The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

01 วิทยาลัยชุมชน ปฐมบทแห่งการพัฒนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วชช.บุรีรัมย์, 2020-04-06 09:57:27

01 วิทยาลัยชุมชน ปฐมบทแห่งการพัฒนา

01 วิทยาลัยชุมชน ปฐมบทแห่งการพัฒนา

Keywords: วิทยาลัยชุมชน

วทิ ยาลยั ชุมชน : ปฐมบทแหงการพฒั นา

เรยี บเรียงโดย : สนุ นั ทา แสงทอง
บรรณาธิการ : ววิ ัฒน คติธรรมนติ ย

สาํ นกั บริหารงานวทิ ยาลัยชมุ ชน

ช่อื หนงั สอื วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา
ผูเรยี บเรียง สนุ นั ทา แสงทอง
บรรณาธิการ วิวฒั น คติธรรมนิตย
พิมพค ร้งั แรก กันยายน ๒๕๕๒
จาํ นวนพิมพ ๑๕,๐๐๐ เลม
จัดพมิ พโดย สาํ นักบริหารงานวิทยาลยั ชุมชน สํานกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา

ถนนราชดําเนนิ เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
โทรศพั ท ๐๒-๒๘๐-๐๐๙๑-๙๖ โทรสาร ๐๒-๒๘๐-๔๑๖๒

ออกแบบ/จัดรปู เลม และพิมพ

บริษัทวกิ ิ จํากัด
๓๒/๑๘๑ ซอยนวลจนั ทร ๑๒ ถนนนวลจันทร
แขวงคลองกมุ เขตบงึ กุม
กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๔๐
โทรศัพท ๐๒ ๙๔๖ ๒๓๐๑ โทรสาร ๐๒ ๙๔๖ ๒๓๐๔
EMAIL: [email protected], HOMEPAGE: HTTP://WIKI.CO.TH

ขอ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหง ชาติ

สนุ ันทา แสงทอง. วทิ ยาลยั ชุมชน : ปฐมบทแหง การพฒั นา. กรุงเทพฯ: สาํ นกั บรหิ ารงานวทิ ยาลยั ชมุ ชน, ๒๕๕๒.
๑๖๘ หนา.

๑. วิทยาลยั ชุมชน - ประวัตแิ ละพัฒนาการ I. วิวัฒน คติธรรมนิตย, บรรณาธกิ าร II. ชื่อเรอื่ ง
๓๗๘.๗๓
ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๒๐๒-๐๓๐-๘

2 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

คํานาํ

การเกิดข้ึนของวิทยาลัยชุมชนใน พ.ศ. ๒๕๔๔ นั้น เปรียบเสมือนดั่งเมื่อไขไดรับการบมฟกจนถึง
เวลาแลวยอมกระเทาะเปลือกไขอ อกมาเปน ตวั และเติบโตตอ ไป

เปนเวลากวาสามทศวรรษแลวที่มีกระแสเรียกรองตองการใหสังคมไทยมีสถาบันอุดมศึกษารูปแบบ
“วทิ ยาลัยชมุ ชน” อีกรูปแบบหนง่ึ เพ่ือสรางทางเลอื กในการศกึ ษาตอในระดบั อดุ มศึกษาสาํ หรบั ประชาชน แม
วาจะเคยมีความพยายามจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนมาแลวประปราย แตการกอเกิดของวิทยาลัยชุมชนดังที่เปนอยู
ในปจ จบนั นี้ อาจกลา วไดวาเกิดขนึ้ ในหวงเวลาสําคญั ทส่ี ดุ ยุคสมยั หนึง่ ของประวัติศาสตรการศึกษาไทย เนอื่ ง
เพราะเกิดตามกระแสการปฏิรูปการศึกษา ท่ีประชาชนตางเรียกรองตองการใหมีการพัฒนาการเรียนการ
สอนขนานใหญ โดยหนงึ่ ในขอ เรยี กรอ งเพอื่ การปฏริ ปู การศกึ ษาคือ ตอ งเปด โอกาสใหประชาชนมีสวนในการ
จัดการศึกษา เพือ่ สนองตอบความตอ งการทางดานการศึกษาและโอกาสในการพฒั นาตนเองทแี่ ตกตางหลาก
หลายกันไปในแตล ะพื้นที่

ชว งเวลา ๘ ปท่ีผา นมา (พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๕๒) วทิ ยาลยั ชุมชนเปนสถาบนั อดุ มศกึ ษารูปแบบใหมท่ี
มีหลักในการดําเนินงาน ๓ ประการคือ (๑) ใหโอกาสทางการศึกษาแกประชาชน (๒) จัดการศึกษาตาม
ความตองการของประชาชน และ (๓) บูรณาการการใชทรัพยากรท่ีมอี ยูในชุมชนใหเกิดประโยชนส งู สุด ซง่ึ
ชาววิทยาลัยชุมชนตาง “รวมคิด รวมพัฒนา” งานของวิทยาลัยชุมชนบนพ้ืนฐานหลักการเดียวกันนี้มาโดย
ตลอด จนกระทั่งพัฒนาเปนสถาบันอุดมศึกษาที่มีอัตลักษณชัดเจนในการทํางานวา มุงเปนสถาบัน
อุดมศกึ ษา “ของประชาชน โดยประชาชน และเพ่อื ประชาชน” ดังรายละเอียดท่ีไดรวบรวมและเรียบเรยี งไว
ในหนงั สอื เลมน้ี

หากจะเปรียบวิทยาลัยชุมชนเปนดั่งลูกเจี๊ยบท่ีออกจากไขแลวไซร แมไกคงมิใชอื่นไกล นอกจาก
หมายถงึ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม และประชาชนในพื้นที่ท่วี ทิ ยาลยั ชุมชนท้งั ๑๙ แหง ตง้ั อยู ทีม่ งุ ม่นั
ดําเนินการจนกระท่ังสามารถจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนขึ้นมาในพ้ืนท่ีจังหวัดของตนสําเร็จ จากนั้นไดทนุถนอม ให

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 3

การแนะนํา และใหโอกาสที่วิทยาลัยชุนชนจะเติบใหญและมีพัฒนาการที่เขมแข็งเปนลําดับ จนกระท่ัง
วิทยาลัยชุมชนหลายแหงไดเติบโตแข็งแรงข้ึน เปรียบเสมือนดั่งตนไมท่ีหย่ังรากระบัดใบ เปนรมโพธิรมไทร
ใหกับคนในพื้นที่ไดอาศัยศึกษาเรียนรูเพ่ือสรางโอกาสในการพัฒนาตนเองทั้งดานวิชาการ วิชาชีพ และ
คุณภาพชีวิต แตตองยอมรับวา ยังมีวิทยาลัยชุมชนบางแหงที่อยูในสถานะท่ีจะตองชวยกันเอาใจใส รดนํา
พรวนดนิ ใหป ยุ และดแู ลปอ งกนั โรคภยั ศตั รพู ชื อยา งสมาํ เสมอ ดว ยเชอ่ื มน่ั วา วทิ ยาลยั ทกุ แหง มศี กั ยภาพทจ่ี ะ
เตบิ โตแขง็ แรง สามารถใหบ รกิ ารทางการศกึ ษาแกป ระชาชนในพน้ื ทส่ี มดงั เจตนารมณใ นการกอ ตง้ั ทกุ ประการ

การเกิดขึ้นของวิทยาลัยชุมชนเมื่อ ๘ ปที่แลวเปนฝนที่เปนจริงของประชาคมการศึกษาไทย หลัง
จากท่ีมีความพยายามในการเรียกรองใหมี “วิทยาลัยชุมชน” เปนทางเลือกทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
มากวาสามทศวรรษ อยางไรก็ตาม การเดินทางของวิทยาลัยชุมชนในชวง ๘ ปท่ีผานมานั้น เปนเพียง
บทเร่มิ ตนในการพัฒนาเทาน้นั ยงั คงมีโอกาสและความทาทายอยูเบือ้ งหนา อกี มากมาย ควบคไู ปกับอปุ สรรค
ทั้งจากปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ท่ีชาววิทยาลัยชุมชนทุกคนจะตองรวมแรงรวมใจกันฟนฝาไปให่ได
เปนเสนทางซึ่งทุกฝายท่ีเก่ียวของไดรวมกันสานความคิดอันหลากหลายไปสูการปฏิบัติ และรวมกันปรับปรุง
ประยุกตใหเหมาะสมกับสถานการณและบริบทของพื้นที่อยูตลอดเวลา เปนภารกิจที่ทาทายการหาความ
สมดุลระหวา งอุดมคตกิ ับความเปนจริง

หนังสือเลมนี้พยายามประมวลขอมูล ขอเท็จจริง และทัศนะของผูที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน
วิทยาลัยชุมชนมานําเสนอ แตเน่ืองจากเสนทางที่มาสูวิทยาลัยชุมชนในปจจบันน้ันคอนขางซับซอน เต็มไป
ดวยรายละเอียดมากมาย จึงอาจทําไดเพียงการบอกเลาเรื่องราวบางสวนเทาน้ัน ยังมีเรื่องราวท่ีมีคุณคา
อีกมากมายท่ีไมส ามารถจดจารออกมาได ขอขอบคุณผูรว มกอต้ัง สืบสาน ถกทอ ฟมู ฟก และใหกาํ ลงั ใจแก
ผูปฏิบัติงานทุกระดับ ชาววิทยาลัยชุมชนทุกทานผูเปนเจาของเรื่องราว ท่ีไดกรุณารวบรวมเร่ืองราวเหลาน้ัน
มาเผยแพร หากมีขอบกพรอ งใดๆ คณะผจู ัดทาํ ใครขอนอ มรับคําชีแ้ นะเพ่อื ปรับปรงุ หนังสือเลมน้ีใหดยี ิง่ ขึ้น

ทายท่สี ุด หวังวาหนังสือเลมน้จี ะมีสวนท่ที ําใหผอู านไดรจู ักและเขาใจความเปนมาของวิทยาลัยชุมชน
และตระหนักถงึ ความสาํ คญั ในการดํารงอยูของวทิ ยาลยั ชุมชนในสังคมไทยมากข้นึ

สํานักบรหิ ารงานวิทยาลัยชุมชน
สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
4 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สารบญั

๖ ขอเพียงโอกาสทางการศึกษา
๘ “ตํานาน” วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทย
๑๒ …คอื เมลด็ พนั ธใุ หม …คอื ทางเลอื กอุดมศกึ ษาเพ่ือปวงชน
๑๕ ศาสตราจารยเกยี รติคุณ นายแพทยเ กษม วฒั นชัย ผูหวา นเพาะเมลด็ พันธุแหงความดี
๑๗ พิมพเ ขียว “วทิ ยาลยั ชุมชน” ของศาสตราจารย นายแพทยเ กษม วฒั นชัย
๑๙ หลกั การในการดําเนนิ งานของวทิ ยาลัยชุมชน
๒๑ กอ รา งสรา งฐาน : เสน ทางสูวทิ ยาลยั ชุมชน
๓๘ การสรา งความเขมแขง็ ของระบบบริหารจัดการ
๕๘ “แบง ปน พอเพยี ง” ความรว มมอื เร่อื งอาคารสถานที่ตงั้ ของวิทยาลยั ชุมชน
๖๒ ผนกึ กาํ ลงั สานเครือขา ย
๖๘ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน
๘๘ แนวทางการจดั การเรยี นการสอนของวิทยาลยั ชุมชน
๘๙ จํานวนนักศกึ ษาและผสู าํ เร็จการศึกษา
๙๐ คุณภาพผลผลติ ของหลักสูตรอนปุ ริญญา
๙๖ คุณภาพผลผลติ ของหลกั สูตรฝกอบรม
๙๙ สาระชวนรเู กีย่ วกับวทิ ยาลัยชมุ ชน
๑๐๓ ผลิดอก-ออกผล: ความสําเร็จและบทเรียน ๕ ประการของวทิ ยาลยั ชมุ ชน
๑๑๐ ดว ยจติ มงุ ม่นั ฝาฟนอุปสรรค
๑๑๕ ภาคผนวก: - ขอ มูลเก่ียวกับวทิ ยาลัยชมุ ชน ๑๙ แหง ,

