The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562 โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jettanai_p, 2021-11-04 00:57:37

จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 5 สิงหาคม 2563

รายงานประจำปี 2562 โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการ

Keywords: จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น

“...ข้าพเจ้าได้ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏต่อเน่ืองมาเป็นเวลากว่า
30 ปีแลว้ ทำ� ให้รสู้ ึกมคี วามสุขและผกู พนั กบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏท้ังหลายอยา่ งมาก ไปทกุ ครง้ั ก็มีความสุข
อยากให้ทุกคนมีก�ำลังใจท่ีจะท�ำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏของเรา เป็นประโยชน์กับประชาชน
เป็นประโยชนต์ ่อภูมภิ าค และทอ้ งถ่ินจริง ๆ จัง ๆ ในเร่ืองการด�ำรงชวี ิต ในเรอื่ งความร้ทู ว่ั ไป และขอ้ สำ� คัญ
คอื ผลติ คนดี ผลติ คนดที เี่ หน็ ประโยชนแ์ กช่ าติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และสงั คม คดิ วา่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
เป็นสถาบันที่เป็นประโยชน์และเป็นกลไกทพี่ ัฒนาประเทศได้อย่างยง่ิ ถ้าหากตงั้ ใจ รว่ มกนั และคุยกนั มาก ๆ
จะเปน็ สถาบนั หลกั ทีพ่ ัฒนาประเทศและประชาชนไดอ้ ย่างมาก...”

พระราชด�ำรัส
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกรู
กิติสริ ิสมบรู ณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชิรเกล้าเจา้ อยู่หวั

9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ณ พระท่นี งั่ อมั พรสถาน



ค�ำนำ�

จุ ลสารบรกิ ารวชิ าการทอ้ งถน่ิ ฉบบั นี้ มงุ่ เพอื่ นำ� เสนอผลการดำ� เนนิ งานดา้ นการพฒั นา

ท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีที่เกี่ยวกับโครงการตามพระบรมราโชบาย
ดา้ นการพฒั นาทอ้ งถนิ่ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ
พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทที่ รงแนะนำ� ใหม้ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทำ� งานใหเ้ ขา้ เปา้ ในการยกระดบั
คณุ ภาพการศกึ ษาและพฒั นาทอ้ งถน่ิ ในทอ้ งทต่ี น โครงการตามแนวพระราชดำ� รฯิ และโครงการ
ดา้ นการบรกิ ารวชิ าการอน่ื ๆ ตามบรบิ ทของมหาวทิ ยาลยั ฯ ทเ่ี ปน็ ไปตามยทุ ธศาสตรด์ า้ นการ
พฒั นาทอ้ งถนิ่
จากเส้นทางการพฒั นามหาวิทยาลยั คคู่ วามร่วมมอื ชมุ ชนทอ้ งถ่ินและรูปธรรมผลงาน
ทงั้ ในสว่ นกลไกขบั เคลอื่ นองคก์ รและผลการสรา้ งคน สรา้ งงาน สรา้ งเครอื ขา่ ย สาระหลกั เปน็
การถา่ ยทอดประสบการณจ์ ากการเรยี นรแู้ ละการทำ� งานในแนวทางทเี่ ชอื่ มกบั ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ของ
มหาวทิ ยาลยั ทมี่ มี าอยา่ งยาวนาน โดยหวงั วา่ ภาพการทำ� งานของมหาวทิ ยาลยั คคู่ วามรว่ มมอื
ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ จากจลุ สารเลม่ น้ี จะนำ� ไปสกู่ ารสานตอ่ การทำ� งานและประสบการณค์ วามสำ� เรจ็ ที่
มรี ปู ธรรมเพมิ่ ใหเ้ ปน็ กลไกเชงิ ระบบพฒั นาตอ่ เนอ่ื ง
ขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นและทกุ ภาคสว่ นทมี่ สี ว่ นสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ จลุ สารฉบบั นี้ โดยเฉพาะ
คณาจารยจ์ ากคณะตา่ ง ๆ ทร่ี บั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งานโครงการบรกิ ารวชิ าการ และองคก์ ร
สนับสนุนในพ้ืนท่ี ซ่ึงมิใช่เพียงให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ แต่เป็นเพื่อนร่วมเดินทาง
เสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เขม้ แขง็ อยา่ งแทจ้ รงิ หวงั วา่ จลุ สารฉบบั นจ้ี ะเปน็ สว่ นหนง่ึ ใน
การจดุ ประกายใหเ้ กดิ การเกาะเกยี่ วสงิ่ ดดี ใี หม้ พี ลงั เพอ่ื การตอ่ ยอดและขยายผลสกู่ ารเสรมิ สรา้ ง
ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ และประเทศอยา่ งเปน็ รปู ธรรมยงิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

งานบรกิ ารวชิ าการพฒั นาทอ้ งถน่ิ
สงิ หาคม 2563

คำ� นยิ ม

47 ปี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ก่อเกิดจากวิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2516
และได้ยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏในปี พ.ศ. 2535 และยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ตามพระราชบญั ญัตมิ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏปี พ.ศ. 2547 ประกาศใชเ้ มอื่ วันที่ 15 มิถนุ ายน 2547 ซ่งึ ถือว่า
ครบรอบ 47 ปี ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีที่ยืนหยัดอยู่คู่ชุมชนมายาวนาน รับสนองพระบรม
ราโชบายของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี 10 ทวี่ ่า
“การศกึ ษาตอ้ งมงุ่ สรา้ งพน้ื ฐานใหแ้ กผ่ เู้ รยี น 4 ดา้ น คอื 1. มที ศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง 2. มพี น้ื ฐาน
ชวี ติ ทีม่ ่ันคง-มีคณุ ธรรม 3. มงี านทำ� -มีอาชพี 4. เปน็ พลเมอื งทดี่ ี” เพ่ือพฒั นาการศกึ ษาและพฒั นาทอ้ งถ่ิน
จากพระบรมราโชบายดังกล่าว มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ถือเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อชุมชน
ท่ีมีการน�ำเอาองค์ความรู้ไปผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อช่วยเหลือสังคมและชุมชน ดังปณิธานของ
มหาวทิ ยาลัยฯ คือ “มหาวิทยาลัยพลังแผ่นดนิ สรา้ งแผน่ ดนิ ด้วยภูมิปญั ญาใหเ้ ปน็ พลงั ภายใตห้ ลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง”
ส�ำหรับจุลสารเล่มน้ีท่านผู้อ่านจะได้พบกับเรื่องราวเกี่ยวกับการด�ำเนินงานเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น
ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ในมติ ติ า่ ง ๆ ทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความพยายามในการขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งาน
ให้เกดิ ประโยชน์กบั ทอ้ งถน่ิ ผ่านเรื่องราวและกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื สร้างความเขม้ แขง็ ให้กับชุมชนท้องถิ่น
อาจกล่าวได้ว่า แม้ว่าวันเวลาจะผันผ่านมายาวนานเท่าใด หากแต่ความเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี มหาวทิ ยาลยั เพ่ือการพัฒนาท้องถิน่ ยงั คงมนั่ คงมิเปลยี่ นแปลง

(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา รตั นพรหม)
รักษาราชการแทน

อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี









9

“นวดนักรบ”

