื รา

6. โรคทสี่ าคญั ในสกุ รและการปอ้ งกันรกั ษา
โรคสุกรส่วนใหญ่ท่ีเกิดขึ้นมักมีสาเหตุมาจากการจัดการฟาร์มท่ีไม่ดี เกิดการติดเช้ือ หรืออาจไม่

ได้มาจากการติดเช้ือก็ได้ ซ่ึงโรคท่ีจะกล่าวถึงน้ีเป็นโรคสุกรที่สามารถพบได้โดยท่ัวไป ส่วนใหญ่จะเป็นโรค
ระบาดที่ทาความเสียหายกับผู้เล้ียงอย่างมาก ก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล รวมท้ังทาให้
ตลาดสุกรต่างประเทศต้ังข้อรังเกียจในการส่ังนาเข้าเน้ือสุกรจาก ประเทศไทยด้วย (วิมล อยู่ยืนยง, 2554:
206) และ(สรุ พล แก้วมงคล, 2553: 69) ไดส้ รุปโรคทีส่ าคญั ในสกุ รและการปอู งกนั รักษาไว้ ดงั น้ี

6.1 โรคสุกรท่ีเกดิ จากเชอ้ื ไวรสั เชอื้ ไวรัสที่เกดิ โรคและสรา้ งความสูญเสียต่อการเลี้ยงสุกรในประเทศ
ทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ โรคอหวิ าต์สกุ ร โรคพารโ์ วไวรัส โรคพิษสุนัขบ้าเทียม โรคกระเพาะและลาไส้อักเสบ โรคพีอาร์
อาร์เอส และโรคปากและเท้าเปื่อย โรคเหล่าน้ีรักษาไม่ได้ผล เพราะไม่มียาฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง ต้องใช้
หลักการสุขาภิบาลโดยการปูองกันและควบคุมโรคท่ีดี กรณีมีโรคระบาดในฟาร์มสุกร หรือบริเวณใกล้เคียง
ต้องวางโปรแกรมการให้วัคซีนแก่สุกรด้วย เพื่อเพิ่ม ภูมิต้านทานโรคให้กับสุกรในฟาร์ม ดังรายละเอียด
ดังน้ี

6.1.1 โรคอหิวาต์สุกร (Swine fever) เป็นโรคที่เกิดจากเช้ือไวรัส มีระยะฟักตัวของเช้ือโรค
ประมาณ 5-10 วนั อาการท่แี สดงออกมาในรายที่รุนแรงสังเกตได้จากสุกรจะมีไข้สูง ตัวส่ัน เดินโซเซ ยืนทรง
ตัวไม่ได้ล้มแล้วลุกไม่ขึ้น และตายในอีก 2-3 ช่ัวโมงต่อมา ส่วนสุกรที่ยังไม่ตาย จะมีไข้สูงประมาณ 41-41
ดีกรีเซ็นติเกรด หรือ105-107 องศาฟาเรนไฮต์ เดินหัวตก หลังโค้ง เดินโขยกเขยก นอนสุมกัน มีน้ามูกน้าตา
ไหล หนังตาปิด ท้องผูกถ่ายออกมาคล้ายเม็ดกระสุน ต่อมาจะเหลวเป็นน้ามีสีเหลืองปนมา ในระยะท้ายๆจะ
พบผวิ หนังบรเิ วณใต้ท้องและขาหนีบมีผ่ืนมว่ งแดง และลามไปที่จมูก ใบหูและด้านข้างของลาตัว แม่สุกรท่ีท้อง
อาจแท้งลูก หรือลูกท่ีคลอดออกมาอ่อนแอหรือตายทั้งหมด สุกรจะผอม ผิวหนังที่โคนหูและตามบริเวณหน้า
ท้องเปน็ ผื่นแดง แสดงอาการนานเป็นเดอื นและตายภายใน 30-95 วัน หลงั เรมิ่ แสดงอาการ

การควบคุมและปูองกันโรค โดยฉีดวัคซีนปูองกันโรคตามโปรแกรมท่ีกาหนดไว้ มีการ
จัดการสุขาภิบาลของฟาร์มให้สะอาด กักสุกรที่ซ้ือใหม่อย่างน้อย 2 สัปดาห์ และทาวัคซีนสุกรให้ก่อนรวมฝูง
รีบแยกสกุ รปุวยไวต้ า่ งหาก เมอื่ สกุ รตายด้วยโรคนตี้ ้องเผาหรอื ฝงั ซากใหล้ กึ สว่ นการรักษาโรคไม่มียารักษา แต่
เมือ่ พบเรมิ่ แสดงอาการให้รกั ษาตามอาการ เช่น ยาปฏิชวี นะ ฉีดนาน 5 วัน ในรายที่เป็นซ่ึงมีอาการหนักมาก
ต้องรีบแยกออกโดยเรว็ และสกุ รท่ยี งั ไม่ปุวยแต่อยใู่ นแหล่งระบาดโรค หรอื ใกล้เคียง ควรรบี ทาวัคซนี ซา้

156

6.1.2 โรคพาร์โวไวรัส (Parvovirus) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ระยะฟักตัวของโรคประมาณ
1-2 วัน สกุ รแสดงอาการเป็นโรคให้เห็น คือ เกิดความผิดปกติทางระบบสืบพันธุ์ที่ได้รับเช้ือโรคน้ี โดยทาให้
ตวั อ่อนท่อี ายุไม่ถึง 70 วนั ตายและแท้งลกู ลักษณะเปน็ ลูกกรอก ส่วนลูกที่มีชีวิตจะอ่อนแอ ลูกตายในท้อง หรือ
ตายขณะคลอด จานวนของลกู กรอกจะเพมิ่ ขน้ึ ระยะการเป็นสัดช้าออกไปกว่าปกติในสุกรสาวมักพบผสมไม่ติด
และเกดิ การแท้งชว่ งตน้ ของการตง้ั ทอ้ ง

การควบคุมและปูองกันโรค เน้นทาวัคซีนในสุกรสาว สุกรพ่อและสุกรแม่พันธ์ุ ประมาณ 2
สัปดาห์ ก่อนผสมพันธ์ุ หรือนาสุกรสาวมาคลุกรวมกับแม่สุกรท่ีเตรียมคัดท้ิง ในช่วงเตรียมสุกรสาวทดแทน
เพ่ือให้แม่สุกรได้ถา่ ยเช้อื โรคพาร์โวไวรสั ให้กับสุกรสาว สาหรับการรักษาไมม่ ีการรกั ษาทีไ่ ด้ผล

6.1.3 โรคพิษสุนขั บ้าเทียม (Pseudorabies หรือ Aujeszky 's disease) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อ
ไวรสั มรี ะยะฟกั ตวั ของโรคประมาณ 1-2 วัน สุกรระยะดูดนมเป็นโรคน้ีงา่ ย แต่อาจไม่แสดงอาการให้เห็น มัก
แสดงอาการในช่วงหลังหย่านม กรณีท่ีแสดงอาการในสุกรอายุน้อยกว่า 4 สัปดาห์ โดยเฉพาะ แรกเกิด
เมื่อได้รับเชื้อจะแสดงอาการภายใน 36 ช่ัวโมง โดยอาเจียนและท้องเสีย ต่อมามีอาการทางระบบประสาท
สูญเสียการควบคุมตัวเอง ชกั กระตุกและตายในทีส่ ุด อัตราตายสูงมากถึง 80-100 เปอร์เซ็นต์ อาการท่ีพบใน
แม่สุกรและสุกรใหญ่ จะไม่แสดงอาการเด่นชัด พบมีไข้สูง ไอ ท้องผูก อาการเหล่าน้ีจะหายไปในอีก 4-5 วัน
ต่อมา ถ้ามีอาการทางระบบประสาทสุกรอาจตายได้ ถ้าแม่สุกรท่ีอุ้มท้องเป็นโรคนี้ ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์
จะแท้งลูก

การควบคุมและปูองกันโรค เน้นการจัดการสุขาภิบาล เช่น ความหนาแน่นของสุกร ที่เลี้ยง
ขนาดคอกและการจัดการฟาร์ม โดยให้วัคซีนเชื้อตายฉีดเข้ากล้ามเนื้อตัวละ 2 มิลลิลิตร ในแม่ก่อนคลอด
4 สัปดาห์ หรือเม่อื มกี ารระบาดของโรคนี้ และควรกาจัดหนูหรือสตั วอ์ ื่นท่เี ป็นพาหะของโรค

6.1.4 โรคกระเพาะและลาไส้อักเสบ (Transmissible gastroenteritis) เป็นโรคท่ีเกิดจากเชื้อ
ไวรัส มรี ะยะฟักตัวของโรคประมาณ 1-2 วนั สกุ รแสดงอาการปุวยให้เห็น คือ สุกรอาเจียนและท้องร่วงอย่าง
รุนแรง ลูกสุกรจะสูญเสียน้าไปกับมูลที่ขับถ่ายออกมา ซึ่งมูลเหลวที่ขับถ่ายออกมากลิ่นเหม็นคาวสีเหลืองสด
หรือสีเทาเขียว หรือสีแบบนมไม่ย่อย ร่างกายจะอยู่ในสภาพขาดน้า ต่อมาเม่ือการอักเสบลุกลามไปยัง
กระเพาะลกู สกุ รจะมีอาการอาเจียนรว่ มดว้ ย สว่ นใหญ่จะตายอยา่ งรวดเรว็ ภายใน 2-7 วัน ในฟาร์มที่ไม่เคยมี
โรคระบาดพบวา่ สกุ รระยะดดู นม จะตาย 100 เปอร์เซน็ ต์ และค่อยๆลดลงในสุกรท่มี ีอายุมากขึ้น ส่วนสุกรใหญ่
มอี ัตราการตายเพยี ง 5 เปอร์เซน็ ต์ ในฟาร์ม ท่ีเคยเกิดโรคระบาดความรุนแรงของโรคจะลดลงพบสุกรระยะ
ดูดนม มีอัตราการตายเพียง 10-20 เปอร์เซ็นต์

การควบคุมและปูองกันโรค โดยท่ัวไปต้องลดความเสียหายโดยการให้สารละลายเกลือแร่
อิเล็กโทรไลด์ พลังงานทดแทนพวกโซเดียมคลอไรด์และกูลโคส ร่วมกับให้ยาฆ่าเชื้อโรค เพื่อปูองกันโรคแทรก
ซ้อนอื่นๆ และตอ้ งใหล้ กู สุกรปุวยอยู่ในที่อุ่นๆ ราดหรือพ่นน้ายาฆ่าเชื้อโรค หรือทาลายเชื้อไวรัส ในฤดูหนาวท่ี
มอี ากาศเยน็ ตอ้ งใช้ไฟกก หรือใสฟ่ างรองนอนใหก้ บั ลูกสกุ ร

6.1.5 โรคพีอารอ์ าร์เอส (Porcine reproductive and respiratory syndrome) เป็นโรค

157

ที่เกิดจากเช้ือไวรัส สุกรท่ีเป็นโรคนี้จะแสดงอาการและความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับชนิดของ เช้ือโรค การ

จดั การฟารม์ การสขุ าภิบาลและสถานภาพของสุกรในฝูง แม่สุกรพันธุ์และลูกสุกรแสดงอาการปุวยให้เห็น โดย

มอี าการไขแ้ ละอาการระบบหายใจติดเชื้อ สุกรระยะดูดนม สุกรอนุบาลและสุกรขุน มักมีปัญหาเก่ียวกับระบบ

หายใจ แคระแกรน โตช้า และมักพบโรคแทรกซ้อนอ่ืน ร่วมด้วย ความรุนแรงของโรคจะลดลงเม่ือสุกรอายุ

มากข้ึน ในแม่สุกรจะพบคลอดก่อนกาหนดต้ังแต่ 105 วันขึ้นไป ทาให้ลูกตายแรกคลอดสูงถึง 30-40

เปอร์เซ็นต์ ลูกมัมม่ีหรือลูกกรอก ส่วน ลูกสุกรมีชีวิตจะอ่อนแอทาให้มีอัตราการตายก่อนหย่านมสูงถึง 70

เปอรเ์ ซ็นต์ โรคจะระบาดอยู่ ในฟารม์ นาน 4 เดอื น และจะคอ่ ยๆหายไปเอง

การควบคุมและปูองกันโรค โดยทั่วไปต้องให้ยาปฏิชีวนะแก่ฝูงสุกรที่เป็นโรค เพ่ือปูองกันโรค

แทรกซอ้ น

6.1.6 โรคปากและเทา้ เป่อื ย (Foot and mouth disease) เป็นโรคทเี่ กดิ จาก เชื้อไวรัส

สุกรจะแสดงอาการเบ่ืออาหาร มีไข้สูง พบเม็ดตุ่มใสที่เน้ือเยื้อของปาก ล้ิน ริมฝีปาก เหงือกเพดานและค่อยๆ

ลามถึงผิวหนังรอบๆกีบและไรกีบ ต่อมาเม็ดตุ่มใสจะแตกแล้วค่อยๆแห้งเป็นแผล ตกสะเก็ดแล้วลอก

หลุดออกมา ถ้าไม่มีเชื้อโรคแทรกซ้อนจะหายเองอย่างรวดเร็ว ในสุกรท้อง ถ้าเป็นโรคนี้จะทาให้แท้งลูก

และนา้ นมลดลง กบี อาจลอกหลดุ ได้

การควบคุมและปอู งกนั โรค โดยฉดี วัคซีนตามโปรแกรมทีก่ าหนด และทาซ้าทุก 4-6 เดือน

และจัดการสุขาภิบาลของฟาร์มให้ดี กักกันสุกรใหม่ท่ีนาเข้าฝูงไว้เพ่ือดูอาการอย่างน้อย 2 สัปดาห์ เมื่อสุกร

ปวุ ยและตายดว้ ยโรคนีใ้ ห้เผาหรอื ฝังซาก ไมค่ วรเลย้ี งสตั ว์กบี คู่ไว้ใกล้ฟาร์ม หรือโรงเรือน ส่วนการรักษาโรคไม่

มียารกั ษา นอกจากรักษาแผลและปูองกันโรคแทรก โดยฉีด ยาปฏิชีวนะ ล้างแผลด้วยยาฆ่าเชื้อแล้ว

ทาด้วยยาเยนเซ่ียนไวโอเล็ต ให้สุกรปุวยอยู่ในคอกแห้ง ปูพ้ืนด้วยฟางหรือขี้เถ้า และเม่ือมีสุกรปุวยในฟาร์ม

หรืออยูใ่ นแหลง่ ระบาดของโรค ควรทาวคั ซีนซา้ 6.2 โรคสุกรท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคที่สาคัญที่

ก่อให้เกิดการสูญเสียแก่ฟาร์มเล้ียงสุกร คือ โรคท้องร่วงในลูกสุกรท่ีเกิดจากเช้ืออี.โคไล โรคโพรงจมูกอักเสบ

โรคปอดบวมและเยอื่ ห้มุ ปอดอักเสบ โรคสุกรที่เกิดจากเช้ือแบคทีเรียเป็นโรคที่สามารถรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ

ได้ ดังนั้นการใช้หลักการสุขาภิบาลที่ดีจึงเหมาะสมกว่าเพราะทาให้ไม่ต้องเสียเวลารักษาโรคให้กับสุกร

ประหยดั ตน้ ทุนในการผลิต ดังรายละเอียด ดังนี้

6.2.1 โรคทอ้ งเสียจากเชื้ออี.โคไล (Colibacillosis) เป็นโรคท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ เอสเซอ

ริเซีย โคไล (Escherichia coli) สกุ รท่ีเปน็ โรคนี้จะพบอาการในลูกสุกรเกิดใหม่ช่วงอายุ 12-48 ชั่วโมง ลูก

สุกรท่ีได้รับเชื้อโรคจะแสดงอาการท้องร่วงอย่างกะทันหัน ภายใน 12-24 ชั่วโมงหลังคลอด โดยมูลเป็นสีขาว

ปนเหลือง ถ่ายเป็นน้าพุ่ง กลิ่นเหม็นคาวจัด น้าหนักลดลงอย่างรวดเร็วและตายในเวลาต่อมา ส่วนลูกสุกรที่

เป็นโรคนใี้ นชว่ งหดั กินอาหารอายุ 1-2 สปั ดาห์ และลูกสุกรช่วงหย่านมอายุ 3-4 สัปดาห์ อาจพบท้องเสียอย่าง

อ่อนๆ จากน้ันซึมไม่กินนม ไม่มีแรง หนาวส่ัน นอนสุมกัน อุจจาระเป็นน้าใสหรือเหลวหรือมีสีเหลืองจนถึง

น้าตาลอ่อน ปกติลูกสุกรระยะน้ี จะไม่ตาย แต่ถ้าตายก็เพราะมีโรคแทรกซ้อน สุกรท่ีปุวยแต่ไม่ตายจะ

น้าหนักลด แคระแกรน ขนหยาบ หนงั หยาบ เลยี้ งไมโ่ ต

158

การควบคุมและปูองกันโรค สร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับลูกสุกรโดยเฉพาะลูกสุกร เกิดใหม่ต้อง
ให้กินนมน้าเหลือง ซึ่งจะมีภูมิคุ้มกันโรคได้ 3 สัปดาห์ ราดหรือพ่นน้ายาฆ่าเช้ือโรคสม่าเสมอ ส่วนการรักษา
โรค โดยฉีดวัคซีนให้แม่ก่อนคลอดจะได้ถ่ายทอดภูมิคุ้มกันให้ลูกทาง นมน้าเหลือง มีการจัดการฟาร์มท่ีดี
หลกี เลย่ี งการทาใหเ้ กดิ ความเครยี ดในแม่สกุ รและลูกสกุ ร และการรกั ษาใชย้ าปฏชิ ีวนะ เชน่ กลมุ่ ซัลฟา

6.2.2 โรคโพรงจมกู อักเสบ (Atrophic rhinitis) เป็นโรคติดต่อ ท่มี ีสาเหตุของโรคเกิด
จากเชื้อแบคทีเรียร่วมกับภาวะขาดอาหารหรือได้รับโภชนะไม่ครบถ้วน ทาให้ความรุนแรงของโรคเพ่ิมข้ึน
ทางด้านพนั ธุกรรมพบว่าสุกรพนั ธล์ุ าร์จไวท์มีแนวโน้มที่จะเกิดโรคโพรงจมูกอักเสบได้มากกว่าพันธุ์อื่น และเกิด
จากสภาพแวดล้อมในการเลย้ี ง เช่น ก๊าซ ความหนาแน่น สุกรท่ีเป็นโรคนี้จะพบอาการ คือ ในระยะสุกรเล็ก
และสุกรรุ่น สุกรท่ีได้รับเชื้อโรคระยะหนึ่งแล้วจะแสดงอาการจาม น้าตาสุกรจะไหลออกมาปะปนกับข้ีตาและ
ฝุน ทาให้มีรอยเปื้อนเป็นคราบบริเวณใต้ตาและแก้ม ในรายที่รุนแรงสุกรจะมีเลือดไหลออกมาจากจมูก จมูก
สุกรมีอาการผิดปกติ เช่น จมูกย่นทาให้ปากล่างยาวกว่าสันจมูก บางรายแสดงอาการจมูกบิดเบ้ียว อาการ
ดังกล่าวเกิดจากเช้ือโรคทาลายกระดูกอ่อนท่ีกั้นระหว่างช่องจมูกและบางครั้งอาจลามไปถึงกระดูกจมูก และ
ขากรรไกร สกุ รเจริญเติบโตชา้ แคระแกรนทาใหเ้ สียค่าใชจ้ า่ ยด้านอาหารสูงกวา่ ปกติ