- กฎกระทรวงและระเบียบท่เี กีย่ วของกับการดาํ เนนิ งานของวิทยาลยั ชมุ ชน

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 5

ขอเพียงโอกาสทางการศึกษา

ภาพน้ีถายเม่ือป ๒๕๔๒ ขณะนั้น ไมวาเด็กชาย
ทั้งสองและเพ่ือนรวมหองจะขยันและอยากเรียน
ตอสักเพียงใดก็แทบจะไมมีโอกาสศึกษาตอใน
ระดับที่สูงเกินกวามัธยมศึกษาตอนตน เพราะ
โรงเรียนของพวกเขาอยูในถ่ินทุรกันดาร ฐานะ
ครอบครัวไมดี…พอแมอยากใหพวกเขาออกจาก
โรงเรียนไปชว ยทาํ งานหาเลยี้ งชพี …ฯลฯ

6 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

ในทศวรรษท๒ี่ ๕๔๐รฐั บาลใหค วามสาํ คญั ประเทศ คือ กลุมประชากรวัยทํางานอายุ ๑๕-๕๙
อยางตอเนื่องในการขยายโอกาสทางการศึกษาทุก ป จาํ นวนถึง ๓๔.๙๐ ลานคน หรอื รอ ยละ ๕๓.๒๕
ระดับ โดยเฉพาะอยางย่ิงการขยายการศึกษาภาค จากประชากรจํานวน ๖๔ ลานคน มีอัตราการวาง
บงั คบั จาก ๖ ป เปน ๙ ป และขยายการศกึ ษาขน้ั งานรอยละ ๒.๒๐ เปนผูมีงานทําจํานวน ๓๓.๘๔
พื้นฐานเปน ๑๒ ป ทําใหคาดวาจะมีผูจบชั้นมัธยม ลานคน ในจํานวนนี้เปนผูไมมีการศึกษาและอยูใน
ศึกษาตอนปลายเพ่ิมข้ึนจาก ๕๕๐,๐๐๐ คน ในป ระดับประถมศึกษามากท่ีสุด ๒๑.๔๑ ลานคน
๒๕๔๓ เปน ๘๐๐,๐๐๐ คน ในป ๒๕๔๙ ทั้งยังมี ระดับมัธยม ศึกษาตอนตน ๔.๖๐ ลานคน และ
กลุมเปาหมายผูขาดโอกาสทางการศึกษาระดับ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓.๖๐ ลานคน เมื่อ
อุดม-ศึกษาที่สะสมมาอยางตอเนื่อง แตกลุมเหลาน้ี รวมระดับอุดมศึกษาทุกระดับและการศึกษาอื่นๆ
ไมสามารถเขาถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาได อีก ๔.๒๐ ลานคน จัดเปนกลุมคนขนาดใหญในทุก
เน่ืองจากความไมพรอมดานตางๆ เชน คาใชจาย ระดับการศึกษาที่พึงไดรับโอกาสในการพัฒนา
ระยะทาง เวลาเรยี น ความไมส ะดวกในการเดนิ ทาง ศักยภาพ
ความจําเปนในการประกอบอาชีพ เปนตน ซึ่งกลุม
เปา หมายทง้ั ๒ กลมุ ดังกลาวขางตน จะเปนตัวปอ น มาบดั นี้ป๒๕๕๒เดก็ ชายทง้ั สองอาจจะ
ของสถาบันอุดมศึกษา และในขณะน้ันมีทั้งสถาบัน กําลังศึกษาระดับอนุปริญญาที่วิทยาลัยชุมชนแหง
ของรัฐและเอกชน ท่ีสอนระดับตํากวาปริญญาและ หนึ่งทางภาคเหนือ ในหนวยจัดการเรียนท่ีอยูใกล
ระดับปริญญา ประมาณ ๔๙๐ แหงท่ัวประเทศซ่ึง บานของพวกเขา ดวยคาใชจายในการเรียนที่ตํา
ไมเพียงพอ ท้ังในดานการกระจายตัวของสถาบัน มาก มีหลักสูตรที่หลากหลายตรงกับความสนใจ
การขยายตัวของสถาบันและเง่ือนไขการเขาเรียน ของพวกเขา มีเวลาในการเรยี นทยี่ ดื หยนุ มอี าจารย
นอกจากกลุมเปาหมายที่จะเขาเรียนในระดับอุดม- ที่มากประสบการณและความรู และที่สําคัญที่สุด
ศึกษาแลวยังมีกลมุ เปาหมายท่เี ปนคนสวนใหญของ คือ เขามีโอกาสไดเรียนระดับอุดมศึกษา ซึ่งเปน
ความใฝฝน ของคนทง้ั หมบู านมาชานาน

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 7

“ตํานาน” วทิ ยาลยั ชมุ ชนในประเทศไทย

มีการเลาขานสืบกันมาในหนังสือ เอกสาร บทบาทตอการผลักดันแนวคิดน้ีในประเทศไทยหรือ
และงานวิจัยตางๆ รวมถึงเว็บไซตตางๆ เก่ียวกับ ไมอยางไร
“รากเหงา” กําเนิดแนวคิดการจัดต้งั วิทยาลัยชุมชน ทราบเพียงวา “ความหวังนี้” มีความสอด
ประเทศไทยวาสืบยอนไปถึงป ๒๕๑๓ ที่มีผูสัมมนา คลองกันกับขอเสนอที่บรรจอยูในแผนพัฒนาการ
จากประเทศไทยไดเสนอเอกสาร “ความหวังของ ศกึ ษาแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕-๒๕๑๙) ที่
วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทย (The Rising กาํ หนดนโยบายการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาใหส ง เสรมิ
Expectation of Community Colleges in การศกึ ษาและทดลองการจดั การศกึ ษาแบบวิทยาลัย
Thailand)” ตอท่ีประชุม The American ชุมชน เพื่อสนองความตองการกําลังคนระดับกลาง
Association of Junior College International ในแขนงวชิ าทป่ี ระเทศมีความตอ งการมาก
Assembly ทฮี่ อนโนลลู ู มลรัฐฮาวาย ประเทศสหรฐั แนวคิดท่ีจะใหมีวิทยาลัยชุมชนตอบสนอง
อเมริกา ระหวางวนั ที่ ๒๖ กมุ ภาพนั ธ - ๕ มนี าคม ตอ ปญ หา “ความเปน ธรรมในสงั คม” นน้ั คาดวา เกดิ
พ.ศ. ๒๕๑๓ โดยแสดงถึงความจําเปนในการจัดต้งั ข้นึ ในยุคหลังเหตุการณตุลาคม ๒๕๑๖ แลว โดย
วิทยาลัยชุมชนในประเทศไทย คือ “เพื่อสนองความ คณะกรรมการวางพ้ืนฐานเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา
ตองการอันย่ิงยวดของประเทศท่ีตองการพัฒนาให ซึ่งจัดต้ังขึ้นในป ๒๕๑๗ มี ดร.สิปปนนท เกตุทัต
กาํ ลงั คนมคี วามเชย่ี วชาญมากขน้ึ จงึ เปน การสมควร เลขาธิการสภาการศึกษาในขณะนั้นเปนประธาน
ท่ีประเทศไทยจะเริ่มต้ังวิทยาลัยชุมชน สนองความ ไดพิจารณาถึงปญหาในระบบการศึกษาที่จัดการ
ตอ งการรบี ดว นของประเทศ” ศกึ ษาเปน ไปเพอ่ื คนสว นนอ ยไมเ กดิ ความเปน ธรรมใน
ในการประชุมสมัชชานานาชาติคร้ังแรก สงั คม ซง่ึ ปญ หาดงั กลา วเปนอุปสรรคตอความเจริญ
ของสมาคมวิทยาลัยชุมชนอเมริกันนี้ มีประเทศที่ ของประเทศ ดังน้ัน คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให
เขารวมการประชุม ๑๘ ประเทศ นาเสียดายท่ีเรา เตรียมการปฏิรูปการศกึ ษา โดยคณะกรรมการวาง
ไมทราบวาผูแทนจากประเทศไทยคือใครและมี พน้ื ฐานการปฏริ ปู การศกึ ษาไดก าํ หนดเปา หมายใหเ ปน

8 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

“การศกึ ษาเพอ่ื ชวี ติ และสงั คม” ในดา น “อดุ มศกึ ษา” เขา ดว ยกนั เปน วทิ ยาลยั ชมุ ชน สําหรับแนวคิดในการ
ไดกําหนดแนวทางการปรับปรุงเปล่ียนแปลงระบบ ต้งั วิทยาลยั ชุมชน ไดเ สนอโดยมีหลกั การวา
และโครงสรา งอดุ มศกึ ษา โดยกลา วถงึ “วทิ ยาลยั ชมุ ชน”
ไว ๓ ขอ คือ “การจัดต้ังวิทยาลัยชุมชนซึ่งเปนสถาบันที่
เปด สอนระดบั ตาํ กวา ปรญิ ญาโดยการรวมกลมุ วทิ ยาลยั
• จดั ใหม ที บวงอดุ มศกึ ษา ซง่ึ เปน สว นหนง่ึ ประเภทตา งๆ ทม่ี อี ยแู ลว เชน วทิ ยาลยั ครู วทิ ยาลยั
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทําหนาท่ีรับผิดชอบกํากับ เทคนคิ วทิ ยาลยั เกษตรกรรม วทิ ยาลยั พลศกึ ษา และ
งานของมหาวทิ ยาลัย วทิ ยาลยั ชมุ ชน และวิทยาลัย วิทยาลยั พยาบาลท่ตี ง้ั ในจงั หวัดตา งๆ ของภาคเดยี ว
เอกชน กัน จดั ต้งั เปน วิทยาลยั ชุมชนประจําภาคขนึ้ โดยถอื
วาเปน สวนของสถาบนั อดุ มศึกษา ควรจะเร่มิ ดาํ เนนิ
• กําหนดความมุงหมายของอุดมศึกษา การไดในแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ ๔
ใหชัดเจน เพอ่ื ทาํ หนาท่ี ๔ ประการ คือ สอน วิจยั (พ.ศ. ๒๕๒๐- ๒๕๒๔)”
บริการทางวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุงศิลป
วฒั นธรรม โดยใหมหาวทิ ยาลัยทําหนา ที่ทัง้ ๔ ดาน ดังนั้น ในแผนดังกลาวจึงไดกําหนดไวเปน
สว นวทิ ยาลยั ชมุ ชนใหเ นน การสอนและการใหบ รกิ าร ขอหนึ่งในนโยบายพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา
วิชาการแกทองถ่ิน ท้ังน้ี ใหแตละสถาบันกําหนด คือ “วางพื้นฐานจัดต้ังวิทยาลัยชุมชนภาคตางๆ ให
ความมุงหมายใหชัดเจน เพื่อยึดเปนแนวทางปฏิบัติ เหมาะสมตามขน้ั ตอนทส่ี อดคลอ งกบั สภาพเศรษฐกจิ
ท่ีเสริมสรางซ่ึงกันและกันและชวยเสริมสรางโนมนํา และสงั คม”
สงั คมที่พงึ ประสงค
นเ้ี ปน ๑ ใน ๑๐ ขอ เสนอวา ดว ยการปฏริ ปู
• จดั ระบบอดุ มศกึ ษาโดยรวมกลมุ สถาบนั การศึกษาในป ๒๕๑๗ ท่วี า่ ระดับอดุ มศึกษาควรจะ
อุดมศึกษาเขาดวยกันเพื่อปฏิบัติหนาที่ไดสมบูรณ “กวา งขวาง หลายระบบยอ ย” แตด ว ยเหตกุ ารณผ นั ผวน
และไมซําซอนในสถาบันท่ีอยูใกลเคียงกัน โดย ทางการเมอื ง มกี ารเปลย่ี นแปลงรฐั บาลบอยครง้ั ทาํ
เฉพาะอยางย่งิ ในตางจังหวัดใหจัดรวมวิทยาลัยตางๆ ใหข อ เสนอเพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษาสว นใหญไ มไดรับ

