The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book หนี้ชาวนาเดิมพันการสูญเสียที่ดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by มูลนิธิชีวิตไท, 2021-10-07 02:38:42

E-Book หนี้ชาวนาเดิมพันการสูญเสียที่ดิน

E-Book หนี้ชาวนาเดิมพันการสูญเสียที่ดิน

Keywords: หนี้ชาวนา,ที่ดิน,มูลนิธิชีวิตไท

บทนาํ

บทความชน้ิ นเี้ ปน สว นหนงึ่ ของรายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณเ รอ่ื งภาวะหนส้ี นิ กบั
การสูญเสียที่ดินของเกษตรกร กรณีศึกษากลุมสงเสริมการเกษตรครบวงจร อําเภอ
สรรคบุรี จังหวัดชัยนาท งานวิจัยมีเปาหมายหลักเพื่อรวบรวมขอมูลปญหาหน้ีสินที่
เชื่อมโยงกับการสูญเสียที่ดินของเกษตรกร และเผยแพรสถานการณการสูญเสียท่ีดิน
ของเกษตรกรรายยอยสสู าธารณะ

“กลมุ สง เสรมิ การเกษตรครบวงจร จังหวดั ชัยนาท” เปนกลมุ เกษตรกรท่ี
รวมตัวกันในป พ.ศ. 2542 เพ่ือผลักดันใหรัฐบาลแกไขปญหาของเกษตรกรในระดับ
โครงสราง โดยเฉพาะปญหาหน้ีสินและท่ีดินทํากิน กลุมสงเสิรมการเกษตรครบวงจร
เปน หนง่ึ ในองคก รสมาชกิ ของสภาเครอื ขา ยองคก รเกษตรกรแหง ประเทศไทย(สค.ปท.)
ปจจุบันมีสมาชิก 230 ครอบครัว งานศึกษาชิ้นนี้เก็บขอมูลกรณีตัวอยางจากสมาชิก
จํานวน 64 ครอบครัว

เศรษฐกจิ ชาวนาสรรคบุรี

กลุมชาวนาตัวอยางจํานวน 64 ครอบครัว มีอายุเฉล่ีย 57 ป อาชีพหลัก
คืออาชีพเกษตรกรรม เกษตรกรรอยละ 68.75 ทํานาเปนอาชีพหลัก ซ่ึงในทีนี้รวม

“หน้ชี าวนา เดิมพนั การสูญเสียท่ีดิน” 99

à¡ÉμáÃã¹¾×¹é ·ÁèÕ ÃÕ ÒÂä´Œμ´Ô ź
38,605 ºÒ· μ‹Í»‚μÍ‹ ¤Ãͺ¤ÃÑÇ

ชาวนาท่ีมีท่ีนาเปนของตนเอง ชาวนาเชาซ่ึงไมมีที่ทํากิน และชาวนาที่มีที่นาบางแต
ไมพอ ตอ งเชาที่นาเพิ่ม

อาชีพรองของเกษตรกรคืออาชีพรบั จาง เกษตรกรรอ ยละ 12.5 มอี าชีพรอง
คือรับจางในแปลงนา รับจางในแปลงขาวโพด รับจางในแปลงผัก รับจางการเกษตร
อยางอนื่ และรับจางนอกภาคเกษตร

เกษตรกรมีรายไดเฉล่ียครอบครัวละ 216,544 บาทตอป หรือประมาณ
18,045 บาทตอเดือน มรี ายไดห ลักจาก 4 แหลง คือ จากการทําเกษตร จากการ
รบั จา ง (ท้ังในและนอกภาคเกษตร) จากลูกหลานหรือญาตสิ ง ให และจากเงนิ ชวย
เหลอื สงเคราะหข องรฐั ในภาพรวมรายไดท ม่ี าจากภาคเกษตร คดิ เปน รอ ยละ 79.25
หรือมากกวา 3 ใน 4 ของรายไดทั้งหมด

เกษตรกรมคี า ใชจ า ยหลกั คอื คา เลา เรยี นลกู คา รกั ษาพยาบาล คา นาํ้ ประปา/
คา ไฟฟา คา เครื่องอปุ โภค คา ภาษีสงั คม คา ประกันสังคม/ประกันชีวิต และคา อาหาร
ผลการสํารวจขอมูลคาใชจายท้ัง 7 ประเภทพบวา คาใชจายตอครัวเรือนเฉลี่ยอยูท่ี
9,713 บาทตอเดือน หรือ 116,556 บาทตอ ป ซึ่งเม่อื พจิ ารณาขอ มลู สัดสวนคาใชจาย
ของครอบครัวจะพบวา คา ใชจายเกือบครึง่ หนง่ึ คือรอ ยละ 48.72 เปนคาอาหาร

“หนีช้ าวนา เดิมพันการสูญเสียทดี่ นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 101

เม่ือนํารายไดหักดวยคาใชจายตอป จะพบวาเกษตรกรมีเงินสวนตาง
99,988 บาทตอ ป แตต วั เลขสว นตา งนี้ ยงั ไมไ ดถ กู หกั ดว ยคา ใชจ า ยตน ทนุ การเกษตร
ซ่งึ เมอ่ื หกั แลวเกษตรกรในพนื้ ท่จี ะมีรายไดต ิดลบ 38,605 บาท ตอ ปต อ ครอบครวั

ขา ว ปลา อาหาร และการพึง่ ตนเอง

แมจะเปนชุมชนเกษตรกรรมก็ตาม แตเกษตรกรในพื้นที่กลับพ่ึงตนเอง
ดานอาหารไดนอย อาหารรายวันของเกษตรกรยังมาจากแหลงอาหารนอกชุมชน
ชาวนารอยละ 89 ตองซื้อขาวกินในระดับปานกลางถึงระดับที่มาก ชาวนากลุมน้ี
นําขาวทั้งหมดไปขาย และนําเงินท่ีไดมาซื้อขาวบริโภคในภายหลัง มีชาวนาเพียง
รอยละ 11 เทาน้ันท่ีเก็บขาวไวบริโภคในครัวเรือนอยางเพียงพอ จนกระท่ังถึง
ฤดูการเก็บเก่ียวรอบถัดไป

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสูญเสียท่ดี นิ ”

“·Õ´è Ô¹” ¤×Í»˜¨¨Ñ¡ÒüÅÔμ
·ÊèÕ íÒ¤ÞÑ ·ÕèÊ´Ø ÊÒí ËÃѺªÒǹÒ

จากการสอบถามถึงสาเหตุท่ีชาวนาขายขาวเปลีอกทั้งหมดโดยไมเก็บขาวไว
บรโิ ภค เหตผุ ลสาํ คญั ลาํ ดบั ตน คอื การจดั การผลผลติ ขา วหลงั การเกบ็ เกย่ี วทย่ี งุ ยาก โดย
เฉพาะการหาลานตากใหข า วแหง กอ นนาํ ไปเกบ็ สว นอกี เหตผุ ลสาํ คญั คอื ชาวนาตอ งการ
นาํ เงนิ ไปชาํ ระหน้ี

สวนการพ่ึงตนเองดานอาหารประเภทอ่ืน เชน จําพวกเนื้อสัตว ผัก ผลไม
หรอื เครอ่ื งปรงุ เกษตรกรรอ ยละ 65 พงึ่ ตวั เองไดน อ ยถงึ นอ ยมาก อยา งไรกด็ เี กษตรกร
ยงั นิยมปรงุ อาหารบรโิ ภคเอง ไมนิยมซื้อกบั ขาวปรงุ สําเรจ็ มาบริโภค

วิถีการทํานาที่เปลี่ยนไป

ชาวนาสว นใหญท าํ นาในลกั ษณะของการบรหิ ารจดั การ โดยใชร ะบบการจา ง
งานในทุกข้ันตอนของการทํานา ทําใหชาวนามีคาใชจายตนทุนการผลิตเฉล่ียตอป
138,593 บาท หรอื เฉลีย่ ตอเดือน 11,550 บาท ตอ ครอบครวั

ชาวนาในพื้นที่ทํานาปละ 2 ครั้ง ผลผลิตขาวท่ีไดเฉลี่ยอยูที่ 776 กิโลกรัม
ตอ ไร ราคาขา วทขี่ ายไดใ นชว งทมี่ โี ครงการรบั จาํ นาํ ขา วคอื 11,280 บาทตอ ตนั สว นใน
ชว งที่ไมม ีโครงการรับจาํ นาํ ขาว จะขายขาวไดเ ฉลี่ย 6,000-7,000 บาทตอตนั

“หน้ชี าวนา เดิมพันการสญู เสียที่ดิน” 103

ตน ทนุ การทาํ นาตอ ไร ฤดกู ารผลิตป 2556/2557

ลําดบั ที่ ชนดิ ของปจจยั การผลิต รวมเปนเงิน คิดเปน
บาท/ไร รอ ยละ
1 คา เชา ทด่ี นิ
2 คาปยุ 978 23
3 คายากาํ จดั ศัตรูพชื / ยากาํ จัดวชั พชื 1,157 27
4 คา เมลด็ พันธุ
5 คาจางฉดี พนยา 356 8
6 คา จางรถไถ 487 11
7 คาจางแรงงานสาํ หรบั หวาน/ ปลูกขาว 148 3
8 คา จา งแรงงานสําหรบั ใสปุย 347 8
9 คาจา งแรงงานสาํ หรบั ตัดขาวดีด 54 1
10 คา จา งรถเก็บเกย่ี ว 125 3
11 คาจางขนผลผลิตไปขาย 92 2
12 อน่ื ๆ (ระบุ) 409 10
69 2
รวม 66 2
4,288 100

“หนีช้ าวนา เดิมพนั การสญู เสียทด่ี ิน”

