The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022
“การจัดการธุรกิจและชีวิตวิถีใหม่ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืนในยุค Post Covid-19”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattanasak patumwan, 2022-08-16 22:39:32

BANIC 2022

การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference: BANIC 2022
“การจัดการธุรกิจและชีวิตวิถีใหม่ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
อย่างยั่งยืนในยุค Post Covid-19”

Keywords: BANIC 2022,การประชุมวิชาการระดับชาติ,Business Administration National Innovation,การจัดการธุรกิจและชีวิตวิถีใหม่,Conference,National Conference,คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี,คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ,มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครงั้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกรท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

2. การทดสอบเสน้ ทางและโปรแกรมการทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน
คณะผวู้ จิ ัย ผู้ทรงคุณวฒุ ิจาก สกสว. ตวั แทนจากสถาบนั วิจยั และพัฒนา พฒั นาชมุ ชนและฝา่ ยการท่องเท่ียว อบต.แจ้ซ้อน

รวมทั้งตัวแทนชุมชนจากบ้านจาปุย บ้านโป่งน้าร้อน จานวนรวม 22 คน ได้ลงพื้นที่บ้านแม่แจ๋ม (ป่าคาสันติสุข) อ.เมืองปาน จ.ลาปาง
ในวนั จนั ทร์ท่ี 4 พฤศจิกายน 2562 เพือ่ ทดสอบกลไกการจดั การและเสน้ ทางการท่องเทยี่ วโดยชมุ ชน สรปุ รายละเอียดโปรแกรมทดสอบ
เส้นทางการท่องเท่ยี ว และถอดบทเรียนจากการทดสอบเส้นทางการท่องเทยี่ วโดยชุมชนไดด้ งั ภาพที่ 3

ภาพที่ 3 การทดสอบโปรแกรมการทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน บ้านแมแ่ จ๋ม (ปา่ คาสันติสุข) อ.เมอื งปาน จ.ลาปาง วนั จนั ทร์ที่ 4
พฤศจกิ ายน 2562

3. เสริมจุดแขง็ กาจดั จดุ อ่อน จากการจดั อบรมผนู้ าเทีย่ วท้องถิ่น
หลังจากการจัดกิจกรรมทดสอบโปรแกรมและเสน้ ทางการท่องเที่ยวโดยชุมชน ของทัง้ 3 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ บ้านแม่แจ๋ม อ.

เมืองปาน ในวนั จันทร์ท่ี 4 พฤศจิกายน 2562 บ้านจาปยุ อ.แม่เมาะ วนั จนั ทร์ท่ี 16 ธันวาคม 2562 และบ้านโปง่ น้ารอ้ น อ.เสรมิ งาม วัน
พธุ ที่ 18 ธันวาคม 2562 ซึ่งทางชุมชนรว่ มกับคณะผู้วจิ ยั ไดร้ ว่ มกนั ถอดบทเรียนจากการจัดการท่องเที่ยวโดยชมุ ชนได้วเิ คราะหถ์ งึ จดุ แขง็
จดุ อ่อนและสงิ่ ทตี่ อ้ งปรับปรุงของกลุ่มการทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชนแลว้ คณะผู้วจิ ยั จึงไดจ้ ัดการอบรมผนู้ าเทย่ี วท้องถ่ินขึ้น โดยจดั ร่วมกันทั้ง
3 หมู่บ้าน เพือ่ แลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ่วมกันในวันจนั ทร์ท่ี 23 ธันวาคม 2562 โดยคัดเลอื กประเด็นทมี่ ีปัญหามากทีส่ ุดจากการถอดบทเรียน
การทดสอบเส้นทางการท่องเท่ียว หัวข้อในการอบรม คือ ปัจจัยการเป็นเจ้าบ้านท่ีดี และวิธีการนาเสนอโปรแกรมการท่องเที่ยว ดัง
แสดงในภาพท่ี 3

ผลกระทบและความยงั่ ยนื ของการเปล่ยี นแปลง
การวิจัยครั้งน้ีทาใหผ้ ู้นาชุมชนได้เห็นความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ของผืนป่าต้นน้า เกิดการ รู้สึกหวง
แหนทรัพยากรธรรมชาติ ทาให้เกิดความรกั ใคร่ซึง่ กนั และกนั ของคนในชมุ ชน เกิดความร่วมมือรว่ มใจในการพัฒนาเส้นทางการท่องเทย่ี ว
ถนนหนทาง แหล่งท่องเที่ยว มีการจัดทาโปรแกรมการท่องเท่ียวที่เน้นความเป็นชาติพันธุ์ ทาให้เห็นวัฒนธรรม ประเพณี ท่ีเกี่ยวข้อง
ระหว่างคนกบั ป่า ทาใหผ้ ู้นาชมุ ชนรบั รวู้ ่า ทรัพยากรธรรมชาตหิ ากทกุ คนเอาแต่ใช้ประโยชนแ์ ตข่ าดการดแู ล ขาดจิตสานึกและความรู้สกึ
เป็นเจ้าของ แต่หากไม่คงไว้ซ่ึงการอนุรักษ์จะทาให้ทรัพยากรธรรมชาติหมดไปในอนาคต นอกจากน้ีการจัดการทดสอบโปรแกรมการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชนและการถอดบทเรียน เป็นการจัดประสบการณ์ให้กลุ่มการท่องเท่ียวได้ทดลองปฏิบัติการจริง การวางแผนการจัด
กิจกรรม การวางแผนค่าใช้จ่าย การวางแผนกาลังคน และสร้างความเป็นผู้นาให้แก่ผู้นากลุ่มการท่องเที่ยวชุมชน ชุมชนเปลี่ยนจาก
บทบาทพัฒนาชุมชนในฐานะผรู้ ่วมทา เป็นผูน้ าในการคิดและทากิจกรรมชุมชนด้วยตนเอง

72

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ่ี 19 สิงหาคม 2565

เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของการเปลี่ยน ทาให้ชุมชนตระหนักถึงความร่วมมือระหว่างเครือข่ายและได้ริเริ่มให้มีการรวมกลุ่ม
ภาคีเครอื ข่ายระหว่าง 3 หมู่บา้ น โดยเป็นการรวมกลุ่มทม่ี ีโครงสร้างชัดเจน มีคณะกรรมการ มกี ารจัดทาแผนงานทชี่ ดั เจน จะทาให้เป็น
กลไกท่ีมีทิศทางในการทางานท่ีชดั เจนหนักแนน่ มกี ารจดั ทาแผนงานทม่ี ีการเชอ่ื มโยงระหว่างแนวคดิ กบั การปฏบิ ตั จิ ริง สามารถแสวงหา
ความรู้มาแก้ไขปัญหาใหม่ๆ ได้ มีกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ท่ีต่อเน่ืองเพื่อให้ชุมชนสามารถปรับตัวได้ตามการเปล่ียนแปลง อีกทั้งการ
จัดตั้งกองทุนจัดสรรผลประโยชน์ท่ีชัดเจนลงตัว จะเป็นกลไกในการรับประกันการทางานในอนาคตของชุมชนได้ นอกจากน้ี ยังทาให้
ชุมชนรถู้ งึ คณุ คา่ ของตนเอง มคี วามภาคภมู ิในความเปน็ ชาตพิ ันธุ์ มีความสามคั คกี นั เกดิ ขนึ้ ในกลุ่มทีจ่ ดั ตั้งข้ึน

4. จดั ตง้ั ภาคีเครอื ขา่ ยการทอ่ งเที่ยวชาติพนั ธ์เุ ชอื่ มโยง 3 หมูบ่ า้ น
เพ่อื ใหเ้ กดิ กลไกความรว่ มมือระหวา่ งหม่บู า้ น 3 หมู่บา้ นอยา่ งเปน็ รปู ธรรมชดั เจนและมีความย่งั ยนื แมว้ ่าคณะนกั วิจยั จะ

ถอนตัวออกจากพ้นื ท่วี ิจยั ไปแล้วกต็ าม คณะผูว้ ิจยั จงึ ไดจ้ ัดประชุมผูใ้ หญบ่ ้านและผนู้ าชมุ ชนของทงั้ 3 หมบู่ ้านๆ ละ 5 คน ประกอบด้วย
บ้านแม่แจ๋ม อ.เมืองปาน บ้านจาปุย อ.แม่เมาะ และบ้านโปง่ น้าร้อน อ.เสริมงาม จ.ลาปาง เพื่อประชุมร่วมกันหาแนวทางความร่วมมอื
กัน จึงได้มติจัดตั้งภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวชาติพันธ์ุจังหวัดลาปางข้ึน ในวันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม 2562 ณ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลาปาง ซึ่งโครงสรา้ งองคก์ ารประกอบดว้ ย ประธานภาคีเครอื ข่ายฯ 1 ท่าน รองประธานภาคเี ครือขา่ ย 3 ท่าน และ
กรรมการฝ่ายละ 3 ท่าน โดยกลุ่มภาคีเครือข่าย 3 หมู่บ้าน ได้ร่วมกันจัดต้ังกลุ่มและเสนอช่ือกลุ่ม คือ “ภาคีเครือข่ายการท่องเท่ียว
ชาติพันธุ์จังหวัดลาปาง” หรือ ช่ือภาษาอังกฤษ “Lampang Ethnic Tourism Association: LETA” และได้เลือกประธานภาคี
เครือข่ายฯ โดยวธิ ยี กมือลงคะแนนเสยี ง ผลการคดั เลอื ก ประธานภาคีเครอื ข่ายการท่องเที่ยวชาตพิ ันธุ์จังหวดั ลาปาง คอื นางสาวอนงค์
ศรี ทรายแก่น (ไกด์หมู) ผู้นาชุมชนและตัวแทนผู้ประกอบการจากบ้านจาปุย อ.แม่เมาะ จ.ลาปาง และได้ลงคะแนนเสียงเลือกรอง
ประธาน 3 ฝ่าย และกรรมการกลุ่ม ได้ดังนี้ (ภาพที่ 4 แสดงการประชุมตวั แทนชุมชน 3 หมู่บ้าน เพอ่ื เลอื กประธานภาคเี ครอื ข่ายฯ)

ภาพท่ี 4 การประชุมจัดตงั้ ภาคเี ครอื ขา่ ยการทอ่ งเทยี่ วชาตพิ ันธุ์จงั หวัดลาปาง วันจันทรท์ ี่ 23 ธันวาคม 2562

5. การจัดทาเสน้ ทางการทอ่ งเที่ยวชาติพันธ์ุเชอ่ื มโยง 3 หมูบ่ ้าน
จากการประชมุ หารอื รว่ มกนั 3 หมู่บา้ น ได้ออกแบบเส้นทางการทอ่ งเทย่ี วเชอื่ มโยง 3 หมูบ่ า้ น เป็นแพ็คเกจ 4 วนั 3 คืน

3 ชาตพิ นั ธุ์ ดังภาพที่ 5

ภาพท่ี 5 กจิ กรรมการจดั ทาเสน้ ทางการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนเชอื่ มโยง 3 หมบู่ า้ น วันศกุ รท์ ี่ 15 พฤศจกิ ายน 2562
73

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกรท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

ภาพท่ี 6 การลงนามข้อตกลงความรว่ มมือทางวชิ าการ ระหว่างผู้ใหญบ่ า้ น 3 หมู่บา้ น ประธานภาคีเครอื ขา่ ยฯ สาขาวชิ าการ
จัดการโลจสิ ตกิ สแ์ ละธรุ กิจระหวา่ งประเทศ และสาขาวิชาการทอ่ งเทย่ี วและธุรกจิ บริการ

6. การทาข้อตกลงรว่ มมอื ทางวชิ าการ
ในวันจันทร์ท่ี 23 ธันวาคม 2562 ได้มีการทาบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเรื่อง การสนับสนุนการวจิ ยั การ

บริการวิชาการ หรือการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ระหว่าง สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และธุรกิจระหว่างประเทศ
สาขาวิชาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง กับ 3 ประกอบด้วย บ้านแม่แจ๋ม อาเภอ
เมืองปาน บ้านจาปุย อาเภอแม่เมาะ บ้านโป่งน้าร้อน อาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง เพ่ือการสร้างความเขม้ แข็งของชุมชนภายใตท้ นุ
ทางสังคมและฐานทรัพยากรในพ้ืนที่อันนาไปสู่การอนุรักษ์ สืบทอด และใช้ประโยชน์เพอ่ื สร้างความเข้มแขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานรากผ่าน
การท่องเท่ียวโดยชุมชน เพื่อเป็นการสร้างความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นในจังหวัดลาปาง รวมท้ังการบูรณาการทางาน
ร่วมกันของทั้งสองฝ่าย ตลอดจนถึงการพัฒนาเครือข่ายที่นาไปสู่การขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพ้ืนที่และท้องถ่ิน สามารถสร้างความ
เข้มแขง็ มั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนและท้องถิ่นตอ่ ไปได้ ดงั ภาพที่ 4

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และธุรกิจระหว่างประเทศ สาขาวิชาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการ คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภฏั ลาปาง จะให้การสนับสนุนและร่วมมือใหม้ ีโครงการวิจยั หรือการบริการวิชาการในประเด็นการท่องเท่ยี ว
โดยชุมชนเพื่อการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่อนั นาไปสู่การสร้างความเข้มแข็งจากภายในชุมชนภายใต้ทุนทางสังคมและฐานทรัพยากร
ของชุมชน สนับสนุนนักวิจัย นักวิชาการ นักศึกษาเพ่ือการดาเนินงานของท้ังสองฝ่าย สนับสนุน แลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศ องค์
ความรู้ทางวิชาการ การให้คาแนะนา คาปรึกษาทางวิชาการดา้ นการท่องเที่ยวโดยชุมชน หรือด้านอื่นๆ และสนับสนุนทรพั ยากรต่างๆ
ของคณะและมหาวิทยาลยั เช่น สถานที่ อุปกรณ์ ห้องปฏบิ ตั ิการ ห้องประชมุ เพ่ือการวจิ ัยหรือการบรกิ ารวชิ าการทางด้านการท่องเทยี่ ว
โดยชุมชน หรือดา้ นอืน่ ๆ

ผู้ใหญ่บ้าน ๓ หมู่บ้าน ประกอบด้วย บ้านแม่แจ๋ม อาเภอเมืองปาน บ้านจาปุย อาเภอแม่เมาะ และบ้านโป่งน้าร้อน
อาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง และประธานภาคีเครือข่ายการท่องเท่ียวชาติพันธุ์จงั หวัดลาปาง จะให้การสนับสนุนและร่วมมือในการ
ดาเนินโครงการวิจัย หรือการบริการวิชาการในประเด็นการท่องเท่ียวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาศักยภาพของพ้ืนท่ีอันนาไปสู่การสร้าง
ความเข้มแข็งจากภายในชุมชนภายใต้ทุนทางสังคมและฐานทรัพยากรของชุมชน ให้ความร่วมมือกับหน่วยงาน และประสานงานพื้นที่
เพื่อรว่ มดาเนินการการวิจัย หรอื การบรกิ ารวชิ าการด้านการทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน หรือด้านอืน่ ๆ

ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการน้ี มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันที่ 23 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562 ถึงวันท่ี 22 เดือน
ธันวาคม พ.ศ.2565 เป็นระยะเวลา 3 ปี

สรุปและอภิปรายผล

จากการสารวจและประเมินศักยภาพและความพร้อมด้านการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนพบว่า ชุมชนท้ัง 3 ชาติพันธุ์
ได้แก่ ชาติพันธ์ุลาหู่ บ้านแม่แจ๋ม อาเภอเมืองปาน ชาติพันธ์ุเมี่ยน บ้านจาปุย อาเภอแม่เมาะ และชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ บ้านโป่งน้า
ร้อน อาเภอเสริมกลาง จังหวัดลาปาง พบว่า มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมีความโดดเด่น จึงควรนาจุดเด่นของแต่ละท่ีมา

74

การประชุมวชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565

นาเสนอเปน็ โปรแกรมการทอ่ งเที่ยว เช่น วัฒนธรรมด้านอาหารพ้ืนถิ่น ดนตรีและการแสดง ผลิตภัณฑ์พ้ืนถน่ิ เร่ืองเล่า ตานาน เป็นตน้
ซึ่งสอดคล้องกับ อิสรากร พัลวัลย์ (2564) พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรมของกลุ่มชาติพันธ์อุ ยา่ งยัง่ ยืนของชาวลาหู่ ควรบูรณาการ
ด้านวัฒนธรรมดนตรีเข้ากบั การท่องเที่ยวเป็นแนวทางหน่ึงท่ีจะอนุรักษ์ไว้ไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา ตลอดจนการแสดงออกถึงอตั
ลักษณ์ชาติพันธ์ุ (Ethnic Identity) ของกลุ่มตน เน่ืองจากอัตลักษณ์มีลักษณะเป็นพลวัตแต่มีลักษณะเฉพาะของตนเองหรือคล้ายคลึง
กนั บ่งบอกถึงการเป็นสมาชกิ ของชุมชนนั้นและมีการดารงอยู่ (Fakao, 2010,p.11) ดังท่ี Ministry of Culture (2003, p.75) อธบิ าย
ว่า อัตลักษณ์ชาติพันธ์ุ (Ethnic identity) เป็น ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมที่ร่วมกันของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะ
แตกต่างจากคนกลุ่มอ่ืน ซึ่งอาจจะเป็นลักษณะวัฒนธรรมเชิงกายภาพ เช่น การแต่งกาย การสร้างบ้านเรือนหรือด้านภาษา ตา นาน
ความเชื่อ และลักษณะ พิธีกรรม รวมท้ังการเรียกช่ือของกลุ่มตนเองและกลมุ่ อ่ืนด้วย สอดคล้องกบั ผลงานของ สุประวีณ์ แสงอรุณเฉลิม
สุข (2564) กล่าวว่า อัตลักษณ์ชาติพันธ์ุที่นาเสนอผ่านเรื่องเล่าเป็นเร่ืองราวที่อยู่ในความทรงจาของชุมชนที่แสดงถึงเอกลักษณ์ทาง
วฒั นธรรม อันกอ่ ให้เกดิ ความหวงแหนและการมสี ว่ นร่วมเปน็ เจา้ ของของสมาชกิ ในชุมชน ซึ่งแสดงถึงความเปน็ หนง่ึ เดียวกัน ซ่ึงเปน็ ส่งิ ท่ี
ทาให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนและทาให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนมีการดาเนินต่อไปได้อย่างย่ังยืน ทานองเดียวกับ Rocharungsat.
(2013, p.138) ได้กล่าวว่า ส่ิงสาคัญที่ทาให้การท่องเที่ยวชุมชนมีความเข้มแข็งและยั่งยืน คือการสร้างความรู้ ความเข้าใจถึงการ
พัฒนาการท่องเท่ียวชมุ ชนทเ่ี น้นการพึ่งตนเองของชุมชนเปน็ หลัก จึงจาเป็นต้องสรา้ งใหค้ นเกิดความรัก ความภมู ิใจ หวงแหน การรู้จกั
ถึงคณุ ค่าของเอกลักษณ์ วัฒนธรรม ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอ้ มต่างๆ ทต่ี นมอี ยเู่ สยี กอ่ น จงึ จะเป็นปัจจัยสาคญั ที่ทาให้การทอ่ งเทีย่ ว
ชมุ ชนมเี อกลกั ษณ์ มีเสน่ห์ และทาให้คนในชุมชนมีความต้องการทจี่ ะนาเสนอความภาคภูมิใจในส่งิ ตา่ งๆ ไปยงั คนภายนอกและสามารถ
ถ่ายทอดได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เกิดการสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนและระหวา่ งชุมชน เพื่อร่วมกันวางแผนกลยทุ ธ์และโปรแกรมการ
ทอ่ งเทยี่ วชาตพิ ันธุ์ 3 ชุมชนจงั หวดั ลาปางข้นึ ได้อย่างยง่ั ยืน

ข้อเสนอแนะจากการวจิ ัย

1. ด้านกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยว ท้ัง 3 พ้ืนที่ ยังพบว่า การเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ค่อนข้างไกล
และเมื่อไปถึงสถานที่ท่องเท่ียวพบว่า ยังไม่ถูกใจ ไม่ WOW ความคุ้มค่าของการเดินทางไปยังแหล่งต่างๆ ยังมีน้อย จึงควรพัฒนาจุด
ดึงดูดนักท่องเท่ียวและสร้างกิจกรรมภายในหมู่บ้านท่ีมีความเป็นอัตลักษณ์วิถีชีวิตชาติพันธุ์ และสอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่ ใน
หมู่บ้าน เช่น หมู่บ้านโป่งน้าร้อน ควรเป็นการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เน้นเรื่องของการใช้น้าแร่ธรรมชาติใน
การบาบัด การทาสปาผ่อนคลาย และควรเน้นการปลูกป่าสร้างฝายเพื่อแกไ้ ขปัญหาภัยแล้ง เป็นต้น บ้านจาปุย ควรเป็นการท่องเท่ยี ว
เชิงเกษตรและเชิงผจญภัย เน้นนักท่องเท่ียวที่ชอบปีนป่ายหน้าผา เดินป่าศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น ส่วนบ้านแม่แจ๋ม ควรเป็นการ
ท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ เชิงศึกษาพืชพรรณไม้ปา่ ตน้ น้า และเชิงเกษตร แต่ท้ังน้ีท้ังสามหมู่บา้ นควรรักษาและสืบสานอัตลักษณ์ของชาติ
พนั ธุ์ของตนไว้

2. พฤตกิ รรมนกั ทอ่ งเทย่ี วส่วนใหญ่มกี ิจกรรมในการท่องเทย่ี ว คือ ถ่ายรูป เดนิ ปา่ ผจญภยั แชน่ า้ แร่ ทดลองอาหารพ้ืนถิ่น
กาแฟ ซื้อของที่ระลึก หน่วยงานและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกคนควรมีการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม และน้าใน ลาธารให้ใสสะอาดอยู่
เสมอ เพื่อไม่ให้มีขยะหรือส่ิงท่ีสร้างความสกปรกลงไปในน้า ควรปลูกจิตสานึกและสร้างวินัยให้กับชุมชนชาวบา้ น รวมทั้งนักท่องเทยี่ ว
และจดั หาถังขยะโดยแยกตามประเภทใหเ้ ปน็ สดั สว่ นนามาวางไว้ตามจุดตา่ งๆ เพอ่ื สรา้ งความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย และควรนาเสนอมติ ิ
ทางวฒั นธรรมของวถิ ชี ีวติ ชาตพิ นั ธุ์มากกว่าทจ่ี ะเนน้ ด้านการขายของเพียงอย่างเดยี ว เพ่อื ใหแ้ หล่งทอ่ งเทย่ี วตา่ งๆ ความเปน็ ธรรมชาติ มี
ความเป็นเอกลกั ษณแ์ ละสามารถดงึ ดดู นกั ท่องเท่ยี วได้อย่างยั่งยนื ตอ่ ไป

3. ด้านการรับรขู้ ่าวสารของนักท่องเที่ยว การประชาสัมพันธ์ดา้ นส่ือการท่องเท่ียวของท้ัง 3 หมู่บ้าน ยังไม่ครอบคลุมและ
กระจายเทา่ ท่ีควร จะตอ้ งทาการตลาดทางการท่องเท่ียวควบคู่ไปกบั การเพม่ิ ชอ่ งทางการประชาสมั พนั ธผ์ า่ นส่ือต่างๆ ทง้ั สอื่ บุคคลและที่
ไม่ใช่บุคคล เพื่อช่วยกระจายข่าวสาร เช่น โทรทัศน์ นิตยสารท่องเท่ียว อินเตอร์เน็ต วิทยุชุมชน ศูนย์บริการการท่องเท่ียวของจังหวดั
สารคดีท่องเท่ียวต่างๆ การเปิดตัวสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ภายใต้การจัดงานหรือกิจกรรมต่างๆ ท้ั งในและนอกสถานที่เพ่ือให้
นกั ท่องเทยี่ วรูจ้ กั และรับรถู้ ึงในตวั ผลิตภณั ฑท์ างการทอ่ งเทยี่ วนอกจากนตี้ อ้ งมีการจัดเทศกาลตามฤดูกาลต่างๆ ไปดว้ ย หรอื จัดให้มกี าร
ลดราคาทพี่ ักและทาข้อมลู ทางการทอ่ งเที่ยว แผน่ พบั ปฏิทนิ การทอ่ งเทีย่ ว เพ่อื สนับสนนุ การท่องเท่ยี วตลอดท้ังปี ท้ังของแตล่ ะหมูบ่ ้าน
และของภาคเี ครอื ข่าย 3 หมูบ่ ้าน

75

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ที่ 19 สิงหาคม 2565

4. ด้านผู้ประกอบการร้านค้า โฮมสเตย์ นาเท่ียว ต้องจาหน่ายผลิตภัณฑ์และบริการท่ีมีคุณภาพและราคาที่เหมาะสม ไม่
เอาเปรียบนักท่องเที่ยวท้ังคนไทยและตา่ งประเทศ ด้านรสชาติของอาหารต่างๆ ต้องมี ความอร่อย สะอาด และสดใหม่ทุกวัน รวมทั้ง
ต้องเพยี งพอกบั ความต้องการของนักทอ่ งเท่ยี ว และควรสง่ เสรมิ หรือนาสินคา้ ท่มี ีความเป็นเอกลกั ษณ์ท้องถน่ิ มาจาหน่ายเพิ่มข้นึ รวมทงั้
ผู้ประกอบการ พอ่ คา้ แมค่ า้ ต้องมคี วามพร้อมในการให้บรกิ าร จะเปน็ การสร้างความประทับใจ ใหแ้ กน่ ักท่องเทีย่ วเพมิ่ ขึ้น

