The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022
“การจัดการธุรกิจและชีวิตวิถีใหม่ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืนในยุค Post Covid-19”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattanasak patumwan, 2022-08-16 22:39:32

BANIC 2022

การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022
“การจัดการธุรกิจและชีวิตวิถีใหม่ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืนในยุค Post Covid-19”

Keywords: BANIC 2022,การประชุมวิชาการระดับชาติ,Business Administration National Innovation,การจัดการธุรกิจและชีวิตวิถีใหม่,Conference,National Conference,คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี,คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ,มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

การออกแบบและพัฒนาเว็บไซตว์ สิ าหกจิ ชมุ ชนจำหนา่ ยขนมลา บา้ นทา่ ซอม
Website Design and Development of A Community Enterprise Khanoum La,

Ban Tha Som

นราทิพย์ แดงดว้ ง, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช
จุฑารัตน์ เกดิ ทอง, มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช
วสิ ตุ ร์ เพชรรัตน์, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
เตชติ า สุทธิรกั ษ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Email: [email protected]

บทคดั ยอ่

งานวิจัยน้ีมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื 1) เพอื่ ออกแบบและพฒั นาเว็บไซต์ในการจำหน่ายขนมลา บ้านทา่ ซอม 2) เพ่อื ประเมินความ
พึงพอใจการใชง้ านเว็บไซต์สาหกิจชุมชนจำหน่ายขนมลา โดยมีกลุ่มตวั อยา่ ง แบบเจาะจงจากผใู้ ชเ้ วบ็ ไซตจ์ ำนวน 30 คน การวิเคราะห์
ขอ้ มลู ใช้สถิตพิ นื้ ฐาน คือ คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า เว็บไซต์ในการจำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม พัฒนาด้วย WordPress v5.6 และพัฒนาตามกระบวนการ
SDLC ทำให้เว็บไซต์ที่ได้มีประสทิ ธิภาพ จากผลการประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อเว็บไซต์จำหน่ายสินค้าขนมลา
บ้านท่าซอม มีผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อเว็บไซต์จำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม 1)ด้านการออกแบบอยู่ในระดับ
พอใจมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.28 2)ด้านระบบซื้อ-ขายในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.27 3)ภาพรวมการใช้งานอยู่ในระดบั
พอใจมากท่ีสุด มีคา่ เฉล่ยี เท่ากบั 4.72 โดยรวมอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กบั 4.21
คำสำคญั : พัฒนาเวบ็ ไซต์, วิสาหกิจชุมชน , Wordpress

ABSTRACT

The objectives of this research were 1 ) To design and develop a website for selling donuts at Ban Tha

Som. an d 2) To assess the satisfaction of using the community enterprise website selling donkeys with a sample

group o f A specific model of 3 0 website users. The data were analyzed using basic statistics, mean and standard
deviation.

The results showed that the Website to sell snacks, Ban Tha Som, was developed with WordPress v5.6
and developed according to the SDLC process, making the website effective. From the evaluation results of the
user satisfaction questionnaire on the Ban Tha Som product selling website, there was an evaluation result of the
user's satisfaction with the La Khanom La product website Ban Tha Som. 1) The design aspect was at a very
satisfactory level with an average value of 4.28. 2) The system of buying and selling is at a very satisfactory level
with an average of 4.27. 3) Overall usage is at the most satisfied with an average of 4.72, overall at the most satisfied
with an average of 4.21.
Keywords: Web Development, Community enterprises, Wordpess

บทนำ

ปจั จบุ นั เทคโนโลยีสารสนเทศได้เขา้ มามีบทบาทตอ่ การดำเนินชวี ิตมากข้ึน สามารถเพมิ่ ควาวมสะดวกสบายในชีวิตประจำวนั
ได้เป็นอย่างดี และเทคโนโลยีสารสนเทศยังช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน ทำให้การ เข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว
การติดต่อสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้มีประสิทธิภาพ และช่วยประหยัดต้นทุนในการ ดำเนินงานด้านต่าง ๆ ของหน่วยงาน
ที่เชอื่ มต่อในระบบอินเทอร์เนต็ และสามารถประยุกตใ์ ช้ในด้านต่าง ๆ เช่น การรบั ส่งจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การมีเว็บไซต์สำหรับเป็น
ชอ่ งทางในการประชาสมั พันธ์ การขายของออนไลนผ์ า่ นเว็บไซต์ซงึ่ มคี วามสำคญั ในปัจจบุ ันทำให้ธรุ กิจขายของออนไลน์ไดเ้ ตบิ โตมากข้ึน
อย่างเห็นได้ชัด และมีการแข่งขันกันอย่างมาก เพราะมีความหลากหลายในการขายสินค้านั้น ๆ มีทั้งของกิน ของใช้ และอื่น ๆ
อีกมากมาย ทำใหผ้ ูบ้ รโิ ภคหนั มาเลือกซ้อื สนิ ค้าออนไลนส์ ามารถซื้อสินค้าได้ตลอดเวลาไมม่ ีขอบเขตจำกัด (เอื้อมเดอื น ถนิ่ ปัญจา,2546)

วิสาหกิจชมุ ชนขนมลาบา้ นท่าซอม ตำบลท่าซอม อำเภอหัวไทร จงั หวัดนครศรีธรรมราช เมือ่ ก่อนเคยประกอบอาชีพในด้าน
เกษตรกรรม แตเ่ มื่อปี พ.ศ. 2544 ไดม้ คี วามคดิ ที่จะทำขนมลา เพราะขนมลามีความสำคัญคือ หนงึ่ เปน็ เอกลักษณ์ของเมืองนคร ของคน
นคร สองเป็นขนมที่สามารถเป็นของฝากได้ แต่ในการทำขนมลาในช่วงนั้นคือ จะเป็นขนมลาแผ่น ต่อมาได้พัฒนาฝีมือให้เป็นขนมลา

172

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ที่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

กรอบขายให้กับผู้บริโภคตลอดทัง้ ปี เมื่อก่อนเคยขายเร่ตามงานสินค้าโอทอป และได้เปิดร้านอยู่ที่ทุ่งสง ส่วนมากจะเป็นลูกค้าประจำ
ปัจจุบัน ยี่สิบปีในการทำขนมลา สิบสอง ปีในการตั้งร้าน ความสำคัญของขนมลากรอบคือ ความสดใหม่ที่เพิ่งออกจากเตา ขนมลาน้ี
สามารถ เก็บได้ 1-2 เดือน ต่อมาไดท้ ำการยืดอายุของขนมลาได้ 5-6 เดือน โดยจะใช้สารสกัดจากธรรมชาติจะเป็นใบคนที จุดเด่นของ
วิสาหกิจชุมชนขนมลากรอบคือ มีขนมลาหลายแบบ ได้แก่ ขนมลากลม เกลียว ขนมลาเกลียวใจ ขนมลาสอดไส้ ขนมลางูโค้ง ขนมลา
ดอกกุหลาบ (บุญสง่ ชว่ ยแก้ว. 18 มกราคม 2564 : สมั ภาษณ์) ในปัจจบุ นั มกี ารเกดิ โรคระบาด Covid-19 ทำให้การซ้ือขายสนิ ค้าลดลง
และจากการเก็บข้อมูลพบว่า ปัจจุบันทางกลุ่ม ได้มีการจำหน่ายสินค้าผ่าน Facebook ทางกลุ่มจึงมีความต้องการเว็บไซต์ในการ
จำหน่ายสนิ ค้า เพ่อื เพ่มิ ช่องทางในการจำหน่ายสนิ ค้าและสร้างความเชอื่ ถอื ให้กลุ่มวสิ าหกิจเพ่มิ มากข้นึ

จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์วิสาหกิจชุมชนจำหน่ายขนมลา
บ้านท่าซอม เพื่อแก้ปัญหาของวิสาหกิจชุมชนขนมลา เพื่อเพิ่มชอ่ งทางจำหน่ายแบบออนไลน์แก่ลูกค้า และยังสามารถประชาสัมพันธ์
สนิ คา้ ผ่านเวบ็ ไซต์การออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซตว์ สิ าหกจิ ชมุ ชนจำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม

วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย

1. เพ่อื การออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์วสิ าหกจิ ชมุ ชนจำหนา่ ยขนมลา บา้ นทา่ ซอม
2. เพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจการใชง้ านเวบ็ ไซต์สาหกจิ ชมุ ชนจำหน่ายขนมลา บ้านทา่ ซอม

วิธีดำเนินการวิจยั

1.การออกแบบและพฒั นาเว็บไซต์วิสาหกิจชุมชนจำหนา่ ยขนมลา บ้านทา่ ซอม ทางผู้จัดทำได้ดำเนินการพฒั นาโดยใช้วงจร
การพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle) หรือ SDLC มาช่วยในการพัฒนาซึ่งประกอบไปด้วยขั้นตอนการดำเนินงาน
6 ขน้ั ตอนทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาระบบ ดังน้ี

1.1 การค้นหาปัญหาขององค์กร ทำการศึกษารวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเวบ็ ไซต์ขนมลา กำหนดปัญหาและศึกษาความ
เปน็ ไปได้ในการพฒั นาระบบ ทำการลงพื้นท่จี รงิ สอบถามความต้องการจาก วิสาหกิจชุมชนขนมลา บา้ นทา่ ซอม

1.2 การศกึ ษาความเหมาะสม (Feasibility Study) นาํ ขอ้ มลู ที่ได้จากการศกึ ษาเกยี่ วกับปัญหาแล้วมาวิเคราะห์ระบบ
ประกอบการศกึ ษารวบรวมวเิ คราะห์ข้อมูลท่ีเกีย่ วข้องกับการศกึ ษา

1.3 การวิเคราะห์ระบบ ปัจจุบันการดำเนินกิจการทำด้วยการสั่งซื้อสินค้าจากตัวแทนจำหน่ายแล้วจึงนำสินค้า
ไปวางขายทีห่ น้ารา้ นโดยมีการออกใบเสร็จรับเงนิ ให้แกลกู ค้าท่ีมาซอื้ สนิ คา้ ซึง่ มคี วามล่าชา้ และอาจเกิดขอ้ ผิดพลาดได้

1.4 การออกแบบ นำข้อมลู ทีไ่ ด้มาออกแบบเวบ็ ไซตจ์ ำหนา่ ยขนมลา บา้ นทา่ ซอม โดยนำผลการวเิ คราะห์มาออกแบบ
เป็นแนวคิด (Logical Design) DFD ER และออกแบบรายละเอียดเทคโนโลยีที่ใช้ ชนิดฐานข้อมูลการออกแบบ ลักษณะของการนำ
ข้อมูลเขา้ ลกั ษณะรปู แบบรายงานทเ่ี กิด และผลลัพธท์ ไี่ ด้

1.5 การพฒั นาและทดสอบ พัฒนาระบบจากแบบบนกระดาษใหเ้ ป็นระบบตามคุณลกั ษณะทีก่ ำหนดไว้ จากน้ันทำการ
ทดสอบหาข้อผิดพลาด (Testing) เพื่อตรวจสอบความถูกตอ้ ง จนมั่นใจว่าถูกต้องและตรงตามความต้องการ หากพบว่ามีข้อผิดพลาด
เกดิ ขึน้ จากการทำงานของระบบต้องปรับแก้ไขใหเ้ รียบร้อยพร้อมใช้งานกอ่ นนำไปติดตัง้ ใช้จรงิ

1.6 การจัดทำเอกสารในการพฒั นาระบบจะทำเอกสารควบคดู่ ว้ ยกัน เพ่ือลดขอ้ ผิดพลาดการพฒั นาโปรแกรม
2. ประเมนิ ความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อเว็บไซต์จำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ใช้งานเว็บไซต์ จำนวน 30 คน
ซึง่ ประกอบดว้ ย แบบประเมนิ จำนวน 3 ส่วน

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจ
ส่วนท่ี 2 ข้อมลู ความพึงพอใจที่มีต่อการใชง้ านของระบบ
สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ
โดยการนำค่าสถติ เิ ข้ามาใชเ้ ป็น ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน คา่ เฉล่ีย ซง่ึ มเี กณฑ์การแปลความหมายไดด้ งั นี้
ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 4.50–5.00 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมากท่ีสุด
ค่าเฉล่ียระหวา่ ง 3.50–4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก
ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 2.50–3.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจปานกลาง
คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.50–2.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจนอ้ ย
ค่าเฉล่ียระหวา่ ง 1.00–1.49 หมายถึง ไมพ่ ึงพอใจ/ควรปรบั ปรุง

173

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ คร้งั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

ผลการวิจัย

ผลการวจิ ัยเรอื่ งการออกแบบพฒั นาเว็บไซต์วสิ าหกิจชมุ ชนจำหน่ายขนมลา บา้ นทา่ ซอม ในขน้ั ตอนการออกแบบและพัฒนา
ระบบดว้ ยกระบวนการ SDLC ทำใหไ้ ด้ เว็บไซต์ โดยสามารถแบ่งการทำงานเปน็ 2 สว่ น