ตนทุนการทํานาของชาวนาเฉล่ียอยูที่ 4,288 บาท ตอไรตอรอบการผลิต
คา ปยุ และสารกาํ จดั ศตั รพู ชื เปน ตน ทนุ การทาํ นาทสี่ งู ทส่ี ดุ คอื 1,513 บาทตอ ไร คดิ เปน
รอ ยละ 35 รองลงมาเปน คา จา งแรงงานและเคร่อื งจกั ร (คาจา งรถไถ คา จา งหวานขา ว
คาจางรถเกี่ยวขาว และอ่ืนๆ) 1,244 บาทตอไร คิดเปนรอยละ 29 สวนคาเชาที่ดิน
คิดเปนรอยละ 23 คาเมล็ดพันธุ รอยละ 11 ท่ีเหลืออีกรอยละ 2 เปนคาใชจายอ่ืนๆ
เชน คา อาหารและเคร่ืองด่มื สําหรบั เลย้ี งคนงานรบั จา ง

ชาวนาเกอื บคร่ึง เชา ท่ีดินทํานา

“ทดี่ ิน” คือปจจัยการผลติ ท่ีสําคญั ท่ีสดุ สําหรับชาวนา จากการสาํ รวจพบวา
ชาวนามที ท่ี าํ กนิ เฉล่ียเพยี งครอบครัวละ 6 ไร เทานน้ั โดยชาวนารอยละ 28 มีทท่ี ํากนิ
ไมเ กิน 10 ไร ชาวนารอ ยละ 17 มีที่ทาํ กินอยูระหวาง 11-20 ไร และมีชาวนารอยละ
5 เทา นัน้ ที่มที ดี่ นิ 21-30 ไร

ชาวนาในพนื้ ทท่ี ม่ี ที ด่ี นิ มากทสี่ ดุ คอื 27 ไร ชาวนาสว นใหญม ที ดี่ นิ เพยี งแปลง
เดียว และใชเปนทั้งท่ีอยูอาศัยและที่ทําการเกษตร โดยสวนใหญคือรอยละ 96 ถือ
เอกสารสทิ ธ์ทิ ดี่ นิ ประเภทโฉนด

ดว ยความทม่ี ที ดี่ นิ ทาํ กนิ ไมเ พยี งพอ ทาํ ใหช าวนารอ ยละ 45 ตอ งเชา ทดี่ นิ
คนอ่ืนทํานาเพิ่ม ซึ่งหมายถึงตนทุนคาเชานาท่ีเพ่ิมข้ึนดวย ชาวนาเชาที่ดินเพ่ิม
เฉล่ียครอบครวั ละ 16 ไร รายทต่ี องเชา มากท่สี ดุ คอื 40 ไร เชา มาแลว ตอเนอ่ื งเฉลี่ย
10 ป และรายทีเ่ ชา ยาวนานท่ีสดุ คือ 20 ป บงชวี้ า ชาวนาในพ้นื ท่นี ข้ี าดแคลนท่ดี ิน
ทํากินมาแลว ถึง 20 ป และเกอื บครงึ่ หนงึ่ ในปจ จุบนั มที ด่ี ินทาํ กนิ ไมเพียงพอ

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสูญเสยี ทด่ี นิ ” 105

ภาระหน้ีสนิ ชาวนา

ปรมิ าณผลผลติ ทไ่ี มแ นน อน และราคาผลผลติ ทกี่ าํ หนดเองไมไ ด ทาํ ใหช าวนา
ในพื้นทมี่ ปี ญ หาหนสี้ ิน ซง่ึ ชาวนาสว นใหญใ ชว ธิ กี ารขายที่ดนิ เพอ่ื ปลดหนใี้ หก บั ตวั เอง
มีชาวนาในพน้ื ท่รี อยละ 32 สูญเสยี ทดี่ ินในชว งเวลาท่ีผานมา โดยสาเหตหุ ลกั ของการ
ขายท่ีดินคือเพ่ือปลดหนี้ ชาวนาบางรายตองขายท่ีดินถึง 3 แปลง เพ่ือปลดหน้ีของ
ครอบครัว ที่นาท่ขี ายเฉลย่ี มขี นาด 8 ไร รายท่ีขายทด่ี ินเพอ่ื ปลดหนีม้ ากทสี่ ดุ คือ 43 ไร
สถาบนั การเงนิ หรอื แหลง เงนิ กขู องชาวนามหี ลายแหลง อาทเิ ชน ธนาคารเพอื่ การเกษตร
และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) สหกรณการเกษตร กองทุนหมูบาน สหกรณเครดิต
ยเู น่ียน ธนาคารพาณิชยอ ่นื ๆ และรา นคา ปยุ และยา

ชาวนารอยละ 29 กเู งินจากกองทนุ หมบู าน ชาวนารอ ยละ 23 กูเงินจาก
สหกรณก ารเกษตร และ ธ.ก.ส. สวนชาวนารอ ยละ 11 กูเงินจากธนาคารพาณชิ ย
และรอ ยละ 8 กูเงนิ จากรานคา ปุย และวัสดุอปุ กรณ

ธนาคารเอกชนจะเปนแหลงเงินกูท่ีชาวนามียอดหนี้สูงท่ีสุด คือ 205,778
บาทตอครัวเรือน รองลงมาคอื ธ.ก.ส. ชาวนามหี นส้ี นิ เฉล่ยี กับ ธ.ก.ส. 182,856 บาท
ตอครัวเรือน และมีหน้ีสินเฉล่ียกับสหกรณการเกษตร 116,955 บาทตอครัวเรือน
มีหนี้สินกับญาตหิ รอื เพอ่ื นบา นเฉลยี่ 58,333 บาทตอครวั เรือน

ปจ จุบันโฉนดที่ดนิ ของชาวนา 64 ราย ในพ้นื ทีต่ ิดจํานองกับสถาบันการเงนิ
ตา งๆ รวม 254 ไร เปน โฉนดทด่ี นิ ทจี่ าํ นองไวก บั ธ.ก.ส. 91 ไร จาํ นองไวก บั สหกรณก ารเกษตร
105 ไร จาํ นองไวก บั ธนาคารพาณชิ ย 48 ไร และจาํ นองไวก บั แหลง เงนิ กนู อกระบบ 10 ไร

ชาวนาในพื้นท่ีมีหน้ีสินเฉล่ีย 314,863 บาท ตอครอบครัว ยอดรวมหนี้สิน
ของชาวนาทงั้ 64 ราย จากทกุ แหลง เงนิ กแู ละสถาบนั การเงินมีทง้ั สน้ิ 20.1 ลา นบาท
โดยแบงเปนเงินตน 15.2 ลานบาท และดอกเบ้ียรวม 4.9 ลานบาท หรือดอกเบ้ีย
คดิ เปน 1 ใน 3 ของเงนิ ตน ท้งั หมด

“หนี้ชาวนา เดมิ พันการสูญเสยี ท่ดี ิน”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 107

ความหวงั จากกองทุนฟน ฟแู ละพฒั นาเกษตรกร

กองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร (กฟก.) กอตั้งข้ึนมาดวยวัตถุประสงค
4 ประการ คอื 1.สง เสรมิ และสนบั สนนุ การรวมกลมุ ของเกษตรกร ในการพฒั นาคณุ ภาพ
ชีวิตและการแกไขปญหาของเกษตรกร 2.สงเสริมและสนับสนุนการฟนฟูและพัฒนา
อาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกร 3.พัฒนาความรูในดานเกษตรกรรมหรือกิจกรรมที่
เกยี่ วเนอื่ งกบั เกษตรกรรม เพอ่ื สรา งความเขม แขง็ ใหแ กอ งคก รเกษตรกร และ 4.พฒั นา
ศกั ยภาพในการพึ่งพาตนเองและเกอื้ กูลซง่ึ กันและกันระหวา งเกษตรกร

ขอ มลู จากกองทนุ ฟน ฟฯู จงั หวดั ชยั นาทพบวา มอี งคก รเกษตรกรขนึ้ ทะเบยี น
กับกองทุนฟนฟูฯ 250 องคกร ในจํานวนนี้มีองคกรเกษตรกรที่กองทุนฯ ยังติดตาม
งานไดราว 50 องคกร และมีองคกรเกษตรกรที่มีกิจกรรมตอเน่ือง และประสานงาน
กบั กองทุนฟน ฟูฯ ตอ เนอ่ื งประมาณ 20 องคกร

ในจังหวัดชัยนาทมีชาวนาที่ไดรับการซื้อหนี้จากกองทุนฟนฟูฯ แลว
รอ ยละ 22 ชาวนาที่ไดร ับการซ้ือหน้แี ลว บางสวน รอยละ 16 ชาวนาทย่ี งั ไมไ ดร ับ
การซื้อหนี้แตไดรับสิทธิ์แลวรอยละ 26 และชาวนาที่ยังไมไดรับสิทธิ์การซ้อหน้ี
อีกรอยละ 36 โดยในจํานวนผูไดรับการซื้อหนี้แลว มีสมาชิกของกลุมสงเสริม
การเกษตรครบวงจร จาํ นวน 78 ราย หรือ 218 สัญญาเงินกู

“หนีช้ าวนา เดมิ พันการสญู เสยี ทด่ี ิน”

บทสรปุ วิถกี ารทาํ นา กับการสูญเสยี ทดี่ ิน

กรณีศกึ ษาชาวนาในพนื้ ทีอ่ ําเภอสรรคบรุ ี จงั หวัดชยั นาท ชใ้ี หเหน็ วา ชาวนา
ปจ จบุ นั สว นใหญเ ปน ผสู งู อายเุ นอ่ื งจากมอี ายเุ ฉลย่ี ถงึ 57 ป อยา งไรกต็ ามแมจ ะสงู อายุ
ชาวนากลุมนี้ยังคงยึดอาชีพทํานาและทําการเกษตรเปนอาชีพหลัก มีชาวนาในพ้ืนท่ี
ถึงรอยละ 86 ยงั คงประกอบอาชพี เกษตรกรรมอยางตอเนอ่ื ง