5. ด้านสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว การขนส่งนักท่องเท่ียวมีการคิดราคาที่เป็นธรรม ระบบรักษาความ
ปลอดภัยภายในหมู่บ้าน ต้องปรับปรุงและพัฒนาทางเดิน บริเวณท่องเที่ยว จุดชมวิว ให้มีความสะอาดถูกสุขลักษณะ มีความ
ปลอดภัยมากย่ิงข้ึน และเมื่อนักท่องเท่ียวมีปริมาณมากต้องไม่ทาให้เกิดการเบียดเสียด หรือทางข้ึนเขาลงเขาต้องสามารถจัดเส้นทาง
ไม่ให้กระจุกตัว สถานท่ีพักต้องมีแสงสว่างเพียงพอในเวลากลางคืน และเพ่ิมเจ้าหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยตามจุดต่างๆ หรือ
ตามจุดบริการนักท่องเท่ียว ควรมีเจ้าหน้าที่ประจาการอยู่ตลอดเวลา และมีการแนะนาการให้บริการนาเท่ียว ออกแบบโปรแกรมการ
ทอ่ งเทยี่ ว และการคิดคา่ บรกิ ารทอ่ งเทีย่ วท่ีเปน็ ธรรมและมีการจดั สรรผลประโยชน์ ที่ได้ให้แก่ส่วนกลางอยา่ งโปร่งใสและเป็นธรรม

6. กลไกการจัดการหมู่บ้าน เน้นการมีส่วนร่วมของทุกคนทุกฝ่าย ท้ังกลุ่มการท่องเท่ียวชมุ ชนของแต่ละหมู่บ้าน และภาคี
เครือข่ายการท่องเท่ียวชาติพันธ์ุจังหวัดลาปางท้ัง 3 หมู่บ้าน ต้องมีการวางแผนและกาหนดกลยุทธ์อย่างต่อเนื่อง ควรจัดการประชุม
อย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้รับทราบถึง ข้อปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน และมีแนวทางในการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง เน่ืองจากการท่องเที่ยวนั้นมี
ความเจริญเติบโตไปอย่างรวดเร็ว และปรับเปล่ียนไปตามกระแสของผู้บริโภค จึงต้องวางแผนรองรับเหตุการณ์ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
ด้วย

7. งานวิจัยในอนาคตควรเน้นเร่ืองของการท่องเที่ยวชาติพันธุ์ท่ีเน้นเรื่องของการท่องเที่ยววิถึใหม่ new normal การ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เน้นความสะอาดปลอดภัยในการเดินทางท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ติดเช้ือไวรัสโคโรน่า
COVID19 เพอ่ื สรา้ งความม่ันใจให้นักท่องเทยี่ วและยกระดับการท่องเท่ยี วชาติพันธุใ์ นระดบั นานาชาติต่อไป

กติ ติกรรมประกาศ

ผู้วิจยั ขอขอบคุณสานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม (สกสว.) และมหาวิทยาลัยราชภฏั ลาปาง
ท่ีสนับสนุนทุนวิจัย สัญญาเลขท่ี 13/2562 รวมท้ังคาแนะนาที่ดีจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของ สกสว. และภาคส่วนอ่ืนทุกท่าน
ขอขอบคุณผู้ร่วมอุดมการณ์ทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องในโครงการ ตั้งแต่ชุมชน ผู้นาชุมชน นักวิชาการ ผู้แทนภาครัฐ นักศึกษา ท่ีมีส่วน
สาคัญในการขับเคลื่อนให้งานวิจัยบรรลุผลสาเร็จ

เอกสารอา้ งอิง
คมสัน สุริยะ. (2551) กรอบแนวคิดในการวิเคราะห์เรื่องโลจิสติกส์สาหรับการท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2562 จาก

www.tourismlogistics.com.
ณัฐชัย บูรณะวิมลวรรณ และ เกศรา สุกเพชร. (2561). บริบทโลจิสติกส์การท่องเท่ียว : การไหลทางกายภาพบนเส้นทางตาก - แม่

สอด . วารสารวทิ ยาลยั ดสุ ิตธานี, 12(2), 80-96.
ไพรชั พิบูลรงุ่ โรจน์. (2551). Tourism Logistics or Tourism Supply Chain Management? สบื คน้ เมื่อ 15 ตลุ าคม 2562 จาก

www.tourismlogistics.com.
สปุ ระวณี ์ แสงอรณุ เฉลมิ สขุ , เอ้ือมพร ฟูเตม็ วงค,์ พชรวลี กนษิ ฐเสน และ ชดั นารี มีสุขโข. (2564). อตั ลกั ษณ์ชาตพิ ันธผ์ุ า่ นเร่ืองเล่าเพื่อ

สง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน. สักทอง : วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.), 28(4), 53-64.
อัครพงศ์ อั้นทอง. (2558). ความยืดหยุ่นของอุปสงค์การท่องเที่ยวไทยในระยะยาวของนักท่องเท่ียวอาเซียน. วารสารเศรษฐศาสตร์

ประยกุ ต์, 21(1), 1-19.
อิสรากร พัลวัลย์. (2564). พัฒนาการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยั่งยืน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์สานักงาน

คณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม.่
Colorafi, K. J., & Evans, B. (2016). Qualitative descriptive methods in health science research. Health Environments

Research & Design Journal, 9(4), 16-25.

76

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ท่ี 19 สิงหาคม 2565
Fakao, S. (2010). Maintaining the Cultural Identity of the Tai Yai Community through Transitions in Mae Hong

Son Province. Department of Cultural Promotion, Ministry of Culture.
Lumsdon, L., & Page, S.J. (Eds.). (2004). Tourism and Transport Issues and Agenda for the New Millennium.

London: Elsevier.
Ministry of Culture. (2003). Ethnic and Myth. Bangkok: Printing of The Express Transportation Organization of

Thailand (E.T.O)
Rocharungsat, P. (2013). Community Tourism. (2nd ed.). Bangkok: Odeon Store.

77

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ท่ี 19 สิงหาคม 2565

การออกแบบและพฒั นาแพลตฟอรม์ ชดุ การสอนโคด้ ด้งิ สาหรบั เดก็ 9-12 ปี
สังกดั โรงเรียนเอกชน เขตกรงุ เทพมหานคร

Platform Development and Design of Coding Instruction Set for Children Aged 9-12
Years Old in Non-government School, Bangkok

วีรภัทร เพชรสูงเนิน, มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ
อรรถศษิ ฐ์ พัฒนะศริ ิ, มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ

Email: [email protected]

บทคดั ยอ่

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเพื่อศึกษาข้อมูลเชิงลึกทางด้านการเรียนการสอนโค้ดด้ิงเพื่อออกแบบและพัฒนาชุดคิท
และเพ่อื ออกแบบและพัฒนาแพลตฟอรม์ ชดุ การสอนโคด้ ดิ้งสาหรบั เด็ก 9-12 ปี เป็นการวิจยั แบบเชงิ คุณภาพ กลมุ่ ตัวอยา่ งคือนักเรียน
ที่มีอายุ 9 -12 ปีที่ศึกษาอยใู่ นเขตกรุงเทพมหานครและคุณครูที่สอนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบ่งออกเป็นกลุ่มสมั ภาษณ์
นักเรียนจานวน 6 คน และคุณครูจานวน 6 คนภายใต้กรอบงานวิจัย Design Thinking เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา คือ การสัมภาษณ์
เชิงลึก (In-Depth Interview) จากวิเคราะห์บทสัมภาษณ์ด้วยเคร่ืองมือ Importance versus Satisfaction Framework เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอีกท้ังการกาหนดการเสนอคุณค่าของผลิตภัณฑ์โดยใช้หลักของ Value Proposition Canvas
ผู้วิจัยได้ออกแบบคอร์สเรียนเพ่ือใหต้ อบโจทยผ์ ู้เรียนโดยใช้หลักทฤษฏีการสร้างสรรค์ด้วยปัญญา(Constructionism) เพื่อให้นักเรียน
เรียนรู้ด้วยตัวเองอย่างมีประสิทธิภาพประกอบไปด้วยคอร์ส Coding Foundation Coding Intermediate Coding Robotic และ
รวมถึงการออกแบบแพลตฟอร์มต้นแบบอาทิเช่น การออกแบบแพลตฟอร์ม ข้ันตอนการออกแบบช่ือ Rob robot ขั้นตอนการ
ออกแบบโลโก้ ข้ันตอนการกาหนดชุดสี (Color System) ข้ันตอนการออกแบบโครงร่างด้วยการวาดภาพ (Wire Frame) ขั้นตอนการ
ออกแบบโครงร่างด้วยโปรแกรม (Wire Frame) ทาให้สามารถทดสอบกับกลุ่มลูกค้าจริงและเห็นผลจริงอีกทั้งยังสามารถออกแบบ
กลับมาปรบั ปรุงพฒั นาผลิตภณั ฑข์ องเราเพ่ือเขา้ ใจกลุ่มลูกค้าได้อกี ด้วย
คาสาคัญ: การออกแบบ ,พัฒนาแพลตฟอร์ม, ชุดการสอนโค้ดดิง้ สาหรับเดก็

ABSTRACT

This research aimed to study in-depth information about coding teaching for the design and development
of study kits and to design as well as develop a coding teaching kit for children aged 9 – 1 2 years old. This is
qualitative research. The samples included students aged 9–12 years old studying in the Bangkok Metropolis and
teachers who teach science and technology. The samples were divided by the interviewers into 2 groups; 6 students
in one group and 6 teachers in another group, under the Design Thinking concept. The instrument used in this study
was an in-depth interview based on the interview analysis using Importance versus Satisfaction Framework tools to
meet consumer needs and to define product value propositions using the Value Proposition Canvas. The author
has designed a course to meet the students' needs by using the theory of constructionism to allow the students
to learn by themselves efficiently. The course included Coding Foundation, Coding Intermediate, Coding Robotic,
and the design of a prototype platform such as platform design, Robotobot name design process, Logo design
process, Color System process, and Wire Frame process. This makes it possible to test with real customers and
obtain real results, as well as being able to design and improve our products to understand customer groups
accordingly.
Keywords: Design,Platform Development,Codingkit for kit

78

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565

บทนา

อุตสาหกรรมของโลกชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ในปัจจุบันจะเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของยุคสมัยเวลาเปลี่ยนสังคม
เปลีย่ นในทกุ ๆมติ ิโลกกาลงั เผชิญการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจสังคมการเมืองการปกครองและความเปน็ อย่ขู องมนษุ ย์อย่างรวดเร็วเป็น
เพราะการขบั เคล่ือนสังคมด้วยเทคโนโลยที ่ีเข้ามามีสว่ นร่วมอยู่ในทกุ บริบทของสงั คมท่วั โลกผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสังคมอย่าง
รวดเรว็ อกี สิง่ หหนึง่ คือด้านอุตสาหกรรมเวลานี้ได้ถึงจเุ ปล่ยี นท่สี าคญั และการเปลย่ี นแปลงอย่างกา้ วกระโดดโดยถอื ไดว้ ่าเป็นยุคใหม่ของ
การเชอื่ มตอ่ ทเ่ี รยี กวา่ อตุ สาหกรรมอุตสาหกรรมเริ่มต้นจากนโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของประเทศเยอมนั นีเมือ่ ปี ค.ศ.2013 โดยจะ
ขับเคล่อื นด้วยเทคโนโลยีอตั โนมตั ิควบคไู่ ปกับห่นุ ยนต์อจั ฉรยิ ะและการเช่อื มโยงกบั เครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้ส่งผลกระทบต่อ
การศกึ ษาที่จะตอ้ งปรบั ตัวและตอบโจทย์กบั พัฒนาของเด็กแตแ่ ละ Generation เพื่อการเตบิ อยา่ งมีคณุ ภาพและสมวยั การเปลยี่ นแปลง
ในวิถีชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะในระบบการศึกษา

ประเทศต่างๆ ท่ีได้ช่ือว่าคุณภาพการศึกษาดีล้วนลงทุนกับเทคโนโลยีเพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู้และสร้างช่องทางใหผ้ ู้เรียนเขา้ ถงึ
หลักสูตรต่างๆมากขึน้ เม่ือโลกของเราพัฒนาเกิดการเปล่ียนการศึกษาด้านวทิ ยาศาสตร์ได้พัฒนาความก้าวหน้าขึ้นมาอย่างรวดเร็วและ
เป็นระบบโดยทุกประเทศทั่วโลกส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาอย่าต่อเน่ืองฟินแลนด์เป็นประเทศที่มีการศึกษาดีเป็นอันดับที่ 1 ของ
ประเทศในยุโรป ซึ่งทานโยบายทางการศึกษาด้วยพื้นฐานความรู้ความสามารถท่ีต้องการผลิตและต้องการสร้างประชากรที่ดีที่สุดของ
โลกโดยในปี พ.ศ. 2558 - 2566 รัฐบาลฟินแลนด์ตั้งเป้าปรับใช้ระบบดิจิทัลกับการศึกษาเน้นการเรียนรู้เข้าใจเทคโนโลยีมีการปลูกฝัง
การฝึกเขยี นโปรแกรมเพื่อใหน้ กั เรยี นทุกคนเขา้ ใจพน้ื ฐานของดจิ ิทลั และเพือ่ เพม่ิ คณุ ภาพและประสิทธภิ าพในการวจิ ยั และนวตั กรรมใหม้ ี
มาตรฐานสากลหรือแม้แต่ประเทศเพื่อบา้ นอยา่ งประเทศสิงคโปร์ที่มวี ิสยั ทัศน์ในการสร้าง smart nation เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้
เทคโนโลยีท่ีทันสมัยที่สุดของโลกมาเป็นประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติซึ่งสิงคโปร์ได้เตรียมความพร้อมในเร่ื องโครงสร้าง
พ้ืนฐานกาลงั คนทีม่ ีคุณภาพ และสร้างโอกาสให้แก่ประชาชน โดยใช้จดุ เดน่ ทางการศกึ ษา 5 ประการ ไดแ้ ก่ บุคลากรครูคุณภาพสูงการ
เรียนการสอนสองภาษา โอกาสทางการศึกษาท่ีเท่าเทียม เทคโนโลยีการเรียนการสอนท่ีทันสมัยเน้น การฝึกทักษะการเขียนโปรแกรม
พัฒนาหุ่นยนต์ปัญญาประดิษฐ์ และระบบการศึกษาท่ียืดหยุ่น ส่วนประเทศให้เข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ประเทศไทยต้องมีการสร้าง
นวัตกรรมเป็นของตนเองโดยไม่ต้องพึง่ พงต่างชาติเหมือนแต่กอ่ นซ่ึงเป้าหมายสาคัญของ Thailand 4.0 เป้าหมายท่ีสาคัญท่ีสุดคือ การ
ขับเคลื่อนไปสู่การเปน็ ประเทศท่ี “มง่ั คง่ั ม่นั คง และยัง่ ยนื ”

จากสถานการณ์การเปล่ียนแปลงทางด้านสังคม การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจของโลก และชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์
เป็นอยู่ของมนุษย์ในปัจจุบันจะเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของสังคมยุคตามสมัยการเปล่ียนแปลงในทุกๆมิติของสังคม ไม่ว่าจะเป็น
วิวัฒนาการด้านเทคโนโลยหี รือการศึกษาในประเทศไทยควรได้รับการพัฒนาหรือให้ความสาพฒั นาหรือให้ความสาคัญโดยจะสังเกตได้
ว่าการศึกษาไทยหากเปรียบเทียบกับประเทศท่ีมีระบบมีการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพประเทศไทยน้ันยังมีคุณภาพประเทศไทยน้ันยัง
ไม่ได้บรรจุการเรียนการสอนเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมและการพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับนักเรียนในโลกยุคสมัยใหม่และไม่มี
ความเข้าใจหรือการพัฒนาการศึกษาเกี่ยวกับการเขียนกับการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจังอีกท้ังเว็บไซต์สื่อการเรียนการสอนในโลก
ออนไลน์ปัจจุบันยังล้าหลังไม่ตอบโจทย์กับเด็กรุ่นใหม่เท่าที่ควรและเน้ือหาไม่มี การปรับให้ทันยุคทันสมัยนอกจากน้ีชุดคิทหรือชุดการ
ประดิษฐ์ยังหาได้ยากและมีราคาสูงอุปกรณ์ข้างในชุดคิทไม่สามารถตอบโจทย์ไม่เหมาะสมกับการเรียนรู้สาหรับเด็กในอายุ 9-12 ปีอีก
ทั้งหลายๆชุดการสอนท่มี ีอยู่ตามท้องตลาดไม่ไดม้ กี ระบวนการสอนท่ีทาใหน้ ักเรยี นเกดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจหรอื กระบวนการทางความคิด
อย่างถูกต้องและถูกวิธี อีกหนึ่งปัญหาสาหรับการศึกษาไทยเกีย่ วกบั การเรียนรู้ทางทางด้านหุ่นยนต์ไม่ใช่เพียงเกดิ ขึ้นกับนักเรยี นแตค่ ุณ
ครูผูส้ อนกป็ ระสบปญั หาเชน่ กนั นอกจากการหาอุปกรณ์ในกาการสอนท่มี ีต้นทุนราคาสูงแล้วทางด้านการเขา้ ใจและกระบวนการต่างๆใน
การสอนนักเรียประถมศกึ ษาตอนปลายกเ็ ป็นปญั หาเช่นกนั เนือ่ งจาการไมเ่ ข้าถึงกระบวนการเขียนโปรแกรมของหนุ่ ยนต์ทม่ี ากพอรวมถงึ
การเข้าถึงอุปกรณ์โดยง่ายอีกทั้งเนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันด้วยสถานการณ์โรคระบาดหรือจากภัยธรรมชาติต่างๆการเรียนรู้ด้วย
ตัวเองจึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับเด็กรุ่นใหม่แต่ไมม่ ีอปุ กรณ์หรือแหล่งเรยี นท่ีเหมาะสมกบั นกั เรียนทตี่ ้องการจะเรยี นรู้ด้วยตวั เองด้วยเหตนุ ้ี
ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะออกแบบและพัฒนาแพลตฟอร์มชุดการสอนโค้ดด้ิงสาหรับเด็กและออกแบบและพัฒนาชุดคิทเพื่อนักเรยี นท่ี
ต้องการการต่อยอดการเรียนผ่านเเพลตฟร์อมพร้อมทั้งการเรียนพร้อมกับชุดคิทเพือ่ สร้างหุ่นยนต์ขน้ึ เพื่อใช้ในการพัฒนาความสามารถ
ด้านนวตั กรรมและเพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนไดท้ ราบถงึ ความถนัดตามความตอ้ งการของตนเองในการเลือกเรยี นและกาหนดอนาคตต่อไป

79

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565

วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย

1. เพ่ือศึกษาการออกแบบและพัฒนาแพลตฟอร์มชุดการสอนโค้ด ดิ้งสาหรับเด็ก 9-12 ปีสังกัดโรงเรียนเอกชนเขต
กรงุ เทพมหานคร

วิธดี าเนินการวจิ ยั

การศึกษาน้ีใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บ รวบรวมข้อมูลแบบสัมภาษณ์เชิงลึกภายใต้กรอบแนวคิดแบบ Design
Thinking

ข้ันตอนท่ี 1 การ Empathize ตือการเข้าอกเข้าใจหรือการเพิ่มคุณค่าให้กับกระบวนการโดยขน้ั ตอนแรกเร่ิมจากการกาหนด
กลมุ่ ตัวอยา่ ง

การกาหนดประชากรและการสุ่มกลมุ่ ตวั อย่าง ในข้ันตอนแรกคือการกาหนดกลุ่มเปา้ หมายของเราเพ่ือจะเขา้ ถึงกลุ่มเปา้ หมาย
ในการสรา้ งความเข้าใจกลมุ่ ลูกคา้ จะใชว้ ิธีการวจิ ยั เชงิ คุณภาพโดยวิจยั เชิงคุณภาพเปน็ การเก็บข้อมลู เชงิ ลกึ โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ทราบ
ถึงความรู้ความเข้าใจรวมถึงประสิทธิภาพในการเรียนการเขียนโค้ดดิ้งสาหรับเด็ก ที่มีอายุระหว่าง 9-12 ปี ว่ามีกระบวนการการเรยี นรู้
อยา่ งไรเพือ่ ตอบโจทย์ในศตวรรษที่ 21 อกี ท้งั ยังรวมถึงปัญหาและอุปสรรคในการเรยี นการสอนวชิ าโคด้ ดงิ้ สาหรบั เดก็ วธิ ีการเกบ็ รวบรวม
ขอ้ มลู แบบเจาะลกึ ของนักเรียนทม่ี ีอายรุ ะหวา่ ง 9-12 ปี โดยใช้ข้อมูลเปน็ เกณฑ์การวัด

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพคือนักเรียนที่มีอายุ9-12 ปี ศึกษาอยู่ในเขกรุงเทพมหานครสังกัดกรมการศึกษาเอกชน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

การเลอื กกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เป็นการเลอื กกลุ่มตัวอยา่ งโดยพจิ ารณาจากนกั เรียนที่มอี ายุ9 -
12 ปี ศึกษาอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร สังกัดกรมการศึกษาเอกชนกระทรวงศึกษาธิการและคุณครูท่ีสอนในรายวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยีเพือ่ ให้ไดข้ ้อมูลตามวตั ถปุ ระสงค์โดยเริ่มเกบ็ ขอ้ มลู ตงั้ แตเ่ ดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564 – เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2565 เคร่ืองมือที่
ใช้ในงานวจิ ยั การสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ (In-depth interview) ใช้การสัมภาษณเ์ ป็นรายบุคคลใช้ คาถามแบบปลายเปดิ เพื่อให้กลมุ่ ตัวอย่าง
สามารถแสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ทาใหไ้ ด้ข้อมลู หลากหลายแง่มุม ซ่งึ คาถามสาหรบั สมั ภาษณน์ ักเรยี นทม่ี อี ายุ9-12 ปี ศกึ ษาอยู่
ในเขตกรงุ เทพมหานคร สังกัดกรมการศกึ ษาเอกชน กระทรวงศึกษาธกิ ารและคณุ ครทู ส่ี อนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยมี
วัตถุประสงค์เก่ียวกับการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์และการเรียนเขียนโปรแกรมในระดับช้ันประถมศึกษาตอนปลายของนักเรียน
อายุ 9 -12 ปี

การเก็บรวบรวมข้อมลู
โดยการเก็บขอ้ มลู จะครอบคลมุ หัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. แบบสอบถามที่ใชใ้ นการวจิ ยั นี้ แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดังน้ี คอื
ตอนที่ 1 การเกบ็ ข้อมลู เก่ยี วกับการเรยี นโค้ดด้งิ สาหรับนกั เรียน
ตอนที่ 2 การเกบ็ ข้อมลู เก่ียวกับการสอนโคด้ ด้งิ สาหรบั คณุ ครู
ขนั้ ตอนที่ 2 Define กค็ อื การสรุปข้อมลู จากข้ันตอนท่แี ลว้ เพือ่ อธบิ ายปัญหาของผใู้ ชอ้ อกมาใหช้ ัดเจนท่สี ุด การสรุปปัญหาของ
ผู้ใช้โดยผู้วิจัยนาผลการสัมภาษณ์เชิงลึกมาวิเคราะห์ข้อมลูเพื่อนาไปพัฒนาแพลตฟอร์มชุดการสอนโค้ดดิ้งสาหรับเด็กอายุ 9 – 12 ปี
ผ่านกระบวนการการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือ Importance versus Satisfaction Framework เพื่อตอบสนองความต้องการของ
ผบู้ ริโภค
ขั้นตอนที่ 3 Ideate ขั้นตอนของการสร้างสรรค์ การรวบรวมไอเดีย คัดกรองไอเดียท่ีน่าสนใจโดยกาหนดการเสนอคุณค่าของ
ผลิตภัณฑ์ (Value Proposition) โดยใช้ Value Proposition Canvas และการออกแบบคอร์สเรียนรวมถึงการออกแบบกล่องชุดคิด
การเรยี นรู้
ข้ันตอนท่ี 4 Prototype หรือแบบจาลอง เพ่ือนาไอเดียท่ีดีสามารถช่วยตอบโจทย์ของผู้ใช้โดยมีการออกแบบ Prototype
ของช้นิ งานชุดคทิ และการออกแบบแพลตฟอรม์ ผา่ นกระบวนการ UX/UI เพ่ือการเรยี นการสอนโค้ดด้งิ สาหรบั นกั เรียนอายุ 9 – 12 ปี

80

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565
ข้ันตอนที่ 5 การทดสอบข้ันตอนสุดท้ายคือการทาผลิตภัณฑ์ได้ Prototype การสร้างหรือออกแบบ Prototype แบบจาลอง
ของผลลพั ธท์ ่ีเราจะสรา้ งขน้ึ โดยนาไปทดสอบกับกลมุ่ ตัวอยา่ งไดแ้ ก่นักเรยี นและคุณครู