1. ลกู คา้ สามารถดขู อ้ มูลสนิ ค้า รายละเอยี ดสนิ คา้ วธิ กี ารส่งั ซื้อสนิ ค้า การแจ้งชำระเงนิ หมายเลขพัสดุ และการติดต่อของ
รา้ นได้ ดังแสดงภาพที่ 1-4

ภาพที่ 1 หนา้ เมนหู น้าแรก

ภาพที่ 2 หนา้ เมนรู ้านค้า

ภาพที่ 3 หน้าตะกรา้ สินค้า

174

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครงั้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022

วันศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

ภาพท่ี 4 หน้าเมนสู งั่ ซ้อื และชำระเงนิ
2. ดูแลระบบ สามารถล็อกอินเข้าสู่ระบบ แก้ไขข้อมูลสมาชิก แก้ไขโปรโมชั่นสินค้า แก้ไขข้อมูลส่วนตัว แก้ไขข้อมูล
สินค้า แก้ไขข้อมูลติดต่อเรา แก้ไขข้อมูลสั่งซื้อสินค้า แก้ไขข้อมูลช่องทางการสั่งซื้อสินค้า แก้ไขแจ้งหลักฐานการชำระเงิน แก้ไข
หมายเลขพสั ดุ แกไ้ ขขอ้ มูลผดู้ ูแลระบบ ดังแสดงภาพที่ 5

ภาพที่ 5 หนา้ ผดู้ ูแลระบบ

ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ
เมอื่ ผู้วจิ ยั ได้ออกแบบและพฒั นาระบบเสรจ็ แล้วไดท้ ำการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เข้าใช้งานเว็บไซต์ โดยผใู้ ช้จำนวน 30 คน
โดยแบง่ เป็น 3 ดา้ น

ตารางท่ี 1 ผลประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ช้งานเว็บไซต์ ด้านเน้อื หา

ดา้ นการออกแบบ ค่าเฉลี่ย คา่ เบย่ี งเบน แปลความหมาย
มาตรฐาน
1.เว็บไซตม์ ีความสวยงาม 4.27 มาก
2.ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอกั ษร อา่ นได้ง่าย 4.32 0.76 มาก
3.ภาพประกอบสามารถสอ่ื ความหมายได้ 4.24 0.70 มาก
4.28 0.79 มาก
คะแนนเฉลย่ี รวมท้งั หมด 0.75

จากตารางท่ี 1 ผลประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ชง้ านเวบ็ ไซต์ ดา้ นการออกแบบ พบวา่ ขนาดตวั อกั ษร และรปู แบบตวั อักษร
อ่านได้ง่าย ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 เว็บไซต์มีความสวยงาม ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย
เทา่ กับ 4.27 ภาพประกอบสามารถส่ือความหมายได้ ภาพรวมอยใู่ นระดบั พอใจมาก มคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.24

175

การประชุมวิชาการระดับชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

ตารางท่ี 2 การประเมินความพงึ พอใจของผู้ใช้งานเวบ็ ไซต์ ดา้ นระบบซอ้ื -ขาย

ด้านการซื้อ-ขาย คา่ เฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบน แปลความหมาย
มาตรฐาน
1.เมนูการใช้งานมคี วามชัดเจน 4.30 มาก
2.การส่ังซอ้ื สินค้ามคี วามสะดวก 4.27 0.77 มาก
3.การเรียกดูสินค้าสามารถดูไดง้ ่าย 4.16 0.72 มาก
4.การแจ้งชำระเงนิ 4.27 0.92 มาก
5.การคน้ หาสนิ คา้ 4.30 0.76 มาก
6.ขอ้ มลู สนิ ค้าถกู ต้องและชัดเจน 4.30 0.73 มาก
คะแนนเฉลี่ยรวมทงั้ หมด 4.27 0.73 มาก
0.77

จากตารางที่ 2 ผลประเมินความพงึ พอใจของผ้ใู ชง้ านเว็บไซต์ ด้านการซ้อื -ขาย พบวา่ เมนกู ารใช้งานมีความชดั เจน ภาพรวม
อยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.30 การค้นหาสินค้า ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.30 ข้อมูลสินค้า
ถูกตอ้ งและชัดเจน ภาพรวมอยู่ในระดบั พอใจมาก มคี า่ เฉลี่ย เท่ากับ 4.30 การส่ังซื้อสนิ ค้ามคี วามสะดวก ภาพรวมอยูใ่ นระดบั พอใจมาก
มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.27 การแจ้งชำระเงิน ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.27 การเรียกดูสินค้าสามารถดูได้ง่าย
ภาพรวมอยู่ในระดบั พอใจมาก มคี า่ เฉล่ยี เทา่ กบั 4.16

ตารางท่ี 3 ผลประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชง้ านเว็บไซต์ ภาพรวมการใช้งาน

ภาพรวมการใชง้ าน ค่าเฉล่ีย คา่ เบย่ี งเบน แปลความหมาย
มาตรฐาน
1.ช่อื ของเว็บไซตส์ อ่ื ความหมายได้ดี 4.30 มาก
2.ความงา่ ยต่อการใช้งานของเว็บไซต์ 4.19 0.69 มาก
3.ความพึงพอใจภาพรวมดา้ นความสวยงามและการออกแบบ 4.14 0.80 มาก
4.21 0.74 มาก
คะแนนเฉล่ยี รวมทงั้ หมด 0.74

จากตารางที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผใู้ ชง้ านเว็บไซต์ ภาพรวมการใช้งาน พบว่า ชอื่ ของเวบ็ ไซต์สื่อความหมาย
ไดด้ ี ภาพรวมอย่ใู นระดับพอใจมาก มีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 4.30 ความงา่ ยตอ่ การใชง้ านของเวบ็ ไซต์ ภาพรวมอยใู่ นระดบั พอใจมาก มีค่าเฉลี่ย
เทา่ กบั 4.19 ความพึงพอใจภาพรวมด้านความสวยงามและการออกแบบ ภาพรวมอยใู่ นระดับพอใจมาก มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 4.14

สรปุ และอภิปรายผล

สรปุ
ผลการวิจัยเรื่องการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์วิสาหกิจชุมชนจำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม ระบบถูกพัฒนาขึ้นตาม
กระบวนการ SDLC ทำให้ได้ระบบที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1) ผู้ดูแลระบบ สามารถ
ล็อกอินเข้าสู่ระบบ แก้ไขขอ้ มูลสมาชิก แก้ไขโปรโมชั่นสินค้า แก้ไขข้อมูลส่วนตวั แก้ไขข้อมูล สินค้า แก้ไขข้อมูลติดต่อเรา แก้ไขขอ้ มูล
สั่งซื้อสนิ ค้า แก้ไขข้อมลู ช่องทางการสั่งซื้อสินค้า แก้ไขแจ้งหลักฐานการชำระเงิน แก้ไขหมายเลขพัสดุ แก้ไขข้อมูลผู้ดูแลระบบ 2) ผู้ใช้
สามารถดูข้อมูลสินค้า รายละเอียดสินค้า วิธีการสั่งซื้อสินค้า การแจ้งชำระเงิน หมายเลขพัสดุ และการติดต่อของร้าน และผลการ
ประเมินความพงึ พอใจของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ระบบสามารถแสดงสินค้าไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและรองรับการสั่งซ้ือแบบออนไลน์ได้
อย่างสะดวก ดังผลการประเมินด้านการออกแบบ พบว่า ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอักษร อ่านได้ง่าย ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจ
มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 เว็บไซต์มีความสวยงาม ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 ภาพประกอบสามารถส่ือ
ความหมายได้ ภาพรวมอย่ใู นระดบั พอใจมาก มีคา่ เฉล่ียเท่ากบั 4.24 ดา้ นการซ้อื -ขาย พบวา่ เมนกู ารใช้งานมคี วามชดั เจน ภาพรวมอยู่
ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 การค้นหาสินค้า ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 สรุปได้ว่าระบบ
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในด้านการสั่งซื้อแบบออนไลน์เป็นเรื่องที่ง่ายมากข้ึน
ประหยดั เวลา และมีความสะดวกรวดเร็ว ทำใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ ต่อผ้ใู ชง้ าน

176

การประชุมวชิ าการระดับชาติ ครง้ั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

อภปิ ราย
การออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซต์วสิ าหกจิ ชมุ ชนจำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม ตามวงจรการพฒั นาระบบ SDLC ซ่ึงมีข้ันตอน
การดำเนนิ งาน 6 ข้ันตอน ทำให้ระบบสามารถทำงานได้ตามกระบวนการทวี่ างไว้ แบ่งผ้ใู ช้งานออกเป็น 2 สว่ น คือ สว่ นของผู้ดแู ลระบบ
และส่วนของผู้ใช้ โดยออกแบบให้ครอบคลุมกับผู้ใช้ระบบเพื่อประสิทธิภาพในการใช้งานผู้ใช้ระบบมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการ
ประเมินความพึงพอใจการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์วิสาหกิจชุมชนจำหน่ายขนมลา บ้านท่าซอม จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน
โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 2 ส่วนคือ ผู้ดูแลระบบและผู้ใช้ โดยเรียงผลการประเมินมากที่สุด 5 อันดับที่น่าสนใจ ดังนี้ 1) ขนาด
ตัวอักษร และรูปแบบตัวอกั ษร อ่านได้ง่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 อยู่ในระดับมาก 2) เมนูการใช้งานมีความชดั เจน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.30 อยู่ในระดับมาก 3) การค้นหาสินคา้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 อยู่ในระดบั มาก 4) ข้อมูลสินคา้ ถูกต้องและชัดเจน มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั
4.30 อยูใ่ นระดบั มาก 5) ชือ่ ของเว็บไซตส์ ่ือความหมายได้ดี มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.30 อยู่ในระดบั มาก ระบบมีความสะดวกในการซื้อขาย
สินค้าและสามารถแสดงผลได้สวยงามและใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังจะเห็นจาก ความพึงพอใจภาพรวมด้านความสวยงามและ
การออกแบบ ภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 สอดคล้องกับงานวิจัยของ ขนิษฐา ชาปฏิ อุบลวรรณ ลิ้มสกุล
และปัณฑ์ชณิช เพ่งผล (2562) ที่ได้พัฒนาระบบการรับสั่งทำขนมไทยบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
และเหมาะกบั กระบวนการทำงานโดยระบบดงั กลา่ วไดน้ ำไปใชแ้ ละแก้ปญั หาทางธรุ กิจได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ และงานวจิ ัยของ สริ ินณา
ชมชื่น อุษา สิทธิ์สงวน และรัตนา ลีรุ่งนาวารัตน์ (2562) ที่ได้พัฒนาระบบจำหน่ายเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
มคี วามพงึ พอใจของผูใ้ ชร้ ะบบจากจากกล่มุ ตัวอยา่ งผลการประเมินมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มาก

ขอ้ เสนอแนะ

ข้อเสนอแนะเพอื่ นำผลการวิจัยไปใช้
ควรเพิ่มการให้ข้อมูลและราคาสินค้าเป็นภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มโอกาสการจำหน่ายสินค้าให้กับกลุ่มชาวต่างประเทศและ
ออกแบบ สว่ นของหนา้ แรกผูใ้ ช้ใหม้ ขี อ้ มลู ของร้านให้มากกว่านี้

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครงั้ ถดั ไป
สามารถนำเว็บไซต์ไปประยุกต์ใช้ในด้านของการทำให้ร้านเป็นที่รู้จักมากขึ้น และเป็นช่องทางหนึ่งที่สามารถสร้างรายได้
เพม่ิ ขน้ึ ให้กบั ทางร้าน

กิตติกรรมประกาศ

งานวจิ ัยน้สี ำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดเี พราะได้รบั ความอนุเคราะหจ์ ากอาจารย์ทป่ี รกึ ษาโครงงานท่ีได้กรุณาใหค้ ำปรึกษา คำแนะนำ
เกีย่ วกับการออกแบบและพฒั นาเว็บไซตว์ สิ าหกจิ ชุมชนขนมลา ขอขอบคณุ ประธานกล่มุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนบา้ นขนมลา บา้ นท่าซอม อำเภอ
หัวไทร จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทีอ่ ำนวยความสะดวกในการรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือจัดทำเวบ็ ไซต์วสิ าหกิจชุมชนขนมลาในครง้ั นี้

เอกสารอ้างองิ

เกียรติพงษ์ อดุ มธนะธรี . (2562). วงจรการพฒั นาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC). สืบค้นจาก rattanatat
ขนษิ ฐา ชาปฏิ อุบลวรรณ ลมิ้ สกลุ และปัณฑ์ชณชิ เพ่งผล. (2562). การพฒั นาระบบการรบั ส่งั ทำขนมไทยบนเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต.
ธราวฒุ ิ ชยั ศร.ี (2560). Xampp .สืบคน้ จาก https://www.mindphp.com/-xampp
บญุ ส่ง ช่วยแก้ว. (2564). บทสมั ภาษณป์ ระธานวสิ าหกิจชมุ ชนกลุ่มขนมลาบา้ นท่าซอม. สมั ภาษณ์เมื่อ. 18 มกราคม 2564.
เบญจมาศ ลาวขนุ . (2563). Wordpress .สบื ค้นจาก https://wpthaiuserhttp//wpthaiuser.com/wordpress
เมลานี เพอร์กินส.์ (2555). Canva. สบื คน้ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Canva

วารสารครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 7 (2), 1-11.
วิชัย กาญจนพฒั นา. (2560). การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ. สืบคน้ จาก https://images-se-ed.com
สิรินณา ชมชื่น อุษา สทิ ธ์ิสงวน และรตั นา ลีรงุ่ นาวารตั น.์ (2562). การพฒั นาระบบจำหนา่ ยเส้อื ผ้าแฟชน่ั ผา่ นระบบพาณชิ ย์

อิเลก็ ทรอนิกส์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี, 7 (2), 71-83.
เอือ้ มเดอื น ถิน่ ปัญจา. (2546). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนการสอนของอาจารย์และนักศึกษา วิทยาลยั เทคโนโลยี

อตุ สาหกรรมศรีสงคราม มหาวทิ ยาลยั นครพนม. สกลนคร: สำนักงานบัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร

177

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

การพัฒนาผลิตภณั ฑ์สบจู่ ากน้ำมนั มะพรา้ วของอำเภอบ้านแพว้ จังหวัดสมทุ รสาคร
Product Development of Coconut Oil Soap in Samut Sakhon Province

สิทธิศักดิ์ ฮกชนุ , มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม
วนั วิสาข์ บุตรชา, มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม

Email: [email protected]

บทคัดย่อ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่จากผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าวของจังหวดั สมุทรสาคร วัตถุประสงค์การวิจัยคอื 1. เพื่อพัฒนาธุรกจิ
ผลิตภัณฑ์สบูน่ ำ้ มันมะพร้าว 2. เพื่อวัดความพึงพอใจหรือการตัดสินใจซือ้ สบู่น้ำมันมะพร้าวเพือ่ การพาณชิ ย์ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็น
ผลิตภัณฑ์แปรรูป เพื่อพัฒนาธุรกิจผลิตภัณฑ์สบู่จากน้ำมันมะพร้าว ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เกษตรกร 10 ราย ที่มี
ความรู้เรื่องมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสาคร ได้นำข้อมูลมาเปรยี บเทียบความสอดคล้องและใช้การวิจัยเชงิ ปริมาณ เพื่อวัดความพึงพอใจ
หรือตัดสินใจซื้อสบู่จากน้ำมันมะพร้าวเพื่อการค้าในจังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ แบ่งเป็น 4 ด้าน 1. ด้าน
ผลิตภัณฑ์ 2. ด้านราคา 3. ช่องทางการจัดจำหน่าย 4. การส่งเสริมการขาย โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วัดประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์
ได้แก่ กล่มุ ทีไ่ มท่ ราบขนาดประชากรที่แน่นอน ผู้วจิ ยั ใชว้ ิธสี ุม่ ตัวอยา่ งเฉพาะ โดยแจกแบบสอบถามให้ 300 คน และใช้ข้อมูลวิเคราะห์
สถติ เิ ชิงพรรณนา เช่น ความถี่,รอ้ ยละ,คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวจิ ัยพบวา่ ผลวจิ ัยเชิงคุณภาพผู้ให้สัมภาษณ์ใหส้ มั ภาษณไ์ ปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับการใชว้ ิจยั เชงิ ปรมิ าณ
โดยมี ภาพรวมจากการวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพความพึงพอใจในดา้ นต่างๆ มรี ะดับความพงึ พอใจท่มี าก (x̄ = 4.18) เม่อื พิจารณาเป็นราย
ด้าน พบว่า ประสิทธิภาพความพึงพอใจในด้านส่งเสริมการตลาด มีระดับความพึงพอใจที่มากที่สุด (x̄ = 4.25) รองลงมาคือ ด้าน
ช่องทางการจัดจำหน่าย มีระดับความพึงพอใจที่มาก (x̄ = 4.20) ลำดับถัดมา ด้านราคา มีระดับความพอใจที่มาก คือ (x̄ = 4.19 )
สดุ ทา้ ย ดา้ นผลติ ภัณฑม์ ีระดับความพงึ พอใจที่มาก (x̄ = 4.07) ตามลำดบั
คำสำคัญ: ผลิตภณั ฑ์ สบู่ นำ้ มนั มะพรา้ ว แปรรูป

ABSTRACT

The purposes of the study were as follows: 1) to develop coconut oil soap products business, 2) to
measure satisfaction or purchase decision of coconut oil soap for trade in Samut Sakhon. This product is a processed
product for developing the coconut oil soap business. This research is a qualitative research by interviewing 10
farmers with knowledge of coconuts in Samut Sakhon. We used the data to compare consistency and brought
quantitative research to measure satisfaction or decision to buy coconut oil soap for trade in Samut Sakhon. The
satisfaction assessment form was used, divided into 4 aspects i.e., 1) Product, 2) Price, 3) Distribution channel, and
4) Sales promotion. The sample group used to measure the effectiveness of the product was infinite population by
purposive sampling, and totally 300 people were given the questionnaires. We used descriptive statistical analysis
such as percentage, mean, and standard deviation.

The results revealed that the qualitative research of the interviewees was in the same direction and was
consistent with the use of quantitative research. An overview from the analysis of satisfaction efficiency in various
fields had a high level of satisfaction (x=̄ 4.18), When considering each aspect, it was found that the satisfaction
efficiency in marketing promotion was the highest (x=̄ 4.25), the satisfaction level of distribution channels was high
(x=̄ 4.20), the satisfaction level of price was high (x=̄ 4.19), and the satisfaction level of sales promotion was high
(x=̄ 4.07), respectively.
Keywords: Products, Soap, Coconut Oil, Processed

178

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

บทนำ

มะพร้าวเป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่งของประเทศไทยซึ่งจังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดหนึ่งมีพื้นปลูกมะพร้าวที่
สำคัญโดยเอกลกั ษณ์ของน้ำมะพร้าว มีความหอมหวาน เป็นธรรมชาติ พื้นที่ปลูกสว่ นใหญ่ในอำเภอบ้านแพ้วเนื่องจากดิน มีลักษณะท่ี
เรียกว่า ลักจืดลักเค็ม(สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสมุทรสาคร) จังหวัดสมทุ รสาคร มีพื้นท่ีท้ังหมด 545,216 ไร่ โดยอำเภอเมืองมพี ้ืนที่
307,525 ไร่ อำเภอกระทุ่มแบนมีพื้นที่ 84,547 ไร่ และอำเภอบ้านแพ้วมีพื้นที่ 153,144 ไร่ ศักยภาพในการปลูกมะพร้าวน้ำหอม ปี
พ.ศ.2561 ใช้พนื้ ที่ในการปลกู มะพร้าวนำ้ หอม 20,972 ไร่ มีผลผลิตเฉล่ีย 4,800 กก./ไร่ ใชต้ ้นทนุ ในการผลติ 24,000 บาท ผลผลิตรวม
ทั้งหมดที่ได้ 100,665.6 ตัน ราคาเฉลี่ย 9,000 บาท/ตัน มูลค่าผลผลิต 905.99 ล้านบาท (เอื้องพร นพคุณ, 2562) จากการลงพื้นท่ี
สมั ภาษณ์เกษตรกรผู้ปลกู มะพร้าวขายส่งใหก้ บั พ่อค้าคนกลางทำให้มมี ะพรา้ วเหลอื จากการถกู คดั ออกจากการขาย เกดิ จากปัญหา เช่น
มะพรา้ วไมม่ ีนำ้ มะพรา้ วลูกเล็กเกนิ ไป ทำให้เหลอื มะพร้าวจำนวนหนงึ่ ทไี่ ม่ไดใ้ ช้ให้เกิดประโยชน์มากนกั ปัญหาท่ีพบต่อเนื่องการแปรรูป
มะพร้าว คือ ยังไม่มีช่องทางการตลาดสินค้าแปรรูปอีกทั้งมะพร้าวของเกษตรกรได้รับผลกระทบ ทั้งด้านปริมาณและราคา ทั้งนี้เป็น
แนวทางในการเพิม่ มลู คา่ ใหแ้ กส่ นิ คา้ เกษตร โดยการแปรรูปสบ่จู ากนำ้ มนั มะพรา้ ว จงึ เป็นทางเลือกหนึง่ ท่ีเกษตรกรสามารถนำมาพัฒนา
ให้เป็นผลิตภัณฑ์ได้และเนื่องจากผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 การดำเนินชีวิตในยุค next normal จะ
มุง่ เน้นเร่อื งความสะดวก ปลอดภัยและสุขอนามัยเปน็ สำคญั ทำให้ตอ้ งมีการปรบั ตัวและแก้ไขปัญหาการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ จากประเด็น
ปญั หาทพ่ี บข้างต้นนำสกู่ ารวจิ ัย เรื่อง การพัฒนาผลติ ภณั ฑส์ บจู่ ากนำ้ มันมะพร้าวเพื่อการพาณิชย์ของจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อแก้ปัญหา
การเหลือของมะพร้าวที่ถูกคัดออกเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มโดยให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะพร้าวน้ำหอมสร้างรายได้เพิ่มให้เกษตรกรผู้
ปลกู มะพรา้ วน้ำหอม จงั หวัดสมทุ รสาคร หากงานวจิ ยั นีส้ ำเรจ็ จะชว่ ยใหบ้ รรลุจดุ ประสงค์ท่เี ราตัง้ ไว้เกดิ ประโยชน์กับภาคการเกษตร ใน
การพัฒนาผลิตภณั ฑแ์ ละทำให้ผลติ ภัณฑจ์ ากมะพรา้ วเปน็ ท่ีร้จู ักมากขึน้

วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั

1. เพ่ือพัฒนาผลิตภณั ฑส์ บ่จู ากนำ้ มนั มะพร้าวของอำเภอบา้ นแพว้ จงั หวดั สมทุ รสาคร
2. เพ่ือวัดความพงึ พอใจการซอ้ื สบู่จากนำ้ มนั มะพรา้ วของอำเภอบ้านแพว้ จังหวดั สมุทรสาคร

แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

1. แนวคดิ เก่ียวกบั การเพิ่มมลู คา่ กล่าวว่า มูลคา่ เพ่ิม คือ การตรวจสอบส่ิงที่ได้รับจากการสรา้ งคุณคา่ (Benefit-Cost) ซ่ึง
มีทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กล่าวโดยสรุป การเพิ่มมูลค่าโดยการสรา้ งเสริมสิ่งใหม่เข้าไปทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆมาแข่งขนั กับ
คู่แข่ง ทำใหเ้ กดิ ผลติ ภัณฑ์ทีห่ ลากหลายมากขน้ึ

2. ทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ (Customer Satisfaction Theory) การวัดความพึงพอใจสามารถมองได้
หลายมุมมอง ทั้งในเรื่องของการวัดทางตรงหรือทางอ้อมเป้าหมายของความพึงพอใจ รูปแบบเครื่องมือที่ใช้ในการวัดความพึงพอใจ
กล่าวโดยสรปุ คือ ความพึงพอใจของผู้บริโภคเป็นสิง่ ที่มคี วามสำคญั สำหรบั ธุรกจิ สาเหตทุ ที่ ำให้ความพงึ พอใจของลกู คา้ มีความสำคัญคือ
การรกั ษาลกู ค้าไวใ้ ชต้ ้นทนุ นอ้ ยกวา่ การหาลูกค้าใหม่ ดังนนั้ แล้วการ ดึงลูกค้าให้อยู่กบั ธรุ กจิ ใหน้ านทส่ี ดุ ได้ โดยการทำให้ลูกค้าพึงพอใจ
ในสนิ ค้าและบริการจะช่วยลดต้นทุนของธุรกิจลงได้ นอกจากนี้แลว้ ความพงึ พอใจของลูกค้ายังเปน็ ตัวชีว้ ดั ทสี่ ำคัญของคุณภาพในสินค้า
และบริการ ซึ่งมปี ระโยชนใ์ นการนำมาใช้วางแผนเพ่อื พฒั นาต่อไป

3. ทฤษฎีส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) ส่วนประสมการตลาด ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ (Product) การจัด
จำหน่าย (Place) การ กำหนดราคา (Price) การส่งเสริมการตลาด (Promotion) เราสามารถเรียกส่วนประสมทางการตลาดได้อีก
อย่างหนึ่งว่า 4’Ps ส่วนประกอบทั้ง 4 ตัวนี้ ทุกตัวมีความเกี่ยวพันกัน P แต่ละตัวมีความสำคัญเท่าเทียมกัน แต่ขึ้นอยู่กับผู้บริหาร
การตลาดแต่ละคนจะวางกลยุทธ์ ส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการดำเนินงานการตลาดเป็น
ปัจจยั ท่กี จิ การสามารถควบคุมได้ กิจการธุรกจิ จะต้องสร้างสว่ นประสมการตลาดทเ่ี หมาะสมในการวางกลยุทธท์ างการตลาด

