The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วิร้ตน์ ปุ่นอุดม, 2019-06-04 03:00:13

unit1

unit1

50

กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ผสู้ อนนาเข้าส่บู ทเรียนดว้ ยการเสนอภาพตวั อย่างอาหารสัตวท์ ่ีผสมแล้วของหลาย ๆ บรษิ ัทแลว้ แจก

แบบทดสอบก่อนเรียนให้ผเู้ รียนทา (15 นาท)ี
2. แบง่ ผู้เรียนออกเปน็ 3 กลมุ่ ๆละ4- 5 คนตามความสมคั รใจ (5 นาท)ี
3. แจกใบความรูท้ ่ี 4.4 เรือ่ ง การผสมอาหารสุกรใหผ้ ู้เรยี นศึกษา (20 นาท)ี
4. ผสู้ อนและผ้เู รียนช่วยกันเตรียมอุปกรณ์ และวัตถุดบิ อาหารสัตว์ทไี่ ด้จากการคานวณสูตรอาหารจากบท

ปฏบิ ัตกิ ารทผี่ ่านมา (20 นาที)
5. แจกใบงานที่ 4.3 เรอื่ ง การผสมอาหารด้วยมือ ให้ผูเ้ รียนศึกษาและปฏบิ ัตติ าม (60 นาท)ี
6. ผสู้ อนและผเู้ รียนชว่ ยกันเตรยี มอปุ กรณ์ และวตั ถุดบิ อาหารสัตวท์ ่ีได้จากการคานวณสูตรอาหารจากบท

ปฏิบตั ิการทผ่ี า่ นมา (20 นาท)ี
7. แจกใบงานท่ี 4.4 เรอื่ งการผสมอาหารด้วยเครื่องผสม ใหผ้ ้เู รยี นศึกษาและปฏิบตั ติ ามทัง้ นต้ี ้องอยใู่ นความ

ดูแลของผ้สู อนอย่างใกลช้ ดิ (80 นาท)ี
8. ผู้สอนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปปญั หาท่เี กิดขึ้นในการผสมอาหารด้วยเครอ่ื ง (10 นาท)ี
9. แจกแบบทดสอบหลังเรียนให้ผเู้ รยี นทา (10 นาท)ี

รวม 240 นาที

สอ่ื การเรยี นการสอน
สื่อส่ิงพมิ พ์
1. ใบความร้ทู ี่ 4.4
2. ใบงานที่ 4.3, 4.4
3. แบบประเมนิ กจิ กรรมกล่มุ
4. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น
สอื่ โสตทศั น์
1. เครื่องคอมพวิ เตอร์
2. โปรเจคเตอร์ LCD.
สอ่ื ของจรงิ
1. พลั่ว
2. เครอ่ื งบดอาหาร
3. เครอ่ื งผสมอาหาร
4. วตั ถดุ บิ อาหารสตั วท์ ี่ไดค้ านวณไวแ้ ลว้
5. กระสอบอาหารเปลา่
6. เชอื กมดั กระสอบ

51

การประเมินผล
สงิ่ ท่ีประเมนิ
1. พฤติกรรมการเรียนรู้
2. ความรคู้ วามเข้าใจในเน้ือหา
3. คณุ ธรรม จริยธรรม
วิธีประเมิน
1. สังเกตพฤตกิ รรมผู้เรียน ในการผสมอาหารด้วยมอื และเครอ่ื งผสมแล้วให้คะแนนลงในแบบ
ประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม (15 คะแนน)
2. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน (5 คะแนน)
เครอ่ื งมอื ประเมนิ
1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกล่มุ
2. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น

บันทกึ หลังการสอน
หน่วยท่ี 6 เรือ่ ง อาหารและการผสมอาหารสกุ ร

สอนครัง้ ท่ี 22-24 จานวน 6 ช่วั โมง

ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรียนของผู้เรียน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู

52

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงชอ่ื ....................................ครปู ระจาวิชา

ใบความรทู้ ่ี 6.4

รหสั วิชา 2501-2304 ชอ่ื วิชา การเลย้ี งสกุ ร สอนครั้งที่ 23-24
หน่วยท่ี 6 ชื่อหน่วย อาหารและการผสมอาหารสุกร เวลารวม 16 ชม.
ชื่อเร่อื ง การผสมอาหารสกุ ร เวลา 20 นาที

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การผสมอาหารสกุ ร
2. เพื่อให้ผสมอาหารสุกรได้
3. เพ่ือให้ทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ด้วยความรบั ผดิ ชอบและอดกลัน้

เนอื้ หาสาระ
1. อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการผลติ อาหารสตั ว์

1. พล่วั เป็นอปุ กรณ์ท่ีสาคัญในการผสมอาหารดว้ ยมอื ใชส้ าหรบั ตกั คลุกเคล้าอาหารให้เข้ากนั

53

2. เครอ่ื งบด ใชส้ าหรับบดวตั ถุดิบอาหารสตั ว์ให้มขี นาดเล็กลง เพื่อใช้ในการผสมอาหารตอ่ ไป
3. เครอ่ื งผสมอาหาร ที่นิยมใช้ มี 2 แบบ คือ

3.1 เครอื่ งผสมอาหารแบบถังตั้ง ส่วนใหญ่ใช้ผสมอาหารได้ไม่เกิน 500 กิโลกรัมต่อครั้ง อาหาร
ทม่ี นี ้าหนกั และความหนาแน่นมาก เช่น ปลายข้าว ข้าวโพด จะตกลงมากองที่พื้นถังตามแรงดึงดูดของโลกเป็น
จานวนมาก ทาให้การผสมอาหารไม่ค่อยเข้ากันดีนัก และมีการสูญเสียอาหารที่ก้นถังมาก หลังจากผสมเสร็จ
แล้ว นาอาหารผสมออกจากเครื่อง จะเหลืออาหารที่ก้นถัง ต้องปิดเคร่ืองใช้มือคนควักอาหารดังกล่าวออกมา
ถ้าไม่เอาออกกจ็ ะเหลือติดก้นถังผสมอยู่อยา่ งนัน้ ปริมาณอาหารทเ่ี หลอื คร้งั ละ 5-10 กโิ ลกรมั

3.2 เคร่ืองผสมอาหารแบบถังนอน จะช่วยแก้ปัญหาเคร่ืองผสมอาหารแบบถังต้ังได้มาก เพราะ
ไม่มีอาหารเหลือตกคา้ งที่กน้ ถงั เปน็ ท่นี ิยมใช้กนั มากในโรงงานผลิตอาหารสตั ว์

4. เครื่องอัดเมด็ ใช้สาหรบั อัดเม็ดอาหารทีผ่ สมแลว้ ให้เป็นเม็ดเพื่อใช้เลย้ี งสตั ว์ตอ่ ไป

2. การบดวัตถุดิบอาหารสัตว์
1. จดุ ประสงคก์ ารบดวัตถุดิบอาหารสัตว์ เพื่อให้สัตว์สามารถย่อยอาหารได้ดีขึ้น อาหารผสมเข้ากันดี

และอดั เมล็ดอาหารได้ง่าย
2. วธิ ีการบด มขี นั้ ตอนดงั น้ี
2.1 นาอาหารมาอบไล่ความช้นื ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานอาหารสตั ว์ชนิดน้นั
2.2 ต้องเปิดเคร่ืองบดอาหารก่อน จึงนาอาหารเข้าเคร่ืองบด เพราะถ้านาอาหารใส่ถังบดก่อน

น้าหนักอาหารจะกดทับแกนเหล็กสาหรับตีอาหาร ทาให้มอเตอร์เคร่ืองบดทางานหนัก หรืออาจทาให้แกน
เหล็กไมส่ ามารถหมนุ ได้ มอเตอร์เคร่อื งบดอาจไหม้ได้

2.3 บดอาหารให้ละเอียดตามต้องการ โดยการเลือกใช้ตะแกรงบดตามขนาดที่ต้องการ ถ้า
ตอ้ งการให้อาหารละเอยี ดมาก ใหบ้ ดซ้าไดอ้ ีก โดยเฉพาะอาหารทใ่ี ชเ้ ล้ียงลูกไก่

2.4 เมื่อบดอาหารเสร็จให้บรรจุอาหารใส่ภาชนะท่ีเตรียมไว้ เขียนชื่อ ติดไว้แยกตามชนิดของ
วตั ถดุ ิบอาหารสัตว์

3. การผสมอาหาร แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คือ
1. การผสมอาหารดว้ ยมือ เปน็ วธิ กี ารผสมอาหาร ซ่ึงเกษตรกรรายย่อย หรือผู้ทผ่ี สมอาหารจานวน

นอ้ ย ๆ ใชก้ ันมาก ซึ่งมีข้ันตอนการผสมดังนี้
1.1 ช่ังวัตถดุ บิ อาหารสัตว์แต่ละชนิดตามสตู รอาหารสตั วท์ ่คี านวณไว้
1.2 เทวตั ถดุ บิ อาหารสัตวท์ ่ีใชจ้ านวนมากลงบนพ้ืน เกล่ียให้หนา 2-3 น้วิ
1.3 หลังจากนัน้ เทวตั ถุดิบอาหารสัตว์ชนดิ ตา่ ง ๆ ลงข้างบน
1.4 วตั ถุดิบที่ใชจ้ านวนน้อย เชน่ วติ ามนิ -แร่ธาตพุ รีมกิ ซ์ ให้คลุกเคลา้ กับวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ่ี

เนอื้ ฟลู ะเอยี ดก่อน เชน่ ราละเอยี ด กากถวั่ เหลือง เพื่อช่วยกระจายให้ท่วั ถึง

54

1.5 ใชพ้ ล่ัวผสมคลุกเคล้าอาหารให้ท่วั ตกั อาหารทีผ่ สมยา้ ยไปตงั้ กองใหม่แลว้ ผสมคลุกเคลา้ กัน
อีก

1.6 ถา้ มีวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นของเหลว เช่น กากนา้ ตาล ให้ทากองอาหารท่ีผสมเขา้ กนั ดีแล้ว
เป็นแอง่ เทของเหลวขา้ งบนกอง แล้วคลุกเคล้าเขา้ กนั เหมือนการผสมซเิ มนต์

1.7 ถ้าต้องการใช้ไขวัว ในการผสม ใหเ้ อาไขววั ต้งั ไฟจนละลายกอ่ น แล้วนามาผสมเหมือนการ
ผสมกากน้าตาล

1.8 นาอาหารที่ผสมเสร็จแล้วบรรจุไวใ้ นภาชนะทีเตรยี มไว้ เขยี นช่อื วนั เดอื นปีทีผ่ สม ติดไวใ้ ห้
เรยี บรอ้ ย นาไปเกบ็ ในทร่ี ่ม ไมถ่ ูกแสงแดด ไมอ่ บั ช้ืน

2. การผสมอาหารด้วยเคร่ือง ไม่ได้ใช้การควบคุมโดยระบบคอมพิวเตอร์ การเทวัตถุดิบอาหารใส่
เคร่ืองผสม จะใช้คนเป็นผู้ช่ังและเท ใช้กับการผสมอาหารครั้งละมาก ๆ หรือการผสมอาหารในโรงงานผลิต
อาหารสัตว์ มีขั้นตอนการผสมดังนี้

2.1 ชั่งวัตถุดิบอาหารสัตวต์ ามทคี่ านวณสูตรอาหารไว้
2.2 เปิดเคร่ืองผสมอาหารให้ทางานก่อน ใสว่ ตั ถดุ บิ อาหารสัตว์ทีม่ ีนา้ หนกั มากลงไปหาน้อย
2.3 ใส่วติ ามนิ -แร่ธาตพุ รมี ิกซ์ โดยทาเหมือนการผสมด้วยมอื
2.4 ถา้ มอี าหารเหลว เช่น กากนา้ ตาลใหผ้ สมกับวัตถดุ ิบท่ีแห้งก่อน เช่น ราละเอียด กากถัว่
เหลือง จงึ ตกั เทใสเ่ ครื่องผสมอาหาร หลงั จากอาหารผสมในเครื่อง ผสมเข้ากนั ดีเรยี บร้อยแล้ว ซ่ึงใชเ้ วลา
ประมาณ 15-20 นาที แลว้ แต่ชนิดของเครือ่ งผสมอาหาร
2.5 นาอาหารทีผ่ สมเสรจ็ แล้วบรรจุไว้ในภาชนะที่เตรยี มไว้ เขียนชือ่ วันเดอื นปีทผี่ สม ติดไวใ้ ห้
เรียบรอ้ ย นาไปเกบ็ ในท่รี ่ม ไม่ถูกแสงแดด ไม่อับชื้น
อาหารผสมแต่ละครง้ั ควรใช้ใหห้ มดภายใน 14 วนั
4. การอดั เมด็
1. จุดประสงค์การอัดเม็ด เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของอาหาร ทาให้ลดฝุน ลดการสูญเสียของอาหาร
และในขั้นตอนการอัดเมด็ จะมีการให้ความร้อนกบั อาหารจงึ ทาใหอ้ าหารสุก เพิม่ การยอ่ ยไดใ้ ห้กบั สตั ว์ดว้ ย
2. วธิ กี ารอดั เมด็ มวี ธิ ีการดังน้ี
2.1 นาอาหารผสมผา่ นไอนา้ รอ้ นอุณหภูมิ 60-80 องศาเซลเซียส และมีความช้นื รอ้ ยละ 17
2.2 หลังจากนั้นอาหารจะอ่อนตวั ถูกอัดผ่านตะแกรงท่ีมีแบบและขนาดของรตู า่ ง ๆ กบั ตาม
ตอ้ งการ อาหารทผี่ า่ นรตู ะแกรงจะมใี บมีดตดั ทาให้อาหารมเี มด็ เทา่ ๆ กนั
2.3 อาหารที่ผ่านการอัดเม็ดแลว้ จะถกู สง่ ไปที่เคร่ืองทาให้เยน็ ทันที เพ่ือปูองกันการเกิดเชื้อรา
2.4 ตอ่ จากนัน้ อาหารจะถูกส่งไปท่เี ครือ่ งทาให้เม็ดอาหารแข็งแรงและแนน่ ลดการเป็นฝุน และ
สะดวกตอ่ การนาไปเลีย้ งสัตว์
รูปแบบ ความแน่น และขนาดของเม็ดอาหาร ในการเลี้ยงสัตว์ชนิดเดียวกัน ของแต่ละโรงงานผลิต
อาหารสัตว์อาจจะไม่เหมือนกันก็ได้ จะมีการศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองเม็ดอาหาร และสรุปว่า รูปแบบ ความ

55

แน่น และขนาดของเม็ดอาหารของโรงงานของตนเองเหมาะสมกับสัตว์เล้ียงมากท่ีสุด เพื่อเป็นจุดโฆษณาขาย
อาหารต่อไป