ผลการวจิ ัย

ตอนที่ 1 ผลการออกแบบดา้ นแพลตฟอรม์ การใช้งานสาหรับการเรียนการสอนโค้ดดิ้งของนกั เรยี นและคุณครู

ภาพท่ี 1 รปู แบบแพลตฟอรม์ การสอนโคด้ ดิง้ สาหรบั เด็ก

81

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565
จากการวิจัยและทดสอบ Prototype ทั้ง 2 รอบพบว่ารูปลักษณ์หน้าตาของการทา UxUi เป็นสิ่งท่ีสาคัญมากสามารถดึงดูด
และสร้าง แรงบันดาลใจในการเรียนรู้สาหรับเด็กในช่วงอายุ 9-12 ปีและสามารถดึงดูดเพ่ือให้กลุ่มลูกค้า นอกจากนี้การที่เรา Design
สวยไม่ได้หมายความว่าจะตอบโจทย์กับเด็กหรือตอบโจทย์กับกลุ่มลูกค้าเสมอไปทุกองค์ประกอบที่คุณมาไว้บนหน้าเว็บไซต์ เช่น ปุ่ม
คอนเทนต์ ต้องเปน็ ประโยชน์ สามารถชว่ ยเหลอื และตอบคาถามในสง่ิ ที่ผู้ใช้กาลังตามหาอยู่ไดร้ ปู ภาพและองคป์ ระกอบอืน่ ๆ สามารถ
ใช้กระตุ้นอารมณ์ ทาให้ผู้ใช้งานรู้สึกพอใจ ชื่นชม และอยากสร้าง Conversion ให้เว็บไซต์ต้องออกแบบเว็บไซต์ท่ีสามารถนาทางให้
ลกู คา้ ไปยงั คอนเทนต์หรือสว่ นตา่ ง ๆ ทพ่ี วกเขาตอ้ งการได้อยา่ งง่าย และหากเราไมไ่ ด้ทดสอบ หรือ ทดลองกล่มุ ผู้บริโภคของเราโดยตรง
เราจะไม่มีทางร้ไู ด้ว่าแทจ้ รงิ แลว้ กลมุ่ ผบู้ ริโภคของเราต้องการอะไรและมสี ่วนไหนบ้างท่ยี ังไมม่ หี รือไมไ่ ดต้ อบสนองความต้องการของกล่มุ
ผู้บริโภคน้ัน อีกท้ังการออกแบบต้องคานึงถึงเร่ืองของความปลอดภัยท่ีอยู่ในช่วงวัยผ่านการสื่อสาร ทางภาดและวีดีโอ สมองคานึงถึง
ความเหมาะสมของภาพและวีดีโอให้เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียนหรือกลุ่มเป้าหมายของเรา ไม่ใช่เพียงแต่เอาตัวเองเป็นท่ีตั้งหรือ
ออกแบบตามสไตลข์ องเรา
ตอนท่ี 2 ผลการออกแบบดา้ นอปุ กรณก์ ารเรียน box set

ภาพท่ี 2 ภาพกล่องอปุ กรณก์ ารสอน box set
จากการตรวจสอบพบว่าการออกแบบและพัฒนาอปุ กรณ์การเรยี นการสอนเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและออกตรวจกับผู้เรยี น

เป็นอย่างมากเน่ืองจากทางด้านราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดทางด้านการเช่ือมต่อกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถหาได้ทั่วไปอีกทั้งการ
เชื่อมตอ่ ระบบซอฟแวร์ทส่ี ามารถเช่ือมตอ่ อุปกรณท์ ่ีสามารถเขยี นโค้ดอา่ นคาส่งั แบบบล็อกได้ทันทีและท่สี าคญั ยังสามารถพกพาได้ทุกที่
เหมาะสาหรับการเรียนรขู้ องนกั เรยี นประถมปลาย

82

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม 2565
ตอนที่ 3 ผลการออกแบบดา้ นเนือ้ หาของการเรียนการสอน

ภาพที่ 3 ภาพเนอ้ื หาส่อื การเรยี นการสอน

83

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565

จากการสมั ภาษณน์ ักเรยี นพบวา่ คณุ ครูทกุ คนชอบการสอนเน้อื หาครบถ้วนสามารถเขียนโค้ดและประดิษฐ์งานเกีย่ วกบั หุ่นยนต์
ได้ไปพรอ้ มๆกันสามารถอปั โหลดไดห้ ลายทางและล้ิงจาก Youtube ไดเ้ ป็นทางเลอื กให้กบั คุณครูและในส่วนของเน้นหาทอี่ อกแบบการ
เขียนคาสงั่ อย่างง่ายผา่ นบอร์ดเพื่อให้เดก็ นกั เรยี นเขา้ ถึงการเขยี นโคด้ แบบหุ่นยนต์ตอบโจทยก์ ับชว่ งวัยของนกั เรียน

สรุปและอภปิ รายผล

สรุป
การวิจัยครั้งน้ีเป็นการออกและพัฒนาแพลตฟอร์มชุดการสอนโค้ดด้ิงสาหรับเด็กอายุ 9 – 12 ปี สังกัดโรงเรียนเอกชน เขต
กรุงเทพมหานครท้ังนี้เพือ่ ช่วยพัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธภิ าพมากขึ้นเกี่ยวกบั การเรียนการสอนด้านเขยี นโปรแกรม
สาหรับหนุ่ ยนต์ส่งเสริมการพฒั นาการเรียนรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์อยา่ งง่ายและแพลตฟอร์มให้ตอบโจทย์กับยุคสมยั มาก
ข้ึนความมุ่งหวังของงานวิจัยช่วยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเก่ียวกับการเรียนการสอนด้านเขียน
โปรแกรมสาหรับหุ่นยนต์ส่งเสริมการพัฒนาการเรียนรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรม หุ่นยนต์อย่างง่ายให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและ
นักเรียนสามารถเขียนโค้ดแบบบล๊อคคาสั่งอีกทั้งประดษิ ฐห์ นุ่ ยนต์อยา่ งง่ายได้

อภิปรายผล
คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช (2562) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการกล่าวในการแถลงนโยบายด้านการศึกษาเพ่ือ
พัฒนาคนสู่ศตวรรษท่ี 21 สนับสนุนเด็กไทยต้องได้เรียนโค้ดดิ้ง (Coding)พร้อมพัฒนาหลักสูตรให้เป็นรูปธรรมก้าวทันเทคโนโลยีและ
โลกยุคดิจทิ ลั ที่มกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาซง่ึ สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั ชิน้ นีแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การผลติ กส่ือการเรียนการสอนทต่ี อบโจทย์แหง่
โลกอนาคตเก่ียวกับการประดิษฐ์หุ่นยนต์ซ่ึงสามารถที่จะเรียนได้ทุกท่ีทุกเวลาอีกท้ังการพัฒนา แพลตฟอร์ม E-learning ให้มีความ
สวยงามและคานึงถึงการเข้าถึงเว็บไซตอ์ ย่างมีประสิทธิภาพเมอ่ื นักเรียนเริ่มการเรียนการสอนแบบการใช้แพลคฟอร์มออนไลน์แลว้ เม่ือ
นกั เรียนทดลองการประกอบนั้นจะเกิดกระบวนการการเรียนรสู้ ร้างสรรค์ดว้ ยปญั ญา ลักขณา สรวิ ฒั น์ (2557) ไดใ้ ห้หลกั การสาคญั ของ
ทฤษฎีการสร้างสรรค์ด้วยปัญญา ดังนี้ หลักการท่ีผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยให้ผู้เรียนลงมือประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
ด้วยตนเองหรือได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกท่ีมีความหมายการเรียนรู้จะได้ผลดีถ้าหากผู้เรียนเข้าใจในตนเอง มองเห็น
ความสาคัญในสง่ิ ที่เรยี นรูแ้ ละสามารถเช่ือมโยงความรใู้ หมก่ บั ความรูเ้ กา่ รู้วา่ ตนเองได้เรียนรอู้ ะไรบา้ งและสรา้ งเปน็ องค์ความรู้ใหม่ข้ึนมา
แสดงให้เห็นวา่ การวิจัยในคร้ังนี้นอกจากจะตอบโจทยก์ ับโลกอนาคตแลว้ ยังสามารถส่งเสรมิ ให้นักเรียนเรยี นรู้ด้วยตวั เองสร้างสรรค์ด้วย
ปญั ญาอกี ดว้ ย

ขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะเพ่ือนาผลการวจิ ยั ไปใช้
การพัฒนานวตั กรรมการศึกษาอาจจะต้องคานึงถงึ ผู้เรียนเป็นสาคัญให้ความสาคัญกบั ผู้ทดสอบและการทดสอบเพอื่ ที่จะได้
ผลิตภัณฑท์ างการศกึ ษาทด่ี แี ละตรงกบั กล่มุ เปา้ หมายดา้ นแพลตฟอร์มการใชง้ านสาหรบั การเรยี นการสอนโค้ดด้ิงของนักเรียนและคณุ ครู
ต้องออกแบบและทดลองการใช้งานจริงจะทาให้เรารู้ถึง Pain point ของการเขียนโปรแกรมสาหรับเด็กและสามารถตอบโจทย์กับ
นักเรียนและครูผู้สอนได้ ด้านอุปกรณ์การเรียน box setเม่ือทดสอบสามารถท่ีจะประบตัวของอุปกรณ์ให้นักเรียนเรียนรู้ได้ง่ายและ
สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเองด้านเนื้อหาของการเรียนการสอนการออกแบบเนื้อหาการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการประดิษฐ์และ
สอดแทรกเน้ือหาตามกระทรวงศึกษาธิการเพือ่ ตอบโจทยค์ ุณครแู ละนกั เรยี น

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครง้ั ถัดไป
สามารถพัฒนาตัว Product ในส่วนของ box set ให้อุปกรณ์ท่ีหลากหลายมากกว่าที่เป็นอยู่อีกท้ังยังสามารถที่จะพัฒนา
แพลตฟอร์มให้มี feature ที่มากข้ึนอาทเิ ช่นสามารถ live บนแพลตฟอร์มของตัวเองได้สามารถประชาสัมพนั ธ์เว็บไซต์ไปยังสื่อโซเชยี ล
มเี ดยี อนื่ ๆได้เชน่ เดยี วกันอาทิเช่นเพจ Facebook

84

การประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุลว่ งไดด้ ้วยความกรุณาอยา่ งสูงจาก อาจารย์ ดร.อรรถศิษฐ์ พัฒนะศิริ อาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์
ท่ีได้กรุณาเสียสละเวลาอันมีค่านับตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จ สมบูรณ์ในการให้คาปรึกษา คาแนะนาท่ีมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ช่วยเหลอื
ตรวจสอบ รวมทั้ง แก้ไขข้อบกพร่อง ข้อผิดพลาดตา่ งๆ ซึ่งเป็นประโยชนใ์ นการทาสารนิพนธ์ฉบับนี้อย่างย่ิง ผู้วิจัยรู้สกึ ซาบซึ้งในความ
เมตตากรณุ า และขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูงไวณ้ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านท่ีให้ความเมตตา ให้ความรู้ทั้งในทางทฤษฎีรวมถึงการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติและ
ขอขอบคณุ เจา้ หน้าท่ีทกุ ท่านทช่ี ่วย ประสานงาน และอานวยความสะดวกต่างๆ พร้อมทั้งให้ความชว่ ยเหลือด้วยดเี สมอมา สุดท้ายน้ขี อก
ราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ได้ให้การสนับสนุน ส่งเสริม พร้อมทั้งเป็น กาลังใจให้ตลอดมา รวมถึงเพ่ือนร่วมงาน และเพ่ือนๆ นิสิต
สาหรับน้าใจ มิตรภาพ และคาแนะนาต่างๆ ท่ีมีส่วนช่วยให้ สารนิพนธ์เล่มน้ีสมบูรณ์ รวมถึงผู้ตอบแบบสอบถามทุกท่านท่ีสละเวลาให้
ความรว่ มมอื ในการตอบ แบบสอบถามเพ่อื นามาใชเ้ ป็นข้อมูลในการวิจัย และขอขอบคุณผ้มู ีสว่ นชว่ ยเหลือทกุ ทา่ นท่ีมิได้เอ่ย มา ณ ที่นี้
ดว้ ย

เอกสารอา้ งองิ

กระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2557). แนวทางการพัฒนาการศกึ ษาไทยกับการเตรยี มความพรอ้ มสู่
ศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: บริษทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จากัด.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2559). การวิเคราะห์ปจั จัยเชิงสาเหตเุ พอ่ื พัฒนาสมรรถนะกาลังคนรองรับ
โลกศตวรรษที่ 21 (ฉบบั สรุป). กรุงเทพฯ : สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา.

ปิยทัศน์ ใจเย็น และ ยุทธนา แยบคาย (2563). ปจั จยั ท่มี ีผลต่อความเช่ือมน่ั ในผลิตภัณฑส์ มุนไพรของประชาชน จงั หวดั สโุ ขทยั .
สืบคน้ เม่อื 22 กุมภาพนั ธ์ 2565, จาก https://he01.tci-
thaijo.org/index.php/JTTAM/article/download/241897/164541/.

ยืน ภวู่ รวรรณ และ พนั ธ์ปุ ติ ิ เป่ียมสงา่ . (2563). แนวทางการสง่ เสริมการจดั การ เรยี นการสอนวทิ ยาการคานวณ โคด้ ดง้ิ (Coding)
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21.

ยืน ภวู่ รวรรณ. (2562). การอ่านออกเขยี นได้ทางดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) กบั วทิ ยาการคานวณ (Computing). สืบคน้ จาก
http://rmutiinfolit.blogspot.com/2018/05/.

เรวัต ตนั ตยานนท์. (2561). เทคโนโลยีสังคม Social Technology. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.
com/blogs/columnist/118437.

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ สานกั งานเลขานุการของคณะกรรมการยทุ ธศาสตรช์ าติ. (2562).
ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561-2580. (พมิ พ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คม
แห่งชาติ.

สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2564). แนวทางการสง่ เสริมการจัดการเรยี นการสอน วิทยาการคานวณ Coding เพื่อพัฒนา
ทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: เซน็ จรู .่ี

เสาวลักษณ์ พิสิษฐ์ไพบูลย์. (2559). ขับเคล่ือนการศกึ ษาไทยส่ไู ทยแลนด์ 4.0. สบื คน้ จาก http://www. thaihealth. or. th/
Content/33499%-ขับเคลื่อนการศกึ ษาไทยสู่%ไทยแลนด%์ 204.0.html.

Boarddev. (2552). เทคโนโลยีการติดต่อสือ่ สารไรส้ าย 1G 2G 3G 4G. Retrieved from http://www. boarddev. com/
forum/index.php?topic=2677.0.

Lewrick, M., Link, P., & Leifer, L. (2020). The design thinking toolbox: A guide to mastering the most popular
and valuable innovation methods. John Wiley & Sons.

Urmee Khan. (2552). Digital and Media Correspondent. Retrieved from http://www.telegraph. co.uk/ technology.
Wanwisa Thuanyod. (2021). วิวัฒนาการการสือ่ สารของแตล่ ะยคุ แบบเขา้ ใจง่าย The Evolution of Communication.

Retrieved from https://www.thinknet.co.th/what-we-do/ววิ ฒั นาการการสือ่ สาร-the-evolution-of-
communication.

85

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565
WICE. (2018). ดจิ ทิ ัล 4.0” และ “ดิจทิ ัลไทยแลนด.์ สืบค้นจาก https://www.wice.co.th/2018/01/11/ digital-4-0-

technology/.

86

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม 2565

การพัฒนาหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง การจดั การความรู้ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ การผลิต
ถ่านไมใ้ นจงั หวัดราชบุรี

Electronic Book of Knowledge Management of Local Wisdom on Wood Charcoal
Production in Ratchaburi

กนุ ทล์ ดา ทมิ หอม, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม
ธนบดี อึง้ ประสตู ร, มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม
ศศิธร ศริ ทิ รัพย์, มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม

Email: [email protected]

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถ่ินการผลิตถ่านไม้ในจังหวัดราชบุรี 2) เพื่อพัฒนาหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการผลิตถ่านไม้ในจังหวัดราชบุรี 3 ) เพื่อวัดประสิทธิภาพของหนังสือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เร่ืองการจดั การความรภู้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ การผลิตถา่ นไมใ้ นจังหวัดราชบุรี กลุ่มตวั อย่างมี 3 กล่มุ กลมุ่ ท่ี 1 คือเกษตรกรผู้
ทีเ่ ผาถ่าน ตาบลห้วยไผ่ อาเภอเมอื ง จังหวดั ราชบรุ ี วิธีการกาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 10 คน โดยการเลือกส่มุ แบบเจาะจง กลุ่ม
ที่ 2 คือผู้เช่ียวชาญทางด้านเนื้อหา จานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตสื่อและการนาเสนอจานวน 3 ท่าน กลุ่มที่ 3 คือ
ประชาชนทั่วไปจานวน 27 คน โดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ 2) สมุด
บันทึก 3) กล้องถ่ายรูปหรือวิดีโอ และการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถามวัดประสิทธภิ าพของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ โดยการนา
ข้อมูลที่ได้มาหาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยวัตถุประสงค์ท่ี 1) ผู้วิจยั
ไดท้ าการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกบั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นการผลติ ถ่านไม้ในจงั หวัดราชบุรีจากเกษตรกรท้งั 10 ทา่ น เพ่ือนาข้อมูลมาพัฒนา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลการวิจัยวัตถุประสงค์ท่ี 2) ผู้วิจัยได้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การผลิตถ่านไม้ในจังหวัดราชบุรี โดยมีเนื้อหาทั้งหมด 7 บท โดยมีเนื้อหาโดยสรุป ดังนี้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินของถ่าน ประวัติถ่านไม้ใน
จงั หวดั ราชบรุ ี รูปแบบของการผลิตถ่านไม้ เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการผลิตถ่านไม้ และขน้ั ตอนในการผลิตถ่านไม้ ผลการวจิ ัยวัตถุประสงค์ที่ 3)
หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เร่ือง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถนิ่ การผลิตถา่ นไม้ในจังหวดั ราชบุรี มีประสิทธิภาพ ผลการประเมินอยใู่ น
ระดับมากทสี่ ดุ ( ̅) เทา่ กับ 4.55 และมคี า่ (S.D.) เทา่ กบั .438 องคค์ วามรูท้ ค่ี ้นพบจากงานวจิ ัยหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรือ่ ง การจดั การ
ความรภู้ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินการผลิตถ่านไม้ในจังหวดั ราชบุรี จะช่วยใหผ้ ู้อ่านไดร้ บั ความร้เู ก่ยี วกับภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ของถ่านไม้มากข้นึ
คาสาคัญ: หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส,์ การจดั การความร,ู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ

Abstract

The purposes of the research were as follows: (1) to study local wisdom on charcoal production in
Ratchaburi; (2) to develop an electronic book of Knowledge Management of Local Wisdom on Charcoal Production
in Ratchaburi; (3) to measure the efficiency of an electronic book of knowledge management of local wisdom on
wood charcoal production in Ratchaburi. There are 3 groups were included as sample i.e., (1) Farmers who burn
charcoal, Huai Phai, Amphoe Mueang, Ratchaburi by purposive selection; (2) 3 content specialists and 3 media
production and presentation specialists; (3) 27 general populations by purposive selection. Tools that we used in
qualitative research that are interview form, notebook, and camera or camcorder. And tools for quantitative
research i.e., questionnaires for measuring the effectiveness of electronic books; By using the data obtained to find
the percentage, mean, and standard deviation. The results of the research were as follows; (1) the researcher

87

การประชุมวชิ าการระดับชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม 2565

collected information on local wisdom on charcoal production in Ratchaburi from 10 farmers, in order to use the
information to develop an electronic book; (2) The researcher has developed an electronic book of Knowledge
Management of Local Wisdom on Charcoal Production in Ratchaburi, which contains 7 chapters. The summary
content were as follows; 1) Local wisdom of charcoal, 2) History of charcoal in Ratchaburi, 3) The pattern of charcoal
production, 4) Tools used in the production of charcoal, and 5) The process of producing charcoal; (3) Electronic
book of Knowledge Management of Local Wisdom on Wood Charcoal Production in Ratchaburi was effective, and
the assessment result was at the highest level = (4.55) and had a standard deviation (S.D.) = .438.

The explicit knowledge that was discovered from the electronic book of knowledge management of local
wisdom on charcoal production in Ratchaburi would help readers to gain more knowledge about the local wisdom
of charcoal.
Keyword: Electronic book, Knowledge Management, Local Wisdom

บทนา

ถ่านไม้ เปน็ ผลผลติ จากไม้ท่เี กดิ จากการสลายตัวของความรอ้ น ใชเ้ ป็นเชือ้ เพลิงสาหรบั หงุ ตม้ อาหาร ชว่ ยดูดกล่ินอับในตเู้ ยน็
และช่วยปรับปรุงบารุงดิน ซ่ึงการผลิตถ่านขายสร้างรายได้ให้กับครอบครัว และมีบริษัทท่ีสามารถทารายได้จากการส่งออกถ่าน และ
ประเทศไทยสร้างรายได้รายได้จากถ่านในปี 2564 คือ 112,598 ล้านบาท โดยในต่างจังหวัด เช่น ในตาบลห้วยไผ่ จังหวัดราชบุรี ยังมี
ประชากรที่ผลิตถ่านไม้ด้วยวธิ ีแบบด้ังเดิมอยเู่ ป็นภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ท่ีมีมาตง้ั แต่สมยั โบราณและสืบทอดกนั มาเป็นเวลานาน แต่ปัจจุบัน
ค่อยๆหายไป เพราะคนรุ่นหลังนั้นกย็ ังขาดประสบการณ์และองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตถ่านไม้ เพราะไม่ได้รบั การส่งต่อและถ่ายทอด
ความรู้ รวมถงึ การทม่ี ีสง่ิ อานวยความสะดวกตา่ งๆ เชน่ ไมโครเวฟ เตาแกส๊ เป็นตน้ อาจทาให้การผลิตถา่ นไมแ้ บบดั้งเดมิ นั้นหายไป

ด้วยเหตุนจี้ ึงนามาสู่การทาวจิ ยั “หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เร่อื ง การจดั การความรภู้ ูมิปัญญาการผลติ ถ่านไม้ในจังหวัดราชบุรี”
เพ่ือให้สมารถเผยแพร่ข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึนประชาชนทมี่ ีความสนใจในเร่ืองหารเผาถา่ นสามารถค้นควา้ ได้ง่ายและสะดวก
มากขึ้นผา่ นทางอินเทอร์เนต็

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ศกึ ษาและวเิ คราะหก์ ารจัดการองคค์ วามรภู้ มู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ การผลิตถ่านไม้ในจงั หวัดราชบรุ ี
2. เพ่ือพฒั นาหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ เรอื่ ง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิน่ การผลิตถ่านไมใ้ นจังหวดั ราชบรุ ี
3. เพ่ือวัดประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินการผลิตถ่านไม้ในจังหวัด
ราชบรุ ี

วิธีดาเนนิ การวจิ ยั

ในการศึกษาวิจัย “หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินการผลิตถ่านไม้ในจังหวัดราชบุรี ”
งานวิจัยฉบบั น้เี ปน็ งานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวจิ ัยเชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) หรอื แบบผสมผสาน
(Mixed Method) ผวู้ จิ ัยไดก้ าหนดระเบียบวิธวี จิ ัยไว้ดังน้ี

1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1) เกษตรกรผ้ทู ีเ่ ผาถ่านแบบด้ังเดิมจานวน 10 คน ตาบลห้วยไผ่ จงั หวดั ราชบรุ โี ดยใช้วิธกี ารส่มุ ตัวอย่างแบบเจาะจง
2) ผเู้ ชีย่ วชาญประเมินคุณภาพของหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ดงั นี้
- ผู้เชย่ี วชาญด้านเนื้อหาจานวน 3 ท่าน
- ผู้เช่ียวชาญด้านการผลติ สอื่ และการนาเสนอจานวน 3 ท่าน
- ประชาชนท่วั ไปจานวน 27 คน

88

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้งั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

2. เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
2.1 การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interview Protocol) เพ่ือศึกษาข้อมูล

ทั่วไปของเกษตรกรผ้เู ผาถ่านไมแ้ บบด้ังเดิม
2.2 การวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเพื่อวัดประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การจัดการความรู้ภูมิ

ปัญญาทอ้ งถิน่ การผลติ ถา่ นไม้ในจังหวดั ราชบรุ ี
2.3 สมดุ บนั ทกึ เพ่อื บันทกึ ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสัมภาษณ์
2.4 กลอ้ งถา่ ยรูป เพื่อเก็บขอ้ มลู ประเภทภาพหรือภาพเคล่อื นไหวของการผลิตถ่านไม้แบบดงั้ เดมิ

3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เป็นการเก็บข้อมูลที่ผู้วิจัยไม่ได้เก็บรวบรวมเอง แต่มีผู้อื่นหรือ

หนว่ ยงานอน่ื ๆ ทาการเก็บรวบรวมไวแ้ ล้ว เชน่ รายงาน สานกั งานวจิ ัย หนงั สอื พมิ พ์ เป็นต้น
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีผู้วิจัยนั้นทาการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง

โดยใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์ (Interview) และการสงั เกต (Observation)
4. การวเิ คราะหผ์ ลการวิจัย
4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) และนาผลท่ีได้ไปประมวลเป็น

ผลการวจิ ัย โดยผู้วิจยั ไดท้ าการวิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์ตามทฤษฎขี อง Miles and Huberman โดยประกอบด้วย
3 ขั้นตอน ดังน้ี

1) การจดั ระเบยี บข้อมลู เป็นการจดั ข้อมลู อยา่ งเปน็ ระบบ อยูใ่ นสถานะที่จะนาไปใช้งานได้ทนั ที
2) การตรวจสอบข้อมูล เป็นการศึกษาและรวบรวมนาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ เอกสาร ท่ียังไม่ได้ตีความหรือ
วิเคราะห์มาจัดเรียบเรียงเพ่ือนามาวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ เมื่อได้ข้อมูลมาแล้ว จึงทาการตรวจสอบข้อมูลแบบ triangulation หรือที่
Denzin (1978) เรียกว่า การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเสา้ เป็นการใช้กระบวนวธิ ีทห่ี ลากหลายในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
ประกอบดว้ ย
3) การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล โดยการตีความ การตรวจสอบความถูกต้องของผลการศึกษาวิจัย โดยการ
บรรยายถึงข้อมลู ท่คี ้นพบ และนามาตีความ ก่อนที่จะเสนอผลการศกึ ษา ในการตรวจสอบจะทาการตรวจสอบภายใน เพ่อื ทบทวนข้อมลู
วิธีการได้มาของข้อมูลวา่ มีความถกู ตอ้ ง
4.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชิงปรมิ าณ นาขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากแบบประเมนิ ประสิทธภิ าพของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book) มา
หาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยผู้วิจัยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพ่อื การวิเคราะห์
SPSS (Statistic Package For Social Sciences) แบบประเมนิ มลี กั ษณะเป็นมาตรประมาณคา่ ตามระดบั ความสาคัญ 5 ระดบั คือ

5 หมายถงึ มากท่ีสดุ
4 หมายถงึ มาก
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถึง นอ้ ย
1 หมายถึง นอ้ ยท่ีสุด
จากคานวณช่วงระดับคะแนนจึงนาคา่ ทไ่ี ด้จากการคานวณมาแบ่งเปน็ ระดับความพงึ พอใจ 5 ระดับ ดงั นี้
คะแนนเฉลย่ี 4.21 – 5.00 หมายถึง มากท่ีสุด
คะแนนเฉลย่ี 3.41 – 4.20 หมายถึง มาก
คะแนนเฉลย่ี 2.61 – 3.40 หมายถึง ปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง นอ้ ย
คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.80 หมายถึง นอ้ ยท่สี ุด

89

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

ผลการวจิ ัย

วิจัยเชงิ คุณภาพ (Qualitative research)
ถ่าน คือ ไม้ทนี่ าผา่ นกระบวนการใหค้ วามรอ้ นโดยอาศยั ความร้อนจากเปลวไฟในสภาวะท่ีปราศจากกา๊ ซ ออกซเิ จนทีเ่ ปน็ ตวั
ทาใหเ้ กิดการเผาไหม้ การลุกตดิ ไฟ ไมท้ ่ีไดร้ ับความร้อนจนความชื้น สารสาคัญตา่ ง ๆ เชน่ เซลลโู ลส เฮมิเซลลโู ลส สารเฉพาะตัวตา่ ง ๆ
เกิดการละเหยและสลายตัวออกไปจากเนื้อไม้ ซ่ึงจะเหลือแต่ส่วนท่ีเป็นคาร์บอน ไม้จึงเปลี่ยนเป็นสีดาถ่านไม้นั้นสามารถแบ่งได้ 2
ประเภท
1) ถ่านไม้ ถ่านชนิดน้ีได้เกิดขึน้ ต้ังแต่สมัยโบราณโดยใช้วิธกี ารเผาได้หลากหลายรปู แบบ โดยจะพบเหน็ ได้ในตามชนบท ซ่ึง
วิธีการเผาจะอาศัยวัตถุดิบในการเผาถ่านจากไม้ตามหัวไร่ปลายนา ป่าชุมชนมาสร้างเป็นเตาเผาข้ึนมา โดยถ่านชนิดน้ีจะนิยมใช้กันใน
ครวั เรือนเพ่อื ใชเ้ ป็นเช้อื เพลงิ หงุ ต้มอาหาร และทาประโยชนอ์ ืน่ ๆ
2) ถ่านอัดแท่ง ถ่านรูปแบบนี้เกิดจากถ่านไม้ที่ได้มาจากกระบวนการผลิตถ่านท่ีมีอุณหภูมิ ประมาณ 500 – 700 องศา
เซลเซียส เพื่อไล่น้ามันดินให้ออกไปจากถ่านทาให้ถ่านไม้มีความบริสุทธิ์ ปราศจากสารก่อมะเร็ง และเม่ือนาไปใช้เป็นเช้ือเพลิงในการ
ประกอบอาหารเชงิ การคา้ โดยสว่ นมากถา่ นชนิดนี่พอ่ คา้ แมค่ ้าท่ปี ระกอบธรุ กจิ เกีย่ วกับการประกอบอาหารจะนิยมใช้ เพราะมคี ุณสมบัติ
ทไี่ ฟแรงและติดนาน และไม่ทาให้เกดิ สารพิษตกคา้ งอยใู่ นอาหาร

ประวัตคิ วามเป็นมาของการเผาถ่านในตาบลหว้ ยไผ่ อาเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี
คณุ สุรนิ ทร์ พระแกว้ , คณุ สมบญุ พระแกว้ ไดก้ ล่าวถึงประวัตคิ วามเปน็ มาของจุดเริ่มต้น ประวตั ิความเปน็ มาของการเผาถา่ น
ในตาบลห้วยไผ่ อาเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี ไวด้ ังนี้
บ้านห้วยไผ่นั้น ส่วนใหญ่ปลูกบ้านเรือนอยู่บริเวณวัด ซ่ึงมีลาห้วยไหลผ่านทางด้านหลังวดั และมีกอไผ่ขึ้นอยู่ริมห้วยจานวน
มาก จึงได้เรียกกันว่า วัดห้วยไผ่ เม่ือมีการต้ังตาบลขึ้นจึงใช้ชื่อตาบลว่า “ตาบล ห้วยไผ่”ซ่ึงในช่วงท่ีย้ายมาคนสมัยก่อนเขาจะอยู่กับ
ธรรมชาติมากกว่าโดยจะมีธรรมชาติล้อมตัวหมู่บา้ นค่อนข้างเยอะและมที ี่ดินทาการเกษตรเป็นส่วนใหญ่และใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติจงึ
เนน้ ไปท่กี ารกอ่ ไฟอยู่กันเพราะยังไม่มีไฟฟ้าเขา้ ถึงโดยถ่านที่ได้ในตอนนนั้ มาจากกองฟืนท่จี ดุ กัน จงึ เร่ิมเปน็ ทม่ี าของการทาถา่ นของชาว
ห้วยไผโ่ ดยเรมิ่ จากจุดฟืนจากเศษไมม้ าและเรมิ่ พัฒนาการเผารูปแบบต่างๆ เป็นต้นมา

ผลผลติ และผลพลอยได้
เม่อื เผาถ่านเสรจ็ จะมีผลผลิตท่ไี ด้นอกเหนอื จากการเผาถ่าน ซึ่งสามารถทจี่ ะนามาใช้ ประโยชน์อยา่ งอ่นื ได้อีก มีดงั นี้
1) เศษถา่ น
เศษถา่ นเกิดจากเปลือกไม้ท่ีหอ่ หุม้ เนอ้ื ไมอ้ ยู่และเม่อื นา้ เข้าเตาเผาถ่าน จะหลดุ ออกมาจากตัวเนอื้ ไม้และมีขนาดเลก็ ตดิ ไฟได้
งา่ ย สามารถนามาเป็นตวั ติดเชือ้ เพลิงก่อนนาถ่านกอ้ นใหญ่ได้
2) ผงถ่าน
เกิดจากถ่านท่ีถูกเผาจนสุกและเสียดสีกันจนเกิดเป็นผง ซึ่งคนสมัยก่อนจะน้าไปประกอบอาหารได้บางชนิด ใช้เป็นสีผสม
อาหาร และผงถ่านยังสามารถนาไปทาเปน็ ยาดูดขับสารพษิ ในร่างกายออกไปไดด้ ้วย

การจดั จาหนา่ ย
ผลผลิตทไี่ ด้โดยวนั ทเี่ ปิดเตาจะมลี ูกค้าโทรมาจองและจะมารบั ของวนั ทบี่ รรจุใสก่ ระสอบเสร็จ ราคาจะเป็นไปตามท่ตี กลงกัน
ระหว่างผู้ผลิตและลูกค้า โดยราคาแตล่ ะรอบเตาทเ่ี ผาตอ่ กระสอบจะไม่เท่ากัน ดว้ ยชนิดของไมบ้ า้ ง และเป็นราคากนั เอง ราคาเหมา และ
สามารถเกบ็ ไวใ้ ช้เองในบางส่วน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินการผลิตถา่ นไม้ในจังหวดั ราชบุรี มีเน้ือหาและรายละเอียด
ดงั ต่อไปน้ี

90

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565

ภาพที่ 1 หนา้ ปกหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ ภาพที่ 2 คานาหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ภาพท่ี 3 สารบญั หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์

ภาพท่ี 4 ถา่ นไมค้ ืออะไร ภาพท่ี 5 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ของถา่ น ภาพที่ 6 ประวตั ิถา่ นไม้ในจังหวดั ราชบรุ ี

ภาพท่ี 7 ประเภทของถ่าน ภาพที่ 8 รปู แบบของการผลติ ถา่ นไม้ ภาพที่ 9 เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการผลติ

91

การประชุมวชิ าการระดับชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

ภาพท่ี 10 ข้ันตอนในการผลิตถา่ นไม้ ภาพท่ี 11 ประโยชน์ของถา่ นไม้ ภาพท่ี 12 บทสรปุ

วิจัยเชงิ ปรมิ าณ (Quantitative research)

ระดับประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรอ่ื ง การจดั การความร้ภู ูมิปญั ญาท้องถนิ่ การผลติ ถา่ นไม้ในจังหวดั ราชบุรี ใน
ภาพรวมพบว่า มีระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( ̅ = 4.55) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเนื้อหาสาระ ด้านความ
สวยงาม ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล และด้านการนาไปใช้ประโยชน์ ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.56) ด้าน
การจัดองค์ประกอบ ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( ̅ = 4.55) และด้านการใช้ภาษา ระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ =
4.51)

อภิปรายผล

จากการศึกษาวิจัย “หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิตถ่านไม้ในจังหวดั ราชบรุ ี”
โดยสามารถอภิปรายผลการศึกษาได้ดังนี้ ในการผลิตถ่านไม้ที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนนั้ ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
จากการที่เผาถา่ นดว้ ยวธิ ีการธรรมดาก็มกี ารพัฒนาไปหลายรูปแบบ เช่น การเผาถ่านแบบเตาอุโมงค์หรอื เตาอบ และการเผาถ่านแบบ
เตาถัง เป็นตน้ เนอ่ื งจากในปัจจบุ นั มีสงิ่ อานวยความสะดวกเพ่ิมข้นึ จึงทาใหค้ นรนุ่ หลังไม่ได้สานต่อการผลิตถา่ นไม้และนัน่ อาจเปน็ สาเหตุ
ทีท่ าให้วิถกี ารผลติ ถ่านไมแ้ บบดง้ั เดิมนั้นค่อยๆจางหายไปตามกาลเวลา

การวัดประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการผลิตถ่านไม้ในจังหวัดราชบุรี
โดยกลุ่มเปา้ หมาย คือ 1) ผู้เช่ียวชาญทางด้านเนอ้ื หา จานวน 3 ท่าน โดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตสอื่ และ
การนาเสนอจานวน 3 ท่าน โดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง 3) ประชาชนท่ัวไปที่สนใจเกี่ยวกบั ภมู ิปัญญาท้องถิ่นการผลิตถ่านไม้จานวน
27 คน โดยการเลอื กสุ่มแบบเจาะจง ประเมนิ แบบวัดประสิทธภิ าพและพบว่า ในภาพรวม ระดับประสทิ ธิภาพอยใู่ นระดับมากท่ีสดุ ( ̅ =
4.55) ซ่ึงสามารถสรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพมากพอที่จะสามารถให้ผู้ท่ีสนใจหรือต้องการจะศึกษาเกี่ยวกับภูมิ
ปัญญาท้องถน่ิ การผลิตถา่ นไม้ สามารถเรียนรไู้ ดจ้ ากภาพและคาอธิบายต่างๆ เหตผุ ลท่ีทาใหห้ นังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้มปี ระสิทธิภาพ
เน่อื งจากผวู้ จิ ัยได้ทาการประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) จากประเภทของกระบวนการ
จัดการความรู้ (Knowledge Management) ที่เป็นกระบวนการท่ีจะช่วยให้เกิดการพัฒนาของความรู้ อ้างอิงจาก คลังความรู้
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั

งานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งที่ใช้แนวคิดและทฤษฎดี ้านภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่ีใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการใช้ชวี ติ ประจาวัน ตามท่ีนางยุ
ภาพร เจริญวัฒนมณีชัย (2560) กล่าวว่า การพัฒนาภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ คือ การสร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญา ท้องถ่ินใหเ้ หมาะสม
กับยุคสมัย และเกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยใช้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเป็นพ้ืนฐานในการรวมกลุ่มการพัฒนาอาชีพควรนา
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาช่วยเพ่ือต่อยอดใช้ในการผลิต การตลาด และการบริหาร ตลอดจนการป้องกนั และอนรุ กั ษ์
สงิ่ แวดล้อม และทาใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ

92

การประชุมวชิ าการระดับชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ที่ 19 สิงหาคม 2565

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้
1.1 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การจัดการความรู้ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินการผลิตถ่านไม้ในจังหวดั ราชบรุ ี สามารถนาไปใช้

ได้จริง แต่ก่อนจะนาไปใช้ควรมีการฝึกอบรมการใช้งานหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) ให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรสามารถ
ใช้งานได้อยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ

1.2 เพ่ือเป็นแนวทางให้กับผู้ท่ีสนใจจะทาการผลิตถ่านไม้เพื่อใช้ประโยชน์ และสามารถใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง
การจัดการความรภู้ ูมปิ ญั ญาท้องถิ่นการผลติ ถา่ นไมใ้ นจังหวดั ราชบุรี ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด

2. ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ต่อไป
2.1 ควรนาการวิจัยและการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในเนื้อหาสาระด้านอ่ืนๆ

เพอื่ ให้เกิดประโยชน์มากยง่ิ ขนึ้
2.2 ควรมีการพัฒนาส่ือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบมัลติมีเดีย ประกอบด้วยภาพเคล่ือนไหวและเสียง เพิ่มเติม

เน้อื หาท่หี ลากหลายเพ่อื ให้มีความนา่ สนใจมากยิ่งข้นึ

เอกสารอา้ งอิง

จารุวรรณ คาแก้ว. (2561). การเตรียมถ่านกัมมนั ต์จากเศษวัสดเุ หลอื ท้งิ ต้นสาคเู ป็นตวั ดดู ซบั สาหรบั กาจดั ไอออนตะกั่วจาก
สารละลาย. สบื คน้ เม่ือ 11 มกราคม 2565, จาก http://ird.skru.ac.th/RMS/file/42483.pdf.

จฑุ ามาศ ศรวี มิ ล. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในรายวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรอ่ื ง ภมู ศิ าสตรท์ วปี
ยโุ รป โดยใชส้ ือ่ หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book). สบื ค้นเมื่อ 13 มกราคม 2565, จาก
http://www.ska2.go.th/reis/data/research/ 25640702_204422_3460.pdf.

ทศั นยี ์ นยุ้ เลศิ . (2559). การผลติ ถ่านกมั ถันต์จากถา่ นไมย้ างพาราเพอ่ื การดูดซับเหลก็ ในนา้ . สืบคน้ เมื่อ 13 มกราคม 2565, จาก
https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/11539/1/418151.pdf.

ธัญธชั วภิ ัตภิ มู ปิ ระเทศ. (2560). การถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของปราชญช์ าวบา้ น : กรณีศกึ ษาวงกลองยาว อาเภอปราณบุรี จังหวดั
ประจวบครี ีขนั ธ์. สืบคน้ เมอ่ื 14 มกราคม 2565, จาก http://libdoc.dpu.ac.th /136925.pdf.

นริศ ชดุ สวา่ ง. (2556). การผลติ ถ่านอดั แท่งจากเปลือกทุเรียนในกล่มุ วิสาหกิจชมุ ชนตาบลเกวียนหัก อาเภอขลุงจงั หวดั จนั ทบุรี.
สบื ค้นเมื่อ 13 มกราคม 2565, จาก http://www.etheses.rbru.ac.th/pdf-uploads/allfile-37-file01-2015-09-24-10-
27-39.pdf.

นิตพิ ฒั น์ ทรพั ยอ์ ุไรรัตน์. (ม.ป.ป.). ถ่านดดู กลิน่ จากผลไม้. สืบค้นเมอ่ื 14 มนี าคม 2565, จาก https://nongtuey009.wixsite.com/
nitiphat/blank-rxvy3.

ปาจรีย์ เตยี วสวุ รรณ. (2557). การศกึ ษาและออกแบบผลิตภณั ฑ์ของตกแตง่ ดดู กลิน่ และความชืน้ สาหรบั ใชภ้ ายในคอนโดมิเนยี ม
โดยใช้คุณสมบตั ิของถา่ นไม.้ สืบคน้ เม่อื 11 มกราคม 2565, จาก
http://sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/13633/ fulltext.pdf.

พนติ า สุมานะตระกูล, จตพุ ร แกว้ ออ่ น, ปรชิ าติ เทพทอง, และ พลากร บญุ ใส. (2555). การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ เตาเผาเพื่อผลิตถ่าน
และ น้าสม้ ควนั ไม้จากไมไ้ ผ่ตงลมื แล้ง. สบื ค้นเม่ือ 12 มกราคม 2565, จาก
http://kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/3239/ 12000194926.pdf.

ภริ ญิ าภรณ์ เจรญิ โรจนปรีชา. (2562). การพัฒนาชุดการสอน เรื่องภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นภาคใต้ สาหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี
วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและการจัดการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั . สืบค้นเมอ่ื 14 มกราคม 2565, จาก
https://Ep1wBGPi8GNMwRQ8PX0H/Ep1.pdf.

ยภุ าพร เจรญิ วัฒนมณชี ยั . (2560). แนวทางการอนรุ ักษ์ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ผ้าไหมมดั หม่ี กรณศี ึกษาผ้าไหมมดั หมตี่ าบลบา้ นเขวา้
อาเภอบา้ นเขวา้ จงั หวดั ชัยภมู ิ. สบื คน้ เมือ่ 14 มกราคม 2565, จาก
http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/.pdf.

93

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565
รอกเี ยาะ สา และ ฮาลีเมาะ ฮลู .ู (2554). ถ่านอัดแทง่ จากวสั ดุเหลือใชใ้ นทอ้ งถน่ิ . สืบค้นเมือ่ 12 มกราคม 2565, จาก

http://202.29.32.238/.pdf.
รงุ่ โรจน์ พทุ ธีสกลุ . (2553). การผลติ ถ่านอัดแทง่ จากถา่ นกะลามะพร้าวและถา่ นเหง้ามันสาปะหลงั . สืบค้นเมอื่ 12 มกราคม 2565,

จาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ind_Ed/Rung-Roj_P.pdf.
วรี นชุ วอนเกา่ นอ้ ย, กรรณิการ์ ทองดอนเปรียง, ถวลิ แสนตรง, และคณะ. (2560). ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการจดั การปา่ ชมุ ชนบา้ น หนิ

ฮาว อาเภอบา้ นฝาง จงั หวดั ขอนแก่น เพอื่ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งยัง่ ยืน. สบื คน้ เมือ่ 14 มกราคม 2565, จาก
http://research.rmu.ac.th/ /1630051395.pdf.
สาวติ รี สกลเศรษฐ. (2561). การจดั การความรูข้ องสานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. สืบค้นเม่ือ 24
กมุ ภาพนั ธ์ 2565, จาก https://opac01.stou.ac.th/ /160394/.pdf.
สานกั งานวจิ ัยเศรษฐกิจและผลิตผลปา่ ไม้ กรมปา่ ไม.้ (ม.ป.ป.). เทคนคิ การผลติ ถา่ นไมไ้ ผ่. สืบค้นเม่อื 14 มนี าคม 2565, จาก
http://forprod.forest.go.th/forprod/ebook//scan00.
สคุ นทพิ ย์ เถาวโ์ มลา. (2561). การเตรยี ม การวิเคราะห์ และการประยุกต์ใชถ้ า่ นกมั มันตจ์ ากวัสดเุ หลือทง้ิ ทางการเกษตรจากภาค
ตะวันออกของประเทศไทย เพอื่ เป็นตวั ดูดซับโลหะหนกั จากสารละลายน้า, สบื ค้นเมอื่ 11 มกราคม 2565, จาก
https://riss.rmutsv.ac.th/ upload/doc/201911/.pdf.
เสรมิ ศักดิ์ เกิดวนั , รงุ่ โรจน์ จนี ด้วง, และ สธุ าพร เกตุพนั ธ.์ (2561). การผลิตถา่ นอัดแทง่ จากเปลอื กต้นสาค.ู สืบคน้ เมอ่ื 12 มกราคม
2565, จาก https://riss.rmutsv.ac.th/upload/doc/201910/.pdf.

94

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้งั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกรท์ ่ี 19 สงิ หาคม 2565

ประสิทธิภาพความสามารถในการแข่งขันการสง่ ออกขา้ วของประเทศไทยและเวียดนาม
ไปยงั ประเทศจนี

Efficiency and Competitiveness of Exporting Thai and Vietnamese Rice to China.

อรณชิ ชา มะโดด, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ณฐั ชยาพร รอดผึ้ง, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
กนกพชั ร กอประเสรฐิ , มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม
นิตยา งามย่งิ ยง, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม

Email: [email protected]

บทคดั ยอ่

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถในการส่งออกขา้ วของไทยไปตลาดจีนด้วยดัชนีความ
ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบท่ีปรากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA) โดยเปรียบเทียบกับประเทศเวียดนาม 2)
ศึกษาและวิเคราะห์ส่วนแบ่งการตลาดของการส่งออกข้าวของประเทศไทยในตลาดจีนโดยเปรียบเทียบกับประเทศเวียดนาม 3) เป็น
แนวทางการกาหนดกลยุทธ์ขา้ วของประเทศไทย การวิจัยคร้ังนี้เปน็ การวิจัยเชิงผสมผสานระหว่างการวิจยั เชิงคุณภาพและการวจิ ัยเชงิ
ปรมิ าณโดยศกึ ษาและเก็บรวบรวมจากขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิ เอกสารวชิ าการ และงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง

ผลการวิจัยพบว่า 1) ในช่วงปี 2559 -2563 ประเทศเวียดนาม มีค่า RCA สูงกว่าประเทศไทย ท้ังน้ี เน่ืองจากราคาส่งออก
ข้าวจากเวยี ดนามไปตลาดจีนตา่ กวา่ ประเทศไทยมากถึงร้อยละ 50 รวมถึงประเทศไทยประสบปญั หาขาดแคลนตู้คอนเทนเนอรแ์ ละคา่
บาทแข็งค่าทาให้ข้าวไทยแพงทาให้จีนหันมานาเข้าข้าวจากประเทศเวียดนามเพิ่มขึ้น 2) ประเทศไทยกลับมีแนวโน้มค่าส่วนแบ่งทาง
การตลาดทีเ่ พ่มิ ขน้ึ ซ่ึงตรงข้ามกบั เวยี ดนามที่มีคา่ ส่วนแบ่งทางการตลาดที่ลดลง แสดงใหเ้ หน็ วา่ ประเทศไทยได้ครองส่วนแบ่งการตลาด
ในการส่งออกขา้ วไปยงั ตลาดจีนมากกวา่ เวยี ดนาม 3) ประเทศไทยเลอื กใชก้ ลยุทธใ์ นการส่งออก 2 ประเภท ได้แก่ 1) กลยุทธ์การรักษา
ตลาดหลักไม่ให้การส่งออกลดลง คือ ต้องรักษาตลาดท่ีมีกาลังซื้อสูงโดยจดั กิจกรมส่งเสริมการสง่ ออกและมาตรการตลาดเชงิ รุกมงุ่ เนน้
กลุ่มลกู ค้าเปา้ หมายใหม่ๆ ใหต้ รงกับความตอ้ งการของกลุ่มลูกค้า เพือ่ สร้างความเชือ่ มั่นใหก้ ับตลาดการส่งออกข้าวของประเทศไทย 2)
กลยุทธ์การเปิดตลาดเพื่อแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้า คือ มีการเจรจาการค้าเพื่อแก้ไขปัญหาและข้อกีดกันทางการค้ากับตลาด
สง่ ออกสาคญั โดยเจรจาการขยายความรว่ มมือทางการค้าและเปิดตลาดสนิ คา้ กับประเทศต่าง ๆ
คาสาคญั : ศกั ยภาพ, ความสามารถในการแข่งขัน,ข้าว

Abstract

This research aims to: 1) Study and ability analysis to export Thai rice to China market with the Revealed
Comparative Advantage Index: RCA by comparing with Vietnam. 2) Study and ability analysis to export Thai rice to
China market with the market share of rice by comparing with Vietnam. 3) It is a guideline for formulating the rice
strategy of Thailand. This research used qualitative research and quantitative research by studying and collecting
from secondary data academic papers and related research.