วิถีการทํานาของชาวนาในยุคสมัยปจจุบัน แมเปลี่ยนมาทํานาปละ 2 คร้ัง
เปลี่ยนระบบการทํานามาเปนนาหวานเพื่อใหไดผลผลิตขาวมากข้ึน ใชแรงงานรับจาง
และเครอ่ื งจกั รในการชว ยทาํ นา แตเ มอื่ หกั คา ใชจ า ยจากตน ทนุ การทาํ นาและการบรโิ ภค
ในครัวเรือน พบวาชาวนามีรายไดไมเพียงพอ มีรายไดสุทธิติดลบ และมีภาระหนี้สิน
ทกุ ครัวเรือน โดยในพ้ืนทศ่ี กึ ษาชาวนามีหนีส้ ินเฉลยี่ ถึงครัวเรือนละ 314,863 บาท

“หนช้ี าวนา เดิมพนั การสญู เสยี ทดี่ ิน” 109

การขาดแคลนท่ีดินทํากิน เปนปญหาใหญอันดับตนของชาวนาในพ้ืนท่ี
เน่ืองจากชาวนามีทด่ี ินถอื ครองเฉลยี่ เพยี ง 6 ไร ตอครอบครัว และมชี าวนาถงึ รอยละ
45 ตองเชาท่ีดนิ ทาํ กินเพ่ิม โดยเชา เฉลี่ย 16 ไร ตอ ครอบครวั และเชา มาแลว เปน เวลา
ยาวนานถงึ 20 ป

ปญ หาความไมม ่ันคงในทีท่ าํ กนิ ทาํ ใหชาวนามีตนทุนการผลติ สงู โดยตน ทุน
คาเชานาคิดเปนรอ ยละ 23 ของตน ทนุ การผลิตทง้ั หมด สวนตน ทุนคา ปยุ เคมี คิดเปน
สดั สวนรอ ยละ 27 เมอ่ื รวมตนทุนคา เชา นาและคา ปุยเคมีเขาดวยกัน เฉพาะสองปจ จยั
การผลิตหลกั นี้ คิดเปนสัดสว นถงึ รอยละ 50 ของตน ทนุ การผลิตทั้งหมด

การพึ่งตนเองดานอาหารของชาวนา พบวามชี าวนาเพยี งรอ ยละ 11 เทา นั้น
ทยี่ งั คงเกบ็ ขา วไวบ รโิ ภคเองตลอดป สว นชาวนาอกี รอ ยละ 89 ตอ งซอ้ื ขา วกนิ ในปรมิ าณ
ปานกลางถงึ มาก ทง้ั นเี้ พราะวถิ กี ารทาํ นาเปลยี่ นแปลงไป ชาวนาไมส ะดวกทจ่ี ะเกบ็ ขา ว
ไวก นิ เอง เนอ่ื งจากพนั ธขุ า วและการใชร ถเกยี่ วขา วทเ่ี ปน อยปู จ จบุ นั ทาํ ใหข า วมคี วามชน้ื
สงู และตอ งใชลานตากขา วใหแหงซ่งึ ชาวนาไมม ี กอปรกับเหตผุ ลอื่นๆ เชน การเรง รีบ
นําเงนิ ไปชาํ ระหนี้ ทาํ ใหชาวนาไมเ ก็บขา วทป่ี ลูกไวบริโภคอกี ตอ ไป

การทํานาท่ีเปลี่ยนไปสูระบบที่ตองการผลผลิตมาก ใชปจจัยการผลิตจาก
ภายนอกและการจางแรงงานในทุกข้ันตอน ทําใหชาวนามีตนทุนการผลิตสูงและ
ไมสามารถพ่ึงตนเองได เมื่อชาวนามีรายไดไมสมดุลกับรายจาย ประสบปญหาหน้ีสิน
และมแี นวโนม ไมส ามารถชาํ ระหนส้ี นิ คนื ได ทางออกสดุ ทา ยทชี่ าวนาเลอื ก คอื การขาย
ทดี่ ินที่ตนเองและครอบครวั มีอยนู ั่นเอง

“หนชี้ าวนา เดมิ พันการสญู เสียที่ดนิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 111

ความหวงั
ของการปลดเปลี้องหนสี้ นิ

กรณีศกึ ษาชาวนาอาํ เภอหันคา
จงั หวัดชยั นาท

เมธี สงิ หส ูถาํ้

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ทีด่ นิ ”

บทนาํ

บทความชน้ิ นเี้ ปน สว นหนงึ่ ของรายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณเ รอ่ื งภาวะหนสี้ นิ กบั
การสญู เสยี ทดี่ นิ ของเกษตรกร กรณศี กึ ษากลุมองคกรเกษตรกรบา นคลองใหญ อําเภอ
หันคา จังหวัดชัยนาท งานวิจัยมีเปาหมายหลักเพื่อรวบรวมขอมูลปญหาหนี้สินท่ี
เชื่อมโยงกับการสูญเสียท่ีดินของเกษตรกร และเพื่อเผยแพรสถานการณการสูญเสีย
ท่ดี นิ ของเกษตรกรรายยอยสสู าธารณะ

กลุมองคกรเกษตรกรบานคลองใหญ เปนองคกรสมาชิกของสภาเครือขาย
องคกรเกษตรกรแหงประเทศไทย (สค.ปท.) ปจจุบันมีสมาชิก 400 ราย งานศึกษา
ชิ้นนี้เก็บขอมูลกรณตี วั อยา งจากสมาชกิ จาํ นวน 100 ราย

จังหวัดชัยนาทเปนจังหวัดหน่ึงในเขตภาคกลางตอนบน ตัวเมืองเดิมตั้ง
อยทู างฝงขวาของลํานาํ้ เจาพระยา ทปี่ ากคลองแพรกศรรี าชาใตปากน้ําเกา ตอมาไดมี
การยา ยตวั เมอื งจากทเี่ ดมิ มาตง้ั ยงั บรเิ วณฝง ซา ยของลาํ นาํ้ เจา พระยาในชว งสมยั รชั กาล
ท่ี 5 ตัวเมืองชัยนาทในปจจุบันอยูหางจากกรุงเทพฯ 195 กิโลเมตร มีการแบงเขต
การปกครองเปน 8 อําเภอ คือ อําเภอเมืองชัยนาท อําเภอมโนรมย อําเภอวัดสิงห
อําเภอสรรพยา อําเภอสรรคบรุ ี อําเภอหันคา อาํ เภอเนนิ ขาม และอําเภอหนองมะโมง

“หน้ชี าวนา เดมิ พันการสูญเสยี ท่ีดนิ ” 113

ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดชัยนาทโดยทั่วไปเปนที่ราบลุมเกือบท้ังหมด
หรอื คิดเปนรอ ยละ 99 ของพื้นท่ี มแี มนา้ํ สําคัญ 3 สายไหลผาน คือแมนํา้ เจา พระยา
แมนํ้าทาจีนหรือแมนํ้ามะขามเฒา และแมน้ํานอย ทั้งน้ีมีการสรางเข่ือนขนาดใหญ
กั้นแมน ํ้าเจา พระยา คือเขื่อนชัยนาทหรอื เขื่อนเจา พระยา

จังหวัดชัยนาทมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 2,469 ตารางกิโลเมตร หรือราว
1,590,643 ไร แบงเปน พืน้ ท่อี ยอู าศยั 92,968 ไร ท่ีสาธารณะ 42,028 ไร และพนื้ ท่ี
อนื่ ๆ 189,466 ไร สว นพนื้ ทกี่ ารเกษตรมที งั้ หมด 1,266,170 ไร หรอื คดิ เปน รอ ยละ 80
ของพน้ื ทีจ่ งั หวดั

พ้ืนท่ีเกษตรสวนใหญถูกใชประโยชนสําหรับการทํานาและปลูกพืชไร เชน
ออย มันสําปะหลัง และขาวโพดเล้ียงสัตว นอกเหนือจากน้ีจะใชประโยชนสําหรับ
การทําสวน ปลูกผักและไมดอกไมประดับ โดยอาศัยแหลงนํ้าจากธรรมชาติ และ
แหลงนา้ํ ชลประทานซึ่งครอบคลมุ พ้นื ท่ถี ึง 777,991 ไร หรอื ประมาณรอยละ 62 ของ
พ้นื ทีเ่ กษตร

ในพื้นที่การเกษตรท้ังหมด 1,266,170 ไร จําแนกตามลักษณะการใช
ประโยชน เปน พื้นทีป่ ลูกขา ว จาํ นวน 891,945 ไร พืชไร จาํ นวน 294,691 ไร ไมผล
38,299 ไร ไมดอกไมป ระดับ 1,057 ไร และพืชผกั จาํ นวน 4,525 ไร

ชาวนาจงั หวดั ชัยนาทสวนใหญท าํ นาปล ะ 2 ครง้ั มีตนทุนสําหรบั การทํานา
ประมาณ 4,500-5,000 บาทตอ ไร ในรายทมี่ กี ารเชา ทดี่ นิ ทาํ นา เจา ของนาจะคดิ คา เชา
ทดี่ นิ ไรล ะ 15-20 ถงั (ขา วเปลอื ก) หรอื ประมาณ 1,950 – 2,600 บาทตอ ไร1 ราคาขา ว
ทข่ี ายได ณ เดอื นมีนาคม พ.ศ.25572 เฉลย่ี อยทู ่ี 13,000 บาทตอ ตัน

1 คาํ นวณจากนํ้าหนกั ขา วเปลือก 1 ถงั = 10 กโิ ลกรัม X ราคาขาวเปลอื ก ณ เดอื นมีนาคม 2557
กโิ ลกรมั ละ 13 บาท
2 เวที Focus Group

“หนี้ชาวนา เดิมพนั การสูญเสยี ทด่ี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 115