การควบคุมและปูองกันโรค โดยการนาสุกรเข้าสู่ฟาร์มควรเลือกสุกรจากฟาร์มท่ีไม่มีประวัติการ
เกิดโรคโดยสังเกตลักษณะสุกรในฟาร์ม การซื้อสุกรเข้าฟาร์มควรซื้อสุกรอายุ 5 เดือน ขึ้นไปจะปลอดภัยจาก
โรคน้ี เน่ืองจากอาการของโรคมักจะแสดงอาการกับสุกรอายุต่ากว่า 5 เดือน ควรเล้ียงสุกรระบบเข้าและ
ออกเป็นชุดและให้มีเวลาพักคอกอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนนาสุกร ชุดใหม่เข้าเลี้ยง อย่าเล้ียงสุกร
หนาแน่นเกินไป การรักษาโดยใช้ยากาน่ามัยซินชนิดฉีดพ่นเข้า โพรงจมูกสุกรที่มีอาการจามเพื่อฆ่าเชื้อและ
รักษาอาการอักเสบในโพรงจมูก หรือฉีดยาปฏิชีวนะ ในตาแหน่งกล้ามเนื้อ รักษาอาการอักเสบของโพรงจมูก
เช่น ยาซัลฟาร่วมกับยาไตรเมทโทรพริม ในขนาด 1 มิลลิลิตรต่อน้าหนักสุกร 10 กิโลกรัม และหรือใช้ยา
ปฏิชีวนะผสมอาหาร เช่น ยาซัลฟาไดมิดีน คลอเตทตรามัยซิน ไทโลซิน ในอัตราส่วนยา 10 กรัม ต่ออาหาร
ผสม 100 กโิ ลกรมั

6.2.3 โรคปอดบวมและเยือ่ หุ้มปอดอักเสบ (Haemophilus pleuropneumonia) เป็นโรคท่ีมี
สาเหตุเกิดจากเช้ือแบคทีเรีย สุกรที่เป็นจะแสดงอาการ คือ สุกรท่ีแสดงอาการปุวยอาจมีไข้สูงถึง 107 องศา
ฟาเรนไฮต์ เบ่ืออาหาร ท้องร่วง ต่อมาแสดงอาการเฉื่อยชา ระยะท้ายๆสุกรปุวยจะแสดงอาการหายใจลาบาก
อย่างรุนแรง ด้วยการหายใจทางปาก และไอ ซึ่งมักพบน้ามูกและน้าลายเป็นฟองปนเลือดท่ีจมูกและปาก
บริเวณผิวหนัง ใบหู ปลายจมูก และพ้ืนท้องจะมีสีแดงแกมสีน้าเงิน และจะตายภายใน 24-36 ช่ัวโมง อัตรา
การตายและปุวยของสุกรไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ส่วนใหญ่พบอัตราการปุวย 30-50 เปอร์เซ็นต์
ของฝงู อัตราการตายอาจสงู ถงึ 20-50 เปอรเ์ ซน็ ต์

การควบคมุ และการปูองกนั คอื คดั เลือกสุกรขุนท่ีมีสุขภาพแข็งแรงเลี้ยงในฟาร์ม หลีกเล่ียงการ
เลี้ยงสุกรอย่างแออัด สร้างโรงเรือนให้โปร่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก มีโปรแกรมพ่น ยาฆ่าเช้ืออย่างสม่าเสมอ
ผสมยาปฏิชีวนะในอาหารสุกร ฉีดวัคซีนปูองกันโรค ส่วนการรักษา คือ ฉีดยารักษาสุกรที่ปุวย หรือผสมใน

159

อาหารและนา้ ให้สกุ รกิน เชน่ เพนนซิ ลิ นิ ซลั ฟาผสมกับไตรเมทไทรฟริม เจนต้ามัยซิน และ ไทอามูลิน โดยฉีด
รว่ มกบั ยาลดไข้

6.3 โรคสกุ รทเี่ กดิ จากเชอื้ โปรโตซวั ในสกุ รโรคท่เี กิดจากเช้อื โปรโตซวั มดี ้วยกันหลาย
ชนิดท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ โรคบิด โรคทริปปาโนโซม เป็นต้น โรคสุกรที่เกิดจากเชื้อโปรโตซัวน้ีมียารักษาตามแต่ละ
โรคได้ แตท่ าให้ตน้ ทุนการเลี้ยงสกุ รสงู ขนึ้ จึงควรยดึ หลักการสุขาภิบาลท่ีดี โดยมีมาตรการการควบคุมและการ
ปอู งกนั โรค

6.3.1 โรคบดิ (Coccidiosis) เป็นโรคทเี่ กิดจากเชอื้ โปรโตซัว สุกรเปน็ โรคน้ี จะแสดง
อาการ คือ ในลกู สกุ รพบท้องรว่ งและมอี าการอาเจียนร่วมด้วย ลูกสุกรมีอายุได้ 7 วันขึ้นไป อัตราการตายจะ
ตา่ ลง แตท่ าให้ลกู สกุ รหย่านมจะมีขนาดไมส่ ม่าเสมอ โทรม และแคระแกรน

การควบคุมและปูองกันโรค คือ การสุขาภิบาลเน้นการทาความสะอาดพื้นคอกคลอดให้สะอาด
หรอื พ่นโดยน้ายาฆ่าเชอื้ โรค และกาจัดพาหะพวกแมลงในฟารม์

6.3.2 โรคทริปปาโนโซม (Trypanosomiasis) เปน็ โรคท่เี กิดจากเช้อื โปรโตซวั มยี งุ
และแมลงวันคอกเปน็ พาหะ สกุ รทเี่ ปน็ โรคจะมีอาการอ่อนเพลยี อาเจยี น แม่สุกรอุ้มท้องจะแทง้ ลูก มไี ข้ ใน
รายท่ีเป็นเฉยี บพลันมักตาย

การควบคุมและปูองกันโรค คือ กาจัดแมลงพาหะนาโรครวมถึงการสุขาภิบาลในฟาร์มที่ดี ส่วน
การรกั ษา คือ ใช้ไดมินาซนี อะซทิ เู ลต หรอื ซูรามนิ ฉดี ตดิ ต่อกัน 3-5 วนั

6.4 โรคพยาธิที่สาคัญในสุกร สุกรเปน็ สตั วท์ ม่ี ีพยาธริ บกวนมากทส่ี ุดสามารถแบง่ ออก
เป็นพยาธิภายนอก ได้แก่ พวกยุง เหลือบ เหา ไร และแมลงวันคอก เป็นต้น และพยาธิภายในได้แก่ พยาธิ
ไส้เดือน พยาธิภายในเป็นปัญหาสาคัญในการเล้ียงสุกรท่ีเห็นได้ไม่ชัด เพราะสุกรไม่แสดงอาการให้เห็นอย่าง
ชัดแจ้ง การควบคุมพยาธิให้มีประสิทธิภาพและได้ผลอย่างจริงจังนั้น จาเป็นต้องศึกษาถึงวงจรชีวิตและ
ลกั ษณะสาคัญท่ีแตกต่างกนั ของพยาธิในสุกร เพือ่ จะได้วางแผนหยุดการเจริญเติบโต หรือปูองกันไม่ให้เกิดการ
ติดพยาธิข้ึนในสุกร ได้แก่

6.4.1 ยุง (Mosquitoes) ยุงจดั เปน็ พยาธิภายนอกรา่ งกาย เป็นแมลงดูดเลอื ดทม่ี ีหลาย
ชนิด เพศเมยี จะดูดเลอื ดสตั ว์เป็นอาหาร สว่ นตัวผูจ้ ะดูดน้าจากตน้ ไม้ ผลของการดูดเลือดของยุงทาให้สัตว์เกิด
ความราคาญ ระคายเคือง สัตว์บางตัวมีอาการแพ้ให้เห็น ผอม ความต้านทานของร่างกายลดลง ผลผลิตลดลง
นอกจากนยี้ ุงยงั เป็นพาหะสาคัญของโรคฝดี าษสุกร ยงุ สว่ นใหญ่มชี พี จกั รท่สี มบรู ณ์ภายใน 21 วนั ชอบวางไข่ใน
น้า ตวั แกม่ ชี ีวิตอยู่ได้ 15-30 วนั

การปูองกันและการกาจัด โดยใช้ยาฆ่าแมลงฉีดพ่นบริเวณคอกและบนตัวสัตว์ เช่นมาลาไธออน
0.5-1 เปอร์เซ็นต์ ขนาด 5 มิลลิลิตรต่อน้า 10 ลิตร ฉีดพ่น ใช้ยาฆ่าแมลงทาลายตัวอ่อนในน้า เช่น น้ามัน
ปิโตรเลยี มราดผวิ นา้ ลดปรมิ าณยุงในฟาร์ม เชน่ กางม้งุ ใหส้ ุกร

6.4.2 แมลงวันคอก (Stadle flies) แมลงวันคอกจัดเป็นพยาธิภายนอกรา่ งกายที่มี
รปู รา่ งเหมือนแมลงวันบ้านมาก ลกั ษณะมสี ีเทา น้าตาลและน้าเงินเขียว มีงวงยาวโค้ง ปกติแมลงพวกนี้ไม่ชอบ
ท่ีมืดๆ ชอบแสงสว่างท้ังตัวผู้และตัวเมียดูดเลือด ทาให้สัตว์ราคาญ โลหิตจาง น้านมลดลง และวงจรชีวิตจะ

160

สมบรู ณใ์ นเวลา 25-30 วนั ชอบวางไข่ที่อุจจาระและท่ีสกปรกในคอก หรือโรงเรือน ไข่จะฟักเป็นตัวแก่ภายใน
20-30 วัน

การปูองกันและการกาจัด โดยใช้ยาฆา่ แมลงเชน่ เดียวกับกาจัดยุง กาจัดอุจจาระและ สิ่งสกปรก
ในคอก เพ่อื ไมใ่ หแ้ มลงวันวางไข่ กาจัดขยะในฟาร์มโดยการฝังหรอื เผา

6.4.3 เหลอื บ (Horse flies) เหลอื บจดั เป็นพยาธิภายนอกรา่ งกาย เป็นแมลงดดู เลือด
ที่มีขนาดใหญ่ ตัวเมียเท่านั้นที่ชอบดูดเลือดสัตว์เลี้ยง หลังจากดูดเลือดแล้วจะไปนอนพักตามใบไม้ การดูด
เลอื ดของเหลือบจะทาให้สตั ว์เจ็บปวด สตั ว์จะผอม ความต้านทานโรคลดลง และวงจรชีวิต จะสมบูรณ์ภายใน
4-8 เดอื น การวางไขจ่ ะชอบวางบนใบไม้ ต้นไม้ บางช่วงอาศยั อยใู่ นน้า ตวั แกซ่ ่อนอยู่ตามตน้ ไม้ใบไม้

การปูองกันและการกาจัด โดยใช้พาราฟิลราดผิวน้า เพื่อทาลายตัวอ่อน ใช้ยาฆ่าแมลง
เช่นเดยี วกับกาจดั ยงุ พ่นใหท้ วั่ ตัวสตั ว์ ทกุ ๆ 2-3 วัน หรอื โดยมมี งุ้ กางให้กับสัตว์

6.4.4 ตัวไร (Mites) ไรจัดเป็นพยาธิภายนอกร่างกายสุกรที่มีขนาดเล็กมาก แต่ทาความสูญเสีย
ต่อเศรษฐกิจของผู้เล้ียงสุกรอย่างมาก เน่ืองจากเป็นสาเหตุของโรคข้ีเร้ือนในสุกร ซึ่งเม่ือ เกิดขึ้นกับสุกรแล้ว
จะทาให้อัตราการเจริญเติบโตลดต่าลง นอกจากน้ียังทาให้สุกรมีสุขภาพไม่ดี ลักษณะภายนอกไม่น่าดู อัน
เน่ืองจากเกิดอาการคันตามผิวหนัง สุกรจะถูบริเวณท่ีคันกับผนังคอก ทาให้ผิวหนังหนาย่น ขนหยาบกร้าน มี
ปัญหาในการจาหน่าย ไรชนิดที่ทาให้เกิดโรคขี้เรื้อนในสุกรท่ีสาคัญ ได้แก่ ขี้เร้ือนแห้ง และวงจรชีวิตจะมี
ระยะทีเ่ ป็นไข่ ตวั อ่อน ตวั กลางวยั และตวั เต็มวัย โดยทท่ี กุ ชีวิตจะอยู่ในชั้นผิวหนังด้านบนของสุกร ตัวไรจะไช
ไปบนผิวหนัง วางไข่ครั้งละประมาณ 40-50 ฟอง ระยะเวลาต้ังแต่เป็นไข่ถึงตัวเมียออกไข่ได้อีกคร้ัง ใช้เวลา
ประมาณ 15-20 วัน ซึ่งตัวไรนี้จะทาให้สุกรเกิดอาการระคายเคืองท่ีผิวหนัง เกิดการอักเสบ คัน บวมของ
เนื้อเยื่อ ตอนแรกตุ่มเป็น สีแดงปกคลุมด้วยสะเก็ดแห้งๆสีน้าตาล จากน้ันบริเวณท่ีเป็นจะหนา หยาบ แห้ง
และยน่ มสี ะเก็ด สเี ทาปกคลมุ สุกรมอี าการคันมาก อาจพบไขบ่ รเิ วณหน้า รอบหู หรือที่มีขนน้อย สุกรอายุ
มากอาจพบในบริเวณ ใบหู หาง และหลงั หดู า้ นใน และทีอ่ ัณฑะ

การปูองกันและการกาจดั โดยการทาลายตัวไรบนผิวหนังและคอก ทาได้โดยการอาบหรือพ่นยา
ฆ่าแมลงที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุกร เช่น มาลาไธออน จานวน 5 มิลลิลิตรต่อน้า 10 ลิตร ควรทาซ้าภายใน 5-7
วัน

6.4.5 เหาสุกร (Hog louse) จดั เป็นพยาธิภายนอกรา่ งกาย มขี นาดใหญม่ องเห็นด้วย ตาเปล่า
เหามวี งจรชีวิต คอื ตวั เมยี วางไข่ที่โคนขน ไข่ฟักเป็นตัวอ่อนภายใน 12-20 วันและลอกคราบอีก 3 ครั้ง จะเป็น
ตวั แก่ท่สี ามารถผสมพันธ์ุได้ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 30 วัน ตลอดชีวิตของเหา ตัวหนึ่งจะออกไข่ได้ประมาณ
90 ฟอง เหาจะกัดและดูดเลือดท่ีผิวหนังทาให้ระคายเคืองและคัน สุกรจะถูลาตัวกับผนังคอกตลอดเวลา เกิด
เป็นแผลขน้ึ ซงึ่ แผลนอ้ี าจตดิ เชอื้ โรคอ่นื ๆได้ เหายงั เปน็ ตัวพาหะนาโรคฝีดาษสุกรอกี ดว้ ย

การปูองกันและการกาจัด อาบน้ายาฆ่าแมลงพวกมาลาไธออน 0.5-1 เปอร์เซ็นต์ ทุกๆ 2
สปั ดาห์ ตดิ ตอ่ กัน 3 คร้งั ก็สามารถกาจดั เหาไดห้ มดสิ้น

6.4.6 พยาธิไส้เดือน (Ascaris หรือ Large round worm) จัดเป็นพยาธิภายในร่างกาย
พยาธิไส้เดือนจัดเป็นพยาธิตัวกลมที่มีขนาดใหญ่ ลักษณะลาตัวกลม ส่วนหัวและส่วนท้าย เรียวแหลม

161

อาศัยอยู่ในลาไส้เล็กของสุกร ไข่พยาธิมีความคงทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี การติดต่อโดยสุกรกินอาหาร น้า
ดิน และหญ้าท่ีมีไข่พยาธิระยะติดต่อปะปนอยู่เข้าสู่ร่างกาย มีวงจรชีวิต คือ สุกรกินไข่พยาธิระยะติดต่อที่
ปะปนในอาหารเข้าสู่ร่างกาย ไข่พยาธิจะฟักตัวเป็นพยาธิตัวอ่อนท่ีลาไส้เล็ก และไชผนังลาไส้เล็กเข้าสู่ระบบ
หมนุ เวยี นโลหติ เขา้ สู่ตับ ต่อไปยังปอด จากนน้ั เคล่ือนตัวไปยังหัวใจ ตามกระแสเลือด เคล่ือนตัวผ่านหลอดลม
ไปบริเวณคอหอย ทาให้เกิดอาการไอ ตัวอ่อนพยาธิจะถูกกลืนลงไปในทางเดินอาหารอีกคร้ังหนึ่ง จากน้ันตัว
อ่อนจะเจริญเป็นตัวเต็มวัยท่ีสามารถ ผสมพันธ์ุและออกไข่ได้ในลาไส้เล็ก ไข่พยาธิจะปะปนออกมากับ
อจุ จาระแล้วเจรญิ เตบิ โตเปน็ ไขร่ ะยะติดต่อ อาการของสุกรท่ีพบ สุกรท่ีมีพยาธิตัวเต็มวัยในร่างกายจานวนมาก
จะพบการดันโปุงของช่องท้อง ขนหยาบกร้าน สุกรแคระแกรน ท้องร่วง และไอในช่วงอากาศช้ืน และหายใจ
ลาบาก