5. รูปร่างลักษณะของอาหารสัตว์
แบง่ ออกได้เปน็ 3 แบบ คือ
1. อาหารผง (mash form) จะมีลักษณะเป็นผงปุนละเอียด ที่นิยมใช้กันมาก คือ หัวอาหาร

เพราะตอ้ งนาไปผสมกับวัตถดุ ิบอาหารสตั ว์ในท้องถนิ่ อีกครั้ง จะทาให้ผสมเข้ากันได้ดี
อาหารสาเร็จรูปจะมีต้นทุนในการผลิตต่า แต่สัตว์บางชนิดไม่ชอบกิน โดยเฉพาะสัตว์ปีกท่ีมี

พฤติกรรมจิกคุ้ยเขี่ยอาหาร จะทาให้เกิดการสูญเสียอาหารและสัตว์จะเลือกกินแต่เมล็ดธัญพืช เช่น ข้าวโพด
ทาให้ไดร้ ับโภชนะไม่พอเพยี ง สาหรบั สุกรแล้ว การเลย้ี งดว้ ยอาหารผงไม่มีปัญหากับสัตว์ แต่ถ้าอาหารแห้งและ
ฟุามมาก ๆ โดยเฉพาะอาหารที่มีมันสาปะหลังปนเป็นองค์ประกอบมาก สุกรจะมีอาการจามได้ เพราะขณะที่
กินอาหาร ฝนุ อาหารจะฟุูงเข้าจมูก เกดิ การระคายเคืองได้

2. อาหารอดั เม็ด (pellet form) ลกั ษณะเมด็ อาหาร อาจจะมรี ูปแบบและขนาดของเม็ดเป็นแบบ
ต่าง ๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของสัตว์เล้ียง อาหารอัดเม็ดจะช่วยแก้ปัญหาของการเล้ียงสัตว์ด้วยอาหารผงได้ คือ
สตั วไ์ ม่มีโอกาสเลือกกนิ ในหนึ่งเม็ดอาหารจะมีโภชนะครบถ้วน ลดฝุนในอาหาร แต่ต้นทุนการผลิตจะมากกว่า
อาหารผง และในข้นั ตอนการอดั เมด็ จะมีความร้อนทาให้อาหารสกุ อาจทาให้วติ ามินบางชนิดสูญเสียไปได้

3. อาหารอัดเม็ดบุบแตก (crumble form) เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้จากการอาหารอัดเม็ดแล้ว
นามาบุบพอให้แตก มีเม็ดเล็กลง เพื่อใช้เล้ียงลูกไก่ เพราะถ้านาอาหารผงมาเลี้ยงจะเลือกกิน และถ้านา
อาหารเม็ดมาเล้ียงเพื่อแก้ปัญหาการเลือกกิน ก็เม็ดใหญ่จนสัตว์ไม่สามารถจิกกินได้ ก็แก้ปัญหาโดยทา
ผลิตภัณฑ์อาหารท่ีอัดเม็ดแล้วมาบุบพอแตก จะทาให้ลูกไก่กินอาหารได้มาก แต่ต้นทุนการผลิตสุงกว่าอาหาร
ทกุ รูปแบบ ถ้าบุบไม่ดี เมด็ อาหารไมม่ คี วามหนาแน่น จะทาใหล้ ะเอยี ด เสียเวลา เสียเงินเปลา่ ๆ

56

ใบงานท่ี 6.3

รหสั วชิ า 2501-2304 ช่อื วิชา การเล้ียงสุกร สอนคร้ังที่ 23-24
หน่วยท่ี 6 ชือ่ หน่วย อาหารและการผสมอาหารสกุ ร เวลารวม 16 ชม.
ชอื่ งาน การผสมอาหารดว้ ยมือ เวลา 60 นาที

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ผสมอาหารด้วยมอื ได้
2. ทางานด้วยความรบั ผิดชอบและอดกล้ัน

วัสดอุ ุปกรณ์
1. พลว่ั
2. วตั ถุดิบอาหารสัตว์ทจ่ี ะผสม
3. กระสอบอาหารเปล่า
4. เชือกมดั กระสอบ

ลาดบั ข้นั การปฏิบัตงิ าน
1. แบง่ ผเู้ รยี นออกเปน็ 3 กลุ่ม กลมุ่ ละ 4-5 คน (อาจใช้กลุ่มเดียวกนั กบั การคานวณสูตรอาหาร)
2. ชงั่ วตั ถุดบิ อาหารสัตว์แต่ละชนิดตามสตู รอาหารที่ไดค้ านวณไว้ในบทปฏิบตั ิการครั้งก่อน
3. เทวตั ถุดิบอาหารสัตวท์ ใ่ี ช้จานวนมากลงพ้นื เกล่ียใหห้ นา 2-3 นว้ิ
4. หลงั จากนั้นเทวัตถดุ บิ อาหารสัตว์ที่เหลอื ลงขา้ งบน
5. วตั ถุดิบทีใ่ ชจ้ านวนน้อย เช่น วติ ามิน แร่ธาตุ-พรมี กิ ซ์ ใหค้ ลุกเคลา้ กับวตั ถุดบิ เนื้อฟลู ะเอียดก่อน

เช่น ราละเอียด กากถ่วั เหลือง เพื่อชว่ ยกระจายอย่างทว่ั ถงึ
6. ใชพ้ ลั่วผสมคลุกเคล้าอาหารใหท้ วั่ ตักอาหารทผ่ี สมแลว้ ยา้ ยไปตง้ั กองใหม่ แล้วผสมคลกุ เคล้า

กนั อีก
7. ถา้ มวี ัตถุดิบอาหารสตั วท์ เี่ ปน็ ของเหลว เช่น กากน้าตาล ใหท้ ากองอาหารที่ผสมเขา้ กันดแี ล้ว

เป็นแอง่ เทของเหลวข้างบนกอง แลว้ คลุกเคล้าให้เขา้ กันเหมือนการผสมซเิ มนต์
8. นาอาหารทผี่ สมเสร็จแลว้ บรรจุในกระสอบเปลา่ มัดปากกระสอบใหแ้ น่น เขยี นชื่อ วัน เดือน ปี

ที่ผสม ตดิ ไว้ใหเ้ รียบรอ้ ย นาไปเก็บในท่รี ม่ ไม่อบั ช้นื ไม่ถกู แสงแดด

57

การประเมินผล
1. แบบประเมนิ กิจกรรมกลุ่ม

ใบงานที่ 6.4

รหสั วิชา 2501-2304 ช่ือวิชา การเล้ียงสุกร สอนครงั้ ที่ 23-24
หน่วยที่ 4 ชอ่ื หน่วย อาหารและการผสมอาหารสกุ ร เวลารวม 16 ชม.
ช่ืองาน การผสมอาหารด้วยเคร่ือง เวลา 80 นาที

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ผสมอาหารด้วยเครอ่ื งได้
2. ทางานดว้ ยความรับผดิ ชอบและอดกล้ัน

วสั ดุอุปกรณ์
1. เครื่องบดอาหาร
2. เคร่ืองผสมอาหารแบบถังตง้ั
3. วัตถุดิบอาหารสัตวท์ ่ีจะผสม
4. กระสอบอาหารเปลา่
5. เชอื กมัดกระสอบ

ลาดบั ข้นั การปฏบิ ตั ิงาน
1. ให้ผเู้ รยี นใช้กลุม่ เดิมในการปฏิบัติงานคร้งั ที่ผ่านมา
2. แบง่ หนา้ ที่การทางานภายในกลุม่
3. ชง่ั วัตถุดิบอาหารสตั ว์ตามที่คานวณสูตรอาหารไว้
4. เปิดเครือ่ งผสมอาหารใหท้ างานก่อน ใส่วัตถดุ ิบอาหารสัตว์ที่มนี ้าหนักมากลงไปหานอ้ ย
5. ใสว่ ิตามิน-แร่ธาตพุ รีมกิ ซ์ โดยทาเหมอื นการผสมดว้ ยมือ
6. ถ้ามอี าหารเหลว เช่น กากนา้ ตาล ใหผ้ สมกับวตั ถุดิบท่ีแห้งก่อน เช่น ราละเอียด กากถ่วั เหลือง

จงึ ตกั เทใส่เครือ่ งผสมอาหาร ใชเ้ วลาผสม 15-20 นาที

58

7. นาอาหารที่ผสมเสรจ็ แลว้ บรรจไุ วใ้ นกระสอบอาหารเปลา่ เขยี นชอ่ื วนั เดอื น ปที ี่ผสม ตดิ ไว้
ให้เรยี บรอ้ ย นาไปเกบ็ ในโรงเกบ็ อาหาร

การประเมนิ ผล
1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม

แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม
เร่อื ง การผสมอาหารสกุ ร
กลุ่มที่…………………………………..

ระดบั คณุ ภาพ

รายการประเมิน ดมี าก ดี ควรปรับปรุง

1. การวางแผนการทางานในกลมุ่ (3) (2) (1)
2. การเลือกใชว้ ัตถดุ บิ
3. ผลการผสมอาหารดว้ ยมือ
4. ผลการผสมอาหารดว้ ยเครอื่ ง
5. ทางานด้วยความรบั ผิดชอบและอดกลัน้

ลงช่อื ........................................
(………………………..)
ผปู้ ระเมนิ ใหค้ ะแนน

คาชแี้ จง
ให้ผสู้ อนพิจารณาคุณภาพพฤตกิ รรมของผู้เรยี นแสดงออก แล้วเขยี นคะแนนลงในช่องระดบั คุณภาพ

59

ระดับ 3 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ดีมาก
ระดบั 2 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ดี
ระดับ 1 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ควรปรบั ปรงุ

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
วชิ า การผลิตสกุ ร รหัสวิชา 2501-2304

หนว่ ยที่ 6 เรื่อง การผสมอาหาร

1. ข้อใดเป็นอปุ กรณ์ทส่ี าคญั ในการผสมอาหารดว้ ยมือ

ก. จอบ ข. คราด ค. พลว่ั ง. เครื่องบด

2. เครื่องผสมอาหารแบบใด มีปัญหาอาหารเหลือทีก่ น้ ถงั

ก. แบบถังตงั้ ข. แบบถังนอน ค. แบบแกว่ง ง. แบบหมุน

3. เครอ่ื งผสมอาหารแบบใด นิยมใช้ในโรงงานผลติ อาหารสัตว์

ก. แบบถงั ต้งั ข. แบบถงั นอน ค. แบบแกวง่ ง. แบบหมุน

4. ข้นั ตอนแรกของการใช้เครื่องบดอาหารคือ

ก. นาอาหารมาไลค่ วามชน้ื ก่อน ข. ใสอ่ าหารก่อนเปดิ เครื่องบด

ค. เปดิ เครอ่ื งบดก่อนใสอ่ าหาร ง. ใสต่ ะแกรงบดรลู ะเอยี ดก่อนรูหยาบ

5. การผสมอาหารด้วยเคร่ืองข้อใดผดิ

ก. เปิดเครอ่ื งผสมอาหารใหท้ างานก่อนใส่วัตถุดบิ

60

ข. ใส่วติ ามนิ -แร่ธาตุ กอ่ นวตั ถดุ ิบอนื่ ๆ

ค. ใสว่ ัตถดุ ิบท่มี นี า้ หนักมากก่อน จงึ ใสว่ ัตถุดิบทม่ี นี ้าหนักเบาทหี ลัง

ง. อาหารผสมเสรจ็ แล้วควรตงั้ ในท่รี ม่ ไมถ่ ูกแสงแดด

6. อาหารผสมแตล่ ะครง้ั ควรใช้ให้หมดภายในกี่วัน

ก. 3 ข. 7 ค. 10 ง. 14

7. ข้อใดไม่ใช่จดุ ประสงคข์ องการอดั เม็ดอาหาร

ก. เพิม่ ความหนาแนน่ ของอาหาร ข. ลดฝนุ

ค. เพิ่มความช้ืนให้แก่อาหาร ง. เพ่มิ การย่อยได้ให้ตับสัตว์

8. อาหารผง มักมีปัญหากบั สตั ว์ชนิดใดมากท่ีสุด

ก. สตั วป์ ีก ข. สุกร ค. โค ง. กระบอื

9. อาหารชนิดใดมตี ้นทนุ การผลิตสงู ท่ีสุด

ก. อาหารผง ข. อาหารเปยี ก ค. อาหารอดั เม็ด ง. อาหารอดั เมด็ บุบแตก

10. อาหารอัดเม็ดท่ีใช้เล้ยี งสุกรในฟารม์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยอี บุ ลราชธานี บรรจกุ ระสอบละกี่

กโิ ลกรัม

ก. 20 ข. 30 ค. 50 ง. 100

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน
วชิ า การผลิตสกุ ร รหัสวิชา 2501-2304

หน่วยท่ี 6 เรื่อง การผสมอาหาร

1. ค
2. ก
3. ข
4. ค
5. ข
6. ง

61

7. ค
8. ก
9. ง
10. ข

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 7

ชอ่ื วิชา การเลยี้ งสุกร สอนครง้ั ท่ี 10-

16

ชือ่ หน่วย การจัดการสกุ รระยะตา่ ง ๆ ช่วั โมงรวม 14

ช่ือเร่อื ง การตรวจการเป็นสัดและการผสมพันธ์ุสุกร สอนคร้ังที่ 12-14 จานวนช่ัวโมง 6

62

สาระสาคญั
การเป็นสัด (Heat or Estrus) หมายถึง ลักษณะที่แม่สุกรหรือสุกรสาวแสดงอาการต้องการ ผสม

พันธุ์ และยอมรับการผสมพันธุ์จากพ่อสุกรหรือการผสมเทียมโดยการผสมพันธุ์น้ันอาศัยปัจจัยที่สาคัญ 3
ประการคอื

1. การตรวจการเป็นสดั ว่าแมส่ ุกรยอมรบั การผสมพนั ธุ์หรือไม่
2. ระยะเวลาผสมพันธทุ์ เ่ี หมาะสมและการผสมซ้า
3. อตั ราสว่ นของพ่อพนั ธ์ุและแม่พนั ธุ์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
จดุ ประสงค์ทั่วไป
1. เพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การผสมพันธุ์สุกรตามหลกั การและกระบวนการ
2. เพอ่ื ใหต้ รวจการเปน็ สดั ของแมส่ กุ รได้
3. เพ่ือใหผ้ สมพนั ธ์ุสุกรดว้ ยความรอบคอบและปลอดภยั
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. เปรียบเทยี บการผสมจริงและการผสมเทียมได้
2. ตรวจการเปน็ สัดของแม่สุกรได้
3. ผสมพนั ธ์ุสกุ รดว้ ยความรอบคอบและปลอดภัย