สุดารัตน์ ตรีเพชรกุล กนกวรรณ พันธุ์ดี และแสงชัย เอกประทุมชัย (2556) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การใช้วัสดุเหลือใช้จาก
กระบวนการผลิตน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์เป็นส่วนผสมในการผลิตสบู่ในกระบวนการผลิตน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์มีครีมโปรตีนและน้ำทิ้ง
เป็นของเหลือใช้ที่เกิดขึ้นประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณน้ำและน้ำกะทิทั้งหมดที่ใช้ในกระบวนการผลิตการศึกษานี้จึงสนใจพัฒนา
ผลติ ภัณฑ์สบู่จากของเหลอื ใช้

กระแสร์ชล นิสานารถ (2558) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนากระบวนการสกัดน้ำมะพร้าวบริสุทธิ์แบบบีบเย็นและการ
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนากระบวนการสกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์แบบบีบเย็นและศึกษาหา
ความเป็นเป็นไปได้ในการนำไปใช้ในอาหาร การสกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์จากน้ำกะทดิ ้วยวิธที างชีวภาพ โดยใช้เชื้อ Lactobacillus
plantarum สามารถสกัดน้ำมันมะพรา้ วได้ใกล้เคียงกบั การสกัดโดยใชเ้ ครอ่ื งบบี อัดแบบสกรูรว่ มกบั การใชเ้ อนไซม์ คือ 15-16%n แต่มี
ตน้ ทุนการผลติ ตำ่ กวา่ ประมาณ 3 เทา่ ดังนั้นวธิ ีการสกัดนำ้ มนั มะพร้าวดว้ ยวิธที างชีวภาพ จึงเปน็ วิธีท่ีเหมาะสมทีส่ ุด

179

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565
พรสนอง วงศส์ ิงหท์ อง (2545) กลา่ ววา่ การพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม่ หรือการเปล่ียนแปลงผลติ ภัณฑ์ท่ีมีอยู่เดิม จะเร่ิมต้นด้วย
ความคิดที่ไขว้เขว ความคิดอาจมาจากใครก็ได้ในองค์กรที่ไม่ได้มีความรับผิดชอบต่อความคิดใหม่ๆเลย แต่นักออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ดี
มกั จะมแี นวโน้มที่จะเปน็ ผทู้ ี่มีความคิดใหม่ๆบ่อยคร้ังเหมอื นกนั ทคี่ วามคิดมาจากนอกองค์กร เช่น เมื่อนักคิดค้นเขามาเสนอขายความคิด
ให้กับบรษิ ทั ความคดิ เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ บางทีอาจเกิดข้ึนในงานวจิ ยั ผลิตภัณฑ์นัน้ เองและบอ่ ยครง้ั เป็นผลพลอยไดข้ องการวิจัยเพ่ือ
วตั ถุประสงคอ์ ย่างอื่น

วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั

การวิจยั คร้งั นี้ เปน็ การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพและเชิงปรมิ าณเพ่ือศกึ ษาเร่ือง การพัฒนาผลติ ภณั ฑส์ บจู่ ากน้ำมนั มะพร้าวของอำเภอ
บ้านแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร โดยใช้เคร่ืองมือการวิจยั แบบสอบถามและทำการวิเคราะห์ขอ้ มลู ด้วยวธิ ที างสถติ ิ

กลมุ่ ประชากรและวธิ ีการสมุ่ ตวั อย่าง
ขอบเขตดา้ นประชากร แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม คอื
1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คือ เกษตรกรที่ทำสวนมะพร้าวจังหวัดสมุทรสาครจำนวน 10
คน
2. กล่มุ ตัวอยา่ งทใี่ ช้วดั ประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์ คือ กลุ่มที่ไมท่ ราบขนาดประชากรทแ่ี น่นอน ผูว้ จิ ัยใช้วธิ ีการสุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง โดยการแจกแบบสอบถามจำนวน 300 คน
เครอื่ งมอื ใชใ้ นการวจิ ัย
เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั การพฒั นาผลิตภัณฑ์สบจู่ ากน้ำมนั มะพรา้ วอำเภอบา้ นแพว้ จังหวดั สมทุ รสาครประกอบดว้ ยการเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู ของกลมุ่ ตวั อย่างและการแจกแบบสอบถามจำนวน 400 คน แบบสมั ภาษณแ์ ละแบบประเมนิ วดั ประสทิ ธภิ าพทต่ี รวจสอบ
และแก้ไขเรยี บร้อยแล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒจิ ำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบแล้วนำมาวิเคราะห์หาค่าความเที่ยงตรงและสอดคล้อง เพื่อหาความ
สอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ด้วยดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objectives Congruence:) หรือ IOC โดย
กำหนดเกณฑ์นำแบบสัมภาษณ์และแบบประเมินวัดประสิทธิภาพที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขและนำไปวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม spss
(Statistical Package for the Social Sciences) หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถาม ซึ่งค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)
จะตอ้ งมคี ่า 0.5 ขน้ึ ไป ใช้วิธกี ารสุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจงและสถติ เิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ คา่ ร้อยละ (Percentage)
ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

ผลการวจิ ัย

ผลการวจิ ัยเรือ่ งการพฒั นาผลิตภัณฑก์ ารแปรรปู สบจู่ ากน้ำมันมะพร้าวของจังหวดั สมุทรสาคร มีวตั ถุประสงค์ ดงั นี้
1. เพ่อื พัฒนาการดำเนินธุรกิจผลิตภณั ฑ์สบจู่ ากนำ้ มันมะพร้าว

กระบวนการพัฒนาสบู่จากนำ้ มนั มะพรา้ วและขน้ั ตอนการผลิตสบกู่ อ้ นจากนำ้ มัน มะพรา้ วบรสิ ทุ ธ์ิ

ภาพที่ 1 อปุ กรณ์ในการผลติ สบู่

180

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

ภาพท่ี 2 วธิ ีทำผลิตภัณฑส์ บู่

ภาพท่ี 3 วธิ ีทำผลิตภัณฑส์ บจู่ ากนำ้ มนั มะพร้าว

ภาพที่ 4 ภาพผลติ ภณั ฑ์สบู่

ภาพท่ี 5 ฉลากสนิ ค้า

181

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครงั้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

2. เพ่อื วดั ความพอใจหรอื ตดั สนิ ใจซื้อสบ่จู ากน้ำมันมะพรา้ วเพือ่ การพาณชิ ยข์ องจงั หวัดสมุทรสาคร
ได้ทำการวิจยั แบบเชิงปรมิ าณในการทำแบบสสอบถามวัดความพึงพอใจในด้านต่างๆ 1. ด้านผลิตภณั ฑ์ 2. ด้านราคา 3.

ด้านช่องทางการจดั จำหน่าย 4. ดา้ นสง่ เสรมิ การขาย โดยการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน และตรวจสอบคณุ ภาพรว่ มกับขอ้ มูลการวิจัย
เชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์และใช้ข้อมูลในการตรวจสอบความสอดคล้องผลวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพคะแนน และตรวจสอบ
คุณภาพร่วมกับข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์และใช้ข้อมูลในการตรวจสอบความสอดคล้องผลวิจัยเชิงปริมาณและ
คณุ ภาพ

ตารางที่ 1 การวเิ คราะห์ประสทิ ธภิ าพความพงึ พอใจ

ประสทิ ธภิ าพโดยรวม x̄ S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ

ด้านผลติ ภัณฑ์ 4.07 0.386 มาก
ดา้ นราคา
ด้านชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย 4.19 0.444 มาก
ด้านส่งเสรมิ การตลาด
4.20 0.403 มาก
ภาพรวม
4.25 0.452 มาก

4.18 0.267 มาก

จากตาราง พบว่า ภาพรวมจากการวเิ คราะห์ประสทิ ธิภาพความพึงพอใจในดา้ นตา่ งๆ มีระดับความพงึ พอใจทีม่ าก (x̄ =4.18,

S.D= 0.267) เม่อื พิจารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ประสิทธิภาพความพงึ พอใจในด้านส่งเสริมการตลาด มีระดับความพงึ พอใจทม่ี ากทีส่ ุด (x̄

=4.25, S.D. =0.452) รองลงมาคือ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีระดับความพึงพอใจที่มาก (x̄ =4.20, S.D. =0.403) ลำดับถัดมา

ด้านราคา มีระดับความพอใจที่มาก คือ (x̄ =4.19, S.D.=0.444) สุดท้าย ด้านผลิตภัณฑ์มีระดับความพึงพอใจที่มาก (x̄ =4.07, S.D.
0.386) ตามลำดบั

ผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 1-10 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่จากน้ำมันมะพร้าวแล้วยัง
มองเหน็ คณุ สมบตั สิ ำคญั ของการเป็นผู้พัฒนาผลิตภณั ฑส์ บูจ่ ากน้ำมันมะพรา้ วมีความรแู้ ละผลิตสบู่เป็นแล้วยังอธิบายการแปรรูปสบู่จาก
น้ำมันมะพรา้ วไปในทิศทางเดยี วกัน และการเตรียมความพร้อมก่อนการปฏิบัติงานส่วนแนวทางการขออนญุ าตการจดแจ้งผลิตภัณฑ์ มี
ดังน้ี 1. ยื่นเป็นเอกสาร 1.1 ศูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภาพเบ็ดเสร็จ (OSSC) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1.2 สำนักงาน
สาธารณสุขจงั หวดั ทกุ จงั หวัด 2. ย่ืนผ่านระบบอนิ เทอร์เนต็ มีการส่งเสริมการตลาด แล้วยงั เหน็ ถงึ คุณสมบัตขิ องสบ่จู ากนำ้ มันมะพร้าวที่
เห็นพ้องกนั และ เห็นองค์ประกอบหลักท่สี ำคญั ในการพฒั นาผลติ ภัณฑส์ บู่จากน้ำมนั มะพร้าว

สรุปผลการวิจัย

การทำการวิจัยทม่ี วี ตั ถุประสงค์เพอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑ์สบู่จากน้ำมนั มะพร้าวของอำเภอบา้ นแพ้ว จังหวดั สมุทรสาคร และเพื่อ
วัดความพึงพอใจในซื้อสบู่จากน้ำมันมะพร้าวเพื่อการพาณิชย์ของจังหวัดสมุทรสาครได้ทำการวิจัยแบบเชิงปริมาณในการทำ
แบบสสอบถามวัดความพึงพอใจในด้านต่างๆ 1. ด้านผลิตภัณฑ์ 2. ด้านราคา 3. ด้านช่องทางการจดั จำหนา่ ย 4. ด้านส่งเสริมการขาย
โดยการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน และตรวจสอบคุณภาพร่วมกับข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์และใช้ข้อมูลในการ
ตรวจสอบความสอดคล้องผลวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพคะแนน และตรวจสอบคุณภาพร่วมกับข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการ
สมั ภาษณแ์ ละใช้ขอ้ มลู ในการตรวจสอบความสอดคล้องผลวิจัยเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ

สามารถสรุปเก่ียวกับ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้ว่า เป็นการสร้างผลกำไรให้มากขึ้น ให้มีผลิตภัณฑ์ที่มีความแปลกใหม่
แตกตา่ งไปจากเดิมเพอื่ เปน็ การสร้างสถานภาพการแข่งขนั ลดการเส่ยี งภยั ทางการตลาดทลี่ ูกคา้ เส่ือมความนยิ มลง เป็นการสร้างโอกาส
ใหม่ในการขยายช่องทางการตลาดมากย่ิงขึน้ และการท่ีเราได้วัดความพึงพอใจหรอื การตัดสินใจซื้อไดก้ ล่าวไวว้ ่า การวัดความพึงพอใจ
นัน้ สามารถทำไดห้ ลายวธิ ีดงั ตอ่ ไปนี้

1. การใช้แบบสอบถาม โดยผูอ้ อกแบบสอบถาม ต้องการทราบความคิดเห็นซึ่งสามารถกระทำได้ในลักษณะกำหนดคำตอบ
ใหเ้ ลอื ก หรือตอบคำถามอิสระ คำถามดังกล่าว อาจถามความพอใจในดา้ นตา่ ง ๆ เพือ่ ใหผ้ ู้ตอบทกุ คนมาเปน็ แบบแผนเดยี วกัน มักใช้ใน
กรณีที่ตอ้ งการขอ้ มูลกลมุ่ ตัวอยา่ งมาก ๆ วิธนี น้ี บั เปน็ วิธีท่ีนยิ มใช้กนั มากท่สี ดุ ในการวัดทัศนคติ รปู แบบของแบบสอบถามจะใช้มาตรวัด
ทัศนคติ ซงึ่ ทีน่ ยิ มใช้ในปจั จุบันวธิ หี นึ่ง คือ มาตราสว่ นแบบลเิ คริ ์ท ประกอบด้วยขอ้ ความทีแ่ สดงถงึ ทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้าอย่าง
ใดอย่างหนง่ึ ท่มี ีคำตอบท่ีแสดงถงึ ระดับความร้สู กึ 5 คำตอบ เช่น มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ุด