6.4.7 พยาธิตัวตืดในสุกร (Taenia solium หรือ pork tapeworm) พยาธิตัวตืดในสุกร
บางครั้งเรียกว่า พยาธิเม็ดสาคู เป็นพยาธิตัวแบนในลาไส้เล็ก ตัวอ่อนอยู่ในสุกรและสุนัข และจะหลุดออกจาก
ตัวสัตว์ ในลักษณะท่ีเป็นสายโซ่ คือมีหลายๆปล้องติดกันออกมา และปนออกมากับอุจจาระ พยาธิชนิดน้ี
สามารถตดิ ต่อถึงคนได้ และพบว่าอยู่ในร่างกายคนได้นานถึง 25 ปี การติดต่อในสุกรโดยสุกรกินไข่หรือปล้อง
ของพยาธิเข้าไปในร่างกาย ตัวอ่อนจะไชทะลุผนังลาไส้ เข้าสู่กระแสเลือดไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย และ
เจริญเป็นถุงสีคล้ายน้านมเป็นมันใสเรียกระยะนี้ว่า เม็ดสาคู ซึ่งจะฝังตัวอยู่ตามกล้ามเน้ือต่างๆ สาหรับคน
ได้รบั พยาธิเข้าส่รู า่ งกายไดโ้ ดยการกนิ เน้อื และอวัยวะต่างๆของสุกรท่ีมีเม็ดสาคูฝังตัวอยู่เข้าไป ส่วนพยาธิเม็ด
สาคูท่ฝี งั ตัวอย่ตู ามกล้ามเน้อื สุกรจะไมท่ าใหส้ ุกรแสดงอาการใดๆ นอกจากทาให้กล้ามเน้อื สุกรเหลว

6.4.8 พยาธิเม็ดตุ่ม (Esophagostomum หรือ nodular worm) พยาธิเม็ดตุ่มเป็นพยาธิที่มีสี
ขาว อาศัยอยู่ในลาไส้ใหญ่ของสุกรพยาธิเม็ดตุ่มมีหลายชนิด และท่ีพบบ่อยในสุกรขนาดใหญ่ ลักษณะมีลาตัว
กลมและโคง้ งอเลก็ นอ้ ยยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร ตัวออ่ นของพยาธิระยะติดต่อถูกสุกรกินเข้าสู่ร่างกาย จะ
ชอนไชเข้าไปในผนังของลาไส้ ทาให้เกิดความระคายเคืองต่อผนังลาไส้ ร่างกายสุกรจึงพยายามทาลายโดย
สร้างเนือ้ เยื่อไปห้มุ ตัวพยาธิไว้เป็นลักษณะถุงหรือตุ่ม ทาให้พบลักษณะเป็นเม็ดตุ่มตามผนังลาไส้ใหญ่ หลังจาก
น้นั ตวั อ่อนของพยาธจิ ะลอกคราบเป็นตวั เตม็ วยั ภายในเมด็ ตุ่มดงั กล่าวแล้วออกมาเจริญเติบโตในลาไส้ใหญ่ของ
สุกร พยาธิตัวเมียจะปล่อยไข่ออกมากับอุจจาระของสุกร จากน้ันไข่จะพัฒนามาเป็นตัวอ่อนระยะติดต่อรอ
โอกาสเข้าสู่ร่างกายสุกรตัวอื่นต่อไป อาการที่พบ สุกรมีอาการท้องเสียเล็กน้อย ในรายที่รุนแรงมากๆจะเบื่อ
อาหารท้องผูก ซูบผอม อุจจาระอาจมีเลือดปนออกมาในบางตัว ลักษณะท่ีเด่นชัดของพยาธิเม็ดตุ่ม คือ พบ
เม็ดต่มุ ท่ีผนังลาไสใ้ หญไ่ ปจนถึงไสต้ รงก่อนถึงรูทวาร

6.4.9 พยาธิเส้นด้าย (Thread worm) พยาธิเส้นด้ายเป็นพยาธิตัวกลมขนาดเล็ก พบอาศัยอยู่
ในลาไส้เล็ก พยาธิชนิดน้ีสามารถผ่านทางน้าเหลืองของแม่สู่ลูกสุกรได้ เนื่องจากมีขนาดเล็กเพียง 2-4
มลิ ลิเมตร พยาธิตัวเมียสามารถไข่ โดยไม่ต้องรับการผสมพันธ์ุจากตัวผู้ ไข่พยาธิที่ถูกปล่อยออกมากับอุจจาระ
สุกร จะพักตวั เป็นพยาธิตัวอ่อนแล้วเจริญตอ่ ไปเปน็ พยาธติ วั อ่อนระยะตดิ ตอ่ พยาธเิ ข้าสู่ร่างกายสุกรได้โดยการ
กิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายสุกรแล้ว ตัวอ่อนจะผ่านเข้าสู่ระบบหมุนเวียนโลหิต จากน้ันเข้าสู่ปอด ทาลายถุงลมปอด
ทาให้สุกรเกิดอาการระคายเคือง เป็นสาเหตุของอาการไอ ซ่ึงเมื่อสุกรไอตัวอ่อนจะถูกส่งขึ้นมาบริเวณคอหอย

162

และถูกกลืนเข้าสู่ระบบทางเดินอาหาร จากนั้นจึงเจริญเติบโตเป็นตัวแก่ในลาไส้เล็ก ตัวเมียจะปล่อยไข่ปะปน
มากบั อจุ จาระและพฒั นาเป็นตวั อ่อนระยะติดตอ่ รอโอกาสเข้าสรู่ า่ งกายสุกรตอ่ ไป อาการท่ีแสดง คือ ผิวหนัง
สกุ รบริเวณที่ตวั อ่อนไชเข้าไปอาจมลี กั ษณะเปน็ ผืน่ แดง หรอื เป็นตุ่มหนอง สุกรปุวยจะแสดงอาการท้องเสียโดย
ไม่ทราบสาเหตุ ซูบผอมอย่างรวดเรว็ เบื่ออาหาร โลหิตจาง อาเจยี น และมีอาการไอ

6.4.10 พยาธิทริคิโนซีส (Trichinosis) พยาธิทริคิโนซีสเป็นพยาธิตัวกลมยาวประมาณ 1-4
มิลลเิ มตร เปน็ พยาธิทต่ี ดิ ต่อถงึ คนได้ และมีผลทาให้คนเสียชีวิต โดยธรรมชาติพบพยาธิชนิดนี้ในหนู กระต่าย
สุนัข แมว เป็นต้น ซ่ึงคนได้รับพยาธิชนิดน้ีเข้าสู่ร่างกายโดยการกินเนื้อสัตว์ท่ีไม่สุก มีวงจรชีวิต คือ สุกร
ได้รับตัวอ่อนของพยาธิระยะติดต่อโดยกินถุงหุ้ม (Cyst) ปะปนกับอาหารเข้าสู่ร่างกาย จากน้ันตัวอ่อนของ
พยาธจิ ะออกจากถุงหุ้มและเจริญเติบโตเป็นตวั แก่ อาศยั ตามผนังลาไส้ และทาการผสมพันธุ์ ตัวเมียจะออกลูก
อ่อนภายใน 1 สัปดาห์หลังผสมพันธุ์ ตัวอ่อนเหล่านี้จะเข้าสู่ท่อน้าเหลืองผ่านเข้าเส้นโลหิต และวนเวียนไปทั่ว
ร่างกาย ต่อมาตัวอ่อนจะไปอยู่ตามกล้ามเน้ือต่างๆโดยเฉพาะกล้ามเน้ือกระบังลม ลิ้น แก้ม ลูกตา กล่องเสียง
กล้ามเนื้อระหว่างซ่ีโครง ต่อจากนั้นตัวอ่อนของพยาธิจะเริ่มม้วนตัว แล้วเร่ิมมีถุงหุ้ม ซ่ึงทาให้พยาธิสามารถมี
ชีวติ อยไู่ ด้นาน 11-24 ปี ภายในถุงหุ้ม เมอื่ สตั ว์ต่างๆกนิ เนื้อสุกรท่ีมีถุงหุ้มของพยาธิฝังตัวอยู่ จะทาให้ได้รับตัว
อ่อนพยาธิเข้าสู่ร่างกาย และตัวอ่อนในถุงหุ้มจะพัฒนาเติบโตเป็นตัวแก่ต่อไป สุกรจะแสดงอาการเจ็บปุวย
เปน็ ไข้ ซมึ หายใจไม่สะดวก บวมตามตวั เดินขาแขง็ เจ็บปวดกล้ามเน้ือ และตายในท่ีสุด คนที่ได้รับพยาธิเข้า
สู่ร่างกายจะแสดงอาการแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับจานวนของพยาธิท่ีมีในร่างกาย ซึ่งโดยทั่วไปมีอาการคลื่นไส้
อาเจยี น ท้องรว่ ง ปวดท้อง มไี ข้ ออ่ นเพลีย เจ็บปวดท่ีกล้ามเน้ือ บริเวณแขน และขา ชายโครง บวมน้าบริเวณ
ใบหน้า นัยน์ตา มีไข้ เบื่ออาหาร หายใจลาบาก ไอ อาจมีจุดเลือดออกที่เย่ือภายในตา ผู้ปุวยบางรายอาจมี
อาการของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และมีอาการปอดบวม กล้ามเนอื้ หัวใจอกั เสบแทรกซ้อน และตายในทีส่ ดุ

การปูองกนั รักษาโรคที่เกิดกบั พยาธิ คือ การจัดการและการสขุ าภิบาลที่ดี เลี้ยงสุกรด้วยอาหารท่ี
สะอาด การใชเ้ ศษอาหารควรต้มใหส้ ุกเสียกอ่ น เพ่อื ทาลายตวั อ่อนพยาธิท่ีติดมากับ เศษเนื้อ มีการกักโรคสุกร
ท่ีซื้อมาก่อนนาเข้าฝูง มีการใช้ยาถ่ายพยาธิ เช่น เป็บเปอร์ราซิน และ มีโปรแกรมการถ่ายพยาธิให้กับ
สกุ รในฟาร์มอย่างสม่าเสมออยา่ งน้อยปีละ 2 ครง้ั

6.5 โรคท่ีเกิดจากเช้ือรา เช้ือราส่วนใหญ่เจริญได้ดีในสภาพร้อนช้ืน วัตถุดิบอาหารสุกรท่ีมีความชื้น
มากกวา่ 14 เปอร์เซ็นต์จะพบว่ามเี ช้อื ราเกิดขึ้นและสามารถสร้างสารพษิ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุกรได้ สุกรได้รับ
สารพิษจากเช้ือราโดยการกินอาหารท่ีมีเชื้อราปะปนอยู่ อาการปุวยของสุกรอันเน่ืองจากสารพิษจากเชื้อรา
มักตรวจสอบจากอาการภายนอกไม่ชัดเจนนัก เนื่องจากมีอาการคล้ายคลึงกับโรคติดเชื้ออื่นๆต้องอาศัยการ
ตรวจสอบวินิจฉัยร่วมกับสภาพแวดล้อม รวมท้ังการผ่าซากพิสูจน์ สารพิษจากเชื้อราที่สาคัญท่ีทาให้สุกรเกิด
การเป็นพิษ ได้แก่ อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) จากเชื้อราแอสเปอร์จิลลัส (Aspergillus sp.) และซีราลีโนน
(Zearalenone) จากเช้ือราฟูซาเรียม (Fusarium sp.) ซงึ่ พอจะสรุปอาการของสุกรท่ไี ดร้ บั สารพษิ ได้ดงั น้ี

6.5.1 อะฟลาทอกซิน เช้ือราชนิดน้ีเจริญเติบโตได้บนเมล็ดพืชทุกชนิดที่มีความช้ืนเหมาะสม
อณุ หภูมทิ ี่สามารถสร้างสารพิษได้ดีท่ีสดุ ประมาณ 40 ดีกรีเซ็นตเิ กรด สุกรมีความไวต่อการเป็นพิษของอะฟลา
ทอกซิน คือ หากพบแบบเฉียบพลัน สุกรจะตายโดยไม่แสดงอาการให้เห็น หรือ พบสุกรแสดงอาการเบ่ือ

163

อาหาร ซึม โลหิตจาง อาเจียน ท้องเดิน ถ่ายเป็นเลือด อาจพบอาการชักร่วมอยู่ด้วย ส่วนในแบบเร้ือรังพบ
สุกรกินอาหารน้อยลง น้าหนักลด สุกรจะแคระแกรน ตัวเหลือง ทาให้มีภูมิคุ้มกันลดลง ในแม่สุกรน้านมจะ
แหง้ โดยไม่รู้สาเหตุ การเติมซลิ ิเนียมลงในอาหารจะช่วยปูองกันผลของอะฟลาทอกซินได้ ระดับซิลิเนียมที่ใช้ใน
อาหาร คือ 4-10 กรัม ตอ่ อาหาร 1 ตนั

6.5.2 ซรี าลีโนน สกุ รไวตอ่ สารพษิ ฟูซาเรยี ม ในแมส่ กุ รจะให้ลกู แรกคลอดที่อ่อนแอผิดปกติ ตาย
ลงหลงั คลอดไมก่ ี่วัน พบลูกตัวเล็กมากข้ึน การคลอดจะใช้เวลามากข้ึน ลูกแรกคลอดผิวพรรณคล้ายคลอดก่อน
กาหนด ให้ลูกแรกคลอดที่มีอาการสองขาหลังถ่างแบะออกเดินไม่ได้ ลูกแรกคลอดตัวเมียพบอวัยวะเพศ
บวมแดงหลังคลอด แม่สุกรท้องแก่หากรับสารพิษมากจะพบอวัยวะเพศบวมน้าแดงเหมือนอักเสบ มักมีการ
คลอดยากร่วมด้วย แต่ยุบหายได้เองภายใน 2-3 วันหลังคลอด หากพบสารพิษของซีราลิโนนสูงในอาหาร
ร่วมกับการพบสารพิษเชื้อราตัวอ่ืนๆจะเกิดสาเหตุการแท้งลูกได้โดยพบกระจายท่ัวไปทั้งโรงเรือน ในลูกสุกร
อนุบาลหรือสุกรขุนเล็กจะพบ ตัวเมียมีอวัยวะสืบพันธ์ุบวมแดง และพบอุบัติการณ์ของช่องทวารทะลักสูงข้ึน
ผิดปกติ มีอาการ กัดแทะ ปีนขี่กันและดูดกันผิดปกติ ในสุกรเพศผู้พบอวัยวะเพศขยายใหญ่ เต้านมโต
โดยเฉพาะ ลกู สุกรอายุ 1-2 เดอื น จะเหน็ ไดช้ ัดเจน

การปูองกนั จากการเป็นพษิ เนอ่ื งจากเช้ือรา ทาได้โดยการเพ่ิมระดับโปรตีนในอาหารพบว่าระดับ
โปรตีนในอาหารสุกรมีผลต่อความรุนแรงของอาการเป็นพิษ เน่ืองจากกรดอะมิโน ท่ีจาเป็นบางชนิด มี
ส่วนช่วยปอู งกนั ความเป็นพิษของเช้ือราฟูซาเรียม

6.6 โรคทีเ่ กดิ จากการจดั การผิดพลาด ได้แก่
6.6.1 กลุ่มอาการไข้หลงั คลอดของสุกร กลุ่มอาการไขห้ ลังคลอดเป็นอาการปุวยที่มี

ความสาคัญต่อแม่สุกรหลังคลอดมากสามารถเกิดกับแม่สุกรทุกอายุ และทุกสภาพของการเล้ียง แม่สุกรที่
แสดงอาการปุวยประกอบด้วยอาการอกั เสบของเตา้ นม (Mastitis) การอกั เสบของมดลูก (Metritis) และสภาพ
ทแี่ มส่ กุ รไม่มีน้านมให้ลกู กนิ (Agalactia) เรยี กรวมกันว่า MMA. มสี าเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยเฉพาะเชื้อ
อ.ี โคไล รว่ มกับสาเหตโุ น้มนา คอื พ้นื คอกมคี วามช้นื และสกปรก คอกคลอดมีอากาศเย็นและลมโกรก ลูกสุกร
ดูดนมแลว้ กัดหวั นมแม่ แม่สกุ รท้องผกู กอ่ นคลอด อาการปวุ ยที่เกดิ จากเต้านมอักเสบเป็นสาเหตุท่ีทาให้ลูกสุกร
ตายในระยะดดู นมเปน็ จานวนมาก เพราะจะทาใหน้ า้ นมลดลง (Hypogalactia) หรือไม่มีน้านมเลย รวมทั้งทา
ให้เกิดอาการบวมเจ็บปวดเต้านม ทาให้แม่สุกรไม่ยอมให้ลูกสุกรดูดนม นอกจากน้ีเต้านมที่อักเสบยังหลั่ง
น้านมท่ีมีเช้ือโรคปนมาด้วย ทาให้ลูกสุกรปุวยและท้องเสียได้ แม่สุกรอาจตายได้เพราะพิษของเชื้อโรค ส่วน
ลกู สุกรจะตายเพราะไม่มีน้านมกิน

การปูองกนั ทาโดยการลดปรมิ าณเชอ้ื อี.โคไล ในคอกโดยการล้างทาความสะอาด และพ่นยาฆ่า
เชื้อโรคคอก และมีระยะพักใช้คอกคลอดอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนนาแม่สุกรเข้าคอกคลอด ควรล้างทาความ
สะอาดแมส่ กุ รโดยเฉพาะบริเวณบั้นทา้ ย ซอกเลบ็ ซอกขาหน้า และขาหลงั รวมทงั้ ราวนม และพ่นยาฆ่าเชื้อบน
ตัวแม่สุกร เพ่ือทาลายเช้ือโรคท่ีจะติดตัวแม่สุกรเข้าสู่คอกคลอด ฉีดออกซีโตซิน ขนาด 2-3 มิลลิลิตร เพื่อให้
ขบั นา้ นม รก และของเหลวอื่นๆ ออกจากมดลกู ให้หมด ฉีดยาปฏชิ วี นะ เช่น สเตรบโตมัยซนิ หรอื เพนนซิ ลิ ิน

6.6.2 โรคโลหติ จาง (Anemia) โรคโลหิตจางเป็นการขาดฮีโมโกลบิน ซ่งึ มีหน้าท่ีนา

164

ออกซเิ จนในกระแสเลือด อาการโรคโลหติ จางสามารถเกิดกับสกุ รได้ทุกอายุ แต่พบบ่อยในลูกสุกร หลังคลอด
เน่ืองจากลูกสุกรแรกคลอดจะมีการสะสมของธาตุเหล็กในร่างกายเพียง 40 มิลลิกรัม แต่ลูกสุกรต้องใช้ธาตุ
เหล็กวันละ 70 มิลลิกรัม ในขณะที่ได้รับธาตุเหล็กเพียง 7 มิลลิกรัมต่อวัน จากน้านมแม่ สุกรต้องการธาตุ
เหล็ก 300 มิลลิกรัมในช่วง 3 สัปดาห์หลังคลอด สาเหตุ ร่างกายขาดการสะสมของธาตุเหล็ก ในลูกสุกรแรก
เกดิ น้านมเหลอื ง หรือน้านมจากแม่สุกรมีธาตุเหล็กอยู่ในระดับต่า ลูกสุกรเติบโตรวดเร็วมากเกินไป อาการท่ี
แสดง คือ ลูกสุกรเจริญเติบโตช้า เย่ือบุอ่อนมี สีซีด ขนหยาบ หนังย่น หายใจหอบกระแทก มีอาการบวมน้า
มโี รคแทรกได้ง่าย เช่น โรคท้องเสีย และโรคปอดบวม การปูองกันและรักษา โดยฉีดธาตุเหล็กเสริมให้กับลูก
สกุ รหลงั คลอด 1-3 วัน จานวน 100-200 มิลลิกรัม หรอื จานวน 2 มลิ ลลิ ิตร