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 9

การนาํ ไปปฏิบตั ิ รวมถงึ การจัดตงั้ วทิ ยาลัยชุมชน ที่ มีความจําเปนตองลดการผลิตครูและเพ่ือใหมีการ
กวาจะเกิดข้ึนอยางเปนระบบก็ลวงเกือบ ๒๐ ปให ใชทรัพยากรท่มี ีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด จึงจัดต้งั
หลัง วิทยาลัยชุมชนข้ึนในวิทยาลัยครู ๔ แหง คือ
วิทยาลัยชุมชนพิบูลสงคราม วิทยาลัยชุมชนอุบล
ราช-ธานี วทิ ยาลัยชุมชนนครราชสมี า และวิทยาลยั
วิทยาลยั ชุมชนยคุ แรก
ในป ๒๕๒๐ มกี ารจดั ตง้ั “วทิ ยาลยั ชุมชน ชุมชนนครศรีธรรมราช แตในระหวางท่เี ตรียมการ
ภูเก็ต” ขึ้น โดยใหเปนหนวยงานเทียบเทาคณะใน ดําเนินงานวิทยาลัยชุมชนน้นั มีการแกไขพระราช-
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เพื่อแกปญหาการ บัญญัติวิทยาลัยครูใหเปดสอนถึงระดับปริญญาตรี
ขาดแคลนท่ีเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ดงั นน้ั จึงไมม กี ารดาํ เนินการวทิ ยาลยั ชุมชนตอ
ปลาย ปญ หาการวา งงานของบณั ฑติ บางสาขา และ ปรากฏการณจัดต้ังวิทยาลัยชุมชนท่ีภูเก็ต
ไมมีสถาบันการศึกษาท่ีจัดการศึกษาวิชาชีพสอด และสุราษฎรธานี และความพยายามในการจัดต้ัง
คลองกับความตองการของชุมชน จึงไดเปดสอน วิทยาลัยชุมชนขึ้นในวิทยาลัยครูท้ัง ๔ แหงน้ัน
หลักสูตรระดับประกาศนยี บัตร (๒ ป) มี ๘ สาขา สะทอ นถงึ วา การดาํ เนินงานวิทยาลยั ชุมชนในระยะ
นอกเหนือจากท่ีภูเก็ตแลว มหาวิทยาลัยสงขลา แรกๆ ของประเทศไทยยังขาดทิศทางและแผนงาน
นครินทรยังไดจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานีเปน สนับสนุนที่ชัดเจน ทําใหไมประสบความสําเร็จมาก
วิทยาเขตหน่ึงของมหาวิทยาลัย โดยปรับหลักสูตร นัก
เปนอนปุ ริญญา ๓ ปต ามเกณฑทบวงมหาวิทยาลัย ขอสังเกตนี้่ยังอธิบายถึงสถานการณทาง
สําหรับความเปนไปของวิทยาลัยชุมชนทั้งสองแหง ความคดิ และนโยบายเกย่ี วกบั วทิ ยาลยั ชมุ ชนในทศวรรษ
นน้ั สดุ ทา ยมขี า วคบื หนา วา “พ.ศ. ๒๕๔๐ วทิ ยาลยั ท่ี ๒๕๓๐ ไดเ่ ชน กนั กลา วคอื ทง้ั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ
ชุมชนภูเก็ตงดรับนักศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญาทกุ สาขา และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘ และแผนพัฒนาการ
และปรบั บทบาทของสถาบนั ใหมใ หเ หมาะสม” ศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมระยะท่ี ๘ ของกระทรวง
ศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๙ แมจะกําหนดไว
ตอมาในป ๒๕๒๗ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ในมาตรการผลิตกําลังคนวา ใหสงเสริมและจัดต้ัง
และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕-๒๕๒๙) สถานศึกษาดานวิชาชีพใหกระจายไปสูภูมิภาคตางๆ

10 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

โดยเฉพาะในระดับอําเภอใหสอดคลองกับความ บทบาทและความสาํ คัญลง
ตองการของผูเรียน ชุมชนและการพัฒนาภูมิภาค อาจกลาวไดวา ความเปลี่ยนแปลงในการ
น้ันๆ อยางกวางขวาง โดยเนนการจัดการศึกษา
ตามแนวทางการจัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน ดําเนินงานวิทยาลัยชุมชนยุคแรกเกิดขึ้นโดยสัมพันธ
แตก็ขาดการนําไปวางแผนและปฏิบัติอยางเปน กบั ทศิ ทางของฝา ยการเมอื งทก่ี าํ กบั ดแู ลงานกระทรวง
รูปธรรม ขึ้นอยูกับวารัฐบาลหรือฝายกํากับดูแล ศกึ ษาธกิ าร เนอ่ื งจากยงั ไมม กี ฎหมายและวฒั นธรรม
นโยบายการศกึ ษาจะใหค วามสนใจมากนอ ยเพียงใด การดําเนินงานเปนเคร่ืองกํากับ ในการวางรากฐาน
งานของวิทยาลัยชุมชนในระยะตอไป ผูท่ีเก่ียวของ
ในป ๒๕๓๗ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให จึงเริ่มมีการคํานึงถึงปจจัยแวดล่อมดานกฎหมาย
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในสมยั ทน่ี ายสมั พนั ธ ทองสมคั ร ตลอดจนมาตรการสังคมและชุมชน ใหประชาชนมี
เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ จัดต้ัง สวนรวมในการดําเนินงานมากขึ้น เพ่ือสนองความ
วิทยาลัยชุมชนขึ้น โดยใหสถาบันการศึกษาเฉพาะ ตอ งการทางการศกึ ษาของประชาชนอยางแทจ ริง
ทาง ไดแ ก วทิ ยาลยั เกษตรกรรม วทิ ยาลยั พลศกึ ษา
วิทยาลัยนาฏศิลป และวิทยาลัยชางศิลป จํานวน
๗๗ แหงทั่วประเทศ เปนวิทยาลัยชุมชน โดยขยาย
ฐานวิชาการจากเดิมใหมีบทบาทจัดการศึกษาและ
บรกิ ารชมุ ชนใหก วา งขวางขน้ึ และใหม คี ณะกรรมการ
บริหารวิทยาลัยชุมชนข้นึ ในกระทรวงศึกษาธิการ
จากนน้ั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป ระกาศจดั ตง้ั วทิ ยาลยั
ชุมชนเมอ่ื วนั ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ใหมชี อื่
ตามที่วิทยาลัยเสนอมา ซ่ึงวิทยาลัยชุมชนเหลาน้ันมี
การดําเนินงานจนถึงป ๒๕๓๙ คณะรัฐมนตรีไดมี
มติยกเลิกวิทยาลัยชุมชนในวิทยาลัยเกษตรกรรม
ตามขอ เสนอของรฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คนใหม ทําใหวิทยาลัยชุมชนในวิทยาลัยอ่ืนๆ ลด

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 11

…คือเมลด็ พันธใุ หม
…คอื ทางเลือกอุดมศกึ ษาเพื่อปวงชน

วิทยาลัยชุมชนยุคใหมเปนผลผลิตจาก ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ที่
นโยบายรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภาเม่ือ ไมส ามารถศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษาไดด ว ยเหตคุ วาม
วันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๔๔ ดานการศึกษา ท่จี ะ ไมพรอมดานตางๆ จํานวนมากท่ีสะสมมาอยางตอ
ปฏิรูป การศึกษาตามเจตนารมณแหงรัฐธรรมนูญ เนือ่ ง โดยยดึ หลกั การ “การศึกษา สรางชาติ สรา ง
และพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ คน และสรา งงาน”
เพื่อพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงความรู อัน นบั จากน้ันมา กลา วไดว า “เมล็ดพนั ธุของ
เปนเง่ือนไขไปสูระบบเศรษฐกิจฐานความรู ใหคน สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือปวงชน” ไดถูกหวานไวใน
ไทยทั้งปวงไดรับโอกาสเทาเทียมกันที่จะเรียนรูและ โครงสรางระบบการศึกษาของไทยแลว กระทรวง
ฝกอบรมไดตลอดชีวิต มีปญญาเปนทุนไวสรางงาน ศึกษาธิการไดจัดต้ังและดําเนินงานวิทยาลัยชุมชน
สรางรายได และนําประเทศใหรอดพนจากวิกฤติ ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๕ เปน ตนมา โดยในระยะเร่มิ ตน
เศรษฐกิจและสงั คม โดยยดึ หลกั การ “ศึกษา สราง ใหส าํ นกั งานโครงการวทิ ยาลยั ชมุ ชนเปน สว นราชการ
ชาติ สรางคน และสรา งงาน” ภายในของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
โดยนโยบายขอ ๔ แถลงไววา “จัดใหมี จนกระทั่งเมื่อมีกฎหมายรองรับการดําเนินงานคือ
วิทยาลัยชุมชนโดยเฉพาะในจังหวัดท่ียังขาดแคลน กฎกระทรวง วา ดว ยการจดั การศึกษาระดบั อุดมศึกษา
สถาบันอุดมศึกษา” ทั้งนี้เพื่อรองรับผูที่สําเร็จการ ตาํ กวา ปรญิ ญา รปู แบบวทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๔๖

12 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

จึงยายไปอยูในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ บริการแตกตางกัน แตทุกกลุมยังมีพันธกิจทั้งส่ีของ
อดุ มศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามการจดั โครงสรา ง อุดมศกึ ษา คอื สอน วจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ และทาํ นุ
ใหมของระบบการศึกษาไทยตาม พ.ร.บ.ระเบียบ บํารุงศิลปะวัฒนธรรม ตามบริบทและเปาหมาย
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ สอดคลอ งกบั พนั ธกิจ
โดยมีนางสาวสุนันทา แสงทอง ดํารงตําแหนง
ผอู าํ นวยการสํานกั บรหิ ารงานวทิ ยาลยั ชุมชน สําหรับพันธกิจและบทบาทของวิทยาลัย
ชมุ ชน ใหมงุ สรา งความเขม แขง็ ชมุ ชน การพฒั นาท่ี
นบั จากนน้ั เสน ทางการพฒั นาวทิ ยาลยั ชมุ ชน ยง่ั ยนื ดแู ลแรงงานทอ่ี อกจากภาคเกษตร การเรยี นรู
ในฐานะทเ่ี ปน ทางเลอื กทางการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ตลอดชีวิต การพัฒนาและเติมเต็มศักยภาพบุคคล
เพื่อปวงชนจึงมีเปาหมายและทิศทางที่ชัดเจนย่ิง พรอมทั้งกําหนดคุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษา
ข้ึน จนกระท่ังไดรับการจัดใหเปนหนึ่งกลุมสถาบัน ใหเปนกําลังคนภาคผลิตจริงในทองถ่ินและกําลังคน
อุดมศึกษา โดยใน พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะรัฐมนตรีได ความรู
เห็นชอบกรอบแผนอดุ มศึกษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบับ
ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕) กําหนดแนวทางพัฒนา หนงั สอื เลม นจ้ี ะนาํ ทา นผอู า นยอ นไปสาํ รวจ
อุดมศึกษา เปนสถาบันอุดมศึกษา ๔ กลมุ คือ เสนทางพัฒนาการของวิทยาลัยชุมชนยุคใหม นับ
จากจดเริ่มตนเมื่อป ๒๕๔๔ จนกระท่ังเร่ิมมี
• กลมุ วทิ ยาลยั ชมุ ชน รากฐานท่ีม่ันคงในระบบอุดมศึกษาของไทย ในป
• กลมุ มหาวทิ ยาลยั สป่ี  และมหาวทิ ยาลยั ๒๕๕๒ มีวิทยาลัยชุมชนเกิดขึ้นใน ๑๙ จังหวัด ทุก
ภูมิภาคของประเทศ นบั เปน ปฐมบทแหง การจดั การ
ศลิ ปศาสตร ศึกษาท่ีมุงม่ันจะใหโอกาสทางการศึกษาในระดับ
• กลุมมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและ อดุ มศกึ ษาแกป ระชาชนทกุ กลมุ ดว ยการเปด โอกาสให
ประชาชนเขา มามสี ว นรว มในการจดั การศกึ ษาใหม าก
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง ทส่ี ดุ
• กลมุ มหาวทิ ยาลยั วจิ ยั และมหาวทิ ยาลยั

บัณฑติ ศึกษา
อยางไรก็ตามแมวาสถาบันการศึกษาท้ังสี่
กลุมมีจดเนนของพันธกิจท่ีแตกตางกัน มีพื้นท่ี

