The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562 โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jettanai_p, 2021-11-04 00:57:37

จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 5 สิงหาคม 2563

รายงานประจำปี 2562 โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการ

Keywords: จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น

ต�ำบลเวียง ต�ำบลทุ่ง ต�ำบลป่าเว และต�ำบลเลม็ด
ในการสืบสานและอนุรักษ์พันธุ์ข้าวหอมไชยา
และพัฒนา การผลิตข้าวหอมไชยาให้คงอยู่เป็น
เอกลกั ษณ์ของจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ขา้ วหอมไชยา เป็นช่ือพนั ธ์ขุ ้าวท่มี แี หลง่ ปลกู
ในทอ้ งทงุ่ ไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เปน็ ขา้ วพน้ื เมอื ง
ที่มีช่ือมาด้ังเดิม ปัจจุบันไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันท่ัวไป
แต่มีหลักฐานเป็นเอกสาร อ้างอิงได้ว่าพันธุ์ข้าวชื่อ
หอมไชยามมี านานแลว้ จากรายงานทดลองของสถานี
ทดลองควนกฎุ (ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วพทั ลงุ ปจั จบุ นั ) บนั ทกึ
วา่ เมอื่ ปี พ.ศ. 2496ได้ปลกู ข้าวขยายพันธโุ์ ดยแบ่ง
การทดลองเป็นแปลงขยายพันธุ์ และแปลงทดลอง
ผลผลิตตอ่ ไร่ ซึ่งทั้ง 2 งาน มชี ื่อพันธ์ขุ ้าวหอมไชยา
ปรากฏอยู่เปน็ 1 ใน 12 พนั ธ์ุ ท่ีปลูกในแปลงทดลอง
สมัยนั้นและทราบว่าข้าวหอมไชยาเป็นข้าวที่มีชื่อ
เสียงมาก่อนในท้องทุ่งไชยา ซึ่งเป็นที่ราบลุ่มอุดม
สมบูรณ์ ปลูกข้าวได้งอกงาม เนื่องจากมีน้�ำท่าจาก
คลองไชยาไหลผา่ นสมบรู ณ์ตลอดปี ท�ำให้มีการปลูก
ข้าวพันธุ์ที่นิยมกันมากท่ีทุ่งไชยา คือ ข้าวหอมจน
เรียกติดปากทั่วไปว่าข้าวหอมไชยามีการเล่าขานกัน
วา่ เวลาข้าวออกรวงจะหอมไปทั้งทุง่ เวลาหงุ จะหอม
ไปทว่ั บา้ น
100







กำ� จดั ศตั รมู ะพรา้ วดว้ ยภมู ปิ ญั ญาเพอ่ื ศกึ ษาภมู ปิ ญั ญา ทางสาขาวชิ าการพฒั นาชมุ ชนดำ� เนนิ งานตาม
ในการป้องกันและก�ำจัดศัตรูมะพร้าว ส่งเสริม กรอบเรียนรู้ทรัพยากรกจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมปกปกั
การจัดการความรู้ภูมิปัญญาเกษตรกรชาวสวน พันธุกรรมพืชพื้นท่ีเป้าหมาย อ�ำเภอไชยา อ�ำเภอ
มะพร้าวในการป้องกันและก�ำจัดศัตรูมะพร้าวด้วย ท่าฉาง อ�ำเภอพุนพินและอ�ำเภอเมือง จังหวัด
ภูมิปัญญาและสนองโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช สุราษฎร์ธานี โดยมีแนวทางในการด�ำเนินกิจกรรม
อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตน เป็นการส่งเสริมเกษตรกรชาวสวนมะพร้าวป้องกัน
ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี และกำ� จดั ศตั รมู ะพรา้ วดว้ ยภมู ปิ ญั ญามกี ระบวนการ
ท่ีใช้ในการเปลี่ยนแปลงและการยอมรับของชุมชน
เป้าหมายตามโครงการโดยการศึกษาปัญหาและ
ความต้องการของชุมชนผ่านกระบวนการการมี
ส่วนร่วม ส�ำรวจเก็บข้อมูลพื้นท่ีของเกษตรกร
ชาวสวนมะพร้าวที่ได้รับผลกระทบจากการระบาด
ของศัตรูมะพร้าวจากน้ัน ชุมชนจะต้องเป็นผู้ค้นหา
ปญั หาและความต้องการของชมุ ชน รว่ มตัดสนิ ใจใน
การเลือกแนวทางการพัฒนาชุมชน ชุมชนต้องเป็น
ผู้ลงมือปฏิบัติตามแผนงานหรือแนวทางการพัฒนา