สบื สานอาชีพเกษตรกรรม

ชาวนา “กลุมองคกรเกษตรกรบานคลองใหญ” มีอายุเฉลี่ย 57 ป อาชีพ
หลกั การทาํ นาไดร บั การสบื ทอดมาจากรนุ พอ แม แมจ ะเปลย่ี นไปปลกู พชื ไรช นดิ อนื่ บา ง
เชน ออ ย มนั สําปะหลัง แตอ าชีพหลักยงั คงเปนอาชพี เกษตรกรรม

เมื่อแยกประเภทของอาชีพหลัก พบวารอยละ 50 ทํานาเปนอาชีพหลัก
รอยละ 30 ทําการเกษตรอื่นท่ีไมใชการทํานา ท่ีเหลืออีกรอยละ 20 มีอาชีพรับจาง
แมบ า น และรบั ราชการ

แมอาชีพการทํานาจะลดลงจากรุนพอแม จากเคยทํานาเปนอาชีพหลัก
รอยละ 70 มาเหลือรอ ยละ 50 ในรุนลูกก็ตาม แตผทู ีป่ รบั เปล่ียนไปทาํ การเกษตร
อยางอื่น ยังคงกันพ้ืนที่บางสวนไวสําหรับการทํานา ปลูกขาวไวบริโภคเองใน
ครัวเรือน

“หน้ีชาวนา เดิมพันการสญู เสียทดี่ นิ ”

เศรษฐกิจของชาวนา

แมการสํารวจช้ีใหเห็นวา รายไดเฉลี่ยของเกษตรกรยังมาจากภาคเกษตร
ซึ่งมีสัดสวนท่ีสูงเกือบรอยละ 80 ของรายไดทั้งหมด แตความอยูรอดของเกษตรกร
ไมไดมาจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพียงอยางเดียว เกษตรกรรอยละ 70
ตองประกอบอาชีพเสริม เพ่ือใหมีรายไดสมดุลกับรายจายของครอบครัว อาชีพเสริม
ของชาวนา ไดแ ก การรบั จางในแปลงเกษตรคนอื่น การเปนแรงงานรบั จางในโรงงาน
และคา ขาย

ชาวนามีรายไดเฉล่ียตอครอบครัว 210,139 บาทตอป หรือประมาณ
17,511 บาทตอเดือน มีแหลงที่มาของรายได 4 แหลง คือรายไดจากภาคเกษตร
รายไดจากการรับจาง รายไดที่ลูกหลานสงมาให และเงินชวยเหลือสงเคราะห
ของรัฐ โดยรายไดจากภาคเกษตรมสี ดั สวนรอยละ 77 ของรายไดท ้งั หมด

ชาวนามีคาใชจายในครอบครัวเฉล่ีย 123,309 บาทตอป เมื่อนําคาใชจาย
ตนทุนการผลิตเฉลี่ย 110,396 บาทตอป มารวมดวย จะทําใหครอบครัวชาวนามี
รายจา ยเฉลี่ย 233,706 บาทตอ ป

คาใชจายในครอบครัวประกอบดวย คาเลาเรียนบุตร คารักษาพยาบาล
คาเครื่องอุปโภคบริโภค คานํ้าประปา/คาไฟฟา คาภาษีสังคม และคาอาหารของ
ครอบครวั ซ่ึงมีสดั สวนรอยละ 42 ของคาใชจ ายท้งั หมด

เมอื่ นาํ ตวั เลขรายไดเ ฉลยี่ 210,139 บาทตอ ป หกั ดว ยคา ใชจ า ย 233,706
บาทตอ ป พบวาชาวนามีรายไดส ทุ ธติ ดิ ลบ 23,567 บาทตอ ป

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ทีด่ ิน” 117

ทาํ นาตามกระแส ตน ทนุ การผลติ สงู

ชาวนาในพน้ื ทมี่ ตี น ทนุ การทาํ นาเฉลย่ี ครอบครวั ละ 149,648 บาทตอ ป หรอื
74,824 บาท ตอ รอบการผลติ และมีตนทุนการทํานาหนึ่งไรเ ทา กับ 5,174 บาท

ตน ทุนการทํานาตอ 1 ไร ฤดกู ารผลติ ป 2556/2557

ลําดบั ที่ ประเภทของตนทุน คา ใชจ าย คดิ เปน
ตอ 1 ไร (บาท) รอยละ

1 คา เชา ท่ีดนิ 2,101 40.6
2 คา ปุย 769 14.8
3 คา สารกําจัดศัตรูพืช 322 6.2
4 คาเมล็ดพนั ธุ 484 9.3
5 คาจางไถดะ (ไถครัง้ แรก) 241 4.6
6 คาจางไถพรวน (ไถครั้งท่ี 2) 205 3.9
7 คาจางฉดี พน ยา 139 2.7
8 คา จางหวาน/คาจา งปลกู 72 1.4
9 คาจา งใสป ุย 93 1.8
10 คาจา งตัดขาวดดี 123 2.3
11 คา จา งรถเก่ียวขา ว 401 7.7
12 คา ขนผลผลติ ไปขาย 117 2.2
13 อ่ืน ๆ 107
2
รวม 5,174
100

“หนีช้ าวนา เดมิ พนั การสูญเสยี ที่ดนิ ”

ตนทุนการทํานาท่ีมีสัดสวนสูงสุดคือคาเชาที่ดิน มีสัดสวนสูงถึงรอยละ
40.6 ของตนทุนการผลิตทั้งหมด รองลงมาเปนคาปุยและคาสารกําจัดศัตรูพืช
คดิ เปน สดั สว นรอ ยละ 21 คา จา งเทคโนโลยเี ครอื งจกั ร รอ ยละ 16.2 คา จา งแรงงาน
รอยละ 10.4 คา เมล็ดพนั ธรุ อ ยละ 9.3 และสุดทายคาใชจ า ยอ่นื ๆ จําพวกคานาํ้ มันรถ
คาอาหารเลี้ยงคนงาน มีสดั สว นรอยละ 2

ปริมาณผลผลิตขาวท่ีได เฉล่ียอยทู ไ่ี รละ 725 กิโลกรมั ขาวท่ผี ลติ ไดทั้งหมด
จะถกู แบง เปน 2 สวน สว นที่หนงึ่ คอื ขา วท่แี บง ไวบ รโิ ภค มีชาวนาทเ่ี กบ็ ขาวไวบริโภค
ในครัวเรอื นทั้งหมด 35 ราย จากผปู ลูกขาวท้งั หมด 59 ราย โดยจะเกบ็ ขา วไวบ รโิ ภค
ครอบครัวละประมาณ 1.2 ตัน สวนท่ีสองคือสวนที่นําไปขาย ซึ่งราคาขาวท่ีขายได
ในชว งทมี่ โี ครงการรบั จาํ นาํ ขาว เฉลี่ยอยูท่ี 12,370 บาทตอตัน สว นขาวทข่ี ายในชว งท่ี
ไมม ีโครงการรับจํานํา จะอยทู ี่ประมาณ 6,000 – 7,000 บาทตอ ตัน

“หนีช้ าวนา เดิมพันการสูญเสยี ท่ดี ิน” 119

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

»¨˜ ¨ØºÑ¹ÁàÕ ¡ÉμáÃÃÍŒ ÂÅÐ 28
μŒÍ§àª‹Ò·´Õè Ô¹¤¹Í×è¹·íÒ¹Ò

»Å¡Ù ÍÍŒ  ËÃÍ× »ÅÙ¡ÁѹÊíÒ»ÐËÅѧ

การถือครองที่ดนิ ของชาวนา

ชาวนาในพน้ื ทีร่ อ ยละ 90 มที ี่ดินเปน ของตนเอง ทีเ่ หลืออกี รอ ยละ 10 เปน
กลุมคนท่ีไมมีท่ีดิน ชาวนาสวนใหญในชุมชนถือครองที่ดินครอบครัวละไมเกิน 10 ไร
การใชประโยชนท่ีดินแบงเปน 2 ลักษณะ คือที่ดินสําหรับอยูอาศัย และท่ีดินสําหรับ
ทําการเกษตร

ครอบครัวชาวนารอยละ 85 มีท่ีอยูอาศัยของตนเอง ท่ีเหลืออีกรอยละ 15
อาศยั อยูกับญาติ (พอ แม พ่ี นอง ลูก หลาน ) สว นที่ดนิ ทาํ การเกษตร พบวา ชาวนา
รอยละ 29 ไมม ที ท่ี ํากนิ และชาวนารอ ยละ 71 มีทท่ี าํ กนิ เปนของตนเอง ในกลุมหลงั นี้
มที ่ีดนิ ของตนเองเฉลีย่ 27 ไร ตอ ครอบครวั

จากขอมูลการสูญเสียท่ีดิน พบวามีชาวนาท่ีเคยขายหรือสูญเสียท่ีดินท้ังส้ิน
20 ราย คิดเปน รอยละ 30 ของกลุมตัวอยาง ที่ดินที่เคยถูกขายเฉล่ียครอบครัวละ
24 ไร รวมที่ดินท่ีถูกขายไปแลวประมาณ 492 ไร รอยละ 90 ในจํานวนนี้ คือพ้ืนท่ี
ทาํ นา เหตุผลของการขายทีด่ นิ สว นใหญ รอ ยละ 88 คอื เพอื่ ปลดหนี้

“หนช้ี าวนา เดิมพนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ” 121

ปจจุบันมีเกษตรกรรอยละ 28 ตองเชาท่ีดินคนอ่ืนทํานา ปลูกออย หรือ
ปลกู มนั สาํ ปะหลงั ขนาดพนื้ ทเ่ี ชา เฉลยี่ ครอบครวั ละ 22 ไร โดยสว นใหญเ ชา มาแลว
14 ป ผูที่เชาที่ดินยาวนานท่ีสุดคือ 43 ป โดยผูใหเชาที่ดินสวนใหญเปนนายทุน
ทีอ่ ยใู นพืน้ ท่ี มเี พียง 4 ราย เทาน้ันทีเ่ ปนนายทนุ จากตา งถิน่

