The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book หนี้ชาวนาเดิมพันการสูญเสียที่ดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by มูลนิธิชีวิตไท, 2021-10-07 02:38:42

E-Book หนี้ชาวนาเดิมพันการสูญเสียที่ดิน

E-Book หนี้ชาวนาเดิมพันการสูญเสียที่ดิน

Keywords: หนี้ชาวนา,ที่ดิน,มูลนิธิชีวิตไท

“ตองไปขึ้นศาลอุทธรณท ี่กรุงเทพ ไปทกี ห็ ลายบาท แลวก็ตองหยดุ งาน
นวด ขาดรายไดไปอกี 1 วนั รายไดจากการนวดเดือนละ 10,000 กวาบาท ไดมา
กต็ อ งจา ยไป ชว งทตี่ อ งหยดุ บอ ยๆ รายไดก จ็ ะเหลอื แคเ ดอื นละ 8,000 บาท บางที
เราหมุนเงินมาใชจายไมทัน ก็ตองไปกูเงินเจาหนี้นอกระบบมา ดอกเบี้ยรอยละ
10 ตอเดือน ตอนนี้ปาเปนกําลังหลักของครอบครัว นองสาวเองบางเดือนเขาก็
ยังชักหนา ไมถ งึ หลงั สว นลูกชายกร็ บั จางรายวนั ”

ขณะนคี้ ดขี องปา ลมยั อยูระหวางการรอคาํ ตัดสนิ ของศาลฎีกา ซงึ่ จะใช
เวลาตอเนือ่ งไปอกี 2-3 ป ถงึ แมจ ะชวยตอ ลมหายใจของครอบครัวปาลมัย ไมให
ถูกขับไลออกจากที่ดินของตัวเองภายใน 2-3 ปนี้ได แตคําตอบสุดทายจากคํา
ตดั สนิ ของศาลฎกี า อาจจะไมไดเปน ไปตามทคี่ รอบครัวของปา ลมัยคาดหวัง

“หนช้ี าวนา เดิมพันการสญู เสียที่ดิน” 49

หนีเ้ กษตรกร เดิมพันการสญู เสยี ท่ีดนิ

การถูกยึดท่ีดินขายทอดตลาดของปาลมัย ทั้งท่ีมีการประสานงาน
ขอความชว ยเหลอื จากกองทนุ ฟน ฟแู ละพฒั นาเกษตรกร ในการซอื้ หนจ้ี าก ธ.ก.ส.
มาไวท่ีกองทุนฟนฟูฯ และมีการประสานงานกับ ธ.ก.ส.สํานักงานใหญ เพื่อให
เจรจาขอซื้อท่ีดินคืนจากผูที่ซ้ือท่ีดินไป แตทั้งหมดน้ีกลับประสบความลมเหลว
ทาํ ใหครอบครวั ของปา ลมยั อาจตอ งสูญเสยี ท่ดี ินไปในท่สี ุด

เง่ือนไขสําคัญประการหน่ึง อาจเปนเพราะท่ีดินของปาลมัยเปน
ที่ตองการของนายหนาคาที่ดิน และคนที่กวานซื้อที่ดินในระดับจังหวัด
การกวานซื้อและการสะสมที่ดินที่เกิดขึ้นจึงเปนแรงกดดันสําคัญ ท่ีทําให
เกษตรกรที่มีภาระหน้ีสนิ สูญเสยี ท่ดี นิ ไดง า ยขึ้นในสถานการณปจ จุบนั

การท่ีภาครัฐปลอยใหเกษตรกรเขาสูระบบสินเชื่อเพ่ือนําเงินมาลงทุน
การผลติ โดยมีทด่ี นิ เปน เดิมพัน ทา มกลางสภาวะราคาผลผลติ ท่ไี มแนนอน และ
กลไกตลาดที่ยังไมเปนธรรม ทําใหเกษตรกรจํานวนมากประสบปญหาขาดทุน
มภี าระหน้สี นิ และสูญเสียท่ดี นิ ไมตางจากครอบครัวของปาลมัย

ถา หนว ยงานภาครัฐและสถาบนั การเงิน ยงั ไมกําหนดนโยบายทชี่ ดั เจน
เพ่ือชวยเหลือเกษตรกรใหสามารถรักษาที่ทํากินไวได อนาคตของเกษตรกรไทย
คงไมพ นตองสญู เสียท่ที ํากินใหก บั สถาบันการเงนิ อกี จาํ นวนมหาศาล

“หนช้ี าวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 51

โชคชะตากลน่ั แกลง หรือ
เพราะที่ดินถกู หมายปอง:

จุไรรัตน แกว ไกรสร

สุมาลี พะสิม

“หน้ชี าวนา เดมิ พันการสญู เสียทดี่ นิ ”

“ตอนนที้ ด่ี ินของตัวเองสักตารางนว้ิ เดียวยังไมม ี ถูกยึดหมด บานยงั ตอ ง
มาอาศยั เขาอยู รายไดท ม่ี ี กม็ าจากเงนิ สวสั ดกิ ารคนแก แคค นละ 700 บาท เทา นนั้ ”

จุไรรตั น แกว ไกรสร ชาวนาจังหวดั ฉะเชิงเทรา วัย 76 ป ผทู ค่ี รง้ั หน่งึ ในอดีต
เคยมีที่ดินถึง 252 ไร แตตองสูญเสียท่ีดินจากการขายทอดตลาดดวยราคาเพียง
11.4 ลานบาท ทั้งท่ีพยายามจะรักษาท่ีดินไวอยางเต็มท่ี ดวยการหยิบยืมเงินคนรูจัก
ถึง 8 ลานบาท เพ่ือไปชะลอการขายทอดตลาด แตธนาคารเจาของเงินกูกลับไมยอม
เพราะทดี่ นิ แปลงสวยของปา มคี นหมายปองไวแ ลว ทดี่ นิ แปลงใหญท ร่ี นุ พอ แมส ะสมมา
จงึ หลดุ มอื ไปในรุน ของปาอยางนาเสียดาย

ทด่ี นิ รุนพอแมส ะสมมา

ทีด่ ิน 252 ไร ของปาจุไรรัตน เปน มรดกทไ่ี ดรบั มาตั้งแตรุนพอแม ซง่ึ แตเ ดิม
อยูจังหวัดปราจีนบุรี กอนจะยายภูมิลําเนามาอยูอําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ครอบครัวปา จไุ รรตั น มีที่ดนิ 3 แปลง แปลงแรกเนือ้ ที่ 3 ไร แปลงทส่ี องเนื้อท่ี 189 ไร
และแปลงทส่ี ามเนอื้ ท่ี 60 ไร

“ตั้งแตปายังไมเกิด พอเลาใหฟงวา แตกอนคนไมคอยไปเสียภาษีที่ดิน
เพราะสถานที่ราชการอยูไกล เดินทางลําบาก ตอ งขม่ี าเปนวันๆ พอไมไ ปเสียภาษี

“หนช้ี าวนา เดมิ พนั การสูญเสียที่ดิน” 53

หลายปติดๆ กัน ก็มีการขายบาง ยายไปหาท่ีทํากินที่อื่นบาง ตอนน้ันพออยูท่ี
พนมสารคาม และไดบอกกับเจาพนักงานท่ีดินท่ีแปดร้ิว กับที่ปราจีนบุรีไววา
ถา มกี ารขายทด่ี นิ ทีไ่ หนใหบอกดวย หลังจากน้ันพอ กซ็ ื้อทดี่ นิ เกบ็ สะสมไวเ รือ่ ยๆ”

คร้ันมที ่ดี ินมากขนาดนก้ี ใ็ ชว าจะทํากนิ เองไดห มด ครอบครัวของปาจุไรรตั น
จึงทาํ นาเอง 100 ไร และแบง ใหค นอน่ื เชา อีก 152 ไร เปนอยางนี้จนกระท่งั ปา จไุ รรตั น
เติบโตและมีครอบครัว

ชว งท่พี อของปาจไุ รรตั นล งทนุ ทาํ นา ในปท่ีไมถกู นํ้าทว มก็โชคดไี ป แตบ างป
ที่มีนํ้าทวมนานก็แยหนอย ทําใหปาจุไรรัตนมองวาอนาคตนาจะขยับขยายไปทําโรงสี
ขาวเปน ธรุ กจิ เสริมใหก บั ครอบครัว

จากชาวนา..หนั มาทําธุรกิจโรงสี

ชว งป พ.ศ. 2530 ปาจไุ รรัตนตดั สนิ ใจทาํ โรงสีขา วในท่ีดินแปลง 3 ไร ซึง่ ตง้ั
อยทู ตี่ ลาดหวั ไทร โดยนําท่ีดนิ แปลง 189 ไร และแปลง 3 ไร ไปจาํ นองเพอ่ื คํ้าประกัน
เงินกจู ํานวน 1 ลานบาทจากธนาคารเอกชนแหง หนง่ึ อัตราดอกเบ้ยี รอยละ 15 บาท
ตอ ป