2. การสัมภาษณ์ เปน็ วิธกี ารทผ่ี ู้วจิ ัยจะต้องออกไปสอบถามโดยการพดู คยุ โดยมีการเตรยี มแผนงานล่วงหนา้ เพือ่ ให้ได้ข้อมูล
ท่ีเปน็ จรงิ มากทสี่ ุด

182

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

3. การสงั เกต เป็นวิธีวัดความพงึ พอใจ โดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเปา้ หมายไม่ว่าจะแสงดออกจากการพดู จา กริยา
ท่าทาง วิธีนี้ต้องอาศัยการกระทำอย่างจริงจัง และสังเกตอย่างมีระเบยี บแบบแผน วิธีนี้เป็นวิธีการศึกษาที่เก่าแก่ และยังเป็นที่นิยมใช้
อย่างแพร่หลายจนถงึ ปัจจบุ ัน

จากการศกึ ษาการวดั ความพึงพอใจ สรุปได้ว่าการวัดความพึงพอใจเปน็ การบอกถึงความชอบของบุคคลทีม่ ีต่อสิ่งหนึง่ สิง่ ใด
ซึ่งสามารถวดั ไดห้ ลายวธิ ี การสมั ภาษณ์ การใชแ้ บบสอบถามความคดิ เห็น การใชแ้ บบสำรวจความรสู้ ึกทำให้เราไดร้ ถู้ ึงความพึงพอใจว่า
ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เราทำออกมาเป็นที่สนใจของผู้ซื้อมากแค่ไหนเราก็นำข้อเสนอแนะและข้อมูลจากการวัดความพึงพอใจนำมาปรับปรงุ
แก้ไขต่อไป

อภิปรายผลการวจิ ัย

จากการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณโดยการแจกแบบสอบถามและเชิงคุณภาพโดยการแจกแบบสัมภาษณ์ สามารถอภิปราย
ผลการวจิ ยั ได้ดังน้ี

ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณโดยการแจกแบบสอบถาม
พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 300 คน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ ชาย จำนวน 155 คน คิดเป็นร้อยละ
51.7 รองลงมาคือ เพศหญิง จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 48.3 ภาพรวมจากการวิเคราะห์ประสิทธภิ าพความพึงพอใจในด้านต่างๆ
มีระดับความพึงพอใจที่มาก (X =4.18, S.D= 0.267) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ประสิทธิภาพความพึงพอใจในด้านส่งเสริม
การตลาด มีระดบั ความพึงพอใจท่ีมากทส่ี ุด (X=4.25, S.D.=0.452) รองลงมาคือ ดา้ นชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย มีระดบั ความพึงพอใจท่ี
มาก (x=4.20, S.D.=0.403) ลำดับถัดมา ด้านราคา มีระดับความพอใจท่มี าก คือ (x=4.19, S.D.=0.444) สุดท้าย ด้านผลิตภัณฑม์ รี ะดบั
ความพึงพอใจที่มาก (x=4.07, S.D. 0.386) ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับ ทฤษฎีส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix ) ส่วนประสม
การตลาด ประกอบดว้ ย ผลิตภัณฑ์ (Product) การจัดจำหน่าย (Place) การ กำหนดราคา (Price) การสง่ เสริมการตลาด (Promotion)
จำลอง ศิริสุข (2554) ศึกษาวิจัย เรื่องสบู่สมุนไพรจากกลีเซอรีนธรรมชาติน้ี จัดทำขึ้นเพื่อเรียนรู้วิธีการทำสบู่ เพราะสบู่เป็นของใช้ที่
จำเป็นในชีวติ ประจำวัน
ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพโดยการแจกแบบสมั ภาษณ์
ผู้ให้สัมภาษณ์คนท่ี 1-10 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการพัฒนาผลิตภัณฑ์สบู่จากน้ำมันมะพร้าวแล้วยัง
มองเห็นคุณสมบตั สิ ำคัญของการเป็นผพู้ ัฒนาผลิตภณั ฑส์ บจู่ ากนำ้ มนั มะพร้าวมีความร้แู ละผลติ สบู่เป็นแล้วยังอธิบายการแปรรูปสบู่จาก
น้ำมันมะพร้าวไปในทิศทางเดยี วกัน และการเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการปฏิบัติงานสว่ นแนวทางการขออนุญาตการจดแจ้งผลิตภัณฑ์ มี
ดังน้ี 1. ยื่นเป็นเอกสาร 1.1 ศูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภาพเบ็ดเสร็จ (OSSC) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1.2 สำนักงาน
สาธารณสขุ จังหวดั ทกุ จังหวัด 2. ยื่นผ่านระบบอินเทอร์เน็ต มีการส่งเสริมการตลาด แลว้ ยังเห็นถงึ คณุ สมบตั ขิ องสบจู่ ากน้ำมันมะพร้าวท่ี
เห็นพอ้ งกนั และ เห็นองค์ประกอบหลกั ทีส่ ำคญั ในการพฒั นาผลิตภณั ฑส์ บู่จากน้ำมันมะพรา้ ว

ข้อเสนอแนะ

การวัดประสิทธิภาพความพึงพอใจต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์สบู่จากน้ำมันมะพร้าวของจังหวัดสมุทรสาคร ทำให้
ทราบถึงความพึงพอใจในดา้ นต่างๆและทำใหน้ ำขอ้ มูลไปปรับปรุงแก้ไขการพัฒนาผลิตภัณฑใ์ หม้ ีคุณภาพมากขึ้น ในด้านผลติ ภัณฑ์ เช่น
ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ให้มีสสี นั สวยงาม ทนั สมัยในด้านราคา เชน่ การต้ังราคาทีส่ ามารถทำให้ลูกคา้ จับตอ้ งได้ราคาไม่แพงในด้านช่องทาง
จัดจำหน่าย เช่น การเพิ่มช่องทางการจดจำหน่ายให้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะทางออนไลน์และด้านการส่งเสริมการตลาด เช่น มีการ
โปรโมทการขาย มกี จิ กรรมหรือเกมแจกของรางวลั สง่ เสรมิ การขาย เป็นตน้

ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ยั ในครง้ั ตอ่ ไป
1. ควรศกึ ษาในเรื่องการเพม่ิ ช่องทางจดั จำหน่ายในเชงิ ลึก เพ่ือจะช่วยเพิ่มรายได้ ได้จากหลายทางมากขน้ึ
2. ควรศึกษาเรื่องการพฒั นารปู แบบผลิตภัณฑใ์ ห้ดูทนั สมยั และสวยงาม เพ่ือใหเ้ ป็นทจี่ ดจำของผบู้ รโิ ภค

กิตตกิ รรมประกาศ

เอกสารวิจัยฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี จากสาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และการ
ค้นคว้าแหล่งข้อมูลจากเว็ปไซต์หลากหลายแหล่งที่มา ที่เปิดเผยข้อมูลที่เราได้ทำการศึกษา เนื้อหาของเอกสารงานวิจัยเล่มนี้จะเสรจ็
สมบูรณไ์ มไ่ ดเ้ ลยหากไม่ได้ความร่วมมอื จาก อาจารย์ ท่ปี รึกษา ท่ีให้คำแนะนำในการทำเอกสาร เกษตรกรของจงั หวัดสมุทรสาครรวมไป
ถงึ ประชากรท่ีเราไดท้ ำการลงพื้นท่ีเพ่อื ไปทำการสอบถามขอ้ มลู และเพ่อื นๆทใี่ หค้ วามช่วยเหลือและให้คำแนะนำ ในการทำเอกสารคร้ัง
น้ีผจู้ ัดทำจงึ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนที้ ้ายสุดน้ี ขอขอบคณุ เพือ่ นร่วมงานทีไ่ ดส้ ่งเสรมิ สนับสนุนกระตนุ้ และเป็นกำลงั ใจตลอดมาในการ
จดั ทำเอกสารงานวจิ ยั

183

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

เอกสารอา้ งอิง

กระแสร์ชล นสิ านารถ. (2558). การพฒั นากระบวนการสกดั น้ำมะพร้าวบรสิ ทุ ธ์แิ บบบบี เยน็ และการประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นา
ผลิตภณั ฑอ์ าหาร. ชลบุรี: มหาวทิ ยาลัยบูรพา.

ฉนั ทรา พูนศริ ิ. (2565). การผลติ สบจู่ ากนำ้ มนั มะพร้าวบริสทุ ธ์ิ. สืบค้นเมือ่ 5 มกราคม 2565 จาก
http://opac.tistr.or.th/Multimedia/STJN/4802/4802-13.

ชยั พร ภัทรวารกี ุล วกิ านดา ศรจี รสั ร่งุ และสันทัด พรประเสริฐมานติ . (2565). ความพึงพอใจของผ้บู รโิ ภค. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม
2565 จาก

เบญจมาศ ทานสวุ รรณ์ และคณะ. (2559). การพฒั นาผลติ ภัณฑ์สบูจ่ ากกากกาแฟอาราบิก้า (ดงมะไฟ)ตำบลมะเกลอื ใหม่ อำเภอสูง
เนนิ จังหวดั นครราชสมี า. นครราชสมี า: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า.

สุดารัตน์ ตรีเพชรกลุ กนกวรรณ พนั ธ์ุดี และแสงชัย เอกประทมุ ชยั . (2556). การใชว้ สั ดุเหลอื ใช้จากกระบวนการผลิตนำ้ มันมะพร้าว
บริสทุ ธ์ิเป็นสว่ นผสมในการผลติ สบู่. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 36(4), 439-450.

184

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

ปัจจยั ทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลอื กใช้บรกิ าร
ผูร้ ับเหมาสร้างบ้านของผูบ้ ริโภคในเขตจังหวัดอบุ ลราชธานี

The Marketing Factors Affecting Ubon Ratchathani Consumers’ Decision to Use the
House Building Contractors’ Service

ศวิ กร จึงสุวดี, มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี
Email: [email protected]

บทคดั ยอ่

การศกึ ษาวจิ ยั ครง้ั น้ีมวี ัตถุประสงค์เพอื่ 1) เพ่อื ศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยทางการตลาดบริการท่มี ีผลต่อการตัดสินใจ
เลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการ
ตดั สนิ ใจเลอื กใช้บริการผู้รับเหมาสรา้ งบ้านของผู้บรโิ ภคในเขตจงั หวัดอบุ ลราชธานี 3) เพอ่ื เปรยี บเทียบปัจจัยทางการตลาดบรกิ ารท่ีมีผล
ตอ่ การตดั สินใจเลอื กใช้บรกิ ารผ้รู ับเหมาสรา้ งบา้ นของผ้บู ริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่
ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ ประชากรในเขตจังหวัดอุบลราชธานีที่มีความต้องการสร้างบ้าน ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึง
กำหนดขนาดตัวอยา่ งโดยใช้สตู รการหาขนาดตวั อยา่ ง ในกรณที ไี่ ม่ทราบจำนวนประชากร ตามวธิ ีของ Cochran ท่รี ะดับความเช่ือม่ัน ร้อย
ละ 95 จำนวน 400 คน เครอื่ งมอื ในการวจิ ยั เป็นแบบสอบถาม มีคา่ ความเช่อื มั่นทั้งฉบับเทา่ กบั .96 สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถ่ี
ร้อยละ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน การวเิ คราะหถ์ ดถอยพหคุ ูณ การทดสอบค่า t และการทดสอบคา่ F

ผลการวจิ ัยพบวา่
1. ระดบั ความสำคญั ของปัจจัยทางการตลาดตอ่ การตัดสินใจตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รบั เหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อุบลราชธานีภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกระบวนการ รองลงมา
ด้านพนักงาน ดา้ นลกั ษณะทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ดา้ นส่งเสรมิ การตลาด และดา้ นช่องทางการจดั จำหน่าย ตามลำดบั
2. ปัจจัยทางการตลาดตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการผู้รบั เหมาสร้างบ้านของผู้บรโิ ภคในเขตจังหวัดอบุ ลราชธานี ได้แก่ ด้านราคา
ดา้ นชอ่ งทางการจัดจำหน่าย ดา้ นกระบวนการ และด้านลกั ษณะทางกายภาพ ทมี่ คี วามสัมพันธ์กบั ตัวแปรตามอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ
.01 และตวั แปรทั้ง 4 ตวั แปรสามารถรว่ มกนั ทำนาย การตดั สนิ ใจเลือกใช้บริการผูร้ ับเหมาสร้างบ้านของผบู้ ริโภคในเขตจังหวดั อุบลราชธานี ได้
รอ้ ยละ 52.50(R Adj = .525)
3. เปรยี บเทียบปัจจัยท่มี ีผลตอ่ การตัดสินใจเลอื กใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผบู้ ริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี จำแนกตาม
ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าอายุ ระดับการศึกษา และรายได้ของครอบครัวต่อเดือน มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของ
ผู้บริโภคในเขตจงั หวดั อบุ ลราชธานี แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ ส่วนดา้ นอืน่ ๆ ไม่แตกตา่ งกนั
คำสำคัญ: การตดั สินใจ ผ้รู บั เหมาสรา้ งบา้ น กระบวนการสร้างบา้ น

ABSTRACT

The research aimed 1) to study the significance of the marketing factors that affected the decision of the
consumers in Ubon Ratchathani to use the house building contractors’ service, 2) to explore the marketing factors that
affected the decision of the consumers in Ubon Ratchathani in choosing the contractors, and 3) to compare the marketing
factors in the study as classified personal factors. The samples used in the study were the residents residing in the province
of Ubon Ratchathani. The sample size was determined by using Cochran’s formula of a confidence value of 95%. The
research instrument was a questionnaire with a confidence value equivalent to .96. Statistics used in data analysis were
frequency, percentage, mean, standard deviation, multiple regression analysis, t-test and F-test.