หน้สี นิ และสถาบันเงินกู

การสาํ รวจขอ มลู แหลง เงนิ กขู องชาวนา พบวา มที ง้ั หมด 7 แหลง ไดแ ก ธนาคาร
เพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) กองทุนหมูบาน สหกรณการเกษตร
ธนาคารเอกชน เจาหน้ีนอกระบบ รานคาปุยและสารเคมีทางการเกษตร และญาติ/
เพ่ือนบา น

ชาวนามีหนี้สินเฉลี่ยตอครอบครัว 508,601 บาท โดยชาวนาทั้ง 100
ราย มหี นสี้ นิ รวมกนั 32,352,802 บาท มดี อกเบย้ี ทเี่ กดิ จากเงนิ กู 18,507,327 บาท
รวมเปน หนค้ี า งชําระ ทั้งส้ิน 50,860,130 บาท

โดยยอดเงนิ กสู งู สดุ อนั ดบั หนงึ่ คอื ธ.ก.ส. มยี อดเงนิ กู 14,127,678 บาท หรอื
รอ ยละ 43 ของยอดเงนิ กทู กุ แหลง รวมกนั อนั ดบั สองคอื ธนาคารพาณชิ ย มยี อดเงนิ ตน
รวม 11,144,015 บาท หรือรอยละ 34 อนั ดับสามคอื เจาหนนี้ อกระบบ ยอดเงนิ ตน
รวม 2,303,000 บาท คดิ เปน รอยละ 7 อันดบั สี่คอื กองทนุ หมบู า น มยี อดเงนิ ตนรวม
1,444,200 บาท อนั ดับหาคอื สหกรณก ารเกษตร มียอดเงนิ ตนรวม 1,349,800 บาท
อันดับหกคอื รานคา ปยุ และสารเคมี มียอดเงนิ ตนรวม 1,268,108 บาท และอนั ดับเจ็ด
อันดบั สดุ ทา ยคือญาตหิ รือเพอ่ื น มยี อดเงนิ ตนรวม 716,000 บาท

“หนช้ี าวนา เดมิ พนั การสูญเสยี ทด่ี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 123

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

การซ้อื หนี้จากกองทนุ ฟน ฟู

เน่ืองจากชาวนาในพ้ืนท่ีเปนสมาชิกของกองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร
เม่ือชาวนาประสบปญหาไมสามารถชําระหนี้คืน ถูกแหลงเงินกูปรับสถานะเปนหน้ี
ผิดนัดชาํ ระ หรอื หน้ี NPL มโี อกาสถกู ฟอ งรอ ง ดาํ เนนิ คดคี วาม และถกู ยดึ ทด่ี นิ ขาย
ทอดตลาด ชาวนาสามารถทาํ เรอื่ งรองเรยี นไปยงั กองทนุ ฟนฟูฯ เพือ่ ใหชวยซื้อหนจ้ี าก
สถาบนั เงนิ กู และโอนมาเปน หนข้ี องกองทนุ ฟน ฟฯู เพอื่ ใหเ กษตรกรผอ นชาํ ระกบั กองทนุ
ฟน ฟูฯ แทนในอตั ราดอกเบ้ยี รอยละ 1 ได

ปจจุบันมีชาวนารอยละ 27 ไดรับการชวยเหลือดวยการซื้อหน้ีจากกองทุน
ฟน ฟูฯแลว ชาวนารอ ยละ 20 ไดรบั การซ้ือหนี้แลว บางสวน ชาวนารอยละ 10 ไดร บั
สิทธ์ิแลว อยรู ะหวางรอการซอ้ื หนี้ และชาวนารอ ยละ 43 ยงั ไมไดร ับสิทธ์ใิ นการซ้อื หน้ี

การรวมกลมุ เพ่อื หาทางออกรว มกัน

”กลมุ องคกรเกษตรกรบา นคลองใหญ” รวมตวั กนั ครงั้ แรกใน ป พ.ศ. 2542
เปนองคกรที่เคลื่อนไหวเรียกรองใหมีการแกไขปญหาของเกษตรกร โดยเฉพาะปญหา
หน้ีสิน อันเน่ืองมาจากความลม เหลวในการทาํ การเกษตร โดยการสงเสรมิ ของรฐั

ในระยะแรกน้ัน กลุมใหความสําคัญกับการสรางเครือขายรวมกับเกษตรกร
ในจังหวัดอื่นที่ประสบปญหาคลายคลึงกัน เพ่ือเคล่ือนไหวเรียกรองใหมีการแกไข
ปญหาในระดับนโยบาย แตต อ มาเม่ือกลมุ มปี ระสบการณม ากขน้ึ นอกจากการทาํ งาน
ขับเคลื่อนในระดับนโยบาย กลุมยังผลักดันงานสรางรูปธรรมในพ้ืนท่ีเพิ่มมากขึ้นดวย
เพอื่ ใหส มาชกิ สามารถพ่งึ ตนเองได เชน การลดการใชส ารเคมใี นแปลงเกษตร การเพ่มิ
การใชปยุ อินทรยี ในแปลงนา เปนตน

“หนชี้ าวนา เดมิ พันการสูญเสยี ที่ดนิ ” 125

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 127

μŒÍ§·íÒãËŒÊÁÒª¡Ô àË¹ç ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÞÑ
áÅÐ»ÃºÑ à»ÅÕè¹û٠Ẻ¡ÒüÅμÔ

ä»Ê¤Ù‹ ÇÒÁÂèѧ¹×

แตเนื่องดวยสมาชิกในกลุมยังคุนชินกับการทําเกษตรเชิงเด่ียวท่ีใชสารเคมี
ดังนั้นการปรับเปลี่ยนความคิด ความเขาใจของสมาชิก เพ่ือนําไปสูระบบเกษตรท่ี
เหมาะสมกับพนื้ ที่จงึ ทาํ แบบคอ ยเปนคอ ยไป

ขณะนี้กลุมไดพยายามนําระบบเกษตรอินทรียเขาไปทดลองปฏิบัติ โดยให
สมาชิกเรียนรูการทํางานเปน ทีม มีกจิ กรรมรวมกนั เชน การทํานํา้ หมักชวี ภาพ การทาํ
ปุยหมัก การทําปยุ อัดเม็ด การยอ ยสลายอนิ ทรยี วัตถุดวยเคร่อื งจักรขนาดเลก็

นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมกลุมออมทรัพย การจัดประชุมติดตามสถานการณ
ของสมาชิกทุกเดือน และจัดใหสมาชิกไดมีโอกาสศึกษาดูงานนอกพ้ืนที่ เพ่ือนํา
ประสบการณม าประยกุ ตใชในกลุม

กลุมองคกรเกษตรกรบานคลองใหญ จึงทํางานโดยมีเปาหมายสองประการ
ประการแรกคือแกไขปญหาหนี้สินของสมาชกิ และประการที่สองคอื ทาํ ใหสมาชกิ เห็น
ความสาํ คัญและปรบั เปลย่ี นรูปแบบการผลติ ไปสคู วามยัง่ ยืน

ทผี่ า นมาแมป ญ หาการผลติ และปญ หาเศรษฐกจิ ทร่ี ายไดไ มส มดลุ กบั รายจา ย
จะทาํ ใหช าวนากลมุ นป้ี ระสบปญ หาหนส้ี นิ และอยใู นภาวะสมุ เสยี่ งตอ การสญู เสยี ทดี่ นิ
แตการรวมกลุมกันเพื่อแกไขปญหาและเรียนรูท่ีจะปรับวิถีการทํานา ไมเดินตาม
การผลิตกระแสหลักที่เปนอยู แนวโนมในวันขางหนา ชาวนากลุมนี้อาจจะมีฐานะ
ทางเศรษฐกจิ ดขี ้ึนไดต ามลาํ ดับ

“หนี้ชาวนา เดมิ พันการสูญเสยี ท่ดี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 129

สวนทส่ี าม
การถอื ครองและการแยงยึด

ทด่ี ินในสังคมไทย

“หนชี้ าวนา เดิมพนั การสญู เสยี ท่ดี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 131

ประวัตศิ าสตรก ารสญู เสียท่ีดิน
ของเกษตรกร

ปยาพร อรณุ พงษ

“หนชี้ าวนา เดิมพันการสญู เสยี ทด่ี นิ ”

การสูญเสียที่ดิน เปนปรากฏการณสวนหน่ึงของประวัติศาสตรสังคม
เกษตรกรรมไทย เปน ปญ หาการสญู เสยี ทรพั ยากรทจ่ี าํ เปน ตอ การดาํ รงชวี ติ ของเกษตรกร
จากการถูกคนในชุมชนและนอกชุมชนเขามาแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งดิน น้ํา
ปา จนเกิดเปนปญหาท่ีซับซอนมากข้ึน ปญหาการสูญเสียที่ดินยังสัมพันธกับปญหา
ความยากจน เน่ืองจากที่ดินถือเปนทุนของชีวิตเกษตรกร เมื่อคนจนไมมีที่ดินทํากิน
จงึ สง ผลใหเกดิ ปญ หาตา งๆ ติดตามมา ทั้งดา นเศรษฐกจิ และสังคม เชน ปญหาหนีส้ นิ
ท่ีเกิดจากการทําเกษตรกรรม ปญหาความไมมั่นคงในชีวิต และการอพยพจากชนบท
เขาสูเมอื ง

ระบบการจดั การท่ีดนิ ในโครงสรา งสงั คมไทย

ในอดีตเม่ือคร้ังท่ีระบบกรรมสิทธิ์ยังไมถูกนํามาใช วิถีการผลิตสวนใหญเปน
ไปเพอื่ การยงั ชพี การจดั การทด่ี นิ ยงั อยบู นพน้ื ฐานของความสมั พนั ธใ นระบบเครอื ญาติ
และแบบแผนทางจารีตประเพณีเปนหลัก ความสัมพันธในลักษณะดังกลาวทําให
การขยายการใชป ระโยชนท ดี่ นิ ขน้ึ อยกู บั ความสามารถทาํ กนิ ของแตล ะกลมุ ตระกลู เปน
สาํ คญั สว นการถอื ครองทดี่ นิ ยงั อยภู ายใตห ลกั “สทิ ธกิ ารใช” ไมใ ช “สทิ ธกิ ารถอื ครอง”