104

และมีการประชุมติดตามและประเมินผลการ พาดที่คอ ขนตามล�ำตัวสีขาวหม่น ด้านหลังขนสีด�ำ
ดำ� เนนิ งานอย่างตอ่ เนื่อง สลับขาว กินแมลง หนอนและสัตวต์ ัวเล็ก ๆ
แตนเบียน
ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินในการกำ� จัดศตั รมู ะพร้าว แ ต น เ บี ย น ที่ พ บ ใ น
ทราย ประเทศไทยเป็นแมลงขนาด
ทรายหยาบหรือทราย เล็กเฉลี่ยโดยท่ัวไปอยู่ที่ขนาด
ก่อสร้างใส่ในกาบใบมะพร้าว ประมาณ 1.3-2.7 มิลลิเมตร
เม่ือด้วงแรดเจาะเข้ามาจะ ตัวเต็มวัยเพศเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย
ท�ำให้ทรายเข้าในคอด้วงขยับ ล�ำตัวสีน้�ำตาลปนเหลือง หรือน�้ำตาลปนด�ำหรือด�ำ
ตวั ได้ลำ� บากและตายในทส่ี ุด ล�ำตัวมีสีด�ำสะท้อนแสง ปลายท้องของเพศเมียมี
มดแดง ลกั ษณะเรยี วแหลม สว่ นปลายทอ้ งมเี ขม็ แหลมโคง้ สนั้
หากมีมดแดงอาศัยอยู่ ซ่อนอยู่ ใช้ส�ำหรับต่อยหรือการแทงอวัยวะท่ีมี
จะปราศจากหนอน แมลงด�ำ ลักษณะคล้ายเข็มแหลมเข้าในล�ำตัวหนอนหัวด�ำ
หนาม เพล้ีย รบกวน เพราะ มะพร้าวและปล่อยสารเขา้ ในล�ำตัว ท�ำใหห้ นอนเปน็
มดแดงจะกินสัตว์เหล่านี้เป็น อัมพาต หยุดการเคล่ือนไหวแต่ไม่ตาย สว่ นเพศเมยี
อาหาร ต้นมะพรา้ วทม่ี ปี ัญหาแมลงด�ำหนาม หากน�ำ ท่ีพร้อมวางไขจ่ ะมีพฤตกิ รรมค่อนข้างดุ กา้ วรา้ วและ
มดแดงไปเลี้ยงไว้จะหมดปัญหาท�ำให้ได้ผลผลิตเพ่ิม หว่ งที่
ขนึ้ ลดตน้ ทนุ การกำ� จดั ศตั รพู ชื และปลอดสารพษิ ดว้ ย เชื้อราเขยี วเมตาไรเซียม
วิธธี รรมชาติ (Metarhizium anisopliae)
นกเอี้ยง เชื้อราชนิดหนึ่งที่ท�ำให้เกิดโรคกับแมลง
นกก้ิงโครงคอด�ำตัวโต ลักษณะโดยทั่วไปของเช้ือราเมธาไรเซียม คือ
กว่านกเอี้ยงหงอน มีขนสีด�ำ เมอื่ เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทจ่ี ะมสี เี ขยี วหมน่ พบทวั่ ไปในดนิ

105

สามารถมีชีวิตอยู่ในดินได้นาน ท�ำให้มีระยะการ
ควบคุมไดน้ าน เปน็ เชอ้ื ราทไ่ี มม่ ีอนั ตรายต่อไสเ้ ดอื น
สตั วต์ า่ ง ๆ และมนษุ ย์ อกี ทงั้ เป็นเชอ้ื ราท่เี พาะเลี้ยง
ไดง้ า่ ย จงึ นยิ มนำ� ไปใชใ้ นรปู แบบของสารชวี นิ ทรยี ฆ์ า่
แมลง (สารชวี นิ ทรยี ์ หมายถงึ สง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ ชนดิ
หน่ึง เชน่ ไวรัส เชือ้ รา แบคทีเรยี หรอื จุลินทรีย์ท่มี ี
ประโยชนใ์ นดา้ นเกษตรและอุตสาหกรรม)
106