The results found that 1) From 2016 to 2020 Vietnam has a higher RCA value than Thailand. This is
because the price of rice exports from Vietnam to the Chinese market is as much as 50 percent lower than in
Thailand, as well as Thailand faces a container shortage and the appreciation of the baht makes Thai rice more
expensive. As a result, China turned to importing more rice from Vietnam. 2) Thailand has a market share trend This
is in contrast to Vietnam, which has a lower market share. It shows that Thailand has more market share of rice

95

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ่ี 19 สงิ หาคม 2565

exports to China than Vietnam. 3) Thailand chooses two types of export strategies: 1 Strategy to keep the main
market from falling exports is to maintain a market with high purchasing power by organizing the Department of
Export Promotion and proactive marketing measures focusing on penetrating new channels and targeting customers
to meet the needs of the customer group to build confidence in the rice export market of Thailand. 2 Open Market
Strategies to Solve Trade Barriers is a trade negotiation to resolve problems and trade barriers with important export
markets by negotiating to expand trade cooperation and open up the market for goods with various countries.
Keywords: potential, competitiveness, rice

บทนา

ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีปลูกข้าว 68,200,000 ไร่จังหวัดท่ีมีการปลูกข้าวมากที่สุดได้แก่ นครสวรรค์ สุพรรณบุรี อุบลราชธานี
พิจิตร พิษณุโลก มีเกษตรที่ปลูกข้าวทั่วประเทศจานวน 193,746 ครัวเรือน (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,2563) พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูก
คือ ข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียว ข้าวขาว และข้าวเพ่ือสุขภาพ โดยมีตลาดส่งออกท่ีสาคัญคือ จีน สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง แคนาดา สิงคโปร์
ขา้ วหอมมะลิเป็นพันธขุ์ า้ วทนี่ ิยมเป็นอย่างมากในสาธารณรัฐประชาชนจีนดว้ ยข้าวหอมมะลเิ ป็นพนั ธุข์ ้าวทม่ี ีรสชาติอรอ่ ย นุม่ และมีกลุ่ม
หอมท่ีเป็นเอกลักษณ์มากกว่าข้าวพันธ์ุอื่นจนทาให้ข้าวหอมมะลิไทยเป็นที่ยอมรับของตลาดส่งออกข้าวท่ัวโลก ข้าวเป็นธัญพืชท่ีมี
ศักยภาพในการสง่ ออกสงู เป็นท่ตี ้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศโดยในปี 2564 (เดือนตุลาคม) การส่งออกข้าวมีมลู ค่า 12,188
ล้านบาท ซ่ึงในเดือนพฤศจกิ ายนเป็นเดือนที่มกี ารสง่ ออกข้าวสูงสดุ ในปี 2564 ซ่ึงมีมูลค่าการส่งออกถงึ 12,771 ล้านบาท (ประชาชาติ
ธรุ กิจ,2563-2564) นอกจากน้ี ในปีพ.ศ.2563 แมจ้ ะประสบปัญหาการแพรร่ ะบาดของโควิด-19 แตก่ ารส่งออกขา้ วของไทยมีการสง่ ออก
ข้าวถึง 7,500,000 ตัน มีมูลค่า 4,200 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งมีประเทศคู่แข่งท่ีสาคัญคือ เวียดนาม มีการส่งออกข้าวถงึ 7,000,000 ตัน
มูลค่า 3,920 ล้านเหรียญสหรัฐ (รายงานสถานการณส์ ่งออกข้าวแนวโน้มและทิศทางการส่งออกขา้ วไทย,2563)

จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีผ่านมาพบว่าการตลาดข้าวโลกน้ันประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับท่ี 4 ของโลกโดยมี
ปรมิ าณลดลง 6.9% ซงึ่ เปน็ ผลมาจากผู้สง่ ออกขา้ วไทยประสบปัญหาขาดแคลนตูค้ อนเทนเนอร์และคา่ บาทแขง็ ค่าทาใหข้ า้ วไทยแพงกวา่
คูแ่ ขง่ มากจึงทาใหผ้ ู้ซื้อหนั ไปซ้อื ข้าวจากแหล่งทม่ี ีราคาถกู กว่าอย่างประเทศเวียดนามซ่ึงมกี ารส่งออกถงึ 6.15 เพราะ ประเทศเวยี ดนาม
มีความไดเ้ ปรียบด้านตน้ ทนุ การผลิตซ่ึงส่งผลกระทบต่อไทยทาให้ไทยอาจเสียส่วนแบ่งการตลาดใหก้ บั เวยี ดนามในระยะยาว (เศรษฐกร
ปฏิบัตกิ ารกลุ่มเศรษฐกิจและสังคม,2560)

ดงั นัน้ จากประเด็นปัญหาท่กี ลา่ วมาข้างต้นนามาสู่การทางานวิจยั เรื่อง ศกั ยภาพความสามารถในการแข่งขันการส่งออกข้าว
ของประเทศไทยและเวียดนามไปยังประเทศจีน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถความได้เปรียบในการส่งออกข้าวของไทย
และเวยี ดนามไปตลาดจนี ด้วยดัชนีความไดเ้ ปรยี บโดยเปรยี บเทยี บทปี่ รากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA) และ
ศึกษาส่วนแบ่งการตลาดการส่งออกข้าวของประเทศไทยและเวียดนามในตลาดจีน รวมถึงเป็นแนวทางการกาหนดกลยุทธ์ข้าวของ
ประเทศไทย ผลของการวิจัยในครง้ั นี้จงึ ทาให้ทราบถงึ ความสามารถในการแข่งขันการส่งออกขา้ วไปยงั ประเทศจนี ระหวา่ งประเทศไทย
กับเวยี ดนาม การทาวจิ ัยในครง้ั นีผ้ ูจ้ ัดทาวจิ ยั หวังวา่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผ้ทู ่ีเขา้ มาศึกษาไมม่ ากก็นอ้ ย

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถในการส่งออกข้าวของไทยไปตลาดจีนด้วยดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่
ปรากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA) โดยเปรยี บเทียบกบั เวียดนาม

2. เพ่ือศึกษาและวิเคราะห์ส่วนแบ่งการตลาดของการส่งออกข้าวของประเทศไทยในตลาดจีนโดยเปรียบเทียบกับประเทศ
เวยี ดนาม

3. เพอื่ เป็นแนวทางกาหนดกลยุทธ์ข้าวของประเทศไทย

ขอบเขตการวจิ ัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพ่ือเปรียบเทียบศักยภาพความสามารถในการแข่งขันการส่งออกข้าวของประเทศไทยและ
เวียดนามไปยังประเทศจนี โดยงานวิจยั นี้จะใช้ขอ้ มูลจาก UN Comrade Database แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้องดังน้ี 1) ทฤษฎีความ

96

การประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (RCA) 2) ส่วนแบ่งการตลาด 3) แนวคิดและกลยุทธ์ของการส่งออกข้าวของประเทศไทยโดยใช้
ข้อมลู ทตุ ิยภมู ิอนุกรมเวลาแบบรายปี ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2559 - พ.ศ. 2563 รวมระยะเวลา 5 ปี และศึกษาประเทศคคู่ ้า คู่แข่งท่ีสาคญั อย่าง
ประเทศจีนและเวยี ดนาม

ทบทวนวรรณกรรมและเอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง

รชฎ ชาบุญ (2560) ศึกษา ปจั จยั ที่มีผลกระทบตอ่ ปรมิ าณการสง่ ออกขา้ วของประเทศไทยไปประเทศจนี ในชว่ งปี พ.ศ.2550
ถึง ปี พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถปุ ระสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพือ่ ศกึ ษาถึงสถานการณ์ทัว่ ไป แนวโนม้ มูลคา่ การสง่ ออกขา้ วไทยไปประเทศจนี
(2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ผลต่อปริมาณการส่งออกข้าวไทยไปสู่ประเทศจีน วิธีการดาเนินงานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิเคราะห์
ข้อมูลจากสมการถดถอยพหุนามด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด ผลการศึกษาผู้วิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการส่งออกข้าวของ
ประเทศไทยไปยังประเทศจีน ได้แก่ คือ ราคาน้ามันดิบ อัตราเงินเฟ้อ ซึ่งราคาข้าวส่งออกของประเทศไทย และราคาน้ามันมีผลต่อ
ปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยไปยังประเทศจีนในทิศทางตรงกันข้าม ในขณะท่ีราคาข้าวส่งออกของประเทศเวียดนามและ
อัตราเงินเฟ้อมีผลในทิศทางเดียวกัน โดยปัจจัยท่ีมีผลต่อปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยไปยังประเทศจีน ได้แก่ จานวน
ประชากร และราคาข้าวสง่ ออกของประเทศไทยและประเทศเวียดนาม

ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์ และคณะ (2563) ศึกษา ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกข้าวในประเทศจีน โดยมี
วตั ถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศกึ ษาปจั จัยท่มี ีผลกระทบต่อมลู คา่ การส่งออกข้าวในตลาดประเทศจนี (2) เพอ่ื สามารถคาดการณ์
มูลค่าของการส่งออกข้าวและเป็นแนวทางวางแผนแก้ไขในตลาดของประเทศจีน วิธีการดาเนินงานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดย
วิเคราะห์ขอ้ มลู ที่รวบรวมได้จากข้อมูลสถิติประเภทอนุกรมเวลารายเดอื น ต้ังแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2562
รวมเป็นระยะเวลา 11 ปี 9 เดือน (141 เดือน) นามาวิเคราะห์ โดยการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative analysis) ด้วยวิธีการ
วิเคราะหค์ วามถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาผู้วจิ ยั พบว่า ดัชนีผู้บรโิ ภคและมลู คา่ การส่งออกยางพาราในตลาดประเทศจีน มีอทิ ธพิ ล
กับมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดประเทศจีนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติโดยที่มูลค่าการส่งออกยางพาราในตลาดประเทศจีนมีอทิ ธิพลใน
ทิศทางเดยี วกันกบั มลู คา่ การส่งออกข้าวในตลาดประเทศจนี ส่วนดชั นีผู้บริโภคมีอทิ ธิพลในทิศทางตรงกันขา้ มกับมูลค่าการส่งออกข้าว
ในตลาดประเทศจีน ส่วนตวั แปรที่เหลอื คือ อณุ หภมู ิ ปริมาณนา้ ฝน และอัตราแลกเปลีย่ นเงินบาทต่อหยวน เปน็ ตวั แปรทไ่ี ม่มนี ัยสาคัญ
ทางสถติ ิ ซ่ึงไม่สามารถสะท้อนการเปลีย่ นแปลงของได้อย่างชดั เจน

อารีย์ รักษ์ธัญการ (2561) ศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิไทยไปยังตลาดโลก โดยมี
วัตถุประสงค์ 2 ประการ คอื (1) เพอื่ หาอิทธพิ ลของปัจจัยภายในประเทศทีม่ ผี ลต่อปรมิ าณการส่งออกขา้ วหอมมะลไิ ปตลาดโลก (2) เพอ่ื
หาอิทธิพลของปัจจัยภายนอกประเทศท่ีมีผลต่อปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิไปตลาดโลก (3) เพ่ือศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจจัยภายใน ปจั จัยภายนอก ทมี่ ผี ลตอ่ ปริมาณการส่งออกขา้ วหอมมะลไิ ปตลาดโลก วธิ ีการดาเนินงานวิจัยเป็นการวจิ ัยเชิงปรมิ าณ โดย
ใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาผู้วิจัย พบว่า จากการวิเคราะห์ข้อมูลและ
เปรยี บเทยี บระหวา่ งขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการเกบ็ ขอ้ มูลแบบทตุ ยิ ภมู ิ คอื สถิตขิ องตัวแปรอสิ ระในปัจจัยภายในและปจั จยั ภายนอกประเทศ คอื
จะเห็นได้ว่าตัวแปรอิสระของปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกประเทศท่ีมาจาก สถิติทุติยภูมิทกุ ค้านจะได้ผล sig, ต่ากว่า 0.05 อย่างมี
นยั สาคัญทกุ ตัวซงึ่ หมายความว่าตวั เเปรอิสระทกุ ตัวมอี ิทธพิ ลต่อตวั แปรตามนน่ั คอื ปริมาณการสง่ ออกขา้ วหอมมะลิไทยไปยงั ตลาดโลกปี
พ.ศ. 2556– 2560 ปริมาณการส่งออกข้าว และปริมาณผลผลิตข้าว มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันราคาข้าวเปลือกหอมมะใน
ประเทศไทยน่ันเอง และจากการศึกษาตัวแปรอิสระในปัจจุบัน ด้านปริมาณการสง่ ออกขา้ วของประเทศคู่แขง่ นั้นไทยมผี ลผลิตขา้ วเกิน
ความต้องการบรโิ ภคคอ่ นข้างมาก เนื่องจากมกี ารขยายพืน้ ท่ีปลูกและการพัฒนาพันธ์ขุ ้าวมาอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ความต้องการบรโิ ภค
ข้าวของตลาด ในประเทศมีเพียงปีละ 10-12 ล้นตันข้าวสาร และเป็นตลาดที่มีอตั ราการเติบโตในแต่ละปีค่อนข้างต่า ทาให้การส่งออก
ข้าวของไทยจึงมสี ัดส่วนสูงข้ึนเป็นลาดับปจั จุบนั การส่งออกมากกวา่ 50% ของผลผลติ ขา้ วทั้งหมด ข้าวไทยถอื ว่าไดเ้ ปรียบด้านคุณภาพ
แถะเป็นท่ีขอมรับมาชา้ นานในตลาดโลก อยา่ งไรกต็ ามการแข่งขนั ในตลาดคา้ ข้าวโลกทวีความรุนแรงขน้ึ ขา้ วขาว เป็นขา้ วทีไ่ ทยส่งออก
ในสัดสว่ นถงึ 50%(ในเชงิ ปริมาณ) จดั เป็นขา้ วท่ีมีราคาถกู และการแขง่ ขนั ทางคา้ นราคาในตลาดโลกค่อนข้างรุนแรง อกี ทง้ั ในตลาดโลกมี
ผู้ผลิตรายใหม่ท่ีมีศักยภาพในการส่งออกเพ่ิมข้ึน อาทิ กัมพูชา และ พม่า ข้าวหอมมะลิ จัดเป็นข้าวคุณภาพราคาสูง ปัจจุบันเผชิญการ
แข่งขนั เพ่มิ ขึ้น จาก ข้าวบาสมาติของอินเดีย อีกทงั้ สหรัฐฯ และเวยี ดนามยังมีการพฒั นาพันธข์ุ า้ ว คุณภาพสูงใกลเ้ คยี งข้าวหอมมะลขิ อง
ไทย ข้าวน่งึ ตลาดส่วนใหญ่อย่ใู นทวปี แอฟรกิ า ปจั จบุ ัน ไทยมีค่แู ข่งสาคญั คือ อนิ เดยี และคแู่ ข่งรายใหมอ่ ยา่ งปากสี ถานและอรุ กุ วัย

97

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

ผ้วู จิ ยั ได้นาการทบทวน ทฤษฎี แนวคดิ วรรณกรรมทผ่ี า่ นมาทาให้กาหนดกรอบแนวคดิ วิจยั ได้ ดังน้ี

ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม

อตุ สาหกรรมการผลิตขา้ ว ศกั ยภาพความสามารถในการแข่งขันการสง่ ออก
ตลาดข้าวในประเทศไทย/ เวยี ดนาม/ จนี ข้าวของประเทศไทยและเวยี ดนามไปยงั
ทฤษฎีความไดเ้ ปรียบโดยเปรยี บเทยี บทป่ี รากฏ(RCA) ประเทศจีน
ส่วนแบ่งทางการตลาด (MS)
กลยุทธท์ างการตลาดเพื่อการสง่ ออก

วธิ ดี าเนินการวิจัย

การวิจัยครงั้ นี้ผวู้ จิ ยั ใชร้ ะเบยี บวจิ ัยเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) โดยมกี ารเลอื กประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ใช้ข้อมูลทุติยภูมิอนุกรมเวลาแบบรายปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ 2563 โดยมีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจาก เว็บไซต์ UN Comtrade
Database งานวิจัย และเอกสารวิชาการต่างๆ ซึ่งผู้วิจัยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนาเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การส่งออกข้าวและการ
วิเคราะห์เชิงปริมาณเพ่ือวิเคราะห์ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏและส่วนแบ่งทางการตลาด โดยผ่านโปรแกรม Microsoft
Excel ดงั น้ี 1) วเิ คราะห์ดัชนคี วามได้เปรยี บโดยเปรียบเทียบท่ปี รากฏ (RCA)

โดยที่

RCAik คอื ดชั นีความได้เปรยี บโดยเปรยี บเทยี บท่ปี รากฏของผูส้ ่งออกสทุ ธิ
Xik คอื มลู ค่าการสง่ ออกสินค้า k ของประเทศ i ไปยงั ประเทศ w
Xi คอื มูลคา่ การสง่ ออกสินค้าทัง้ หมดของประเทศ i ไปยังประเทศ w
Xwk คอื มลู คา่ การนาเขา้ สนิ คา้ k ของประเทศ w
Xw คือ มลู ค่าการนาเข้าสินคา้ ทัง้ หมดของประเทศ w
i คือ ประเทศผู้สง่ ออก ได้แก่ ประเทศไทย และ ประเทศเวยี ดนาม

w คือ ประเทศผนู้ าเข้า ไดแ้ ก่ สาธารณรัฐประชาชนจนี

k คอื สินคา้ ได้แก่ ขา้ ว

ซง่ึ ถ้าคา่ RCA > 1 หมายความวา่ ประเทศนน้ั มคี วามไดเ้ ปรียบในการสง่ ออกขา้ ว แต่

ถา้ ค่า RCA < 1 หมายความวา่ ประเทศนัน้ มคี วามเสยี เปรียบในการส่งออกขา้ ว

2) วเิ คราะหส์ ่วนแบ่งการตลาด (MS) ผ่านโปรแกรม Microsoft Excel ในรปู สมการ ดงั น้ี

MSikin = (Xkin/Xkn)*100
MSikin = สว่ นแบ่งการตลาดของสนิ ค้าkของประเทศ i ไปยังตลาด n
Xkin = มลู ค่าการสง่ ออกสินคา้ k ของประเทศ I ไปยังประเทศ n
Xkn = มูลคา่ การส่งออกสินค้า k ของทุกประเทศของตลาด n

98

การประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

ตารางที่ 1 มลู คา่ การส่งออกขา้ วของประเทศไทยและการนาเข้าข้าวของประเทศจนี

ปี สง่ ออกขา้ วของไทย ส่งออกสินค้าทง้ั หมดของ จนี นาเข้าขา้ วจากไทย มลู คา่ : ดอลลารส์ หรฐั

ไทย 462,225,309 จีนนาเข้าสนิ คา้ ท้ังหมดจาก
544,373,328 ไทย
2559 479,499,167 23,799,611,178 508,370,955
345,722,784 38,532,342,814
2560 573,695,719 29,505,999,885 242,323,987 41,596,082,905
44,918,670,224
2561 551,360,929 30,175,446,054 46,134,731,800
48,097,894,451
2562 303,058,770 28,068,462,812

2563 272,583,964 29,756,612,456

ทมี่ า : UN Comtrade Database,2565

ตารางที่ 2 มูลค่าการส่งออกขา้ วของประเทศเวียดนามและการนาเข้าของประเทศจีน

ปี สง่ ออกขา้ วของ ส่งออกสนิ คา้ ทั้งหมด จีนนาเข้าขา้ วจาก มลู ค่า : ดอลลารส์ หรฐั
จีนนาเขา้ ทัง้ หมดจาก
เวยี ดนาม เวยี ดนาม เวยี ดนาม
เวียดนาม
2559 782,106,656 21,950,444,543 733,934,948 37,171,603,826
50,374,616,976
2560 1,026,502,648 35,394,308,576 1,021,704,004 64,087,359,833
64,078,465,424
2561 683,363,161 41,366,458,747 739,174,536 78,474,632,436

2562 240,392,436 41,434,238,020 240,742,891

2563 464,973,468 48,879,761,897 451,873,747

ทม่ี า : UN Comtrade Database,2565

ผลการวจิ ยั

1.ผลลพั ธ์ของดชั นีความได้เปรียบโดยเปรยี บเทยี บทีป่ รากฏ (Revealed Comparative Advantage Index: RCA)

ตารางท่ี 3 การเปรียบเทียบความได้เปรียบในการส่งออกขา้ วของประเทศไทยและประเทศเวียดนามไปจนี

ปี RCA Thailand RCA Vietnam

2559 1.680 1.805

2560 1.486 1.430

2561 1.614 1.432

2562 1.441 1.544

2563 1.818 1.652

จากการคานวณดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (RCA) ของการส่งออกข้าวระหว่างปี 2559 – 2563 พบว่า
ประเทศไทยและเวยี ดนามมคี ่ามากกว่า 1 ในทุกๆ ปีทศ่ี กึ ษาแสดงวา่ ทั้งประเทศไทยและเวยี ดนามต่างก็มคี วามไดเ้ ปรียบโดยเปรยี บเทยี บ

99

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2565

ท่ีปรากฎในการส่งออกข้าวไปตลาดจีนซึ่งค่าความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบท่ีปรากฏ (RCA) ของประเทศไทยในระหว่างปี 2559 –
2563 มีคา่ RCA เทา่ กบั 1.680 1.486 1.614 1.441 1.818 ตามลาดับ

ส่วนเวียดนามมีค่า RCA เท่ากับ 1.805 1.430 1.432 1.544 1.652 ตามลาดับ หากเปรียบเทียบค่า RCA ระหว่าง 2
ประเทศ ต้งั แต่ปี 2559 – 2563 เวียดนามมคี า่ RCA มากกว่าประเทศไทยซง่ึ แสดงให้เหน็ วา่ เวียดนามมีความสามารถในการสง่ ออกข้าว
ไปประเทศจนี มากกว่าประเทศไทย โดยพิจารณาจากการเปรยี บเทยี บแนวโน้ม พบว่า มที ิศทางตรงขา้ มกัน คือ หากค่า RCA ของไทยมี
แนวโน้มเพิ่มข้ึน เวียดนามจะมีแนวโน้มค่า RCA ลดลง ซึ่งเห็นได้จากในช่วงปี 2559 ประเทศเวียดนามมีค่า RCA ในระดับสูงกว่า
ประเทศไทยมาก เน่ืองจากราคาสง่ ออกขา้ วของเวียดนามไปยงั ตลาดจนี มีราคาที่ต่ากวา่ และใน ปี 2560 – 2561 ค่า RCA ของเวยี ดนาม
มีแนวโน้มลดลงเนื่องจากประเทศเวียดนามมีผลผลิตน้อยลง ประเทศจีนจึงหันมานาเขา้ ข้าวจากประเทศไทยเพิม่ ข้ึนเพ่ือให้เพยี งพอตอ่
ความต้องการของประชากรในประเทศ ดงั ตารางและภาพ ต่อไปน้ี

ภาพที่ 1 การเปรียบเทยี บทางการแขง่ ขนั ของประเทศไทยและประเทศเวยี ดนามในการสง่ ออกขา้ วไปยงั ประเทศจีน

2. ผลการวเิ คราะหส์ ่วนแบ่งการตลาด
ผลการวิเคราะห์จากการคานวณส่วนแบ่งการตลาด (MS) การส่งออกข้าวของประเทศไทยและเวียดนามไปยังประเทศจีน
พบว่า ในปี 2559 - 2563 ประเทศไทยมคี ่าส่วนแบ่งทางการตลาด (MS) เท่ากบั 50 51 55 93 109 ตามลาดบั ส่วนประเทศเวียดนามมี
ค่าส่วนแบ่งทางการตลาด (MS) เท่ากับ 28 34 61 172 105 ตามลาดับ จะเห็นได้ว่า ในการส่งออกข้าวไปยงั ประเทศจนี ประเทศไทยมี
แนวโน้มคา่ ส่วนแบง่ ทางการตลาดทีเ่ พม่ิ ขน้ึ แตเ่ วยี ดนามมีแนวโนม้ คา่ สว่ นแบง่ ทางการตลาดที่ลดลง ดงั ตารางและภาพ ตอ่ ไปน้ี

ตารางที่ 4 ค่าสว่ นแบง่ ทางการตลาด (MS) การสง่ ออกขา้ วของประเทศไทยและเวยี ดนามไปยังประเทศจนี

ปี ประเทศไทย ประเทศเวยี ดนาม

2559 50 28

2560 51 34

2561 55 61

2562 93 172

2563 109 105

100

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ่ี 19 สงิ หาคม 2565

ภาพที่ 2 ส่วนแบ่งทางการตลาดของประเทศไทยและประเทศเวียดนามในการส่งออกขา้ วไปยังประเทศจนี