“หนช้ี าวนา เดมิ พันการสญู เสียท่ีดิน” 133

¾¹×é ·ãèÕ ¹ª¹º·¶Ù¡à¨ÒŒ ·´èÕ Ô¹
¤Ãͺ§íÒáÅТ´Ù ÃÕ´ áÅоé×¹·Õèã¹àÁ×ͧËÃÍ×
¾¹é× ·èÕÍμØ ÊÒË¡ÃÃÁ¶Ù¡¹Ò·عÂÖ´¤Ãͧ

แตเม่ือกา วเขา สยู คุ ทุนนยิ ม ‘การถือครองท่ดี นิ ’ ไดก ลายมามีความหมาย
และมีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม ในฐานะท่ี “ที่ดิน” คือทรัพยากรที่
สําคัญยิ่งเพ่ือตอบสนองระบบทุนนิยม ท้ังระบบเกษตรและอุตสาหกรรม เชน การ
เพาะปลกู พืชเศรษฐกิจ การพฒั นาอตุ สาหกรรมหรือบรกิ าร (ทตี่ ้งั โรงงานอุตสาหกรรม
สถานประกอบการทางการคา โรงแรมและรสี อรท )

“การวิเคราะหลกั ษณะชนชัน้ ในประเทศไทย”1 ของ พฒั นา รัมยะสุต ท่ี
วเิ คราะหส ภาพสงั คมไทย ในป พ.ศ. 2500 วา เปน “สงั คมกงึ่ ศกั ดนิ า กง่ึ นายทนุ ” สรปุ
โดยเบื้องตนไดวา สังคมไทยน้ันมีลักษณะท่ีเผชิญปญหาท่ีสําคัญอยูสองดาน น่ันก็คือ
พื้นที่ในชนบทถูกเจาท่ีดินครอบงําและขูดรีด และพ้ืนที่ในเมืองหรือพ้ืนที่อุตสาหกรรม
ถูกนายทุนยดึ ครอง

งานวิจัยของกนกศักด์ิ แกวเทพ (2529) วิเคราะหและสังเคราะหใหเห็นถึง
พลวัตการตอสูเพ่ือที่ดินทํากินของชาวนาชาวไร ซึ่งเปนผูผลิตอาหารเล้ียงสังคมจนได
สมญานามวา “กระดกู สนั หลังของชาต”ิ

1 เปนหนังสือตองหาม สมัยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต กระทํารัฐประหาร เม่ือเดือนตุลาคม 2501
ใชอํานาจเผด็จการโดยเบ็ดเสร็จ กวาดลางจับกุมนักเขียน, นักหนังสือพิมพเขาคุกเปนจํานวนมาก
ปด หนงั สอื พมิ พ ประกาศรายชอ่ื เชน “แม” แปลโดย ศรบี รู พา “นติ ศิ าสตร 2500” ทต่ี พี มิ พง านอยา ง
“โฉมหนา ศกั ดนิ าไทย” ของสมสมยั ศรศี ทู รพรรณ (จติ ร ภมู ศิ กั ด)์ิ “การวเิ คราะหล กั ษณะทางชนชนั้
ในประเทศไทย” ของ พัฒนา รัมยะสตุ “โฉมหนาจกั รพรรดนิ ิยม” ของ มณี ศทู รวรรณ

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสูญเสยี ทดี่ นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 135

“หนา ทขี่ องชาวนาชาวไร คอื ตงั้ ใจทาํ มาหากนิ การเมอื งเปน เรอื่ งสกปรกทไ่ี ม
ควรเขา ไปยงุ เกยี่ ว การปรบั ปรงุ ระบบบรหิ ารราชการแผน ดนิ ในสมยั รชั กาลที่ 5 เปน ไป
เพ่ือกระชับอํานาจการปกครองมารวมไวท่ีศูนยกลาง เปนความพยายามปรับตัวของ
สถาบันกษัตริยเพื่อรองรับการขยายตัวของทุนนิยมโลกในขณะน้ัน ในดานเศรษฐกิจ
ชนชั้นสูงไดเขายึดครองที่ดินสวนใหญที่เหมาะกับการเพาะปลูกไวเปนกรรมสิทธิ์ และ
ใชท ี่ดนิ เปน ปจจยั ที่สรางความมั่งคง่ั ”

ดงั คํากลา วของกรมหมน่ื นราธิปประพันธพงศ ท่ีวา “....กิจกรรมทเ่ี หมาะ
ทีส่ ดุ สําหรับขนุ นางที่ตอ งการยดึ เปน อาชพี มาเลยี้ งชีวิตหรือเพ่อื ลงทนุ น้ัน ยากทจี่ ะ
หาอะไรดีไปกวากิจการดา นที่ดิน และผลประโยชนจากทดี่ นิ นั้นจะหาอะไรดีไปกวา
การใหเ ชา ท่ดี นิ แกชาวนาเปน ไมม .ี ...”

“หนช้ี าวนา เดิมพนั การสูญเสยี ทด่ี ิน”

การสูญเสียที่ดินของเกษตรกรยุคอดตี

การจับจองท่ีดนิ ในสมยั อยุธยายงั ไมค อยมีระเบยี บมากนกั กฎหมายในขณะ
นนั้ เพยี งใหผ จู บั จองบอกแกเ จา พนกั งานกอ นลงมอื แผว ถาง เพอื่ ออกหนงั สอื รบั รองสทิ ธ์ิ
ในที่ดินผืนน้ันให “ระบบกรรมสิทธิ์ท่ีดิน” ที่มีความสมบูรณ เพ่ิงเร่ิมตนขึ้นในสมัย
รัชกาลท่ี 5 ใน ป พ.ศ. 2444 ภายใต “ระบบโฉนดแผนที”่

กรณกี ารจดั สรรทด่ี นิ ในเขตคลองรงั สติ ในสมยั รชั กาลที่ 5 พบวา มกี ารจดั สรร
ท่ีดินใน 2 ลักษณะ คือ การจัดสรรที่ดินโดยรัฐ และการจัดสรรที่ดินขายโดยบริษัท
เอกชนขุดคลองแลคูนาสยาม โดยบริษัทขุดคลองไดรับสิทธ์ิจับจองท่ีดินริมฝงคลองฝง
ละ 40 เสน เพอ่ื ทีบ่ รษิ ทั จะไดจ ัดสรรทีด่ นิ นนั้ ขายใหแกราษฎรตอไป

การจัดสรรท่ีดินโดยรัฐในยุคอดีต ไดนําไปสูการสูญเสียที่ดินของเกษตรกร
เนื่องมาจากเหตุผลสําคัญ 3 ประการ ประการแรก การออกหนังสือสําคัญสําหรับ
ที่ดินคือ “ตราจอง” ซ่ึงรัฐบาลจะออกใหเฉพาะคราว ปละ 1 คร้ัง โดยขาหลวงจะ
ออกเดินประเมินนาเพื่อเรียกเก็บภาษี เมื่อการเก็บภาษีส้ินสุดลงก็หยุดออกตราจอง
การออกตราจองจึงทําไดไมทั่วถึง ราษฎรท่ีออกใบตราจองไมทันจึงทําไดเพียงขอ
“ใบเหยียบยํ่า” จากกํานัน ซึ่งมอี ายเุ พยี ง 1 ป หรือไมก ็ทาํ กนิ ในทด่ี ินโดยไมมเี อกสาร
การออกตราจองโดยรัฐบาลที่ทําไดไมท่ัวถึงเชนนี้ ทําใหราษฎรจํานวนไมนอยขาด
หลกั ฐานอางสิทธข์ิ องตนในทดี่ นิ และทาํ ใหสญู เสียที่ดนิ ในเวลาตอมา

ประการที่สอง พบวาการจัดสรรท่ีดินโดยรัฐกอนออกโฉนดที่ดิน ไมไดมี
การเก็บหลักฐานทะเบียนที่ดินไว โดยเมื่อขาหลวงออกตราจองไปแลวก็เปนอันแลว
กันไป ไมไดเก็บหลักฐานไวท่ีสวนกลาง เมื่อถึงคร้ังใหมในการออกสํารวจ รัฐบาลก็สง
ขาหลวงคนใหมออกไปทํางานจึงมีการออกตราจองซํ้ากับที่ดินเดิม อีกท้ังใบตราจองท่ี
ขา หลวงออกให กไ็ มม หี ลกั ฐานทส่ี ามารถตรวจสอบความถกู ตอ งและความนา เชอ่ื ถอื ได

“หน้ชี าวนา เดิมพันการสูญเสยี ท่ีดนิ ” 137

นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุประการสุดทายจากความไมซื่อสัตยของขาราชการ
ท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา เชน การฉอโกงในการทําตราจองปลอม การฉอโกงทําใหเกิด
ความสับสนในระบบกรรมสิทธ์ิโดยเฉพาะเขตคลองรังสิต เมื่อบริษัทขุดคลองแลวไดมี
ผปู ลอมตราจองจาํ นวนมาก ขณะเดยี วกนั การจดั สรรทดี่ นิ ขายของบรษิ ทั ขดุ คลองทาํ ให
ชาวนาตองกลายเปน “ผูเชา” โดยเฉพาะท่ีดินท่ีไมมีหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์แนชัด
และมีกรณีพิพาท บริษัทจะใชวิธีขายที่ดินใหแกผูมีอํานาจแทน ทําใหราษฎรท่ีใชท่ีดิน
อยูเดมิ ตองสูญเสยี ทด่ี ินและกลายเปน ผเู ชา ในท่ีสดุ 2