สาระการเรียนรู้
ลกั ษณะอาการเปน็ สัดของแม่สกุ รพอสรุปได้ดังนี้
1. อวัยวะเพศบวมแดง มีอาการกระวนกระวาย
2. บางตัวสง่ เสยี งรอ้ ง ไมส่ นใจอาหาร ปนี คอก
3. พยายามปีนหลงั สุกรตวั อื่นหรือให้สุกรตัวอื่นปีนหลงั
4. มีน้าเมือกใสๆไหลออกมาทางช่องคลอด อวยั วะเพศเร่มิ เหยี่ วลง
5. สุกรยืนนิง่ หตู ัง้ ชัน ยกหางขึ้น แสดงการยอมรับการผสม
การผสมพนั ธสุ์ กุ รมี 2 วธิ ี คอื
1. การผสมจรงิ
2. การผสมเทยี ม

63

กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ผสู้ อนนาเขา้ สูบ่ ทเรยี นดว้ ยการสนทนาแล้วช้แี จงจดุ ประสงคข์ องการเรยี น แจกแบบทดสอบ กอ่ น

เรียนให้ผูเ้ รียนทา (15 นาท)ี
2. แบ่งผเู้ รยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆละ 5 คน แจกใบความรู้ที่ 3.2 เรอื่ งการตรวจการเปน็ สัดของแม่สุกรให้กลุม่

ผูเ้ รียนศึกษา (45 นาที)
3. ผสู้ อนแจกใบงานที่ 3.2 ใหก้ ล่มุ ผเู้ รยี นตรวจการเป็นสัดของแมส่ ุกรในฟาร์มของวทิ ยาลยั ฯ โดยผสู้ อน

แนะนาอย่างใกลช้ ดิ พรอ้ มให้คะแนนความถูกตอ้ ง (60 นาท)ี
4. ผูส้ อนสาธิตการรดี นา้ เชอ้ื พ่อพันธุส์ กุ รและการเจือจางน้าเช้อื โดยใชส้ ารละลายนา้ เชอ้ื การเกบ็ รักษาน้าเชื้อ

เพื่อผสมเทยี มในคร้งั ต่อไป (60 นาที)
5. กล่มุ ผ้เู รียนรีดนา้ เช้ือพอ่ พนั ธุส์ ุกรและเจือจางน้าเชื้อ พร้อมกับศกึ ษาใบความรทู้ ่ี 3.2 เรื่อง การผสมเทยี ม

สุกร เพ่อื ปฏิบัตใิ นการเรียนครั้งตอ่ ไป (60 นาท)ี
6. ผสู้ อนสาธิตการผสมเทียมสุกร (10 นาที)
7. ผู้สอนแจกใบงานท่ี 3.3 ให้ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่มผสมเทียมสกุ รตามขัน้ ตอนทผี่ ู้สอนไดส้ าธติ พรอ้ มรายงานผล

การปฏิบัตงิ าน (50 นาท)ี
8. ผู้สอนสาธิตการผสมจรงิ สุกร (20 นาที)
9. ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกันสรปุ เน้อื หาวชิ าเปรยี บเทียบความแตกต่างของการผสมจริงและการผสมเทียม

(30 นาที)
10. ผู้สอนแจกแบบทดสอบหลงั เรียนให้ผู้เรยี นทา ( 10 นาที)

รวม 360 นาที

สอื่ การเรยี นการสอน
สื่อสิง่ พิมพ์
1. ใบความรทู้ ี่ 3.2
2. ใบงานท่ี 3.2 , 3.3
3. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
สอ่ื โสตทศั น์
1. เครอื่ งคอมพิวเตอร์
2. โปรเจคเตอร์ LCD.
ของจริง
1. แมพ่ ันธุ์สกุ ร
2. พอ่ พันธุส์ ุกร
3. อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการผสมเทยี ม

64

การประเมนิ ผล
1. พฤติกรรมการเรยี นรู้/การปฏิบัติงาน
2. ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา
3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
วธิ ีประเมิน
1. ตรวจความถูกต้องของการปฏิบัตกิ จิ กรรม ให้คะแนนลงในแบบประเมินกจิ กรรมกล่มุ
(15 คะแนน)
2. ตรวจรายงานผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของการผสมจริงและการผสมเทียม
3. ตรวจแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น (5 คะแนน)
เคร่อื งมือประเมนิ
1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกล่มุ
2. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน

บันทึกหลังการสอน
หนว่ ยที่ 7 เร่ือง การคัดเลอื กและผสมพันธุ์สุกร

สอนคร้ังท่ี 10-12 จานวน 6 ช่วั โมง

ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรยี นของผูเ้ รยี น

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

65

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงช่อื ....................................ครปู ระจาวิชา
(........................................)

ใบความรทู้ ี่ 7.2

รหสั วิชา 2501-2304 ช่ือวิชา การเล้ยี งสกุ ร สอนครงั้ ที่ 12-14
หนว่ ยท่ี 7 ชื่อหน่วย การจดั การเลย้ี งดูสุกรระยะตา่ งๆ เวลารวม 14 ชม.
ช่อื เรื่อง การตรวจการเป็นสดั และการผสมเทียม เวลา 105 นาที

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. เพ่อื ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การผสมพันธุส์ ุกรตามหลกั การและกระบวนการ
2. เพอ่ื ให้ตรวจการเป็นสัดของแมส่ ุกรได้
3. เพื่อใหผ้ สมพันธด์ุ ้วยความรอบคอบและปลอดภัย

เนอ้ื หาสาระ
1. การเป็นสดั ของแม่สุกร

การเป็นสัด (Heat หรอื Estrus) หมายถงึ ลักษณะที่แม่สุกร หรือสุกรสาว แสดงอาการต้องการผสม
พันธ์ุและยอมรับการผสมพันธุ์จากพ่อสุกร ปกติสุกรจะมีวงรอบการเป็นสัดนาน 21 วัน โดยเฉล่ีย และแต่ละ
ครั้งทแ่ี สดงอาการเปน็ สัด จะแสดงอาการนาน 2-3 วนั แม่สุกรหลังหย่านม จะใช้เวลานาน 3 ถึง 10 วัน (เฉลี่ย
5 วัน) จึงจะแสดงอาการเป็นสดั ลกั ษณะอาการเปน็ สัดของแมส่ กุ รพอสรปุ ได้ดังนี้

1.1 อวยั วะเพศบวมแดง
1.2 สกุ รมีอาการกระวนกระวาย
1.3 สกุ รบางตวั สง่ เสียงร้อง ไมส่ นใจอาหาร ปนี คอก
1.4 ถ้าเล้ยี งรวมกัน สุกรที่เปน็ สัดจะพยายามปีนหลังสุกรตวั อน่ื หรอื ยอมใหส้ ุกรตวั อื่นปนี หลัง
1.5 เมอ่ื เปน็ สัดเต็มทจี่ ะสังเกตเห็นอวัยวะเพศเร่มิ เห่ียวลง และมีนา้ เมือกใส ๆ ไหลออกมาทาง

66

ช่องคลอด
1.6 เมอ่ื เอามือกดหลังดู ถา้ พบว่า สกุ รยนื น่งิ หูชัน ยกหาง แสดงวา่ สกุ รยอมรับการผสมแลว้

2. การตรวจสดั โดยใช้พอ่ สุกร
การตรวจสัดโดยใช้พอ่ สุกรท่ถี ูกต้องตามหลกั วิชาการ มหี ลักการวา่
1. อายุพ่อที่จะนามาตรวจสดั มีอทิ ธพิ ลต่อการเป็นสัดของสุกรสาว รวมถึงจานวนไข่ที่ตกด้วย เหตุท่ี

พ่อสุกรโตเต็มวัยกระตนุ้ การเป็นสัด สุกรสาวไดด้ กี ว่า เพราะวา่ พอ่ สุกรเหลา่ นจ้ี ะมกี ล่นิ หรอื ฟิโรโมนท่ีมา
จากนา้ ลายและถงุ ห้มุ ลึงค์แรงกว่า (Muirhead and Alexander, 1997) นั่นเอง

ตารางที่ 3-2 แสดงพ่อสุกรโตเตม็ วัยกระตุ้นการเป็นสัด

อายพุ ่อสกุ ร อายุเม่ือสกุ รสาวเป็นสดั ครั้งแรก จานวนไข่ท่ตี ก

(เดอื น) (วนั )

6.5 206 12.4

11 182 13.0

24 182 13.2

2. ประสบการณพ์ อ่ สกุ รในการกระตนุ้ สัด ก็มผี ลต่อการเป็นสดั ของแม่สุกรเชน่ กัน พ่อสุกรที่มี

ประสบการณ์มาก ๆ และทาให้แมส่ ุกรเป็นสดั ดี

ตารางที่ 3-3 แสดงเปอร์เซ็นตผ์ สมได้จากประสบการณพ์ ่อสุกร เปอรเ์ ซ็นต์ผสมได้
พอ่ สกุ ร 90.0
63.9
พอ่ ที่มีประสบการณ์ในการกระต้นุ สดั
พ่อทีไ่ ม่มีประสบการณใ์ นการกระตุน้ สดั

3. หลีกเล่ียงการนาสุกรสาวทดแทนเข้าเลี้ยงในซองยืน เพราะค่อนข้างมีผลในเชิงลบต่อ การ
เป็นสัดของสุกรสาวทดแทน England and Spurr (1969) บอกว่าการเล้ียงสุกรสาวในซองยืนหรือ ขังเดี่ยว
จะทาให้สุกรสาวแสดงอาการเป็นสัดผิดปกติ 28 เปอร์เซ็นต์เทียบกับการแสดงอาการเป็นสัดผิดปกติ 16
เปอร์เซ็นต์เม่ือสุกรสาวอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม Mavrogenis and Robinson (1976) บอกว่า สุกรสาวที่ถูก
แยกขงั ในซองยืน การโตเตม็ วยั จนเป็นสัดครงั้ แรกจะชา้ ไป

4. หลีกเล่ียงการขงั สกุ รสาวไว้ใกล้ชิดพอ่ สกุ ร การกระตนุ้ การเป็นสดั ท่ดี นี ัน้ ควรหลีกเล่ียงการขังพ่อ
สุกรและแม่สุกรให้สัมผัสกันตลอดเวลา (Glossop, 2001) แม่สุกรท่ีสัมผัสกับพ่อสุกรตลอดเวลาหลังหย่านม
และสกุ รสาวท่สี มั ผัสกับพ่อสุกรตลอดเวลาในช่วงก่อนเป็นสัด จะมีระยะเป็นสัดยืนน่ิง สั้นลง (Tilbrook and
Hemsworth, 1989) แม่สกุ รท่ีได้รับการกระตนุ้ จากฟีโรโมนของพอ่ สุกรในโรงเรือนตลอดเวลา ทาให้การแสดง
การเป็นสดั ไม่ชัดเจน เรยี กว่า Sow-boar proximity ซ่ึงในทางปฏบิ ัติจะพบปัญหานมี้ ากในสกุ รสาว

67

ดังนั้น แนวทางในการลดปัญหาการไม่เป็นสัดหรือเป็นสัดไม่ชัดเจนในสุกรสาว วิธีการที่แนะนา
คือแยกขังพ่อสุกรให้ห่างจากสุกรสาวในโรงเรือนเดียวกันให้มากท่ีสุด จากน้ัน จึงนาพ่อสุกรไปหาสุกรสาวหรือ
แม่สุกร หรือนาสุกรสาวหรือแม่สุกรไปหาพ่อสุกร เพ่ือให้สุกรได้สัมผัสกันแบบสดใหม่เสมอ แบบที่เรียกว่า
Fresh expose

ตารางที่ 3-4 แสดงระยะหา่ งและเปอรเ์ ซน็ ต์ผสมไดข้ องพ่อสกุ รกบั สุกรสาว

สุกรสาวอยตู่ ิด สุกรสาวอยูห่ า่ ง

เหตุการณ์ พอ่ สกุ ร พ่อสกุ รและนาพ่อ

ระยะหา่ ง 1.5 เมตร มากระตุ้นทุกวัน

เวลาที่พอ่ สกุ รเคีย้ วน้าลายจนกระทั่งสกุ รสาวยนื น่ิง (วินาที) 16 5

เปอรเ์ ซน็ ตส์ ุกรสาวผสมได้ 78.9 92.5

5. พ้ืนท่ีต่อตัวและจานวนตัวต่อคอกมีผลต่อการเป็นสัดของสุกรสาว เป็นหลักการขั้นต้นท่ีสาคัญ

ในการจัดการสุกรสาวทดแทน Christenson (1984) บอกว่าสุกรสาวท่ีมีจานวนตัวต่อคอกน้อย จะลดการ

กระตุน้ ซึ่งกันและกนั (Stimulatory interaction) ทาใหส้ กุ รสาวตอบสนองต่อพอ่ สุกรไม่ดี

ตารางที่ 3-5 แสดงพ้ืนท่มี ผี ลต่อการเป็นสัดของสุกรสาว

รายการ 1 ตร.ม./ตัว 2 ตร.ม./ตัว 3 ตร.ม./ตัว

% การเป็นสดั 79 88 100

% ผสมได้ 79 85 97

ตารางที่ 3-6 แสดงจานวนสุกรต่อคอกมผี ลตอ่ การเป็นสัดของสุกรสาว

รายการ 3 ตัว/คอก 9 ตัว/คอก 17 ตวั /คอก 27 ตัว/คอก

% การเปน็ สดั 57 78 80 80

6. อย่าแยกสุกรสาวที่กาลังเป็นสัดออกจากกลุ่ม เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของสุกรสาว ที่
สุกรสาวตัวหน่ึงที่กาลังเป็นสัดจะกระตุ้นให้สุกรสาวท่ีอยู่ในกลุ่มเดียวกันเป็นสัดไปด้วย เรียกลักษณะที่ว่าน้ีว่า
Estrous synchronization ดังน้นั อยา่ พยายามไปแยกสกุ รสาวท่ีกาลงั ปนี ปุายเพอ่ื นออกจากคอก เพราะกาลัง
กระตนุ้ เพือ่ น

68

และในทานองเดียวกัน แม่สุกรหย่านมที่กาลังเป็นสัดก็สามารถกระตุ้นให้สุกรสาวเป็นสัดได้ด้วย
เหตผุ ลคอื เม่ือแม่สุกรหยา่ นมเป็นสัดฮอร์โมนเอสโตรเจนในปัสสาวะแม่สุกรจะกระตุ้นให้ สุกรสาวเป็นสัดด้วย
(Muirhead and Alexander, 1997) ดังน้ันวิธีการหนึ่งท่ีฟาร์มนิยมใช้กันคือ การนาแม่สุกรหย่านมใหม่ไปขัง
แทรกไวข้ ้างหมูสาว