สรปุ อภปิ รายผล

จากการวจิ ยั ศักยภาพความสามารถในการแข่งขนั การสง่ ออกขา้ วของประเทศไทยและเวยี ดนามไปยังประเทศจนี สามารถ
นามาอภปิ รายผล ได้ดังนี้

1. ผลการวิจัยจากวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 พบว่าความสามารถในการส่งออกข้าวของไทยและเวียดนามไปตลาดจีนด้วยดัชนี
ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบท่ีปรากฏ (RCA) พบปัญหาว่า ในช่วงปี 2559 -2563 ประเทศเวียดนาม มีค่า RCA สูงกว่าประเทศไทย
เน่ืองจากราคาสง่ ออกข้าวจากประเทศเวยี ดนามไปตลาดจีนตา่ กวา่ ประเทศไทยมากถงึ รอ้ ยละ 50 รวมทงั้ ประเทศไทยประสบปญั หาขาด
แคลนตู้คอนเทนเนอร์และค่าบาทแขง็ ค่าทาให้ขา้ วไทยแพง ทาให้จีนหันมานาเข้าข้าวจากประเทศเวียดนามเพ่ิมข้ึนซึ่งสอดคลอ้ งกับกบั
งานวิจัยของ รชฎ ชาบุญ (2560) ได้ทาการศึกษาเร่ืองปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อปริมาณการส่งออกข้าวของประเทศไทยไปประเทศจีน
ในช่วงปี พ.ศ.2550 ถึง ปี พ.ศ. 2560 ผลการวิจัยพบว่าปัจจยั ท่ีมีผลต่อปริมาณการสง่ ออกข้าวของประเทศไทยไปยังประเทศจีน ได้แก่
คือ ปัญหาขาดแคลนตคู้ อนเทนเนอร์ และเงนิ บาทแขง็ ค่า

2. ผลการวิจยั จากวัตถุประสงคข์ ้อที่ 2 พบว่าจากการศึกษาและวเิ คราะหส์ ว่ นแบ่งการตลาดของการสง่ ออกข้าวของประเทศ
ไทยและเวยี ดนามในตลาดจนี พบปัญหาวา่ ในปี 2563 การส่งออกขา้ วไปยังประเทศจนี ประเทศไทยมคี า่ ส่วนแบ่งทางการตลาดทเี่ พิ่มขนึ้
แต่เวียดนามมีแนวโน้มค่าส่วนแบ่งทางการตลาดที่ลดลง ซ่ึงสอดคล้องกับกับงานวิจัยของ สถาบันอาหาร (2558) ได้ทาการศึกษา
กรณีศึกษาตลาดข้าวหอมมะลิไทยในจนี ผลการวิจัยพบวา่ จากยอดการส่งออกข้าวหอมมะลิไทยไปยงั ตลาดจีนเฉล่ียปลี ะ 372,000 ตัน
โดยหากพจิ ารณาจากสภาพตลาดจนี ทเี่ ติบโตย่อมมีโอกาสท่ีไทยจะสามารถสง่ ออกขา้ วหอมมะลไิ ปจีนไดม้ ากกว่าทเ่ี ปน็ อย่ใู นปจั จุบนั

3. ผลการวิจัยจากวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 พบว่าจากการศึกษาแนวทางกาหนดกลยุทธ์ข้าว ประเทศไทยใช้กลยุทธ์การรักษา
ตลาดหลักไม่ให้การส่งออกลดลง และกลยุทธ์การเปิดตลาดและแก้ไขปัญหาการกีดกันทางการค้า ซึ่งสอดคล้องกับกับงานวิจัยของ
สุทัศนีย์ ราชเรืองระบิน (2556) ได้ทาการศึกษา เร่ืองการปรับบริบทเพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าข้าวของอาเซียนโดยทุกประเทศ
จะตอ้ งเปิดเสรีการคา้ ข้าวโดยไมม่ มี าตรการกีดกันทางการคา้ อื่นๆ

ขอ้ เสนอแนะ

ข้อเสนอแนะสาหรบั นาผลวิจยั ไปใช้
1. ประเทศไทยควรใช้จุดแข็งด้านเทคโนโลยีในการส่งออกข้าว ด้วยการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่เกษตรกรและ
โรงงานเพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตดว้ ยการเพิ่มผลผลติ ตอ่ พืน้ ทล่ี ดตน้ ทนุ การผลติ ลดปัจจัยการผลิต และพฒั นา กระบวนการผลติ ที่
เปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ มเพอื่ เพม่ิ ความสามารถในการแข่งขัน
2. ประเทศไทยและประเทศเวียดนาม ควรทาความร่วมมือกันในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านราคา ด้านภาษี เพ่ือเพิ่มอานาจการ
ตอ่ รองการสง่ ออกขา้ วไปยงั ตลาดจีน
3. ทั้งภาครัฐและเอกชนควรร่วมมือกันในการส่งเสริมการขายโดยการจัดการดูงาน ออกบูธขายผลิตภัณฑ์สินค้าข้าว เพ่ือ
กระต้นุ ยอดขายและเรยี กความเชือ่ มน่ั ของสนิ ค้าท้ังในไทยและตา่ งประเทศ

101

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ คร้งั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565

ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ัยครงั้ ตอ่ ไป
1. ประเทศไทยควรพัฒนาอุตสาหกรรมข้าวอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มโอกาสการใช้วัตถุดิบ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ข้าวได้
หลายเท่าตัวมากกวา่ ท่จี ะเน้นส่งออก เพื่อสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ประเทศเพม่ิ ข้นึ
2. ภาครฐั บาลไทยและจีนควรส่งเสรมิ และร่วมมือกันในการพัฒนาเสน้ ทางการขนส่งโลจิสตกิ ส์ให้ ทันสมัย ความสะดวก และ
รวดเรว็ อย่ตู ลอด เพอื่ เพิ่มศกั ยภาพการค้าระหวา่ งสองประเทศใหม้ ากยิ่งขึน้
3. ประเทศไทยควรศกึ ษาและรักษามาตราฐานการส่งออกสินคา้ ของประเทศจีนและการศกึ ษาดคู ู่เขง่ อย่างประเทศเวียดนาม
เพื่อนามาวิเคราะห์ปรบั ปรุงและแกไ้ ขสินคา้ ในครัง้ ตอ่ ไป

เอกสารอ้างองิ

กรณัฏฐ์ เมฆชัย. (2557). ข้าวเวียดนาม VS ข้าวไทย. สืบค้นเม่ือ 25 มกราคม 2565. จาก http://oopm.rid.go.th/subordinate/
opm9/ pdf/km/2557_1/file_2557_7.pdf.

ดิศวรบตุ ร เหลา่ สนุ ทร, รณิดา ปิงเมอื ง, วรรณะ รตั นพงศ์, และ นาวิน พรมใจสา. (2558). ยุทธศาสตรก์ ารสง่ ออกข้าวของประเทศไทยสู่
อาเซยี น. วารสารสงั คมศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.(ฉบับพเิ ศษ), 7-10.

ทัดพงศ์ อวิโรธนานนท์, สัตยา ตันจันทร์พงศ์, และ ณฐวรรษ จาลองราษฎร์. (2563). ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อปริมาณการส่งออกขา้ ว
ของประเทศไทยไปประเทศจนี ในช่วงปี พ.ศ.2550 ถึงปี พ.ศ.2560. รายงานผลการวิจัย. มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑติ ย์.

ประชาชาตธิ รุ กจิ . (2564). การส่งออกขา้ วในเดอื นตุลาคม 2564. สืบค้นเม่ือ 25 มกราคม 2565. จาก https://www.prachachat.net
/economy/news-812829

สมชาย วิรุฬหผล และ สุภัทรา เชิดชูไย. (2557). การศึกษาศักยภาพในการแข่งขันของชาวไทยและเวียดนามและแนวทางการพัฒนา
ตลาดข้าวไทย. วารสารมหาวทิ ยาลัยครสิ เตยี น, 9-14.

สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย. (2564). ข้อมูลเกี่ยวกับข้าว. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2565. จาก http://www.thairiceexporters.or.th/
rice_profile.htm.

สานกั งานส่งเสรมิ การคา้ ระหว่างประเทศ ณ นครเฉงิ ต.ู (2557). ตลาดข้าวต่างชาติในจนี ปี 2557. สบื ค้นเม่ือ 25 มกราคม 2565. จาก
https://www.ditp.go.th/contents_attach/89761/89761.pdf.

สุทัศนีย์ ราชเรืองระบิน. (2556). การปรับบริบทของกรมการค้าภายในเพื่อรองรับการเปิดเสรีการค้าข้าวไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซยี น. รายงานผลการวจิ ยั . สถาบันการต่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ.

102

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565

การพฒั นาหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสเ์ รือ่ ง การจัดการองคค์ วามรูภ้ มู ปิ ัญญาท้องถ่นิ น้ามนั สมนุ ไพรใน
จงั หวัดสุพรรณบุรี

E-book Development Titled Local Wisdom Knowledge Management of Herb Oil in
Suphanburi Province

มาลนิ ี สุวรรณวสิ ทุ ธ์ิ,มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม
ปรยี าภรณ์ ยศสุนทร, ,มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม

Email:[email protected]

บทคัดย่อ

การวิจยั เรอื่ งนมี้ ีวตั ถุประสงค์ 1) เพอ่ื ศกึ ษาและวิเคราะห์การสรา้ งหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-book) เกี่ยวกบั การจัดการองค์
ความรู้ภูมปิ ัญท้องถนิ่ น้ามันสมุนไพรในจงั หวัดสุพรรณบุรี และ 2) เพ่ือวัดความพงึ พอใจประสิทธิภาพหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-book)
การจัดการองค์ความร้ภู มู ิปัญท้องถิ่นน้ามันสมนุ ไพรในจังหวัดสุพรรณบุรี ประชากรท่ีใช้ในการ วิจยั ไดแ้ ก่ เกษตรกรผปู้ ลกู สมุนไพรและ
ผปู้ ระกอบการท่ีผลติ น้ามันสมนุ ไพรในจงั หวัดสพุ รรณบุรี จา้ นวน 6 คน กลุม่ ตวั อย่างท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ไดแ้ ก่ เกษตรกรผูป้ ลูกสมนุ ไพรและ
ผู้ประกอบการที่ผลติ น้ามันสมุนไพรในจังหวัดสุพรรณบุรี จ้านวน 6 คน และประชาชนท่วั ไปทส่ี นใจในเรอื่ งการผลิตนน้ั สมนุ ไพร จ้านวน
30 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เกษตรกร และ แบบสอบถามความพึงพอใจประสิทธิภาพหนังสอื
อิเล็กทรอนิกส์ เก็บข้อมูลด้วยด้วยแบบสมั ภาษณ์และ แบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์ การวิเคราะหข์ ้อมูลใช้สถติ ิร้อยละ,ค่าเฉล่ีย,ค่า
สว่ นเบยี่ งเบนมาตราฐาน

ผลการวิจยั พบว่า 1) สามารถสร้างหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เก่ียวกบั การจัดการองค์ความรู้ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ นา้ มนั
สมุนไพรในจังหวัดสุพรรณบุรีเพื่อใช้ส้าหรับให้ความรู้กับประชาชนท่ัวไปที่สนใจในการเป็นผู้ประกอบการในการท้าน้ามันสมุนไพร 2)
พบว่าจากการวัดความพึงพอใจประสิทธิภาพในด้านภาพรวมและรายด้านของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
(x =̅ 4.76, S.D.=0.348) ข้อค้นพบจากงานวจิ ัยเป็นการสร้าง หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ (e-book) เก่ียวกบั การจดั การองค์ความรู้การผลิต
น้ามนั สมนุ ไพรเพื่อใหค้ วามรู้ กบั ประชาชนท่ัวไปท่สี นใจในเรือ่ งการผลติ น้ามันสมนุ ไพรในการศกึ ษาขอ้ มลู กอ่ นการด้าเนินการผลติ น้ามัน
สมุนไพร
คา้ ส้าคญั : หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส,์ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ , นา้ มันสมนุ ไพร

ABSTRACT

The objectives of this research were 1) to study the creation of electronic books (e-books) on local
knowledge management of herbal oils in Suphanburi Province and 2) to measure the satisfaction of the book's
efficiency. Electronic (e-book) Knowledge Management of Local Knowledge of Herbal Oils in Suphanburi Province.
The population used in the research were 6 herbal growers and herbal oil entrepreneurs in Suphanburi Province.
The sample groups used in the research were 6 herbal growers and herbal oil entrepreneurs in Suphanburi Province.
People and general public interested in herbal production consisted of 30 people. The data collection tools were
farmer’s interview form and electronic book efficiency satisfaction questionnaire. Collect data with interview forms
and online questionnaire the data were analyzed using percentage statistics, mean, standard deviation.

The results of the research showed that 1) were able to create an electronic book (e-book) on knowledge
management, local wisdom, herbal oils in Suphanburi Province to use for educating the general public who are
interested in becoming an entrepreneur. 2) It was found that from the overall and individual aspects of the book's

103

การประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

overall and individual performance satisfaction measure electronics. The mean was at the highest level (x =̅ 4.76,
S.D.=0.348) E-book (e-book) on knowledge of herbal oils of to provide knowledge with the general public interested
in the production of herbal oils to study the information before the production of herbal oils.
Keywords: Book, Local wisdom, Herb, Herbal oil

บทนา้

ประเทศไทยมีการปลูกพืชสมุนไพรกันมากมายหลายชนิดและหาง่ายจึงท้าให้ชุมชน มีการน้าสมุนไพรมาท้าเป็นผลิตภัณฑ์
หลากหลายอย่าง อาทิเช่น ยาแผนโบราณ ยาหม่องสมุนไพร ยาน้ามันสมุนไพร เป็นต้น เพื่อน้ามาทดแทนยาแผนปัจจุบันหรือเป็น
ทางเลอื กในการรักษาได้ จดุ เริ่มเม่ือภาครัฐเห็นคุณคา่ ของสมุนไพรไทยดว้ ยการแถลงนโยบายตอ่ รัฐสภาไว้เมอ่ื วันที่ 21 ตลุ าคม 2535 วา่
“ให้มีการผสมผสานการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเข้ากับระบบบริการสาธารณสุขของชุมชนอย่างเหมาะสม ” ในช่วงการส่งเสริม
ผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน “โครงการหน่ึงต้าบล หน่ึงผลิตภัณฑ์” (OTOP: One Tambon, One Product) ก็มีการส่งเสริมภูมิปัญญา
ท้องถ่ินสมุนไพรไทยด้วย ตามได้ก้าหนดระเบียบส้านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการอ้านวยการหน่ึงต้าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
แห่งชาติ พ.ศ.2544 โดยจังหวัดสุพรรณบุรีน้ันก็เป็น อีกหนึ่งจังหวัดท่ีมีการผลิตสินค้า OTOP มากมายเช่นกันหน่ึงในนั้นก็คือการน้า
สมุนไพร มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ในการรักษาโรค เนื่องด้วยจังหวัดสุพรรณบุรีน้ันเป็นจังหวัดที่ท้าการเกษตรมาก และปลูกสมุนไพรมาก
ด้วยเช่นกัน จึงท้าให้เกิดภูมิปัญญาท้องถ่ินน้าสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยจังหวัดสุพรรณบุรีนั้นได้มีการสนับสนุนให้
ประชาชานหันมาปลูกสมุนไพรกันมากขึ้นเพราะเน่ืองด้วยสถานการณ์โควิด 19 จึงท้าให้กระทรวงสาธารณสุขได้ส่งเสริมการใช้ยา
สมุนไพรบ้าบัดรักษาโรค ควบคู่กับยาแผนปจั จบุ ัน โดยมีมากกวา่ 50 รายการที่บรรจุในบัญชียาหลักแห่งชาติ รวมท้ังใช้ทดแทนเพ่อื ลด
การน้าเข้ายาแผนปัจจุบันจากต่างประเทศ โดยจากการทบทวนวรรณกรรมท่ผี ่านมาพบว่า ปัญหาด้านระบบพ้ืนฐานทางความรู้ในด้าน
สมุนไพรนั้นยังมีน้อยมากถึงแม้จะได้รับการสนับสนุนจากรัฐ และ ปัญหาอีกหน่ึงอย่างที่ส้าคัญก็คือ การพัฒนาสมุนไพรเพ่ือใช้ในทาง
การแพทย์แม้จะเป็นทางเลอื กในการรักษาน้ัน แต่ประชากรสว่ นใหญม่ ักจะไม่มั่นใจในการน้าสมุนไพรมาใช้ในทางการแพทย์เท่าท่คี วร จงึ
ทา้ ให้เกดิ ปัญหาอกี อยา่ งตามมากค็ ือ การใช้สมุนไพรในการรกั ษาน้ันอาจจะลดลงเพราะประชากรยังไม่มคี วามเชอ่ื มั่นและความรใู้ นเรือ่ ง
นี้เท่าที่ควรโดยเฉพาะในส่วนของภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีมีการน้าสมุนไพรมาท้าเป็นยารักษาโรคต่างๆ จากการสัมภาษณ์พบว่าประเดน็
ปัญหาก็คือ ผู้บริโภคยังไม่มีองค์ความรู้ทางด้านพืชสมุนไพรจึงท้าให้ผู้บริโภคยงั ไม่มีความมั่นใจในการประสงค์ที่จะซื้อสินค้าจากชุมชน
จากประเดน็ ปญั หาท่ีพบขา้ งต้นน้าไปสกู่ ารพฒั นางานวจิ ัย เร่ือง การพฒั นาหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์เรอื่ ง การจดั การองค์ความร้ภู มู ปิ ญั ญา
ท้องถ่ินน้ามันสมนุ ไพรในจังหวดั สุพรรณบรุ ี เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ในดา้ นภูมิปญั ญาท้องถ่ิน โดยงานวิจยั มีจุดประสงค์ เพื่อจัดการองค์
ความรู้และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านของสมุนไพร โดยจดท้าในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ หากงานวิจัยน้ีส้าเร็จจะเกดิ
ประโยชนต์ ่อชมุ ชนต่างๆทีม่ ีการนา้ สมนุ ไพรมาผลติ เปน็ ยาและยงั เป็นประโยชนต์ อิ ผูท้ ม่ี าศกึ ษาอีกดว้ ย

วัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั

1. เพ่อื ศึกษาและวเิ คราะหก์ ารสรา้ งหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-book) เกีย่ วกับ การจัดการองคค์ วามรภู้ มู ิปัญท้องถน่ิ น้ามนั
สมุนไพรในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

2. เพ่ือวัดความพึงพอใจประสิทธิภาพหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญท้องถิ่นน้ามัน
สมุนไพรในจงั หวัดสุพรรณบุรี

วธิ ดี า้ เนนิ การวจิ ยั

งานวจิ ยั ครงั้ นีผ้ ูว้ ิจยั ไดใ้ ช้รูปแบบการวจิ ัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เพ่อื การจดั การองค์ความรภู้ ูมปิ ัญญาท้องถิ่น
น้ามนั สมนุ ไพรในหมบู่ า้ นสระพงั เขิน ตา้ บลดอนะนาว อ้าเภอสองพีน่ อ้ ง จงั หวัดสพุ รรณบุรีโดยมขี อ้ มูลดังน้ี

ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
โดยกลุ่มตัวอยา่ งและประชากรที่ใช้ที่ใช้ในการวจิ ัยน้ันจะเป็นเกษตรกรผู้ปลูกสมไพรหรือผู้ประกอบการผลิตน้ามันสมุนไพร
และ แระชากรท่วั ไปทสี่ นใจโดยแบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่

104

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

1. เกษตรกรและผู้ผลิตน้ามันสมุนไพร โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากเกษตรกรและผู้ผลิตน้ามัน
สมุนไพรทใ่ี น ต้าบลดอนะนาว อา้ เภอสองพี่น้อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จ้านวน 6 คน

2. ประชาชนทั่วไปและนักเรียนนักศึกษาท่ีสนใจในการปลูกและผลิตน้ามันสมุนไพร จ้านวน 30 คนโดยการเลือกแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) จากประชาชนทัว่ ไปและนกั เรยี นนักศึกษาที่สนใจในการปลูกและผลิตนา้ มนั สมุนไพร จ้านวน 30 คน

เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการวิจัย
เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวิจัยการพัฒนาหนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-book) ประกอบด้วย หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-book) น้าแบบ
สัมภาษณ์ที่สรา้ งข้ึน ไปตรวจสอบคณุ ภาพในดา้ นของความเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหา โดยใชด้ ชั นีความสอดคลอ้ ง (Index of item objective
congruence) หรือ IOC โดยการประเมินน้ีจะผ่านอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน/เกษตรกรทั้งหมด 3 ท่านโดยแบบ
ประเมินต้องผา่ น 2 ใน3 เท่านนั้ เมือ่ นา้ แบบสมั ภาษณท์ ่ผี า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ค่า IOC ท่ีครอบคลมุ ครบถว้ นตามจุดประสงค์ ไปทา้ การ
สมั ภาษณเ์ กษตรกรและผู้ผลติ นา้ มนั สมนุ ไพรในจังหวดั สุพรรณบุรี และท้าการวิเคราะหข์ อ้ มลู แบบสอบถามความพึงพอใจประสทิ ธภิ าพ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจประสิทธิภาพหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) จากอินเทอรเ์ นต็
เพื่อเป็นแนวทางการสร้างแบบประเมินวัดคุณภาพ และข้อคิดเห็นเพิ่มเติมผู้วิจัยน้าผลของคะแนนไปท้าการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
โปรแกรมส้าเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) ดังน้ี ค่าเฉล่ียเลขคณิต (Mean) , ค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตราฐาน (Standard Deviation) , ค่าสถิตริ ้อยละ (Percentage)

ผลการวิจยั

ในการพฒั นาหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์การจดั การองค์ความรภู้ ูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินนา้ มันสมนุ ไพรในจังหวดั สพุ รรณบุรีนั้นจะใช้โปร
แปรแกรม Canva ในการออกแบบรูปเล่มหนังสือโดยจะใช้ข้อมูลการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอยา่ งเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรและผู้ประกอบท่ี
ผลติ นา้ มนั สมุนไพรในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี จ้านวน 6 ราย เพ่ือพฒั นาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Book) เกยี่ วกบั การจัดการองค์ความรู้ภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินน้ามนั สมนุ ไพรในจงั หวัดสพุ รรณบุรสี ามารถสรปุ ได้ดงั น้ี

1. เกษตรกรและผูผ้ ลิตสว่ นใหญ่ จะใชน้ า้ มนั ว่าน, ไพลสด, วา่ นเอ็นเหลอื ง, ขมิ้นชัน, เถาวลั ยเ์ ปรยี งใบยอ, เถาเอ็นอ่อน, ว่าน
หางจระเข้, นา้ มนั มะพรา้ ว, การบรู , พิมเสน ในการผลิตนา้ มันสมุนไพร

2. แหล่งของวัตถุดิบนั้น จะมีปลูกเองตามบริเวณบ้าน หาซื้อตามชุมชนของตน เอง และมีท้ัง ปลูกเองตามบริเวณบ้านและ
หาซื้อตามชมุ ชนของตนเอง

3. เกษตรกรและผผู้ ลิตสว่ นใหญ่จะมขี ัน้ ตอนการผลติ ท่เี หมอื นๆกัน ดังนี้ ลา้ งทา้ ความสะอาดสมนุ ไพรและหน่ั ให้เปน็ ช้ินบางๆ
น้ามาทอดกับน้ามนั มะพร้าวจนเหลอื งแลว้ กรอง นา้ มาผสมกับการบูร เมนทอลและพมิ เสน

4. ในด้านของสรรพคุณของน้ามันสมุนไพรน้ันก็จะมีทั้ง แก้คันจากแมลงกัดต่อย ลดอาการปวดเม่ือย เส้นตึง ผ่อนคลาย
ความเครยี ด แก้วิงเวยี นศรีษะ ลดอาการเส้นตึง คลายเส้น แก้ตะคริว ปวดยอกตาร่างกาย แกป้ วดเมือ่ ย ลดอาการเสน้ ตงึ คลายเสน้

105

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครงั้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2565

ภาพท่ี 1 หน้าปก

ภาพท่ี 2 ความหมายของพืชสมนุ ไพร

106

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครัง้ ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565

ภาพท่ี 3 ความสา้ คญั ของพชื สมุนไพร

ภาพที่ 4 ประวตั คิ วามเป็นมาของนา้ มนั สมนุ ไพร

107

การประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ที่ 19 สิงหาคม 2565

ภาพที่ 5 วตั ถดุ ิบท่ีใชใ้ นการท้านา้ มันสมุนไพร

ภาพที่ 6 สรรพคณุ ของสมนุ ไพร

108

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ คร้ังที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

ภาพที่ 7 ข้นั ตอนการทา้ นา้ มันสมุนไพร

ภาพท่ี 8 สรรพคณุ ของน้ามันสมุนไพร

109

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครั้งท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