The research findings were as follows.
1. The significance of the marketing factors that affected the decision of Ubon Ratchathani consumers to choose
the house building contractors’ service was at a very high level. As for individual aspects, they could be shown in a
descending order: process, staff, physical features, products, prices, marketing promotion, and distribution outlets.
2. The marketing factors that affected the decision of Ubon Ratchathani consumers to use the service of the
contractors were prices, distribution outlets, process, and physical features. All these were related to the dependent

185

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

variables at a statistical significance of .01. These four variables could predict the consumers’ decision to use the service
of the contractors by 52.50 (R Adj = .525).

3. A comparison of the factors that affected the consumers’ decision to use the service of the contractors in
question found that age, educational levels and family incomes all have an effect on the consumers’ decision to use the
service of the house building contractors at a statistical significance. No difference was found in other aspects.
Keywords: Decision, House Building Contractors, Building Process.

บทนำ

การสรา้ งบา้ น หรอื การกอ่ สรา้ งอาคารนั้นแนน่ อนวา่ หลากหลายคนน้นั อาจจะมชี ่างไวใ้ นใจหรอื อาจจะมบี รษิ ทั ไว้ในบ้างแล้ว
หรอื บางคนนนั้ อาจจะยงั ไมม่ ชี า่ งอยากจะเลือกใช้บรกิ ารหรอื ยงั ไม่มชี ่างในใจ การเลอื กการสรา้ งบ้านหรอื การเลอื กสร้างอาคาร หรือแม้แต่
การหาชา่ งรบั เหมาสรา้ งบา้ น สรา้ งอาคารเพื่อการอยู่อาศยั เป็นหลกั โดยทั่วไปรปู แบบของอาคารพักอาศยั จะแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะใหญ่ ๆ
คือ อาคารพักอาศยั แนวราบ เช่น บ้านพักอาศัย บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และอาคารพักแนวด่ิง เช่น คอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์ จากรูปแบบที่
แตกต่างกนั ของอาคารพกั อาศัยทั้ง 2 ลักษณะ จะส่งผลต่อการบริหารโครงการกอ่ สร้างอาคารพักอาศัยท่แี ตกตา่ งกนั ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งงาน
ก่อสร้างอาคารพักอาศัยแนวดิ่งเป็นงานที่มีความเสี่ยงและความไม่แน่นอนสูง เนื่องจากมีความซับซ้อนของโครงสร้าง ต้องใช้เทคนิคก่อสร้าง
เฉพาะ มีระยะเวลากอ่ สรา้ งที่ยาวนานกวา่ มหี น่วยงานบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ งมากมายหลายฝ่าย (ปญั หาจากการรบั เหมาสร้าง, 2564)

บ้านเปน็ สิง่ สำคญั ในการอาศยั ใหต้ รงกับความต้องการเป็นหัวใจในกระบวนการ บ้านจึงตอ้ งมกี ารพถิ ีพถิ นั ในทุกขน้ั ตอนไม่ว่า
จะเปน็ ผซู้ ้ือ หรือผทู้ ี่เลอื กสร้างบ้านหลังใหม่ตามแบบฉบบั ตวั เอง นอกเหนอื ไปจากความจำเป็นหรอื ความต้องการท่ีแตกต่างไปในแต่ละ
คนที่นำมาใช้เป็นเกณฑ์ค้นหาหรือเลือกที่อยู่ที่ตอบโจทย์ของแต่ละคน (วุฒิ ไชยพงศ์, 2556) มีปัจจัยที่มีบทบาทสำคัญอีกมากที่ไม่ควร
มองข้ามปัจจยั ที่มผี ลต่อการตัดสินใจเลอื กใชบ้ ริการผู้รบั เหมาสรา้ งบา้ นของผูบ้ รโิ ภคในเขตจงั หวัดอบุ ลราชธานี และมีพลตอ่ การเลือกท่ีอยู่
อาศัยแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ช่วงอายุหรือไลฟ์สไตล์ที่อาจเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทั้งในด้านสถานะทางการเงิน อาชีพหรือหน้าที่การงาน
เป็นต้น

ด้วยเหตุผลน้ผี วู้ จิ ยั จึงมีความสนใจทจ่ี ะศึกษา ปัจจยั ทางการตลาดบริการทม่ี ีผลตอ่ การตัดสินใจเลอื กใช้บริการผู้รับเหมาสร้าง
บ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อนำผลการวิจยั ท่ีได้เปน็ แนวทางในการศึกษาคน้ คว้าสำหรับงานวิจัยต่อไปหรือเพ่ือเปน็
ประโยชน์ในการวางแผนการตลาดสำหรบั ธรุ กิจการรับเหมากอ่ สร้างหรือผู้รบั เหมาในอนาคต

วัตถุประสงค์การวิจัย

ในการวิจัยเรื่อง ปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต
จังหวดั อุบลราชธานี ผู้วจิ ัยได้กำหนดวัตถปุ ระสงคด์ ังนี้

1. เพ่อื ศกึ ษาระดับความสำคัญของปัจจัยทางการตลาดบริการทม่ี ีผลต่อการตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของ
ผูบ้ ริโภคในเขตจงั หวดั อุบลราชธานี

2. เพอื่ ศึกษาปจั จยั ทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลอื กใชบ้ ริการผู้รับเหมาสรา้ งบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อบุ ลราชธานี

3. เพื่อเปรยี บเทียบปัจจยั ทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บรโิ ภคในเขต
จงั หวดั อบุ ลราชธานี จำแนกตามปจั จยั สว่ นบคุ คล

วธิ ีดำเนินการวิจัย

ขอบเขตของการวจิ ยั
ประชากร ประชากรท่ใี ช้ในการศกึ ษาค้นควา้ ครงั้ นี้ คอื ประชากรในเขตจงั หวดั อบุ ลราชธานี
กลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ ประชากรในเขตจังหวัดอุบลราชธานีทีม่ ีความต้องการสร้างบ้าน ซึ่งไม่
ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการหาขนาดตัวอย่างในกรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากร ตามวิธีของ
Cochran (1953: 178) ทรี่ ะดบั ความเช่อื มั่นรอ้ ยละ 95
ตวั แปรทีศ่ กึ ษาประกอบด้วย
1. ตวั แปรอสิ ระ

1.1 ปจั จยั ส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา และรายได้ตอ่ เดอื นของครอบครัว
1.2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการ
ส่งเสริมการตลาด ดา้ นพนักงาน ด้านกระบวนการ และด้านลกั ษณะทางกายภาพ
2. ตัวแปรตาม ได้แก่ การตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ รกิ ารผรู้ บั เหมาสร้างบ้านของผบู้ รโิ ภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี

186

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

วธิ ีการดำเนนิ งาน
1. ศกึ ษาข้อมูลจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ ก่ยี วขอ้ งเพือ่ นำมาเป็นขอ้ มลู พนื้ ฐานสำหรับทำการวิจัย
2. กำหนดกรอบแนวคิดจากข้อมูลที่ได้ทำการศึกษาตามแนวคดิ ส่วนประสมการตลาดบรกิ าร จากการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อบุ ลราชธานี ผ้วู ิจัยจงึ ไดน้ ำปจั จัยสว่ นประสมทางการตลาดบรกิ าร ท้งั 7 ดา้ น ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านชอ่ งทางการจดั จำหน่าย ด้าน
การส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน ด้านกระบวนการ และด้านลักษณะทางกายภาพ โดยวิเคราะห์แยกประเด็นที่ต้องการศึกษาเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการสรา้ งแบบสอบถามซ่ึงเปน็ แบบสอบถาม ชนดิ มาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดบั นำแบบสอบถามมาวเิ คราะหห์ าค่าความเชอื่ มั่นของ
เครือ่ งมือในการวจิ ัยท้ังฉบับ (Reliability Analysis) เพื่อประเมนิ วา่ เครื่องมือในการวจิ ัยแต่ละด้านมีคุณภาพพอที่จะนำไปใช้ได้หรือไม่โดย
วิธีการหาคา่ สัมประสิทธิ์ (Alpha Coefficient) ด้วยวธิ ขี อง Cronbach ได้คา่ ความเชือ่ ม่ันโดยภาพรวมเท่ากับ .96

สรปุ และอภิปรายผล

ผลการวิจัย
ผู้ตอบแบบสอบถาม 400 คน พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 59.80 อายุอยู่
ระหว่าง 41-50 ปี จำนวน 134 คน คิดเป็นร้อยละ 27.00 สถานภาพการสมรส จำนวน 229 คน คิดเป็นร้อยละ 57.30 ระดับการศึกษาสูง
กวา่ ปรญิ ญาตรี จำนวน 281 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 70.30 รายไดข้ องครอบครวั ตอ่ เดือน 20,001–25,000 บาท จำนวน 119 คน คิดเป็นร้อยละ
29.80 ตามลำดบั
จากผลการวิจยั ผตู้ อบแบบสอบถามปจั จยั ทีม่ ผี ลต่อการตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ ริการผู้รบั เหมาสร้างบา้ นของผบู้ รโิ ภคในเขตจงั หวดั
อุบลราชธานี แบง่ เปน็ 7 ดา้ น ซ่งึ สามารถสรุปในภาพรวมได้ดังตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ค่าเฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาดภาพรวม

ปัจจยั ภาพรวม ระดบั ความสำคญั ทมี่ ีผลต่อการตดั สินใจ

ด้านผลติ ภัณฑ์ X S.D. การแปลผล
ดา้ นราคา
ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย 4.11 .60 มาก
ดา้ นสง่ เสริมการตลาด 4.08 .68 มาก
ด้านพนักงาน 4.02 .55 มาก
ด้านกระบวนการ 4.07 .58 มาก
ด้านลักษณะทางกายภาพ 4.13 .65 มาก
4.22 .59 มากทีส่ ุด
ภาพรวม 4.13 .53 มาก
4.11 .50 มาก

จากตารางที่ 1 ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผูร้ บั เหมาสรา้ งบ้านของผบู้ ริโภคในเขตจังหวัดอบุ ลราชธานี ภาพรวม

อยู่ในระดับมาก ( X = 4.11) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกระบวนการ ( X =4.22)
รองลงมา ด้านพนักงาน ( X =4.13) ด้านลักษณะทางกายภาพ ( X =4.13) ด้านผลิตภัณฑ์ ( X =4.11) ด้านราคา ( X = 4.08) ด้านส่งเสริม
การตลาด ( X =4.07) และดา้ นช่องทางการจดั จำหน่าย ( X =4.02) ตามลำดับ

การวิเคราะห์การตัดสินใจตัดสินใจเลือกใช้บริการผูร้ ับเหมาสร้างบ้านของผู้บรโิ ภคในเขตจังหวัดอบุ ลราชธานี พบว่าการตัดสินใจ

ตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.21) เมื่อ

พิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลำดับดังนี้ ท่านตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านเพราะ

ผู้รับเหมามีการเอาใจใส่และตอบสนองความต้องการของเจ้าของบ้านเป็นอย่างดี ( X =4.46) รองลงมา ท่านตัดสินใจเลือกใช้บริการ
ผู้รับเหมาสร้างบ้านเพราะสร้างบ้านได้รวดเร็วเป็นไปตามข้อตกลงไม่ท้ิงงาน ( X =4.36) และทา่ นตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้าน
เพราะสามารถสร้างบา้ นตามงบประมาณการไว้ ( X =4.28) ตามลำดบั

วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณของตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
ผูร้ ับเหมาสร้างบ้านของผบู้ ริโภคในเขตจังหวดั อบุ ลราชธานี โดยวิธี Stepwise (n = 400) ดังตารางที่ 2

187

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2565

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณของตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้
บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวดั อบุ ลราชธานี โดยวิธี Stepwise (n = 400)