กิจกรรมการเรยี นรู้
10. ผ้สู อนทบทวนบทปฏบิ ัตกิ ารครั้งก่อนเร่ือง การจัดการลูกสุกรหลังคลอด(ต่อ) คือ การฉีดธาตุเหล็ก การตัด

เบอรห์ ู การตอนลกู สกุ รการถ่ายพยาธิและการทาวัคซีนอหิวาต์สกุ รพร้อมบอกว่าจะมี การจัดการสุกร
ขั้นตอ่ ไปคอื การจัดการสุกรขนุ (10 นาที)
11. แจกแบบทดสอบก่อนเรยี นให้ผู้เรียนทา (10 นาท)ี
12. แบ่งผูเ้ รียนออกเปน็ 5 กลมุ่ ๆละ 3-5 คน ตามความสมคั รใจ (5 นาท)ี
13. แจกใบความรู้ท่ี 5.4 เรอื่ งการจดั การสุกรขนุ ให้ผูเ้ รยี นศกึ ษา (25 นาที)
14. แจกใบงานท่ี 5.5 เร่อื งการเตรียมคอกสกุ รขุน ใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติการเตรียมคอกสุกรขุนเพื่อรับลกู สกุ รจาก
คอกอนุบาลมายงั คอกขนุ (70 นาที)
15. แจกใบงานท่ี 5.6 เร่ือง การรับลูกสุกรจากคอกอนุบาลเขา้ คอกขนุ ให้ผเู้ รยี นปฏิบัติทั้งน้ีผู้สอนควรดูแลการ
ปฏบิ ัติงานอยา่ งใกล้ชดิ (120 นาที)
16. แจกใบงานที่ 5.7 เรอื่ ง การจับสุกรขุนส่งตลาดใหผ้ เู้ รียนปฏิบตั ิ ทัง้ น้ผี ู้สอนต้องนัดกบั ผซู้ ้ือสุกร(พ่อค้า) มา
ใหต้ รงกับเวลาที่มีการปฏิบัติงานด้วย (90 นาท)ี
17. ผสู้ อนและผ้เู รียนรว่ มกันสรปุ ปญั หาทีเ่ กดิ ขนึ้ ในการปฏบิ ตั ิงานรวมถงึ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข (25
นาที)
18. แจกแบบทดสอบหลงั เรียนให้ผู้เรียนทา (5 นาท)ี

รวม 360 นาที

สื่อการเรยี นการสอน
ส่อื สงิ่ พิมพ์
5. ใบความรูท้ ่ี 5.4

165

6. ใบงานท่ี 5.5, 5.6, 5.7
7. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม
8. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
สอื่ โสตทัศน์
3. เครื่องคอมพิวเตอร์
4. โปรเจคเตอร์ LCD.
สอ่ื ของจริง
3. อปุ กรณ์ในคอกสุกรอาทิ ถงั อาหารกล อาหารสุกรขุน สายยาง ไม้กวาดทางมะพรา้ ว ปูนขาว

นา้ ยาฆา่ เชอ้ื โรค รองเทา้ บู๊ท คราดเหล็ก พลัว่
4. ลกู สุกรอนบุ าลนา้ หนักไม่ต่ากว่า 15 กิโลกรัม จานวน 30 ตวั
การประเมนิ ผล
สง่ิ ทปี่ ระเมนิ
4. พฤติกรรมการเรยี นรู้
5. ความร้คู วามเข้าใจในเนื้อหา
6. คุณธรรม จรยิ ธรรม
วิธีประเมิน
3. สงั เกตพฤตกิ รรมผูเ้ รยี นขณะปฏิบัติงานให้คะแนนลงในแบบประเมินกิจกรรมกลุม่

(15 คะแนน)
4. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น (5 คะแนน)
เครื่องมือประเมนิ
3. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุม่
4. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน

เอกสารอ้างอิง

วมิ ล อยยู่ นื ยง. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการการผลิตสุกรและสตั ว์ปกี . พมิ พ์
คร้ังท่ี 6. นนทบรุ ี: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.

สรุ พล แก้วมงคล. (2553). เอกสารการสอนชดุ วิชาวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสัตว.์ พิมพ์ครง้ั ท่ี
10. นนทบรุ ี: โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช.

บนั ทึกหลังการสอน
หนว่ ยที่ 7 เรอื่ ง การจัดการสกุ รขนุ
สอนครง้ั ท่ี จานวน ชว่ั โมง

166

ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรียนของผู้เรยี น

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชอ่ื ....................................ครูประจาวชิ า

ใบงานที่ 9

รหสั วิชา 2501-2304 ชอ่ื วิชา การเลย้ี งสกุ ร สอนครั้งท่ี
หนว่ ยที่ 9 ชอ่ื หน่วย โรคและการปูองกนั เวลารวม ชม.
ช่อื งาน โรคและการปูองกัน เวลา วนั

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. เรยี กชอื่ วัคซนี ทีนามาเปน็ ตัวอย่างได้อยา่ งถูกต้องทง้ั หมด
2. ปฏบิ ตั ิการฉีดวัคซนี ปูองกนั โรคได้ถูกต้องตามข้นั ตอนอย่างน้อย 1 ชนิด

วสั ดุอุปกรณ์

167

1. วคั ซนี ชนดิ ตา่ ง ๆ
2. เข็มฉีดยา
3. สาลี
4. แอลกอฮอล์
5. กระบอกฉีดยา
6. ปากคบี

ลาดับข้ันการปฏบิ ตั งิ าน

ขน้ั ท่ี 1 ศึกษาวัคซนี สกุ รแต่ละชนิดทจี่ ัดเตรยี มไวว้ ่าเปน็ วัคซีนอะไร และรายละเอยี ดอน่ื ๆ จากฉลาก
ทีข่ วดวัคซีนแตล่ ะชนิด พร้อมสรุปชอ่ื วัคซีนและข้อบง่ ใช้ จัดทารายงานส่งผู้สอน

ขั้นท่ี 2 การทาวัคซีนมีข้ันตอนการปฏิบตั ดิ ังน้ี
ตม้ เขม็ และกระบอกฉดี ยาให้เดอื ด ประมาณ 5 นาที หา้ มใช้สารเคมี หรอื ยาฆ่าเช้ือโรคล้าง หรือเชด็
กระบอกฉีดยาทีจ่ ะใชท้ าวคั ซีน
เตรยี มวคั ซีน ถา้ เป็นวคั ซีนที่ต้องใชน้ ้ายาทาละลาย เช่น อหิวาต์สุกร ให้อ่นุ วัคซีนและน้ายาละลายวคั ซีนให้
มอี ณุ ภมู ิใกลเ้ คียงกันกอ่ น โดยแช่ในนา้ แชน่ ้าแข็ง แล้วจงึ นามาละลายวัคซีนให้เปน็ สารละลายตามเอกสาร
กากบั แล้วนาไปแชไ่ วใ้ นกระตกิ ท่มี ีน้าแข็งตลอดเวลาจนกว่าจะนาไปฉีดใหส้ กุ ร วัคซีนท่ีละลายแล้วควรใช้ให้
หมดภายใน 1 ชวั่ โมง ถา้ วัคซนี ท่ีละลายแลว้ มเี หลอื ให้ทงิ้ ไป หา้ มนามาแชต่ ้เู ยน็ ไวใ้ ช้ในครั้งต่อไป ถ้าเป็นวัคซีน
ท่เี ป็นสารละลาย เช่น วัคซนี ปอู งกนั โรคปากและเทา้ เป่ือย วัคซนี โรคพษิ สุนัขบา้ เทยี ม ฯลฯ ใหน้ าออกจาก
ตูเ้ ยน็ ไปใส่ไว้ในกระติกนา้ แข็ง นาไปใชฉ้ ดี ได้เลย วคั ซีนประเภทนีเ้ หลือสามารถเกบ็ ไปแช่ต้เู ยน็ ไวใ้ ชค้ รัง้ ตอ่ ไปได้
จบั บังคบั สกุ รท่ีจะฉีดวคั ซนี ถ้าเปน็ ลูกสุกรใช้วิธีอุ้มลูกสุกรขึ้นแนบอก เพือ่ ฉีดวคั ซีนเข้ากล้ามเนือ้ คอ หรอื
เขา้ ใต้ผวิ หนงั ทีก่ กหู(ขนึ้ อยู่กับชนดิ ของวัคซีน) ถ้าเปน็ สกุ รใหญเ่ ชน่ แมพ่ นั ธ์ุ ให้ใช้เชือกมดั จมูก(snout) ดงึ ไว้
หรือมัดไว้กบั กรงจะชว่ ยตรึงสุกรให้อยู่กบั ท่ี ทาให้ฉดี วัคซีนได้งา่ ยขึน้
ใช้สาลชี ุบแอลกอฮอล์เช็ดบรเิ วณทจ่ี ะฉดี วคั ซีน และรอใหแ้ อลกอฮอล์ระเหยจนแห้งแล้วจึงคอ่ ยปักเขม็ ฉีด
วคั ซนี ใช้กระบอกฉีดยาพร้อมเขม็ ดดู วัคซีนจากขวดในปริมาณทีก่ าหนด แลว้ ฉดี ให้สกุ รตามข้อบ่งใช้ของวคั ซนี
แตล่ ะชนดิ เช่น วัคซีนอหวิ าต์สุกรใช้ 1 ซ.ี ซ.ี ตอ่ ตวั ฉดี เขา้ บรเิ วณกลา้ มเน้ือคอหรือกลา้ มเน้อื สะโพก วัคซีนปาก
และเทา้ เปื่อยใช้ 3-5 ซี.ซี. ต่อตัว(ขึน้ อยู่กับวัคซีน)ฉดี เขา้ ใต้ผิวหนงั หรอื ซอกกกหบู ริเวณขาพบั วคั ซีนพิษสุนัขบา้
เทยี มใช้ 2 ซ.ี ซี. ตอ่ ตวั ฉีดเขา้ ใต้ผิวหนัง ก่อนดดู วคั ซีนควรมกี ารเขย่าวัคซีนก่อนเสมอ
เม่อื ฉีดเสร็จแลว้ ก็ปล่อยสุกรไป ถ้าเป็นสกุ รท่เี ลีย้ งรวมกันเป็นคอกใหญ่ ควรทาตาหนิตวั ที่ฉดี แล้วไวด้ ว้ ย
เพ่อื ไมใ่ ห้สับสนในการฉีด จนกวา่ จะฉีดหมดทั้งคอก ถา้ เป็นสุกรพอ่ แม่พันธ์ุ เมอื่ ฉีดเสร็จแล้วควรบันทกึ การทา
วคั ซนี ในบตั รประจาตัวของสุกรด้วย
ขน้ั ที่ 3 ข้อระวังในการทาวัคซีน
ไมค่ วรฉดี วคั ซนี ใหก้ ับสุกรกาลังปุวยหรือสกุ รท่ีสงสัยว่าปวุ ย

168

ไมค่ วรฉีดวคั ซีนหลาย ๆ ชนดิ พร้อม ๆ กันเพราะจะทาใหร้ า่ งกายสร้างภูมิตา้ นทานได้ไม่ดี วัคซนี แต่ละชนิด
ควรทาหา่ งกันอยา่ งน้อย 1 สัปดาห์

ไมค่ วรฉีดวัคซีนในแมส่ ุกรอุ้มท้อง เพราะอาจทาให้แทง้ ได้ ยกเว้นวัคซนี บางชนิดท่ที าไดใ้ นระยะท้ายของ
การอมุ้ ทอ้ ง เพ่ือต้องการให้แมส่ ุกรสามารถสรา้ งภูมิต้านทานและส่งผลไปใหล้ ูกได้

ไมค่ วรใช้วัคซนี ท่ีหมดอายแุ ลว้ หรอื วคั ซีนทมี่ ีการเกบ็ รักษาไมด่ ี
ควรทาการถ่ายพยาธใิ ห้กับสุกร กอ่ นทาการฉีดวัคซนี ประมาณ 2 สัปดาห์ เพ่อื ให้สุกรมีความแข็งแรง และ
สร้างภมู ติ า้ นทานไดด้ ี
หลังจากทาวัคซีนแล้วไม่ควรอาบนา้ ให้สกุ รประมาณ 1 สัปดาห์ เพราะอาจทาใหเ้ กิดโรคแทรกซ้อนได้
อย่าให้สารประเภทคอรต์ ิโคสเตยี รอยด(์ Corticosteroil) รว่ มกับการทาวัคซีน เพราะสารประเภทนี้ไป
ขัดขวางการสรา้ งภมู ิต้านทานโรคของรา่ งกายได้
ไม่ควรทาวัคซีนใหแ้ ก่สุกรท่ผี ่านการเดนิ ทางไกลไม่เกิน 1 สัปดาห์ หรอื เคล่อื นย้ายสุกร หรอื ให้สุกรเดนิ
ทางไกลหลงั จากฉีดวัคซนี ไม่เกนิ 1 สปั ดาห์
ข้อควรระวัง

ระวังอันตรายจากเข็มฉดี ยาท่ิมแทง
การวดั ผล

นักเรยี นทั้งหมดสามารถปฏิบัติการฉดี วัคซีนใหก้ บั ลกู สุกรถูกตอ้ งทกุ ขนั้ ตอน และลูกสุกรปลอดภัย
ทกุ ตวั

คาแนะนา ใหน้ ักเรยี นอ่านคาถามแลว้ เขียนวงกลมล้อมรอบข้อความท่ีถูกตอ้ งท่ีสดุ
1.การรกั ษาสุกรท่มี ีอาการของโรคพษิ สุนขั บ้าเทียมมวี ิธกี ารอย่างไร
ก. ผสมยาปฏชิ ีวนะในอาหาร
ข. ฉีดยาปฏชิ วี นะเป็นรายตัว
ค. ผสมเยนเชยี่ นไวโอเลตในนา้ ดมื่
ง. ไม่มีวิธรี กั ษาที่ไดผ้ ล
2.โรค PRRS เกิดกบั ระบบใดของสุกร
ก. ระบบหายใจและระบบสืบพนั ธุ์
ข. ระบบประสาทและระบบขบั ถ่าย
ค. ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบกล้ามเนื้อ
ง. ระบบทางเดินอาหารและระบบกระดกู
3.โรคในข้อใดที่มักเกดิ จากการจัดการทผ่ี ดิ พลาด
ก โรคไฟลามทุ่ง

169

ข. โรคไขห้ ลังคลอด

ค. โรคปอดบวม

ง. โรคฝดี าษ

4.ข้อใดเป็นยาทใี่ ชร้ ักษาโรคท้องเสยี จากเชื้อ อี.โคไล

ก. ลินโคมยั ซิน

ข. เพนนิชลิ ิน

ค. ชัลฟา + ไตรเมทโทรพรมิ

ง. แอมมอ๊กซี่ซลิ ิน

5.สกุ รที่ตายแลว้ มีฟองเลือดออกทางปากและจมูก สัญนิฐานวา่ เกิดจากการตดิ เชือ้ โรคใด

ก. โรคปอดบวม

ข. โรคพาสเจอร์เนลโลซีส

ค. โรคเยื่อหุ้มปอดอักเสบ

ง. โรคไข้สมองอกั เสบ

6. การฉีดวัคซีนปูองกนั โรคอหวิ าต์สุกรให้กับลูกสุกรหย่านมควรกระทาเมื่อไร

ก. ลกู สุกรอายุ 4 สัปดาห์

ข. ลูกสุกรอายุ 5 สัปดาห์

ค. ลกู สุกรอายุ 6 สัปดาห์

ง. ลกู สกุ รอายุ 7 สัปดาห์

7. การฉดี วัคซีนปูองกันโรคปากและเท้าเป่ือยสุกรให้กับลูกสุกรหย่านมควรกระทาเม่อื ไร

ก. ลูกสุกรอายุ 4 สัปดาห์

ข. ลูกสุกรอายุ 5 สัปดาห์

ค. ลกู สุกรอายุ 6 สปั ดาห์

ง. ลูกสกุ รอายุ 7 สัปดาห์

8. วัคซนี ปูองกันโรคปากและเทา้ เปื่อยสุกรของกรมปศุสตั ว์จะฉีดใหส้ กุ รตัวละกซี่ ซี ี

ก. 1 ซซี ี ข. 2 ซซี ี

ค. 3 ซซี ี ง. 4 ซซี ี

9. ขอ้ ใดเป็นยาท่ีใชฉ้ ดี รักษาโรคพยาธิ

ก. ลินโคมยั ซิน ข. นิโอมยั ซิน

ค. เปปเปอราซีน ง. ออริโอมยั ซนิ

10. วัคซนี ปูองกนั โรคพิษสนุ ัขบ้าเทียมควรฉีดให้แม่สกุ รเมื่อใด

ก. กอ่ นคลอด 4 สัปดาห์ ข. กอ่ นคลอด 2 สปั ดาห์

ค. หลังคลอด 2 สัปดาห์ ง. หลงั คลอด 3 สัปดาห์

170

……………………………………………………………………

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 7
ชือ่ วิชา การผลติ สกุ ร สอนครั้งที่
ชั่วโมงรวม
ชอื่ หน่วย การบันทึกข้อมลู งานฟาร์ม
จานวนชัว่ โมง
ชอ่ื เรือ่ ง การบนั ทึกงานฟารม์ สอนคร้ังที่

สาระสาคัญ
การเล้ยี งสุกร ให้ประสบผลสาเรจ็ การจดบนั ทกึ มีความสาคัญเปน็ อยา่ งยิง่ ซง่ึ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้

เล้ียง สามารถใช้เปน็ ตวั บง่ ช้ีความสาเรจ็ ของการเลีย้ งสุกร หรือความสามารถในการจดั การของ ผ้เู ลยี้ ง เชน่
การบันทกึ การกนิ อาหาร การทาวคั ซนี การจดบันทกึ การเป็นสัด การผสมพันธ์ุ การคลอดของสกุ ร ทัง้ น้ีจะทา
ใหเ้ จ้าของฟาร์มสามารถวางแผนการผลิตได้ถูกตอ้ งว่าจะเล้ียงแมส่ ุกร และพ่อสกุ รจานวนเทา่ ไร จานวนครอก
ต่อแมต่ ่อปี จานวนลูกท่เี กิดซึ่งจะทาให้ทราบว่าช่วงไหนจะตอ้ งทาอะไรกบั สุกรบา้ ง ในการผลิตในรอบ 1 ปี โดย
ปกตสิ กุ รพ่อ แม่พนั ธ์จุ ะมีบตั รประจาตัวสกุ ร ซง่ึ จะตอ้ งมีการบนั ทึกประวตั ิของสุกรตัวนัน้ ๆ ว่าความสามารถ
ในการผลิตเป็นอยา่ งไร