โดยไดผ้ ลการระดบั ความพงึ พอใจของผู้ใช้งานทีม่ ีต่อประสิทธิภาพของหนังสือ อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-book) เกี่ยวกับการจดั การ
องค์ความรูภ้ มู ิปัญญาท้องถน่ิ นา้ มนั สมนุ ไพรในจังหวดั สุพรรณบรุ ี ดังนี้ ดา้ นการน้าไปใชป้ ระโยชน์ พบวา่ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก
ที่สุด ( =̅ 4.80, S.D.=0.325) เม่ือพิจาราณาเป็นนราย ด้านพบว่า ด้านเน้ือหาในหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การพัฒนาหนั งสือ
อิเล็กทรอนิกส์เรื่อง การจัดการองคค์ วามรู้ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินน้ามันสมุนไพรในจงั หวัดสุพรรณบุรีสามารถสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับ
ผู้อ่านได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( ̅ =4.90, S.D.=0.305) ด้านความรู้ท่ีได้จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เร่ือง การพัฒนา
หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ รอ่ื ง การจัดการองคค์ วามรู้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ นา้ มนั สมนุ ไพรในจังหวดั สุพรรณบรุ ี มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก
ทส่ี ดุ ( ̅ =4.90, S.D.=0.305)

สรปุ และอภปิ รายผล

สรปุ
ผลการวิจัยคร้ังน้ีเป็นการสรุปเกี่ยวกับ การพัฒนาอิเล็กทรอนิกส์การเรื่อง การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินน้ามัน
สมุนไพรในจังหวัดสพุ รรณบุรี สามารถสรปุ ผลการวิจยั ได้ดังต่อไปนี้
1.หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-book) เรื่อง เรื่อง การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นน้ามันสมุนไพรในจังหวัดสุพรรณบรุ ี
ส้าหรบั ประชาชนท่ัวไปทสี่ นใจในเรอ่ื งการผลิตนา้ มนั สมุนไพร โดยเน้ือหาประกอบไปดว้ ย 8 สว่ น ซ่ึงประกอบดว้ ย 1) ความหมายของ
สมุนไพรไทย 2) ความส้าคัญของสมุนไพรไทย 3) ประวัติความเป็นมาของน้ามันสมุนไพร 4 )วัตถุดิบในการท้าน้ามันสมุ นไพร 5)
สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด 6 ) ข้ันตอนการท้าน้ามันสมุนไพร 7) สรรพคุณของน้ามันสมุนไพร 8) ผลิตภัณฑ์อ่ืนๆที่ท้ามาจาก
สมุนไพร
2.การวัดความพงึ พอใจประสทิ ธภิ าพหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ การจดั การองคค์ วามรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ น้ามันสมุนไพรในจังหวัด
สุพรรณบุรี ในภาพรวมและ รายด้าน พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (x ̅=4.76, S.D.=0.348) เม่ือพิจาราณาเป็นราย ด้าน
พบว่า ด้านเน้ือหาสาระ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด (x ̅ =4.80, S.D.= .269) ด้านการน้าไปใช้ประโยชน์อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด
(x ̅ = 4.80, S.D.= .325) ดา้ นประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด (x ̅ =4.75, S.D.= .405) ดา้ นการจัดองคป์ ระกอบ อยู่
ในระดับมากท่ีสดุ (x ̅ =4.72, S.D.= .360) และ ด้านความสวยงามอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ (x ̅ =4.70, S.D.= .531) ตามลา้ ดับ

อภิปรายผล
1. หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-book) เรอ่ื ง เรือ่ ง การจัดการองคค์ วามรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ น้ามันสมุนไพรในจังหวัดสุพรรณบุรี
ส้าหรับประชาชนทั่วไปท่ีสนใจในการผลิตน้ามันสมุนไพร จากสมุนไพรพื้นบ้านของไทย โดยเน้ือหาประกอบไปด้วย 8 ส่วน ซึ่ง
ประกอบด้วย ) ความหมายของสมุนไพรไทย 2) ความส้าคญั ของสมุนไพรไทย 3) ประวัติความเป็นมาของน้ามันสมนุ ไพร 4 )วัตถุดบิ ใน
การท้าน้ามันสมุนไพร 5) สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด 6) ขั้นตอนการท้าน้ามันสมุนไพร 7) สรรพคุณของน้ามันสมุนไพร 8)
ผลิตภัณฑ์อื่นๆที่ท้ามาจากสมุนไพร ซ่ึงสอดคล้องกับทฤษฎีเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของวารุณี คงวิมล (2559) ศึกษาเร่ือง การ
พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) และการเลือกประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ การจัดการองค์
ความรู้ภูมิปญั ญาท้องถิน่ น้ามนั สมุนไพรในจงั หวัดสุพรรณบุรนี ั้น จัดอยู่ในประเภทหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ แบบต้ารา สามารถกลา่ วได้วา่
เป็นการแปลงหนังสือจากสภาพสงิ่ พิมพ์ปกติเปน็ สอื่ ดิจิตอล
2. การวัดความพึงพอใจประสิทธิภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นน้ามันสมุนไพรใน
จงั หวัดสุพรรณบุรี ในภาพรวมและ รายด้าน พบวา่ มคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ (x =̅ 4.76, S.D.=0.348) เมอื่ พจิ าราณาเป็นราย
ดา้ นพบว่า ดา้ นเนอื้ หาสาระ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากท่ีสุด ( x ̅ =4.80, S.D.= .269) ดา้ นการน้าไปใช้ประโยชนอ์ ยใู่ นระดับมาก
ท่ีสุด (x ̅ = 4.80, S.D.= .325) ดา้ นประสทิ ธิภาพและประสิทธิผ อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด (x ̅ =4.75, S.D.= .405) ด้านการจัดองคป์ ระกอบ
อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ (x ̅ =4.72, S.D.= .360) และ ดา้ นความสวยงามอยูใ่ นระดบั มากทีส่ ดุ (x ̅ =4.70, S.D.= .531) ตามล้าดบั

110

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ ร์ที่ 19 สิงหาคม 2565

ดังนน้ั จึงสรปุ ได้วา่ ประชาชนทวั่ ไปมีความพึงพอใจต่อการใชห้ นังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพราะมกี ารนา้ ภาพกราฟกิ ต่างๆ พ้นื หลัง
สีสัน ขนาดตัวอักษร เน้ือหาต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจมาใช้ในการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของชิราภรณ์ หัตตา
(2560) ที่กล่าวถงึ ประโยชน์ในการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ ท้าให้ผู้อ่านสามารถอ่านผ่าน ระบบอินเตอร์เนต็ หรือฮาร์ดแวร์ประเภท
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์พกพาอื่นๆ ได้ สามารถบันทึกได้ใน ปริมาณมากๆ อ่านท่ีไหน เม่ือไหร่ ได้ตลอดเวลา และยังสอดคล้องกับ
แนวคดิ ของนวพรรษ ผลด,ี วรชาติ โตแก้ว (2560) ที่กล่าวถึงปัญญาการใชส้ มนุ ไพรในการดแู ลสุขภาพเบือ้ งต้นท่ีนา้ สมุนไพรพนื้ บ้านมา
บ้าบัดและรกั ษาโรคต่างๆ

ข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะเพื่อน้าผลการวิจยั ไปใช้
หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เร่ือง เร่อื ง การจดั การองคค์ วามรู้ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ นา้ มันสมุนไพรในจังหวดั สุพรรณบุรีนั้น
กอ่ นทีจ่ ะน้าไปใช้งานจริงควรทา้ การฝกึ อบรมและสอนวธิ กี ารใช้งานหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ให้กับกลมุ่ เกษตรกร เพอื่ ให้เกษตรกรสามารถ
ใชง้ านหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ สไ์ ด้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครังถัดไป
ควรมีการพัฒนาและต่อยอดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เร่ือง การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ินน้ามนั สมุนไพร
ในจังหวัดสุพรรณบุรีให้มีความน่าสนใจมากย่ิงขึ้น โดยการเพ่ิมสื่อมัลติมีเดีย เช่น ภาพเคล่ือนไหว วิดีโอ และเพลงประกอบต่างๆ เพื่อ
เพมิ่ ความสนใจและความดึงดูดของประชาชนท่วั ไปทีส่ นใจในการผลติ นา้ มนั สมุนไพร

กติ ติกรรมประกาศ

งานวิจยั ฉบบั นี้สา้ เร็จไปได้ด้วยความกรณุ าจากอาจารยด์ ร.กนกพัชร กอประเสรฐิ และ อาจารย์ นิตยา งามยง่ิ ยง ที่ชแ้ี นะ ใน
การศึกษาค้นคว้า แนะน้าขนั้ ตอนวิธกี ารจัดท้าขั้นตอนการท้าวจิ ยั รวมทั้งตรวจสอบแกไ้ ขตา่ งๆ จน งานวิจัยเสร็จสมบรู ณ์ ผู้วิจัยจงึ ขอก
ราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง

ขอขอบพระคุณ อาจารย์ นิตยา งามยิ่งยง และอาจารย์ ผศ.ดร.กนกพัชร กอประเสริฐ อาจารย์ประจ้าสาขาธุรกิจระหวา่ ง
ประเทศ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ท่ีกรุณาให้ค้าช้ีแนะแก้ไขข้อบกพร่องของ งานวิจัยนี้จนมีความสมบูรณ์
มากข้ึน

ขอขอบคุณ นักเรียนและประชาชนท่ัวไปท่ีมีความสนใจในการผลิตน้ามันสมุนไพร ที่ให้ความร่วมมมือ ในการท้าแบบ
ประเมนิ ความพึงใจที่มตี อ่ หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีใชป้ ระกอบการทา้ วจิ ัยคร้งั นี้ให้ส้าเร็จ ลลุ ว่ ง สดุ ทา้ ยน้ี ผวู้ ิจยั ขอขอบคณุ ท่ีช่วยส่งเสริม
สนับสนุนและเป็นก้าลังใจมา โดยตลอด รวมท้ัง สมาชิกในกลุ่มท่ีให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการท้าวิจัยคร้ังน้ีจนกระทั่งประสบ
ความสา้ เรจ็ ดว้ ยดี

เอกสารอ้างอิง

กรุณา จันทมุ และ กัลยารัตน์ ก้าลังเหลอื (2560). การรกั ษาโรคด้วยสมนุ ไพรและตา้ รบั ยาโบราณของหมอพนื บ้าน. สบื คน้ เมอ่ื 2
มกราคม 2565, จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/ article/view/97380.

ณฐั พงศ์ แกว้ บญุ มา และ ธนากร ด้าสดุ (2561). การจดั การความรูเ้ ชิงความหมายสมนุ ไพรในงาน สาธารณสขุ มลู ฐาน. สืบค้นเมือ่
วันท่ี 7 มกราคม 2565, จาก https://www.repository.
rmutsv.ac.th/bitstream/handle/123456789/3229/FullText.pdf?sequence=1.

ธญั ญา พรหมสมบูรณ์, อนงคน์ าฏ โสภณางกูร, ประพฤติ พรหมสมบูรณ์, และ สชุ าดา กรเพชรปาณี (2560). ประสิทธภิ าพของน้ามนั
หอมระเหยจากพชื สมนุ ไพร 5 ชนิด ตอ่ การผ่อนคลายความเครยี ด ความวติ กกังวล มีผลเสยี ตอ่ รา่ งกาย และ อารมณ์
ของมนษุ ย์. สืบค้นเมื่อ 10 มนี าคม 2565, จาก http://research.rmutto.ac.th/file/161fulltext.pdf.

111

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกร์ที่ 19 สงิ หาคม 2565

นวพรรษ ผลดี และ วรชาติ โตแกว้ (2560). ภมู ิปญั ญาการใชส้ มุนไพรในการดแู ลสขุ ภาพเบอื งตน้ ในชมุ ชนพืนทป่ี า่ ชุมชน บ้านหิน
ฮาว อา้ เภอบา้ นฝาง จงั หวดั ขอนแกน่ .สบื คน้ เม่ือ 10 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก http://research.rmu.ac.th/rdi-
mis//upload/fullreport/1630048971.pdf.

ปยิ ทศั น์ ใจเยน็ และ ยุทธนา แยบคาย (2563). ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ ความเช่ือมั่นในผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพรของประชาชน จังหวดั สโุ ขทยั .
สบื คน้ เมอ่ื 22 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://he01.tci-
thaijo.org/index.php/JTTAM/article/download/241897/164541/.

เพญ็ นภา ทพิ ย์สุราษฎร์ (2559). การศกึ ษาพชื สมุนไพรท้องถ่ินและภูมปิ ัญญาดา้ นการใชส้ มนุ ไพร กรณีศึกษา อทุ ยานแห่งชาตแิ ก่ง
กรงุ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน.ี สบื ค้นเมื่อ 12 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก
https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/11486/1/417907.pdf.

ไพศาล มุง่ สมคั ร, ถนอมศกั ด์ิ สวุ รรณน้อย, สรชัย พศิ าลบตุ ร, และ ศวิ ะศษิ ย์ ชา้่ ชอง (2556). รูปแบบการจดั การท่ปี ระสบผลส้าเร็จ
ของกล่มุ เครอื ขา่ ยวิสาหกิจชมุ ชนผลิตภัณฑ์สมนุ ไพร กล่มุ จังหวัดนครชยั บุรนิ ทร.์ สืบคน้ เม่ือ 2 มกราคม 2565, จาก
http://www.ar.or.th/ImageData/ Magazine/2/DL_86.pdf?t=635730186110874068.

รุจิจันทร์ วิชวิ านเิ วศน์ (2554) .การพฒั นาระบบฐานความรดู้ า้ นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร.สืบคน้ เมื่อ 2 มนี าคม 2565, จาก
http://www.ssruir.ssru.ac.th/bitstream/ssruir/537/1/124-54.pdf.

ฤทยั ภัทร ให้ศิรกิ ุล (2563). แนวทางการบริหารจดั การกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนสมนุ ไพรบา้ นบวั ตา้ บลบ้านบวั อา้ เภอเมอื ง จังหวดั
บุรีรัมย.์ สืบคน้ เมอื่ 28 มกราคม 2565, จากhttps://so03.tci- thaijo.org
/index.php/RDIBRU/article/download/243692/167704.

วารุณี คงวมิ ล (2559). การพัฒนาหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตสื่อการสอน
สา้ หรับครูระดับประถมศกึ ษา. สืบค้นเม่อื 12 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/55920485.pdf.

กรุณา จันทมุ และ กลั ยารตั น์ ก้าลังเหลอื (2560). การรักษาโรคดว้ ยสมนุ ไพรและตา้ รบั ยาโบราณของหมอพนื บ้าน. สบื คน้ เมือ่ 2
มกราคม 2565, จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/ article/view/97380.

ณัฐพงศ์ แก้วบญุ มา และ ธนากร ดา้ สดุ (2561). การจดั การความรเู้ ชิงความหมายสมนุ ไพรในงาน สาธารณสขุ มลู ฐาน. สบื ค้นเมอ่ื
วนั ที่ 7 มกราคม 2565, จาก https://www.repository.
rmutsv.ac.th/bitstream/handle/123456789/3229/FullText.pdf?sequence=1.

ธัญญา พรหมสมบูรณ์, อนงค์นาฏ โสภณางกูร, ประพฤติ พรหมสมบรู ณ,์ และ สชุ าดา กรเพชรปาณี (2560). ประสทิ ธภิ าพของน้ามนั
หอมระเหยจากพชื สมนุ ไพร 5 ชนิด ตอ่ การผอ่ นคลายความเครียด ความวติ กกงั วล มีผลเสยี ตอ่ รา่ งกาย และ อารมณ์
ของมนุษย.์ สบื คน้ เม่ือ 10 มีนาคม 2565, จาก http://research.rmutto.ac.th/file/161fulltext.pdf.

นวพรรษ ผลดี และ วรชาติ โตแก้ว (2560). ภูมปิ ญั ญาการใชส้ มนุ ไพรในการดแู ลสขุ ภาพเบอื งตน้ ในชมุ ชนพนื ท่ีปา่ ชุมชน บ้านหิน
ฮาว อา้ เภอบา้ นฝาง จงั หวดั ขอนแก่น.สืบค้นเมอื่ 10 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก http://research.rmu.ac.th/rdi-
mis//upload/fullreport/1630048971.pdf.

ปิยทัศน์ ใจเยน็ และ ยุทธนา แยบคาย (2563). ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ ความเช่อื ม่นั ในผลิตภัณฑส์ มุนไพรของประชาชน จงั หวัดสโุ ขทยั .
สบื คน้ เม่ือ 22 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://he01.tci-
thaijo.org/index.php/JTTAM/article/download/241897/164541/.

เพ็ญนภา ทพิ ย์สรุ าษฎร์ (2559). การศกึ ษาพชื สมนุ ไพรทอ้ งถ่ินและภมู ปิ ญั ญาด้านการใช้สมนุ ไพร กรณศี ึกษา อุทยานแหง่ ชาตแิ กง่
กรุง จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน.ี สืบค้นเม่อื 12 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก
https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/11486/1/417907.pdf.

ไพศาล มุ่งสมคั ร, ถนอมศกั ดิ์ สวุ รรณน้อย, สรชัย พศิ าลบตุ ร, และ ศวิ ะศษิ ย์ ชา้่ ชอง (2556). รปู แบบการจดั การท่ีประสบผลสา้ เร็จ
ของกลุ่มเครอื ข่ายวสิ าหกิจชุมชนผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร กลุ่มจังหวัดนครชยั บรุ นิ ทร.์ สบื ค้นเมื่อ 2 มกราคม 2565, จาก
http://www.ar.or.th/ImageData/ Magazine/2/DL_86.pdf?t=635730186110874068.

รุจิจันทร์ วิชวิ านิเวศน์ (2554) .การพัฒนาระบบฐานความรดู้ า้ นการรักษาโรคด้วยสมุนไพร.สบื คน้ เมอ่ื 2 มนี าคม 2565, จาก
http://www.ssruir.ssru.ac.th/bitstream/ssruir/537/1/124-54.pdf.

112

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ่ี 19 สงิ หาคม 2565
ฤทยั ภทั ร ใหศ้ ริ กิ ุล (2563). แนวทางการบรหิ ารจดั การกลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนสมนุ ไพรบา้ นบวั ตา้ บลบ้านบวั อ้าเภอเมอื ง จังหวดั

บรุ รี มั ย.์ สืบคน้ เมื่อ 28 มกราคม 2565, จากhttps://so03.tci- thaijo.org
/index.php/RDIBRU/article/download/243692/167704.
วารุณี คงวมิ ล (2559). การพัฒนาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Book) เรือ่ ง การใช้โปรแกรม Photoshop เพื่อผลติ ส่ือการสอน
ส้าหรับครรู ะดับประถมศกึ ษา. สบื ค้นเมือ่ 12 กมุ ภาพันธ์ 2565, จาก
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/55920485.pdf.

113

การประชุมวชิ าการระดับชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

การออกแบบและพัฒนาเว็บไซตจ์ าหน่ายเสื้อผา้ กรณศี กึ ษาร้านตุ๊กกแี้ ฟช่นั
The Design and Development of an Online Clothing Store Case Study

Tukky Fashion Web

นฤมล รัตนสุภา, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช
ยสุ มีย์ กาหม๊ะ, มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
วสิ ตุ ร์ เพชรรัตน์, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
เตชติ า สทุ ธิรกั ษ,์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

Email: [email protected]

บทคัดย่อ

วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษานค้ี ือ เพื่อออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซตจ์ าหน่ายเสื้อผ้ากรณศี ึกษารา้ นต๊กุ ก้แี ฟช่ัน และเพ่อื ประเมิน
ความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อเว็บไซต์จาหน่ายเสื้อผ้ากรณีศึกษาร้านตุ๊กกี้แฟชั่น ในการออกแบบและพัฒนาประกอบด้วย 2 ส่วน
ได้แก่ 1) ผู้ดูแลระบบ สามารถจัดการข้อมูลสินค้า จัดการข้อมูลการสั่งซ้ือและข้อมูลการชาระเงิน 2) ผู้ใช้งาน สามารถเลือกดูสินค้า
สั่งซื้อ ชาระเงิน ตรวจสอบหมายเลขพัสดุ และสามารถเลือกเสื้อผ้าได้ตามหมวดหมู่ของเสื้อผ้า กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ ผู้ใช้งาน
เว็บไซต์จาหน่ายเส้ือผ้ากรณีศึกษาร้านตุ๊กกี้แฟช่ัน จานวน 62 คน โดยเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน
ประเมนิ คา่ 5 ระดับ สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉลี่ย และคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า เว็บไซต์จาหน่ายเส้ือผ้ากรณีศึกษาร้านตุ๊กก้ีแฟชั่นท่ีพัฒนาขึ้นสามารถแสดงสินค้าได้อย่างถูกต้องและ
รองรับการสั่งซื้อเสื้อผ้าในรูปแบบออนไลน์ได้อย่างสะดวก และมีความเหมาะสมต่อการใช้งานเปน็ อยา่ งมาก โดยผู้ตอบแบบสอบถามมี
ความพึงพอใจต่อการใช้งานเว็บไซต์จาหน่ายเส้ือผ้ากรณีศึกษาร้านตุ๊กกี้แฟช่ัน ภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ียเท่ากบั
4.46 ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงคิดเป็นร้อยละ 75.8 มีอาชีพเป็นนักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 43.5 มีวุฒิ
การศกึ ษาระดับปริญญาตรีคดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.6 รวมทัง้ มีอายอุ ยู่ในช่วง 20-40 ปี คดิ เป็นร้อยละ 98.4
คาสาคญั : พัฒนาเว็บ, เสือ้ ผ้า, ออกแบบระบบ

ABSTRACT

The objective of this study is To design and develop a website for selling clothes, a case study of Tukky
Fashion. and to assess the user's satisfaction with the clothing website, a case study of Tukky Fashion. In the design
and development consists of 2 parts: 1 ) Administrators can manage product information. Manage purchase and
payment information 2 ) User can browse products, order, pay, check parcel numbers and can choose clothes
according to the category of clothes The sample group in the research was 62 users of the clothing retailer website,
a case study of Tukky Fashion Shop. The research tool was a 5 - level valuation scale questionnaire. The statistics
used in the data analysis were percentage, mean and standard deviation.