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 13

“วิทยาลัยชุมชนแมเปนภาคสว นใหม
ของระบบการศึกษาไทย แตเปนภาคสว น

ที่จําเปนมาก เปรียบเสมอื นสะพาน
ที่เชอ่ื มระหวา งระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

กับระดับอดุ มศึกษา”

14 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

ศาสตราจารยเกียรติคณุ นายแพทยเ กษม วฒั นชยั

ผูหวา นเพาะเมลด็ พนั ธแุ หง ความดี

ทา มกลางวิกฤติเศรษฐกิจ สังคม แมว า ศาสตราจารยเกยี รตคิ ณุ นายแพทยเกษม

และการศึกษาหลังยุคฟองสบูใน วฒั นชยั จะดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวง

ป ๒๕๔๐ ศาสตราจารยเ กยี รติคณุ นายแพทยเ กษม ศึกษาธิการไมนานนัก แตภายในระยะเวลาอันสั้น

วฒั นชยั หนง่ึ ในนกั บรหิ ารการศกึ ษาทม่ี ปี ระสบการณ ทานไดวางฐานรากในการจัดต้ังและบริหารงาน

ทํางานและบริหารองคกรระดับชาติ ไดนําราง วิทยาลัยชุมชนเปนอยางดี และยงั ใหก ารอนเุ คราะห

นโยบายโครงการจัดต้ังวิทยาลัยชุมชนในประเทศ สนับสนุนงานของวิทยาลัยชุมชนอยางสมําเสมอ

ไทย เสนอตอฝายการเมือง ซึ่งก็ไดรับความสนใจ ตราบกระทัง่ ปจจบนั

นํามาเปนนโยบายท่ีใชรณรงคในการเลือกต้ังชวง ในสายตาและการรบั รขู องชาววทิ ยาลยั ชมุ ชน

ปลายป ๒๕๔๓ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย

“วิทยาลัยชุมชน” จึงเปนหนึ่งในนโยบาย จึงเปนเสมือนผูเพาะเมล็ดพันธุวิทยาลัยชุมชน โดย

การศึกษาของรัฐบาลในป ๒๕๔๔ วาจะ “จัดใหมี วางแนวทางการทาํ งานและขอ แนะนาํ ทเ่ี ปน ประโยชน

วิทยาลัยชุมชนโดยเฉพาะในจังหวัดท่ียังขาดแคลน ตอการดําเนินงานของวิทยาลัยชุมชนอยางย่ิง ซ่ึง

สถาบันอุดมศึกษา” นับจากน้ันวิทยาลัยชุมยุคใหม สะทอนใหเห็นจากการบรรยายและโอวาทท่ที านได

จงึ เรม่ิ ตน ขน้ึ โดยมศี าสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ นายแพทย ใหแกชาววิทยาลัยชุมชนในโอกาสตางๆ ดังขอคัด

เกษม วฒั นชยั รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สรรมาใหศึกษา (โปรดศึกษาเพิ่มเติมใน คมทัศน :

เปนผูวางรากฐานจนถงึ ปจจบนั ทางววิ ฒั นว ทิ ยาลยั ชมุ ชน เลม ๑) มคี วามตอนหนง่ึ วา

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 15

“วิทยาลัยชุมชนนี้ต้ังขึ้นมาบนพื้นฐานที่เชื่อวามนุษย ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ นายแพทยเ กษม
ทุกคนมีศักดิ์ศรีและสามารถพัฒนาไดถึงจดสูงสุดถา วัฒนชัย มักเนนยําวา วิทยาลัยชุมชนจะตองสราง
ใหโอกาสเขาเรียนหนังสือ วิทยาลัยชุมชนมีความ โอกาสทางการศึกษาใหกับประชาชนทุกระดับช้ันใหได
เชื่อวา มนุษยทุกคนมีศักดิ์ศรีและมีความสามารถท่ี และถือเปนเจตนารมณสําคัญท่ีสุดท่ีชาววิทยาลัย
จะพัฒนาตวั เองไดตลอดเวลาถาใหโอกาสเขา ชมุ ชนยึดถือและปฏิบัติสบื มา ดังความตอนหนง่ึ วา

ปญ หาของระบบการศกึ ษาทว่ั โลกคอื โอกาส “…วทิ ยาลยั ชมุ ชนจะไปจดั สถานทเี่ รยี นให
ทางการศึกษาไปไมท่ัวถึง ไปเฉพาะอําเภอใหญ ใกลกับคนเรียนท่ีสุด คนเรียนอยูอําเภอไหนก็ไปจัด
จังหวัดใหญ เมืองใหญ และเมืองหลวงเทานั้น ไป ท่ีอําเภอนั้น น่ีคือเจตนารมณของวิทยาลัยชุมชน ท่ี
เฉพาะประเทศท่ีเจริญแลว ประเทศที่ยากจนโอกาส ตองการใหชุมชน ประชาชนทุกระดับชั้นไดเรียน
ทางการศึกษาไปไมถึง นี้คือปญหาใหญ ซ่ึงหลาย หนังสือ ถาอยากเรียนแลวตองไดเรียน ทําใหเรียน
ประเทศเขาพบปญหานี้มากอนเรา เพราะฉะนั้นเขา ใหจ บ และตองไดเ รยี นอยางมคี ุณภาพดวย…”
จึงไดออกแบบวิทยาลัยชุมชนเพื่อเปนจดที่จะให
โอกาสกับคนตัวเล็กตัวนอย ไมมีอิทธิพลอะไร ไมมี มิถนุ ายน ๒๕๔๙
ความรํารวยอะไร เพราะถามีอิทธิพลมีความรํารวย
ก็จะไปเรียนที่เมืองใหญๆ เรียบรอยแลว แตน่ีคือ
การใหโอกาส ถามีโอกาส เขาเรียนอะไรก็ไดครับ
ครั้งหนง่ึ ในชีวิตวทิ ยาลยั ชุมชนมาใหโอกาส…”

เมษายน ๒๕๕๒

16 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

พมิ พเ ขยี ว “วทิ ยาลัยชมุ ชน” ของ
ศาสตราจารยเกยี รติคณุ นายแพทยเกษม วัฒนชัย

ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ นายแพทยเ กษม กรอบแนวคดิ ในการดาํ เนนิ งานตามภารกจิ
วัฒนชัย รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการในป หลกั ของวิทยาลัยชมุ ชน มีดงั นี้
๒๕๔๔ เปน ผวู างกรอบการเตรยี มงานจดั ตง้ั วทิ ยาลยั ๑. ใหการศึกษาคุณภาพในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป
ชมุ ชนในประเทศไทย ไดเ ขยี น “แนวคดิ เรอ่ื งวทิ ยาลยั
ชุมชน” เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๔ เพื่อเปน เพอ่ื เปน พน้ื ฐานวชิ าการสาํ หรบั หลกั สตู รระดบั
แนวทางการดําเนินงานมาจนถงึ ปจจบัน ดงั น้ี อนุปริญญา และเพ่ือถายโอนไปศึกษาตอใน
ระดับปรญิ ญา
วทิ ยาลยั ชมุ ชน(วชช.) เปน สถาบนั ๒. ใหการศึกษาและฝกอบรมสาขาอาชีพในระดับ
อุดมศึกษาระดับอนุปริญญา (๒ ป) จัดการศึกษา อดุ มศึกษา
และการฝกอบรมในหลักสูตรและสาขาวิชาท่ีสอด ๓. ใหการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้นเพ่ือเพ่ิมทักษะ
คลองกับการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจของชุมชน อาชพี ทกั ษะงาน และทกั ษะชวี ติ แกบ คุ คลทว่ั ไป
เปนสําคัญ เนนความหลากหลายท้ังประเภทวิชา
และวิธีการจัดการศึกษาและฝกอบรม เพื่อเปด นโยบายหลักของวิทยาลัยชุมชน
โอกาสอยางกวางขวางแกผูเรียนทุกเพศทุกวัย เพ่ือ ๑. เปดกวางและเขาถึงงาย เพื่อใหคนในชุมชนได
เปนหลักประกันสําหรับอนาคตของทุกคนท่ีจะได
วิชาความรูและทักษะไปประกอบอาชีพ และศึกษา เรยี นรูและฝก ทกั ษะอยา งกวา งขวาง
ตอในระดับปริญญาตรตี อ ไป ๒. มหี ลกั สตู รทห่ี ลากหลายประเภทใหเ ลอื ก
๓. ตอบสนองตอชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจและ

สงั คม

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 17

พมิ พเขียว… (ตอ )

๔. เนน คุณภาพและการใชประโยชน คณาจารยผ สู อน
๕. สรางพันธมิตรกับธุรกิจเอกชน องคกรของรัฐและ
๑. คณาจารยประจําสถานศึกษาตางๆ ทั้งในสถาบัน
องคกรเอกชน หรอื ตา งสถาบัน

หลกั สูตร ๒. คณาจารยพิเศษจากธุรกิจเอกชน องคกรของรัฐ
องคกรเอกชน
๑. ประเภทของสาขาวชิ าในหลักสตู รตา งๆ ขนึ้ กับ
ความตอ งการของชุมชน เชน ผูเ รยี น
ก. สงั คม และเศรษฐกิจเกษตร : เนน หลกั สตู ร
การเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ๑. ผจู บการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ข. สงั คมและเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม:เนน หลกั สตู ร หรอื เทียบเทา
ชา งฝม ือ การผลติ การแปรรูป
ค. สงั คมและเศรษฐกจิ ภาคบรหิ าร: เนน หลกั สตู ร ๒. นกั ศกึ ษารับโอนจากสถาบันอ่ืน
การบรหิ ารจดั การวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ ๓. ผูปฏิบตั งิ านและผปู ระกอบการ
การทองเทีย่ ว ๔. ผวู างงานหรือผูเกษยี ณงานแลว
ง. สงั คมและเศรษฐกจิ สารสนเทศ: เนน หลกั สตู ร ๕. ประชาชนทัว่ ไป
คอมพิวเตอรและสารสนเทศ
แหลงเงนิ งบประมาณของวทิ ยาลยั ชุมชน
๒. ชนดิ ของหลกั สตู ร
ก. หลกั สตู รระดบั อนปุ รญิ ญาสาขาวชิ าตา งๆ ๑. เงินอดุ หนนุ จากรฐั บาลและจากองคก รปกครอง
ข. หลกั สตู รอบรมระยะสน้ั ระดบั ประกาศนยี บตั ร สว นทองถ่ิน

๓. ความยืดหยุนในการบรหิ ารหลกั สตู ร ๒. เงนิ คาธรรมเนยี มการศกึ ษา
ก. เรยี นในสถาบนั หรอื เรยี นขา มสถาบนั ในบาง ๓. เงินบริจาค
วชิ า-บางภาคเรยี น ๔. เงินรายไดอนื่
ข. เรยี นทางไกล
ค. ภาคปกติ หรือภาคคาํ ยุทธศาสตรของวทิ ยาลยั ชุมชน
ง. ภาคพเิ ศษในวันหยุด
๑. ตองปรบั ตัวอยเู สมอ เพือ่ ตอบสนองตอการพัฒนา
สังคมและเศรษฐกจิ ของชุมชนไดต ลอดเวลา

๒. คน หาโอกาสใหมๆ เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตรใหทันสมัย
อยเู สมอ

๓. เชื่อมโยงกบั พันธมิตรทง้ั ในและนอกชุมชน

18 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

หลกั การ

ในการดําเนนิ งานของวิทยาลัยชมุ ชน

หลกั การใหโอกาสทางการศกึ ษาแกป ระชาชน ใหประชาชน
การดําเนินงานวิทยาลัยชุมชนเนนการจัดทางเลือกการ มีสว นรวมการจดั การศึกษา
ศึกษาใหมเพื่อเติมเต็มโอกาสทางการศึกษาของประชาชน มุงออกแบบการบริหารจัดการให
ที่ขาดแคลนหายไป หรือยังเขาไมถึง โดยวิธีการท่ีหลาก ประชาชนมีสวนรวมในการจัดการ
หลาย เพื่อเสริมสรางศักยภาพของบุคคลใหนําความรู ศึกษา ตั้งแตการกอต้ังวิทยาลัย
ความสามารถไปสรางความเขมแข็งใหชุมชนและแนวทาง ชุมชน การกําหนดนโยบายทิศทาง
การพัฒนาท่ียั่งยืน โดยเนนกลุมเปาหมายหลักคือผูที่ การจัดการศึกษา การรวมบริหาร
พลาดโอกาสทางการศึกษา ไดแก กลุมแรก คือ ผูที่ และการกํากับติดตามประเมินผล
ทาํ งานอยูแลวตองการพฒั นาอาชีพ กลมุ ทส่ี อง คือ ผูที่ไม เพื่อการพัฒนาไปสูเปาหมายสุด
มีงานทํา และกลุมท่ีสาม คือ ผูท่ีตองการเรียนเพ่ือการ ทาย คือ ประชาชนทุกภาคสวนมี
ศกึ ษาในระดับทีส่ งู ข้นึ สวนรวมกันเปนเจาของวิทยาลัย
ชมุ ชน โดยรฐั จะเปนฝายสนับสนุน