7. แนะนาใหเ้ ช็คสดั ตอนเช้าตรู่ จากงานวิจยั บง่ ช้ีว่าแมส่ ุกรส่วนใหญ่จะเร่ิมเป็นสัด (ช่ัวโมง ที่ 0)
ตอนตี 4 ดงั นนั้ การตรวจการเปน็ สัดในช่วงเช้าจึงควรให้ความสาคัญเป็นพิเศษ เพื่อให้สามารถจับ การเป็นสัด
ของแมส่ ุกรไดเ้ รว็ ท่ีสดุ เพ่ือทีจ่ ะทาใหจ้ ังหวะการผสมสอดคลอ้ งกบั ช่วงเวลาการตกไขน่ ่ันเอง

8. ใช้เวลาในการกระตุ้นสัด 20 นาที ถอื เป็นระยะเวลาในการตรวจสัดท่เี หมาะสมท่สี ุด

ตารางที่ 3-7 แสดงเวลาในการกระตุ้นสัด

เวลาในการกระต้นุ สัด จานวนวนั ทใี่ ชก้ ระตุ้นจนสุกรสาวเปน็ สัด

(นาที) สุกรสาว 2 ตัว/คอก สกุ รสาว 4 ตัว/คอก สุกรสาว 8 ตัว/คอก

5 27-33 27-33 27-33

12.5 16 33 38

20 23 20 20

2. การผสมพนั ธส์ุ กุ ร
การจดั การผสมพันธ์สุ กุ รทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพและใหไ้ ด้ผลผลิตสูงสดุ ขึน้ อย่กู ับปัจจัย 3 ประการคอื
2.1 การตรวจการเป็นสัด เป็นการตรวจสอบดูว่าแม่สกุ รตวั ใด แสดงอาการเป็นสัด และอยใู่ น

ภาวะยอมรบั การผสมหรือไม่ การตรวจการเปน็ สดั นั้นจะทาวันละ 2 เวลา คือ เวลาเช้า และเวลาเยน็ วธิ ีการ
ตรวจการเป็นสัดนั้นจะทาได้ 2 วธิ ี คือ

2.1.1 ใหผ้ ู้เล้ียงเป็นผตู้ รวจการเปน็ สัด โดยใชว้ ธิ ีการสังเกต หรอื การใช้เครอ่ื งมือตรวจ

2.1.2 ให้พอ่ สกุ รเดนิ ตรวจการเป็นสัด
2.2 ระยะเวลาผสมท่เี หมาะสม การผสมพันธ์คุ วรผสมในช่วงเวลาที่มอี ากาศไมร่ อ้ นจัด คือ
เวลาเชา้ และเวลาเย็น และควรผสมซ้า 2 ครง้ั ในแตล่ ะครัง้ ทสี่ ุกรแสดงอาการเป็นสัด(ผสมเย็น- เช้า หรือ เช้า-
เย็น) ระยะเวลาทเี่ หมาะสมในการผสมคอื ระหวา่ งชว่ั โมงที่ 24-36 หลังจากแม่สกุ รยืนนงิ่ ยอมรับ การผสม
2.2 อตั ราส่วนของพ่อพนั ธุ์ตอ่ แมพ่ ันธ์ทุ เี่ หมาะสม โดยทั่วไปจะใช้พ่อสุกร 1 ตวั ต่อแม่สุกร
10-15 ตวั ในการผสมจริงตามธรรมชาติ ถ้าใชก้ ารผสมเทียมพ่อสกุ ร 1 ตวั ต่อแมส่ กุ ร 30-50 ตวั

3. การผสมเทยี มดว้ ยนา้ เชือ้ สด
น้าเช้ือสดที่เก็บในขวดฉีดน้าเชื้อ ซ่ึงบรรจุน้าเช้ือและสารละลายมีปริมาตรเท่าที่จะนาไปฉีดให้กับแม่

สุกรได้เลย เช่น 70, 80 หรือ 100 มิลลิลิตร ให้นาขวดน้าเชื้อน้ันมากลับขวดไปมาสัก 3-4 คร้ัง นาไปอุ่นให้ได้

69

อุณหภูมิประมาณ 30-35 องศาเซลเซียส แล้วนาไปฉีดให้กับแม่สุกร หรืออาจจะไม่ต้องอุ่นก็ได้ พอกลับขวด

น้าเช้ือไปมาใหน้ า้ เชอื้ เขา้ กันไดด้ แี ลว้ ก็นาไปฉีดได้เลย

น้าเช้อื ทีเ่ ก็บแยกกัน เช่นการอัดกาซคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในน้าเชื้อ ซ่ึงอาจจะเก็บในปริมาตรขวด

ละ 25 มิลลิลิตร และอีกขวดหนึ่งซึ่งบรรจุแต่สารละลายน้าเชื้อท่ีไม่ได้อัด ก๊าซ

คาร์บอนไดออกไซดใ์ นปริมาตร 50, 60 หรือ 75 มิลลิลิตร นา้ เชือ้ สดทเี่ กบ็ ในลักษณะเช่นนี้ก่อนจะนามาใช้ก็ให้

กลับขวดท่ีบรรจุน้าเช้ือไปมา 3-4 คร้ัง แล้วนาขวดน้าเชื้อและขวดสารละลายน้าเช้ือไปอุ่นให้อุณหภูมิเท่ากัน

จึงคอ่ ยเทสารละลายน้าเชอื้ ลงไปผสมกับนา้ เช้ือ เสรจ็ แลว้ จึงนาไปฉดี ใหก้ บั แม่สุกร

อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการฉีดนา้ เชือ้

1. แมส่ กุ รทเี่ ปน็ สัด

2. อวยั วะเพศผเู้ ทยี ม (catheter) ซึง่ มีอยหู่ ลายแบบ (ดงั แสดงในภาพท่ี 8-1)

3. ขวดพลาสติกบรรจุนา้ เชอ้ื

4. พาราฟนิ เหลวหรอื วาสลิน

5. กระดาษชาระ

6. ถงุ พลาสติก หรือกระบอก พี.วี.ซ.ี สาหรบั ใสอ่ วัยวะเพศผู้เทียม

7. กล่องโฟม หรือกระติกนา้ แข็งสาหรบั ใส่ขวดนา้ เช้ือเม่ือเคลอ่ื นยา้ ยนา้ เช้ือ

ขบวนการนาน้าเช้ือไปฉีดให้กบั แม่สกุ ร

1. อาบนา้ แม่สกุ รให้สะอาดโดยเฉพาะบริเวณอวยั วะเพศต้องลา้ งให้สะอาด อย่าใหส้ กปรก เสร็จแล้ว

เช็ดให้แหง้ รอการฉีดน้าเชอ้ื

2. นาขวดทบี่ รรจนุ ้าเช้ือสด หรือนา้ เชอ้ื ที่ผสมกับสารละลายนา้ เชอื้ ใส่ในกล่องโฟมเพ่ือปูองกัน

แสงแดดและการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู เิ ร็วเกินไป ขณะทจี่ ะนาลงไปผสมกับแม่สุกรในคอก

3. เอาอวัยวะเพศผู้เทียมท่ีผ่านการฆ่าเช้ือแล้วโดยการต้ม นึ่ง หรืออบให้แห้งแล้วใส่ในถุงพลาสติก

หรือกระบอกสาหรับใส่อวัยวะเพศผู้เทียม เพื่อปูองกันฝุนและเช้ือโรคท่ีอาจจะติดไปกับอวัยวะเพศผู้เทียมเข้า

ไปในช่องคลอดของแม่สุกรได้ อวัยวะเพศผู้เทียมที่ผ่านการฆ่าเช้ือแล้วห้ามใช้มือจับ ยกเว้นบริเวณโคนอวัยวะ

เพศผเู้ ทยี มทีจ่ ะจบั เพื่อสอดเข้าอวัยวะเพศเมีย

4. ใช้พาราฟินเหลวหรือวาสลินทาส่วนของอวัยวะเพศผู้เทียม เพ่ือให้เกิดความล่ืนเวลาสอดเข้าไปใน

ช่องคลอดของตัวเมีย แม่สุกรจะได้ไม่เจ็บหรืออาจจะใช้น้าเชื้อท่ีละลายแล้วหยดลงบริเวณอวัยวะเพศผู้เทียมก็

ได้

5. นาพ่อสุกรมาขังไว้ข้างคอกแม่สุกรท่เี ปน็ สดั หรอื ใชส้ เปรย์กลิ่นพ่อพันธุ์สุกรฉีดท่ีจมูกแม่สุกร และให้

ผชู้ ว่ ยอีกคนหน่งึ เป็นคนกดหลังหรือขึน้ ขี่ แลว้ ใชเ้ ข่ากระตุ้นสีข้างของแม่สุกรไว้ หรือใช้มือถูบริเวณราวนมไปมา

การกระตุ้นนี้มีข้อดี เพราะว่าจะทาให้กล้ามเน้ือมดลูกแม่สุกรเกิดการบีบรัดตัว ซ่ึงจะทาให้น้าเช้ือไหลเข้าไปยัง

ปกี มดลกู และท่อนาไข่ได้มาก ฉะนน้ั การกระตุ้นจงึ มคี วามสาคัญมากในการผสมเทยี ม

6. ใช้กระดาษชาระเชด็ บรเิ วณอวยั วะเพศสกุ รตวั เมียให้สะอาด

70

7. ใช้น้วิ ชี้นวิ้ กลางและหัวแม่มอื เปิดแคมนอกของอวัยวะเพศตวั เมียให้แยกออกจากกนั เพ่ือท่ีจะสอด
อวัยวะเพศผเู้ ทยี มเขา้ ไปได้งา่ ย

8. สอดอวยั วะเพศผูเ้ ทียมเข้าไปในระยะแรกประมาณ 3-4 น้ิว ควรจะสอดข้ึนด้านบนทามุมประมาณ
60 องศาก่อน เพื่อหลบรูเปิดของท่อปัสสาวะ หลังจากนั้นก็ให้สอดเข้าไปตรง ๆ จนรู้สึกว่า มือท่ีเราจับ
อวัยวะเพศผู้เทียมสะดุดเข้ากับติ่งของก้อนเนื้อท่ีคอมดลูก ก็ให้เร่ิมหมุนอวัยวะเพศผู้เทียมทวนเข็มนาฬิกา
เพ่ือให้ปลายเกลียวสว่านเข้าไปล็อคกับคอมดลูกได้ หลักการสอดอวัยวะเพศผู้เทียมในสุกรสาวถ้าหากเกลียว
สวา่ นเข้าล็อคแลว้ เม่อื หมนุ ไปจะรสู้ ึกฝดื ๆ บิดไมไ่ ป ลองดึงอวัยวะเพศผู้เทียมออกก็จะรู้สึกตึง ๆ ที่มือ แสดงว่า
เราสอดอวัยวะเพศผเู้ ทียมเขา้ ลอ็ คคอมดลูกได้แล้ว ถ้าหากเป็นแม่สุกรที่เคยให้ลูกมาแล้วก็ให้สอดลึกท่ีสุดเท่าท่ี
จะทาได้ เพราะมดลูกของแม่สุกรจะขยายใหญ่ขึ้น บางคร้ัง เมื่อสอดเข้าไปลึกสุดแล้วเวลาใช้มือดึงออกมา
อวยั วะเพศผู้เทียมก็จะหลดุ ออกมาไดง้ า่ ย ฉะนนั้ ใน แม่สกุ รควรสอดให้ลึกเข้าไว้ หลังจากน้ันให้จับอวัยวะ
เพศผูเ้ ทยี มรวบกบั โคนหางแมส่ กุ รปอู งกนั ไมใ่ หห้ ลุดเม่ือแมส่ ุกรเคลื่อนไหว

9. นาน้าเช้ือท่ีเตรียมไว้แล้ว ออกจากกล่องโฟมมาต่อเข้ากับปลายอวัยวะเพศผู้เทียมทางด้านโคน
เสรจ็ แลว้ ใชแ้ รงบีบทข่ี วดน้าเช้ือเล็กน้อย เพ่ือไล่อากาศท่ีค้างอยู่บริเวณท่อในอวัยวะเพศผู้เทียมออก น้าเชื้อจะ
ไหลเข้าไปแทนท่แี ละไหลเขา้ สมู่ ดลกู ได้ตามแรงดันของนา้ เช้ือในขวด แต่ถ้าหากว่าเราใช้ แรงบีบท่ีขาดน้าเช้ือ
แลว้ ขวดนา้ เช้ือยังไมแ่ ฟบลง หรือน้าเช้ือไม่ไหลลงไปในอวัยวะเพศผู้เทียม แสดงว่า รูเปิดที่เกลียวสว่านไป
อยู่ตรงตาแหน่งท่ตี ง่ิ เน้ือในคอมดลกู พอดี ก็ให้หมุนอวัยวะเพศผู้เทียมไปข้างใดข้างหน่ึงพร้อมกับบีบขวดน้าเช้ือ
ไปดว้ ย พอรูเปิดทเ่ี กลียวสว่านพน้ จากต่งิ เนอ้ื แลว้ นา้ เชอื้ กจ็ ะไหลลง ไปได้

10. ในขณะที่น้าเช้ือไหลเข้าไปในมดลูกนั้น คนท่ีช่วยกระตุ้นหรือคนที่ฉีดน้าเช้ือเอง ควรกระตุ้นแม่
สกุ รตอ่ ไป เพือ่ ให้แม่สกุ รดูดนา้ เชอ้ื ไดด้ ีขึน้ สกั ระยะหนึง่ เมื่อน้าเชื้อถูกดูดไปมากแล้ว ขวดน้าเช้ือจะแฟบลง เรา
ควรจะคลายเกลียวขวดน้าเช้ือ หรือถอดขวดน้าเช้ือออกมา เพ่ือให้อากาศเข้าไปในขวดอีก ซึ่งจะทาให้น้าเชื้อ
ถูกดดู เข้าไปได้งา่ ยข้ึน

11. ในขณะทีฉ่ ีดน้าเชื้อนอกจากจะใชม้ ือกระตนุ้ บรเิ วณสีขา้ งหรอื ราวนมแลว้ ผ้ฉู ีดอาจจะใชม้ อื อีก
ข้างกระตนุ้ ท่ีปุมกระสนั ตข์ องแม่สกุ รไปด้วยก็ได้

12. เมอื่ เห็นว่านา้ เชื้อถกู ดดู เข้าไปหมดแลว้ กใ็ ห้ถอดขวดออกจากอวัยวะเพศผู้เทียมใช้หัวแม่มืออุดทิ้ง
ไว้ประมาณ 1-2 นาที แล้วกระตุ้นแม่สุกรต่อไปอีก เพ่ือให้น้าเช้ือถูกดูดเข้าไปหมดจากท่ออวัยวะเพศผู้เทียม
จรงิ ๆ หรอื เมอื่ นา้ เช้ือหมดแล้วกใ็ ห้พบั ขวดนา้ เชื้อพร้อมกบั หมนุ อวยั วยะเพศผู้เทยี มตามเข็มนาฬิกาออกมากไ็ ด้