ศาสตร์ใหม่ สู่ใจชาวเกาะพะลวย

ประดษิ ฐ์พร พงศเ์ ตรยี ง และคณะ
คณะพยาบาลศาสตร์

เกาะพะลวยเป็นพ้ืนท่ีห่างไกลจังหวัด ไทยพ้ืนบ้าน อันเป็นที่มาของโครงการเพื่อพัฒนา
สุราษฎร์ธานี ท่ีอุดมสมบูรณ์และเป็นท่ีรู้จักของ ภาวะสุขภาพท่ีดีของประชาชนเกาะพะลวย โดยมี
นกั ทอ่ งเทย่ี วทงั้ ไทยและตา่ งประเทศ จากความหา่ งไกล วัตถุประสงค์หลักคือส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้
ในการเดินทางประชากรส่วนใหญ่จะมีความยาก เสรมิ จากการประกอบอาชพี เสริม และประชาชนใน
ล�ำบากในการเข้าถึง ระบบบริการทางสุขภาพจึงมี พ้ืนท่ีมีสุขภาพที่ดีสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน
ความจ�ำเป็นต้องพ่ึงตนเองเมื่อเปรียบเทียบกับ ผ่านกิจกรรม “นวดนักรบ”
ประชากรในพืน้ ท่อี ่นื ๆ
จากข้อจ�ำกัดดังกล่าวคณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ซึ่งมีพันธกิจใน
การส่งเสริมสุขภาพที่ดีแก่ชุมชนท้องถิ่น และจาก
การด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาบ�ำบัด
ทางเลือก จึงน�ำมาสู่การบูรณาการบริการวิชาการ
และการท�ำนุศิลปวัฒนธรรมจากการน�ำภูมิปัญญา

กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ดว้ ยสขุ ภาพ การนวด กลา่ วไวว้ า่ นวดนกั รบเปน็ การนวดทม่ี คี วาม
ทางเลือกได้ถูกน�ำมาถ่ายทอดแก่ประชาชนผู้สนใจ จ�ำเป็นต้องใช้ทักษะและท่วงท่าในการสอดประสาน
ผสมผสานภูมิปัญญาตะวันออกสามารถน�ำมาใช้ใน กันระหว่างผู้นวดและผู้ถูกนวด กิจกรรมดังกล่าว
การดูแล สุขภาพ อันได้แก่การนวดนักรบ เป็นการ สามารถดึงดูดความสนใจจากผู้เข้าร่วมโครงการได้
นวดที่ผสมผสานศิลปะการต่อสู้มาพัฒนาต่อยอด เป็นอย่างดี ด้วยความแปลกใหม่และประสิทธิภาพ
เปน็ การนวดทเ่ี นน้ การอยยู่ ดื เหยยี ด และความงดงาม ของท่วงท่าการนวดท่ีส่งเสริมให้มีการยืดเหยียดของ
ของท่วงท่า คุณปฐมพล อัยราชธนารักษ์ ผู้คิดค้น กล้ามเนื้อจากการท�ำงานหนัก นอกจากกิจกรรม

นวดนักรบแล้ว ยังมกี ิจกรรมการถ่ายทอดองคค์ วาม
รู้ การนวดผา้ ขาวมา ซง่ึ เปน็ การนวดทมี่ กี ารประยกุ ต์
ใชผ้ า้ ขาวมา้ ซง่ึ เปน็ ผา้ พน้ื เมอื งของคนไทยทห่ี าไดง้ า่ ย
และใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยน�ำมาประกอบเป็น
อุปกรณ์การนวดเพื่อผ่อนคลายทุกส่วนของร่างกาย
ยงิ่ เปน็ การดงึ ดดู ความสนใจของผรู้ ว่ มการอบรมมาก
ยิ่งข้ึน และสุดท้ายของกิจกรรมการถ่ายทอดศาสตร์
สุขภาพทางเลือก คือ การนวดน�้ำมัน นวดน้�ำมัน
เนน้ การใชน้ ำ� มนั มะพรา้ วทหี่ าไดง้ า่ ยจากพน้ื ทภี่ าคใต้
นำ� มาใชใ้ นการนวดสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายโดยเฉพาะ
การนวดหลัง ที่ผสมผสานท่านวดที่หลากหลาย
ประกอบกบั กลน่ิ หอมจากนำ้� มนั มะพรา้ วยง่ิ ทำ� ใหเ้ กดิ
ความผอ่ นคลายมากย่ิงข้ึน
กิจกรรมดังกล่าวข้างต้นเป็นจุดเร่ิมต้นในการ
พฒั นาการดแู ลตนเองของคนในชมุ ชนและยงั มงุ่ หวงั
10



12

ผ้าขาวมา้ ไทยกับสขุ ภาพชาวพะลวย

สมุ ณฑา โพธิบตุ ร และคณะ
คณะพยาบาลศาสตร์

ผ้าขาวม้าไทย ได้รับอิทธิพลมาจากชาวไทย ใช้คล้องคอตลบชายไว้ด้านหลงั ในแงข่ องภูมปิ ญั ญา
ใหญ่สมัยเชียงแสน (กระทรวงวัฒนธรรม, 2558) ไทยไดม้ กี ารนำ� ผา้ ขาวมา้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการนวดแก้
ชาวไทยใหญ่นิยมใช้ผ้าขาวมา้ โพกศรี ษะ แตช่ าวไทย ปวดเมื่อย ผ่อนคลายความเมื่อยล้าจากการท�ำงาน
น�ำมาคาดเอว และประยุกต์ใช้ประโยชน์ใน และการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ซ่ึงถือเป็นภูมิปัญญา
หลากหลายรูปแบบทั้งใช้ห่อของ ปูพ้ืนเป็นท่ีนอน ชาวบ้านที่ช่วยแก้ปัญหาและช่วยดูแลสุขภาพได้เป็น
ท่ีนั่ง ใช้เช็ดตัวเวลาอาบน�้ำ หรือน�ำมาผูกเปลให้ อยา่ งดี
เดก็ ทารก ใช้ในการผกู หรือมัดสงิ่ ของ รวมทั้งใชเ้ ปน็ การนวดผ้าขาวม้าเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน
เคร่ืองนุ่งห่มท่ีคู่ชายไทยมาช้านาน โดยนิยมใช้ผ้า ซง่ึ นบั เปน็ ศาสตรห์ นง่ึ ของแพทยท์ างเลอื ก ทนี่ ำ� ผา้ ขาวมา้
ขาวมา้ มาประดบั รา่ งกาย เชน่ พาดไหล่ คาดเอว หรอื มาประยกุ ตเ์ ขา้ กบั การนวด เพอื่ ใหเ้ กดิ ความผอ่ นคลาย

และบรรเทาความเมื่อยล้าของร่างกายทุกส่วน โดย
การใชผ้ า้ ขาวมา้ ประกอบกบั ทา่ ทางของผนู้ วด ในการ
คลายเสน้ หรอื กดจดุ ตามตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย
และใชผ้ า้ ขาวมา้ รว่ มกบั การออกแรงของผนู้ วด ทำ� ให้
ผถู้ กู นวดอยใู่ นทา่ ทางคลา้ ยกบั การออกกำ� ลงั กายของ
ส่วนต่างๆท่ัวร่างกาย โดยการนวดส่วนใหญ่จะเริ่ม
นวดจากศีรษะจนถึงปลายเท้า นอกจากนี้ยังใช้การ