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 19

ใหโอกาสทางการศกึ ษา + มีสวนรว ม +
ใชท รัพยากรทม่ี อี ยูในชมุ ชน

บูรณาการการใชทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนใหเกิดประโยชน
สูงสดุ
ใชทรพั ยากรท่ีมีอยขู องรฐั เอกชน และชุมชนใหเ กิดประโยชน
สูงสุด โดยทุกภาคสวนในชุมชนจะระดมสรรพกําลังที่มีใน
ชุมชน และนอกชุมชน เพ่ือการนํามาสูการพัฒนาวิทยาลัย
ชุมชน ใหเปนสถาบันการศึกษาท่ีตอบสนองตอความตองการ
ของชุมชนอยางแทจรงิ

นา ภมู ิใจวา
ชาววทิ ยาลัยชุมชนยงั คงยึดมั่น
ปฏบิ ัติตามหลกั ท้ัง ๓ ประการน้ี
อยา งตอ เนื่อง ทาํ ใหภ าพลักษณของ
วิทยาลัยชุมชนในสายตาของประชาชน
ทีเ่ ปน กลมุ เปา หมาย เปนสถาบันการศกึ ษา
ท่มี คี วามม่ันคงในการตอบสนอง
ความตองการของประชาชน

อยา งแทจริง

20 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

กอ รา งสรา งฐาน :
เสน ทางสูว ิทยาลัยชุมชน

การวางรากฐานของการจดั ตง้ั วทิ ยาลยั ชมุ ชนไดม กี ารพฒั นามาบนเสน ทางทย่ี าวไกล
ถงึ ๘ ป โดยแบง เปน ๓ ชว งเวลา คือ (๑) สาํ นกั งานโครงการ เพอ่ื เตรยี มการ
จัดทําขอเสนอวิทยาลัยชุมชนตอคณะรัฐมนตรี (๒) สํานักงานสงเสริมวิทยาลัยชุมชน
ดําเนินงานภายใตสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ (๓) สํานักบริหารงาน
วิทยาลัยชุมชน ดําเนินงานภายใตสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมีราย
ละเอียดดงั น้ี

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 21

ชวงเตรยี มการ - “สาํ นกั งานโครงการ”

บมเพาะความเขา ใจ และแนวทางการดําเนนิ งาน

เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๔ นอกจากน้ีไดมีการประชุมช้ีแจงสรางความเขาใจแก

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย ผปู ฏิบัติทกุ ระดบั และแกประชาชนท้ังประเทศ โดย

รฐั มนตรวี า การ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดจ ดั ทาํ “แนว ผานส่ือโทรทัศน วิทยุ ส่ือสิ่งพิมพ จลสาร แผนพับ

คดิ และหลกั การ วิทยาลัยชุมชน” ซ่ึงเปรียบเสมือน เปนตน โดยมีความถ่ี เดือนละ ๓-๔ คร้ัง พรอม

พิมพเขียวในการดําเนินงานของวิทยาลัยชุมชนมา จัดการประกวดคําขวัญและตราสัญลักษณวิทยาลัย

จนถึงปจจบัน (โปรดดู “พิมพเขียววิทยาลัย ชุมชน เชิญชวนผูสนใจจากท่ัวประเทศสมัครสง

ชมุ ชน…” หนา ๑๗-๑๘) ประกวด โดยมกี รรมการผเู ชย่ี วชาญจากมหาวทิ ยาลยั

จากนน้ั รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และวิทยาลัยเพาะชาง มาเปนกรรมการตัดสิน ซ่ึง

ไดแจงเจตนารมณที่จะจัดตั้งและดําเนินการตาม ไดคําขวัญวา “วิทยาลัยชุมชน พัฒนาคน พัฒนา

นโยบายวิทยาลัยชุมชนแกผูบริหารระดับสูง ระดับ ทองถ่ิน” และตราสัญลักษณเปนรูปทรงสถาปตย-

อธิบดีของกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานท่ี กรรมไทยและลวดลายไทยประสานกัน ซึ่งเปน

เกี่ยวของ เชน สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน เปนตน เอกลกั ษณข องชมุ ชนไทย (รายละเอยี ดในภาคผนวก)

22 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 23

ในการสรา งความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกบั การ ระหวางวันท่ี ๒๑ มีนาคม-๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔
ดําเนินงานของวิทยาลัยชุมชนนั้น เปนที่ทราบกัน โดยไดเ รยี นรปู ระสบการณ ศกึ ษาดงู านทม่ี ลรฐั ฮาวาย
แลววา ประเทศสหรัฐอเมริกามีการพัฒนาวิทยาลัย แคลฟิ อรเนีย ไอโอวา และนอรธ คาโรไลนา กระทัง่
ชุมชนมาชานาน ดังนั้นรัฐมนตรีวาการกระทรวง ตอมาเกดิ โครงการความรว มมอื ระหวา งไทยกบั สหรฐั
ศึกษาธิการจึงไดนําคณะผูรวมกอตั้งและเตรียมการ อเมรกิ า ตามโครงการ East-West Community
ดาํ เนนิ งานวทิ ยาลยั ชมุ ชนไปประชมุ รว มกบั ประชาคม College การประชุมคร้ังนั้นไดรับการสนับสนุนจาก
วิทยาลัยชุมชนสหรัฐอเมริกาท่ีมหาวิทยาลัยฮาวาย ประเทศสหรฐั อเมริกา และสถาบนั คีนันแหงเอเชีย

24 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

ชวงเตรยี มการ - “สาํ นักงานโครงการ”

กลไกเร่ิมตน ตัง้ คณะทาํ งาน ๖ คณะเพื่อเตรยี มการ

เพอ่ื ใหก ารเตรยี มการจดั ตงั้ วทิ ยาลยั ชมุ ชน (๔) จดั ตงั้ สาํ นกั งานโครงการวทิ ยาลยั ชมุ ชน
เปน ไปอยา งมรี ะบบและเรยี บรอ ย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปนหนวยงานภายในเทียบเทากองในสํานักงานปลัด
ไดสรางกลไกการดําเนินงานในระยะเตรียมการโดย กระทรวงศึกษาธิการ ทําหนาที่เปนหนวยงานกลาง
แตง ตัง้ คณะกรรมการและบคุ คล ดงั น้ี ประสาน สง เสรมิ และสนบั สนุนการดาํ เนินงาน

(๑) คณะกรรมการอาํ นวยการมรี ฐั มนตรี (๕) จดั หาบคุ ลากรแตง ตง้ั นางสาวสนุ นั ทา
วาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธาน มีหนาที่ แสงทอง ตําแหนงเจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและ
กําหนดนโยบาย แนวทางการดําเนินงานและสนับ แผน ๘ว สํานักงานนโยบายและแผน สํานักงาน
สนนุ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเปน ผอู าํ นวยการสาํ นกั งาน
โครงการวทิ ยาลัยชุมชน
(๒) คณะกรรมการดาํ เนนิ งานมหี นา ทจ่ี ดั
ทําแผนการดําเนินงานและประสานกับอนุกรรมการ (๖) แตง ตง้ั ผทู รงคณุ วฒุ แิ ละมปี ระสบการณ
ตางๆ เปนที่ปรึกษาสํานักงานในโครงการ ใหคําปรึกษา
แนะนาํ และรว มทาํ งาน ไดแ ก นายชมุ พล พรประภา
(๓) คณะอนกุ รรมการ๖ดา นไดแ กดา น รองศาสตราจารยฉลอง ภิรมยรัตน นายอุดม
วางระบบบริหารงานวิทยาลัยชุมชน ดานหลักสูตร มงุ เกษม และนางพชั รี สวา งทรพั ย
ดานพัฒนาบุคลากร ดานระบบขอมูลสารสนเทศ
ดานประสานความรวมมือภาครัฐ เอกชน และ
ชุมชน และดา นประชาสัมพันธ

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 25

ชว งเตรยี มการ - “สาํ นกั งานโครงการ”

ลงหลักปกฐาน คณะรัฐมนตรอี นุมตั ิโครงการจดั ตั้งวิทยาลัยชุมชน

จากนน้ั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดจ ดั ทาํ โครงการ ดงั นี้

เสนอคณะรัฐมนตรี โดยมสี าระสําคัญดังน้ี (๑)วทิ ยาลยั ชมุ ชนทจี่ ะจดั ตงั้ ขนึ้ ควรเปน

๑) เหตผุ ลความจาํ เปน เพอ่ื ขยายโอกาส รูปแบบและการดําเนินการท่ีเหมาะสมกับสภาพ

ทางการศึกษาแกผ พู ลาดโอกาสทางการศกึ ษา แวดลอมแบบไทย ไมควรยดึ หลักการจดั ตง้ั วิทยาลยั

๒) วตั ถปุ ระสงคเ พอื่ จดั ตงั้ วทิ ยาลยั ชมุ ชน ชุมชนของตา งประเทศมาเปน ตน แบบโดยตรง

ใหเ ปน สถาบนั อดุ มศกึ ษาประจาํ ทอ งถน่ิ จดั การศกึ ษา (๒)การจดั การเรยี นการสอนของวทิ ยาลยั

และฝกอบรมในหลักสูตรท่ีสอดคลองกับการพัฒนา ชุมชนแตละแหงตองสนองตอความตองการและ

เศรษฐกิจและสงั คมของชมุ ชนเปน สาํ คัญ การประกอบอาชพี ของชุมชนในทองถ่ิน

๓) พนั ธกจิ จดั การศกึ ษาหลกั สตู ร๒ป (๓)การจดั ตง้ั วทิ ยาลยั ชมุ ชนของทอ งถน่ิ ใด

แรกของระดับอุดมศึกษา จัดการศึกษาดานวิชาชีพ ควรใหชุมชนและทองถ่ิน เชน องคการบริหารสวน

หลักสูตร ประกาศนียบัตร และจัดหลักสูตรเพ่ือ ตําบล เทศบาล เขามามีสวนรวมลงทุน หรือมีสวน

พฒั นา อาชพี และคุณภาพชวี ิต ริเร่ิมของการจัดต้ังเพ่ือใหทองถ่ินไดตระหนักถึง

๔) ขอ เสนอเพอื่ คณะรฐั มนตรพี จิ ารณา ภาระความรับผิดชอบในสวนของตนตั้งแตเร่ิมตน

(โปรดดูรายละเอยี ดหนาถดั ไป) รวมทั้งสามารถพิจารณาความเหมาะสมและความ

คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ มอื่ วนั ท๑่ี ๙กมุ ภาพนั ธ จําเปนของการจัดต้ังวิทยาลัยชุมชนในทองถ่ินอยาง

พ.ศ. ๒๕๔๕ เห็นชอบในหลักการตามท่ีกระทรวง แทจ รงิ

ศกึ ษาธกิ ารเสนอทง้ั ๔ ขอ และใหด าํ เนนิ การตอ ไปได

โดยใหรับขอสังเกตของคณะรัฐมนตรีไปพิจารณา

26 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

ขอเสนอ ๔ ประการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

จดุ เรม่ิ ตนของการจัดตัง้ วิทยาลยั ชุมชน

ใหความเห็นชอบโครงการจัดต้ังวิทยาลัยชุมชน ใหความเห็นชอบใหกระทรวงศึกษาธิการจัด
โดยจัดต้ังใน พ.ศ. ๒๕๔๕ จํานวน ๑๐ จังหวัด ทํากฎหมายรองรับการดําเนินงานวิทยาลัย
ใน พ.ศ. ๒๕๔๖ ขยายเพมิ่ ในจังหวัดขนาดใหญท ี่ ชุมชน และมหี นว ยงานรับผิดชอบ ทําหนาท่ี
มีแรงงานหรือประชาชนท่ีขาดโอกาสทางการ สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนิน
ศึกษา ระดับสูงจํานวนมาก และขยายเพิ่มอีก งาน โดยเกลย่ี อตั รากาํ ลงั ทม่ี อี ยขู องกระทรวง
เมือ่ มคี วามพรอ มในปตอ ๆ ไป ศกึ ษาธิการ และในระยะกอ นปรับโครงสราง
กระทรวงศึกษาธิการ ใหหนวยงานดังกลาว
อยูในสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 27