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1.เพ่ือให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการบันทกึ งานฟารม์ สุกร
2. เพื่อให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจถึงประโยชน์ของการบันทกึ งานฟาร์มสกุ ร
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1.สามารถอธิบายวธิ กี ารบันทึกขอ้ มลู งานฟาร์มสุกรได้
2.สามารบอกประโยชน์ของการบนั ทึกในงานฟาร์มสุกรได้

เน้ือหาสาระ

การจดบันทึกงานฟาร์มสุกร เป็นการจดบันทึกข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับตัวสุกรน้ันๆ เพื่อจัดทา
ระเบียนประวัติสุกรในฟาร์ม ข้อมูลเหล่าน้ีเป็นส่ิงจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับผู้เล้ียงสุกรที่ต้องการควบคุมให้
ประสิทธิภาพการผลติ ของฟารม์ อยใู่ นระดบั สูง และเกิดผลกาไรอย่างต่อเนอื่ ง ส่วนการทาบัญชีเป็นปัจจัยหน่ึงที่
จะทาให้ผู้ดาเนินการฟาร์มสุกรประสบผลสาเร็จ เนื่องจากเงินทุนเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีสาคัญในการดาเนินงาน

171

ฟาร์มสุกร นอกจากนี้การทาบัญชีการเงินท่ีถูกต้องยังทาให้ผู้ดาเนินงานฟาร์มสุกรใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ
ในการพฒั นางานฟารม์ สกุ ร ให้มขี นาดการผลิตสงู ขึ้นในอนาคต
การจดบนั ทึกงานฟาร์มสุกรและทาบญั ชี

การจดบันทึกงานฟาร์มสุกร เป็นการจดบันทึกข้อมูลสุกร เพ่ือทาระเบียนประวัติสุกร ทุกตัวใน
ฟาร์ม ซึ่งผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยส่วนใหญ่ไม่ให้ความสาคัญกับการจดบันทึก จะใช้การจดจาหรือบันทึกข้อมูลใน
การผลิตเล็กๆน้อยๆ เพราะคิดว่าข้อมูลเหล่าน้ันไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ขบวนการผลิตสุกรและเป็นการ
เสยี เวลา ซึง่ เปน็ สาเหตุหน่ึงที่ผู้เล้ียงสุกรส่วนใหญ่มักไม่ประสบผลสาเร็จเนื่องจากไม่สามารถทราบได้ว่าสุกรที่
เลี้ยงน้ันมีประสิทธิภาพการผลิตสูง หรือต่าระดับใด วิธีการเลี้ยงดูสุกรของผู้เลี้ยงท่ีดาเนินการอยู่น้ันมีความ
บกพรอ่ งอยา่ งไร ทาให้ไมส่ ามารถแก้ไขปญั หาที่เกิด ขึ้นไดแ้ ละส่งผลถงึ รายได้ท่ีจะได้รับ ดังน้ันผู้เล้ียงสุกรไม่ว่า
จะเล้ียงเป็นอาชีพหลัก หรือเป็นอาชีพเสริมก็ตาม ควรมีการจดบันทึกเหตุการณ์และประวัติของสุกรแต่ละตัว
หรือแต่ละกลุ่ม ส่วนในการดาเนินการด้านการบัญชีการเงินก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะทาให้ผู้ดาเนินงานฟาร์ม
ประสบผลสาเร็จ เน่ืองจากเงินทุนเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีสาคัญในการดาเนินงานฟาร์ม นอกจากนี้การทาบัญชี
การเงินทถี่ กู ต้อง ยงั ทาใหผ้ ูด้ าเนนิ งานฟารม์ ใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการตดั สินใจในการพฒั นางานฟารม์ ให้มีขนาดการ
ผลิตสูงขึ้นในอนาคต นอกจากบัญชีด้านการเงินแล้ว บัญชีฟาร์มยังประกอบด้วย บัญชีทรัพย์สิน หน้ีสิน ซ่ึง
ข้อมูลจากบัญชีเหลา่ น้จี ะเป็นเครอ่ื งแสดงถงึ ความมัน่ คงของกจิ การ รวมทง้ั แนวโนม้ ของกจิ การในอนาคต

1. ประโยชน์ของการจดบันทกึ งานฟาร์ม
การจดบันทึกงานฟาร์มสุกรควรมีการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆภายในฟาร์ม โดยมีหลักการเก็บ

ข้อมูล คือการบันทึกข้อมูลให้สามารถอ่านและแปลความหมายได้ง่าย เป็นข้อมูล ที่สามารถนา ไป
วิเคราะห์หาความจริงได้แน่นอน โดยจัดทาเป็นระเบียน แยกเป็นหมวดหมู่ และ จดบันทึกข้อมูลอย่าง
ต่อเน่ืองเป็นปจั จบุ ัน (สุชีพ รัตรสาร, 2537: 73) สามารถสรปุ เปน็ ข้อๆได้ ดงั นี้

1.1 ทาให้ผู้เลี้ยงทราบฐานะของฟาร์มตนเองว่าอยู่ในระดับไหน ควรจะดาเนิน หรือขยายกิจการ
ออกไปอกี หรอื ไม่

1.2 ทาให้ผู้เล้ียงสามารถแก้ไขปัญหา และการจัดการฟาร์มให้เข้ากับสภาพการผลิต หรือ ความ
ต้องการของตลาดได้

1.3 ทาให้ผู้เลี้ยงรู้ขอ้ ทีด่ ีหรือบกพร่องในแต่ละระยะของการเลี้ยงจนกระทั่งจาหน่ายสู่ตลาด
และสามารถแกไ้ ขปรบั ปรงุ งานได้ถูกต้องทุกระยะของการเลย้ี ง

2 ข้อมลู การบนั ทึกงานฟาร์มสกุ ร
การบันทึกข้อมูลสุกรในฟาร์มมีการบันทึกแตกต่างกันแล้วแต่ความต้องการของผู้เล้ียง เพื่อใช้

ประกอบการวางแผนในการผลิตสุกรอยา่ งตอ่ เน่อื ง (สุชพี รัตรสาร, 2537: 77) ที่สาคญั พอสรุปได้ดงั นี้
2.1 การบนั ทึกประวตั ปิ ระจาตัวสุกรพนั ธ์ุ เปน็ การเกบ็ ข้อมลู ประวัติของสุกรพ่อพนั ธ์ุ หรอื

172

สุกรแมพ่ นั ธุ์ เพ่อื ให้รู้วา่ เปน็ สายพันธุใ์ ด เกดิ จากพ่อและแมเ่ บอรใ์ ด เปน็ การปูองกนั การผสมพันธุ์ เลือดชิด
ซึ่งอาจจะเกิดข้ึนได้ถ้าผู้เลี้ยงไม่สังเกตประวัติ และประวัติการทาวัคซีนปูองกันโรคต่างๆท่ีผ่านมา เพ่ือท่ีจะ
กาหนดให้ใหม่ในครง้ั ต่อไป ดังแสดงในตารางที่ 9.1 ดงั น้ี

ตารางที่ 9.1 แสดงแบบบนั ทึกประวัติประจาตวั สกุ รพันธุ์

แบบประวัติประจาตวั สุกรพันธ์ุ

ประวตั ปิ ระจาตัว พ่อ / แมพ่ ันธุส์ ุกร เบอร์.............

พนั ธุ์..................................สายพนั ธุ์.................................เบอร์................................

เบอร์พ่อ............................เบอร์แม่.................................วันคลอด............................

จานวนพน่ี ้อง....................นา้ หนักแรกคลอด.................น้าหนกั หย่านม...................

อายุหยา่ นม....................... อายเุ มื่อ 56 วัน.................. อตั ราการเจริญเติบโต...........................

อัตราแลกเนื้อ................... ความหนาของไขมันสนั หลัง.............................

วคั ซนี อหิวาตส์ กุ ร ครั้งท่ี 1 เมื่อวันที่..............................................

ครัง้ ท่ี 2 เมื่อวนั ท่ี..............................................

คร้งั ที่ 3 เมื่อวนั ท่ี...............................................

วคั ซนี ปากและเท้าเปื่อย ครั้งท่ี 1 เมื่อวันท่ี...............................................

ครัง้ ท่ี 2 เมือ่ วนั ที่...............................................

ครัง้ ท่ี 3 เม่อื วนั ที่...............................................

วคั ซนี อน่ื ๆ ครง้ั ท่ี 1 เมื่อวันท่ี................................................

ครง้ั ท่ี 2 เมือ่ วันท่ี................................................

ครัง้ ท่ี 3 เมือ่ วันท่ี................................................

การถา่ ยพยาธิ ครั้งท่ี 1 เมื่อวนั ที่...............................................

ครั้งที่ 2 เมอ่ื วนั ท่ี................................................

ครง้ั ท่ี 3 เม่ือวันท่ี................................................

ทีม่ า สุชพี รตั รสาร (2537: 81)
2.2 การบันทกึ จานวนสุกรพันธุใ์ นฟาร์ม เป็นการเกบ็ รวบรวมจานวนสกุ รทั้งหมดในฟาร์ม

โดยแยกประเภทของแต่ละพันธุ์ เพ่ือสะดวกในการจัดการการผลิต สามารถออกแบบบันทึกจานวนสุกรพันธ์ุ
ดงั แสดงไว้ในตารางที่ 9.2

ตารางที่ 9.2 แสดงแบบบนั ทึกจานวนสกุ รพันธ์ุในฟาร์ม

173

บนั ทึกจำนวนสกุ รพนั ธุ์

ประจาเดือน...........................

หนว่ ยท่ี...................................

วันท่ี เพศ พันธ์ลุ ารจ์ ไวท์ พันธุ์ดรู อค พันธแ์ุ ลนด์เรซ

ดย ร ขพดย ร ขพดย ร ขพ

หมายเหตุ
ด = ลูกสกุ รระยะดูดนม
ย = ลกู สุกรระยะหย่านม - สุกรเล็ก
ร = ลูกสกุ รรุ่น อายุ 10 – 16 สปั ดาห์
ข = สกุ รขนุ อายุ 16 สัปดาห์ ข้นึ ไป
พ = สกุ รพอ่ แม่พันธ์ุ

ทม่ี า สชุ ีพ รตั รสาร (2537: 82)

2.3 บนั ทกึ จานวนสุกรในฟาร์ม เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจานวนสุกรชนิดต่างๆ เช่น สุกรแม่พันธ์ุ
สุกรพ่อพันธุ์ ลูกสุกรระยะดูดนม สุกรระยะหย่านม หรือสุกรขุน ดังแสดงตามแบบบันทึกจานวนสุกรในฟาร์ม
ในตารางท่ี 9.3

ตารางท่ี 9.3 แสดงแบบบันทึกจานวนสุกรในฟาร์ม

บันทกึ จำนวนสุกร
ประจาเดอื น..................................
หน่วยท่ี........................................
วนั ที่ ยอดยกมา รบั เข้า ย้ายออก จาหน่าย ตาย คงเหลอื

174

ทีม่ า สชุ ีพ รัตรสาร (2537: 82)

2.4 การบนั ทึกการใชง้ านพอ่ พนั ธ์ุ เปน็ การบันทกึ ข้อมูลการใชพ้ อ่ พนั ธุ์ เบอรใ์ ด ในวนั น้ัน
เพ่ือเป็นข้อมูลในการใช้และการเว้นระยะการใช้งานหรือพักพ่อพันธ์ุได้ถูกต้องเหมาะสม ดังแสดงตามแบบ
บันทึกการใชง้ านพอ่ พนั ธ์ุ ในตารางที่ 9.4
ตารางที่ 9.4 แสดงแบบบนั ทึกการใช้งานพ่อพนั ธ์ุ

บันทึกการใช้งานพ่อพนั ธ์ุ
ประจาเดอื น...............................
หน่วยท่ี.....................................

วนั ที่ เบอร์พ่อพนั ธุ์ เบอรพ์ ่อพนั ธ์ุ เบอร์พ่อพนั ธ์ุ เบอร์พ่อพันธ์ุ เบอร์พ่อพนั ธ์ุ

หมายเหตุ
ในช่องเบอรพ์ อ่ พันธุ์ ใหใ้ สเ่ บอรพ์ อ่ สกุ รแตล่ ะตวั ท่ีใช้ในฟารม์
กรณีเป็นการผสมแบบธรรมชาติ การลงข้อมลู ในตารางอาจใช้เคร่อื งหมาย / ในช่องพ่อพันธุท์ ่ถี กู ใชง้ าน
กรณเี ป็นการรดี นา้ เช้ือหรือการผสมเทียมใหร้ ะบปุ รมิ าณน้าเช้อื ที่รดี ไดใ้ นชอ่ งพอ่ พันธ์ทุ ีถ่ ูกใชง้ าน

ทมี่ า สุชีพ รัตรสาร (2537: 83)
2.5 การบันทึกการผสมพันธ์ุ เปน็ การบันทกึ ขอ้ มลู การผสมพนั ธข์ุ องแม่สุกร โดยมีขอ้ มูล

ระบจุ านวนครอกท่ีเคยใหล้ กู เบอร์พ่อพันธ์ุท่ีใช้ผสม ช่วงเวลาผสม และผลของการผสม เพ่ือไว้ใช้พิจารณาการ
กลับสัด การผสมตดิ ตลอดจนจานวนลูกท่ีจะเกิดข้นึ ในอนาคต และพิจารณาประสิทธิภาพของพ่อพันธุ์ด้วย ดัง
แสดงแบบบันทกึ การผสมพันธุ์ในตารางที่ 9.5 ดงั นี้

ตารางที่ 9.5 แสดงแบบบันทึกการผสมพันธุ์

ตารางบันทกึ การผสมพันธ์ุ

ประจาเดือน.......................

หน่วยท่ี..............................

ลาดับที่ ครอกที่ วันผสม เบอร์พ่อ เวลาทผี่ สม ผลการผสม
เบอรแ์ ม่ 123123

175

หมายเหตุ
เวลาผสม ใหร้ ะบวุ า่ เช้า หรอื เย็น
ผลการผสม ใหร้ ะบวุ ่า ดี หรอื ไม่ดี หรืออาจใชอ้ ักษรแทน เชน่ ถา้ ผลการผสมดีใชอ้ กั ษร A ปาน

กลาง B และไม่ดี C
ท่มี า สุชพี รตั รสาร (2537: 84)

2.6 บันทึกการคลอด เป็นการบันทึกการคลอดของแม่สุกรแต่ละตัวในฟาร์ม โดยมีรายการ บันทึก
รายละเอยี ด ดังแสดงแบบบนั ทึกการคลอดในตารางท่ี 9.6 ดงั น้ี

ตารางที่ แสดงแบบบันทึกการคลอด
บันทึกกำรคลอด

ประจาเดือน...................
หน่วยท่ี .........................

176

ลาดับ เบอร์ ครอก วนั คลอด จานวน ตาย พกิ าร มมั ม่ี อ่อนแอ มีชีวิต ย้าย จานวน
ที่ แม่ ท่ี ลูกท่ี ฝาก ทเ่ี ลย้ี ง
คลอด

หมายเหตุ
ครอกท่ี หมายถึง จานวนครง้ั ที่แม่สุกรเคยใหล้ ูก เช่น แม่สกุ รใหล้ กู เป็นครั้งแรก เรียกวา่ ครอกที่ 1

ย้ายฝาก หมายถึง การยา้ ยลกู สุกรไปให้แม่สุกรตัวอื่นเล้ียง และแม่สุกรที่รบั ลูกตัวอน่ื เล้ียงถือ
วา่ รับฝาก

ถ้าแมส่ กุ รรบั ลูกจากแม่สกุ รตัวอน่ื มาเล้ียง จานวน 1 ตวั ใหล้ งข้อมลู ในช่อง ย้ายฝากว่า +1
และในทางตรงข้ามกัน ถา้ แม่สุกรถกู ย้ายลูกไปฝากแม่สุกรตวั อื่น จานวน 1 ตวั ใหล้ งข้อมลู ใน ชอ่ งย้ายฝากวา่ -
1
ที่มา สุชพี รัตรสาร (2537: 85)

2.7 บันทึกการหย่านมของแม่และลูกสุกร เป็นการบันทึกการหย่านมโดยมีรายละเอียดของ แม่
และลกู สกุ รทห่ี ย่านม ดงั แสดงแบบบันทกึ การหย่านมในตารางที่ 9.7 ดังนี้

177

ตารางท่ี 9.7 แสดงแบบบนั ทึกการหย่านมสุกร

บนั ทึกกำรหยำ่ นมสุกร

ประจาเดอื น.............................
หน่วยท่ี....................................

ลาดบั ที่ เบอร์แม่ ครอกท่ี วันหยา่ นม จานวนหยา่ นม อายุหย่านม นา้ หนกั หย่านม
(ตัว) (วนั ) (ก.ก)

ท่ีมา สุชพี รัตรสาร (2537: 86)

2.8 แบบบันทึกการจาหน่ายสุกร เป็นการบันทึกการจาหน่ายของสุกรชนิดต่างๆโดยมีรายละเอียด
ชนดิ หรอื ประเภทของสุกรทจี่ าหนา่ ย ดังแสดงแบบบนั ทกึ การจาหนา่ ยสกุ ร ในตารางท่ี 9.8 ดงั นี้

178

ตารางท่ี 9.8 แสดงแบบบนั ทึกการจาหน่ายสุกร

บันทกึ กำรจำหน่ำยสกุ ร

ประจาเดือน.............................

หนว่ ยท่ี....................................

ชนิดของสุกร

วันท่ี สุกรพันธุ์ สุกรอนุบาล สุกรขนุ สกุ รปุวย

จานวน น้าหนกั จานวน นา้ หนกั จานวน นา้ หนัก จานวน นา้ หนัก

(ตวั ) (ก.ก) (ตวั ) (ก.ก) (ตวั ) (ก.ก) (ตัว) (ก.ก)

179

บนั ทกึ กำรหย่ำนมสุก

ประจาเดือน.............................
หนว่ ยที่....................................