รัฐบาลในยุคอดีตไมมีมาตรการควบคุมการถือครองท่ีดินแตอยางใด
เนื่องจากรัฐไดประโยชนจากการเก็บภาษีที่ดิน ประเด็นสําคัญของความไมสนใจ
ในการควบคุมการถือครองที่ดิน ทําให “ไมมีการแยกผูจับจองท่ีดินขนาดใหญ
กับชาวนาออกจากกัน” ทงั้ ทส่ี ามารถแยกออกจากกันได เพราะในความเปนจรงิ แลว
ผูจับจองที่ดินขนาดใหญไมไดทํานาเอง จะมีบางก็สวนนอย แตสวนมากแลวจะเปน
การเอาท่ีดินไปใหชาวนาเชา

นอกจากนี้ ในสวนของชนช้ันสูง หรือผูมีฐานะดีมีกําลังทรัพยมาก สามารถ
กวา นซอื้ ทดี่ นิ ขนาดใหญไ ด ซงึ่ ไมไ ดม วี ตั ถปุ ระสงคจ ะใชป ระโยชนท ดี่ นิ หากแตเ พอื่ การ
เกง็ กาํ ไร หรอื ใหเ ชา ตอ ดงั ทกี่ รมหลวงราชบรุ ไี ดท รงวจิ ารณไ วว า เปน การ “เลน ซอ้ื เลน
ขาย” ซึ่งก็ประสบความสําเร็จอยางมาก ดังเชนวา “หากําไรไดคนละต้ังพันช่ังก็มี
จึงเล่ืองฤากันวา ผูที่มีนาในทุงหลวงบริเวณคลองรังสิตม่ังมีเปนเศรษฐีกันโดยมาก”3
โดยเฉพาะชวงเวลาท่ีการคา ขาวกําลังรงุ เรอื ง การเก็งกําไรทดี่ ินเกดิ ขึน้ อยา งมหาศาล

2 กองจดหมายเหตแุ หง ชาติ. เอกสาร ร.6 กษ. 5/10 เลม1แอปเปนดิกส บันทึกเร่ืองบริษัทขุดคลอง
แลคูนาสยาม.
3 กองจดหมายเหตุแหงชาติ. เอกสาร ร.6 กษ.1/6 เจาของนาคลองรังสิตรองทุกขเร่ืองคานาตอเจา
พระยาวงษานุประพทั ธ. วนั ท่ี 29 ตลุ าคม พ.ศ.2453.

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียทด่ี ิน”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 139

ระบบกรรมสิทธ์ิ จุดเร่ิมตน การสญู เสยี ทด่ี นิ

“การเปนเจาของท่ีดิน” หมายถึง การเปนเจาของกรรมสิทธ์ิที่ดินในทาง
กฎหมาย กรณีประเทศไทยการเปนเจาของกรรมสิทธิ์สวนบุคคลเหนือท่ีดินเปนเรื่อง
คอ นขางใหม ในชวงท่เี ร่มิ มีการยอมรบั กรรมสิทธท์ิ ด่ี ินน้ัน จํานวนทด่ี นิ มีมากในขณะที่
ประชากรมีนอย ชาวบานจึงสามารถเขาครอบครองท่ดี ินดวยการหักรา งถางปา เพ่ือทํา
กิน แตก ระนน้ั ก็ตองใชเ วลานานสําหรับการไดรับการยอมรบั วา เปน เจา ของทดี่ ินโดยมี
โฉนดทีด่ นิ เปน หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์

การเขา ไปจบั จองทาํ ประโยชน และอา งความเปน เจา ของในระบบกรรมสทิ ธิ์
นัน้ มหี ลายลกั ษณะ เชน 1) ใบเหยียบยาํ่ (ส.ค.1) ซึง่ เปนหลกั ฐานชั้นตน ทแี่ สดงวาที่ดนิ
นนั้ มผี จู บั จองใชท าํ ประโยชน ซง่ึ ทางการใชเ ปน หลกั ฐานในการเกบ็ ภาษี 2) ใบจอง เปน
หลักฐานชวั่ คราวแสดงสิทธิของผูท เ่ี ขา ไปจบั จองในขอบเขตจํากดั 3) ใบ น.ส. 3 หรือ
หนงั สือรบั รองการทําประโยชน เปน หลักฐานทส่ี ํานักงานทดี่ นิ ออกใหแ กผูครอบครอง
ทท่ี าํ ประโยชนบ นทดี่ นิ ผนื นนั้ แลว กวา รอ ยละ 75 และทดี่ นิ นไี้ ดร บั การรงั วดั สาํ รวจจาก
ทางอาํ เภอแลว ใบ น.ส. 3 นับเปน หลักฐานท่ีมีความมัน่ คงในกรรมสิทธิข์ องผถู ือครอง
มากกวา 2 ลักษณะแรก โดยสามารถเปลี่ยนมือและสบื ทอดใหก นั ได

จากการสํารวจสํามะโนเกษตรป พ.ศ. 2493 พบวาปญหาสําคัญของ
เกษตรกร คือปญหาการไรที่ดินทํากิน โดยเฉพาะในภาคกลางท่ีพบวา มีครัวเรือน
ผูเชาที่ดินถึงรอยละ 24.5 ของครัวเรือนเกษตรทั้งหมด โดยการสํารวจในชวง
หลังจากน้ัน แสดงใหเห็นแนวโนมที่สําคัญวาสัดสวนผูเชานาในภาคกลางเพ่ิมขึ้น
เชน ผลสํารวจการถอื ครองที่ดนิ ของชาวนาภาคกลาง 26 จังหวัด พ.ศ. 2510 – 2511
พบวาเปนชาวนาเชา และผูเชาบางสวนรอยละ 38.3 นอกจากนี้สถิติของกระทรวง
เกษตรฯ ในป พ.ศ.2519 พบวา เกษตรกรภาคกลางเปนผูเชานาและเชาบางสวน
คิดเปนรอ ยละ 41.51 หรอื 352,632 ครวั เรอื น

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ท่ดี ิน”

ปจจัยสนับสนุนใหภาคกลางมีสัดสวนผูเชานาสูงกวาภาคอื่น ลักษณะ
ท่ีดินในภาคกลางเปนท่ีราบลุมเหมาะแกการต้ังถิ่นฐานและทําการเกษตร ที่ดินใน
ภาคกลางจึงถูกจับจองโดยกลุมชนช้ันสูงขุนนางในอดีต อีกท้ังเมื่อมีความตองการ
ใชป ระโยชนท ดี่ ิน กลุมคนเหลา นีก้ ส็ ามารถหารายไดจากคา เชาที่ดินได

รวมทง้ั การขยายตวั ของเศรษฐกจิ ทนุ นยิ ม โดยเฉพาะชว งตน ของทศวรรษ
2500 เปนตนมา สงผลอยางมีนัยสําคัญ ทําใหเกษตรกรตองพ่ึงพาระบบตลาด
เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตเพ่ือยังชีพเปนการผลิตเพื่อ
ขายและสงออก

รวมถึงการเขาสูระบบเงินกูและสินเช่ือเพื่อการเกษตร การเผชิญความเสี่ยง
จากภยั ธรรมชาติและโรคระบาด ซ่ึงทาํ ใหผ ลผลติ ในแตละปไมมีความแนนอน เมื่อเกิด
ภาวะราคาผลผลิตตกต่ํา ทําใหไมสามารถนํารายไดจากการขายผลผลิตไปชําระหน้ีได
จนตองสูญเสียที่ดินท่ีจาํ นอง หรอื อาจถกู สถานการณอ น่ื บีบบงั คับใหจ าํ ตอ งขายทด่ี ิน

หลักฐานท่ีแสดงใหเห็นถึงการสูญเสียท่ีดิน ดูไดจากตัวเลขการสูญเสีย
กรรมสิทธ์ิท่ีดินเน่ืองจากการจํานอง สถิติการสูญเสียที่ดินชวงป พ.ศ. 2502 – 2509
พบวา มีการสญู เสียทด่ี ินจากการจํานองในภาคกลาง เฉล่ียปละ 15,000 – 28,000 ไร
โดยหากรวมจํานวนการสูญเสียท่ีดินเน่ืองจากการจํานองของภาคกลาง ต้ังแตป
พ.ศ. 2502 – 2518 จะมที ่ีดินทส่ี ญู เสียไปท้ังสน้ิ 260,000 ไร4่ อยางไรกต็ าม สถติ ิท่ี
พบน้ีเปนเพียงการสูญเสียที่ดินที่มีโฉนดเทานั้น ยังไมนับการสูญเสียท่ีดินทีมีเพียง
ใบรับรองกรรมสิทธิ์ท่ีดินอ่ืน (ใบ น.ส.3 ใบ ส.ค.1 ใบจอง) ซึ่งนาจะทําใหตัวเลขการ
สญู เสียทีด่ นิ มีสูงกวาน้ี

4 สํานักงานสถิตแิ หง ชาต.ิ สมุดสถิตปิ ระจาํ ป ปต า งๆ.
กรมพัฒนาท่ีดิน. สถิติการใชโฉนดท่ีดินเปนหลักประกันเงินกูและการสูญเสียท่ีดินเพ่ือการเกษตร
พ.ศ.2520

“หน้ชี าวนา เดมิ พันการสญู เสียท่ดี นิ ” 141

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 143

ภายใตห ลกั กรรมสทิ ธทิ์ ดี่ นิ ไดน าํ ไปสกู ารสญู เสยี ทด่ี นิ ของเกษตรกรรายยอ ย
ใน 2 เงอ่ื นไข ประการแรก คือความเขาใจตอ “หลักกรรมสิทธิ”์ ท่ีไมช ดั เจน กรรมสทิ ธ์ิ
ประเภท สค. สทก. แมวาโดยหลกั การจะหา มเปลยี่ นมือ ยกเวน การถา ยทอดเปน มรดก
แตก ารเขา ใจวา เอกสารสทิ ธด์ิ งั กลา วไมม นั่ คง อาจนาํ ไปสกู ารยกเลิกสิทธ์ิหรือรัฐอาจเอา
ทดี่ นิ กลบั คนื ไปไดน นั้ ทาํ ใหเ กษตรกรหลายรายตดั สนิ ใจขายหรอื เปลย่ี นมอื ใหแ กบ คุ คล
อนื่ ในท่ีสุด