ผูก พัน และหมุนเกลยี วผา้ ขาวม้าช่วยให้เกิดแรงกด
ตามจุดต่างๆ ซ่ึงผู้นวดสามารถประยุกต์ท่านวดได้
ตามความต้องการหรือความชอบของผู้ถูกนวด
ข้อควรระวัง คือ หากนวดบริเวณท้องหรือเอว
ควรนวดกอ่ นหรอื หลงั มอื้ อาหารอยา่ งนอ้ ย 1-2 ชว่ั โมง
เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ภาวะอาหารไหลลน้ หรอื อาเจยี น
ได้
“พะลวย” เกาะแห่งหนึ่งในจังหวัด
สรุ าษฎร์ธานี ซึง่ มีประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพ
ท�ำประมงและการเกษตร นับเป็นเกาะพลังงาน
สะอาด มีทรัพยากรท่ีอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่ง
ท่องเท่ียวทางธรรมชาติซ่ึงเป็นที่รู้จักทั้งชาวไทย
และชาวต่างชาติ แต่เนื่องด้วยเป็นเกาะที่ห่างไกล
จึงมีข้อจ�ำกัดในการรับบริการทางสุขภาพ จึงต้อง

13





ใชน้ �ำ้ มันหรืออโรมาท่มี กี ล่นิ หอมทาถู ลูบ คลึงให้ทั่ว
บริเวณที่จะนวด หรืออาจใช้การกดจุดบางต�ำแหน่ง
รว่ มดว้ ยการนวดนำ�้ มนั มปี ระโยชนห์ ลายอยา่ ง ไดแ้ ก่
1) ช่วยกระตุ้นระบบประสาท ท�ำให้ผ่อนคลายจาก
ความตึงเครียดได้เป็นอย่างดี 2) ช่วยให้การท�ำงาน
ของระบบไหลเวยี นโลหิตดขี ึน้ 3) ชว่ ยใหผ้ ิวเนยี นนุ่ม
ชุ่มชื้นจากน�้ำมันท่ีเป็นสมุนไพรจากธรรมชาติ
4) ช่วยผลดั เซลล์ผิวท่ตี าย ท�ำใหผ้ วิ พรรณเปลง่ ปลัง่
5) ช่วยให้นอนหลับได้ดีข้ึน 6) ช่วยฟื้นฟูระบบ
การท�ำงานของกล้ามเนื้อ และประโยชน์อ่ืน ๆ
อีกมากมายจากน�้ำมันที่ท�ำจากสมุนไพรแต่ละชนิด
ภายหลังการนวดน้�ำมันจึงรู้สึกผ่อนคลาย อารมณ์ดี
รสู้ ึกปลอดโปรง่ สง่ ผลใหม้ ีสขุ ภาพจติ ที่ดี
คณะพยาบาลศาสตร์ได้จัดโครงการสปาเพื่อ
สุขภาพและรายได้ มีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลสุขภาพ
และสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กค่ นในชมุ ชน โดยมกี ารใหค้ วาม
รู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้
เกย่ี วกบั การนวดประคบรอ้ นดว้ ยสมนุ ไพรไทยทถ่ี กู วธิ ี
ความรู้ด้านทฤษฎีท�ำให้เข้าใจหลักการประเมินผู้รับ
บริการได้เบ้ืองต้น สามารถวางแผนการนวดหรือ
การประคบได้ สว่ นทกั ษะการปฏบิ ตั กิ ารนวดประคบรอ้ น
ด้วยสมุนไพรไทยจะเป็นการฝึกฝนให้เกิดความ
16



18

คนคงกระพัน ควนั ไมเ่ ขา้

ธรี ะยุทธ เกดิ สังข์
คณะพยาบาลศาสตร์

ประชากรทม่ี ีอายุ 15 ปีข้ึนไป ท้งั สิน้ 55.9 ล้านคน
เปน็ ผทู้ ส่ี บู บหุ ร่ี 10.7 ลา้ นคน (รอ้ ยละ 19.1) ถงึ แมว้ า่
จำ� นวนผสู้ บู บหุ รจี่ ะมแี นวโนม้ ลดลงจากเดมิ กต็ าม แต่
สง่ิ ทชี่ วนใหค้ ดิ กค็ อื รอ้ ยละ 9.7 ของอตั ราการสบู บหุ รี่
นั้นเป็นเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ซ่ึงก�ำลัง
เติบโตไปเป็นก�ำลังส�ำคัญของชาติต่อไป นอกจากน้ี
บหุ รี่ ยงั เปน็ ตวั กลางหรอื สะพานเชอื่ มไปสกู่ ารใชส้ าร
เสพติดชนิดอื่น ๆ ได้อีกด้วย ดังนั้น ปัญหาการสูบ
ควันบุหรี่ ภัยร้ายใกล้ตัวคุณและครอบครัว บหุ รใี่ นเยาวชนไทยจึงเปน็ สง่ิ ท่มี อิ าจมองข้ามได้
ไมว่ ่าคณุ จะไปที่ไหน ๆ ก็มกั จะพบเหน็ คนที่สบู บุหรี่ ชมรมนกั ศกึ ษาพยาบาลสรา้ งสงั คมไทยปลอด
และคุณต้องเผชิญกับควันบุหรี่อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ บุหร่ี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
แมค้ ณุ จะไมส่ บู บหุ รก่ี ต็ ามแตก่ ม็ โี อกาสสมั ผสั ตอ่ ควนั สุราษฎร์ธานี ตระหนักถึงปัญหาการสูบบุหรี่ของ
บหุ รท่ี เ่ี รยี กวา่ ควนั บหุ รมี่ อื สอง และควนั บหุ รม่ี อื สาม คนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียน
ซงึ่ เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพไดเ้ ชน่ เดยี วกบั การสบู บหุ ร่ี นกั ศกึ ษาทเี่ ปน็ กลมุ่ เสยี่ งและถกู ชกั จงู ไดง้ า่ ย จงึ ไดท้ ำ�
โดยตรงจากผลการส�ำรวจจ�ำนวนและอัตราการ กิจกรรมบริการวิชาการเพ่ือรณรงค์ด้านการควบคุม
สบู บหุ รข่ี องประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไป ในปี 2560 ยาสูบมาอย่างต่อเนือ่ ง ซ่งึ เมื่อวนั ท่ี 8 มกราคม 2563
ของส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ในจ�ำนวน ทางชมรมฯ ได้ร่วมมือกับโรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2