ใหค วามเห็นชอบในการใชท รัพยากรทมี่ ีอยูในจงั หวดั เพือ่ ดาํ เนินงานวิทยาลยั ชมุ ชน ใชส ถานศกึ ษา
ท่ีมีอยูเดิมและมีศักยภาพเพียงพอยกฐานะขึ้นเปนวิทยาลัยชุมชนโดยไมสรางสถานศึกษาใหมและ
ใชหนว ยงานทางการศึกษา สถานประกอบการ ภาคเอกชน
และแหลง เรยี นรูของชมุ ชน และทองถ่นิ
เปนเครือขายในการจดั การศึกษา
ของวิทยาลยั ชุมชน

ดวยการจดั การอยา งเปนระบบ

ใหความเห็นชอบใหสํานักงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ
เพ่ือการดาํ เนนิ การวทิ ยาลยั ชมุ ชนอยา งตอเนอื่ ง

คณะรัฐมนตรีไดประชุมพิจารณาเมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงมติเห็นชอบในหลัก
การตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอท้ัง ๔ ข้อ และให้ดําเนินการต่อไปได้...นับจากวันน้ัน
วิทยาลัยชุมชนยุคใหมจึงถือกําเนิดข้ึนเพื่อเปนทางเลือกหนึ่งของการศึกษาระดับอุดมศึกษาใน
สงั คมไทย

28 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สํานักสง เสริมวิทยาลัยชุมชน - สป.ศธ.
ระบบบริหารจัดการวิทยาลัยชมุ ชน (๑)

ในพ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๔๖เปน ระยะเรม่ิ กอ ตงั้ ประเทศและตางประเทศ มีคณะกรรมการจํานวน
วิทยาลัยชุมชน กระทรวงศึกษาธิการไดออกแบบ ไมเกิน ๓๕ คน โดยมีสํานักงานสงเสริมวิทยาลัย
ระบบริหารจัดการ แบงเปน ๒ ระดับ คือ สวน ชุมชน (ปรับชื่อจากสํานักงานโครงการวิทยาลัย
กลาง และสว นภูมิภาค มรี ายละเอยี ดดังนี้ ชมุ ชน) เปน สาํ นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการ
และเปนหนวยงานกลางดําเนินการและประสานการ
๑. สว นกลาง ดําเนินงานกบั ทกุ ระดบั

มคี ณะกรรมการสภาวทิ ยาลยั ชมุ ชน ดร.สริ กิ ร มณรี นิ ทร เปน ประธานคณะ
ระดับชาติ ประกอบดวยผูแทนจากภาครัฐ เอกชน กรรมการสภาวิทยาลัยชมุ ชนระดับชาติ
และชุมชน เปนกรรมการ มีหนาที่กําหนดนโยบาย
แผนพัฒนา กําหนดมาตรฐาน กํากับติดตามและ นางสาวสนุ นั ทาแสงทองเปน ผอู าํ นวยการ
ประเมินผล สนับสนุนทรัพยากร สงเสริมการ สาํ นักงานสง เสริมวิทยาลยั ชุมชน
ประสานความรวมมือกับภาครัฐและเอกชน ทั้งใน

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 29

สํานักสงเสรมิ วทิ ยาลัยชมุ ชน - สป.ศธ.
ระบบบรหิ ารจัดการวทิ ยาลยั ชมุ ชน (๒)

๒. สว นภมู ภิ าค

มคี ณะกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชนจงั หวดั วิทยาลัยชุมชนเปนสถานศึกษา ทําหนาที่จัดการ

ประกอบดวยผูแทนจากภาครัฐ เอกชน ชุมชน และ ศึกษาตามภารกิจวิทยาลัยชุมชนรวมกับวิทยาลัย

องคกรเครือขายรวมจัดการศึกษา เปนกรรมการ ชุมชนเครือขาย โดยมีสํานักงานวทิ ยาลยั ชุมชนเปน

มีหนาท่ีจัดทํานโยบายและแผนพัฒนาระดับจังหวัด หนว ยอาํ นวยการสง เสรมิ สนบั สนนุ มอี ธกิ ารวทิ ยาลยั

เสนอและอนุมัติใหอนุปริญญา ประกาศนียบัตร ชุมชนเปนผบู ริหารสูงสุดและผอู ํานวยการสํานักงาน

และวุฒิบัตร กํากับดูแล พิจารณาจัดต้ัง ยุบรวม วทิ ยาลยั ชมุ ชนเปน ผบู รหิ ารรองจากอธกิ าร

หรือเลิกการจัดวิทยาลัยชุมชน ประสาน สงเสริม

การจัดและการระดมทรัพยากร มีคณะกรรมการ

จํานวนไมเกิน ๑๙ คน โดยมีสํานักงานวิทยาลัย

ชุมชนเปนสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการ มี

30 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สํานกั สงเสรมิ วิทยาลัยชมุ ชน - สป.ศธ.
เตรียมการจดั ต้งั วทิ ยาลยั ชุมชน “นาํ รอ ง”(๑)

กลา วไดว า ป๒๕๔๕-๒๕๔๖เปน ระยะเรม่ิ ๑. ใหจ งั หวดั เลอื กคณะกรรมการจดั ตง้ั

กอต้ังวิทยาลัยชุมชน โดยท่ีกระทรวงศึกษาธิการมี วิทยาลัยชุมชนจังหวัด ท่ีมีองคประกอบของบุคคล

แนวทางเพ่ือหลอมรวมสถานศึกษาสังกัดกระทรวง จากภาครฐั เอกชน และชมุ ชน โดยมี ผวู าราชการ

ศึกษาธิการในจังหวัดที่มีภารกิจใกลเคียงกัน ไดแก จังหวัด เปนประธาน ทําหนาท่ีจัดตั้งและสนับสนุน

สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา กรมการศึกษา วิทยาลยั ชมุ ชนเสนอกระทรวงศกึ ษาธกิ ารแตงต้งั

นอกโรงเรียน กรมพลศึกษา และกรมอ่ืนๆ ใหมา

เปนวิทยาลัยชุมชน เพื่อความเปนเอกภาพทางการ ๒) ใหค ณะกรรมการจดั ตงั้ วทิ ยาลยั ชมุ ชน

ศึกษา โดยใหทํางานประสานเปนเครือขายและ เลือกสถานศึกษาที่มีศักยภาพและมีภารกิจเปนสวน

จัดการศึกษาเพิ่มเติมเต็มในสวนท่ีขาด และปรับ หน่ึงของวิทยาลัยชุมชนอยูแลว ใหเปนสถานศึกษา

ระบบบริหารจัดการใหมตามหลักการวิทยาลัยชุมชน หลกั ทจ่ี ะเปน วทิ ยาลยั ชมุ ชน เสนอกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เพื่อใหตอบสนองตอความตองการของชุมชนไดมาก ประกาศจัดตง้ั

ขึ้นกวา ทเ่ี ปน อยู จึงไดดําเนินการดังนี้

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 31

สาํ นกั สงเสริมวิทยาลยั ชุมชน - สป.ศธ.
เตรยี มการจัดตั้งวทิ ยาลยั ชุมชน “นํารอง”(๒)

๓) ใหก รรมการจดั ตงั้ วทิ ยาลยั ชมุ ชนเสนอ ๕) ใหม สี าํ นกั ประสานงานวทิ ยาลยั ชมุ ชน

กระทรวงศึกษาธิการแตงต้ังคณะทํางานดําเนินงาน จังหวัดทําหนาท่ีสํานักงานเลขานุการของคณะ

วิทยาลัยชุมชนจังหวัดที่มีองคประกอบจากสถาน ทํางานดําเนินงาน และประสานกับสถานศึกษาท่ี

ศึกษาที่เปนวิทยาลัยชุมชนสถาบันอุดมศึกษา เปนวทิ ยาลัยชุมชนเครือขายหรอื แหลง สนบั สนุน

องคกรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ทําหนาท่ีวางระบบ

บริหารจัดการวางแผนและประสานการดําเนินงาน

ใหเกดิ การเรียนการสอนในระยะแรก

๔) ใหส ถานศกึ ษาหลกั ทเี่ปน วทิ ยาลยั ชมุ ชน
ทําหนาท่จี ัดการเรียนการสอน โดยมีภารกิจ ๒ สว น
คือ ภารกิจเดิมของสถานศึกษาและเพ่ิมภารกิจของ
วทิ ยาลยั ชมุ ชน

32 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สาํ นกั สง เสรมิ วทิ ยาลยั ชมุ ชน - สป.ศธ.
ประกาศจดั ต้ังวทิ ยาลัยชมุ ชน “นํารอง” (๑)

คณะกรรมการจดั ตง้ั วทิ ยาลยั ชมุ ชนทกุ จงั หวดั (๒) ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั
ไดเลือกสถานศึกษา ๑ แหง มาเปนวิทยาลัยชุมชน ตาก เปนวิทยาลัยชมุ ชนตาก
โดยไดสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา ๓ แหง
และสังกัดกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น ๗ แหง (๓) วทิ ยาลยั การอาชพี โพทะเลจงั หวดั
พิจิตร เปนวิทยาลัยชุมชนพจิ ติ ร
จากนนั้ ในวนั ท่ี๑๗เมษายนพ.ศ.๒๕๔๕
กระทรวงศึกษาธิการประกาศจัดต้ังวิทยาลัยชุมชน (๔) วทิ ยาลยั การอาชพี บา นไรจงั หวดั
โดยใหสถานศึกษาทําหนาท่ีวิทยาลัยชุมชน และทํา อทุ ยั ธานี เปน วทิ ยาลยั ชมุ ชนอทุ ยั ธานี
ภารกิจเดิมควบคูไปดวย มีสถานศึกษาท่ีไดรับ
คดั เลือกเปน วทิ ยาลัยชมุ ชน ดงั น้ี (๕) ศนู ยฝ ก และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทย
บริเวณชายแดนจังหวัดสระแกว เปน
(๑) ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว
แมฮอ งสอน เปนวิทยาลัยชุมชน
แมฮ องสอน (๖) ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั
บรุ รี มั ย เปนวทิ ยาลยั ชมุ ชนบุรรี มั ย

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 33

สาํ นักสง เสริมวิทยาลยั ชุมชน - สป.ศธ.
ประกาศจัดตง้ั วิทยาลยั ชุมชน “นํารอ ง” (๒)

(๗) วทิ ยาลยั เทคนคิ หนองบวั ลาํ ภูเปน จากนน้ั เปน ตน มาวทิ ยาลยั ชมุ ชนตามประกาศ
วิทยาลยั ชุมชนหนองบวั ลําภู ดังกลาวไดเริ่มดําเนินการตามภารกิจ และแนวทาง
การดําเนินงานที่กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดไว
(๘) ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั โดยมีวิทยาลัยชุมชนเปนสถาบันหลัก และใชสถาน
มกุ ดาหาร เปน วทิ ยาลยั ชมุ ชนมกุ ดาหาร ศึกษา และหนวยงานราชการเปนที่จัดการเรียนการ
สอนท่ีกระจายไปถงึ ระดบั อําเภอ
(๙) ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั
ระนอง เปน วทิ ยาลัยชมุ ชนระนอง

(๑๐) ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั
นราธวิ าส เปน วทิ ยาลยั ชมุ ชนนราธวิ าส

34 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สํานักบริหารงานวิทยาลยั ชมุ ชนสังกัด สกอ.