ประการทส่ี อง การให “กรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ” แกป จ เจกบคุ คล ใหม อี าํ นาจเบด็ เสรจ็
ในการถอื ครองทดี่ นิ ดงั กลา ว เปน เงอ่ื นไขทงี่ า ยตอ การตดั สนิ ใจขายทดี่ นิ โดยเฉพาะเมอ่ื
ราคาที่ดินเพ่ิมสูงข้ึน หรือมีการขยายตัวของการใชท่ีดิน ทําใหความตองการท่ีดินเพ่ิม
สูงขึ้น ท้ังหมดน้ีไดกลายเปนปจจัยกระตุนที่สําคัญในการตัดสินใจซื้อขาย แลกเปล่ียน
ทด่ี นิ ในตลาด

การเปลยี่ น “วธิ คี ดิ ” และ “ความเขา ใจตอ หลกั กรรมสทิ ธ”์ิ จงึ ไมส อดคลอ ง
กับการจัดการท่ีดินตามหลักสิทธิและวัฒนธรรมประเพณีที่ชุมชนเคยปฏิบัติกันมา
การจดั การทดี่ นิ ในระบบใหมท แี่ ยกขาดระหวา งการถอื ครองกบั การใชป ระโยชนท ดี่ นิ
ออกจากกนั โดยผถู อื ครองมอี าํ นาจจดั การทด่ี นิ เดด็ ขาด ภายใตห ลกั กฎหมายทใี่ หก าร
รบั รอง วธิ คี ิดตอ ที่ดินในฐานะ “ทุนหรอื สินทรัพย” จึงเขา มาแทนท่วี ธิ ีคิดทเ่ี คยมอง
เหน็ ทด่ี ินเปนปจ จยั เพอื่ ใชประโยชนท างการผลิตอยา งในอดตี

ท่ีดินในปจจุบันจึงมีสถานภาพเปน “สินคา” “สินทรัพย” ในระบบกลไก
ตลาดทส่ี ามารถซอื้ ขาย แลกเปลยี่ น และสรา งหลกั ประกนั แกผ เู ปน เจา ของทดี่ นิ ได เชน
การนาํ ทด่ี นิ ไปเปน หลกั ทรพั ยค าํ้ ประกนั เงนิ กกู บั สถาบนั การเงนิ หรอื การเกง็ กาํ ไรราคา
ท่ดี นิ ใหเพ่ิมมลู คามากขึ้นตามความตอ งการของตลาด

“ระบบกรรมสิทธิ์ท่ีดนิ ” ไมไดน ําพาทดี่ ินไปสกู ารผูกโยงกบั ตลาดในฐานะ
“ทรพั ยส นิ ” เพยี งอยา งเดยี วเทา นน้ั แตย งั ไดน าํ ไปสู “วถิ กี ารผลติ ในระบบทนุ นยิ ม”
ที่เชื่อมรอ ยการใชป ระโยชนท ี่ดนิ ไวกบั การตอบสนองตลาด ในฐานะปจ จยั การผลิต
เพอื่ การขยายตวั ของพืชพาณิชยน ั่นเอง

“หนีช้ าวนา เดิมพันการสญู เสียท่ดี นิ ”

Ãкº¡ÃÃÁÊ·Ô ¸·Ôì Õ´è Ô¹äÁä‹ ´Œ¹íÒ¾Ò·èÕ´Ô¹
ä»ÊÙ‹¡Òü¡Ù ⧡ѺμÅÒ´ã¹°Ò¹Ð·Ã¾Ñ Âʏ Ô¹
à¾Õ§Í‹ҧà´ÂÕ Çà·‹Ò¹¹éÑ áμ‹ §Ñ ä´¹Œ Òí ¾Òà¡ÉμáÃ

ä»Ê‹ÇÙ Ô¶Õ¡ÒüÅμÔ ã¹Ãкº·¹Ø ¹ÔÂÁ

วถิ เี กษตรกร..ภายใตอ ุง มือเศรษฐกจิ ทนุ นิยม

ชว งเวลาหลงั การทาํ สนธสิ ญั ญาบาวรง่ิ ใน ป พ.ศ. 2398 นบั เปน ชว งทท่ี นุ นยิ ม
โลกไดแผอิทธิพลเขามาในสังคมไทยอยางเปนทางการ “โครงการพัฒนาการของรัฐ
สําหรับประเทศไทย”5 ซ่ึงมีทีมท่ีปรึกษาจากธนาคารโลกเขามาทําการศึกษาในชวง
ป พ.ศ. 2500-2501 ไดกลายมาเปนแนวทางสําหรับจัดทํา “แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1” (พ.ศ. 2504-2509) การริเรม่ิ แผนพฒั นาในครงั้ น้ันได
ทําใหประเทศไทยถูกผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของระบบทุนนิยมโลกอยางรวดเร็วย่ิงข้ึน
กลา วคอื ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาทม่ี งุ เนน การผลติ สว นเกนิ เพอื่ การสง ออก และนาํ รายได
มาพฒั นาภาคอตุ สาหกรรมเพ่ือทดแทนการนําเขา 6

สําหรับ “วิถีการผลิตภาคเกษตร” ไดนําไปสูการเปล่ียนแปลงที่สําคัญ
2 ประการ คือ ประการแรก วิถีการผลิตเปลี่ยนจาก “การผลิตเพ่ือยังชีพ” ไปเปน
“การผลิตเพ่ือขายและสงออก” พรอมกับการใชเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย ทีม
ท่ีปรึกษาธนาคารโลกแนะนําใหรัฐบาลไทยสงเสริมการปลูกพืชพาณิชย เชน ขาวโพด
มันสําปะหลัง และออยเพ่ิมขึ้น ขณะเดียวกันก็สรางเงื่อนไขใหเกษตรกรใชปจจัย
การผลิตสมัยใหม เชน เครอื่ งจกั รขนาดใหญ ปยุ เคมี และยาปราบศตั รูพชื

5 สาํ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ แหง ชาต.ิ 2503. โครงการพฒั นาการของรฐั สาํ หรบั ประเทศไทย
(คาํ แปล). รายงานของคณะสาํ รวจเศรษฐกจิ ของธนาคารระหวา งประเทศเพอื่ การบรู ณะและววิ ฒั นาการ.
กรงุ เทพฯ, .
6 K Griffin. 1974. The Political Economy of Agrarian Change. London. Macmillan.

“หนชี้ าวนา เดมิ พันการสญู เสียท่ดี ิน” 145

ประการทสี่ อง นกั ลงทนุ ตา งชาตทิ ม่ี สี ว นรว มในการกาํ หนดนโยบายภาคเกษตร
และอุตสาหกรรมการเกษตร ไดรับผลประโยชนจาก “มาตรการทางภาษี” และ
“นโยบายสินคาเกษตรราคาต่ํา” เพ่ือท่ีนักลงทุนจะไดกําไรมากข้ึนและสะสมทุน
มากขึ้น

อกี ท้ังยงั ไดป ระโยชนจ ากราคาอาหารที่ตํ่า ทําใหสามารถจา ยคา จา งแรงงาน
ในระดับตํ่าได นอกจากนี้การวางกติกา “ระบบเกษตรพันธะสัญญา” ที่บริษัทมักจะ
เสนอใหค วามชว ยเหลอื เกษตรกรในรปู แบบสนิ เชอื่ เมลด็ พนั ธุ ปยุ เคมี ยาฆา แมลง หรอื
เทคโนโลยีทางเกษตรตางๆ และรับประกันวาจะรับซื้อผลผลิตเหลาน้ัน แทท่ีจริงแลว
ปลายทางหรือผลตอบแทนท่ีเกษตรกรจะไดรับ ไดถูกกําหนดโดยบริษัทหรือตัวแทนท่ี
ใหส ินเชื่อไวแ ลวนน่ั เอง

เกษตรกรภาคกลางคอื บรบิ ททสี่ ะทอ นใหเ หน็ ถงึ การเปลย่ี นแปลงของภาค
เกษตร สูวิถีทุนนิยมไดอยางเดนชัดที่สุด พิจารณาจากสัดสวนการขอสินเชื่อจาก
สถาบนั การเงนิ ของภาคกลาง ซงึ่ มสี ดั สว นทส่ี งู ทสี่ ดุ เมอื่ เทยี บกบั ภาคอนื่ ๆ กลา วคอื
ในขณะทจี่ าํ นวนครวั เรอื นของเกษตรกรภาคกลางมรี าวรอ ยละ 20.3 ของครอบครวั
เกษตรกรทง้ั ประเทศ แตภ าคกลางมสี ดั สว นของการไดร บั สนิ เชอื่ จากสถาบนั การเงนิ
ถึงรอยละ 53.1 ของสนิ เชอื่ จากสถาบันการเงินทงั้ ประเทศ

กลา วไดว า กลมุ นายทนุ ใหญ โดยเฉพาะธรุ กจิ ธนาคารมบี ทบาทสาํ คญั ใน
การผนวกภาคเกษตรเขาเปนสว นหนงึ่ ของกระแสเศรษฐกิจและทุนนิยมโลก

“หน้ีชาวนา เดิมพนั การสญู เสียที่ดนิ ”

“หนี้ชาวนา เดมิ พนั การสญู เสยี ที่ดนิ ” 147

“หน้ชี าวนา เดมิ พนั การสญู เสียท่ดี นิ ”


Click to View FlipBook Version