จัดโครงการ“คนคงกระพัน ควันไม่เข้า” ให้กับ ด�ำเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ
นักเรียนในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 โดยมผี เู้ ขา้ ประสบความสำ� เร็จตามวตั ถปุ ระสงคท์ ีว่ างไว้
ร่วมโครงการทั้งส้ินจ�ำนวน 207 คน ประกอบด้วย ผลลัพธ์ท่ีได้จากการจัดโครงการบริการ
นักเรียน นักศึกษาพยาบาล คณะครู อาจารย์และ วิชาการในคร้ังนี้ นอกจากความพึงพอใจต่อการเข้า
เจา้ หนา้ ทจี่ ากทง้ั 2 สถาบนั เพอ่ื รณรงคป์ อ้ งกนั นกั สบู ร่วมโครงการท่ีอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดแล้วน่ันก็
หนา้ ใหม่ และลดจำ� นวนนกั สบู หนา้ เกา่ ซง่ึ ไดร้ บั ความ คือ การได้เข้าใจมุมมองความรู้สึกของนักเรียนท่ี
ร่วมมือในการท�ำกิจกรรมเป็นอย่างดี ท�ำให้การ สบู บหุ ร่ี ซง่ึ หลายคนรสู้ กึ แปลกแยกและไมต่ อ้ งการให้
คนในสังคมมองเขาว่าเป็นตัวปัญหา แต่ต้องการให้
สังคมเข้าใจและยอมรบั เขาในฐานะคน ๆ หนง่ึ ซ่ึงมี
โอกาสท�ำในสิ่งที่ไม่ถูกต้องหรือท�ำในสิ่งท่ีไม่เป็นท่ี
ยอมรับของสังคมได้ มีนักเรียนบางคนท่ีสูบบุหร่ี
พูดว่า “จะไม่ให้ผมติดบุหรี่ได้อย่างไร ในเมื่อทั้งพ่อ
และแม่ของผมก็สูบบุหรี่” ค�ำพูดนี้สะท้อนให้เห็น
อะไรหลาย ๆ อย่างที่เป็นปจั จัยกระตุ้นหรอื สง่ เสรมิ
ให้มีการสูบบุหรี่ของเยาวชนซ่ึงการแก้ปัญหาการสูบ
บุหรี่ทเ่ี ราทำ� กนั อาจจะเปน็ การแกป้ ญั หาทป่ี ลายเหตุ
กเ็ ปน็ ได้
แต่อย่างไรก็ตาม การรณรงค์ป้องกันการสูบ
บหุ รกี่ ย็ งั คงดำ� เนนิ ตอ่ ไปดว้ ยความเขม้ แขง็ และอดทน
การไดบ้ รกิ ารวชิ าการทำ� ใหไ้ ดเ้ ขา้ ใจและรบั รถู้ งึ ความ
รู้สึกของผู้ท่ีสูบบุหร่ี ช่วยให้เปิดใจกว้างในการรับฟัง
และยอมรับคนท่ีสูบบุหร่ีในฐานะสมาชิกของสังคมท่ี

19



21
การปอ้ งกนั การตง้ั ครรภ์กอ่ นวยั อนั ควร

วายรุ ี ล�ำโป หงษาวดี โยธาทิพย์
คณะพยาบาลศาสตร์

จากการเปลย่ี นแปลงในสภาพสงั คมปจั จบุ นั ท่ี สุขภาพท่ี 11 มีอัตราการคลอดต้ังครรภ์สูงสุดอยู่ที่
มเี ทคโนโลยสี มยั เขา้ มามบี ทบาทเอ้ืออำ� นวยใหว้ ยั รุ่น ร้อยละ 38.1 ในขณะทจี่ ังหวัดสุราษฎร์ธานีพบอัตรา
มอี ิสระในการพดู คยุ คบหาสมาคมกับเพอ่ื นต่างเพศ การคลอดในวยั รนุ่ สงู ถงึ รอ้ ยละ 41 (สำ� นกั อนามยั การ
ทงั้ ในวยั เดยี วกนั หรอื ตา่ งวยั มากขนึ้ อกี ทง้ั ยงั เปน็ ชอ่ ง เจริญพนั ธ์, 2561) ชีใ้ หเ้ ห็นถึงสภาพปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้น
ทางให้วัยรุ่นมีโอกาสพบปะและแสดงความรู้สึกต่อ และเป็นภาวะเร่งด่วนต่อการแก้ไข เนื่องจากปัญหา
กันได้อย่างเปิดเผย เป็นหนทางน�ำไปสู่การมีเพศ การตงั้ ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร หากเกดิ ขนึ้ แลว้ จะสง่ ผล
สัมพันธ์ได้ง่าย ในขณะที่วัยรุ่นเหล่านี้ยังขาดความรู้ กระทบหลายด้าน เช่น ต้ังครรภ์เมื่อยังไม่พร้อม
ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษา การคุมก�ำเนิด ติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ท�ำแท้ง คลอดแล้วทอดทิ้ง
การวางแผนการตั้งครรภ์ จนเกิดการตั้งครรภ์ บุตร ทารกคลอดก่อนก�ำหนด/เจริญเติบโตช้า และ
ตามมาได้ (ชลดา กง่ิ มาลา, ทศั นยี ์ รววิ รกลุ , & อาภาพร ยังมีผลต่อเรียน รวมท้ังยังส่งผลทางด้านจิตใจเกิด
เผ่าวัฒนา, 2015) โดยจากข้อมูลกรมอนามัยพบว่า ภาวะเครียด วิตกกังวลไม่พร้อมต่อการเล้ียงดูบุตร
ในปี 2561 มีรายงานการคลอดจากมารดาวัยรุ่นที่ อาจกระท�ำรุนแรงในครอบครัวหรือครอบครัว
มอี ายุ อายุ 10-19 ปีคิดเป็นร้อยละ 11.5 ของการ แตกแยก อีกท้ังยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอืน่ ๆ ตาม
คลอดทั้งหมดนับเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน มาอีกมากมาย (เฉลิมขวัญ ภู่เหลือ, 2559; WHO,
และอายทุ ีม่ ีเพศสัมพนั ธเ์ ฉลี่ยคอื 15 ปหี ากพจิ ารณา 2018)
ตามพื้นที่ในบริบทของภาคใต้พบว่าในเขตพื้นที่

จากผลการศึกษาวิจัยท้ังในประเทศและ พยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์ 2 เพ่ือสร้างให้
ตา่ งประเทศ พบวา่ การสอนหรอื ใหค้ วามรเู้ พยี งอยา่ ง นกั ศกึ ษาพยาบาลชัน้ ปที ่ี 3 ร่นุ ที่ 10 เปน็ แกนนำ� ใน
เดียวยังไม่ท�ำให้วัยรุ่นเกิดการเปล่ียนแปลงทางด้าน การด�ำเนินกิจกรรมป้องกันการต้ังครรภ์ไม่พร้อม
พฤตกิ รรมได้ แตก่ ารใหค้ วามรทู้ ถ่ี กู ตอ้ งและการสรา้ ง ตลอดจนป้องกันการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แรงจูงใจ/ความตระหนัก ส่งเสริมทักษะต่อการ ซึ่งใช้รปู แบบโปรแกรมของ ชลดา กงิ่ มาลาและคณะ
ป้องกันการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควรจะน�ำไปสู่การ (2015) ภายใต้แนวคิดของ IMB model เพื่อมงุ่ หวัง
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพได้ (ศรีพรรษ์ ถาวร ลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นเขตพื้นท่ี
รัตน์, 2555;Seangpraw, Somrongthong, จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านตี ่อไป
Choowanthanapakorn, & Kumar, (2017) ขอบเขตกลุ่มเป้าหมาย : นักเรียนระดับ
ดังน้ัน กลมุ่ วิชาการพยาบาลมารดาและทารก คณะ มัธยมศึกษาตอนต้นของ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง
พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี จ�ำนวน 100 คน โรงเรียนมัธยมพัชรกิติยาภา 3
จึงได้จัดโครงการบริการวิชาการแก่นักเรียนในเขต จ�ำนวน 111 คน เขตอ�ำเภอเมืองฯ จังหวัด
พ้ืนท่ีสุราษฎร์ธานี โดยบูรณาการกับรายวิชาการ สุราษฎร์ธานี
22