ตวั แปรอสิ ระ ค่าสัมประสทิ ธก์ิ ารถดถอย t p
B Beta
.00
ดา้ นราคา (X2) .14 .20 3.55** .00
ด้านชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย (X3) .14 .17 3.55** .00
ด้านกระบวนการ (X6) .26 .32 5.52** .00
ด้านลกั ษณะทางกายภาพ (X7) .13 .15 3.36**

Constant = 1.379 R = .728 R 2 = .530 R 2 Adj = .525 df1 = 1 df2 = 395 F1, 395 = .001

จากตารางที่ 2 เมื่อวิเคราะหก์ ารถดถอยพหุคูณโดยวธิ ี Stepwise เพื่อพยากรณ์ปจั จัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
ผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ด้วยตัวแปรอิสระทั้ง 7 ตัวแปร ได้แก่ ดัวยตัวแปรทั้ง 7 ตัวแปร ได้แก่ ตัวแปร
พยากรณ์ ด้านผลิตภัณฑ์ (X1) ด้านราคา (X2) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (X3) ด้านส่งเสริมการตลาด (X4) ด้านพนักงาน (X5) ด้าน
กระบวนการ (X6) และด้านลักษณะทางกายภาพ (X7) ตัวแปรตามคอื การตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ รกิ ารผู้รบั เหมาสร้างบา้ นของผบู้ รโิ ภคในเขต
จงั หวัดอบุ ลราชธานี คา่ สัมประสิทธ์สิ หสัมพนั ธ์ระหว่างตวั แปรอสิ ระและตัวแปรตามมีค่าเทา่ กับ .728 (R = .728) แสดงวา่ ตัวแปรอิสระทุก
ตัวสามารถพยากรณ์ตัวแปรตามได้และตวั แปรทัง้ 7 ตัวแปร โดยมีตัวแปร 4 ตัวแปรสามารถร่วมกนั พยากรณ์การตดั สินใจเลือกใช้บริการ
ผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ ด้านราคา (X2) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (X3) ด้านกระบวนการ (X6)

และด้านลักษณะทางกายภาพ (X7) ได้รอ้ ยละ 52.50 (R 2 Adj = .525) ทีม่ ีความสมั พนั ธ์กับตัวแปรตามอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 และ
ตัวแปรทั้ง 4 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนาย การตัดสินใจเลือกใช้บรกิ ารผู้รับเหมาสร้างบา้ นของผู้บริโภคในเขตจงั หวัดอุบลราชธานี ได้

ร้อยละ 52.50 (R 2 Adj = .525)
เปรยี บเทียบปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การตดั สินใจเลือกใช้บรกิ ารผู้รับเหมาสรา้ งบา้ นของผู้บรโิ ภคในเขตจังหวดั อบุ ลราชธานี จำแนก

ตามปจั จยั สว่ นบคุ คล โดยใชส้ ถติ คิ า่ t-test, F-test สามารถสรุปได้ดังนี้
จำแนกตามเพศที่ต่างกัน เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต

จังหวดั อุบลราชธานี พบว่ารายดา้ นทุกด้านไม่แตกต่างกัน
จำแนกตามอายุ เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตดั สินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบา้ นของผูบ้ รโิ ภคในเขตจังหวัด

อุบลราชธานี พบว่าดา้ นกระบวนการ ผูท้ ี่เลอื กใชบ้ รกิ ารผู้รับเหมาสรา้ งบา้ นของผู้บรโิ ภคในเขตจังหวดั อุบลราชธานี แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 สว่ นด้านอ่นื ๆ ไมแ่ ตกต่างกนั

จำแนกตามสถานภาพ เมื่อเปรยี บเทียบปจั จัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบา้ นของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อบุ ลราชธานี พบวา่ รายด้านทุกด้านไม่แตกต่างกนั

จำแนกตามระดับการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต
จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับสร้างบ้านแตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 ส่วนด้านลกั ษณะทางกายภาพ ไม่แตกต่างกัน

จำแนกตามรายได้ของครอบครัวต่อเดอื น เมอื่ เปรียบเทยี บปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการผ้รู บั เหมาสรา้ งบ้านของ
ผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ด้านกระบวนการ ผู้ที่เลือกใช้บริการผู้รบั เหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ส่วนด้านอนื่ ๆ ไมแ่ ตกตา่ งกัน

อภปิ รายผล
จากผลการศึกษา ปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต
จังหวัดอุบลราชธานี ด้วยตัวแปรอิสระทั้ง 7 ตัวแปร ได้แก่ ด้านผลิตภณั ฑ์ (X1) ด้านราคา (X2) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (X3) ด้าน
ส่งเสริมการตลาด (X4) ด้านพนักงาน (X5) ด้านกระบวนการ (X6) และด้านลักษณะทางกายภาพ (X7) โดยมีตัวแปร 4 ตัวแปรทีม่ ีผลตอ่
การตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ ด้านราคา (X2) ด้านช่องทางการจัด
จำหน่าย (X3) ด้านกระบวนการ (X6) และดา้ นลักษณะทางกายภาพ (X7) โดยมรี ายละเอียดในการอภิปรายดังน้ี
ด้านราคา มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ผู้รับเหมาสรา้ งบ้านกำหนดราคาสอดคล้องกบั คุณภาพของวสั ดุ อีกทั้งผู้รบั เหมาสร้างบา้ นรับเงินตาม
ความเหมาะสมกับความคบื หนา้ (จา่ ยตามความคืบหน้าของงาน) และผ้รู ับเหมาสร้างบา้ นเสนอราคาท่ีหลากหลายให้เลือก ซ้ึงสอดคล้องกับ
งานวิจัยของ ทิวาวรรณ สว่างทิพพาภรณ์, กนกวรรณ แสนเมือง และชัชวาล แสงทองล้วน (2563) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการ
ตัดสินใจเลอื กร้านค้าวัสดุกอ่ สร้างของลูกค้าในเขตอำเภอเมืองราชบุรี จังหวดั ราชบรุ ี ผลการวิจัยพบว่า ส่วนประสมการตลาดทีม่ ผี ลตอ่
การเลือกร้านค้าวัสดุก่อสร้างในเขตอำเภอเมอื งราชบุรี ด้านราคา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดบั มาก

188

การประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้งั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ดา้ นช่องทางการจัดจำหน่าย มีผลต่อการตดั สินใจเลอื กใชบ้ ริการผ้รู บั เหมาสรา้ งบา้ นของผู้บรโิ ภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า สามารถติดต่อผู้รับเหมาสร้างบ้านได้หลายช่องทาง เช่น สอบถามผ่านไลน์ ผ่าน
เฟสบุ๊ค เป็นต้น กับผู้รับเหมาสร้างบ้านมีสถานที่ตั้งที่ชัดเจน อีกทั้งผู้รับเหมาสร้างบ้านเป็นช่างอยู่ในเขตพื้นที่ที่ต้องการสร้างบ้าน และ
ผรู้ บั เหมาสร้างบ้านสามารถให้คำปรึกษาได้ตลอด 24 ชม. ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ทิวาวรรณ สว่างทพิ พาภรณ์, กนกวรรณ แสนเมือง
และชัชวาล แสงทองลว้ น (2563) ได้ศกึ ษาเรื่อง ปจั จัยทมี่ ีผลต่อการตัดสนิ ใจเลอื กร้านค้าวัสดกุ อ่ สรา้ งของลูกคา้ ในเขตอำเภอเมืองราชบรุ ี
จังหวดั ราชบุรี ผลการวิจัยพบวา่ ส่วนประสมการตลาดทีม่ ีผลตอ่ การเลือกรา้ นคา้ วสั ดกุ ่อสรา้ งในเขตอำเภอเมืองราชบุรี ดา้ นช่องทางการ
จัดจำหน่าย โดยภาพรวมและรายด้านอยใู่ นระดับมาก

ด้านกระบวนการ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภค ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี ใน
ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ทั้งนี้อาจเปน็ เพราะว่า ผู้รับเหมาสร้างบ้านแจง้ ความคืนหน้าการก่อสร้างเป็นระยะ ทั้งนี้ผู้รับเหมาสร้างบ้านมี
การตดิ ต่อหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องให้ เชน่ ตดิ ต่อขอน้ำประปา ขอไฟฟ้า เป็นต้น และผู้รับเหมาสรา้ งบ้านมกี ารทำงานทช่ี ดั เจน ซึ่งสอดคล้อง
กับงานวิจัยของ ณิรัชชา เมืองเจริญ (2559) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อเจ้าของบ้านชาวต่างชาติในการตัดสินใจคัดเลือก
ผู้รับเหมาก่อสร้างบ้านใน เชียงใหม่ ผลการวจิ ยั พบวา่ ปัจจัยท่ีสำคัญตอ่ การคัดเลอื กผู้รับจ้างก่อสร้างโดยเจ้าของบ้านชาวต่างชาติให้ระดบั
ความสำคัญอยา่ งยง่ิ คอื ดา้ นกระบวนการ ความสามารถในการสร้างเสรจ็ ตามเวลา อย่ใู นระดบั มาก

ดา้ นลักษณะทางกายภาพ มีผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลือกใชบ้ ริการผู้รบั เหมาสร้างบา้ นของผ้บู รโิ ภคในเขตจังหวดั อุบลราชธานี ใน
ภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก ทงั้ นีอ้ าจเป็นเพราะวา่ ผู้รบั เหมาสร้างบา้ นมีอุปกรณอ์ ำนวยความสะดวกทคี่ รบและทนั สมัยในการกอ่ สร้าง โดย
มีที่ตั้งผู้รับเหมาสร้างบ้าน มีบรรยากาศในการใหบ้ ริการดี และมีความสะอาดเรียบร้อย กับที่ตั้งของผู้รบั เหมาสร้างบ้านสะดวกง่ายตอ่
การเดินทางติดต่อ และที่ตั้งของผู้รับเหมาสร้างบ้านมีพื้นที่จอดรถเพียงพอ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปุณญารัตน์ เด่นไตรรัตน์
(2563) ได้ศกึ ษาเร่อื ง ความเต็มใจจา่ ยของผู้บริโภคในการเลือกซ้อื คอนโดมิเนยี มแบบโลว์ไรส์ในเขตภาษีเจริญ ผลการวิจยั โดยภาพรวมพบว่า
ให้ความสำคัญดา้ นลักษณะทางกายภาพอยูใ่ นระดับมาก

การตัดสินใจตดั สนิ ใจเลือกใช้บรกิ ารผู้รับเหมาสร้างบา้ นของผู้บรโิ ภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี มีภาพรวมอยู่ในระดบั มาก
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า การตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รบั เหมาสร้างบ้านเพราะผู้รับเหมามีการเอาใจใส่และตอบสนองความต้องการของ
เจ้าของบ้านเป็นอยา่ งดี แล้วการตดั สนิ ใจเลือกใช้บรกิ ารผ้รู ับเหมาสรา้ งบ้านเพราะสร้างบ้านได้รวดเร็วเป็นไปตามข้อตกลงไม่ทิ้งงาน และการ
ตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านเพราะสามารถสร้างบ้านตามงบประมาณการไว้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ วีรพัฒน์
เกิดแก้ว (2563) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยทางการตลาดทีม่ ีผลตอ่ การตดั สนิ ใจในการเลือกซื้อท่พี ักอาศัยของผบู้ ริโภคใน อำเภอบางใหญ่ จังหวัด
นนทบุรี ผลการศึกษาพบว่าปัจจยั ทางการตลาดทีม่ ีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซ้ือทีพ่ ักอาศัยของผู้บริโภคในอำเภอบางใหญ่ จังหวัด
นนทบุรี อยู่ในระดับมาก

การเปรียบเทียบปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต
จังหวดั อบุ ลราชธานี โดยมีรายละเอียดในการอภิปรายผลดงั นี้

จำแนกตามอายุ พบว่าด้านกระบวนการ ผู้ที่เลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัดอุบลราชธานี
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่นๆ ไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า ผู้ที่มีอายุน้อยจะคำนึงถึง
กระบวนการในการสรา้ งบา้ นเปน็ สำคญั เพอ่ื ให้ไดบ้ า้ นที่มาตรฐานตามแบบผู้รับรองสร้าง ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ วีรพัฒน์ เกิดแก้ว
(2563) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อที่พักอาศัยของผู้บริโภคในอำเภอบางใหญ่ จังหวัด
นนทบรุ ี ผลการวิจยั พบวา่ ปจั จัยทางการตลาดที่มีผลตอ่ การตดั สินใจในการเลอื กซอ้ื ทพี่ ักอาศัยของผู้บริโภคใน อำเภอบางใหญ่ จังหวัด
นนทบรุ ี มีผลต่อการต่อการตัดสินใจอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 และปจั จยั ส่วนประสมทางการตลาดบรกิ าร (7Ps) มีผลตอ่ การ
ตัดสินใจในการเลอื กซื้อทพี่ ักอาศัย อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ

จำแนกตามระดับการศกึ ษา พบว่าภาพรวมและด้านกระบวนการ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใชบ้ ริการผูร้ ับสรา้ งบ้านแตกต่าง
กนั อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ส่วนด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีผลตอ่ การตดั สินใจเลือกใชบ้ ริการผรู้ ับสรา้ งบา้ นแตกต่าง
กนั อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05 ส่วนดา้ นลกั ษณะทางกายภาพ ไม่แตกต่างกัน ทง้ั นี้อาจเปน็ เพราะว่า ผทู้ ี่มีระดับการศึกษาน้อย
จะให้ความสำคัญถงึ ดา้ นกระบวนการ ดา้ นราคา และด้านช่องทางการจดั จำหน่ายเป็นพิเศษเน่อื งจากบุคคลเหลา่ น้ียังไม่มีประสบการณ์
ในการทำงานในด้านตา่ ง ๆ พอมกี ารตดั สนิ ใจด้วยตนเองจึงตอ้ งใช้ความพิถีพถิ ัน รอบคอบในการตัดสินใจ ซง่ึ สอดคล้องกับงานวจิ ยั ของ นัฏ
ยา ประดับการ และนิตพิ ล ภตู ะโชติ (2561) ได้ศึกษาเร่ือง พฤตกิ รรมและปัจจัยทม่ี อี ทิ ธิพลในการเลือกซือ้ วัสดกุ ่อสรา้ งกรณีศึกษารา้ นศริ ิ
ชัย อำเภอสมเดจ็ จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมและปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลในการเลือกซื้อวัสดกุ ่อสร้างกรณีศึกษาร้านศิรชิ ยั
อำเภอสมเดจ็ จังหวัดกาฬสินธุ์ อย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05 และปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาดบริการ (7Ps) มีอทิ ธิพลในการ
เลอื กซื้อวัสดุกอ่ สร้าง อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ

จำแนกตามรายไดข้ องครอบครวั ต่อเดือน พบวา่ ดา้ นกระบวนการ ผู้ท่ีเลอื กใชบ้ รกิ ารผู้รับเหมาสรา้ งบา้ นของผู้บริโภคในเขต
จงั หวัดอบุ ลราชธานี แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 สว่ นด้านอ่ืน ๆ ไมแ่ ตกต่างกัน ทั้งนอ้ี าจเปน็ เพราะว่า ผู้ที่มีรายได้
น้อยจะมีการคำนึกถึงงบประมาณที่จะต้องจ่ายออกไปอย่างรอบครอบ และคำนึงถึงความคุ้มค่ามากที่สุดในการใช้จ่ายซึ่งสอดคล้องกับ
งานวิจัยของ ภัทรวดี กฤตรัชตนันต์ (2562) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ของ

189

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ประชาชนในจังหวัดพัทลุง ผลการวจิ ยั พบว่า ปัจจัยสว่ นบคุ คลคือ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน มีผลตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการร้านวัสดุก่อสร้าง
สมัยใหม่ของประชาชนในจังหวัดพัทลุง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ (7Ps) ด้าน
กระบวนการบริการมีผลตอ่ การตัดสินใจเลอื กใช้บริการร้านวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ของประชาชนในจังหวัดพทั ลุง อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .05

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะเพ่อื การวิจัยไปใช้
จากการศึกษา ปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อบุ ลราชธานี ผูว้ ิจัยมขี อ้ เสนอแนะ เพ่อื การประยุกตใ์ ช้ ดังน้ี
ด้านราคา ผู้รับเหมาสร้างบ้านควรกำหนดราคาสอดคล้องกับคุณภาพของวัสดุ และการรับเงินค่าสร้างบ้านมีความเหมาะสมกับ
ความคบื หนา้ (จา่ ยตามความคืบหน้าของงาน)
ดา้ นช่องทางการจดั จำหน่าย ผรู้ บั เหมาสร้างบา้ นสามารถตดิ ต่อไดห้ ลายช่องทาง เชน่ สอบถามผา่ นไลน์ ผ่านเฟสบุ๊ค เป็นต้น
และผู้รับเหมาสรา้ งบ้านเป็นชา่ งอยใู่ นเขตพนื้ ทีท่ ี่ต้องการสร้างบ้าน
ด้านกระบวนการ ผู้รับเหมาสร้างบ้านควรแจ้งความคืนหน้าการก่อสร้างเป็นระยะและผู้รับเหมาสร้างบ้านมีการติดต่อ
หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องให้ เช่น ติดต่อขอนำ้ ประปา ขอไฟฟา้ เปน็ ตน้ เพ่อื อำนวยความสะดวก
ด้านลักษณะทางกายภาพ ผู้รับเหมาสร้างบ้านควรมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกทีค่ รบทีท่ ันสมยั ในการก่อสร้าง และมีที่ตงั้
ผรู้ บั เหมาสรา้ งบ้านที่ชดั เจน มคี วามสะอาดเรียบรอ้ ย สะดวกง่ายตอ่ การเดนิ ทางตดิ ตอ่
ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ถัดไป
จากผลการศึกษา ปัจจัยทางการตลาดบริการที่มผี ลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต
จังหวดั อบุ ลราชธานี ทำใหผ้ ้วู ิจัยมขี อ้ เสนอแนะสำหรับการวิจยั ตอ่ ไป ดังตอ่ ไปน้ี
1. ศึกษาปัจจัยการกำหนดราคาที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อบุ ลราชธานี
2. ศึกษาปัจจัยที่มีต่อแนวทางการจัดจำหน่ายที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บรกิ ารผู้รับเหมาสรา้ งบา้ นของผู้บรโิ ภคในเขต
จังหวดั อุบลราชธานี
3. ศึกษาแนวทางของกระบวนการมีที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขตจังหวัด
อบุ ลราชธานี
4. ศึกษาโอกาสทางลักษณะทางกายภาพมีที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้รับเหมาสร้างบ้านของผู้บริโภคในเขต
จังหวัดอุบลราชธานี

เอกสารอา้ งองิ

ณิรัชชา เมืองเจรญิ . (2559). ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อเจ้าของบา้ นชาวตา่ งชาติในการตัดสินใจคัดเลอื กผรู้ บั เหมากอ่ สรา้ งบา้ นในเชียงใหม่.
การคน้ คว้าแบบอิสระวิศวกรรมศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.

นฏั ยา ประดบั การ และนติ พิ ล ภูตะโชติ. (2561). พฤตกิ รรมและปจั จยั ที่มอี ทิ ธิพลในการเลอื กซอ้ื วสั ดุก่อสรา้ งกรณีศกึ ษารา้ นศริ ชิ ัย
อำเภอสมเด็จ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ,

6(1), 22-37.
ทิวาวรรณ สวา่ งทิพพาภรณ์ กนกวรรณ แสนเมอื ง และชัชวาล แสงทองลว้ น. (2563). ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการตัดสนิ ใจเลอื กรา้ นค้าวัสดกุ ่อสรา้ งของ

ลูกค้าในเขตอำเภอเมืองราชบุรี จังหวดั ราชบุรี. วารสารวิชาการสงั คมศาสตรเ์ ครือข่ายวจิ ัยประชาช่นื , 2(2), 23–33.
ปญั หาจากการรบั เหมาสร้าง. (2564). ปญั หาจากการรับเหมากอ่ สร้าง. สบื คน้ เม่ือ 20 กมุ ภาพันธ์ 2565 จาก

https://ewits.org/%e0%b8%9b%e0%b8%b1%e0%b8%8d%e0%.

ปุณญารตั น์ เดน่ ไตรรตั น์. (2563). ความเต็มใจจา่ ยของผบู้ ริโภคในการเลือกซอื้ คอนโดมิเนยี มแบบโลว์ไรส์ในเขตภาษีเจรญิ .
วทิ ยานพิ นธ์บรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.

ภัทรวดี กฤตรชั ตนนั ต์. (2562). ปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ การตัดสินใจเลอื กใช้บรกิ ารรา้ นวสั ดกุ อ่ สร้างสมยั ใหมข่ องประชาชนในจังหวัด
พทั ลุง. วิทยานพิ นธบ์ รหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ .

วรี พัฒน์ เกิดแกว้ . (2563). ปัจจยั ทางการตลาดท่ีมผี ลต่อการตดั สนิ ใจในการเลอื กซ้ือท่ีพกั อาศัยของผูบ้ ริโภคในอำเภอบางใหญ่
จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธบ์ รหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ธนบุรี.

วฒุ ิ ไชยพงศ์. (2556). โอกาสในการเกิดปัญหาที่สง่ ผลกระทบตอ่ งานก่อสรา้ งทพ่ี ักอาศัยในจงั หวัดนครราชสมี า. สารนิพนธ์วิศวกรรม
ศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี.

Cochran, W. G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley and Sons.

190

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครงั้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565

ความฉลาดรใู้ ช้ดิจิทัลและทักษะของคนไทยกับความพร้อมในการเขา้ สู่เศรษฐกจิ และสังคมดจิ ทิ ัล
ภายหลังการแพรร่ ะบาดของโควดิ - 19

Digital Literacy and Skills of Thai People and the Readiness towards Digital Economy
and Society beyond COVID - 19

ปิญชาน์ คำผา, มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี
ประนอม คำผา, มหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี

Email: [email protected]

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทบทวนและวิเคราะห์เกี่ยวกบั ความฉลาดรู้ใช้ดจิ ิทัลและทักษะของคนไทยเพื่อการทำงานและ
การดำเนินชีวติ ในยุคดจิ ิทัล สืบเนื่องจากผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงฉับพลันทางเทคโนโลยีและการแพรร่ ะบาดของโควิด – 19 ได้
เป็นตัวเร่งให้ประเทศไทยต้องกา้ วเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเร็วขึ้น ในขณะที่โครงสร้างพ้ืนฐาน เทคโนโลยีเพ่ือรองรับระบบ
เศรษฐกิจดิจิทัลของไทยถูกจัดอันดับความพร้อมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ แต่ทักษะความฉลาดรู้ใช้ดิจิทัล ทักษะในสายงานอาชีพและ
ทกั ษะซวี ติ ของคนไทยและแรงงานไทยสำหรบั การมีส่วนรว่ มทางเศรษฐกจิ และสงั คมดิจิทัลยังไมอ่ ยู่ในระดับท่นี ่าพอใจ จงึ มีข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกบั แนวทางทีจ่ ะทำให้คนไทยมีความพรอ้ มเพื่อเขา้ สู่เศรษฐกิจและสังคมดจิ ิทัลไว้ ดงั นี้ 1) เพิ่มพูนทกั ษะให้คนไทยทุกคนฉลาดรู้ใช้
ดิจิทัล 2) ปลูกฝัง พัฒนาทักษะพื้นฐาน ทักษะการเรียนรู้แบบนำตนเอง และทักษะชีวิตอื่นแก่เด็ก เยาวชนให้พร้อมสำหรับการใช้ชีวิต
และการทำงานในยุคดิจิทัล 3) ยกระดับความหลงใหลใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิตของกำลังแรงงาน ให้สามารถพัฒนาศักยภาพ เพิ่ม เปลี่ยน
ทักษะในสายงานอาชีพใหส้ อดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานยคุ ดจิ ทิ ลั 4) จดั ใหม้ พี น้ื ทก่ี ารเรียนรู้ ระบบนเิ วศการเรยี นรู้ดิจิทัล
ที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของคนทุกกลุ่ม ที่พร้อมบริการ เข้าใช้สะดวก และมีคุณภาพ 5) บูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคการศึกษา สื่อสารมวลชน และภาคประชาสังคม เพื่อส่งเสริมคนไทยและแรงงานไทยให้มีทักษะ
คา่ นิยมในการใชอ้ ปุ กรณด์ จิ ทิ ลั และเทคโนโลยเี ครือขา่ ยอยา่ งปลอดภัย เปน็ ประโยชน์ และรับผดิ ชอบ
คำสำคัญ: การฉลาดรูใ้ ชด้ ิจทิ ัล ความพร้อม เศรษฐกจิ และสังคมดิจิทัล

ABSTRACT

This paper aims to review and analyze the digital literacy and skills of Thai people for working and living
in the digital age. The impact of disruptive technology as well as the pandemic of Covid-19 has urge Thailand to
rapidly enter the digital economy and society. Required technology and infrastructure has been provided and rated
as satisfactory but the digital literacy skill, technical and related working skills of the Thai people as well as
the workforces are insufficient for harmonious participation in the digital economic and social life. Suggested vital
guidelines for the readiness promotion towards the digital economy and society are included 1) Enhance the digital
literacy skill for all Thai people 2) Foster and develop basic skill, self-directed learning skill and relevant soft skills
for every child and youth for living with happiness in the digital context 3) Up-lift the curiosity and passion in lifelong
learning of the workforces in order to improve their capacities and skills for matching with the labor market 4)
Provide inclusive learning ecosystem, public learning spaces with availability and quality, and other lifelong learning
facilities 5) Strengthen the collaboration among all parties/sectors to introduce the Thai people the core value and
how to use digital technologies/networks safely, utility and responsibly.
Keywords: Digital Literacy, Readiness, Digital Economy and Society

191




























































Click to View FlipBook Version