“ครอบครัวเรามีที่ดินมากก็จริง แตเราไมมีเงินลงทุนทําโรงสีขาว ก็ตอง
ไปกูเงนิ จากธนาคาร ตอนนั้นราคาทีด่ นิ ถกู มาก ราวไรล ะ 8,000 – 9,000 บาท ถึงตอง
ใชท ี่ดนิ คอ นขางมากในการค้าํ ประกันเงนิ กู”

ถึงแมจะหันหนามาทําธุรกิจโรงสีขาวแลว แตปาจุไรรัตนก็ยังทํานาและให
คนเชาท่ีนาเหมือนเคย เพียงแตมีธุรกจิ โรงสีขา วเขามาเพิม่ ดวยเงนิ ลงทนุ เพยี ง 1 ลาน
บาท ลําพังสรางอาคาร เครื่องจักร คาจางคนงาน ก็แทบจะไมเหลือ การทําลานปูน
ดา นหนาของโรงสี ปาจไุ รรตั นจึงตองยมื ที่ดินของพ่สี าวไปจาํ นองเพ่ิม

“หน้ีชาวนา เดิมพนั การสญู เสยี ที่ดนิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 55

ปา จไุ รรตั นบ อกวา ทาํ โรงสี ตอ งมเี งนิ ทนุ หมนุ เวยี นไวส ว นหนงึ่ เพราะแตก อ น
โรงสีตองจายเงินสดใหกับชาวนาท่ีเอาขาวมาขาย ภายใน 7 วัน ไมวาโรงสีเล็กหรือ
โรงสใี หญ ตอ งจา ยเงินสดเพอ่ื รกั ษาเครดิตของตวั เองท้ังน้ัน

ราวป พ.ศ. 2532 เกดิ นาํ้ ทวมใหญ โรงสขี องปาจไุ รรัตนเ ก็บขาวเปลือกไวใน
โกดังกวา 1000 ตนั น้ําทว มสงู ราว 1 ศอก ทว มอยนู านถึง 2 อาทิตย จึงลดลง

“เราตองยอมขายขาวสวนท่ีแชนํ้าออกไป ก็ขาดทุนไปเยอะ หลังจากนั้น
พอป พ.ศ. 2533 เกิดนํ้าทวมอีกคร้ัง ทาํ ใหเราหมดทุนเลย เพราะกอ นหนาน้ี ก็นําเงนิ
ที่มีอยูไปซื้อขาวเปลือกมาเก็บไว กะวาถาขายขาวในล็อตที่เก็บไวได ก็จะหลุดจากหนี้
ธนาคาร”

“เราพยายามทาํ ทกุ อยา งเพอื่ แขง กบั นาํ้ ตอนนาํ้ มาเรากส็ ขี า วจนนาทสี ดุ ทา ย
จนเครื่องจกั รทาํ งานไมได สีขาวได 400 กวา กระสอบ สง ไปเก็บไวโ กดงั ท่ีกรงุ เทพ แต
กรงุ เทพฯ กน็ ํา้ ทว มอีก เลยไมร ูจะเอาไปไวทไี่ หน ถอื วา ลม ลุกคลกุ คลานมาก ท้งั ทาํ นา
เอง ทําโรงสขี าว และใหเ ชานา ก็ยังมเี งนิ ไมพอท่จี ะเอามาหมนุ ทําโรงส”ี

ต้งั แตป พ.ศ.2530 – พ.ศ.2535 รวมระยะเวลา 5 ป ทป่ี า จุไรรัตนท าํ โรงสี
ทยอยสง ดอกเบยี้ ใหธ นาคารเดอื นละ 30,000-40,000 บาท แตย อดหนกี้ ลบั ไมไ ดล ดลง
เลย ธรุ กจิ โรงสขี าดทุน ทําใหยอดหน้เี พม่ิ ขึน้ จากหน่ึงลา นบาท เปนสี่ลานบาท

“พอเขามาทําโรงสี ทําใหเรารูวาความเสี่ยงท่ีตองเจอ คือราคาขาวที่ไม
แนน อนผนั ผวนตลอด ทส่ี าํ คญั คอื คณุ ภาพของขา วเปลอื กทรี่ บั ซอ้ื จากชาวนา ชาวนา
บานเราปลูกขาวมักเนนปริมาณขาวท่ีได มากกวาคุณภาพของขาว เรารับซื้อขาว
ราคาตง้ั แต 2,000 – 4,000 บาท เราเองอยากไดข าวที่มีคณุ ภาพ เพราะรานขาย
ขาวสารจะระบุสเปคขาวมา เชน ขา ว 5 เปอรเ ซน็ ต ตองเปนขา วท่มี เี มล็ดยาว แต
ขาวท่ีรับซ้ือมาจากชาวนา พอสีเปนขาวสารแลว ไมไดมาตรฐานตามท่ีรานขาย
ขาวสารเขาตอ งการ ทําใหเราขาดทุนจากการซอื้ ขา วและขายขาวน่ลี ะ”

“หนช้ี าวนา เดมิ พันการสูญเสียท่ดี นิ ”

ด้ินรนอกี ครั้ง..ดว ยการทําบอกุง

เมอ่ื เหน็ วา ธรุ กจิ โรงสี มวี แ่ี วววา จะไปไมร อดหลงั ทมุ เทมาหลายป ปา จไุ รรตั น
จึงมองหาลูทางอืน่ เพ่ือทจ่ี ะปลดหน้ีธนาคาร ท่ีนับวนั ดอกเบ้ียจะยิง่ เติบโต

ในขณะนน้ั นอกจากจะขาดทนุ จากการรบั ซอ้ื และขายขา วจากธรุ กจิ โรงสแี ลว
แรงงานรบั จา งในโรงสกี ห็ ายากมากขน้ึ คนงานหนั ไปรบั จา งหวา นปนู ในบอ กงุ กนั มากกวา
เพราะขณะน้ันธุรกจิ บอกุงกําลงั เร่มิ บมู ในฉะเชงิ เทรา

ชวงป พ.ศ. 2535 ปาจุไรรัตนไดรับการทาบทามจากเพ่ือน ชวนกันลงทุน
ทําบอกุงเพราะปาจุไรรัตนมีที่ดินมาก โดยเพ่ือนผูรวมทุนจะออกทุนใหต้ังแตคาลูกกุง
อาหารกุง คา ใชจ า ยอื่นๆ โดยใหป าจไุ รรัตนออกเฉพาะทด่ี นิ และเตรียมบอ กงุ ใหพ รอม

ป พ.ศ. 2536 ปา จไุ รรตั นจ งึ ตดั สนิ ใจกเู งนิ จากธนาคารเอกชนแหง เดมิ เพมิ่ อกี
1 ลา นบาท โดยนาํ ท่ดี นิ แปลง 60 ไร เขา จํานองกับธนาคาร และหันมาทาํ ธรุ กิจบอ กงุ
เพยี งอยา งเดยี ว โดยเลกิ ทาํ ธรุ กจิ โรงสี เลกิ ทาํ นา และเลกิ ใหเ ชา ทน่ี าทงั้ หมด ในชว งแรก
ปา จไุ รรัตนขดุ บอกงุ ทัง้ หมด 27 บอ ในพืน้ ท่ี 189 ไร

“พอเรม่ิ ลงมอื ขดุ บอ ซอื้ อปุ กรณเ ลย้ี งกงุ เสรจ็ ในชว งป พ.ศ. 2537 นาํ้ กท็ ว ม
ใหญอ ีกกวา 1 เดือน พอนํา้ ลดก็เดนิ หนา ทําบอกงุ ตอ ก็พอมรี ายไดบ า ง แตห ลงั จากนนั้
คนทม่ี าชวนปา ทาํ บอ กงุ กข็ อแยกตวั ออกไปทาํ บอ กงุ ทส่ี พุ รรณบรุ แี ทน เพราะมคี นรว ม
ทุนเยอะกวา เราก็เลยตองลยุ ตอ คนเดยี ว”

การลงทนุ ครงั้ นถ้ี อื วา เปน การลงทนุ ครงั้ ใหญข องปา จไุ รรตั น ซง่ึ ตอ งเปลย่ี นแปลง
สภาพพนื้ ทน่ี าทง้ั หมด คดิ โดยเฉลย่ี ตน ทนุ การทาํ บอ กงุ ทงั้ หมด ประมาณ 120,000 บาท
ตอ 1 บอ (คา เตรยี มบอ คา อาหาร คา นาํ้ มนั คา ลกู กงุ คา จา งคนงาน) ใชร ะยะเวลาดแู ล
3 เดือนครึง่ จึงจะขายได ซ่ึงหากกุง สมบรู ณด จี ะไดบอ ละ 2 – 3 ตนั เฉลย่ี กิโลกรัมละ
200 บาท เปนเงนิ ประมาณ 400,000 - 600,000 บาท