กรอบกิจกรรมภายใต้แนวคิด information, motivation and behavioral skills model (IMB
model)ของFisher,Fisher,&Shuper (2009)

กิจกรรม ความคาดหวังหรอื ผลลัพธ์
1. การให้ขอ้ มูลขา่ วสาร 1. ความรู้เก่ียวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อน
- พัฒนาการทางเพศ/ฝันเปียก/การมีประจ�ำเดือน วัยอนั ควร
และการตั้งครรภ์ 2. มีความตระหนักต่อการป้องกันการต้ังครรภ์
- รู้เท่าทันอารมณ์ทางเพศ/วิธีการจัดการอย่าง กอ่ นวยั อนั ควร
เหมาะสม/สถานการณ์และพฤติกรรมเสี่ยง 3. รับรู้ความสามารถของตนเองต่อการป้องกัน
ทางเพศ/กฎหมายกบั เพศ การตงั้ ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร
- ทกั ษะการปฏเิ สธ/การเจรจาตอ่ รอง/การปอ้ งกนั
การตงั้ ครรภ์
- ความเชื่อที่ผิดในเร่ืองเพศ/การเข้าใจความ
ต้องการของเพศตรงข้าม
- การรู้เท่าทนั ส่ือ/การใชส้ ื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์
- โรคตดิ เชอ้ื ทางเพศสมั พนั ธ/์ การปอ้ งกนั /ผลกระทบ
2. การสรา้ งแรงจงู ใจ
- ร่วมอภิปรายแลกเปล่ียนสนทนาภายในกลุ่ม
ผ่านเหตกุ ารณต์ ัวอยา่ ง วดี ีโอ และภาพถ่าย
3. พัฒนาทักษะผ่านกิจกรรมฐาน 6 ฐาน
- แสดงบทบาทสมมุติ สถานการณ์ตัวอย่าง
และอภปิ รายกล่มุ

23



25
สือ่ เพลงบอก..โควิด 19

เพลงบอก เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของชาว ธวัชชัย ทีปะปาล ธรี ะยทุ ธ เกดิ สังข์
ปักษ์ใต้บริเวณจังหวัดภาคใต้ตอนบนและตอนล่าง คณะพยาบาลศาสตร์
ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง
พัทลุง และสงขลา นิยมเล่นเพ่ือบอกเล่าเรื่องราว ภาพลักษณ์องค์กรในยุคปัจจุบัน และสร้างงาน
ขา่ วสารตา่ ง ๆ เชน่ บอกขา่ วเชญิ ไปทำ� บญุ ตามงานตา่ ง ๆ การประชาสมั พนั ธเ์ กยี่ วกบั หลกั สตู ร การจดั การเรยี น
เรียกได้ว่า เพลงบอกเป็นความเช่ือทางวัฒนธรรม การสอน ผลงานวจิ ยั นวตั กรรม รางวลั และโครงการ
ทางจติ ใจอย่างหน่งึ คกู่ บั ชาวใต้มาต้ังแตโ่ บราณ และ กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมท้ังการประสานงานเครือข่าย
สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานีได้จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
โดยใช้ส่ือในการเผยแพร่มรดกพ้ืนบ้านเพลงบอก
ออกไปให้เปน็ ที่รูจ้ กั แกค่ นทว่ั ไป และรว่ มกันส่งเสริม
ใหเ้ ยาวชนหนั มานยิ มศลิ ปะพนื้ บา้ นและรว่ มสบื ทอด
เพอ่ื ไม่ให้เพลงบอกสญู หาย
คณะพยาบาลศาสตร์ ไดจ้ ัดโครงการเพ่ือการ
ประชาสัมพันธ์แนะน�ำส่งเสริมข้อมูลด้านการ
ประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์และส่ือสิ่งพิมพ์
ต่าง ๆ ท่ีมุ่งเน้นการเผยแพร่ชื่อเสียงและสร้างเสริม

ด�ำเนินการเผยแพร่ข้อมูล และจัดกิจกรรมส่งเสริม การรกั ษาสุขภาพ สรา้ งอารมณ์ขนั เพื่อลดความวิตก
สุขภาพผ่านสื่อสารสัมพันธ์ ท้ังภายในและภายนอก กงั วล ช่วยเพ่ิมภมู คิ ุ้มกนั ใหร้ า่ งกาย ซ่งึ จะเป็นเกราะ
อกี ทงั้ สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษานำ� ความรทู้ ไี่ ดร้ บั มาประยกุ ต์ ปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ แกส่ มาชกิ ในครอบครวั และ
ใช้ในการประกอบวิชาชีพในอนาคต โดยมีกิจกรรม เพ่ิมความเข้มแข็งของครอบครัวในการรับมือกับ
อบรมแกนน�ำอาจารย์และนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ผลกระทบจากโรคระบาดโควดิ 19
(คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา) ณ สถานีวิทยุ
กระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านีโดย
การน�ำเพลงบอกโควิด 19 เสนอในรายการ “เวที
ชาวบ้าน” สวท.สุราษฎร์ธานี FM 89.75 Mhz
ทุกวันเสาร์ เวลา 17.10-18.00 น. เป็นการสร้าง
วัคซีนใจหรือวัคซีนครอบครัวส่งเสริมการส่ือสาร
สร้างบรรยากาศ พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้เก่ียวกับ

26





เดก็ เปน็ กลมุ่ ของบคุ คลทมี่ คี วามละเอยี ดออ่ น ปัญหาลักษณะเดียวกันอาจมีท่ีมาของสาเหตุท่ี
ด้านอารมณ์ เป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตบนโลกใบนี้ แตกตา่ งกัน วิธกี ารจดั การจงึ ตา่ งกันและผลของการ
ทกุ ส่ิงในโลกลว้ นเปน็ สิ่งแปลกใหมใ่ ห้เรยี นรู้ หากแต่ จดั การกอ็ าจแตกตา่ งกนั ในเดก็ แตล่ ะราย ความเขา้ ใจ
มีข้อจ�ำกัดในการเข้าใจเพราะขาดประสบการณ์ ในความรู้สึก ความคิดและความต้องการของเด็ก
มีปัญหาในการส่ือสารบอกความต้องการ หรือแม้ จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เพื่อการตอบสนองต่อเด็กได้อย่าง
กระท่ังการเข้าใจกับอารมณ์ของตนเอง ตลอดไป เหมาะสม และส่งเสริมให้เป็นเยาวชนทมี่ คี ณุ ภาพใน
จนถึงการควบคุมตนเองที่เหมาะสม จึงเป็นช่วงวัยท่ี สังคมต่อไปในอนาคต
มกั พบปญั หาการแสดงออกทางพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม
ได้บ่อยคร้ัง การท�ำความเข้าใจจิตวิทยาพัฒนาการ
เดก็ จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจพฤตกิ รรมการแสดงออกของเดก็
ได้เป็นอย่างดี และช่วยให้สามารถจัดการกับการ
แสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และนอกจากพฤตกิ รรม
ตามพฒั นาการแล้ว การแสดงออกของเด็กมอี ิทธพิ ล
มาจากประสบการณท์ เ่ี ดก็ เคยไดร้ บั มา ตลอดจนแบบ
อย่างท่ีเขาได้พบเห็น จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
บคุ ลากรในสถานพฒั นาและฟน้ื ฟเู ดก็ ฯ พบวา่ ปญั หา
พฤตกิ รรมทพี่ บบอ่ ย ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมกา้ วรา้ วรนุ แรง
ทะเลาะวิวาท ใช้ความรุนแรง พฤติกรรมแยกตัว
ซมึ เศรา้ ปญั หาไมร่ บั ประทานอาหารหรอื รบั ประทาน
อาหารยาก และปญั หาอน่ื ๆ ซงึ่ การจดั การกบั ปญั หา
พฤติกรรมเด็กน้ัน ต้องอาศัยข้อมูลในหลายส่วน
ร่วมกัน เพ่ือท�ำความเข้าใจการแสดงออก เด็กที่มี