ลาดบั ที่ เบอร์แม่ ครอกท่ี วันหย่านม จานวนหยา่ นม อายหุ ยา่ นม นา้ หนกั หยา่ นม
(ตวั ) (วัน) (ก.ก)

ท่ีมา สชุ ีพ รตั รสาร (2537: 87)

180

2.9 บันทึกการตายของสุกร เป็นการบันทึกการตายของสุกรโดยมีรายละเอียด ดังแสดงในแบบ
บนั ทกึ การตายของสุกรตารางท่ี 9.9 ดงั น้ี

ตารางที่ 9.9 แสดงแบบบันทึกการตายของสุกร
แบบบันทกึ กำรตำยของสกุ ร

ประจาเดอื น....................................
หน่วยที่..........................................
วนั ท่ี ประเภทของสุกร จานวน ขนาด(ก.ก.)/อายุ (วนั ) สาเหตุ การจัดการ
(ตวั ) การตาย ซาก

หมายเหตุ ประเภทของสุกร หมายถงึ ลูกสุกร สกุ รอนุบาล สกุ รขุน สกุ รพอ่ พนั ธแ์ุ ละสุกรแม่พันธุ์
ทีม่ า สชุ ีพ รัตรสาร (2537: 88)

2.10 บันทึกการคัดท้ิง เป็นการคัดท้ิงสุกรทุกประเภทท่ีไม่สามรถใช้งานได้เน่ืองจากสาเหตุต่างๆ ดัง
แสดงแบบบันทกึ การคดั ท้ิงในตารางที่ 9.10 ดงั น้ี
ตารางที่ 9.10 แสดงแบบบันทกึ การคดั ท้ิงสุกร

แบบบันทกึ กำรคัดท้งิ สกุ ร
ประจาเดือน...................................
หน่วยท่ี.........................................

181

วันท่ี ประเภทของสกุ ร จานวน สาเหตขุ องการคดั ท้ิง หมายเหตุ
(ตวั )

ทม่ี า สุชพี รัตรสาร (2537: 89)

3. การเกบ็ ขอ้ มลู การผลิต และสถิตกิ ารจัดการฟารม์

การเกบ็ ข้อมลู การผลิต และสถิตกิ ารจดั การฟาร์ม ผูเ้ ลีย้ งสามารถนาขอ้ มูลเหล่านี้ มาช่วยใน

การตัดสินใจการคัดเลอื กพันธ์ุสุกรว่าจะปรับปรุงลักษณะอะไรบ้าง ข้อมูลการผลิตและสถิติการจัดการฟาร์มที่

ควรเก็บบันทกึ ในการเลย้ี งสุกร (สรุ ศกั ดิ์ บรู ณศริ นิ ทร์ และมณฑิชา พุทซาคา, 2554: 351) ไดแ้ ก่

3.1 ลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของสุกร โดยอาจจะชัง่ นา้ หนักสกุ รเกบ็ ตัวเลขทกุ ๆ 2 สปั ดาห์

เพื่อตรวจสอบอัตราการเจริญเติบโต ในทางปฏิบัติมักจะเก็บหลังจากเม่ือส้ินสุดการเล้ียง การหาอัตราการ

เจรญิ เตบิ โตเฉลยี่ ตอ่ วัน (Average daily gain) ซง่ึ คานวณได้จากสมการนี้

อัตราการเจริญเติบโตเฉลยี่ ตอ่ วนั = นา้ หนักสุดทา้ ย – นา้ หนักเรมิ่ เล้ียง
จานวนวนั ทเี่ ล้ียง

ดังตวั อย่าง สกุ รตวั หนง่ึ เรม่ิ เล้ียงท่นี ้าหนัก 15 กิโลกรมั เม่ือเล้ยี งได้ 120 วัน

แล้วชงั่ นา้ หนักสดุ ท้ายได้ 90 กิโลกรัม สุกรตัวน้ีมีอัตราการเจริญเตบิ โตตอ่ วนั เทา่ ใด

อตั ราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอ่ วัน = 90 – 15 = 625 กรมั

120

ดังนั้นสรุปว่า สุกรตัวนี้มีอัตราการเจริญเติบโตต่อวัน เท่ากับ 625 กรัม หรือมีน้าหนักเพิ่มวันละ

625 กรมั

ถ้าอัตราการเจริญเติบโตลดลง ส่วนใหญ่เน่ืองมาจากปริมาณการกินอาหารที่ลดลง เพราะ

ปริมาณอาหารที่กินต่อวันต่อตัว เป็นตัววัดประสิทธิภาพของสุกร มีความสัมพันธ์กับอัตรา การ

เจริญเติบโตต่อวัน ความน่ากินของอาหาร และคุณภาพของอาหารสัตว์ การที่สุกรกินอาหาร ในแต่ละวัน

ลดลง มีสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจากสภาวะอุณหภูมิสูงขึ้น อาหารมีสารพิษจากเชื้อรา ปะปนมาในระดับสูง

อาหารสัตวม์ ีลกั ษณะฟาุ มเกินไป หรืออาหารมีความน่ากินตา่

3.2 ลักษณะประสิทธภิ าพของการเปล่ยี นอาหาร ประสิทธภิ าพการเปลยี่ นอาหาร หมายถงึ

จานวนอาหารท่ีสุกรกินและทาให้น้าหนักเพิ่มขึ้น 1 หน่วยน้าหนัก หรือ 1 กิโลกรัม โดยคานวณจากน้าหนัก

สุกร และจานวนการกินอาหาร การหาอัตราการแลกน้าหนัก (Feed conversion ratio; FCR) ใช้สมการดังนี้

อัตราการแลกน้าหนัก = จานวนอาหารทส่ี ุกรกนิ

182

นา้ หนกั ตัวที่เพม่ิ
ดังตัวอย่าง สุกรตัวหนึ่งเริ่มเล้ียงท่ีน้าหนัก 15 กิโลกรัม และชั่งน้าหนักสุดท้ายได้ 90 กิโลกรัม
โดยกนิ อาหารไปท้ังหมด 200 กิโลกรัม สุกรตัวนี้มีอัตราการแลกน้าหนักเทา่ ใด

อัตราการแลกน้าหนกั = 200 = 2.67 กโิ ลกรัม
75

ดงั นน้ั สรุปว่า สุกรตวั นี้มีอัตราการแลกน้าหนัก เท่ากับ 2.67 กิโลกรัม หรือสุกรกินอาหารจานวน
2.67 กิโลกรัม เพ่ือเปล่ยี นเป็นเน้อื หรือมนี า้ หนักเพม่ิ เทา่ กับ 1 กิโลกรมั

การที่อัตราการแลกน้าหนักเลวลง อาจจะมีสาเหตุมาจากอุณหภูมิสูงหรือต่าเกินไป โปรตีนใน
อาหารสุกรมคี ุณภาพไมด่ ี อาหารมีเยื่อใยสูง หรืออาหารมีการยอ่ ยไดต้ า่

3.3 ลกั ษณะคุณภาพซากสุกรที่สง่ ตลาด การวดั คุณภาพซากทาไดโ้ ดยการวดั ความหนาของ
ไขมนั สนั หลัง ความยาวของซาก เปอร์เซ็นต์เนื้อแดง และควรติดตามไปดูซากท่ีโรงฆ่าสัตว์ แล้วบันทึกข้อมูลไว้
เพอื่ ติดตามแก้ไขปัญหาใหต้ รงกับความต้องการของตลาดต่อไป

แบบทดฝึกหดั ท้ายหน่วยท่ี 10

คาแนะนา ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้โดยละเอยี ด
1. จงบอกประโยชน์ของการจัดทาบนั ทึกขอ้ มูลสกุ รมาอยา่ งน้อย 3 ขอ้
2. จงเขยี นตารางบันทึกข้อมูลสุกรพร้อมยกตวั อย่างมาอย่างน้อย 3 ตาราง
3. จงคานวณหาอัตราการเจรญิ เตบิ โตต่อวัน และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนอ้ื ของสุกร

ดังนเ้ี ลีย้ งสกุ รจานวน 10 ตัว มนี ้าหนกั เม่ือเริ่มเล้ยี งที่ 150 กิโลกรมั เมือ่ เล้ียงได้ 120 วัน แล้วชง่ั นา้ หนัก
สุดทา้ ยได้ 950 กิโลกรมั โดยกนิ อาหารไปทงั้ หมดเท่ากับ 2,000 กโิ ลกรมั

4. จงบอกจุดประสงคข์ องการทาบัญชีขอ้ มลู สุกรมาอย่างน้อย 3 ขอ้
5. จงยกตวั อย่างการจัดการจัดทาบญั ชีข้อมลู สุกรมา 2 อย่าง พร้อมทาแบบบญั ชขี ้อมลู สกุ ร
มาพร้อมด้วย

183

คาแนะนา ใหน้ กั เรียนอ่านคาถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อความทถี่ ูกตอ้ งทส่ี ุด

1. ขอ้ ใดจัดวา่ เปน็ ประโยชน์ของการจดั ทาบนั ทึกข้อมลู สกุ ร

ก. ทาให้ผู้เล้ียงทราบฐานะของฟารม์ ตนเองว่าอยใู่ นระดบั ไหน ควรจะขยายกิจการ

ออกไปอีกหรือไม่

ข. ทาใหผ้ ู้เล้ยี งสามารถแก้ไขปญั หาและการจดั การฟาร์มใหเ้ ข้ากบั สภาพการผลติ

หรือความตอ้ งการของตลาดได้

ค. ทาให้ผู้เลยี้ งรขู้ อ้ ทดี่ หี รอื บกพร่องในแตล่ ะระยะของการเลยี้ งจนกระท่ังจาหน่ายสู่ตลาด

ง. ถกู หมดทกุ ข้อ

2. ข้อใดเป็นหลักการเก็บรวบรวมข้อมูลตา่ ง ๆ ภายในฟารม์

ก. บันทึกข้อมลู ให้สามารถอา่ นและแปลความหมายไดง้ ่าย

ข. บนั ทกึ ข้อมูลทสี่ ามารถนาไปวิเคราะห์หาความจรงิ ได้แนน่ อนและเป็นความจริง

ค. ขอ้ มูลท่ีต้องใชเ้ วลาเกบ็ รวบรวมเป็นเวลานาน ๆ ควรจดั ทาเปน็ ระเบียน แยกเป็นหมวดหมู่

ง. ถกู หมดทุกข้อ

3.ขอ้ ใด ไม่ใช่ จดั อยู่ประเภทบัญชีทวั่ ไป

ก. บัญชถี อนเงนิ ใช้ส่วนตวั ข. บญั ชขี ายเครอื่ งมือและอุปกรณ์เก่า ๆ

ค. บญั ชีใหเ้ ช่า ง. บญั ชีเจา้ หนี้

4. การวดั ผลสาเร็จในการดาเนินงานฟาร์มดจู ากสงิ่ ใด

ก. จากทรัพย์สินของฟาร์มทีม่ ีทงั้ หมดที่มีอยู่ในงบดลุ

ข. จากมลู ค่าทรัพยส์ ินและหนสี้ นิ ว่าเพม่ิ หรือลด

ค. จากเงนิ ทนุ ของฟาร์ม

ง. ถูกหมดทุกข้อ

5. ประโยชนข์ องการบัญชีฟารม์ คอื ข้อใด
ก. เก็บรวบรวมข้อมูลทางการเงนิ ของกจิ การฟารม์
ข. ใช้เป็นขอ้ มูลในการตัดสินใจ ดาเนินกิจการทั้งในปจั จุบันและวางแผนงาน
ในอนาคต
ค. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ตรวจสอบ กาไร – ขาดทุนของกจิ การฟาร์ม

184

ง. ถูกหมดทุกขอ้

……………………………………………………………………..

เอกสารอ้างองิ

สชุ ีพ รัตรสาร. (2537). การผลิตสกุ รเชิงอุตสาหกรรม เล่ม 1. นครปฐม. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรม
การเลย้ี งสกุ รแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์

สุรศกั ดิ์ บูรณศริ ินทร์ และมณฑชิ า พทุ ซาคา. (2554). เอกสารการสอนชดุ วชิ าการจัดการ
การผลติ สกุ รและสตั ว์ปกี . พิมพ์คร้ังท่ี6. นนทบรุ ี: โรงพมิ พ์

มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.

185

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 11
ช่อื วิชา การผลติ สกุ ร สอนครั้งที่
ชว่ั โมงรวม
ชือ่ หน่วย การจัดการผลผลติ และการจัดจาหนา่ ยและทา
บัญชี จานวนชวั่ โมง
ช่อื เรือ่ ง การจัดการผลผลติ และการจดั จาหนา่ ยและทาบัญชี สอนครั้งท่ี

สาระสาคญั
การขายมักจะใช้ราคาเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการขายและใช้ราคาเป็นตัวบอกคุณภาพของ

สินค้า เช่น ตั้งราคาสินค้าให้แพง เพื่อบ่งบอกว่าสินค้ามีคุณภาพสูง นอกจากน้ีราคายังเป็นเคร่ืองหมายบอก
สุกรที่เลี้ยงในฟาร์มทุกชนิดและทุกประเภท เม่ือถึงระยะเวลาท่ีเหมาะสมจะต้องจาหน่ายออกสู่ตลาด การ
จาหน่ายสุกรในฟาร์มออกสู่ตลาดจะต้องต่อสู้ด้านคุณภาพกับสุกร จากฟาร์มอื่นๆ ฟาร์มเล้ียงสุกรที่
รักษาคุณภาพมาตรฐานของผลผลิตในฟาร์มได้ดีตลอดเวลาจะเป็นที่น่าเชื่อถือและเป็นที่สนใจต่อผู้ซ้ือ ซึ่ง
หมายถึงการจาหน่ายสุกรท่ีได้ราคาดี และสามารถจาหน่ายสุกรได้อย่างต่อเน่ืองตลอดปี ดังนั้นผู้เล้ียงสุกรจึง
ควรตรวจสอบคุณภาพสุกรในฟาร์มของตน อย่างสม่าเสมอ เพื่อเป็นหลักประกันในการจาหน่าย และเป็น
ข้อมูลในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพสกุ ร ในอนาคต

จุดประสงค์การเรยี นรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1.เพื่อใหม้ ีความรู้การประเมินซากสุกร
2. เพือ่ ให้ทราบวิธกี ารจัดการสกุ รกอ่ นส่งสู่ตลาด
3. เพ่ือให้ทราบวธิ ีการจัดจาหน่ายสกุ รขนุ ได้
4. เพื่อให้ทราบวธิ กี ารจดั ทาบญั ชใี นงานฟารม์
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. นักเรยี นสามารถอธิบายการประเมินคุณภาพสุกรได้
2. นักเรียนสามารถอธบิ ายการจัดการสกุ รก่อนส่งสู่ตลาดได้
3. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายวิธีการจดั การเก่ยี วกับการจาหนา่ ยสุกรขุนได้
4. นักเรยี นสามารถเขียนตารางการบันทกึ งานฟารม์ สกุ รได้
5. นักเรียนสามารถบอกการเกบ็ ข้อมูลการผลิตและสถิติการจดั การฟาร์มสกุ รได้

เนอ้ื หาสาระ

การจัดการผลผลิตและการจัดจาหน่าย

186

วัตถุประสงค์หลักของการผลิตสุกร คือ การได้มาของผลผลิตจากเน้ือสุกรซ่ึงเป็นแหล่งอาหาร
สาคัญสาหรับผู้บริโภคท้ังในและต่างประเทศ คุณภาพของผลผลิตท่ีได้จากสุกรมีส่วนสาคัญต่ออุตสาหกรรม
อาหารสาหรับมนุษย์ เน่ืองจากพฤติกรรมการบริโภคและวิถีชีวิตในปัจจุบัน ได้เปลี่ยนไปจากอดีต
ผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจต่อสุขภาพร่างกายมากขึ้น ผลผลิตจากสุกร ที่นามาเป็นส่วนประกอบของ
อาหารหรอื แปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑต์ า่ งๆตอ้ งมคี ุณภาพดีไดม้ าตรฐาน และปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค นอกจากน้ียังมีผู้
เลย้ี งสุกรอีกกลุ่มหนึ่งทผี่ ลิตสุกรพันธุ์แท้ เพื่อจาหน่ายเป็นสุกรพ่อแม่พันธ์ุ การจัดการผลผลิตและการจาหน่าย
ของสุกรมีขอ้ ควรพิจารณาจากคณุ สมบัติ ดงั ต่อไปน้ี

1. การประเมนิ คุณภาพสุกร
ในความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบันท่ีไม่นิยมบริโภคไขมันสุกร จึงมีผลทาให้คุณภาพซากที่มี

เปอร์เซ็นต์เน้ือแดงสูงเป็นท่ีต้องการของตลาด ความจาเป็นท่ีจะต้องจัดแบ่งระดับชั้นของคุณภาพซาก ตาม
ปริมาณเนื้อแดงของซากจึงกลายเป็นส่ิงจาเป็นที่ต้องปฏิบัติ ซึ่งการแบ่งเกรดสุกรนอกจากจะใช้เป็นเครื่อง
ตัดสินการกาหนดราคาระหว่างผู้ซ้ือกับผู้ผลิตท่ียุติธรรม เพราะการกาหนดราคาซ้ือขายขึ้นอยู่กับคุณภาพซาก
หรือปริมาณเน้ือแดงแล้วยังมีผลในการกระตุ้นให้ผู้ผลิตสุกรได้มีการพัฒนาคัดเลือกและปรับปรุง พันธุ์สุกร
ปรับปรุงสูตรอาหาร พัฒนาระบบ การเลี้ยง การจัดการเข้าสู่ระบบมาตรฐานและเป็นการสร้างระบบการ
ประกันคุณภาพด้วยการแบ่งเกรดสุกร (จุฑารัตน์ เศรษฐกุล และ จิตติมา กันตนามัลลกุล, 2554 : 407) ซึ่ง
การแบง่ เกรดสุกรสามารถแบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ ดงั นค้ี ือ

1.1 เกรดสกุ รมชี ีวิต การแบ่งเกรดสุกรมีชีวิตส่วนใหญจ่ ะกระทาทต่ี ลาดประมลู สุกร โดยมี
หลักเกณฑ์ท่ีใช้ในการพิจารณาตัดสินเกรดสุกรมีชีวิต ได้แก่ การพิจารณาดูจากสุขภาพสมบูรณ์ ความแข็งแรง
โครงกระดูกใหญ่ พิจารณาดูการสะสมไขมันโดยสังเกตจากแนวของสันหลัง และแนวของพื้นท้องควรเป็น
แนวขนาน เสน้ คอ่ นข้างตรง ซอกขาหลงั บริเวณสะโพกไม่ย้อยยาน และพจิ ารณาดูการสะสมกล้ามเนื้อตามส่วน
ของรา่ งกายที่มปี ริมาณเน้ือแดงสูง ไดแ้ ก่ ความกว้าง ยาว และลึกของสะโพก ความยาวของกล้ามเนื้อสันนอก
ขนาดของกลา้ มเนื้อไหล่ เปน็ ต้น