“หน้ีชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ีดิน” 57

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

äÁ‹à¢ŒÒã¨Ç‹Ò·íÒäÁ¸¹Ò¤Òö֧äÁ‹ÂÍÁ
ãË»Œ ‡ÒªíÒÃÐ˹éÕ à¾×èÍÃÑ¡ÉÒ·´èÕ Ô¹äÇŒ

ถึงแมมองตัวเลขแลวจะไดมากก็จริง แตปาจุไรรัตนบอกวาตองกันเงินไว
สาํ หรับลงทนุ เลี้ยงกุงอกี ทั้งคาอาหารกุง คา ยากงุ เงินท่ขี ายกุงไดจึงไมพอสาํ หรับจาย
เงินตนคืนใหกับธนาคาร ปาจุไรรัตนจึงทยอยจายดอกเบ้ียตอไป เดือนละประมาณ
30,000 – 40,000 บาท

ราว ป พ.ศ. 2540 เกิดโรคหัวเหลืองระบาดในกุง ซึ่งบอกุงของปาจุไรรัตน
ก็หนีไมพนปญหานี้เชนกัน หลังจากลมลุกคลุกคลานจนไมสามารถหาเงินไปชําระหนี้
ทเี่ พิม่ ข้นึ เรอื่ ยๆ ในท่สี ดุ ป พ.ศ. 2541 ธนาคารกย็ น่ื เร่ืองฟอ งปาจุไรรัตน ใหชาํ ระคนื
ท้ังเงินตน ดอกเบี้ยและคา ปรับ รวมเปน เงนิ 10.4 ลา นบาท

“ตอนน้ันเจาหนาท่ีของศาล และเจาหนาท่ีธนาคาร นําหมายศาลมาสงให
ทบ่ี า น เขาจะปดหมายศาลที่บานเรา เราก็เซน็ รับหมายศาลไว”

ป พ.ศ. 2543 ปา จุไรรัตนพ ยายามดน้ิ รนเพ่อื ท่ีจะรักษาท่ดี ินของตัวเองไว
ใหได โดยหยิบยืมเงินคนรูจัก มาขอชําระหน้ีกับธนาคารกอนจํานวน 8 ลานบาท
โดยที่ไมตองการเอาโฉนดออกมาจากธนาคาร จนกวาจะผอนชําระหน้ีสวนท่ีเหลือ
อีก 2 ลา นกวาบาทจนหมด แตผจู ดั การธนาคารกลบั ไมยอม

ปาจุไรรัตนบอกวา “ไมเขาใจวาทําไมธนาคารถึงไมยอมใหปาชําระหนี้ เพื่อ
รกั ษาทดี่ นิ ไว ทงั้ ทเ่ี งนิ ทยี่ น่ื ชาํ ระเกนิ 25 เปอรเ ซน็ ต ของยอดหนแ้ี ลว คงมคี นหมายปอง
ท่ีดนิ ของปา ไวแลว อยางแนนอน”

“หนีช้ าวนา เดมิ พันการสญู เสยี ท่ดี นิ ” 59

ศาลตัดสนิ ใหยึดทดี่ นิ 252 ไร ขายทอดตลาด

หลงั จากปา จไุ รรตั นไ ปขน้ึ ศาล 2 ครงั้ โดยไมม กี ารเจรจาไกลเ กลยี่ ศาลพพิ ากษา
ใหย ดึ ท่ดี นิ ทงั้ 3 แปลงของปา จไุ รรัตน รวมพน้ื ท่ี 252 ไร เพ่อื ขายทอดตลาดและนําเงนิ
ไปชาํ ระหน้ีใหก ับธนาคาร

สํานักงานบังคับคดีจังหวัดฉะเชิงเทราไดดําเนินเรื่องยึดที่ดินของปาจุไรรัตน
และประกาศขายทอดตลาด 3 คร้ัง โดยปาจุไรรัตนไดเขาไปประมูลเพ่ือซื้อที่ดินของ
ตัวเองดวยเชน กนั เสนอราคาเดียวกับทีเ่ ปนหนธี้ นาคารอยู

“ผูจัดการธนาคารบอกวาที่ดินผืนน้ีเปนที่ดินไฮไลท ใครๆ ก็อยากได
แปลงใหญ 252 ไร ราคาเพยี ง 10.4 ลา นบาท ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตร ยังอยากได ใหเราเขาไปพบและขอซ้ือในราคาที่สํานักงานบังคับคดี
ประกาศขาย แตป าไมยอมขาย ถา จะซื้อ ตองซอ้ื ในราคาทปี่ า กําหนดคอื 26 ลา น
บาท”

“เราเองกพ็ ยายามจะหาคนมาซอ้ื ทด่ี นิ เราไวก อ น แตห าไมไ ด ราคาประเมนิ
ท่ีดนิ ตอนนัน้ สงู ถึงไรละ 200,000 บาท เพราะดานหนาตดิ ถนน ดานหลังตดิ นาํ้ ”

ปาจไุ รรัตนบอกวา เคยขอใหท างธนาคาร ซ้ือท่ดี นิ ของตวั เองไวกอน เพือ่ เปด
โอกาสใหต วั เองไดซ อื้ ทด่ี นิ คนื ในภายหลงั แตไ ดร บั การปฏเิ สธจากธนาคาร เพราะธนาคาร
ไมม ีนโยบายชวยเหลอื เกษตรกรในรปู แบบที่ปาจุไรรตั นเ สนอ

เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2545 ในการประกาศขายครงั้ ที่ 3 ทด่ี นิ ของปา จไุ รรตั น
ถกู ขายทอดตลาดทงั้ หมดในราคา 11.4 ลา นบาท

ปาจุไรรัตนตั้งขอสังเกตวา ธนาคารอาจมีการติดตอคนมาซ้ือที่ดินของปา
เพราะทุกครั้งท่ีมกี ารประกาศขาย ธนาคารจะสง ตวั แทนเขา มาดทู กุ คร้งั

“หนี้ชาวนา เดิมพนั การสูญเสียท่ีดนิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 61

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

“ธนาคารไมยอมใหปาชําระหนี้คืน ถึงแมจะมีเงินมาวางถึง 8 ลานบาท
ทาํ ใหป า อดคดิ ไมไ ดว า ธนาคารมผี ลประโยชนจ ากการนาํ ทด่ี นิ ของปา ขายทอดตลาด
หรอื เปลา ซงึ่ ทจี่ รงิ แลว การหาคนมาซอื้ ทรพั ยข องลกู หนท้ี ขี่ ายทอดตลาดนนั้ ธนาคาร
ไมสามารถทําได”

“ที่ดินของปาถูกขายทอดตลาดในราคาเพียง 11.4 ลานบาท ซึ่งตํ่ามาก
ถาเขาขายในราคาที่สงู กวานี้ เชน ขายซกั 14 ลา นบาท ปา กจ็ ะไดเงนิ คนื 2 ลาน
บาท แตน ่ีเขาไมยอมขายสูงกวาน้ี หลังจากนนั้ ปา กไ็ ดยนิ วามคี นนาํ ทดี่ นิ ของปา ไป
ขายตอ อกี ทอดหนงึ่ ซงึ่ ตรงนป้ี า ไมร วู า เขาขายกนั เทา ไร แลว ผจู ดั การธนาคารจะได
รับสว นแบง จากการขายท่ีดินตรงนีห้ รอื เปลา เราก็ไมร”ู

หวังพ่ึงกองทนุ ฟน ฟแู ละพัฒนาเกษตรกร

ปลายป พ.ศ. 2546 ปา จไุ รรตั นไ ดข น้ึ ทะเบยี นหนก้ี บั กองทนุ ฟน ฟแู ละพฒั นา
เกษตรกร หลังจากที่พยายามมาหลายครั้ง แตดวยท่ีผานมาโควตาการซื้อหน้ีของกอง
ทุนฟน ฟฯู เต็ม ปาจุไรรตั นจึงไมสามารถข้นึ ทะเบียนหน้ีได

แตนัน่ กช็ าไปเสยี แลว เพราะเม่อื ปา จไุ รรัตนข ึ้นทะเบยี นขอใหกองทุนฟนฟฯู
รับซ้ือหนี้ได ที่ดินของปาจุไรรัตนไดถูกประกาศขายไปแลว และกลายเปนทรัพยสิน
รอการขาย หรอื NPA ซงึ่ กองทนุ ฟน ฟูฯไมส ามารถรบั ซ้อื ได (ในขณะนนั้ กองทุนฟน ฟฯู
สามารถรบั ซ้อื ไดเ ฉพาะหนเ้ี สีย หรอื NPL เทานัน้ ตอมาในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ จงึ
มีการปรับแกระเบียบใหกองทุนฟนฟูฯ สามารถซ้ือหน้ีประเภททรัพยสินรอการขาย
หรอื NPA ไดด วยเชนกัน)