มวยไชยา และทกั ษะการเขยี นแผนทมี่ รดกวฒั นธรรม กจิ กรรมแรกเรม่ิ จากกจิ กรรมเขา้ ฐาน “สง่ เสรมิ
ภูมิปัญญาท้องถ่ินเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนได้ท�ำ ความรกั สามคั คี ความมรี ะเบยี บวนิ ยั เขา้ ใจสทิ ธหิ นา้ ที่
กิจกรรมร่วมกัน ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของตนเองและผู้อน่ื ” และกิจกรรมสัมพันธ์ “เข้าใจ
ซึ่งกันและกัน ได้รู้จักถึงถิ่นฐานบ้านเกิดของตนเอง ตนเอง” เข้าใจผู้อ่ืน โดยให้นักเรียนเข้าใจตนเอง
รู้สึกหวงแหนมรดกทางวฒั นธรรมท่ีตนเองมี และยงั เข้าใจผู้อ่ืนผ่านกิจกรรมบูรณาการปฏิบัติทาง
พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม กระบวนการทางจิตวิทยาในโรงเรียนในรูปแบบ
อันจะน�ำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและความมั่นคง กจิ กรรมเพอื่ พฒั นากระบวนภายในจติ ใจของนกั เรยี น
สงบสขุ ในสงั คม โดยเนน้ การด�ำเนินงานท่บี รู ณาการ เพ่ือดึงศักยภาพ ความสนใจ โดยแสดงออกอย่าง
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมและเน้น สรา้ งสรรค์
กลุ่มเป้าหมายเยาวชนในสถานศึกษาดังตัวอย่าง
โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนบา้ นยางโพรงทไี่ ดจ้ ดั 109
กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ
เกยี่ วกบั การฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ มวยไชยาและการเขยี น
แผนทมี่ รดกวัฒนธรรมภูมปิ ัญญาท้องถิน่

โดยใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรปู้ ระวตั ขิ องมวยไชยา ทา่ มวย
ไชยา และฝึกปฏิบัติท่ามวยไชยา เพื่อเสริมสร้างให้
นักเรียนและเยาวชนรู้สึกภาคภูมิใจและร่วมกัน
สืบสานมรดกวัฒนธรรมในทอ้ งถนิ่ ของตนเอง
จากน้นั กจิ กรรมวันที่ ๔ และวนั ที่ ๕ กิจกรรม
สุดท้ายที่ให้ผู้เรียนได้ตระหนักเขียนแผนท่ีมรดก
วฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ โดยใหน้ กั เรยี น ไดเ้ รยี นรู้
ชุมชนของตน ถิ่นฐานบา้ นเกิดของตนเอง สะทอ้ นให้
เห็นถึงมรดกวัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านกิจกรรมเขียน
แผนที่มรดกวัฒนธรรมโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้
จากบรบิ ทโรงเรยี นและชมุ ชนถน่ิ ฐานบา้ นเกดิ ของตน
เพอื่ กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นไดต้ ระหนกั รแู้ ละเกดิ จติ สำ� นกึ
ในการหวงแหนมรดกวฒั นธรรม

ส่วนกิจกรรมในวันท่ี 2 และวันท่ี 3 ได้ให้
องค์ความรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมทางภาคใต้
อนั ไดแ้ ก่ “มวยไชยา” ทงั้ น้ี ไดถ้ า่ ยทอดโดยฝกึ ปฏบิ ตั ิ
การสาธติ ทกั ษะ “มวยไชยา” ในการฝกึ ครง้ั นนี้ กั เรยี น
จะไดเ้ รยี นรพู้ รอ้ มฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั โิ ดยใชอ้ ปุ กรณจ์ รงิ
110

จะเห็นได้ว่าจากการจัดกิจกรรมในคร้ังนี้ยัง
เป็นการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับ
นกั เรยี น เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนด้านความรกั
ความสามคั คคี วามมรี ะเบยี บวนิ ยั และเขา้ ใจสทิ ธขิ อง
ผอู้ นื่ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทกี่ ำ� หนดขนึ้ โดย
พจิ ารณาจากสภาพสงั คม ซงึ่ ทำ� ใหม้ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ ง
เน้นและปลูกฝังลักษณะดังกล่าวให้เกิดข้ึนในตัว
ผเู้ รยี นทกุ คนเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การพฒั นาในองคร์ วม
ทงั้ สตปิ ญั ญา และคณุ ธรรม อนั จะน�ำไปสู่ความเจริญ
กา้ วหนา้ และความสงบสขุ ในสงั คม อกี ทง้ั สบื ทอดและ
สืบสานสู่มรดกศาสตร์และศิลป์ถิ่นใต้ให้คงอยู่สืบไป
แก่เยาวชนและชมุ ชนท้องถน่ิ