13. เม่ือน้าเช้ือถูกดูดจากท่ออวัยวะเพศผู้เทียมหมดแล้วก็ให้อวัยวะเพศผู้เทียมออกมาโดยหมุนตาม
เข็มนาฬิกา

14. นาแม่สุกรไปแยกขังไว้เพื่อรอดูผลการตั้งท้อง อย่านาแม่สุกรท่ีผสมภายใน 21 วันแรกไปขังรวม
กับตัวอ่ืน เพราะจะทาให้การเกาะตัวของตัวอ่อนล้มเหลว ถ้าแม่สุกรได้รับการกระทบกระเทือนจากการถูกกัด
หรือแย่งอาหารกัน จะทาใหผ้ สมไมต่ ิด

15. นาเครอ่ื งมือมาลา้ งให้สะอาดด้วยน้าสะอาด อย่าใชส้ บูห่ รือผงซักฟอกหรอื ยาฆ่าเชื้อล้าง เพราะจะ
เป็นอนั ตรายตอ่ ตัวเช้ือ เสร็จแลว้ ล้างดว้ ยน้ากล่นั นาไปอบให้แห้ง หรอื ตม้ หรอื นงึ่ นานประมาณ 15 นาที

71

16. ในการผสมซา้ คร้ังท่ี 2 หรือ 3 กท็ าในทานองเดียวกนั

ใบงานท่ี 7.2

รหสั วิชา 2501-2304 ช่ือวิชา การเลี้ยงสุกร สอนครงั้ ที่ 12-14
หนว่ ยท่ี 7 ชอื่ หน่วย การคดั เลือกและผสมพันธสุ์ ุกร เวลารวม 14 ชม.
ชอื่ งาน การตรวจการเป็นสัด เวลา 60 นาที

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ตรวจการเป็นสัดของแม่สกุ รได้
2. ตรวจการเปน็ สัดดว้ ยความระมัดระวงั รอบคอบ

วัสดอุ ุปกรณ์
1. สกุ รแม่พันธุข์ องวทิ ยาลัยฯ จานวน 20 ตวั
2. บตั รบนั ทึกพันธปุ์ ระวตั ิของแมส่ กุ ร จานวน 20 แผน่

ลาดบั ขน้ั การปฏบิ ัติงาน
1. ให้ผเู้ รียนแบ่งกลุม่ ๆ ละ 5 คน
2. ผูเ้ รียนแบง่ หนา้ ทก่ี ารทางานภายในกลุ่ม
3. ผเู้ รยี นแต่ละกลมุ่ ศึกษาใบความรทู้ ่ี 3.2 เรอ่ื ง การตรวจการเปน็ สดั
4. ผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ ดาเนินการตรวจการเป็นสดั ของแมส่ ุกร กลมุ่ ละ 5 ตวั แล้วจดบนั ทกึ

ว่าแมส่ กุ รตัวใด เบอร์ใดบ้างทีเ่ ป็นสดั และพร้อมท่ีจะผสมพันธุ์
5. ผสู้ อนตรวจความถูกต้องของการตรวจการเป็นสัด พร้อมใหค้ ะแนน

การประเมนิ ผล
1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลุ่ม

72

แบบประเมนิ กิจกรรมกลุ่ม
เรอ่ื ง การตรวจการเปน็ สดั
กลุ่มที่…………………………………..

รายการประเมนิ คะแนน คะแนนท่ีไดใ้ นแต่ละกลุม่
เต็ม 12345
1. ขนั้ เตรยี มการโดยสมาชกิ ร่วมกนั ศึกษาใบงาน (2)
1.1 วางแผนการปฏิบตั งิ าน 1
1.2 การแบ่งหน้าทภ่ี ายในกลุ่ม 1
(3)
2. ข้ันดาเนินงาน 1
2.1 การตรวจการเป็นสดั 1
2.2 ความถูกต้องของการตรวจสัด 1
2.3 การบันทึกหมายเลขทเี่ ป็นสัด
(3)
3. ผลการดาเนินงาน 1
3.1 จาแนกสุกรที่เปน็ สัดและไม่เป็นสดั ได้ 2
3.2 อธิบายลักษณะของแมส่ ุกรเปน็ สัดได้ถูกต้อง
ทงั้ หมด (2)
1
4. คะแนนคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ พิสัย 1
4.1 ปฏิบตั งิ านด้วยความสนใจ
4.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ ตรงเวลา 10

รวม

73

ลงชอ่ื ........................................
(………………………..)
ผู้ประเมนิ ใหค้ ะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน
ขน้ั เตรียมการ คะแนน 2 = สมาชกิ วางแผนปฏิบตั ิงานและแบง่ หน้าทีภ่ ายในกลมุ่ อย่างดี
ขั้นดาเนนิ งาน คะแนน 3 = ตรวจการเป็นสดั ไดถ้ ูกต้อง มีการบนั ทึกหมายเลขแม่พันธ์ุ
ผลการดาเนินงาน คะแนน 3 = จาแนกสุกรทเี่ ป็นสดั ไดถ้ ูกต้อง อธบิ ายลักษณะที่เปน็ สดั ได้
คุณธรรม จริยธรรม คะแนน 2 = ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความสนใจ เขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ ตรงเวลา

ใบงานท่ี 7.3 สอนคร้ังที่ 12-14
เวลารวม 14 ชม.
รหสั วชิ า 2501-2304 ชอ่ื วิชา การเลี้ยงสุกร เวลา 50 นาที
หนว่ ยที่ 7 ชอื่ หนว่ ย การจัดการเล้ยี งดูสุกรระยะต่าง ๆ
ช่ืองาน การผสมเทยี มสุกร

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ผสมเทยี มสุกรได้
2. ผสมเทียมสกุ รด้วยความรอบคอบและปลอดภยั
3. เปรียบเทยี บการผสมเทียมกบั การผสมจรงิ ได้

วสั ดอุ ุปกรณ์
1. สุกรแมพ่ นั ธุ์ของวิทยาลัยทเี่ ป็นสัด จานวน 5 ตวั
2. สกุ รแมพ่ ันธุ์ จานวน 4 ตวั
3. อปุ กรณร์ ดี นา้ เช้ือ, เจอื จางนา้ เชือ้ และผสมเทียมสกุ ร

ลาดับข้นั การปฏบิ ตั ิงาน
1. ใหผ้ ้เู รยี นแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน

74

2. แต่ละคนภายในกลมุ่ แบ่งหน้าท่กี ารทางานภายในกลุ่ม
3. ผู้เรยี นศึกษาใบความรู้ท่ี 3.2 เร่ือง การผสมเทยี มสุกร
4. ผเู้ รียนแต่ละกลมุ่ ปฏิบตั กิ ารผสมเทยี มสุกร
5. รายงานผลการผสมเทียมสุกร พรอ้ มเปรยี บเทียบการผสมเทยี มกบั การผสมจรงิ
6. ผู้สอนตรวจความถูกต้อง พรอ้ มให้คะแนน

การประเมินผล
1. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม
2. แบบรายงานผลการปฏิบตั ิการผสมเทียม

แบบประเมนิ กจิ กรรมกลมุ่
เร่ือง การรดี นา้ เชอ้ื การเจือจางน้าเช้ือ และการผสมเทียมสุกร

กลมุ่ ท…ี่ ………………………………..

รายการประเมนิ คะแนน คะแนนที่ได้ในแต่ละกลมุ่
เต็ม 1 2 3 45
1. ขั้นเตรียมการ (2)
1.1 สมาชิกทกุ คนวางแผนการปฏบิ ตั ิ
1.2 เตรียมอุปกรณ์ 1
1
2. ขั้นดาเนินการ
2.1 การรดี น้าเชือ้ (5)
2.2 การเจือจางนา้ เชื้อ 1
2.3 การผสมเทยี ม 1
2.4 การเกบ็ เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ 1

3. ผลการดาเนนิ งาน 2
3.1 การผสมเทยี มตดิ
(4)

2

75

3.2 การรายงานผล 2
(4)
4. คะแนนคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ พสิ ยั 1
4.1 ความสนใจใฝุรู้ 1
4.2 ความมีวินยั ตรงตอ่ เวลา
4.3 ความรอบคอบ 1
4.4 ความปลอดภัยของคนและสตั ว์ 1

รวม 15

ลงชื่อ........................................
(………………………..)
ผ้ปู ระเมนิ ใหค้ ะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน
ขั้นเตรยี มการ คะแนน 2 = เตรียมอุปกรณไ์ ด้ถกู ต้อง สมาชิกรว่ มกันรว่ มกันวางแผนปฏิบตั งิ าน
ขน้ั ดาเนินงาน คะแนน 5 = รีดน้าเชือ้ เจือจางน้าเชอ้ื ผสมเทียมได้ถกู ต้องตามขั้นตอน เกบ็ เคร่ืองมอื อุปกรณ์เขา้ ที่
ผลการดาเนินงาน คะแนน 4 = รายงานผลการผสมเทยี ม ผสมเทยี มตดิ (อีก 21 วนั ต่อมา)
คุณธรรม จรยิ ธรรม คะแนน 4 = สมาชกิ มีความสนใจใฝรุ ู้ มีวินยั ตรงต่อเวลา มคี วามรอบคอบ และคานึงถงึ

ความปลอดภยั ของคนและสตั ว์

แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน
วิชา การผลติ สุกร รหสั วิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 7 เรื่อง การตรวจการเปน็ สัดและการผสมพนั ธุ์สุกร

1. เราควรคัดเลือกสกุ รในข้อใดไวท้ าพนั ธุ์

ก. มาจากครอกท่ีมีขนาดเม่อื หยา่ นมมากกว่า 8 ตวั

ข. พนั ธุเ์ นอ้ื มเี ต้านมมากกวา่ 14 เต้า

ค. พันธ์ุเบคอนมีเต้านมมากกว่า 12 เต้า

ง. มาจากครอกท่ีมีขนาดเมอื่ คลอด 8 ตวั

2. อวยั วะใดทาหน้าท่ีควบคุมอุณหภูมิในอัณฑะ

ก. ลงึ ค์ ข. อัณฑะ ค. ถุงหุ้มอัณฑะ ง. ต่อมนา้ กาม

76

3. การปฏิสนธขิ องไข่กับอสุจเิ กดิ ขึน้ บริเวณใด

ก. ทอ่ นาไข่ ข. รังไข่ ค. ปกี มดลกู ง. มดลกู

4. ส่วนใดในเพศเมียทาหน้าทรี่ องรบั ปลายลึงค์

ก. ปากมดลกู ข. คอมดลกู ค. มดลูก ง. ปกี มดลูก

5. เมือ่ ผสมแลว้ ตัวอ่อนจะมาฝงั ตัวบรเิ วณใด

ก. คอมดลูก ข. ปากมดลกู ค. มดลูก ง. ปกี มดลูก

6. สุกรเปน็ สดั ทกุ ก่ีวนั

ก. 14 ข. 21 ค. 90 ง. 114

7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่อาการเปน็ สดั

ก. ปสั สาวะบอ่ ยๆ ข. ข้ึนข่ตี ัวเมียหรอื ตัวผู้อนื่ ๆ ในคอก

ค. กนิ อาหารมากข้นึ ง. อวัยวะเพศบวมแดง

8. สารใดท่ีช่วยอดุ ช่องคลอดเพศเมยี เพื่อกันไมใ่ หน้ า้ เช้ือไหลย้อนกลับออกมาเม่ือผสมพันธ์แุ ล้ว

ก. ยางมะละกอ ข. เมด็ สาคู ค. เมด็ แมงลัก ง. ยางมะม่วง

9. ในการรดี นา้ เชอื้ พ่อพนั ธุ์ เราใช้ผา้ ขาวบางทาอะไร

ก. กรองส่ิงสกปรกออกจากเชือ้ อสุจิ ข. ชุบยาฆ่าเชือ้ เช็ดอวยั วะเพศผู้

ค. ใชร้ องหนุ่ เพศเมีย ง. ชุบไขข่ าวทาจมูกพ่อพันธ์ุ

10. ตอ่ มน้ากามต่อมใดเปน็ ต่อมเดี่ยว

ก. Seminal vesicle ข. Prostate gland ค. Cowper’s gland ง. Deferent duct

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
วิชา การผลิตสุกร รหัสวิชา 2501-2304
หน่วยที่ 7 เร่ือง การตรวจการเป็นสัดและการผสมพันธ์ุสุกร

1. ก

77

2. ค
3. ก
4. ข
5. ง
6. ข
7. ค
8. ข
9. ก
10. ข

78

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 7

ช่อื วิชา การเลีย้ งสุกร สอนครัง้ ท่ี 10-

16

ชอ่ื หน่วย การจดั การสุกรระยะต่าง ๆ ช่วั โมงรวม 14

ชอื่ เร่ือง แผนการผสมพันธ์สุ ุกร สอนครัง้ ท่ี 15-16 จานวนชวั่ โมง 4

สาระสาคญั
แผนการผสมพนั ธุ์สุกรแบง่ เปน็ 2 ระบบใหญ่ๆคอื การผสมพนั ธส์ุ ุกรเพื่อผลิตเป็นพันธุ์แท้ เช่นการผสม

ข้ามในพันธุเ์ ดียวกนั , การผสมแบบเลือดชดิ และการผสมพนั ธส์ุ กุ รเพือ่ ผลติ เปน็ การคา้ เช่น การผสมข้ามพันธ์ุ
, การผสมเพอ่ื ยกระดบั พันธ์ุ

จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์ท่ัวไป
1. เพ่ือให้มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแผนการผสมพนั ธส์ุ กุ ร
2. เพอ่ื ใหค้ านวณหาเปอร์เซน็ ตส์ ายเลอื ดในแผนการผสมพันธสุ์ ุกรได้
3. เพื่อให้ทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบและรบั ผดิ ชอบ
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายแผนการผสมพนั ธุส์ กุ รได้
2. คานวณหาเปอร์เซน็ ต์สายเลือดในแผนการผสมพนั ธ์ุสุกรได้
3. ทางานดว้ ยความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบ

สาระการเรยี นรู้
แผนการผสมพันธส์ุ กุ ร
1. ระบบการผสมเพอ่ื ผลติ สุกรพันธุ์แท้

การผสมขา้ มในพันธ์เุ ดียวกัน
การผสมแบบเลือดชิด

2. ระบบการผสมเพื่อผลติ สุกรลูกผสม
การผสมข้าม
การผสมเพ่ือเพิ่มระดับสายเลอื ด

กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนดว้ ยการสนทนาแลว้ ชแ้ี จงจดุ ประสงคข์ องการเรียน แจกแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น

ใหผ้ ู้เรียนทา (15 นาที)