29



จากการจัดกิจกรรมท�ำให้ผู้เข้าร่วมอบรม
ซึ่งเป็นบุคลากรในสถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็กฯ ได้
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในความบาดเจบ็
มากขึ้น ตลอดจนได้ฝึกทักษะการปฐมพยาบาล
เบ้ืองต้นในเหตุการณ์ต่าง ๆ บุคลากรที่เข้าร่วมฝึก
ทกั ษะสามารถปฏบิ ตั ทิ กั ษะการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้
ได้จนเกิดความมั่นใจที่จะน�ำความรู้และทักษะไปใช้
เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณจ์ รงิ ได้ ซง่ึ ถอื เปน็ ความสำ� เรจ็ ในการ
พฒั นาบคุ ลเพอื่ ไปพฒั นาสงั คมไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ
.................................................................................

ผูร้ ่วมโครงการ ธวชั ชยั ทปี ะปาล ทศั นีย์ สนุ ทร
สุพตั รา ลกั ษณะจนั ทร์

31



อุปมัยประสบการณ์ภายในจิตใจของคนเราเสมือน
ภูเขาน�้ำแข็ง ซ่ึงช่วยให้ผู้ให้ค�ำปรึกษาและบ�ำบัด
สามารถเข้าถึงเข้าใจภายในจิตใจของผู้รับบริการ
ได้ง่าย อันส่งผลต่อการช่วยเหลือแก้ไขท่ีตรงตาม
ความตอ้ งการของผรู้ ับบริการ 3) เปา้ หมายของการ
บำ� บดั แนวซาเทยี รเ์ พอ่ื ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงภายใน
จติ ใจของผรู้ ับการบ�ำบัดและเกดิ การเติบโตพฒั นา
ดังนน้ั ทางสาขาการพยาบาลสขุ ภาพจิตและ
จิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สรุ าษฎร์ธานี น�ำโดย ผศ.วา่ ท่ี ร.ต.ธีระยุทธ เกดิ สังข์
ซ่ึงเป็นผู้มีความรู้ความช�ำนาญด้านการบ�ำบัดแนว
ซาเทียร์จึงได้ให้บริการวิชาการโดยเป็นวิทยากร
ถา่ ยทอดความรู้ ประสบการณ์ และเทคนิคต่างๆ ท่ี
ใชใ้ นการบำ� บดั แนวซาเทยี รแ์ กบ่ คุ ลากรทใ่ี หบ้ รกิ ารที่
คลินิกกลางวันและคลินิกซึมเศร้าของโรงพยาบาล
สวนสราญรมย์ โดยจดั ขน้ึ เมอื่ วนั ที่ 13 มนี าคม 2563
ซ่ึงเป็นงานบริการวิชาการที่ช่วยยกระดับมาตรฐาน
ในการให้การบ�ำบัดและให้ค�ำปรึกษาโดยใช้แนวคิด
ซาเทียร์ ท่ีส่งผลดีต่อผู้รับบริการให้สามารถเกิดการ
เติบโตพัฒนาและเปลี่ยนแปลงภายในได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

33



จึงเป็นจุดเร่ิมต้นแนวคิดในการร่วมพูดคุยปรึกษา
หารอื ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ “เครอื่ งแกงกอ้ น” เพอื่
ตอบสนองวิถีชีวิตคนไทยและคนทั่วโลกที่เปลี่ยนไป
เพมิ่ ความสะดวกสบายในการใชส้ รา้ งความแปลกใหม่
มีรสชาติท่ีถูกใจ ผลิตจากวัตถุดิบจากธรรมชาติช่วย
ยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษาและขยายตลาดใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์
คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี รว่ มกบั สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ในการ
สนบั สนนุ งบประมาณและครภุ ณั ฑต์ อู้ บแหง้ ในปี พ.ศ.
2561-2563 และสภาเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ในการประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
ท�ำการศึกษากระบวนการผลิตเครื่องแกงก้อน
พัฒนากรรมวิธีการอบแห้งและข้ึนรูปของเครื่องแกง
และปลอดภัย รวมทั้งได้รับการสนับสนุนจากหน่วย กอ้ น 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ เครอื่ งแกงเผด็ เครอ่ื งแกงสม้ และ
งาน อบต. และภาครฐั ดา้ นเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ หากแต่
เคร่ืองแกงสดยังคงมีอายุการเก็บรักษาส้ันประมาณ
5-7 วัน เนอ่ื งจากมีปริมาณความชื้นสงู และมนี �ำ้ หนัก
มาก และยังส่งจ�ำหน่ายแค่ตลาดสดในพื้นท่ี
และอ�ำเภอใกล้เคียง จากโจทย์ความต้องการที่
ว่า“พวกเราอยากได้เคร่ืองแกงที่เก็บได้นาน ๆ
สามารถส่งไปขายได้ไกล ๆ หรือส่งต่างประเทศได้”

35



37
“เวยี งสระหวั ใจสชี มพู…หอบรักมาหม่ ปา่ ”

กจิ กรรมสง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วชุมชนบูรณาการ
เครอื ข่ายชุมชนพึง่ ตนเอง

เจตนยั ธ์ เพชรศรี
วทิ ยาลยั นานาชาติการทอ่ งเท่ยี ว

วทิ ยาลยั นานาชาตกิ ารทอ่ งเทยี่ ว มหาวทิ ยาลยั โครงการต่อยอดจากงานวิจัยสู่การพัฒนาการ
ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี รว่ มกบั อำ� เภอเวยี งสระ เครอื ขา่ ย ท่องเท่ียวเชิงนิเวศที่ร่วมกันท�ำมาตลอดระยะเวลา
ทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชนตำ� บลบา้ นสอ้ ง วฒั นธรรมจงั หวดั 4-5 ปีทผี่ า่ นมา ซ่ึงทางวทิ ยาลัยฯ ไดด้ ำ� เนนิ การสรา้ ง
สุราษฎร์ธานี อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น เทศบาล องค์ความรู้ด้านการจัดการท่องเที่ยวให้กับชุมชน
ต�ำบลบ้านส้อง และพัฒนาการอ�ำเภอเวียงสระ น�ำไปสู่การพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงนิเวศที่ยั่งยืน
ร่วมสร้างประสบการณ์ความรักดี ๆ ท่ีควรค่าแก่
การจดจ�ำ ไปพร้อมกับการส่งเสริมการท่องเท่ียว
ชมุ ชน ณ ทา่ นำ�้ วงั หนิ บา้ นสวนกลว้ ย ตำ� บลบา้ นสอ้ ง
อำ� เภอเวยี งสระ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
ดร.สิญาธร นาคพิน อาจารย์ประจ�ำสาขา
วิชาการท่องเที่ยว วิทยาลัยนานาชาติการท่องเท่ียว
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี กลา่ วถงึ การจดั งาน
“เวียงสระสีชมพู…หอบรักมาห่มป่า” นับเป็น