“หน้ีชาวนา เดมิ พนั การสูญเสยี ที่ดนิ ” 63

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 65

àÃÒ¡áç ¡‹¢¹Ò´¹éÕáÅŒÇ
äÁ¡‹ ÅÇÑ áŌǡѺ¡ÒÃ໚¹¤¹ÅÁŒ ÅÐÅÒÂ

ถกู ฟอ งซํ้าอีกครั้ง..เปนคนลมละลาย

หลงั จากถกู ยดึ ทด่ี นิ ขายทอดตลาดเพอื่ ใชห นธ้ี นาคารไปแลว ปา จไุ รรตั นแ ละ
ครอบครวั ไดย า ยไปเชาบา นของเพื่อน โดยขายอุปกรณก ารทาํ บอกุงทุกอยา ง รวบรวม
ทุนไดร าว 500,000 บาท เพอ่ื ท่ีจะเปน เงินทุนกอ นสุดทาย สาํ หรบั สงลกู สองคนเรียน
มหาวิทยาลยั และเปนทุนสาํ หรับการใชชีวิตท่ีเหลอื ตอไป

หาปถัดมาหลังจากการขายทอดตลาด ใน ป พ.ศ. 2550 ธนาคารเอกชน
แหงเดิมไดติดตอ ปา จุไรรัตนอ กี ครัง้ และยน่ื ฟอ งเพอื่ ใหชาํ ระหนี้ทยี่ ังเหลอื อยู

“ครั้งนั้นเราคิดวามันจบแลว เพราะยอดหนี้รวมท้ังหมด 10.4 ลานบาท
ขายทด่ี ินได 11.4 ลานบาท ราคาทด่ี ินกห็ กั ลางหน้สี นิ ไดท ้ังหมด แตทางธนาคาร
กลับบอกวายังมียอดหนี้เหลืออยู ใหชําระเพิ่มเติม เพราะสวนตางท่ีขายที่ดินได
น้ัน นําไปชําระคาธรรมเนียมใหกับการบังคับคดี ทําใหยอดหนี้บางสวนของปายัง
เหลอื อยู” ผลปรากฏวา มเี งนิ ตน และดอกเบ้ียเหลอื อยรู วมกนั 1 ลานบาท ปาจุไรรัตน
จึงถกู ฟอ งซ้ําอกี ครง้ั

“ปาจะหาเงินที่ไหนมาใหเขา ทําไมธนาคารไมขายใหพอกับยอดหน้ีและ
ดอกเบ้ียในคราวนั้น ทั้งท่ีสามารถทําได หลังจากปาไปขึ้นศาล 2 คร้ัง สุดทายศาล
กพ็ ิพากษาใหปา เปน คนลม ละลาย เพราะไมม เี งินไปชาํ ระหน้ใี หเขา”

“หน้ชี าวนา เดิมพันการสูญเสยี ท่ดี นิ ”

กอ นทศ่ี าลจะตดั สนิ คดคี รงั้ นนั้ ปา จไุ รรตั นเ คยเขา ไปขอคาํ ปรกึ ษาจากกองทนุ
ฟน ฟแู ละพฒั นาเกษตรกร วา ควรจะทาํ อยา งไรดี ซง่ึ ไดร บั คาํ แนะนาํ วา ถา ปา ขน้ึ ทะเบยี น
หนอี้ กี รอบจํานวน 1 ลานบาท ถงึ แมก องทุนฟน ฟูฯ จะชว ยซ้อื หนี้กอนน้ีใหปา ซึ่งปา
ตอ งมาผอ นคนื กับกองทนุ ฟน ฟฯู อีกที แตอยางไรเสียปาก็ไมไ ดทด่ี นิ คืนอยูดี

สุดทายปาจุไรรัตนจึงตัดสินใจยอมใหศาลตัดสินเปนบุคคลลมละลาย ดีกวา
จะตองหาเงินไปใชหนี้ใหธนาคารอีก 1 ลานบาท ซ่ึงสถานะบุคคลลมละลายจะมีอายุ
3 ป

“เราก็แกข นาดนแี้ ลว ไมก ลัวแลวกับการเปน คนลมละลาย”

“หน้ีชาวนา เดมิ พนั การสูญเสยี ท่ดี ิน” 67

หนทางรกั ษาทดี่ นิ ..ของเกษตรกร

การประกาศขายทอดตลาดทด่ี นิ ของเกษตรกร ปา จไุ รรตั นม ขี อเสนอวา ควร
มีกลไกรัฐเขามาทําหนาที่รับซ้ือที่ดินของเกษตรกรไวกอน เพ่ือเปดโอกาสใหเกษตรกร
ไดซื้อที่ดินคืน และไมตองสูญเสียที่ดินจากการขายทอดตลาดของสํานักงานบังคับคดี
อยางท่ีเปนอยปู จจบุ ัน

“หากเปนไปไดอยากใหธนาคารท่ีปลอยสินเช่ือกับเกษตรกร มีนโยบาย
เพ่ิมเตมิ ในการชว ยเหลอื เกษตรกร เพอื่ ใหส ามารถรักษาท่ีดนิ ของตนเองไวไ ด หาก
ตอ ง มกี ารขายทอดตลาดทดี่ นิ ของเกษตรกร ธนาคารควรมนี โยบายรบั ซอื้ ทดี่ นิ ของ
เกษตรกรไวกอน แลวใหกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกรเขามารับซ้ือหน้ี
จากธนาคารอีกทอดหน่ึง วิธีน้ีจะทําใหเกษตรกรไมตองสูญเสียท่ีดินใหกับคนท่ีมา
ประมูลซ้ือ และทําใหท่ีดินของเกษตรกรไมตกไปอยูในมือของนายหนาคาที่ดิน
หรอื นกั เกง็ กําไรทด่ี นิ ทจี่ องจะซือ้ ที่ดินของเกษตรกรอยปู จ จุบัน”

ปจ จบุ นั ปา จไุ รรตั นว ยั 76 ป กบั สามคี ชู วี ติ วยั 77 ป ไมไ ดป ระกอบอาชพี อะไร
แลว ไดย า ยมาอาศยั อยบู า นญาตทิ ฉ่ี ะเชงิ เทรา ชว ยดแู ลบา นใหญ าติ อยกู นั 2 คน ตายาย
มีเงินเลี้ยงชีพจากกองทุนสวัสดิการคนชรา คนละ 700 บาท และเงินเลี้ยงดูจากลูก
ท้งั สองคนท่ีมีอยูเทา นั้น

“หนช้ี าวนา เดมิ พันการสูญเสียที่ดิน”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 69

สวนทสี่ อง
วถิ ชี าวนากับการสูญเสยี ท่ดี นิ

“หนชี้ าวนา เดิมพนั การสูญเสียท่ดี ิน”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 71

หนี้สนิ ชาวนากับการสูญเสียที่ดิน

กรณีศกึ ษาชาวนาอําเภอสามโก
จงั หวัดอางทอง

อารวี รรณ คูสันเทยี ะ

“หน้ชี าวนา เดมิ พันการสญู เสยี ท่ดี ิน”

บทนํา

บทความชน้ิ นเี้ ปน สว นหนง่ึ ของรายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณเ รอ่ื งภาวะหนส้ี นิ กบั
การสญู เสยี ทดี่ นิ ของเกษตรกร กรณศี กึ ษากลมุ เกษตรกรสามคั คกี า วหนา อาํ เภอสามโก
จงั หวดั อา งทอง โดยงานวจิ ยั มเี ปา หมายหลกั เพอ่ื รวบรวมขอ มลู ปญ หาหนสี้ นิ ทเ่ี ชอ่ื มโยง
กบั การสญู เสยี ทดี่ นิ ของเกษตรกร และเผยแพรส ถานการณก ารสญู เสยี ทดี่ นิ ของเกษตรกร
สูสาธารณะ

กลุมเกษตรกรสามัคคีกาวหนา อําเภอสามโก จังหวัดอางทอง เปนองคกร
สมาชกิ ของสภาเครอื ขา ยองคก รเกษตรกรแหง ประเทศไทย (สค.ปท.) ปจ จบุ นั มสี มาชกิ
จาํ นวน 220 ราย งานศกึ ษาชน้ิ นี้เกบ็ ขอมูลกรณตี วั อยางจากสมาชกิ จาํ นวน 83 ราย

จังหวดั อางทองตงั้ อยูในพ้ืนท่ีราบลมุ ภาคกลาง เปนเมอื งอขู า วอนู าํ้ ที่มีความ
สําคัญตอ เศรษฐกิจของประเทศมาเปนเวลาชานาน ผลติ ผลดานการเกษตรโดยเฉพาะ
ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่ทํารายไดเปนอันดับหน่ึง แมนํ้าเจาพระยาเปนแมนํ้าสาย
หลกั ทใ่ี หค วามอดุ มสมบรู ณ ไหลผา นพนื้ ทรี่ าบลมุ ภาคกลาง เรมิ่ ตน จากจงั หวดั นครสวรรค
ผา นจงั หวดั อา งทองลงไปถงึ จงั หวดั สมทุ รปราการ ประชาชนสว นมากตามพน้ื ทรี่ าบลมุ
ภาคกลางจงึ ประกอบอาชพี ทาํ นา กลา วไดว า ภมู ปิ ระเทศเปน ตวั กาํ หนดอาชพี ประเพณี
และวถิ วี ัฒนธรรม