79

2. แบง่ ผ้เู รยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 3 คนตามความสมัครใจ (5 นาท)ี
3. ผสู้ อนแจกใบความรูท้ ี่ 3.3 เร่อื งแผนการผสมพนั ธ์ุสุกรให้ผู้เรยี นศกึ ษา (60 นาที)
4. ผู้สอนตัง้ คาถามเก่ยี วกบั แผนการผสมพันธสุ์ ุกรให้ผเู้ รยี นตอบทลี ะคน (40 นาท)ี
5. ผู้สอนอธบิ ายการคานวณหาเปอรเ์ ซ็นตส์ ายเลือดของแผนการผสมพันธสุ์ กุ รแต่ละแผน (30 นาท)ี
6. ผู้สอนแจกใบงานที่ 3.4 ใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะกลุ่มคานวณหาเปอร์เซ็นตส์ ายเลือดตามท่กี าหนดไว้ใน ใบงานที่

3.4 พรอ้ มเขียนลงแผ่นใส นาเสนอหน้าช้ันเรยี น (60 นาท)ี
7. ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเนื้อหาวิชา (20 นาท)ี
8. ผสู้ อนแจกแบบทดสอบหลงั เรียนใหผ้ เู้ รยี นทา (10 นาที)

รวม 240 นาที

สื่อการเรียนการสอน
ส่ือส่ิงพิมพ์
1. ใบความรทู้ ่ี 3.3
2. ใบงานที่ 3.4
3. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
สอ่ื โสตทศั น์
1. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์
2. โปรเจคเตอร์LCD.
3. เคร่อื งฉายภาพข้ามศีรษะ
4. แผ่นใส

การประเมนิ ผล
สง่ิ ท่ีประเมิน
1. พฤติกรรมการเรียนรู้/การทางานกลมุ่
2. ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหา
3. คุณธรรม จรยิ ธรรม
วิธปี ระเมิน
1. สังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รียนตลอดจนการปฏิบตั ิงานกลุ่มแล้วใหค้ ะแนนลงในแบบประเมินกจิ กรรม
กลุม่ (10 คะแนน)
2. ตอบคาถามถูกต้อง (5 คะแนน)
3. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น (5 คะแนน)

เครอื่ งมือประเมนิ

80

1. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลมุ่
2. จากการตอบคาถาม
3. แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น

บันทกึ หลังการสอน
หน่วยท่ี 7 เรอื่ ง การคดั เลอื กและผสมพันธส์ุ ุกร

สอนคร้ังท่ี 13-15 จานวน 6 ชั่วโมง

ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรยี นของผ้เู รียน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

81

ลงชอื่ ....................................ครปู ระจาวิชา
(........................................)

ใบความรูท้ ่ี 7.3

รหสั วิชา 2501-2304 ชื่อวิชา การผลิตสุกร สอนครั้งที่ 15-16
หน่วยท่ี 7 ชือ่ หน่วย การจัดการสกุ รระยะต่าง ๆ เวลารวม 14 ชม.
ชอื่ เรอ่ื ง แผนการผสมพนั ธสุ์ กุ ร เวลา 60 นาที

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. เพอื่ ใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั แผนการผสมพันธ์สุ กุ ร
2. เพ่อื ใหค้ านวณหาเปอร์เซ็นต์สายเลอื ดในแผนการผสมพันธส์ุ ุกรได้
3. เพอ่ื ให้ทางานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบและรบั ผดิ ชอบ

เนื้อหาสาระ
แผนการผสมพนั ธ์ุ

แผนการผสมพนั ธ์ุแบง่ ออกเป็น 2 ระบบใหญ่ ๆ คอื
ก. การผสมสุกรเพ่ือผลิตเปน็ พันธ์ุแท้
ข. การผสมสกุ รเพ่ือผลิตเปน็ การคา้
3.1 การผสมสกุ รเพ่ือผลิตเป็นพนั ธ์แุ ท้ เปน็ การผสมระหวา่ งสุกรทีเ่ ป็นพนั ธเ์ุ ดยี วกนั ลกู สุกรทไ่ี ด้จะ
เปน็ พันธเ์ุ ดียวกันกบั พ่อแม่ การผสมเพ่อื ให้ได้พนั ธแ์ุ ทม้ ี 2 แบบ คอื

82

3.1.1 การผสมแบบเลือดชิด คือ การผสมท่ีสุกรคู่ผสมเป็นพันธุ์เดียวกัน และมีความสัมพันธ์กัน
ทางสายเลือด เชน่ พอ่ ผสมลูก แม่ผสมลกู ฯลฯ

3.1.2 การผสมแบบเลอื ดห่าง หมายถึง การผสมสุกรที่เป็นพันธ์ุเดียวกัน แต่ไม่มีความสัมพันธ์กัน
ทางสายเลือด หรือความสัมพันธ์ทางสายเลือดน้อยมากเกิน 4 ชั่วอายุขึ้นไป เช่น สุกรพันธุ์แลนด์เรซจาก
อเมรกิ า ผสมกับสกุ รพันธุ์ แลนดเ์ รซจากแคนาดา

3.2 การผสมสุกรเพ่ือผลิตเป็นการคา้ หมายถงึ การผสมระหว่างสุกร ตงั้ แต่ 2 พันธข์ุ ้นึ ไป ลกู ที่ไดจ้ ะ
เป็นลูกผสมท่มี ลี กั ษณะดเี ด่นจากพ่อ และแม่ คือแข็งแรง โตเร็ว เลี้ยงงา่ ย เป็นตน้ การผสมขา้ มพันธ์ุทาได้หลาย
แบบ เช่น

3.2.1 การผสมขา้ ม 2 พนั ธุ์ หมายถงึ การผสมระหว่างสุกรพนั ธแุ์ ท้ 2 พันธุ์ ซง่ึ ลกู ที่ได้เรยี กวา่
ลูกผสม 2 สายเลือด จะมีลักษณะดเี ดน่ กว่าพ่อแม่ เช่น การผสมระหว่างสกุ รพันธุล์ ารจ์ ไวท์ กับสกุ รพันธุ์แลนด์
เรซ (ดงั แผนภาพ)

พอ่ พนั ธ์ลุ ารจ์ ไวท์ X แม่พันธ์ุแลนด์เรซ

ลกู ผสม 2 สายเลอื ด
อาจคดั ตวั เมียไว้เปน็ แม่พันธ์ุ 2 สายเลือดได้

3.2.2 การผสมขา้ ม 3 พันธุ์ หมายถึง การผสมระหว่างแม่สุกรลูกผสม 2 สายเลือด กับสุกรพันธ์ุ
แท้ พันธุ์ท่ี 3 ลูกทไี่ ดเ้ รยี กวา่ ลูกผสม 3 สายเลอื ดการผสมแบบน้ีเป็นที่นิยมใช้มาก เพ่ือผลิตเป็น ลูกสุกรที่จะ
นาไปขุนตอ่ ไป ดงั แผนภาพ

พอ่ พนั ธุล์ าร์จไวท์ X แม่พันธุแ์ ลนด์เรซ

ลูกผสม 2 สายเลือด X พ่อพันธุด์ ูร๊อคเจอรซ์ ี่

ลกู ผสมสามสายเลอื ด (นยิ มนาไปเลีย้ งเปน็ สกุ รขนุ )

3.2.3 การผสม เพื่อยกระดบั พนั ธ์ุ หมายถึง การผสมระหว่างแม่พันธ์พุ ้ืนเมือง กบั พ่อสกุ รพนั ธ์ุ
แท้ พันธุใ์ ดพนั ธ์หุ นึง่ เพื่อเพิ่มลักษณะท่ดี ีของพ่อสกุ รเข้าไปในฝูงสุกรพน้ื เมือง ดงั แผนภาพ

83

แมพ่ นั ธ์พุ ื้นเมอื ง X พอ่ พันธแุ์ ท้

ลูกชัว่ ท่ี 1 มเี ลือดพันธุ์แท้ 50% X พ่อพนั ธุ์แท้

ลกู ชว่ั ท่ี 2 มเี ลือดพันธุ์แท้ 75% X พอ่ พันธุ์แท้

ลกู ชั่วท่ี 3 มเี ลือดพันธแ์ุ ท้ 87.5%

ถ้าผสมแบบน้ีไปเร่ือย ๆ ใน 6 ช่ัว โดยพ่อพันธ์ุในแต่ละชั่วเป็นพันธ์ุเดียวกันจะได้ลูกสุกรท่ีมีคุณสมบัติ
เทา่ กับพันธแ์ุ ท้

แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน
วชิ า การผลติ สุกร รหสั วิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 7 เรอ่ื ง แผนการผสมพนั ธ์สุ ุกร

1. ข้อใดคอื การผสมพันธ์แุ บบเลือดชดิ มาก
ก. พผ่ี สมกับนอ้ ง ข. ตาผสมหลานสาว ค. ยายผสมหลานชาย ง. ผสมในพนั ธเุ์ ดยี วกัน

2. ขอ้ ใดคอื การผสมพันธุ์แบบยกระดบั สายเลอื ด

84

ก. พนั ธตุ์ า่ งประเทศผสมกัน ข. พันธพ์ุ ืน้ เมอื งผสมกัน

ค. พนั ธพุ์ ้ืนเมืองผสมพนั ธุต์ ่างประเทศ ง. การผสมสัตว์ต่างชนดิ กัน

3. การผสมขา้ มทีใ่ ช้สกุ ร 2 พนั ธ์ุ ลกู ผสมรนุ่ F2 จะมีสายเลอื ดของทั้ง 2 พนั ธ์ุ เปน็ เท่าใด

ก. 50 : 50 ข. 75 : 25 ค. 37.5 : 62.5 ง. 68.25 : 31.25

4. การผสมข้ามทใี่ ชส้ กุ ร 3 พันธุ์ ลกู ผสมรุ่น F2 จะมสี ายเลอื ดของทั้ง 2 พนั ธ์ุ เปน็ เทา่ ใด

ก. 25 : 25 : 50 ข. 50 : 37.5 : 12.5 ค. 37.5 : 37.5 : 25 ง. 12.5 : 12.5 : 75

5. สัตวไ์ มม่ คี วามสัมพนั ธ์ทางสายเลือดต่อกนั คดิ จากความสัมพันธน์ ้ันเกินกชี่ ว่ั อายุ

ก. 2 ชวั่ อายุ ข. 3 ชว่ั อายุ ค. 4 ชวั่ อายุ ง. 7 ช่วั อายุ

6. การผสมข้ามพันธท์ุ าให้ไดล้ ูกสตั ว์ท่มี ลี กั ษณะใด

ก. เปน็ แมพ่ ันธ์ุที่ดี ข. เปน็ พอ่ พันธุ์ที่ดี ค. เชือ่ ง ง. แข็งแรง โตเร็ว

7. ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของการผสมแบบเลือดชิด

ก. ให้ลูกพกิ าร ข. คดั ทง้ิ ลกั ษณะด้อยได้ง่ายขึ้น

ค. ลกู เจรญิ เติบโตดี ง. คัดลูกสุกรทาพันธุ์ได้ง่ายขึ้น

8. ลูกสุกร 3 สายเลอื ด หมายถึง

ก. ลูกสกุ รทีเ่ กดิ จากการผสม 3 พันธุ์ ข. ลูกสกุ รที่เกดิ จากการผสม 3 คร้งั

ค. ลกู สุกรทเี่ กดิ จากการผสม 3 ฟารม์ ง. ลกู สุกรทีเ่ กดิ จากการผสม 3 พอ่

9. Out Breeding หมายถงึ การผสมพันธ์ุแบบใด

ก. คู่ผสมต่างพนั ธกุ์ นั ข. คผู่ สมพนั ธ์ุเดยี วกนั

ค. คผู่ สมพนั ธเ์ุ ดยี วกัน เป็นญาติกัน ง. คูผ่ สมพนั ธเ์ุ ดยี วกนั ไม่ใชเ่ ครือญาติกัน

10. ขอ้ ใดไมใ่ ช่จุดมุ่งหมายของการผสมขา้ มพนั ธ์ุ

ก. ลกู ทไี่ ดม้ ีลักษณะดเี ดน่ เหนือค่าเฉลี่ยของพ่อแม่

ข. รวมลักษณะดเี ดน่ ของพ่อ-แม่เขา้ ดว้ ยกนั

ค. นาสุกรจากแหลง่ อื่นมาปรับปรุงพนั ธ์สุ กุ รในฟาร์ม

ง. ลกู มคี วามแข็งแรง เจริญเตบิ โตเรว็

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น

85

วชิ า การผลติ สุกร รหัสวิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 7 เรื่อง แผนการผสมพนั ธ์ุสุกร

1. ก
2. ค
3. ข
4. ก
5. ค
6. ง
7. ข
8. ก
9. ง
10. ค

86

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 7
ชอื่ วิชา การผลติ สุกร สอนครัง้ ท่ี 25-36
ช่อื หน่วย การจดั การสกุ รระยะต่างๆ ชั่วโมงรวม 24

ชือ่ เรื่อง การจัดการสุกรพ่อ-แม่พนั ธุ์ สอนครง้ั ที่ 25-27 จานวนชั่วโมง 6

สาระสาคัญ
ในการจัดการสุกรพ่อ-แม่พันธุ์จาเป็นต้องมีการจัดเตรียมสุกรพ่อแม่พันธุ์ให้มีจานวนเพียงพอ ต่อการ

ผลติ โดยท่วั ไปแล้วฟารม์ สุกรสว่ นใหญ่จะมีการจัดเตรียมพ่อ-แม่พันธุ์ข้ึนทดแทนประมาณปีละ 35 เปอร์เซ็นต์
พ่อสุกรหนุ่มควรฝึกการผสมพันธ์ุเมื่ออายุ 6-7 เดือน สุกรสาวเริ่มเป็นสัดเมื่ออายุ 5-6 เดือน แต่ควรผสมพันธ์ุ
เม่อื อายุ 7-8 เดือนหรือมีน้าหนักตัวประมาณ 120 - 130 กิโลกรัม เม่ือสุกรพันธ์ุ แก่ลงหรือให้ผลผลิตไม่ดีก็จะ
คัดทิง้ เพอื่ ไม่ใหส้ ิ้นเปลอื งคา่ เล้ยี งดู

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เพื่อให้มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การจดั การสุกรพ่อ-แมพ่ ันธุ์
2. เพือ่ ให้จัดการสุกรพ่อ-แม่พันธ์ไุ ด้
3. เพอื่ ให้ทางานร่วมกับผอู้ น่ื ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายการเตรียมพ่อ-แมพ่ ันธุ์เพ่ือผสมพนั ธไุ์ ด้
2. จดั การสุกรพ่อ แม่พนั ธุไ์ ด้ตามหลักการและกระบวนการ
3. ทางานร่วมกับผู้อ่นื ดว้ ยความรับผิดชอบ รอบคอบและระมัดระวัง

สาระการเรียนรู้
การเตรียมพ่อแมพ่ นั ธุ์
กาจัดพยาธิภายใน,พยาธิภายนอก,ฉีดวัคซีน,ตรวจเลือด,ตรวจระบบสืบพันธุ์ ควบคุมอาหารให้