เสนทางสูโครงสรา งใหมใ นยคุ ปฏริ ปู การศกึ ษา (๑)

สถานะการดาํ เนนิ งานวทิ ยาลยั ชมุ ชนมกี าร ราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติดังกลาวน้ัน ซ่ึงเปน
เปลย่ี นแปลงครง้ั สาํ คญั ในวนั ท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๖ เร่ืองเกี่ยวกับโครงสราง องคกร การแบงสวนงาน
เม่อื มีการประกาศใชพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร การจัดระบบครู คณาจารยและบุคลากรทางการ
ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ ซ่ึงออก ศึกษา และการจัดระบบทรัพยากรและการลงทุน
ตามความในพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง เพ่ือการศึกษา ทั้งน้ี ในสวนกฎหมายที่เก่ียวของ
ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งบัญญัติใหมีกระทรวง รัฐบาลไดทยอยเสนอไปยังรัฐสภาเพื่อใหมีผลในทาง
ศึกษาธิการ โดยการจัดระเบียบราชการกระทรวง ปฏิบตั ิ
ศึกษาธิการใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการน้ัน
ซึ่งไดแก พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. สาํ หรบั การจดั โครงสรา งองคก รการแบง
๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ สวนงานน้นั พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดบัญญัติให
๒๕๔๕ และพระราชบัญญัติท่ีออกตามนัยของพระ กระทรวงศึกษาธิการจัดระบบบริหารและการจัด
การศึกษาของรัฐใหม ในการน้ี ใหปรับสํานักงาน

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 35

สาํ นักบริหารงานวทิ ยาลยั ชุมชนสงั กัด สกอ.

เสนทางสโู ครงสรางใหมใ นยคุ ปฏริ ปู การศกึ ษา (๒)

สงเสริมวิทยาลัยชุมชนเขาสูโครงสรางใหมในสังกัด สอดคลองกับความตองการของชุมชนและสงเสริม

สํานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ใหมีการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

ตอ มาในวนั ท๑่ี ๕ตลุ าคมพ.ศ.๒๕๔๖กระทรวง บุคคลในชมุ ชน

ศึกษาธิการไดประกาศใช “กฎกระทรวงวาดวยการ (๓) ใหว ทิ ยาลยั ชมุ ชนเปน สว นราชการใน

จดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาตาํ กวา ปรญิ ญารปู แบบ สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สํานักงาน

วทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๔๖” ขน้ึ เปน กฎหมายรองรบั คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การดําเนินงานวิทยาลัยชุมชน โดยมีสาระสําคัญ (๔) การบรหิ ารงานประกอบดว ย๒สว นคอื

หลักคอื • หนวยนโยบาย ประกอบดวย

(๑) ใหว ทิ ยาลยั ชมุ ชนเปน สถานศกึ ษาของ คณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน และ

รัฐที่จัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับตํากวา สาํ นักบรหิ ารงานวิทยาลยั ชุมชน

ปริญญาซึง่ บรหิ ารจดั การโดยชุมชน • หนว ยปฏบิ ตั กิ ารประกอบดว ยสภา-

(๒) มวี ตั ถปุ ระสงคเพอื่ ใหก ารศกึ ษาและฝก วทิ ยาลยั ชมุ ชนและวทิ ยาลยั ชมุ ชนจงั หวดั

อบรมดานวิชาการและวิชาชีพตามหลักสูตรที่

36 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สํานกั บรหิ ารงานวทิ ยาลัยชมุ ชนสงั กัด สกอ.

บทบาทหนาท่ีสํานักบรหิ ารงานวิทยาลยั ชุมชน

พรอ มๆกบั การประกาศพระราชบญั ญตั ิ • พัฒนาและสงเสริมการจัดการศึกษาของวิทยาลัย
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ชุมชนและระบบเครือขา ยความรว มมอื การจดั
๒๕๔๖ ไดมีกฎกระทรวงแบงสวนราชการสํานักงาน การศึกษาท้งั ในประเทศและตา งประเทศ
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดใหสํานักบริหารงานวิทยาลัย • จดั ทาํ มาตรฐานการจดั การศกึ ษาของวทิ ยาลยั ชมุ ชน
ชุมชนมีบทบาทหนาท่ี ดังน้ี • ดําเนินการเก่ียวกับงานเลขานุการของคณะ
• จัดทําขอเสนอนโยบาย และจัดทําแผนหลักของ
กรรมการวทิ ยาลัยชุมชน
ระบบวทิ ยาลัยชุมชน เสนอแนะการจดั ตัง้ และ • ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน
จดั สรรงบประมาณใหวทิ ยาลัยชุมชน
• จัดทําระบบขอมลู สารสนเทศ กาํ กบั ตรวจสอบ ของหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งหรอื ที่ไดร บั มอบหมาย
ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลการดาํ เนนิ
งานวทิ ยาลัยชมุ ชน ภายใตโ ครงสรา งใหมน ี้ มีนางสาวสุนันทา แสงทอง
เปนผูอ ํานวยการสาํ นกั บริหารงานวิทยาลยั ชมุ ชน

ขวิท้ันยาลตัยชอุมชนนก: ปาฐมรบจทแดั หงตกาั้งรพวัฒิทนยา าล3ยั 7ชุมชน

ของระกบารบสบรารงิหคาวรามจเดั ขมกแาขร็ง

พรอมๆ กับการเขามาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วิทยาลัยชุมชนได
ปรับโครงสรางองคกรและระบบบริหารจัดการตามกฎหมายใหเขมแข็งเพื่อรองรับการ
ดําเนินงานในอนาคต รวมถึงการสรางวัฒนธรรมองคกรและการสรางสรรคกระบวนการ
เรยี นรใู หก บั บคุ ลากรในสาํ นักงานทั้งในสว นกลางและจังหวดั

38 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

ปรับโครงสรา งองคกรและระบบบรหิ ารจดั การตามกฎหมาย

เพอ่ื ใหก ารดาํ เนนิ งานเปน ไปตามโครงสรา ง ชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖
องคกรและระบบบริหารจัดการตามท่ีกําหนดไวใน ๓) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดว ย
กฎกระทรวงวา ดว ยการจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา
ตํากวาปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖ คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการไดมาซึ่งประธาน
มกี ารดําเนนิ การดงั นี้ กรรมการและกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๔๗

จัดวางกลไกการบรหิ าร ๔) ระเบยี บสาํ นกั งานคณะกรรมการการ
อดุ มศกึ ษา วา ดวยจํานวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลกั
จดั ทาํ ประกาศระเบยี บและขอ บงั คบั จาํ นวน เกณฑ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
๑๑ ฉบับ ไดแก และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพน
จากตําแหนงของสภาวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖
๑) ระเบยี บคณะกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชน และฉบับปรบั ปรุงครั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๐ และคร้ังที่
วาดวยหลักเกณฑและวิธีการสรรหาผูอํานวยการ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑
วิทยาลัยชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๔๙ และคร้ังที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๕) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดว ย
การประชุมคณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน พ.ศ.
๒) ขอ บงั คบั คณะกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชน ๒๕๔๖
วาดวยอนุปริญญาและประกาศนียบัตรของวิทยาลัย
๖) ขอ บงั คบั สาํ นกั บรหิ ารงานวทิ ยาลยั
ชุมชน วาดวยเข็มวิทยฐานะ ตรา เคร่ืองหมาย

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 39

เคร่ืองหมาย เครื่องแตงกายของนักศึกษาวิทยาลัย ชุมชนวาดวยคุณสมบัติ การสรรหา วาระการดํารง

ชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๔๗ ตําแหนงของหัวหนาโปรแกรมวิชา หรือหัวหนา

๗) จดั ทาํ แนวทางการออกขอ บงั คบั ของ หลักสูตร ขอบังคับวิทยาลัยชุมชนวาดวยคุณสมบัติ

วิทยาลัย ๕ ฉบับ ไดแก ขอบังคับวิทยาลัยชุมชน และหลักเกณฑการแตงต้ังอาจารยพิเศษ และขอ

วาดวยการจัดตั้งหนวยจัดการศึกษา ขอบังคับ บงั คบั ตา งๆ วา ดว ยการแบง สว นงานในวทิ ยาลยั ชมุ ชน

วทิ ยาลยั ชมุ ชนวา ดว ยสภาวชิ าการ ขอ บงั คบั วทิ ยาลยั

40 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

อแลาํ ะนกาาจรหไดนมา ทาข่ี อองงคอปงรคะคกณอบะบุคคล

สว นกลาง

คณะกรรมการวทิ ยาลัยชุมชน มีอํานาจหนา ท่ี
๑) พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยตอคณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษา
๒) ใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาของวิทยาลัยท่ีสอดคลองกับมาตรฐานท่ีคณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษากาํ หนด
๓) กําหนดแนวทาง ประสาน สงเสริม และสนับสนุนใหวิทยาลัยจัดระบบเครือขายในการบริหาร
จัดการศกึ ษา
๔) ออกระเบียบและขอบังคับของสํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนและอาจมอบใหวิทยาลัยเปน
ผูอ อกระเบยี บและขอ บังคับสําหรับวิทยาลยั นนั้ เปน เร่อื งๆ ไปก็ได
๕) พจิ ารณาเสนอการจดั ตั้ง การรวม และการยบุ เลิกวทิ ยาลัยตอคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
๖) พจิ ารณาจัดสรรงบประมาณใหแกวทิ ยาลัย
๗) ระดมทนุ และทรพั ยากรเพอ่ื การจดั การศึกษาของวิทยาลัย และสงเสริม การจัดตั้งกองทุน
วทิ ยาลัยชมุ ชน

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 41

๘) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินการจดั การศึกษาของวิทยาลยั
๙) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการการอุดมศึกษา และรัฐมนตรีในการออกระเบียบ ประกาศ

และขอบังคับเพื่อดําเนินการตามกฎกระทรวง และเรื่องอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษา
ของวิทยาลัย
๑๐) แตงตั้งคณะอนุกรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อกระทําการใดๆ อันอยูในอํานาจ
และหนา ทขี่ องคณะกรรมการ
๑๑) ปฏิบัติงานอื่นใดตามทค่ี ณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาหรือรัฐมนตรีมอบหมาย
๑๒) อาํ นาจหนา ทีอ่ ืน่ เกย่ี วกับกิจการของวิทยาลยั ท่ีมไิ ดร ะบใุ หเปนหนาทข่ี องผใู ดโดยเฉพาะ

องคป ระกอบของคณะกรรมการวิทยาลัยชมุ ชน
(๑) ประธานกรรมการวทิ ยาลัยชมุ ชน มาจากกรรมการวิทยาลยั ชมุ ชนผูทรงคุณวฒุ ิ
(๒) กรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชนโดยตําแหนง จาํ นวน ๑๐ คน ดังน้ี
- ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
- เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
- เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
- เลขาธิการสภาการศึกษา
- ผูอํานวยการสาํ นักงบประมาณ
- อธิบดีกรมพฒั นาฝมอื แรงงาน
- อธิบดกี รมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่น

42 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

- ผแู ทนสภาอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย
- ผูแทนหอการคา ไทย
(๓) กรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชนที่เลือกจากผูดํารงตําแหนงในพน้ื ที่ จาํ นวน ๒ คน
- ผดู ํารงตําแหนงผูอาํ นวยการวิทยาลยั ชมุ ชน ๑ คน
- ผดู าํ รงตาํ แหนง ประธานกรรมการสภาวทิ ยาลยั ชมุ ชน ๑ คน
(๔) กรรมการวิทยาลยั ชุมชนผทู รงคุณวฒุ ิ จาํ นวนไมน อ ยกวา กึ่งหนงึ่ ของกรรมการตาม (๑) (๒)
และ (๓) รวมกัน ซ่ึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการแตงตั้งจากผูซึ่งมีความรูความ
เชย่ี วชาญหรือมีประสบการณ เกี่ยวของกบั การจดั การศกึ ษาของวิทยาลัยชุมชน
(๕) ผอู าํ นวยการสาํ นกั บรหิ ารงานวทิ ยาลยั ชุมชนเปนกรรมการและเลขานกุ าร
วาระการดาํ รงตําแหนง คณะกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชนมีวาระการดาํ รงตาํ แหนง คราวละ ๔ ป และ
อาจไดรับเลอื กหรือไดรับแตง ตัง้ ใหมอ ีกได

คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ และวธิ ีการไดม าซึง่ ประธานกรรมการและกรรมการวทิ ยาลยั ชุมชน
คุณสมบตั กิ รรมการวทิ ยาลยั ชุมชนผทู รงคุณวุฒิ
(๑) มคี วามรู ความเชย่ี วชาญ หรอื มปี ระสบการณเ กย่ี วขอ งกบั การจดั การศกึ ษาของวทิ ยาลยั ชมุ ชน
(๒) มคี วามสนใจและเห็นความสาํ คัญของการจัดการศกึ ษาของวิทยาลยั ชุมชน
(๓) มีความสามารถดานวชิ าการหรือวิชาชีพและมคี ุณภาพเปน ทีย่ อมรับในสังคม
(๔) ดํารงตําแหนงหรือมีสถานภาพทางสังคมที่เหมาะสมในอันท่ีจะเอื้อประโยชนตอการดําเนินงาน
วทิ ยาลัยชุมชน
(๕) สามารถอทุ ิศเวลาใหแกงานของวทิ ยาลยั ชุมชนไดต ามสมควร

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 43

หลกั เกณฑและวธิ กี ารไดม าซ่งึ ประธานกรรมการและกรรมการวทิ ยาลยั ชุมชนผูท รงคุณวุฒิ
(๑) หลักเกณฑการไดมามาจากการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาประธานกรรมการและ
กรรมการวิทยาลัยชุมชนซึ่งเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยคุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธี
การไดม าซึ่งประธานกรรมการและกรรมการวิทยาลยั ชุมชน พ.ศ.๒๕๔๗
(๒) วิธีการไดมาซ่ึงกรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการสรรหา ฯ ดําเนินการสรรหาบุคคลที่มี
คุณสมบัติที่จะเปนกรรมการวิทยาลัยชุมชนผูทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขาจํานวน ๒ เทาของจํานวน
กรรมการวิทยาลัยชุมชนผูทรงคุณวุฒิที่กําหนดในกฎกระทรวง ฯ คือ ๑๖ คน พรอมทั้งจัดทําประวัติและ
ผลงานของบุคคลดังกลาวโดยยอเรียงลําดับชื่อตามตัวอักษรแลวนําเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวง
ศึกษาธิการเลือกผูซ่ึงมีความรูความเชี่ยวชาญหรือมีประสบการณเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของวิทยาลัย
ชุมชน โดยเลอื ก

- ประธานกรรมการ จาํ นวน ๑ คน
- กรรมการผูท รงคณุ วุฒิ จาํ นวน ๗ คน
(๓) วิธีการไดมาซ่ึงกรรมการผูดํารงตําแหนงผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชน และประธานกรรมการส
ภาวิทยาลัยชมุ ชน คณะกรรมการสรรหา ฯ ดาํ เนินการเลอื กและเสนอช่ือ
- ผดู ํารงตําแหนงผอู าํ นวยการวทิ ยาลยั ชุมชน จาํ นวน ๑ คน
- ผดู าํ รงตําแหนงประธานกรรมการสภาวทิ ยาลยั ชมุ ชน จํานวน ๑ คน
รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารแตง ตง้ั คณะกรรมการวทิ ยาลยั ชมุ ชน เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน
พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมี ดร.สริ ิกร มณีรนิ ทร เปน ประธาน นายชุมพล พรประภา และเลขาธกิ ารคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษาเปนรองประธาน ผอู าํ นวยการสํานกั บรหิ ารงานวทิ ยาลัยชมุ ชน เปน กรรมการและเลขานกุ าร

44 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

สว นจังหวดั

สภาวิทยาลัยชุมชน มีอํานาจหนา ท่ี
๑) วางนโยบายและใหความเห็นชอบแผนการจัดการศกึ ษา และงบประมาณของวทิ ยาลยั
๒) กํากับดูแลใหวิทยาลัยปฏิบัติตามนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาตามท่ี
คณะกรรมการการอดุ มศึกษากาํ หนด
๓) ออกระเบียบและขอ บงั คบั ตางๆ ของวิทยาลัย
๔) พิจารณาใหความเห็นชอบการแบงสวนงานในวิทยาลัย และการจัดตั้งหนวยจัดการศึกษาของ
วิทยาลัย
๕) ระดมทนุ ทรพั ยากรเพื่อการจดั การศกึ ษาของวทิ ยาลัย
๖) ใหค ําปรกึ ษาและคาํ แนะนาํ การบรหิ ารและการจัดการวทิ ยาลัยแกผอู ํานวยการ
๗) ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานของผูอํานวยการ และการดําเนินงานของ
วิทยาลัย
๘) สงเสริม สนับสนุนใหมีการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก ท้ังน้ีตาม
กฎหมายวา ดวยการศึกษาแหง ชาติ
๙) อนมุ ัตกิ ารใหอนปุ ริญญาและประกาศนยี บัตร
๑๐) อนมุ ตั กิ ารจดั การเรียนการสอนในหลกั สตู รท่ีไดร ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
๑๑) พิจารณาใหความเห็นชอบรายงานผลการดาํ เนินงานประจําปของวทิ ยาลัย

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 45

๑๒) แตงตั้งคณะทํางาน หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อกระทําการใดๆ อันอยูในอํานาจหนาท่ีของ
สภาวิทยาลยั

๑๓) ใหความเห็นชอบการแตงตง้ั และถอดถอนผูอาํ นวยการ
๑๔) แตงตง้ั และถอดถอนรองผูอํานวยการ อาจารยพเิ ศษ และกรรมการสภาวชิ าการ
๑๕) ดาํ เนินการอนื่ ตามที่กฎหมายกาํ หนดใหเปน อํานาจหนาทข่ี องสภาวิชาการ

องคประกอบของสภาวิทยาลยั ชมุ ชน
สภาวิทยาลัยชุมชนมีจํานวนไมเกิน ๑๕ คน และมีผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนเปนกรรมการและ

เลขานกุ ารโดยตาํ แหนง ซึง่ มีองคป ระกอบดงั น้ี
(๑) ประธานกรรมการ ซ่ึงแตง ตั้งจากกรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ
(๒) กรรมการที่เปน ผแู ทนสถาบันอุดมศกึ ษา จาํ นวน ๑ คน
(๓) กรรมการท่เี ปน ผูแ ทนองคกรปกครองสว นทองถ่นิ จํานวน ๑ คน
(๔) กรรมการทีเ่ ปน ผูแทนองคก รชมุ ชน จํานวน ๑ คน
(๕) กรรมการท่ีเปนผูแทนสภาอตุ สาหกรรมจังหวดั จํานวน ๑ คน
(๖) กรรมการที่เปนผแู ทนหอการคา จงั หวัด จาํ นวน ๑ คน
(๗) กรรมการที่เปน ผูแ ทนหนว ยจัดการศึกษา จาํ นวน ๑ คน
(๘) กรรมการทีเ่ ปน ผูแทนศษิ ยเ กา จาํ นวน ๑ คน
(๙) กรรมการผทู รงคุณวุฒิ จํานวนไมนอ ยกวา ๕ คน
(๑๐) ใหผอู ํานวยการเปนกรรมการและเลขานุการ

46 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา

กรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ ๓ ป ยกเวนประธานกรรมการมี
วาระการดํารงตําแหนงประธานคราวละ ๑ ป และอาจไดรับเลือกใหมได สําหรับกรรมการและเลขานุการ
เปนไปตามวาระการดาํ รงตาํ แหนง ของผอู าํ นวยการวิทยาลัยชุมชน

วาระการดาํ รงตําแหนง สภาวิทยาลยั ชุมชนมีวาระการดาํ รงตาํ แหนงคราวละ ๓ ป
คุณสมบตั ิของกรรมการสภาวิทยาลยั ชมุ ชน
๑. ผูแทนหนวยงาน/องคกร และผูทรงคุณวุฒิ ตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหาม

ดงั ตอ ไปนี้
(๑) มวี ิสัยทัศนเ กยี่ วกบั การจัดการศึกษา
(๒) มีความเขา ใจและศรัทธาในปรชั ญาและหลักการของวิทยาลัยชมุ ชนและมอี ดุ มการณ
(๓) มีคณุ ธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตยต อองคก ร
(๔) เปน ผทู ส่ี ามารถทาํ งานเปน ทมี กบั กรรมการอน่ื และผบู รหิ ารวทิ ยาลยั ชมุ ชนและชมุ ชนได
(๕) เปนผทู ีร่ อบรแู ละใหความสําคญั ตอความตองการและปญหาของชมุ ชน
(๖) อุทิศเวลาใหกับงานวิทยาลัยชุมชน และอุทิศตนตอหนาท่ีความรับผิดชอบ และพรอม

ที่จะพัฒนาตนเองใหเ หมาะกับงาน
(๗) เปนผทู ีเ่ คยทําคณุ ประโยชนใ หก ับจังหวัดทีว่ ทิ ยาลยั ชมุ ชนตง้ั อยู
(๘) มคี วามเปน ผูน าํ มจี ติ สาธารณะและเปนท่ียอมรบั ของชุมชนทว่ี ิทยาลัยชมุ ชนตัง้ อยู
(๙) ไมเปนบคุ คลลมละลาย คนไรความสามารถ หรือเสมือนไรค วามสามารถ
(๑๐) ไมเ ปนผมู คี วามประพฤติเสือ่ มเสีย หรอื บกพรองในศีลธรรมอนั ดี
(๑๑) ไมเปน ผแู สวงหาประโยชนจากวทิ ยาลัยชุมชน
(๑๒) ไมเ ปนผดู าํ รงตาํ แหนงทางการเมือง ยกเวนกรรมการตามขอ ๗(๓)

วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา 47

๒. ผูแทนหนวยงาน/องคกร นอกจากตองมีคณุ สมบตั ติ ามขอ ๑ แลว ตองสามารถสนบั สนุนและ
เชือ่ มโยงงานของวิทยาลยั ชมุ ชนเขา กับสวนราชการ หนว ยงาน หรือองคกรของตนสงั กดั ได

๓. ผทู รงคุณวุฒนิ อกจากตองมีคณุ สมบัติตามขอ ๑ แลว ตองมคี ุณสมบตั ดิ ังตอ ไปน้ี
(๑) เปนผูที่มีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับงานวิชาการ งานจัดการ
ศึกษา หรือการประกอบอาชีพ หรือเปนผูที่มีประสบการณในสาขาตางๆ อันเปน
ประโยชนแกก ิจการของวทิ ยาลยั ชุมชน และมผี ลงานเปน ที่ยอมรบั
(๒) ผูทรงคุณวุฒิ อาจพิจารณาจากผูมีความรูความสามารถและประสบการณในดานการ
ศึกษา ดานกฎหมาย ดานการปกครอง ดานธุรกิจการคา ดานอุตสาหกรรม ดานภูมิ
ปญ ญา ดานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ดา นการอาชีพ และดา นอ่นื ๆ
(๓) ไมเ ปนขา ราชการ พนกั งานราชการ หรอื ลูกจางในสงั กดั วทิ ยาลยั ชุมชนทุกแหง

การสรรหาสภาวทิ ยาลยั ชมุ ชน มีข้นั ตอน ดงั น้ี
๑. การแตงต้ังคณะกรรมการสรรหาสภาวิทยาลัยชุมชน สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชนเสนอ
คณะกรรมการวิทยาลัยชุมชน แตงตง้ั คณะกรรมการสรรหาสภาวทิ ยาลัยชมุ ชนโดยมอี งคป ระกอบ ดังน้ี

๑.๑ ผแู ทนจากคณะกรรมการวิทยาลัยชมุ ชน ๑ คน เปน ประธาน
๑.๒ ผูทรงคุณวุฒิจากภายใน หรือภายนอกสภาวิทยาลัยชุมชนที่กรรมการสภาวิทยาลัย

ชมุ ชนจงั หวดั น้ันเลือก จาํ นวน ๒ คน เปน กรรมการ
๑.๓ ผูแทนสมาคมวทิ ยาลัยชุมชน จาํ นวน ๑ คน เปน กรรมการ
๑.๔ ผูอาํ นวยการสาํ นักบริหารงานวิทยาลัยชมุ ชน เปนกรรมการและเลขานกุ าร

48 วิทยาลัยชุมชน : ปฐมบทแหงการพัฒนา


Click to View FlipBook Version