ส่งผลให้พ้ืนท่ีมีทรัพยากรท่องเที่ยวท่ีสามารถดึงดูด การท่องเท่ียวชุมชนท่ียั่งยืนและประกาศการได้รับ
นกั ทอ่ งเทยี่ วมาเยย่ี มเยอื นชมุ ชนเปน็ จำ� นวนมาก เชน่ การจดทะเบียนเปน็ “รกุ ขมรกดกของแผน่ ดนิ ” กบั
ท่าน้�ำวังหิน น�้ำตก 357 รวมไปถึงการได้รับการจด “ต้นไมค้ ู่รกั ” ในชมุ ชน โดยทางวิทยาลัยฯ มบี ทบาท
ทะเบียน “รุกขมรดกของแผ่นดิน” จากกระทรวง ในการรว่ มคดิ รว่ มวางแผนกจิ กรรมกาประชาสมั พนั ธ์
วฒั นธรรม ใหก้ ับตน้ ไมใ้ นชมุ ชน คอื ทุเรียนเจา้ เมือง ตลอดจนการเตรียมความพร้อมของชุมชนและโฮม
และ ต้นไม้คู่ทางพ้ืนที่ วิทยาลัยฯ และหน่วยงานท่ี สเตย์ในการรับรองคู่รักทุกคู่ให้เกิดความประทับใจ
เก่ียวข้องจึงได้ร่วมจัดโครงการนี้ข้ึนมา เพ่ือส่งเสริม สำ� หรบั การจดั งาน “เวยี งสระหวั ใจสชี มพู หอบรกั มา
หม่ ปา่ ” จดั ขนึ้ ระหวา่ งวนั ท่ี 13-14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563
ณ ทา่ นำ�้ วงั หนิ บา้ นสวนกลว้ ย ตำ� บลบา้ นสอ้ ง อำ� เภอ
เวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพ่ือเสริมสร้างความ
เข้มแข็งชุมชน ส่งเสริมการท่องเท่ียวกระจายรายได้
สู่ชุมชน ส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม
ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในวันแห่งความรัก
โดยมกี ิจกรรม
1) จดทะเบียนสมรสและถ่ายรูปกับ “ต้นไม้
คู่รัก” ที่ข้ึนทะเบียนเป็นต้นไม้ “รุกขมรดกของ
แผ่นดิน” ลำ� ดบั ที่ 84 ใน ปี 2562 จากกรมสง่ เสรมิ
วัฒนธรรม กระทรวงวฒั นธรรม
2) ครู่ กั ยนื ยงจดทะเบยี นสมรส รบั เกยี รตบิ ตั ร
คู่รักยืนยง กิจกรรมปลูกรักและถ่ายรูปกับต้นไมค้ ่รู ัก
กิจกรรม 1 วัน คอื วันท่ี 14 ก.พ. 2563 รับเพยี ง
จำ� นวน 14 คู่ ฟรตี ลอดรายการ (รวมแตง่ หนา้ ใสช่ ดุ ไทย

38





และนวัตกรรม และทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ และ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่สี �ำนักวิทยบริการฯ โดย
เทคโนโลยี ซึ่งเป็นทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้ ศูนย์คอมพิวเตอร์ก�ำหนดจัดข้ึนเพ่ือพัฒนาศักยภาพ
รูปแบบกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย นักเรียนด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกอบดว้ ย 3
อันจะส่งผลให้ผู้เรียนเติบโตเป็นพลเมืองคุณภาพ กิจกรรม คอื กจิ กรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ในหัวข้อ
และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาประเทศได้ต่อไป "การพัฒนา Web Application" จัดขึ้นในระหว่าง
ในอนาคต โดยการดงึ เอาศกั ยภาพของบคุ ลากรของ วันที่ 10-11 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องมัลติมีเดีย
ศูนย์คอมพิวเตอร์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน อาคารทีปังกรรัศมีโชติ ให้แก่นักเรียนจากโรงเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ กาญจนาภิเษกวิทยาลัย จ�ำนวน 45 คน กิจกรรม
ผเู้ รยี น อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ในหวั ขอ้ "การผลติ สอ่ื วดิ โี ออยา่ ง
สร้างสรรค์เพ่ือการเรียนรู้" ระหว่างวันท่ี 22-23
กรกฎาคม 2562 ณ ห้องสมาร์ทคลาสรูม ชั้น 4
อาคารหอสมุดเฉลิมพระเกียรติ และห้องบานบุรี
ชั้น 2 อาคารทีปังกรรัศมีโชติให้แก่นักเรียนจาก

41

โรงเรยี นสรุ าษฎรธ์ านี 2 จำ� นวน 45 คน และกจิ กรรม
"ค่ายหุ่นยนต์ส�ำหรับเยาวชน" จัดข้ึนในระหว่าง
วันที่ 22-23 สิงหาคม 2562 ณ ห้องคอมพิวเตอร์ 7
อาคารทปี งั กรรศั มโี ชติ ใหแ้ กน่ กั เรยี นโรงเรยี นวดั สมหวงั
จ�ำนวน 17 คน
ซึ่งทั้ง 3 กิจกรรมเป็นการประยุกต์ใช้ ICT
ส�ำหรับการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลางให้อิสระทางความคิดแก่นักเรียนเพ่ือผลิต
ช้ินงานท่ีมีคุณภาพ เปลี่ยนบทบาทครูผู้สอนและ
วิทยากรให้เป็นเพียงผู้ให้ค�ำแนะน�ำส่งผลให้นักเรียน
มคี วามสขุ สนกุ และตงั้ ใจเรยี นรสู้ ง่ิ ทวี่ ทิ ยากรถา่ ยทอด
ท�ำให้สามารถเรียนรู้และผลิตช้ินงานได้อย่างมี
คณุ ภาพ ซงึ่ นกั เรยี นจำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาอยา่ ง
ต่อเนื่องในระยะยาว โดยอาศัยความร่วมมือของครู
ผู้สอนตลอดจนการสนับสนุนจากผู้บริหารโรงเรียน
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
42