เหมาะสม,การฝกึ พอ่ สุกรหนุ่มให้ผสมพันธ์,ุ การตรวจการเปน็ สัดของแมส่ กุ ร
การพจิ ารณาคดั ท้ิงพอ่ -แมพ่ ันธ์ุ
พ่อพนั ธุ์
- คุณภาพนา้ เช้ือไมด่ ี

87

- ไมส่ นใจการผสมพันธ์ุ ชอบกัด
- ขาเจบ็ ขาเสยี อายุมาก
- อวัยวะเพศไม่แข็งตวั
- มขี นาดใหญเ่ กนิ ไป

แมพ่ ันธุ์
- ผสมไมต่ ิด
- ขาอ่อน ขาเสยี
- ไมเ่ ปน็ สดั กัดลกู
- เป็นโรคหนองไหล เต้านมอักเสบ
- อายมุ าก ไม่มนี า้ นม คลอดยาก

กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ผู้สอนนาเขา้ สูบ่ ทเรยี นด้วยการนาเสนอรูปภาพการผสมพนั ธุ,์ การใหอ้ าหารสกุ รพ่อแมพ่ ันธุ์แลว้

แจกแบบทดสอบก่อนเรียนใหผ้ ูเ้ รยี นทา (15 นาที)
2. แบ่งผู้เรยี นออกเป็น 3 กลุม่ ๆละ4- 5 คนตามสมัครใจ,แจกใบความรู้ที่ 5.1 เรอ่ื ง การจดั การสุกร พอ่ -

แม่พนั ธุ์ให้ผู้เรียนศึกษา (45 นาท)ี
3. แจกใบงานท่ี 5.1 เร่ืองการฝึกพ่อสกุ รหน่มุ ให้ผสมพันธ์ุใหผ้ เู้ รียนศกึ ษา (30 นาที)
4. ผ้สู อนสาธิตการฝึกพ่อสุกรหนุ่มให้ผสมพันธ์ใุ หผ้ ูเ้ รียนศึกษาและสงั เกต (30 นาท)ี
5. กลุม่ ผเู้ รียนฝึกพ่อสุกรหนุ่มให้ผสมพันธจ์ุ นครบทั้ง 3 กลุม่ (120 นาท)ี
6. แจกใบงานท่ี 5.2 เรอื่ งการให้อาหารสุกรพ่อ-แม่พันธใุ์ หก้ ลมุ่ ผูเ้ รียนศึกษา และผสู้ อนอธิบาย ถึง

วิธีการให้อาหารสุกรพ่อ-แมพ่ ันธุ์โดยจะต้องผลัดเวรกนั มาให้อาหารสุกรทุกวันเป็นเวลา กลุ่มละ10
วนั (60 นาที)
7. ผ้สู อนและผูเ้ รยี นรว่ มกันสรปุ เน้ือหาและปัญหาในการฝกึ พอ่ สุกร (50 นาท)ี
8. แจกแบบทดสอบหลังเรียนให้ผูเ้ รียนทา (10 นาที)

รวม 360 นาที

สอ่ื การเรยี นการสอน
สอ่ื สงิ่ พิมพ์
1. ใบความรทู้ ่ี 5.1
2. ใบงานท่ี 5.1, 5.2
3. แบบประเมนิ กจิ กรรมกลมุ่
4. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น

88

5. แบบใหค้ ะแนนการปฎิบตั ิกิจกรรมกล่มุ ให้อาหารสุกร
ส่ือโสตทศั น์
1. เคร่ืองคอมพิวเตอร์
2. โปรเจคเตอร์ LCD.
สอ่ื ของจรงิ
1. พอ่ พันธุ์สกุ รหนมุ่ 4 ตวั
2. แมพ่ นั ธ์สุ กุ รประมาณ 4-5 ตวั
3. อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการผสมพันธ์ุ เช่น นา้ ยาฆา่ เชอื้ โรค ผ้าสะอาด กระสอบปุาน ฯลฯ
4. อาหารสกุ รพนั ธุ์
5. รถเขน็ อาหาร
6. กระบวยตกั อาหาร
7. แบบฟอร์มตารางการให้อาหารสกุ รประจาฟาร์ม

การประเมินผล
สง่ิ ทป่ี ระเมนิ
1. พฤติกรรมการเรียนรู้
2. ความรคู้ วามเข้าใจในเน้ือหา
3. คุณธรรม จริยธรรม
วธิ ีประเมิน
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝกึ พ่อสุกรให้ผสมพันธแุ์ ลว้ ใหค้ ะแนนลงในแบบประเมนิ กิจกรรมกลุ่ม (10
คะแนน)
2. สงั เกตพฤติกรรมการให้อาหารพอ่ -แมพ่ นั ธ์ขุ องแต่ละกลมุ่ เปน็ เวลากลุ่มละ 10 วันแลว้ ให้คะแนน
(30 คะแนน)
3. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน (10 คะแนน)
เคร่ืองมอื ประเมนิ
1. แบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่
2. แบบใหค้ ะแนนการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุม่ ใหอ้ าหารสุกร
3. แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน

89

บนั ทกึ หลังการสอน
หน่วยท่ี 7 เรอื่ ง การจดั การสุกรพ่อ-แม่พันธ์ุ

สอนครั้งที่ 25-27 จานวน 6 ช่ัวโมง
ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………
ผลการเรยี นของผ้เู รียน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

90

ผลการสอนของครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………

ลงช่ือ....................................ครูประจาวิชา

ใบความรทู้ ่ี 7.1 สอนครงั้ ที่ 25-27
เวลารวม 24 ชม.
รหัสวชิ า 2501-2202 ชื่อวิชา การเล้ียงสกุ ร เวลา 45 นาที
หนว่ ยที่ 7 ชื่อหนว่ ย การจดั การสุกรระยะตา่ ง ๆ
ชือ่ เรื่อง การจดั การสกุ รพอ่ -แม่พนั ธ์ุ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. เพ่อื ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการจดั การสุกรพ่อ-แม่พนั ธ์ุ
2. เพอ่ื ใหจ้ ดั การสกุ รพ่อ-แมพ่ ันธ์ุได้
3. เพอื่ ใหท้ างานรว่ มกับผู้อ่ืนดว้ ยความรอบคอบและระมดั ระวัง

91

เน้อื หาสาระ
1. การเตรียมสุกรพ่อพันธ์ุ

1.1 อายุสกุ รจะเร่ิมเปน็ หน่มุ อายุ 4-5 เดอื น จะเริ่มใชเ้ ม่ืออายุ 8 เดือนขน้ึ ไป ในปจั จบุ นั มีแนวโนม้ ที่
จะใชอ้ ายุมากข้ึน (9 เดือน)

1.2 กาจดั พยาธภิ ายนอก ภายใน
1.3 ฉดี วัคซีนปอู งกนั โรคทส่ี าคัญ เชน่ อหิวาตส์ ุกร ปากและเท้าเป่ือย
1.4 เจาะเลือดเพอื่ ตรวจโรค (Blood test) เชน่ โรคแทง้ ติดตอ่ เลปโตสไปโรซิส
1.5 ตรวจคณุ ภาพนา้ เชอ้ื เช่น สี ความเข้มข้น การเคล่อื นไหว ปรมิ าตร

2. การจดั การเลย้ี งดูสุกรพ่อพนั ธุ์
2.1 อัตราการผสมพนั ธ์ุ (Breeding load) อายุ 8-9 เดือน ใชผ้ สมพันธ์ุสัปดาหล์ ะ 2 ครั้ง, 9-12 เดือน

5-7 ครง้ั , 12-18 เดือน 7-8 ครัง้ ในปัจจบุ นั มีแนวโน้มที่จะให้จานวนคร้ังในการใช้ผสมลดลง (อายุ 9-12 เดือน
ใช้สปั ดาหล์ ะ 1 คร้งั , 12 เดือนข้ึนไป ใชส้ ปั ดาห์ละ 2-3 ครั้ง)

2.2 การฝกึ ผสมพันธ์ุ ต้องใช้สกุ รหน่มุ ที่เริ่มฝึกประทับใจ โดยใช้แม่ที่เป็นสัดเต็มที่ (Standing reflex)
ไมด่ ุ ไมห่ ย่งิ

2.3 อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ ฟาร์มที่มีสุกรจานวนมาก 1:20-25 ตัว หรืออาจถึง 30 ตัว แต่ใน
กรณีท่ีฟาร์มเล็ก ๆ จะใช้อตั รา 1:10-15 ตวั

2.4 พ่อสกุ รอายเุ กิน 2.5 ปี ควรปลดระวาง เพ่ือปูองกันการผสมเลอื ดชิด กรณีการผสมเลือดชิดในรุ่น
ลกู ทกุ 10% ของการผสมเลอื ดชิดท่ีเพิ่มข้ึน จานวนลูกต่อครอกจะลดลง 0.6 ตัว และจานวนลูกหย่านมลดลง
0.6 ตวั โอกาสท่ีลกู จะมีลักษณะไม่พึงประสงคท์ ่ีสามารถถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรมจะมมี ากขึน้

2.5 ถ้าอุณหภูมิสูง 35 องศาเซลเซียส นานเกิน 8 ชั่วโมง พ่อสุกรจะเป็นหมันชั่วคราวประมาณ 4-6
สัปดาห์ ซง่ึ จะทาให้อัตราการผสมตดิ ต่า หรือลูกไมด่ ก

2.6 หลงั การใหอ้ าหารถึง 2 ชัว่ โมง ไม่ควรนาพอ่ พันธไุ์ ปผสมพนั ธ์ุ เพราะอาจทาให้หัวใจวายตาย หรือ
อาเจยี น ไมอ่ ยากผสมพันธุ์ ผสมลงเร็วเกินไป

2.7 การใชพ้ ่อพันธุ์ ไม่ควรหยดุ ใช้พอ่ พนั ธ์ุนานเกิน 14 วัน
2.8 พ่อสกุ รควรไดร้ บั วติ ามนิ แร่ธาตุเพิ่มเป็นพเิ ศษ นอกเหนอื จากที่ผสมในอาหารปกติ เชน่ วติ ามนิ
A D3 E B12 Biotin แรธ่ าตุ ได้แก่ ซีลเี นยี ม แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั
ตวั อยา่ งการเสรมิ วิตามนิ แรธ่ าตุพ่อสกุ ร
- ให้แคลเซยี มคาร์บอเนต คร้ังละ 1 ชอ้ นแกง สปั ดาห์ละ 1 ครง้ั
- ให้ไดแคลเซียมฟอสเฟส 1 ช้อนแกง สปั ดาหเ์ ว้นสัปดาห์
- ให้วิตามนิ ผสม สัปดาหล์ ะ 2 ครัง้
สว่ นผสมของวิตามนิ

วติ ามิน เอ 500,000 ไอยู

92

วติ ามนิ ดี 100,000 ไอยู
วติ ามนิ อี 100 มลิ ลิกรัม
วิตามิน บี 12 80 ไมโครกรัม
3. การเตรยี มสกุ รแมพ่ ันธ์ุ
3.1 อายสุ กุ รสาวจะเรม่ิ เปน็ สดั เม่ืออายุ 5-6 เดือน บางตัวอาจเริ่มเมอ่ื 4 เดือน แต่จะรอจนอายุ 7-8
เดือน หรือน้าหนกั 110-120 กก. หรอื เปน็ สัดครง้ั ที่ 2, 3
3.2 สกุ รสาวท่มี ไี ขมันบางเกินไป จะทาให้การจัดการเลี้ยงดุยากข้ึน ดังน้ันอาจต้องให้สุกรสาวมีไขมัน
พอสมควร ซ่ึงไขมนั จะทาให้แม่สกุ รเลีย้ งลกู ไมผ่ อมจนเกินไป
3.3 กาจัดพยาธภิ ายนอก ภายใน
3.4 ฉีดวัคซีนปูองกันโรคท่ีสาคัญ เช่น อหิวาต์สุกร ปากและเท้าเป่ือย หรือบางท้องถ่ินอาจต้องฉีด
วคั ซนี โรคอ่นื ๆ ดว้ ย เชน่ พิษสนุ ัขบา้ เทียม เลปโตสไปโรซิส โพรงจมูกอกั เสบ
3.5 เจาะเลือดตรวจโรค (Blood test)
4. การจัดการเล้ียงดสู ุกรแม่พนั ธุ์กอ่ นการผสมพันธ์ุ
4.1 การเร่งอาหาร, การปรน (Flushing) ปกติใหอ้ าหาร 1.8-2.2 กก. ต่อตัวต่อวัน โดยจะเพิ่มอาหาร
ให้ 50-100% เสริมแร่ธาตุ วิตามนิ (A D3 E) ก่อนการผสม 10-14 วัน เพอ่ื ใหไ้ ขต่ กจานวนมากข้นึ
4.2 การกระตุ้นการเปน็ สดั (กรณีท่ีแม่หมูหย่านมเป็นสัดช้า) โดยใช้กลิ่นตัวผู้ การเคลื่อนย้าย การทา
ใหเ้ กดิ ความเครยี ด อดอาหารและนา้ 1 วนั การขงั รวมกัน
4.3 การกักขงั สกุ รอาจจะขังในซองเดยี่ ว หรือขงั รวมกันคอกละ 5 ตัว โดยคดั ขนาดใหใ้ กลเ้ คียงกนั
4.4 นาพ่อสกุ รมากระตุ้นวนั ละประมาณ 15-30 นาที ซึง่ การกระตุ้น การย้ายคอก แม่สุกรจะ เป็นสัด
ภายใน 4-7 วนั
4.5 กรณีตวั ท่ีเปน็ สดั ไม่พร้อมตวั อน่ื หลัง 18 วัน ให้ลดอาหารกระตุ้น, หลัง 30 วันให้ฉีด พีจี วันละ 5
มล. ติดตอ่ กัน 2 วัน หลัง 2 เดือนยงั ไมเ่ ปน็ สัดให้คดั ทงิ้

5. การจัดการเลีย้ งดแู ม่สุกรหลังผสม
5.1 อย่าให้แม่สุกรไดร้ บั การกระทบกระเทือน เชน่ การขงั รวม การไล่ตอ้ น
5.2 หลกี เลยี่ งการทาวคั ซนี ในชว่ ง 21 วันแรกของการอุ้มท้อง
5.3 พยายามควบคุมโรงเรือนไม่ให้อากาศรอ้ นเกินไป
5.4 หลงั ผสมพนั ธุใ์ หล้ ดอาหารในชว่ ง 10 วนั แรกของการอุ้มท้อง ถ้าได้รบั อาหารพลงั งานสงู มาก