1.2 เกรดซากสุกร ในประเทศไทยยังไม่มกี ารนาระบบเกรดซากมาใชใ้ นการแบ่งเกรดสุกร
และวิธีการท่ีจะนามาใช้ในการประเมินเปอร์เซ็นต์เนื้อแดงก็มีความหลากหลายยากท่ีจะนามาใช้ ในตลาด
สุกรในประเทศไทย นอกจากใช้ในงานศึกษาวจิ ัย และปญั หาทสี่ าคญั ประการหนึ่ง คือ การขาดโรงฆ่าสัตว์
ที่ทันสมัยจึงทาให้ขบวนการซ้ือขายโดยการแบ่งตามคุณภาพซากจึงเกิดได้ยาก ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือ

1.2.1 การจัดแบง่ เกรดโดยใช้คนตัดสินรว่ มกับการวัดซากอยา่ งง่าย เกณฑ์ทีใ่ ช้วดั ใน
การแบง่ เกรดคุณภาพซาก คือน้าหนักซาก ค่าเฉลยี่ ความหนาไขมันสนั หลงั และระดับการสะสมของกลา้ มเนื้อ
ตามส่วนต่างๆของซากเปน็ เกณฑ์

1.2.1 การจดั แบ่งเกรดโดยใช้เครือ่ งมือ เคร่ืองมือท่ีใช้วัดสามารถแบ่งออกได้ 5 ระดับ
ซึ่งใชเ้ ปอร์เซ็นตเ์ นื้อแดงเปน็ เกณฑ์ในการจัดแบ่ง ดังแสดงในตารางที่ 8.1

187

ตารางท่ี 8.1 แสดงคุณลักษณะสาคัญของซากสุกรตามเกรดตา่ งๆ

เกรด เปอร์เซ็นตเ์ นื้อ ลักษณะท่ัวไปของการให้เน้ือ
E (ดเี ลศิ )
U (เกรด 1) แดง
R (เกรด 2)
มากกวา่ 55 มกี ารสะสมของกล้ามเนื้อตามสว่ นท่ีสาคญั ของซากอยา่ งดีเลิศ
O (เกรด 3)
50-55 มีการสะสมของกล้ามเน้ือตามส่วนที่สาคญั ของซากอย่างดีมาก
P (เกรด 4)
45-49 มีการสะสมของกลา้ มเนื้อตามส่วนทสี่ าคัญของซากอย่างดี หรือ

เปน็ พวกท่ีมีไขมนั บางเชน่ เดยี วกบั พวกเกรด U แต่ว่ามีการสะสม

ของกล้ามเน้ือไม่อยู่ในชน้ั ดีมาก

40-44 มกี ารสะสมของกล้ามเน้ือตามสว่ นที่สาคัญของซากพอสมควร

หรือ เปน็ พวกที่มไี ขมนั บางเช่นเดยี วกบั เกรด R แตว่ า่ มกี ารสะสม

ของกล้ามเน้ือด้อยกวา่ เกรด R

นอ้ ยกวา่ 40 ซากสุกรท่ีมีคุณสมบัติไมอ่ ยู่ในเกรดใดๆทั้งสนิ้

ทมี่ า: จุฑารัตน์ เศรษฐกุล และจติ ตมิ า กนั ตนามัลลกุล (2554: 409)

2. มาตรฐานการเจริญเติบโต
การเจริญเติบโตของสุกรในฟาร์มนั้น เป็นข้อมูลท่ีสามารถบ่งบอกคุณภาพของสุกร ใน

ฟารม์ ให้ผูเ้ ลยี้ งทราบวา่ สุกรในฟาร์มมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะอย่างย่ิงสุกรพ่อและสุกรแม่พันธ์ุ ซึ่ง
ผูซ้ ้อื ต้องนาไปผลิตลูกสุกรต่อ สุกรพ่อและสุกรแม่พันธ์ุท่ีมีลักษณะการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจะสร้างความ
พึงพอใจให้กับผู้ซ้ือพอๆกับลักษณะคุณภาพซาก สาหรับมาตรฐาน การเจริญเติบโตต่อวัน ของสุกรขนาด
น้าหนัก 20-90 กิโลกรัม โดยคิดเป็นอัตราการเจริญเติบโต เฉล่ียต่อวัน (Average dairy gain; ADG) ดัง
แสดงในตารางที่ 8.2

ตารางท่ี 8.2 แสดงมาตรฐานการเจรญิ เติบโตต่อวนั ของสกุ รขนาดนา้ หนกั 20-90 กโิ ลกรมั

ชนดิ ของสกุ ร เพศเมยี (กรัมต่อวนั ) เพศผู้ (กรัมตอ่ วัน)

สุกรพันธ์แุ ลนด์เรซ 550 750
สกุ รขุน หรือ สุกรพนั ธแุ์ ท้อนื่ ๆ 650 800

ท่ีมา: ดดั แปลงจาก สชุ พี รตั รสาร (2537: 16)

188

3. มาตรฐานของความหนาของไขมันสนั หลังทน่ี ้าหนกั 90 กโิ ลกรมั
ความหนาของไขมันสันหลังก็จะเป็นข้อมูลท่ีบอกให้ทราบถึงคุณภาพซากของสุกร ในฟาร์ม

ซ่ึงผู้เล้ียงสุกรควรจะตรวจสอบอย่างสม่าเสมอ เนื่องจากความหนาของไขมันสันหลังเป็น จุดขายที่สาคัญ
ของฟาร์มสุกร เพราะผทู้ ี่นิยมบริโภคเนอื้ สกุ รในปจั จบุ นั ไมต่ อ้ งการสุกรท่มี ไี ขมันมาก แม้แต่สุกรหนุ่ม สุกรสาวท่ี
เตรยี มคดั ข้ึนมาทดแทนก็ต้องมคี วามหนาของไขมนั สนั หลงั ไม่มากเช่นเดียวกัน ความหนาของไขมันสันหลังของ
สุกรหนุ่ม สุกรสาวที่เตรียมคัดข้ึนมาทดแทนท่ีควร จะเป็น คือ สุกรเพศเมียไม่ควรเกิน 0.8 น้ิว และเพศผู้ไม่
ควรเกนิ 0.7 นว้ิ (สชุ ีพ รตั รสาร, 2537: 17)

4 อัตราการเปลย่ี นอาหารเป็นนา้ หนกั ตวั ท่ีนา้ หนกั 20-90 กโิ ลกรัม
อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้าหนักตัวที่ดีมีคุณภาพของสุกรท่ีผู้เลี้ยงจาเป็นจะต้องพัฒนาให้มีอยู่

ในฟาร์มอย่างต่อเน่ือง เพราะอัตราการเปลี่ยนอาหารให้เป็นน้าหนักตัวที่ดีจะมีผลถึง การลดต้นทุนการผลิต
และส่งผลถึงกาไรของการดาเนินกิจการ ผู้เลี้ยงควรมีการประเมินและทดสอบสุกรในฟาร์มอยู่เสมอ เพื่อให้
แนใ่ จว่าสุกรในฟาร์มยังคงมีคุณภาพและได้มาตรฐานเช่นเดิม และสามารถแข่งขันกับตลาดภายนอกได้ อัตรา
การเปลีย่ นอาหารเป็นนา้ หนักตัวของสุกรในฟาร์มควรไมเ่ กิน 2.6 ท้ังในสุกรขุนและ สุกรพันธ์ุ โดยคิดจากอัตรา
การแลกน้าหนัก (Feed conversion ratio; FCR) (เกรียงศักดิ์ สะอาดรกั ษ,์ 2554: 9-12)
5. การจดั การสกุ รก่อนสง่ สู่ตลาด

สุกรที่เตรียมไว้เพ่ือจาหน่ายสู่ตลาด ควรมีการแยกหรือทาเคร่ืองหมาย เพ่ือสะดวก
ในการคัดแยก กรณีท่ีเป็นสุกรพันธ์ุควรมีการเตรียมหลักฐานข้อมูลพันธ์ุประวัติของสุกรแต่ละตัวให้กับผู้ซ้ือ
และ มกี ารแบ่งเกรดสกุ รเพือ่ ขาย เชน่ สกุ รเพศเมียควรจาหน่ายเกรดเดียว และจาหน่ายราคาเดียว ยกเว้นแม่
พันธุ์ต่างสายพันธุ์กันอาจมีการจาหน่ายได้หลายราคาและหลายเกรด ส่วน สุกรพันธุ์เพศผู้ ควรมีการแบ่ง
เกรดมากกว่า 1 เกรด เนื่องจากสุกรพันธุ์เพศผู้มีความสาคัญต่อ ขบวนการผลิตมากกว่าแม่สุกรพันธ์ุ
โดยเฉพาะเพอื่ เป็นการผลติ ลกู สุกรขุน ปัจจบุ ันเกรดพ่อพนั ธ์ุ ในฟารม์ สกุ รอาจแบ่งออกได้ 2 เกรด คือ

5.1 เกรดท่ี 1 หมายถงึ พอ่ สุกรพันธ์ุที่มีลักษณะภายนอกดีมาก ขาแข็งแรง ยืนขาตรง มีมัดกล้ามเน้ือ
นนู เดน่ ชดั มีความคึกและสนใจเพศเมยี ดี คณุ ภาพน้าเช้อื ดี มนี ิสัยในการผสมพนั ธ์ทุ ่ดี ี

5.2 เกรดที่ 2 หมายถงึ พ่อสุกรพันธ์ุท่ีมีลักษณะรูปร่างดีพอสมควร มีความคึกและสนใจ เพศเมียดี มี
นสิ ัยในการผสมพันธ์ทุ ี่ดี แต่ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพนา้ เช้อื กอ่ น

6. การจัดการเก่ยี วกับการจาหนา่ ยสุกรพันธ์ุ ความ
มขี น้ั ตอนการจัดการ ดังน้ี

6.1 แยกสกุ รออกมาขังเดี่ยว กอ่ นจาหน่ายอย่างน้อย 2 เดอื น ทาการตรวจสอบคุณภาพสุกร
เพ่อื ประเมนิ ราคา

6.2 ขณะคดั พนั ธขุ์ ัน้ สุดทา้ ย ควรมีการบนั ทกึ การตรวจสอบ
6.3 ทุกคร้ังที่จาหน่ายสุกรพันธ์ุให้กับผู้ซื้อ ควรมีแบบสอบถาม เพื่อให้ทราบปัญหา และ
คดิ เหน็ ของผซู้ ้ือ

189

6.4 ควรมกี ารตรวจเย่ียมลูกคา้ เป็นระยะ เพอื่ ประเมนิ ความพึงพอใจของผ้ซู อื้
6.5 โรงเรอื นจาหนา่ ย สุกรท่ีเตรยี มจะจาหน่ายควรขนย้ายไปไวท้ ี่โรงเรอื นรอจาหนา่ ยซ่งึ
สร้างไวบ้ รเิ วณด้านหน้าของฟาร์ม เพื่อปูองกนั ไมใ่ ห้ผู้ซื้อเข้าไปภายในฟาร์ม โรงเรือนรอจาหน่ายจะเป็นสถานที่
อดอาหารสุกรก่อนจาหน่าย รวมทั้งการล้างทาความสะอาดสุกร เพ่ือให้สามารถคัดเลือกสุกรได้อย่างชัดเจน
โดยเฉพาะสุกรพ่อและสุกรแมพ่ นั ธุ์

7. การจัดการเกี่ยวกับการจาหนา่ ยสุกรขนุ
กรณสี กุ รขุนไม่จาเปน็ ตอ้ งแบง่ เกรด เนอื่ งจากจาหน่ายเป็นหน่วยราคาต่อน้าหนัก เป็นกิโลกรัม

ก่อนการจาหน่ายควรมีการแยกหรืออดอาหารสุกรอย่างน้อย 12 ชั่วโมง และล้างคอกและตัวสุกรให้สะอาด
สุกรท่ีแสดงอาการปุวย หรือมีขนาดไม่ตรงกับความต้องการของผู้ซ้ือ ควรแยกออกจากฝูง เพ่ือทาการ
รักษา หรือเลีย้ งดูให้มคี ณุ ภาพและขนาดทีเ่ หมาะสมที่จะจาหนา่ ย ในครั้งตอ่ ไป

8. รูปแบบการจัดการจัดจาหนา่ ยสกุ ร
จิตติมา กันตนามัลลกุล และอิงอร ไชยเยศ (2554 : 13-15) ได้สรุปการแบ่งรูปแบบการจัด

จาหนา่ ยสุกรได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ ดังนี้คือ
8.1 การจัดจาหน่ายภายในประเทศ อาจแบ่งการจัดจาหน่ายท่ีมีการซื้อขายสุกรในประเทศได้

ดังตอ่ ไปน้ี
8.1.1 การจัดจาหนา่ ยลูกสุกร เปน็ รปู แบบจัดจาหนา่ ยลกู สกุ รท่ีมีการซ้ือขายลกู สุกรท้ัง

ในระยะเมือ่ หยา่ นมและหลงั หยา่ นม หรือระยะสุกรอนุบาล ปกติการซือ้ ขายลกู สกุ ร เพื่อนาไปเล้ียงเป็นสุกรขุน
นั้นจะมีการกาหนดราคาลูกสุกรให้เป็นพื้นฐานเดียวกันที่น้าหนักมาตรฐาน 16 กิโลกรัมส่วนน้าหนักท่ีเกินจาก
16 กโิ ลกรมั ขนึ้ ไป ผ้ซู อ้ื จะตอ้ งเสยี เงินเพมิ่ และในขณะเดยี วกนั ลูกสุกรท่ีมีน้าหนักต่ากว่า 16 กิโลกรัม ผู้ขายจะ
ไดร้ ับเงินลดลง ตวั อย่างเชน่ ราคาลูกสุกรขณะนี้ราคาตวั ละ 1,000 บาท +- 50 บาท ถ้าลูกสุกรที่จาหน่ายมี
ขนาดน้าหนัก 18 กิโลกรัม ลูกสุกรตัวน้ีจะมีราคา 1000 + ( 3 x 50 ) = 1,150 บาท แต่ถ้าลูกสุกรที่
จาหน่ายมีน้าหนัก 14 กิโลกรัม ลูกสุกรตัวน้ีจะมีราคา 1,000 - ( 2 x 50 ) = 900 บาท เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีรูปแบบจัดจาหน่ายลูกสุกรของเกษตรกรรายย่อย อาจกาหนดราคากันเองตามความเหมาะสม
ของตลาด โดยราคาจะสูงหรือตา่ จะอิงเกณฑ์ราคาสุกรขนุ ในขณะนั้น เช่น ถ้าราคาสุกรขุนมีราคาสูงความ
ตอ้ งการเลย้ี งสุกรของเกษตรกรรายยอ่ ยกจ็ ะสงู ตามไปด้วย ราคาลกู สุกรก็จะสูงในช่วงน้ัน หากตรงกันข้ามราคา
สุกรขุนตกตา่ เกษตรกรรายย่อยกจ็ ะเลกิ เลย้ี งสุกรจะมผี ลทาให้ราคาลูกสุกรในช่วงนั้นราคาลดต่าลง

8.1.2 การจัดจาหน่ายสุกรขนุ เปน็ การจัดจาหนา่ ยสุกรขนุ ทีม่ ีการซอ้ื ขายสุกรขุน เพอ่ื
นาไปชาแหละจาหน่าย ปกติการซื้อขายสุกรขุนมีชีวิตนั้น จะซื้อขายกันท่ีน้าหนัก 90-100 กิโลกรัม จะมีการ
กาหนดราคามาตรฐานจากฟาร์มขนาดใหญ่ แต่การซื้อขายจริงน้ันจะข้ึนอยู่กับคุณภาพของซากและปริมาณ
ของสุกรด้วย ราคาของสุกรขุนมีชีวิตจะมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาเช่นเดียวกันกับสินค้าอื่นๆซึ่งผันแปรไป
ตามปริมาณการผลติ และความต้องการของผูบ้ ริโภค

8.1.3 การจดั จาหน่ายสกุ รชาแหละ เปน็ การจดั จาหนา่ ยสกุ รชาแหละทมี่ ีการจาหน่าย

190

ซากสกุ รให้กบั ประชาชนผู้บรโิ ภคทั่วไป ซง่ึ ก็คอื พ่อคา้ เขียงท่ีขายเน้อื สกุ รในตลาดทัว่ ไปน่นั เอง
8.1.4 การจดั จาหน่ายสุกรพนั ธุ์ เป็นการจดั จาหนา่ ยสกุ รพันธทุ์ ่มี ีการซอื้ ขายสุกรเพศผู้

และสุกรเพศเมีย เพื่อนาไปเลี้ยงเป็นสุกรพ่อหรือสุกรแม่พันธ์ุ การกาหนดราคาขายของสุกรพ่อหรือสุกรแม่
พันธุ์นี้ไม่มีการกาหนดมาตรฐาน จะเป็นไปตามความต้องการของผู้ขาย ท้ังน้ีราคาสุกรพันธ์ุจะสูงมากน้อย
เพียงใดจะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและสายพันธุ์ของสุกรนั้นๆด้วย โดยปกติแล้ว การจาหน่ายสุกรพันธ์ุจะ
นิยมจาหน่ายสุกรในระยะหนุ่มสาว เพราะสามารถคัดเลือกสุกรที่มีลักษณะท่ีดี เหมาะสาหรับการใช้เป็นสุกร
พ่อหรอื สุกรแมพ่ ันธไ์ุ ด้

8.1.5 การจดั จาหนา่ ยสุกรคัดทิง้ เป็นการจดั จาหนา่ ย สุกรพ่อและสุกรแม่พนั ธ์ทุ ห่ี มด
ประสิทธิภาพในการผลิต เช่น แม่สุกรที่ผสมไม่ติด พ่อสุกรขาเสีย สุกรพ่อหรือสุกรแม่พันธุ์ท่ีอายุมากเกินไป
โดยนาเนื้อสุกร และส่วนซากท่ีได้จากสุกรประเภทนี้จะถูกนาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กุนเชียง
แหนม หมูหยอง เป็นต้น

8.2 การจดั จาหน่ายต่างประเทศ สว่ นใหญจ่ ะเป็นการจัดการผลผลติ และการจัดจาหน่าย
สุกรขนุ มชี ีวิตและตลาดเน้อื สกุ รแช่แขง็ แตจ่ ะมีการส่งออกไปจาหนา่ ยต่างประเทศน้อยมาก ทั้งนี้เพราะปัญหา
ด้านโรคระบาด เช่น โรคปากและเท้าเป่ือย ปัญหาในด้านโรงฆ่าสัตว์ที่ไม่ได้มาตรฐาน สากลและไม่ถูก
สขุ ลักษณะ และปัญหาในด้านภาวะราคาสกุ รในประเทศท่ีสูงกวา่ ราคาสกุ รในตลาดต่างประเทศ เป็นข้อจากัด
ในการส่งออกสกุ รมชี ีวติ และซากสุกรของไทย