“หน้ชี าวนา เดิมพนั การสูญเสยี ที่ดนิ ” 73

จากขอมลู สํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกร ป พ.ศ.2554
พบวา จงั หวัดอา งทอง มีครวั เรอื นเกษตรกรประมาณ 24,572 ครัวเรือน สมาชกิ ครัว
เรอื นเฉลี่ย 4 คน เปน ประชากรวยั แรงงานอายุ 15-64 ป รอ ยละ 74.4 และประชากร
วัยสูงอายุ ที่มีอายุมากกวา 65 ป รอยละ 25.6 มเี นอื้ ทถี่ ือครองการเกษตรเฉลย่ี 10.96
ไรต อครัวเรือน โดยรอยละ 90.5 เปน ทีด่ ินทาํ นา

à¡ÉμáÃÃÍŒ ÂÅÐ 86 ¾Ö§è ¾Ò
¡Òë×éÍ¢ŒÒÇÊÒèҡÀÒ¹͡
ÁÒºÃÔâÀ¤ã¹ÃдѺÁÒ¡¶§Ö »Ò¹¡ÅÒ§

ขอ มลู การขน้ึ ทะเบยี นหนสี้ นิ ของเกษตรกรกบั กองทนุ ฟน ฟแู ละพฒั นาเกษตรกร
(กฟก.) สาขาจงั หวดั อางทอง พบวา ตัง้ แตป พ.ศ.2549 ถงึ เดอื นสงิ หาคม พ.ศ.2557 มี
กลมุ องคกรเกษตรกรสมคั รเปน สมาชกิ จํานวนท้ังสน้ิ 22 องคก ร จากจํานวนเกษตรกร
ที่ขึ้นทะเบียนหนส้ี นิ ทั้งสิ้น 4,779 ราย1 มีเกษตรกรท่ีไดรบั การชาํ ระหน้แี ละโอนหนี้สนิ
มาอยูกองทุนฟนฟูฯ จํานวน 620 ราย (สํานักงานกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร
สาขาจงั หวดั อา งทอง, สงิ หาคม 2557) คดิ เปน สดั สว นรอ ยละ 13 ซงึ่ สงู กวา สดั สว นการ
ชําระหน้ีแทนเกษตรกรของ กฟก.ระดับประเทศ ปจจุบันกองทุนฟนฟูและพัฒนา
เกษตรกรสาขาจงั หวดั อา งทอง มกี ารชาํ ระหนแ้ี ทนเกษตรกรรวมทง้ั สน้ิ 137,245,487
บาท มีหลกั ทรพั ยท ดี่ ินคาํ้ ประกนั ที่โอนมาอยกู บั กองทุนฟน ฟูฯ รวม 1,774 ไร จาก
เกษตรกร 321 ราย

1 ขอมูลจากการสัมภาษณคุณสาธิต แสงพลาย หัวหนาสํานักงานกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร
สาขาจงั หวดั อา งทอง วันท่ี 25 กรกฎาคม พ.ศ.2557

“หน้ีชาวนา เดมิ พนั การสญู เสียทด่ี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 75

เศรษฐกิจชาวนาอา งทอง

ผลสํารวจขอมูลจากเกษตรกร 83 ราย พบวามีเกษตรกรจํานวน 70 ราย
หรอื รอ ยละ 84 ท่ีประกอบอาชีพ เกษตรกรสว นใหญรอยละ 31 มอี าชีพหลักคือการ
ทาํ นา อนั ดบั สองรอยละ 24 คอื รับจางนอกภาคเกษตร ไดแก งานกอ สราง ขบั แท็กซ่ี
ขบั รถตู ขบั รถรบั สง นกั เรยี น ขบั รถทวั รร บั สง คนงานโรงงาน รบั จา งรอ ยพวงมาลยั อนั ดบั
สามรอ ยละ 12 ทาํ เกษตรอยา งอนื่ เชน ปลกู ผกั ทาํ สวนมะมว ง และเลย้ี งหมู

เกษตรกรสว นใหญใ นชมุ ชน รอ ยละ 24 มรี ายไดเ ฉลย่ี ตอ ป 50,001-100,000
บาท รอยละ 18 มีรายไดเฉล่ีย 10,001-50,000 บาทตอป และรอยละ 17 มีรายได
เฉลย่ี 150,001-200,000 บาทตอ ป แหลง ทมี่ าของรายไดพ บวา เกษตรกรสว นใหญม ี
รายไดมาจากภาคเกษตรรอยละ 56 รายไดน อกภาคเกษตรรอ ยละ 44 รายไดข อง
เกษตรกรทง้ั จากการทาํ นา ทาํ การเกษตรอน่ื รบั จา งและรายไดน อกภาคเกษตร พบ
วา มีรายไดเ ฉลี่ย 284,237 บาทตอป ตอครอบครวั

แหลงที่มาของรายไดเ กษตรกร

รับจาง 24.7% ลกู หลาน
สง ให 15.1%

เงนิ สงเคราะห
จากรัฐ 4.0%

ภาคเกษตร 56.2%

“หนช้ี าวนา เดิมพันการสูญเสียท่ดี นิ ”

หากแยกพิจารณาเฉพาะเกษตรกรท่ีทํานาเปนอาชีพหลัก จํานวน 27 ราย
พบวาเกษตรกรทท่ี าํ นาเฉพาะในทีด่ นิ ตนเองซง่ึ มอี ยูเฉล่ียไมถ งึ 10 ไร จะมรี ายไดเฉลี่ย
156,371.43 บาทตอ ป สว นเกษตรกรทเี่ ชา ทน่ี าเพมิ่ จะมรี ายไดเ ฉลย่ี 272,571.43 บาท
(กรณียังไมไ ดคํานวณรายไดส ุทธิเมอ่ื หกั ตนทุนการผลิต)

รายจา ยในครอบครวั ของเกษตรกร2พบวา เกษตรกรมรี ายจา ยเฉลย่ี 7,346.25
บาทตอเดอื น โดยเกษตรกรรอยละ 39.8 มรี ายจา ยตัง้ แต 5,001-10,000 บาทตอ
เดอื น รองลงมาเกษตรกรรอ ยละ 37.3 มีรายจายนอ ยกวา 5,000 บาทตอเดือน และ
อนั ดบั สามเกษตรกรรอ ยละ 9.6 มรี ายจา ย 10,001-15,000 บาทตอ เดอื น โดยครอบครวั
ท่ีมีรายจา ยในครอบครัวสูงสุด คอื 25,000 บาทตอเดอื น ครอบครวั ท่ีมรี ายจา ยตา่ํ สุด
คือ 2,000 บาทตอเดือน

เกษตรกรมีรายจายคาอาหารเฉลีย่ ตอ เดือน 4,229.53 บาท ครอบครัวทมี่ ี
รายจายคาอาหารสูงสุด คือ 12,000 บาทตอเดือน ตํ่าสุด คือ 900 บาทตอเดือน
คิดเปน รายจายคาอาหารเฉล่ยี รวม 50,754.43 บาทตอปต อ ครอบครัว

เมอ่ื มองภาพรวม เกษตรกรมรี ายจา ยในครอบครวั 7,346.25 บาทตอ เดอื น
ในขณะทรี่ ายจา ยดา นอาหารสงู ถงึ 4,229.53 บาทตอ เดอื น คดิ เปน สดั สว นมากกวา
คร่ึง คือรอยละ 57.5 ของรายจายท้ังหมดในครอบครัว โดยเกษตรกรรอยละ
86 พึ่งพาการซ้ือขาวสารจากภายนอกมาบริโภคในระดับมากถึงปานกลาง มีเพียง
รอ ยละ 1.2 เทาน้นั ท่ไี มไดซ้อื ขาวสารบริโภค

2 หมายรวมถึงคาใชจา ยทกุ ดานในครอบครัว ไดแ ก คาอาหาร คา เลาเรียนลูก คานํ้า-คา ไฟ คา รักษา
พยาบาล คา อุปโภคและบรโิ ภค คาภาษีสังคม ประกันชีวติ เปนตน

“หนชี้ าวนา เดมิ พนั การสูญเสียที่ดนิ ” 77

หากพจิ ารณาเปรยี บเทยี บคา ใชจ า ยแตล ะประเภท พบวา สดั สว นคา ใชจ า ย
ดานอาหารคิดเปนสัดสวนสูงสุดคือรอยละ 41 อับดับสองเปนคาเลาเรียนลูก รอย
ละ 17 และอันดบั สามเปนคาประกันชีวิตและประกันสงั คม รอ ยละ 13