The results showed that a clothing selling website, a case study of a fashion shop developed, can
accurately display products and support convenient online ordering of clothes. And is very suitable for use the
Respondents were satisfied with using the website for selling clothes in a case study of Tukky Fashion Overall, the
level of satisfaction was high. The average was 4.46, of which 75.8% of the respondents were women, 43.5% were
students, and 51.6% had a bachelor's degree, and were in the range of 20-40. Year, accounting for 98.4%
Keywords: web development, clothing, system design

114

การประชุมวิชาการระดับชาติ ครง้ั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วันศุกรท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

บทนา

ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาและสร้างสรรค์ส่ิงอานวยความสะดวกที่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตเป็นอย่างมาก
โดยมีเทคโนโลยีเข้ามาเสริมปัจจัยพ้ืนฐานต่อการดารงชีวิต ทาให้การค้าและการดาเนินธุรกิจต่างๆ มีการเปล่ียนแปลง คือ การนา
หลกั การด้านพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ทมี่ ีต้นทุนตา่ และสามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้อยา่ งทวั่ ถึงมาใช้ ซ่ึงเป็นชอ่ งทางการตลาดท่ีสะดวกและ
รวดเร็วเหมาะแก่การนามาใชใ้ นการตดิ ต่อส่ือสารกบั ผู้บริโภค ชว่ ยประหยัดต้นทุนในการดาเนนิ งานด้านต่างๆ และสามารถใช้ประโยชน์
ไดห้ ลายดา้ น (ชนษิ ฐา ดสิ สระ และทัศนยี ์ ปานมา, 2564)

ร้านจาหนา่ ยเสื้อผา้ ตุ๊กก้ีแฟชัน่ ตงั้ อยใู่ น ซอยแมงมมุ ซึ่งเป็นแหล่งจาหน่ายเส้ือผ้าขนาดใหญ่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึง
ไดเ้ ปิดรา้ นมายาวนานกว่า 4 ปี โดยร้านจาหน่ายเสอื้ ผ้าตุ๊กกแ้ี ฟชน่ั ริเริม่ ขายเสอื้ ผา้ มาต้ังแต่ยังเปน็ รา้ นแบบตง้ั แผงขาย จนกระทง้ั ได้ขยบั
ขยายเปดิ เป็นรา้ นขายผ้าขนาดใหญ่ ซงึ่ มดี ว้ ยกนั 2 ร้าน รา้ นจาหน่ายเสอ้ื ผา้ ตุ๊กก้ีแฟช่ัน ไดจ้ ัดจาหนา่ ยเสือ้ ผา้ แฟช่ันท้ัง เสอื้ และกางเกง
หลากหลายแบบ หลากหลายไซส์ให้เลือก แต่ทางร้านน้ันมีการจัดจาหน่ายเส้ือผ้าแฟชั่นเฉพาะแบบหน้าร้าน ไม่มีสื่อโซเซียลใดๆ ที่จะ
ช่วยในการโฆษณาเส้ือผ้าของร้าน ทาให้เกิดความไมส่ ะดวกแก่ลูกค้าท่ีต้องการซื้อเส้ือผ้า และต้องการทราบรายละเอยี ดของเสื้อผ้า แต่
ไม่สามารถเดินทางมาที่ร้านได้ ถ้าหากร้านจาหน่ายเสื้อผ้าตุ๊กก้ีแฟชั่น มีเว็บไซต์ช่วยเป็นส่ือโฆษณาให้กับทางร้าน และเป็นช่องทางให้
ลูกค้าในการติดต่อและดูข้อมูลรายละเอียดของเสื้อผ้าได้ จะทาให้เกิดความสะดวกย่ิงขึ้น เว็บไซต์จะเป็นช่องทางที่ตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าได้มากกวา่ เพราะหากลูกค้าสนใจเสื้อผา้ ของทางร้าน ลูกค้าสามารถเลือกซ้ือเส้ือผ้าและชาระเงินผา่ นทางเว็บไซต์ได้
อีกชอ่ งทางหน่ึง

จากความสาคัญและที่มาของปัญหาดังที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ให้กับทางร้านจาหน่าย
เสื้อผ้าตุ๊กก้ีแฟชั่น เพ่ือเป็นส่ือประชาสัมพันธ์ และจัดจาหน่ายเสื้อผ้าให้กับทางร้าน รวมทั้งตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้ท่ี
สนใจซ้ือเสื้อผ้าของทางร้าน โดยสามารถเยีย่ มชมผ่านทางเวบ็ ไซต์ที่ผู้วิจยั จัดทาขึน้ ซ่ึงเว็บไซต์น้ีจะนาเสนอข้อมูลเกีย่ วกบั เส้ือผ้าแฟชน่ั
ของร้านตุ๊กก้ีแฟช่ัน (อาทิตยา ทามี และณฐั วุฒิ นามบุดดา, 2562)

วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจยั

1.1 เพ่ือออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์จาหน่ายเสอื้ ผา้ กรณีศึกษารา้ นต๊กุ กี้แฟชน่ั
1.2 เพื่อประเมินผลความพึงพอใจการใช้งานเว็บไซต์จาหน่ายเสื้อผ้า กรณีศึกษาร้านตุ๊กกี้แฟช่ัน

วธิ ีดาเนนิ การวิจยั

ในการจัดทาเวบ็ ไซตจ์ าหน่ายเสอื้ ผา้ กรณีศึกษาร้านตุ๊กกีแ้ ฟชน่ั ผู้วิจัยไดด้ าเนนิ การวิจัยโดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก ดงั นี้
1. ผู้วิจัยได้ออกแบบและพัฒนาระบบของเว็บไซต์ร้านจาหน่ายเส้ือผ้าตามแผนวงจรการพัฒนาระบบ ( System
Development Life Cycle : SDLC) ซึ่ง วงจรพัฒนาระบบ คือ การแบ่งข้ันตอนกระบวนการพัฒนาระบบงานซ่ึงสามารถแสดง
กระบวนการ และข้นั ตอนต่างๆ ของการทางาน โดยมขี น้ั ตอนการดาเนินงาน ดงั น้ี (เกียรตพิ งษ์ อุดมธนะธรี ะ, 2562)

1.1 กาหนดปญั หาและศกึ ษาความเป็นไปได้ (Problem Definition)
ลงพ้ืนที่เพ่ือค้นหาร้านที่ต้องการจะนาข้อมูลมาสร้างเป็นเว็บไซต์ เมื่อได้ร้านท่ีผ่านการคัดเลือกแล้ว คือ ร้านตุ๊กกี้

แฟชั่น จึงทาการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับร้านจาหน่ายเสื้อผ้าตุ๊กกี้แฟช่ัน เพ่ือกาหนดปัญหา และหาความต้องการของทางร้าน โดยการ
สัมภาษณ์ซ่ึงเป็นวิธีการที่รวบรวมข้อมูลได้อย่างละเอียดเพราะสามารถซักถามเพ่ือให้เกิดความเข้าใจในปัญหาได้ โดยสัมภาษณ์จาก
เจ้าของร้านโดยตรง เพื่อนาข้อมูลดังกล่าวมาสร้างเวบ็ ไซต์ ให้มีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน และนาข้อมลู ท่ไี ด้จากการศึกษาเกย่ี วกับปัญหา
แล้ว มาศกึ ษาและหา
ความเหมาะสมที่จะพัฒนา ซ่งึ ปัญหาและความต้องการท่ีได้ข้อมลู มาจากทางรา้ น คือ ร้านไม่มเี ว็บไซต์ทจี่ ะเป็นส่อื โซเซียลใดๆ ทีจ่ ะชว่ ย
ในการเป็นสอื่ โฆษณา ทาใหเ้ กิดปัญหาให้เกดิ ความไมส่ ะดวกในการสั่งซ้ือเสื้อผา้ ของลกู คา้ ในกลุ่มของลกู ค้าออนไลน์

1.2 การวิเคราะห์ (Analysis)
เม่ือทราบรายละเอียดของปญั หาที่เกิดขึ้นของร้านจาหน่ายเส้อื ผา้ ตุ๊กก้แี ฟชั่นแลว้ จงึ ได้นาขอ้ มูลที่ได้จากการศกึ ษาใน

เบ้ืองต้นมาทาการวเิ คราะห์ ดังนี้ ทาการเขียนแผนภาพก้างปลา (Fishbone Diagram) เพื่อให้ทราบถึงรายละเอียดของปัญหา ทาการ
เขยี นแผนภาพบรบิ ท (Context Diagram) เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ รายละเอียดจาเป็นทม่ี ีในเวบ็ ไซตจ์ าหนา่ ยเส้อื ผ้าร้านตุ๊กกีแ้ ฟชั่น ทาการสร้าง

115

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครง้ั ที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกร์ท่ี 19 สิงหาคม 2565

แผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram) เพื่อให้ทราบถึงส่วนแสดงข้อมูลต่างๆ ในเว็บไซต์จาหน่ายเส้ือผ้าร้านตุ๊กกี้
แฟชั่น

1.3 การออกแบบ (Design)
ทาการออกแบบเว็บไซต์จาหน่ายเสื้อผ้าร้านตุ๊กก้ีแฟชั่น โดยนาข้อมูลความต้องการจากการวิเคราะห์มาใช้ในการ

ออกแบบ โดยหน้าของเว็บไซต์จะประกอบไปด้วยเมนูต่างๆ ได้แก่ หน้าแรก เส้ือผ้าท้ังหมด ตะกร้าสินค้า การส่ังซ้ือ การแจ้งชาระเงิน
ตรวจสอบหมายเลขพัสดุ ติดต่อเรา และหมวดหมู่เส้ือผ้า ทาการออกแบบจนกว่าจะได้แบบท่ีต้องการเพ่ือนาไปพัฒนาเป็นเว็บไซต์ท่ี
สมบูรณ์

1.4 การพัฒนา (Development)
ทาการออกแบบเว็บไซต์ได้ตามความต้องการแล้ว จึงนารูปแบบที่ได้ทาการออกแบบมาพัฒนาต่อในการสร้าง

เว็บไซต์จาหน่ายเสื้อผ้าร้านตุ๊กกี้แฟชั่น โดยจะนาเอาข้อมูลและรายละเอียดจากข้ึนตอนข้างต้นมาประกอบการสร้างเว็บไซต์จาหน่าย
เสื้อผ้ารา้ นตุ๊กก้ีแฟชน่ั และทาการพัฒนาจนกวา่ จะไดเ้ วบ็ ไซต์ท่มี ีความสมบรู ณ์ที่สดุ

1.5 ทดสอบ (Test)
เมอ่ื ทาการเขยี นโปรแกรมเพื่อสรา้ งเว็บไซตต์ ามท่ตี อ้ งการเสรจ็ แลว้ ทาการทดสอบระบบของเวบ็ ไซตจ์ าหนา่ ยเสอื้ ผา้

ร้านตุ๊กก้ีแฟชน่ั เพอ่ื หาข้อผดิ พลาด และเพ่อื ตรวจสอบความถกู ต้องของเวบ็ ไซต์ จนกว่าจะพบว่าถกู ตอ้ งและตรงตามความต้องการแล้ว
หากมขี อ้ ผิดพลาดจะตอ้ งทาการแก้ไขจนกวา่ จะไดเ้ วบ็ ไซต์ทส่ี มบรู ณท์ ีส่ ุด

1.6 การติดตงั้ (Implementation)
ทาการติดตั้งระบบของเว็บไซต์หลังจากที่ทาการพัฒนาและทดสอบระบบจนได้ระบบเว็บไซต์จาหน่ายเส้ือผ้ารา้ น

ต๊กุ ก้แี ฟชน่ั ทส่ี มบรู ณแ์ ล้ว และในส่วนน้นี อกจากเป็นการตดิ ตั้งระบบแล้ว ยังเปน็ ส่วนทีเ่ ร่มิ ใชร้ ะบบจริงด้วย
1.7 การซ่อมบารุงระบบ (System Maintenance)
เป็นขั้นตอนหลังจากมีการติดต้ังระบบและเร่ิมใช้งานระบบเวบ็ ไซต์จาหนา่ ยเสื้อผ้าร้านตุ๊กกแี้ ฟช่ันแล้ว ซ่ึงผู้ใช้งาน

ระบบอาจเกิดปัญหา เช่น การไม่คุ้นชินกับระบบใหม่ ทาให้ต้องมีการกาหนดแผนท่ีมีความต่อเน่ือง การติดตามการประเมิน และการ
เก็บรวบรวมขอ้ มูลเพอ่ื ปรับปรงุ เว็บไซตจ์ าหน่ายเสือ้ ผา้ รา้ นตกุ๊ ก้ีแฟชน่ั

2. ประเมินความพึงพอใจ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานท่ีมีต่อเว็บไซต์จาหน่ายเสื้อผ้า กรณีศึกษารา้ นตุก๊ ก้แี ฟช่ัน
จากกลุ่มตัวอย่างเปน็ ผู้ท่เี ข้าใชง้ านเวบ็ ไซต์ จานวน 62 คน ซึง่ ประกอบด้วย แบบประเมิน จานวน 3 ส่วน

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจ
ส่วนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อเว็บไซตจ์ าหนา่ ยเส้ือผา้ กรณศี กึ ษารา้ นตกุ๊ กแ้ี ฟช่ัน
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม
โดยมีการนาคา่ สถติ เิ ข้ามาใชเ้ ปน็ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน คา่ เฉลีย่ ซึ่งมีเกณฑก์ ารแปลความหมายของคา่ เฉลยี่ (บญุ ศรี พรหม
มาพันธ,ุ์ 2561) ดังน้ี

ค่าเฉลีย่ ระหวา่ ง 4.50-5.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากท่สี ดุ
คา่ เฉลี่ยระหว่าง 3.50-4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก
ค่าเฉล่ียระหวา่ ง 2.50-3.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง
ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 1.50-2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจน้อย
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00-1.49 หมายถงึ ไมพ่ งึ พอใจหรอื ควรปรับปรุง

ผลการวจิ ัย

จากการวิจัยเรอ่ื ง การออกแบบและพัฒนาเวบ็ ไซต์จาหนา่ ยเสือ้ ผา้ กรณีศึกษารา้ นตุก๊ กแี้ ฟชน่ั ไดผ้ ลการศกึ ษาแบง่ ออกเป็น 3
ส่วน ดังนี้

1. ผลการออกแบบและพัฒนาเวบ็ ไซต์จาหน่ายเสอื้ ผ้า กรณศี ึกษารา้ นตุ๊กกแ้ี ฟชัน่ ประกอบไปด้วย 2 สว่ น ไดแ้ ก่

116

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ ร์ท่ี 19 สงิ หาคม 2565
1.1 ส่วนของผู้ใช้งาน ผู้ใช้งานสามารถดูรายละเอียดต่างๆ ของเสื้อผ้าท่ีทางร้านจัดจาหน่าย สามารถส่ังซื้อ ชาระเงิน
แจ้งหลักฐานการชาระเงิน และตรวจสอบหมายเลขพัสดผุ า่ นทางเว็บไซตห์ รอื อีเมลของผ้ใู ช้งาน รวมทงั้ สามารถดูขอ้ มูลการติดตอ่ ร้านได้
โดยได้ยกภาพเว็บไซต์ในส่วนของผ้ใู ชง้ านทัว่ ไปบางส่วนมาเป็นตัวอยา่ ง ดังภาพทเี่ ห็นดา้ นล่าง

ภาพท่ี 1 หน้าแรกของผใู้ ช้งานทวั่ ไป
จากภาพท่ี 1 หน้าแรกของผใู้ ชง้ านทั่วไป สามารถกดเขา้ ดรู ายละเอยี ดตา่ งๆ ของเส้อื ผา้ ทีท่ างร้านจดั จาหนา่ ย และสามารถ

กดเพ่อื เขา้ ไปในหนา้ สัง่ ซอื้ เส้อื ผ้าได้

ภาพที่ 2 หน้าการส่ังซอ้ื เสื้อผา้ ของผ้ใู ชง้ านทว่ั ไป
จากภาพท่ี 2 หนา้ การสั่งซ้ือเสือ้ ผ้าของผใู้ ชง้ านทวั่ ไป ผู้ใช้สามารถเลือกเสือ้ ผา้ ทต่ี อ้ งการ แล้วทาการส่ังซือ้ เส้ือผ้า และเลอื ก

รปู แบบการจัดสง่ หรือขนสง่ ทต่ี ้องการใช้บริการได้

117

การประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ่ี 19 สงิ หาคม 2565

ภาพที่ 3 หน้าแจง้ ชาระเงินของผูใ้ ช้งานทัว่ ไป
จากภาพท่ี 3 หน้าแจ้งชาระเงินของผู้ใช้งานท่ัวไป เมื่อมีการส่ังซื้อและชาระเงินเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว สามารถแจ้งหลักฐาน

การชาระเงินไดผ้ ่านทางเวบ็ ไซต์
1.2 ผู้ดูแลระบบ สามารถจัดการข้อมูลสินค้า จัดการข้อมูลการส่ังซ้ือและชาระเงิน รวมไปถึงการอนุมัติ แก้ไข และยกเลิก

รายการส่ังซ้ือที่มีการส่ังซ้ือเข้ามาผ่านเว็บไซต์ โดยได้ยกภาพเว็บไซต์ในส่วนของผู้ดูแลระบบบางส่วนมาเป็นตัวอย่าง ดังภาพที่เห็น
ด้านล่าง

ภาพท่ี 4 หนา้ จัดการข้อมลู สนิ คา้ ของผดู้ ูแลระบบ
จากภาพที่ 4 หนา้ จัดการข้อมูลสนิ ค้าของผูด้ แู ลระบบ ผู้ดแู ลระบบสามารถเพ่ิม ลบ และแกไ้ ข เสอื้ ผา้ ทตี่ อ้ งการนามาลงจดั

จาหน่ายไวใ้ นเว็บไซตข์ องรา้ นได้

118

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สงิ หาคม 2565

ภาพที่ 5 หนา้ จดั การขอ้ มูลคาส่งั ซ้ือของผูด้ แู ลระบบ
จากภาพท่ี 5 หน้าจัดการข้อมูลคาส่งั ซอ้ื ของผดู้ แู ลระบบ สามารถตรวจสอบคาสง่ั ซอ้ื เม่อื มีคาสงั่ ซอ้ื ผ่านทางเว็บไซต์เข้ามา

และสามารถปอ้ นหมายเลขพสั ดเุ พอื่ สง่ ขอ้ มูลหมายเลขพสั ดไุ ปให้ลกุ คา้ ผา่ นทางอีเมลท่ีลูกค้าได้ใหข้ ้อมลู ไว้

ภาพท่ี 6 หน้าจัดการหน้าแรกของผูด้ ูแลระบบ
จากภาพที่ 6 หนา้ จดั การหนา้ แรกของผดู้ แู ลระบบ เปน็ หนา้ ทผ่ี ดู้ ูแลระบบสามารถออกแบบ และแก้ไขสว่ นตา่ งๆ ของหน้า

แรกได้ และสามารถกดเลอื กแกไ้ ขหนา้ ตา่ งๆ ตามหนา้ เมนทู ต่ี อ้ งการแก้ไขได้
2. ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

119

การประชุมวชิ าการระดับชาติ คร้งั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 สิงหาคม 2565

ตารางท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ

ขอ้ มลู ท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน รอ้ ยละ
1. เพศ
15 24.2
1.1 ชาย 47 75.8
1.2 หญงิ
2. อาชีพ 1 1.6
2.1 ขา้ ราชการ/พนักงานรฐั วิสาหกิจ 8 12.9
2.2 พนักงานบรษิ ทั เอกชน 12 19.4
2.3 รับจา้ งทวั่ ไป 14 22.6
2.4 ธุรกิจสว่ นตวั 27 43.5
2.5 นักเรยี น/นกั ศกึ ษา
3. วฒุ กิ ารศึกษา 30 48.4
3.1 ต่ากวา่ ปริญญาตรี 32 51.6
3.2 ปรญิ ญาตรี
4. อายุ 1 1.6
4.1 ตา่ กวา่ 20 ปี 61 98.4
4.2 21-40 ปี

จากตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามจานวน 62 คน
สว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญิงคิดเป็นรอ้ ยละ 75.8 มอี าชพี เปน็ นกั ศึกษาคิดเปน็ รอ้ ยละ 43.5 มีวฒุ กิ ารศึกษาปรญิ ญาตรีคิดเป็นร้อยละ 51.6
และมอี ายุ 20-40 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 98.4

3. ผลการสารวจความพึงพอใจ
ตารางท่ี 2 ตารางแสดงความพงึ พอใจตอ่ เว็บไซตจ์ าหน่ายเสอื้ ผา้ กรณศี กึ ษารา้ นตกุ๊ กแี้ ฟชัน่

รายการประเมนิ ความพึงพอใจ คา่ เฉล่ยี คา่ เบ่ยี งเบน ผลการ
มาตรฐาน ประเมิน
1. ดา้ นเนือ้ หา 4.52
1.1 ความถกู ต้อง ชัดเจน นา่ เช่อื ถือ และข้อมูลที่มีการปรบั ปรุงอยู่เสมอ 0.69 มากทส่ี ดุ
1.2 มกี ารจดั หมวดหม่ใู หง้ า่ ยตอ่ การคน้ หาและทาความเข้าใจ 4.52
1.3 ปริมาณสนิ ค้ามีเพยี งพอต่อความตอ้ งการ 4.45 0.62 มากทส่ี ุด
1.4 ขอ้ ความในเว็บไซตถ์ กู ตอ้ งตามหลักภาษา และไวยกรณ์ 4.55 0.59 มาก
1.5 เนือ้ หากบั ภาพมคี วามสอดคล้องกนั 4.40 0.64
2. ดา้ นการออกแบบและการจัดการรปู แบบเวบ็ ไซต์ 0.71 มากท่ีสุด
2.1 การจดั รูปแบบในเวบ็ ไซตง์ ่ายต่อการอา่ นและการใช้งาน 4.45 มาก
2.2 หนา้ แรกมีความสวยงาม ทนั สมยั และเข้าใจงา่ ย 0.61
2.3 สีพ้นื หลังและสีตวั อกั ษรมคี วามเหมาะสมตอ่ การอา่ น 4.45 มาก
2.4 ขนาดตัวอกั ษรและรูปแบบตัวอกั ษร มคี วามสวยงาม และอ่านง่าย 4.52 0.66
2.5 มคี วามเร็วในการแสดงภาพ ตวั อักษร และข้อมูลตา่ งๆ 4.50 0.64 มาก
4.37 0.64 มากท่ีสดุ
0.72 มากท่สี ุด

มาก

120

การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 5
Business Administration National Innovation Conference : BANIC 2022

วนั ศุกรท์ ่ี 19 สิงหาคม 2565

รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ คา่ เฉลยี่ ค่าเบ่ยี งเบน ผลการ
มาตรฐาน ประเมิน
2.6 ความถูกต้องในการเชอ่ื มโยงภายในเวบ็ ไซต์ 4.45
3. ดา้ นประโยชนแ์ ละการนาไปใช้ 0.69 มาก
3.1 เนื้อหามีประโยชนต์ อ่ ผู้ใช้งาน และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ 4.40
3.2 มีความสะดวกในการสงั่ ซอื้ สนิ คา้ 0.68 มาก
3.3 มสี ินคา้ ทต่ี รงกบั ความตอ้ งการ 4.48
3.4 มีชอ่ งทางการตดิ ตอ่ ร้านท่สี ะดวก 4.42 0.64 มาก
4.44 0.75 มาก
คะแนนเฉลย่ี รวมทง้ั หมด 4.46 0.66 มาก
0.66 มาก

จากตารางท่ี 2 ผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอยา่ ง 62 คน พบว่า ผลการประเมนิ ความพึงพอใจสูงสุด 5 อันดับ
ได้แก่ 1) ข้อความในเวบ็ ไซต์ถูกต้องตามหลักภาษา และไวยกรณ์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55 อยู่ในระดับมากท่ีสุด 2) ความถูกต้อง ชัดเจน
น่าเช่ือถือ และข้อมูลท่ีมีการปรับปรุงอยู่เสมอ 3) มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการค้นหาและทาความเข้าใจ และ 4) สีพ้ืนหลังและสี
ตัวอักษรมีความเหมาะสมต่อการอ่าน มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.52 เท่ากัน อยู่ในระดับมากท่ีสุด และ5) ขนาดตัวอักษรและรูปแบบตัวอักษร
มีความสวยงาม และอ่านง่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 อยู่ในระดับมาก และมีผลการประเมินความพึงพอใจในด้านอื่นๆ รองลงมา
ตามลาดับ ดังน้ี 6) มีความสะดวกในการส่ังซื้อสินค้า มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.48 อยู่ในระดับมาก 7) ปริมาณสินค้ามีเพียงพอต่อความ
ต้องการ 8) การจัดรูปแบบในเวบ็ ไซตง์ า่ ยต่อการอา่ นและการใชง้ าน 9) หนา้ แรกมคี วามสวยงาม ทนั สมัย และเขา้ ใจง่าย และ 10) ความ
ถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45 เท่ากัน อยู่ในระดับมาก 11) มีช่องทางการติดต่อร้านที่สะดวก มีค่าเฉลยี่
เท่ากับ 4.44 อยู่ในระดับมาก 12) มีสินค้าที่ตรงกับความต้องการ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.42 อยู่ในระดับมาก 13) เน้ือหากับภาพมีความ
สอดคล้องกัน และ 14) เน้ือหามีประโยชนต์ ่อผู้ใช้งาน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40 เท่ากัน อยู่ในระดบั มาก
15) มีความเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่างๆ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 อยู่ในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวมทั้งหมด
เทา่ กับ 4.46 ภาพรวมอยใู่ นระดบั ความพึงพอใจมาก

สรปุ

ผลการวิจัยเรื่อง การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์จาหน่ายเส้ือผ้ากรณีศึกษาร้านตุ๊กก้ีแฟช่ัน ผู้วิจัยได้ออกแบบและพัฒนา
ระบบตามวงจรการพฒั นาระบบ SDLC ทาใหร้ ะบบสามารถทางานไดต้ ามกระบวนการทวี่ างไว้ ซึง่ แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน ไดแ้ ก่ 1) ผู้ดแู ล
ระบบ สามารถจัดการข้อมูลสินค้า จัดการข้อมูลการส่ังซื้อและข้อมูลการชาระเงิน 2) ผู้ใช้งาน สามารถเลือกดูสินค้า ส่ังซื้อ ชาระเงิน
และตรวจสอบหมายเลขพัสดุ และผลการประเมินความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 ส่วนผล
การประเมนิ ความพงึ พอใจสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ด้าน 1) ด้านเน้ือหา อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.49 2) ด้าน
การออกแบบและการจดั รปู แบบเว็บไซต์ อยูใ่ นระดบั มาก ค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.48 และ3) ดา้ นประโยชน์และการนาไปใช้ อย่ใู นระดบั มาก
ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.44 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วพบว่าความพึงพอใจที่มีระดับสูงสุด 10 อับดับแรกประกอบด้วย 1) ข้อความใน
เวบ็ ไซต์ถูกต้องตามหลักภาษา และไวยกรณ์ อย่ใู นระดบั ความพึงพอใจมาก คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.55 อย่ใู นระดบั มากท่สี ุด 2) ความถกู ต้อง
ชัดเจน น่าเชื่อถือ และข้อมูลท่ีมีการปรับปรุงอยู่เสมอ 3) มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการค้นหาและทาความเข้าใจ และ 4) สีพื้นหลัง
และสตี วั อกั ษรมีความเหมาะสมต่อการอา่ น มคี า่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.52 เท่ากนั อยใู่ นระดับมากท่สี ุด 5) ขนาดตวั อักษรและรปู แบบตวั อกั ษร
มีความสวยงาม และอ่านงา่ น มคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 4.50 อยู่ในระดับมาก 6) มีความสะดวกในการสง่ั ซ้อื สนิ ค้า มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.48 อยูใ่ น
ระดับมาก 7) ปริมาณสินค้ามเี พียงพอต่อความต้องการ 8) การจัดรูปแบบในเวบ็ ไซตง์ า่ ยต่อการอ่านและการใช้งาน 9) หน้าแรกมคี วาม
สวยงาม ทันสมยั และเขา้ ใจงา่ ย และ 10) ความถกู ต้องในการเชอื่ มโยงภายในเว็บไซต์ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 4.45 เท่ากนั อยูใ่ นระดบั มาก

121


Click to View FlipBook Version