เกนิ ไปอาจทาให้ตวั อ่อนตายได้ ซง่ึ ในชว่ งน้ีอาจใหอ้ าหารประมาณวันละ 1.6-1.8 กก. ต่อตวั ตอ่ วนั
5.5 หม่นั ตรวจดูการกลบั สัดในช่วง 18-24 วัน
5.6 อาจใช้เคร่อื งตรวจการอุ้มท้องในชว่ ง 30-35 วัน โดยใชเ้ คร่อื งอลุ ตรา้ โซนิค หรือล้วงตรวจทวาร

หนกั
6. การจดั การเลยี้ งดแู ม่สุกรหย่านม

93

6.1 เราจะหย่านมลกู สกุ รใน 21-28 วัน
6.2 กอ่ นหยา่ นม 2 วัน ใหล้ ดอาหารแมส่ ุกรลง
6.3 วันทห่ี ย่านมงดอาหาร 1 มอ้ื
6.4 หลังจากน้ันให้ดูความอ้วนผอมของแม่สุกร ถ้าผอมต้องให้อาหารอย่างเต็มที่ ถ้าสภาพร่างกาย
ปกติก็เพมิ่ อาหารบ้าง เพ่อื เป็นการใหเ้ ปน็ สัดเร็ว และเป็นการกระตุน้ การตกไขม่ ากขึน้ ด้วย

7. การจัดการแม่สกุ รที่แท้งลกู
กรณที แี่ ท้งเพราะติดเชื้อ ควรคัดท้งิ แต่ถา้ เปน็ การแท้งโดยสภาพสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ อากาศร้อนจัด

อาหารเปน็ พิษ กระทบกระเทือน ให้ปฏิบตั ิดงั น้ี
1. ฉดี ปฏิชวี นะติดตอ่ กัน 3 วัน
2. หลังแท้งลูกใหล้ ดอาหาร 4 วัน (วนั ละ 1.8 กก. ต่อตวั ต่อวนั ) ต่อจากน้ันใหเ้ พิ่มอาหาร กระต้นุ การ

เป็นสดั
3. เมือ่ เป็นสัดครัง้ แรกไม่ควรผสม เพราะสภาพมดลกู , ปกี มดลูก ยังไมพ่ ร้อมควรรอผสมเม่อื เป็นสัด

ครงั้ ตอ่ ไป
4. หลงั เปน็ สดั ครั้งแรกให้ลดอาหาร 15 วัน ตอ่ จากนัน้ จึงเพมิ่ อาหาร

8. การรกั ษาแม่สกุ รท่ีเปน็ หนอง
สกุ รสาวหรอื แม่สุกรท้องวา่ ง ก่อนการเป็นสดั หรือหลงั ผสม อาจมหี นอนเกิดขึ้น ซ่งึ ปกติจะผสมไม่ค่อย

ติด เม่ือสกุ รเปน็ หนอง ควรปฏิบตั ิดังน้ี
1. ลา้ งชอ่ งคลอดด้วยยาฆ่าเชือ้ ที่สามารถใชภ้ ายในได้ เช่น เดทตอล โดยลา้ งติดต่อกัน 3 วนั (ครงั้ ละ

1-2 ลิตร)
2. ฉดี ด้วยปฏชิ วี นะ ตดิ ตอ่ กัน 3 วัน

94

ใบงานท่ี 7.1

รหัสวชิ า 2501-2202 ช่อื วิชา การผลิตสกุ ร สอนครั้งท่ี 25-36
หนว่ ยที่ 7 ชื่อหน่วย การจัดการสกุ รระยะต่าง ๆ เวลารวม 24 ชม.
ชอ่ื งาน การฝึกพ่อสกุ รหนุ่มให้ผสมพนั ธุ์
เวลา 120 นาที

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. ฝกึ พ่อสุกรหน่มุ ใหผ้ สมพันธ์ไุ ด้
2. ทางานรว่ มกับผู้อนื่ ด้วยความรอบคอบและระมดั ระวัง

วัสดุอุปกรณ์
1. อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการผสมพันธค์ุ ือ น้ายาฆ่าเชื้อโรค (เดทตอล), ผ้าสะอาด, กระสอบปุาน
2. พอ่ สกุ รหนุ่ม 4 ตวั
3. แม่สุกรทีเ่ ป็นสัด 4-5 ตวั

ลาดบั ขัน้ การปฏิบัตงิ าน
1. แบง่ กลมุ่ ผเู้ รยี นออกเป็น 3 กลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน ตามสมัครใจ
2. เจือจางน้ายาฆ่าเช้ือโรคกับน้าสะอาด เตรยี มผา้ สะอาดและกระสอบปาุ น
3. ไลต่ ้อนแมส่ กุ รทเ่ี ปน็ สัดพร้อมผสมพนั ธ์ุเขา้ ในคอกผสมพันธุ์
4. ไลต่ อ้ นพ่อสกุ รหนมุ่ เขา้ ในคอกผสมพนั ธ์ทุ ีม่ ีแม่สกุ รพร้อมอย่แู ล้ว ปล่อยให้พอ่ -แม่สุกร

ทาความค้นุ เคยกัน
5. เม่ือแมส่ กุ รยนื น่ิงพร้อมผสมพนั ธแ์ุ ลว้ นากระสอบปาุ นรองใต้กีบขาหลังให้แม่สุกรเหยียบ

เพือ่ ปูองกันการลื่นลม้ เมื่อพ่อสกุ รขึ้นทบั
6. นาผ้าสะอาดชุบน้ายาฆา่ เชอ้ื โรค เช็ดทาความสะอาดอวยั วะเพศแม่สกุ ร
7. พยายามให้พ่อสุกรปนี ข้ึนทางด้านท้ายของแมส่ ุกร นักศึกษาต้องพยายามช่วยจับอวยั วะเพศผู้

เขา้ สู่ชอ่ งคลอดของแม่สุกร ด้วยความออ่ นโยน ระมัดระวัง
8. ปล่อยใหพ้ อ่ สุกรผสมกบั แม่สุกรจนส้นิ กระบวนการ พ่อสุกรจะลงจากหลงั แม่สุกรเอง
9. ไลต่ อ้ นพ่อสุกรกลบั เขา้ กรง สว่ นแม่สกุ รใหอ้ ยูใ่ นคอกผสมพันธุ์ เพื่อรอการผสมพนั ธค์ุ รั้งท่ี 2, 3

ตอ่ ไป

95

10. อกี 21 วันตอ่ มา ตรวจเช็ดการเปน็ สัดของแม่สุกร ถา้ ไม่เปน็ สดั แสดงวา่ ผสมติด
การประเมนิ ผล
1. แบบประเมินกจิ กรรมกลุ่ม

แบบประเมินกจิ กรรมกลุ่ม
เรอื่ ง การฝึกพ่อสกุ รหนุ่มให้ผสมพันธุ์

กลมุ่ ท่ี…………………………………..

ระดับคุณภาพ

รายการประเมิน ดมี าก ดี ควรปรับปรุง

1. การวางแผนการทางานภายในกลมุ่ (3) (2) (1)
2. การเตรียมอุปกรณ์การฝกึ
3. การดาเนนิ การฝึก
4. ผลการดาเนนิ การฝกึ
5. ทางานด้วยความรอบคอบและระมดั ระวัง

ลงชอ่ื ........................................
(………………………..)
ผ้ปู ระเมินใหค้ ะแนน

คาชี้แจง
ให้ผ้สู อนพิจารณาคุณภาพพฤตกิ รรมของผ้เู รียนแสดงออก แลว้ เขียนคะแนนลงในช่องระดับคณุ ภาพ
ระดับ 3 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ดีมาก
ระดับ 2 หมายถึง พฤติกรรมแสดงออก ดี
ระดับ 1 หมายถงึ พฤติกรรมแสดงออก ควรปรับปรงุ

96

ใบงานที่ 7.2 สอนคร้งั ที่ 25-36
เวลารวม 24 ชม.
รหัสวชิ า 2501-2304 ชอ่ื วิชา การเล้ียงสกุ ร เวลา 30 วนั
หนว่ ยที่ 7 ชื่อหน่วย การจดั การสุกรระยะตา่ ง ๆ
ชอื่ งาน การให้อาหารสุกรพ่อ-แมพ่ ันธ์ุ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. ให้อาหารสกุ รพ่อ-แม่พันธ์ุได้
2. ปฏิบัติงานดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ รอบคอบ และระมดั ระวงั

วสั ดอุ ุปกรณ์
1. อาหารสุกรพนั ธุ์
2. รถเข็นอาหาร
3. กระบวยตกั อาหาร
4. แบบฟอร์มตารางการให้อาหารสกุ รประจาฟารม์

ลาดบั ขน้ั การปฏบิ ัติงาน
1. ให้นักศึกษาใชก้ ลมุ่ เดิมจากการแบ่งกลมุ่ ตามใบงานท่ี 5.1
2. ศกึ ษาวธิ ีการให้อาหารสกุ รพอ่ -แมพ่ ันธ์ุ ตามใบความรูท้ ่ี 5.1

97

3. แตล่ ะกลุ่มแบง่ เวรการให้อาหารสุกรพ่อ-แม่พันธทุ์ กุ วัน เชา้ -เยน็ พร้อมทง้ั ตรวจเชด็ สขุ ภาพสุกร
และทาความสะอาดคอกเป็นเวลา กลมุ่ ละ 10 วัน

4. เม่อื ใหอ้ าหารเสรจ็ ในแตล่ ะวนั ใหล้ งบนั ทึกจานวนอาหารที่ให้ เบอรส์ ุกรในแบบฟอร์มตาราง
การให้อาหารสุกรประจาฟารม์

การประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมการให้อาหารพอ่ -แม่พนั ธ์ขุ องแตล่ ะคนในกล่มุ เป็นเวลา 10 วัน แลว้ ใหค้ ะแนน

ในแบบให้คะแนนการให้อาหารสกุ ร

แบบประเมินกจิ กรรมกลมุ่
เร่ือง การให้อาหารสกุ รพอ่ -แมพ่ นั ธุ์
วันท่.ี ...........................................................กลมุ่ ท่ี………………

รายการประเมนิ คะแนน คะแนนทไ่ี ดใ้ นแต่ละกลุ่ม
เตม็ 1 2 3 45
1. ขั้นเตรียมการ
1.1 สมาชกิ แบ่งเวรภายในกลมุ่ (5)
1.2 การเตรียมคอกและอปุ กรณ์
2
2. ขั้นดาเนนิ การ 3
2.1 ให้อาหารทกุ วัน
2.2 การดแู ลสุขภาพสุกร (15)
2.3 การทาความสะอาดรางอาหาร
2.4 การทาความสะอาดคอก 5
3
3
3
3

98

2.5 การเก็บและทาความสะอาดอปุ กรณ์ (5)

3. ผลการดาเนินงาน 3
3.1 การมีส่วนรว่ มในการปฏิบัติงานของสมาชิก
ภายในกลุ่ม 2
3.2 บันทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน
(5)
4. คะแนนคุณธรรม จรยิ ธรรม จติ พสิ ัย 1
4.1 การเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 1
4.2 การมีวนิ ยั ในตนเอง
4.3 ความรับผิดชอบ 1
4.4 ความขยนั อดทน 1
4.5 ความรอบคอบ, ระมดั ระวัง 1

รวม 30

ลงช่อื ........................................
(………………………..)
ผู้ประเมนิ ใหค้ ะแนน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ข้นั เตรยี มการ 5 = แบง่ เวรภายในกลมุ่ , เตรียมคอกและอุปกรณไ์ ด้ถกู ต้อง
ขั้นดาเนินการ 15 = ใหอ้ าหาร ดูแลสุขภาพสกุ ร ทาความสะอาดคอก รางอาหาร และเก็บทาความสะอาดอปุ กรณท์ ุกวนั
ผลการดาเนนิ งาน 5 = มบี ันทึกผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม สมาชกิ ทกุ คนได้ทากจิ กรรม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 5 = สมาชิกเขา้ กับกิจกรรมกลุม่ มีวินยั ในตนเอง รับผิดชอบ ขยนั อดทน รอบคอบ และระมัดระวงั

แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน
วชิ า การผลิตสกุ ร รหัสวิชา 2501-2304
หน่วยท่ี 7 เรื่อง การจัดการสกุ รพอ่ -แม่พันธุ์

1. เรมิ่ ฝึกผสมพันธ์พุ ่อสกุ รเมื่ออายกุ ่ีเดือน ง. 12
ก. 7 ข. 8 ค. 10 ง. 35
ง. 30
2. แต่ละปเี ราจดั เตรยี มพ่อ-แม่พันธ์ุขน้ึ ทดแทนฝงู เดิมก่เี ปอรเ์ ซ็นต์
ก. 20 ข. 25 ค. 30

3. หลงั จากยา้ ยเข้าสฝู่ ูงแมพ่ นั ธ์ุ สกุ รสาวควรเป็นสดั ภายในกว่ี ัน
ก. 21 ข. 24 ค. 28

99

4. พ่อสุกรลักษณะใดควรตัดทงิ้

ก. ชอบผสมพนั ธ์ุ ข. ผสมพันธไ์ุ ดร้ วดเร็ว

ค. ขนาดใหญ่ ง. คุณภาพน้าเชื้อ 80 เปอร์เซ็นต์

5. แมส่ กุ รลกั ษณะใดควรตดั ทิง้

ก. ให้ลกู เกิน 3 ครอก ข. ให้ลกู ดกเกินไป

ค. ใหล้ กู หย่านมเม่ืออายุ 28 วัน ง. อายุมากกว่า 8 เดือน ยังไมเ่ ป็นสัด

6. ขอ้ ใดกลา่ วผิด

ก. หลงั ผสมพันธค์ุ วรแยกแม่สุกรขังเดีย่ ว ข. หลกี เลี่ยงการย้ายแม่สกุ รอ้มุ ท้อง

ค. วคั ซนี ทุกชนิดฉดี ไดก้ ับแม่สุกรอมุ้ ท้อง ง. ตรวจสุขภาพแมส่ กุ รอมุ้ ท้องทุกวนั

7. แม่สุกรอุ้มท้องนานกวี่ ันโดยประมาณ

ก. 84 ข. 104 ค. 114 ง. 124

8. ช่วงอุ้มท้องระยะแรกให้นบั จากวันผสมจนถึงอุ้มท้องกีว่ ัน

ก. 64 ข. 84 ค. 94 ง. 104

9. เราย้ายแมส่ ุกรเขา้ คอกคลอดก่อนคลอดกวี่ ัน

ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 10

10. แม่สุกรจะคลอดชว่ งเวลาใดมากที่สดุ

ก. เชา้ ข. เทย่ี ง ค. บา่ ย ง. กลางคนื

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น
วชิ า การผลิตสกุ ร รหสั วิชา 2501-2304
หนว่ ยท่ี 7 เรอ่ื ง การจดั การสกุ รพอ่ -แม่พนั ธุ์


Click to View FlipBook Version