43
การศึกษาละอองเรณูของมะพร้าวไฟ

และมะพรา้ วนกคมุ่ ในจังหวดั สุราษฎร์ธานี

ปรญิ ญา สกุ แกว้ มณี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ละอองเรณู (pollen) เป็นเซลล์สืบพันธุ์ ทำ� นายการววิ ฒั นาการของพชื ระบบนเิ วศวทิ ยาของ
เพศผู้ของพืชท�ำหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะกรรมพันธุ์ พรรณไม้จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านช่วงเวลาในยุค
จากรนุ่ สรู่ นุ่ จากการศกึ ษาลกั ษณะของเรณพู บวา่ พชื ต่างๆ ได้โดยการตรวจสอบเอกลักษณ์ของเรณู
แตล่ ะชนดิ (species) ตา่ งสกลุ (genus) และตา่ งวงศ์ (ลาวลั ย์ รกั สตั ย,์ 2534)
(family) จะมีลักษณะทางสัณฐานของเรณูต่างกัน มะพร้าวช่ือสามัญทั่วไป Coconut (Cocos
เรณูมีประโยชน์เพราะเป็นตัวบ่งช้ีการอพยพและ nucifera L.) เป็นพรรณไม้ใบเดี่ยว อย่ใู นวงศ์ปาลม์
แหลง่ อาหารของแมลง ในดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มสามารถใช้ Arecaceae (Palmae) เป็นพืชที่มีอายุ
เรณูเป็นดัชนีอีกทั้งช่วยเรื่องการติดตามการ มายาวนานตง้ั แตส่ มยั ยคุ อโี อซนี (Eocene) (55 ลา้ นปี
เปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ เพราะเรณูมี มาแล้วจนถึงปัจจุบัน) เป็นพืชยืนต้นใบเป็นใบ
คุณสมบัติและลักษณะเด่นจ�ำเพาะที่สามารถตรวจ ประกอบแบบขนนก ผลเป็นไฟบรัสดรุป (fibrous
สอบเอกลกั ษณใ์ นระดบั วงศ์ สกลุ และชนดิ ของพชื ได้ drupe) เรยี กวา่ นทั (nut) แบบเอพคิ ารป์ (epicarp)
โดยผนังเรณูสร้างขึ้นมาจากสารท่ีมีความทนทานต่อ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป ลื อ ก น อ ก ด ้ า น ใ น จ ะ มี โ ซ ค า ร ์ ป
ความผันแปรของสภาวะแวดล้อมเป็นอย่างมากคือ (mesocarp) มเี สน้ ใยสว่ นดา้ นในเปน็ สว่ นเอนโดคารป์
สปอโรพอลลินิน (sporopollenin) สามารถใช้ (endocarp) เรียกว่ากะลามะพร้าว ซึ่งบางครัง้ จะมี

รูสีด�ำคล้�ำอยู่สามรู ส�ำหรับงอกของต้นอ่อนส่วน ตอ้ งลม้ ตน้ มะพรา้ วเพอื่ ไปปลกู ปาลม์ นำ�้ มนั ในขณะที่
เอนโดสเปริ ม์ เรยี กวา่ เนอ้ื มะพรา้ ว ภายในมะพรา้ วจะ ราคาปาล์มน้�ำมันในปัจจุบันกลับราคาตกต่�ำลงอย่าง
มนี ้ำ� มะพรา้ ว ซง่ึ เปน็ อาหารสะสม ดอกมะพร้าวเป็น ต่อเน่อื ง สง่ ผลต่อการขาดหายสายพันธุ์ของมะพร้าว
ดอกแบบพานิเคิล (panicle) มีท้ังดอกตัวผู้และ ท้องถ่ินลดจ�ำนวนลงส่งผลต่อการสูญเสียความ
ดอกตวั เมยี อยใู่ นชอ่ เดยี วกนั ดอกมกี ลบี ดอก 6 กลบี ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ส า ย พั น ธุ ์ ม ะ พ ร ้ า ว ใ น จั ง ห วั ด
สีขาว สีครมี หรือสเี หลอื งนวล เมล็ด เปน็ แบบ seed สรุ าษฎร์ธานี (ส�ำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร,2561)
of kernel คอื เนอ้ื มะพรา้ วมลี กั ษณะภายในเมลด็ เปน็ มะพร้าวไฟและมะพร้าวนกคุ่ม เป็นพืช
ชอ่ กลวง ผลออ่ นจะมนี ำ�้ อยเู่ ตม็ ผลแกน่ ำ�้ มะพรา้ วจะ เศรษฐกิจท่ีมีลกั ษณะของประเภทตน้ เต้ีย ล�ำต้นโคน
แห้งไปบางส่วน (เตม็ สมติ นิ นั ทน์,2557) ตน้ ไมม่ สี ะโพก ตน้ เตย้ี โตเตม็ ทส่ี งู ประมาณ 12 เมตร
มะพรา้ วเปน็ พชื เศรษฐกจิ ทส่ี ำ� คญั ของจงั หวดั ทางใบสั้น มีการผสมตัวเองค่อนข้างสูง ซึ่งถ้ามีการ
สรุ าษฎรธ์ านมี พี ้ืนท่ีปลกู มะพรา้ ว 201,214 ไร่ และ ดแู ลปานกลางจะเรมิ่ ใหผ้ ลเมอ่ื อายุ 3-4 ปี มผี ลขนาด
ใหผ้ ลผลิต 124,998 ตันต่อปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 11 ของ เลก็ หอม หวาน มกี ลน่ิ หอม แตล่ ะสายพนั ธม์ุ ลี กั ษณะ
ผลผลติ มะพรา้ วในประเทศไทย (สำ� นกั งานเศรษฐกจิ แตกตา่ งกนั เชน่ เปลือกสีเขียวเหลอื งนวล (สีงาช้าง)
การเกษตร, 2556) ในปัจจุบันเกษตรกรชาวสวน นำ้� ตาลแดงหรือสสี ้ม ปัจจุบันมะพรา้ วนยิ มใช้ในการ
มะพร้าวในสุราษฎร์ธานี ต่างพอใจราคามะพร้าวที่ บรโิ ภคสดและสง่ ออกตลาดตา่ งประเทศ ตลอดจนใช้
ขยบั ตวั สงู ขน้ึ ในชว่ ง 5 ปี หลงั เคยตกตำ�่ ถงึ ลกู ละ 8-10 เป็นวัตถุดบิ ในอาหารและในอุตสาหกรรมเครือ่ งดมื่
บาท เปน็ ลกู ละ 22 บาทจากสวนคละลกู ซง่ึ เกษตรกร

44

ภาพท่ี 1 แสดงชอ่ ดอก ดอกย่อย ผล ของมะพรา้ วนกค่มุ (Cocos nucifera L.)
ภาพท่ี 2 แสดงชอ่ ดอก ดอกยอ่ ย ผล ของมะพรา้ วไฟ (Cocos nucifera L.)

45



ท่ีมีความส�ำคัญต่อการติดผลของมะพร้าวเพ่ือให้
เกษตรกรมีผลผลติ เพ่มิ มากขึ้น และมีรายไดม้ ากขน้ึ

เอกสารอา้ งอิง
- ลาวลั ย์ รกั สตั ย.์ 2534. เอกสารประกอบการเรยี น

การสอนเรอ่ื งละอองเรณ.ู ภาควชิ าพฤกษศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรงุ เทพฯ. 157 น.
- เต็ม สมิตินันทน.์ 2557. ส�ำนกั งานหอพรรณไม้.
ช่ือพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์.
กรุงเทพฯ : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ
พันธุ์พชื .
- ศู น ย ์ วิ จั ย ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชนนีนาถ.
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาชายแดนภาคใต.้ มะพรา้ ว
นกคุ่ม. (ออนไลน์). สืบค้น : srdi.yru.ac.th.
(20มิถนุ ายน2563).
- ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.2561.ข้อมูล
มะพร้าว. (ออนไลน์). สบื ค้น;http://www.oae.
go.th/ (20 มิถุนายน 2563).

47


Click to View FlipBook Version