สดั สวนรายจา ยของเกษตรกร

คาภาษสี ังคม คาประกันชีวิต
10% 13%

คา อุปโภคและ คาอาหาร
บริโภค 4% 41%

คา น้ํา คาไฟ คาเลาเรียนลูก
7% 17%
คา รกั ษาพยาบาล
8%

“หน้ชี าวนา เดมิ พันการสญู เสยี ทีด่ ิน”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 79

¤‹Ò㪨Œ Ò‹ ¢ͧà¡ÉμáÃ
Í¹Ñ ´ºÑ ˹§Öè ¤Í× ¤‹ÒÍÒËÒà ÃÍŒ ÂÅÐ 41
Í¹Ñ ´ÑºÊͧ¤×ͤ‹ÒàÅ‹ÒàÃÕ¹š٠ÃÍŒ ÂÅÐ 17

เมอ่ื สรปุ ภาพรวมพบวา เกษตรกร มรี ายไดจ ากภาคเกษตรจาํ นวน 159,776.74
บาทตอป รายไดน อกภาคเกษตร 124,460.31 บาทตอป คิดเปน รายไดรวม 284,237
บาทตอ ป รายจา ยภาคเกษตร 119,648.74 บาทตอ ป รายจา ยอน่ื ในครอบครวั 103,937
บาทตอป คิดเปนรายจายรวม 223,585.75 บาทตอป สรุปไดวาเกษตรกรมีรายได
มากกวารายจา ย 60,651 บาทตอปตอครอบครัว

การสบื สานอาชพี ชาวนา

อาชีพหลักในรุนพอแมของเกษตรกร สวนใหญรอยละ 89 ประกอบอาชีพ
ทํานาเปนหลัก รองลงมารอยละ 3.7 มีสัดสวนเทากันระหวางทําเกษตรอยางอื่นและ
รบั จางนอกภาคเกษตร อันดบั สาม รอ ยละ 1.2 มีสดั สว นเทากนั ระหวางอาชีพรับจาง
ทาํ นา รับจา งภาคเกษตรอ่นื และคาขาย

ท้ังนี้มีแนวโนมการปรับเปล่ียนอาชีพของเกษตรกรมากกวาคร่ึง โดย
ครอบครวั ทใี่ นรนุ พอ แมม อี าชพี หลกั ในการทาํ นาจาํ นวน 72 ราย ปจ จบุ นั มเี กษตรกร
ที่ยังคงสืบสานอาชีพทํานาอยูจํานวน 28 ราย หรือรอยละ 39 และเปล่ียนไปทํา
อาชพี อนื่ รอ ยละ 61 สาเหตหุ ลกั ทเี่ กษตรกรปรบั เปลย่ี นอาชพี อนั ดบั หนงึ่ คอื สขุ ภาพ
ไมเ ออ้ื อาํ นวย อนั ดับสองคอื รายไดไมเพยี งพอ และอันดับสามคอื มีภาระหนสี้ นิ

“หนช้ี าวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดิน”

การถือครองทีด่ ินของชาวนา

การสํารวจขอมลู การใชป ระโยชนทีด่ นิ ของเกษตรกรจาํ นวน 83 ราย พบวา
เกษตรกรสวนใหญ จาํ นวน 74 ราย หรอื รอ ยละ 89 มีท่ีดนิ เปน ของตนเอง ( สวนใหญ
เปน ทด่ี นิ เพ่ืออยูอาศัย ไมใ ชท่ดี นิ เพื่อการเกษตร) มีเกษตรกร 9 ราย หรือรอ ยละ 11 ท่ี
ไมม ที ดี่ นิ เปน ของตนเอง (ไมม แี มแ ตท อี่ ยอู าศยั ) แตเ มอื่ พจิ ารณาจากขนาดการถอื ครอง
ท่ีดนิ สว นใหญม ที ด่ี ินถอื ครองอยูนอ ย คอื มีไมเ กิน 5 ไร เทา นั้น

“หนช้ี าวนา เดมิ พันการสญู เสียที่ดิน” 81

ขนาดการถือครองทดี่ นิ ของครัวเรือนเกษตรกร ป พ.ศ. 2556

ขนาดการถอื ครองท่ีดิน(ไร) จํานวน(ราย) สดั สว น(รอยละ)

ไมเ กิน 5 ไร 38 51.4
< 5-10 ไร 12 16.2
< 10-15 ไร 11 14.9
< 15-20 ไร 5 6.8
< 20-25 ไร 2 2.7
< 25-30 ไร 3 4.0
< 31-35 ไร 1 1.3
มากกวา 40 ไร 2 2.7

รวม 74 100

จากขอ มลู พบวา สดั สว นเกษตรกรทม่ี ที ดี่ นิ ไมเ กนิ 5 ไร มมี ากทส่ี ดุ คอื รอ ยละ
51.4 รองลงมามที ด่ี นิ ระหวา ง 5-10 ไร รอ ยละ 16.2

เมื่อคํานวณจากคาเฉล่ียเกษตรกรมีท่ีดินถือครองครอบครัวละ 7 ไร โดย
รายที่มีท่ีดินนอยสุดคือ 25 ตารางวา และมากสุดคือ 84 ไร ท่ีดินเกือบทั้งหมดคือ
รอ ยละ 95 มเี อกสารสทิ ธป์ิ ระเภทโฉนด

“หน้ชี าวนา เดิมพันการสญู เสียที่ดิน”

จากเกษตรกร 38 รายที่ทําการเกษตรอยูในปจจุบัน พบวามีเกษตรกร
12 ราย หรอื รอยละ 30 เชาทด่ี ินทาํ กิน โดยเชาเฉล่ีย 11 ไร ตอราย จํานวนพนื้ ท่ี
เชานอยที่สุดคือ 100 ตารางวา และเชามากที่สุดคือ 22 ไร สําหรับวัตถุประสงค
การเชา รอ ยละ 75 เชา เพอื่ ทาํ นา และรอ ยละ 25 เชา เพอ่ื ทาํ การเกษตรอน่ื และปลกู ผกั

สําหรับการเชาที่ดินสวนใหญเปนการเชาจากนายทุนตางพื้นที่ รองลงมา
เปน การเชา จากนายทนุ ในพน้ื ที่ เชา จากญาตพิ นี่ อ ง เพอื่ นบา น และเชา ทด่ี นิ วดั ในสว น
ของระยะเวลาการเชา เฉลี่ยเชามากกวา 12 ป เชามาแลวตํ่าสุด 3 ป และเชาสูงสุด
20 ป โดยมคี าเชาเฉลยี่ 1,637 บาท ตอ ไรตอ ป

การสญู เสียที่ดนิ ของชาวนาในอดตี

ประวัติการสญู เสียที่ดนิ ของเกษตรกร พบวามีเกษตรกรจํานวน 10 ราย เคย
สูญเสียท่ีดินในอดีต โดยสวนใหญเปนพื้นท่ีทํานา โดยการสูญเสียที่ดินเร่ิมข้ึนในป
พ.ศ. 2508 มีเกษตรกรจํานวน 1 ราย สูญเสียทดี่ นิ ป พ.ศ. 2526 มเี กษตรกรสญู เสีย
ทด่ี ิน 2 ราย ป พ.ศ. 2536 จํานวน 1 ราย ป พ.ศ.2546-2547 จํานวน 4 ราย ป พ.ศ.
2554 จํานวน 2 ราย โดยเฉลยี่ ขนาดท่ีดนิ ท่ีสญู เสียคอื 8 ไร รายท่ตี ํ่าสุด 2 ไร รายท่ี
สูงสดุ 20 ไร

สาเหตุหลักของการสูญเสียที่ดินคือปญหาหนี้สิน โดยเกษตรกรนําที่ดินไป
จํานองกับเจาหนี้นอกระบบท้ังในจังหวัดอางทองและจังหวัดอ่ืน เพื่อนําเงินมาลงทุน
ทํานาและทําการเกษตรอยา งอ่นื

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ทด่ี นิ ” 83

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 85

เมอ่ื ไมส ามารถนาํ เงนิ ไปชาํ ระหนไ้ี ดต ามกาํ หนด เกษตรกรรอ ยละ 50 ตดั สนิ
ใจขายทน่ี าเพ่ือนาํ เงนิ มาปลดหน้ี อกี รอ ยละ 30 ถกู เจา หน้นี อกระบบยึดที่นาเพอื่ ใช
หน้แี ทน อกี รอยละ 10 ขายทน่ี าเนอ่ื งจากไมมที างเขา ออก และรอยละ 10 ขายทีน่ า
เพือ่ นาํ เงนิ มาใชจ ายในครอบครวั