9. ราคาจาหน่ายสุกร
ราคาจาหน่ายเป็นหัวใจของการเล้ียงสุกรเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การกาหนดราคาจาหน่าย

เป็นความยุ่งยากของผู้ทาหน้าท่ีขายหรือฝุายขาย แต่ราคาจาหน่ายถือเป็นเคร่ืองมืออย่างหน่ึงที่จะทาให้การ
ดาเนนิ การด้านการตลาดประสบผลสาเรจ็ การกาหนดราคาที่เหมาะสมจะช่วยในการเพิ่มปริมาณการขาย และ
สร้างภาพพจน์ท่ีดีต่อสินค้าและผู้ผลิต ราคาจึงมีบทบาทในการสร้างกลยุทธ์ทางการตลาด ทั้งนี้เพราะราคา
อาจเป็นกญุ แจสาคญั ในการกาหนดกลยุทธใ์ นการแขง่ ขนั กับผ้อู ื่น ถงึ ปรมิ าณสนิ คา้ ที่มใี นตลาดในขณะน้ัน หรือ
ในอนาคต

โดยปกตกิ ารกาหนดราคาจาหนา่ ยสุกรถูกกาหนดจากกลุ่มผู้เลี้ยงสุกร หรือบริษัท ผู้ผลิตสุกรราย
ใหญ่ภายในประเทศ สว่ นในทอ้ งถ่นิ ทีม่ ีการซ้อื ขายสกุ ร ส่วนใหญ่จะกาหนดราคาซอื้ ราคาขายกนั เอง อย่างไรก็
ตามหลักเกณฑ์ในการกาหนดราคาจาหน่ายสุกรมีหลักในการพิจารณา ต้ังราคา (ประยงค์ เนตยารักษ์,
2550: 34) สามารถสรปุ ไดด้ ังน้ี

9.1 การกาหนดราคาตามราคาต้นทุนการผลติ ธรุ กิจจานวนมากทีก่ าหนดราคาจากตน้ ทุน การผลติ
ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้วต้นทนุ การผลติ ทกุ ชนิดจะถูกรวมอยู่ในราคาของสินคา้ การตั้งราคาตามราคาตน้ ทุนการผลติ
แบง่ ออกได้ 2 ชนิด ไดแ้ ก่

9.1.1 การตัง้ ราคาโดยวธิ สี ่วนเพิ่ม เป็นการตงั้ ราคาข้ันตน้ คือ พิจารณาราคาสินค้าโดยการบวก
เปอร์เซน็ ต์ท่ีแน่นอนเขา้ ไปในตน้ ทุนตอ่ หน่วย ราคาแบบน้ีมกั จะใช้กนั ทว่ั ๆไปในกิจการขายปลีก

191

9.1.2 การกาหนดราคาตามเปาู หมาย เป็นการต้งั ราคาให้ได้ผลตอบแทนจากการลงทุน
ณ ระดับราคาทคี่ าดหวงั ไว้ ตวั อย่างเช่น การเลี้ยงสุกรขุน 1 ตัว ใช้เงินลงทุน 5,000 บาท ถ้าต้องการกาไร 20
เปอรเ์ ซ็นต์ จะตอ้ งจาหนา่ ยแม่สกุ รพนั ธ์ตุ ัวนีใ้ นราคา 5,000 x 20/100 เทา่ กบั 6,000 บาท เปน็ ต้น

9.2 การกาหนดราคาจากความตอ้ งการ เปน็ วิธีการตัง้ ราคาโดยคานึงถึงปัจจัยอปุ สงค์ หรอื
ความต้องการมากหรือนอ้ ยเป็นหลัก ผู้ขายจะตั้งราคาสูงในขณะที่สินค้านั้นมีผู้ต้องการมาก และราคาจะต่าลง
เมื่อความต้องการสินค้าน้อย แม้ว่าต้นทุนการผลิตต่อหน่วยจะเท่ากัน ปัจจัยของ ความต้องการหรืออุปสงค์
เป็นปัจจัยสาคัญในการต้ังราคา ราคาจะไม่ถูกกาหนดขึ้นตามต้นทุน แต่ถูกกาหนดตามคุณค่าท่ีผู้ซื้อจะได้รับ
เม่ือผู้จาหน่ายประมาณคุณค่าของสินค้าที่ลูกค้าต้องการได้รับแล้ว จะกาหนดราคาจาหน่ายท่ีแน่นอนต่อไป
ซึ่งทาให้ราคาจาหน่ายของสนิ คา้ ชนดิ หน่งึ ๆมหี ลายราคาขน้ึ อยู่กับส่งิ ตา่ งๆ ดงั น้ี

9.2.1 ลกู ค้า ราคาจาหนา่ ยอาจแตกต่างกันตามลักษณะลูกค้า สินค้าอย่างเดียวกันลูกค้าอาจซ้ือ
ในราคาไม่เท่ากัน จึงขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า และเกิดจากความรู้ของลูกค้าว่ามีความรู้ในตัวสินค้า
มากน้อยเพียงใด

9.2.2 สินคา้ ราคาจาหน่ายท่แี ตกต่างกัน เมอื่ คุณภาพสนิ ค้าตา่ งกนั
9.2.3 สถานท่ี ราคาจาหน่ายทแี่ ตกต่างกันตามสถานที่ ซง่ึ อาจเกี่ยวข้องกับระยะ ทางขนส่ง การ
คมนาคมไมส่ ะดวก เปน็ การเพิม่ ตน้ ทนุ ใหก้ ับพ่อค้ารบั ซือ้ สุกร
9.2.4 เวลา ราคาจาหน่ายอาจแตกต่างกัน ตามเวลา ฤดูกาลและตามวิถีตลาด เช่นการซื้อสุกร
ขนุ ในชว่ งก่อนเทศกาลกินเจ อาจจะขายสกุ รไดร้ าคาต่ากวา่ การขายสุกรในช่วงอนื่ ๆ
9.3 การกาหนดราคาตามค่แู ข่ง วิธีการตง้ั ราคาตามคูแ่ ขง่ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ จะต้งั ราคาให้
เหมือนกับของคู่แข่งเพียงแต่ถือเอาปฏิกิริยาของคู่แข่งขันเป็นหลักในการปรับราคา ถ้าคู่แข่งขันขึ้นราคาก็ขึ้น
ตามท้งั ๆท่รี าคาจาหน่ายปัจจุบันสงู กว่าของคูแ่ ข่งขันอยู่แล้วก็ตาม ซ่ึงปัจจุบันยุทธวิธีนี้นิยมใช้ในธุรกิจการขาย
ปลีก เช่น ตามห้างสรรพสินคา้ ต่างๆทม่ี ีการแข่งขนั กันสงู

10.การจัดทาบญั ชี
การบัญชี หมายถึง การคัดเลือก การจดบันทึก การจาแนก การสรุปผล และการจัดทารายการ

ทางการเงิน โดยหน่วยวัดเป็นเงินตรา รวมถึงการแปลงความหมายของรายการเก่ียวกับการเงินดังกล่าว เพ่ือ
นาไปใชใ้ นการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (อรณุ ี อย่างธารา และคณะ, 2549: 2-3)

ประโยชนข์ องการบัญชฟี าร์ม
1. เกบ็ รวบรวมข้อมลู ทางการเงิน ของกิจการฟารม์
2. ใช้เปน็ ข้อมูลในการตดั สินใจ ดาเนนิ กิจการทัง้ ในปัจจบุ ันและวางแผนงานในอนาคต
3. ใชเ้ ป็นข้อมลู ในการพจิ ารณาความสามารถในการชาระหนข้ี องลกู หน้ี

192

4. ใช้เปน็ หลักประกนั ในการกู้ยืมเงนิ จากสถาบันการเงินและใชเ้ ป็นข้อมลู หลักในการเก็บ ภาษขี อง
หน่วยงานของรัฐ

5. ใชเ้ ปน็ ข้อมูลตรวจสอบ กาไร-ขาดทุนของกิจการฟาร์ม
6. ใช้เป็นหลักฐานในการดาเนินการเพ่ือปูองกันการผดิ พลาดท่ีจะเกดิ ข้ึน
วัตถปุ ระสงค์ของการบัญชีฟาร์ม
1. เพื่อบันทึกหลกั ฐานต่างๆของงานฟาร์ม ใหเ้ ปน็ ระเบยี บและตรวจสอบง่าย
2. เพื่อใหท้ ราบผลการดาเนินงานของกจิ การฟาร์ม
3. เพื่อทราบฐานะทางการเงินของกจิ การฟาร์ม

หลักการบัญชีทีใ่ ช้ในงานฟาร์ม
เป็นการจัดทางบการเงินที่ต้องแสดงฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของ

กิจการโดยถูกต้องตามหลักการบัญชีทั่วไป ซึ่งผู้ดาเนินกิจการจะสามารถจัดทาสมุดบัญชีที่ใช้ในงานฟาร์มมี
ดว้ ยกันหลายชนิด แต่ท่จี าเป็นและใชก้ นั อยู่ ประกอบไปด้วย (อรณุ ี อย่างธารา และคณะ, 2549: 4-36)

1. สมุดบญั ชเี งินสด การดาเนินงานฟารม์ จาเป็นต้องมสี มุดเงินสด เพ่อื ใชบ้ นั ทึกรายรบั
รายจ่ายของฟาร์ม สมุดบญั ชีเงนิ สดมีหลายแบบ แต่แบบท่ีสะดวกและเหมาะสมกับเกษตรกร คือ แบบที่มีช่อง
แยกประเภทรายการรับ และรายการจ่าย ไว้ในตัวเสร็จเรียบร้อยแล้ว ดังแสดงรูปแบบบัญชีเงินสดในตารางที่
9.11 ดงั น้ี

ตาราง แสดงรูปแบบบัญชีเงนิ สด

บัญชเี งนิ สด

พ.ศ รายการ ยอดรายรบั พ.ศ รายการ ยอดรายจา่ ย
เดอื น วนั ท่ี แตล่ ะรายการ เดือน วนั ท่ี แต่ละรายการ

193

ท่ีมา: ดัดแปลงจาก อรณุ ี อยา่ งธารา และ คณะ (2549: 4-36)

2. สมุดลูกหน้ี สมุดบัญชีชนิดนี้เป็นบันทึกรายการท่ีฟาร์มจาหน่ายผลผลิตเป็นเงินเช่ือให้ กับลูกค้า
ดงั แสดงรปู แบบบญั ชีลูกหนีใ้ นตารางท่ี 9.12 ดงั น้ี

ตารางท่ี 9.12 แสดงรูปแบบบัญชลี กู หน้ี

บัญชีลกู หน้ี

พ.ศ รายการ จานวนเงิน ชาระเงนิ คงเหลอื
เดือน พ.ศ
บาท สต. บาท สต. บาท สต.

ท่มี า: ดดั แปลงจาก อรณุ ี อยา่ งธารา และ คณะ (2549: 4-36)

3. สมุดเจ้าหนี้ สมุดบัญชีชนิดน้ี เป็นบันทึกรายการที่ฟาร์มเป็นหนี้บุคคลอื่น ดังแสดงรูปแบบบัญชี
เจ้าหนีใ้ นตารางที่ 9.13 ดงั นี้

ตาราง แสดงรูปแบบบัญชเี จา้ หนี้

194

บญั ชเี จ้ำหนี้

พ.ศ รายการ จานวนเงนิ ชาระเงิน คงเหลอื
เดือน พ.ศ
บาท สต. บาท สต. บาท สต.

ทมี่ า: ดดั แปลงจาก อรณุ ี อยา่ งธารา และ คณะ (2549: 4-38)
4. สมุดบัญชีทรัพย์สินของฟาร์ม เป็นบัญชีท่ีบันทึกทรัพย์สินชนิดต่างๆ ที่ฟาร์มมีอยู่ และทรัพย์สินที่

จะสร้างหรอื ซอ้ื เข้ามาใหม่ ดังแสดงรปู แบบบัญชีทรพั ย์สินของฟารม์ ในตารางท่ี 9.14

ตาราง แสดงรปู แบบบัญชที รัพย์สินของฟาร์ม

บัญชที รัพยส์ นิ ของฟำรม์

ลาดบั รายการทรพั ย์สนิ จานวน มลู คา่ เม่ือตน้ ปี จานวน มูลค่าเมื่อปลายปี
ที่ ทรัพย์สิน บาท สต. ทรัพยส์ ิน บาท สต.
ปลายปี
ตน้ ปี

195

ทม่ี า: ดัดแปลงจาก อรุณี อยา่ งธารา และ คณะ (2549: 4-40)

5. สมดุ บญั ชกี าไร-ขาดทุน เปน็ ข้อมูลทบ่ี อกให้ทราบถงึ ผลการดาเนินงานของกิจการงาน
ฟาร์มสาหรับรอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึงเชน่ การจาหน่ายสุกรขนุ รุ่นท่ี 1 สมมุติว่า จาหน่ายสุกรขุน มี
รายรับมากกว่ารายจ่าย แสดงว่า กิจการฟาร์มรอบน้ันๆมีผลกาไร ในทางตรงกันข้าม ถ้ารายจ่ายมากกว่า
รายรับก็แสดงว่า กิจการฟาร์มรอบน้ันๆมีผลขาดทุน ดังแสดงรูปแบบบัญชีกาไร-ขาดทุน ในตารางท่ี 9.15
ดงั น้ี

ตารางที่ แสดงรปู แบบบัญชีกาไร-ขาดทุน

บัญชกี ำไร-ขำดทุน

พ.ศ รายการ รายจ่าย(บาท) พ.ศ รายการ รายรับ(บาท)
เดอื น วนั ท่ี
เดอื น วันที่

กาไรสุทธิ ขาดทนุ
ท่มี า: ดัดแปลงจาก อรุณี อยา่ งธารา และ คณะ (2549: 4-41)

196

6. บัญชปี ระเภทอน่ื ๆ เชน่ บญั ชีฝาก-ถอนเงินใช้สว่ นตวั บัญชีขายเครือ่ งมือ และอุปกรณเ์ ก่าๆ บัญชี
ใหเ้ ช่าเครอ่ื งมอื บญั ชีวสั ดุ-ครุภณั ฑข์ องฟาร์ม ซง่ึ แตล่ ะบญั ชอี าจออกแบบฟอรม์ แบบงา่ ย ใหส้ ามารถลงข้อมลู
ไดส้ ะดวกตามจุดประสงค์ของฟารม์

กิจกรรมการเรยี นการสอน
1. ครูให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่าทาไมต้องมีการจัดการผลผลติ การจัดจาหน่าย และ
การจดั ทาบญั ชี
2. ครใู หน้ ักศึกษา แบง่ กลุ่ม และชว่ ยกันคิด และส่งตัวแทนนาเสนอหน้าช้นั เรยี น
3. ครูแจกตัวอย่างบัญชี และตัวอยา่ งแบบฟอรม์ การจดบนั ทึกรายรบั รายจา่ ยของฟาร์ม และตัวอยา่ ง
ข้อมูลการบนั ทึกรายรับรายจ่ายของฟาร์ม
4. ครูบรรยายถึงการจัดการผลผลติ และการจัดจาหน่าย การจัดทาบญั ชีต่าง ๆ ในงานฟารม์
5. ครูและนักศกึ ษาร่วมกันสรุป ถงึ การจัดการผลผลิตและการจดั จาหน่าย การจดั ทาบญั ชตี ่าง ๆ ใน
งานฟารม์

สือ่ การสอน
1.ตัวอยา่ งการบนั ทึกรายรบั รายจ่ายของฟาร์ม

วดั ผลประเมินผล
1.ประเมินจากการถามตอบ

เอกสารอา้ งองิ

อรณุ ี อย่างธารา และคณะ. (2549). การบญั ชกี ารเงิน. พิมพ์คร้ังท่ี 16. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.

เกรียงศักดิ์ สะอาดรกั ษ.์ ( 2554 ). เอกสารการสอนชุดวิชาการผลติ สัตว.์ พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. นนทบุรี:
โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช

จติ ติมา กนั ตนามัลลกุล และ อิงอร ไชยเยศ. (2554). เอกสารการสอนชดุ วิชาการผลิตสัตว์.
นนทบุร:ี โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช.

จุฑารตั น์ เศรษฐกุล และจติ ติมา กนั ตนามัลลกุล. (2554). เอกสารการสอนชุดวชิ าการจัดการการ
ผลิตสกุ รและสัตวป์ กี . พมิ พค์ ร้ังที่ 6. นนทบุรี:โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช.

ประยงค์ เนตยารักษ์. (2550). เศรษฐศาสตร์การเกษตร. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์

197

มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
สุชีพ รตั รสาร. (2537). การผลิตสกุ รเชงิ อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ที.พี.พร้ินท์ จากัด

ใบงานท่ี 11

รหัสวิชา 2501-2304 ชอื่ วิชา การเลย้ี งสุกร สอนครั้งท่ี
หน่วยท่ี 9 ช่ือหน่วย การจัดการผลผลิตและการจัดจาหน่ายและทาบัญชี เวลารวม ชม.
ช่ืองาน การทาบัญชี เวลา วนั

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1.สามารถอธบิ ายการบนั ทึกบญั ชงี านฟาร์มได้

วสั ดอุ ุปกรณ์
1.เครอื่ งคิดเลข
2. กระดาษ
3.ปากกา
4.รายการขอ้ มลู เก่ยี วกบั รายรับ-รายจา่ ย
5. รายการลูกหนี้-เจา้ หน้ี ของฟารม์ สุกร

ลาดบั ขน้ั การปฏิบัตงิ าน

ลาดบั การปฏบิ ตั ิงาน

ขั้นท่ี 1 ครผู ู้สอนแจกรายการขอ้ มูล เก่ยี วกับรายรับ-รายจ่ายของฟารม์ รายการลกู หนี้-เจ้าหน้ขี องฟาร์ม

ขั้นที่ 2 นาข้อมูลทม่ี ีอยู่รายการตา่ ง ๆ ลงบัญชีในแบบฟอร์มทีเ่ ตรียมให้

ขั้นที่ 3 คานวณยอดเงนิ แตล่ ะบญั ชี เพื่อใช้พิจารณาสถานภาพของฟาร์ม

บญั ชีรบั จ่ายของฟาร์ม.....................................

รับ จ่าย

วันเดอื นปี รายการรับ บาท วนั เดอื นปี รายการจ่าย บาท

198

รวม บัญชีลูกหนขี้ องฟารม์ ......................................
วนั เดอื นปี
รายการ บาท หมายเหตุ

199

รวม

บญั ชีเจ้าหนข้ี องฟาร์ม......................................

วนั เดือนปี รายการ บาท หมายเหตุ


Click to View FlipBook Version