ปลูกขาวเพ่ือขาย ตนทนุ การทํานาสูง

ในจํานวนเกษตรกร 38 ราย ท่ียังทําอาชีพเกษตรอยู แบงออกเปนทํานา
27 ราย เลีย้ งหมู 2 ราย ทาํ สวน 3 ราย ปลกู ผกั 5 ราย และทํานาและปลกู ผกั 1 ราย
นอกจากนเ้ี กษตรกรทที่ าํ นา 27 ราย พบวา สว นใหญ 20 ราย ทาํ นาบนทดี่ นิ ของตนเอง
มเี กษตรกรเพยี ง 7 ราย ทตี่ อ งเชา ทดี่ นิ โดยชาวนา 4 ราย ไมม ดี นิ ทาํ กนิ เปน ของตนเอง
และ ชาวนา 3 ราย เชาที่นาเพิม่ เพราะมที ีด่ นิ ทํากินไมเ พียงพอ

รูปแบบการทํานาโดยสวนใหญเปนการทํานาปรัง 2 ครั้งตอป ขนาดพ้ืนที่
การทํานาเฉล่ีย 15 ไร สวนการจัดการผลผลิตขาวท่ีได สวนใหญคือรอยละ 57 ขาย
ผลผลิตขาวท่ีไดทั้งหมด ไมเก็บไวบริโภคเอง มีชาวนารอยละ 43 เก็บผลผลิตขาว
บางสวนไวบริโภคเอง

“หนชี้ าวนา เดมิ พันการสูญเสยี ทดี่ ิน”

ตนทนุ การทาํ นาเฉลย่ี ตอ ไร ฤดกู ารผลิต 2556/2557

ลาํ ดบั ที่ ตนทนุ /ปจ จัยการผลติ ตนทุนเฉลี่ย สดั สวน
ตอไร (รอยละ)
1 คา เชาท่ีดิน
2 คา ปุย 978 5.7
3 คา ยากาํ จดั ศัตรพู ืช 1,157 27.1
4 คา จา งฉดี พนยา 9.3
5 คาไถดะ(ครงั้ แรก) 356 3.1
6 คา ไถพรวน(ครัง้ ท่ี 2) 487 5.7
7 คา เมลด็ พันธุ 148 7.3
8 คา จา งหวานหรือคาจา งปลูก 347 17.6
9 คา จา งใสป ยุ 54 1.3
10 คาจางตดั ขาวดดี 125 1.7
11 คา จา งรถเก่ยี วขาว 92 3.7
12 คา ขนผลผลิตไปขาย 409 14.2
69 3.2
รวมตนทนุ การทาํ นาเฉลย่ี 66 100.0
4,288

“หนี้ชาวนา เดิมพนั การสญู เสียทดี่ นิ ” 87

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

สัดสวนของตนทุนการผลิตท่ีมากที่สุดคือ คาปุยไรละ 989.67 บาท คิด
เปนรอยละ 27 รองลงมา คอื คาเมลด็ พนั ธุ รอ ยละ 17.6 และ คาจา งรถเกีย่ วขา ว
รอ ยละ 14.2

จํานวนผลผลิตขาวที่ไดคือ 813 กิโลกรัมตอไร เกษตรกรขายขาวไดเฉลี่ย
11 บาทตอกิโลกรัม ทั้งนี้ชาวนาจํานวน 17 ราย หรือรอยละ 63 ขายขาวใหกับ
โครงการรบั จาํ นาํ ขา วของรฐั บาล โดยมรี ายไดเ ฉลย่ี 8,751 บาทตอ ไร หรอื 128,558.50
บาทตอ 1 รอบการผลิต

จากขอมูลการลงทุนและการประกอบอาชีพขางตน จะเห็นไดวาชาวนา
แบกรับตนทุนการผลิตจากการทํานาเฉลี่ย 4,288 บาทตอไร ซ่ึงหากเปรียบเทียบกับ
ตนทุนเฉล่ียการทํานาปรังภาคกลาง ป พ.ศ. 2554 ซึ่งมีตนทุนเฉล่ีย 5,217.91 บาท
ตอไร (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร) ดังนั้นชาวนากลุมน้ีมีตนทุนการทํานาตํ่ากวา
คาเฉลี่ยของชาวนาภาคกลาง ท่ีเปนเชนน้ี เน่ืองมาจากชาวนากลุมตัวอยางสวนใหญ
รอยละ 74 ทาํ นาบนทีด่ ินของตนเอง จึงไมตอ งแบกรับคา เชา นาซึ่งเปน สดั สวนตนทุน
ท่สี งู เอาไว

การซื้อหนจ้ี ากกองทนุ ฟน ฟู

ผลการสํารวจภาวะหนี้สินของเกษตรกร 83 ราย พบวามีเกษตรกรจํานวน
75 รายทเ่ี ขาสูก ระบวนการซ้ือหนขี้ องกองทนุ ฟน ฟฯู แลว โดยเกษตรกรทไ่ี ดร บั การซอ้ื
หนี้แลวมีจํานวน 48 ราย คิดเปนรอยละ 64 สวนท่ียังไมไดรับสิทธิการซ้ือหนี้มี
22 ราย คดิ เปน รอยละ 29 ไดร ับสทิ ธิแลว แตย งั ไมไดซ้อื หนี้ จาํ นวน 3 ราย และไดร ับ
การซ้ือหนบ้ี างสว นแลว จํานวน 2 ราย

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสญู เสียทดี่ ิน” 89

นอกจากน้ีมีเกษตรกรอีก 8 ราย ท่ีแกไขปญหาหนี้สินดวยกลไกอื่นท่ีไมใช
กองทุนฟนฟูฯ คือเกษตรกร 4 ราย ไดรับการปรับโครงสรางหน้ีจาก ธ.ก.ส. ตามมติ
คณะรัฐมนตรี วันท่ี 7 เมษายน พ.ศ.2552 เกษตรกร 2 ราย ไดรับการปลดหนี้จาก
ธ.ก.ส. และเกษตรกร 1 ราย ไดร บั การปรับโครงสรางหนี้จากสหกรณการเกษตร และ
เกษตรกรอกี 1 ราย ลกู หลานชวยกนั ปลดหนีใ้ ห

สถานะการซอื้ หนี้ของกองทนุ ฟนฟู (ธันวาคม พ.ศ.2556)

ไดรบั สทิ ธิ แตย ังไมได ไดรบั การซอื้ หนี้
ซื้อหนี้ 4% เพยี งบางสว น 2.7%

ยังไมไ ดรบั สิทธิ
การซอื้ หน้ี 29.3%

ไดรับการซือ้ หนี้แลว
ทง้ั หมด 64 %

“หนี้ชาวนา เดิมพนั การสูญเสยี ที่ดิน”

ภาระหนสี้ ินชาวนา

เหตผุ ลการกยู มื เงนิ ของชาวนา สว นใหญจ ะนาํ มาใชเ พอื่ ซอื้ อปุ กรณแ ละลงทนุ
การเกษตร รองลงมาคอื เพือ่ นําเงนิ มาชําระหน้ีเกา นาํ มาใชจ า ยในชวี ิตประจาํ วัน และ
สดุ ทา ยคือนํามาจายคา เลาเรยี นลกู

เหตุผลการกูย ืมเงินของชาวนา สดั สว น (รอ ยละ)

เหตุผลการกูยืมเงิน 27.9
0.6
1. ซื้ออุปกรณ/ ลงทนุ การเกษตร 7.6
2. เชา ทดี่ นิ 11.0
3. ซอื้ ทีด่ ิน 20.9
4. ใชใ นการดาํ รงชวี ติ ประจําวัน 13.4
5. ใชหน้ีสินเกา 11.6
6. คาเลาเรยี นบตุ ร 4.1
7. สรา งบา นหรอื ซอ มแซมบา น 2.9
8.คารักษาพยาบาล
9. อ่ืน ๆ 100.00

“หนชี้ าวนา เดมิ พันการสญู เสียทดี่ นิ ” 91

สถานะการกูเงินของชาวนา

สถาบันการเงนิ จาํ นวน สัดสวน เงินกู เงนิ กู จาํ นวน
สัญญา (รอ ยละ) เฉลีย่ ตอ รวมทง้ั หมด ป
เงินกู สญั ญา ที่กู
(บาท) (บาท) เฉลย่ี

1.ธ.ก.ส. 23 11.3 345,695.65 7,950,999.95 12.95
2.สหกรณก ารเกษตร 62
3. กองทุนหมูบาน 47 30.5 239,016.24 14,819,006.88 13.79
4.ธนาคารพาณชิ ย 6
5. กองทนุ ฟน ฟูฯ 50 23.2 27,340.43 1,285,000.21 5.5
6.สหกรณเ ครดิตยูเน่ยี น 1
8.นายทุนนอกระบบ 5 3.0 1,308,333.33 7,849,999.98 9
9. ญาติ/เพื่อนบาน 6
10. รา นคา ปุยยา 3 24.6 146,595.65 7,329,782.50 2.97

0.5 75,000 75,000.00 20

2.5 175,500 877,500.00 6.33

3.0 86,666.67 520,000.02 3.33

1.5 141,666.67 425,000.01 5

รวม 203 100.0 495,569.75 41,132,289.55 8.76

“หน้ีชาวนา เดมิ พนั การสูญเสียทดี่ นิ ”

หลักทรพั ยค้าํ ประกัน หนคี้ างชาํ ระ หนคี้ างชําระ สถานะหนป้ี จ จบุ ัน(สัญญา)
กลุม/ ที่ดนิ ทด่ี นิ เฉลีย่ ตอ ทั้งหมด ถกู ฟอ ง/ ปกติ รับชําระ
บคุ คล (ราย) (ไร) สัญญา (บาท) ผิดนัด แทน /ปรับ
(สญั ญา) (บาท)
โครงสรา ง

9 14 166 359,676.61 8,272,562 2 13 6
10,052,284 3 26 34
15 7 35 162,133.61 1,389,920 0 47 0
10,982,400 41 1
47 0 0 29,572.77 8,380,862 00 50
01 0
0 5 44 1,830,400 35,000 11 2
303,750 06 0
22 36 301 167,617.24 312,000 03 0
425,000
10 0 35,000

23 3 60,750

42 8 52,000

5 0 0 141,666.67

105 67 557 483,780.50 40,153,778 10 98 93

ที่มา : สรปุ ประมวลจากแบบสํารวจรายครัวเรือน โครงการวจิ ัยภาวะหนีส้ นิ และการสญู เสียทดี่ ินของ
เกษตรกรฯ กลุมปฏบิ ัตงิ านทองถนิ่ ไรพ รมแดน, ธันวาคม 2556

“หนชี้ าวนา เดมิ พนั การสญู เสียทีด่ ิน” 93

เกษตรกรกยู มื เงนิ จาก 9 แหลง สถาบนั การเงนิ ไดแ ก ธ.ก.ส. สหกรณก ารเกษตร
กองทุนหมูบาน ธนาคารพาณิชย กองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร สหกรณเครดิต
ยเู น่ียน เจาหน้ีนอกระบบ ญาต/ิ เพื่อนบา น และรา นคา ปุยยา โดยมีเกษตรกรรอยละ
45 กูยืมเงินจาก 3 แหลง สถาบนั การเงนิ ในเวลาเดยี วกนั

สถาบันการเงินท่ีเกษตรกรพ่ึงพาเงินทุนมากที่สุดอันดับหนึ่ง คือสหกรณ
การเกษตร คดิ เปน สดั สว น รอ ยละ 31 จาํ นวนเงนิ ทก่ี ทู งั้ หมด 14,819,006 บาท เฉลยี่
ประมาณ 239,016 บาทตอสญั ญาเงนิ กู

สวนหน้ีสินกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร มีเกษตรกร
กเู งนิ จาก ธ.ก.ส. จาํ นวน 23 สัญญา หรอื รอ ยละ 11.3 เงนิ กูเฉลย่ี 345,695 บาทตอ
สัญญา เงินกูร วมท้ังหมด 7,950,999 บาท จะเหน็ วาเงนิ กูต อสัญญาที่เกษตรกรกจู าก
ธ.ก.ส. จะสูงกวาสหกรณก ารเกษตร ดังนั้นจึงตองใชหลกั ทรพั ยท่ดี นิ คํ้าประกนั ทง้ั หมด
รวม 166 ไร จาก 14 สญั ญาเงินกู

โดยภาพรวมพบวา เกษตรกรมหี นส้ี นิ เฉลยี่ 495,569.75 บาท มกี ารกเู งนิ
ทเี่ ปน เงนิ ตน รวมทง้ั สนิ้ 41,132,289 บาท มยี อดหนสี้ นิ คา งชาํ ระรวมทง้ั สนิ้ 40,153,778
บาท สถานะหนี้ของเกษตรกร 98 สัญญาเงนิ กู อยใู นสถานะปกติ มีเพียง 10 สญั ญา ท่ี
มสี ถานะผดิ นดั ชาํ ระ ถกู ฟอ งขายทอดตลาดและลม ละลาย และมจี าํ นวนทดี่ นิ ตดิ จาํ นอง
ไวก บั สถาบันการเงินตางๆ รวมกนั ทง้ั หมด 557 ไร

“หนีช้ าวนา เดิมพันการสญู เสยี ท่ดี นิ ”

บทสรปุ หนี้สนิ ชาวนา กับการสญู เสียที่ดิน

กลมุ ชาวนาจังหวดั อา งทอง เปนชาวนาสงู อายุ อายเุ ฉลยี่ 59 ป สว นใหญย ัง
พงึ่ พารายไดจ ากภาคเกษตรเปนหลกั โดยมีรายไดภาคเกษตรมากกวารายไดนอกภาค
เกษตร สัดสว นรอยละ 56 ตอ รอยละ 44 ครวั เรอื นชาวนาสวนใหญเ ปน ชาวนาขนาด
เล็ก มีตน ทุนการผลติ ตํา่ กวา คาเฉล่ยี ของชาวนาทั่วไปในภาคกลาง

ชาวนาสว นใหญม พี น้ื ทที าํ กนิ ไมเ กนิ 10 ไร มสี ดั สว นผไู มม ที ด่ี นิ ทาํ กนิ รอ ยละ
51 มีเกษตรกรเชาทด่ี ินรอ ยละ 24 มชี าวนารอ ยละ 60 ทเ่ี ลกิ ทาํ นา เนอ่ื งจากปญหามี
รายไดไมเพยี งพอและมีภาระหนสี้ ิน

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสูญเสียทด่ี ิน” 95

ชาวนาและเกษตรกรมรี ายไดส ทุ ธหิ ลงั หกั คา ใชจ า ยเปน จาํ นวนเงนิ คอ นขา งตา่ํ
มีสัดสวนผูมีรายไดไมถึง 100,000 บาทตอป รอยละ 42 ทําใหรายไดไมเพียงพอตอ
คา ใชจ า ยและความอยรู อดของครอบครวั แมว า มชี าวนาบางสว นรอ ยละ 47 เกบ็ ผลผลติ
ขาวและพืชผักไวบ ริโภคในครัวเรอื น แตสัดสวนรายจา ยของครอบครัวยงั คงสงู อยู

สดั สว นคา ใชจา ยอนั ดับหน่ึง คือคาอาหารรอยละ 41 อนั ดับสองคา เลา เรยี น
ลูก รอ ยละ 17 และอนั ดบั สามคา ประกันชวี ิต รอ ยละ 13 รายจายเฉล่ียของครอบครัว
ชาวนาอยทู ป่ี ระมาณ 103,907 บาทตอป

หากชาวนาภาคกลางจะสามารถดาํ รงชพี โดยพงึ่ รายไดจ ากการทาํ นาเปน หลกั
ชาวนาตองมีขนาดการถือครองท่ีดินท่ีเพียงพอเพ่ือใหคุมกับคาใชจายในการครองชีพ
จากผลการศกึ ษาพบวา ขนาดถอื ครองทน่ี ามคี วามสมั พนั ธต อ ตน ทนุ การผลติ และรายได
โดยขนาดทนี่ าทเ่ี หมาะสมควรเปน ตงั้ แต 11-20 ไร ขน้ึ ไป ทง้ั นร้ี าคาขา วทเี่ กษตรกรขาย
ไดตองไมต่ํากวาตันละ 10,000 บาท และตองไมแบกรับตนทุนคาเชานา ซึ่งจะทําให
ชาวนามรี ายไดส ทุ ธหิ ลังหกั ตนทนุ การผลติ 16,000 บาทตอ เดือน หรอื 193,000 บาท
ตอ ป

มีเกษตรกรที่สูญเสียท่ีดินในรุนปจจุบันจํานวน 10 ราย โดยเกษตรกร
รอยละ 50 ตัดสนิ ใจขายทีดนิ เพ่อื นํามาปลดเปลอ้ื งหนสี้ นิ และเกษตรกรอกี รอยละ 30
สูญเสียท่ีดินเพราะถูกยึดจากนายทุนเงินกูนอกระบบ ในขณะท่ีมีเกษตรกรรอยละ 12
มคี วามเส่ียงสูงในการสญู เสยี ที่ดิน เน่ืองจากมสี ถานะหนี้ท่ีผิดนัดชาํ ระ ถูกฟองรองเปน
คดีความ และถูกประกาศขายท่ีดนิ ทอดตลาดอยใู นปจจุบนั

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ีดิน”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 97

วิถชี าวนากับการสญู เสยี ที่ดิน

กรณศี กึ ษาชาวนาอาํ เภอสรรคบุรี
จังหวดั ชยั นาท

เมธี สงิ หสถู ํ้า

“หนชี้ าวนา เดมิ พนั การสูญเสียที่ดิน”


Click to View FlipBook Version