111

112
ถักทอมรดก ผ้ายกพุมเรยี ง

อรอุษา หนองตรดุ
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

ลวดลายที่วิจิตรประณีตของหัตถกรรมทอผ้า
หนง่ึ ในมรดกทางวฒั นธรรมทแี่ สดงออกถงึ อตั ลกั ษณ ์
อันโดดเด่นของชุมชนพุมเรียง อ�ำเภอไชยา จังหวัด
สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นชุมชนท่ีมีความหลากหลาย
ทางวัฒนธรรม เกิดจากการผสมผสานอารยธรรม
ศาสนา และวัฒนธรรมจากกลุ่มชนหลายเชื้อชาต ิ
เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทไ่ี ดร้ บั การถา่ ยทอดจนกลายเปน็ สนิ คา้
ทางวฒั นธรรมที่ไดร้ ับความนิยมและเป็นที่รูจ้ กั อย่าง
แพร่หลาย

หลากเสน้ ทางความเปน็ มา
หลากหลายค�ำบอกเล่าเกี่ยวกับเส้นทางของ
“ผ้ายกพุมเรียง” หรือ “ผ้าไหมพุมเรียง” มีข้อ
สันนิษฐานแรกกลา่ ววา่ เกิดขนึ้ ตงั้ แต่สมยั อาณาจักร
ศรวี ชิ ยั และเมอ่ื หลงั สงครามโลกครงั้ ทสี่ องเกดิ ปญั หา



สถานการณผ์ ้ายกพุมเรยี ง
ผ้ายกพุมเรียงมีรูปแบบและวิธีการทอที่
หลากหลาย แต่การทอแบบยกดอกเป็นวิธีการทอที่
ต้องอาศัยใช้ฝีมือในการทอท่ีมีความซับซ้อน ต้องใช้
เวลาอยา่ งมากในการผลิต ส่งผลต่อราคาของผา้ ไหม
ที่พุ่งสูงเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ยาก อีกทั้งเม่ือไทยได้รับ
อิทธิพลการแต่งกายตามวัฒนธรรมตะวันตก
เราเปลยี่ นจากการสวมใสผ่ า้ นงุ่ ผา้ ถงุ เป็นเส้ือผ้าแบบ
ร่วมสมัย ส่งผลให้วัฒนธรรมผ้าทอเร่ิมไม่เป็นท่ีนิยม
ท้ังวัตถุดิบในการผลิตเกิดปัญหาความขาดแคลน
ซ�้ำด้วยผลพวงจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ท�ำให้ผ้า
ยกพมุ เรยี งเรม่ิ ลดจำ� นวนการผลติ และเหลอื ผสู้ บื ทอด
น้อยลง

แนวทางการอนุรักษ์
การอนุรักษ์ควรต้องเกิดขึ้นสองทางพร้อมกัน
ทางหนึ่งคือการสืบทอดฝีมือการทอผ้าได้รับการ
ถ่ายทอดภูมิปัญญาจากคนในครอบครัว โดยอาศัย
การจัดการและรวบรวมองค์ความรู้ดั้งเดิมไว้ไม่ให้
สญู หายหรอื ผดิ แผกจากเดมิ ผา้ เกา่ หรอื เครอ่ื งแตง่ กาย
โบราณเป็นส่วนส�ำคัญในการสืบเสาะร่องรอยทาง
ประวัติศาสตร์ท่ีผูกโยงร้อยเรียงวิถีชีวิตด้ังเดิมให้คน
114



116
วทิ ยาลัยนานาชาติชวนเดนิ ปา่
นอนเตน็ ท์ เลน่ น�ำ้ ตก

เจตนัยธ์ เพชรศรี
วทิ ยาลยั นานาชาติการทอ่ งเท่ียว

“การเริม่ ตน้ มกั ยากเสมอ การเรม่ิ ตน้ ในสิ่งใหม่ ๆ น้นั มันยากลำ� บาก กอ่ นที่
จะประสบความสำ� เรจ็ จะตอ้ งพบอปุ สรรคไมม่ ากกน็ อ้ ยการเรยี นรู้ และกา้ วขา้ มผา่ น
อุปสรรคเหล่าน้นั ”

จุดเร่ิมต้นจากความสนใจทางด้านการ ทรพั ยากรทีช่ มุ ชนมีอยู่ ผ่านไป 1 ปี กลุม่ ท่องเที่ยว
ทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชนในพนื้ ทบี่ า้ นสวนปราง ต.คลองสระ อนรุ กั ษ์พทิ กั ษภ์ รู นิ ไดเ้ ริม่ เดนิ กา้ วแรก ด้วยการเปดิ
อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี จากกลุ่มท่องเท่ียว พนื้ ทที่ อ่ งเทยี่ วกบั กจิ กรรมทอ่ งเทยี่ ว เดนิ ปา่ นอนเตน็ ท์
“อนรุ กั ษพ์ ทิ กั ษภ์ รู นิ ” ไดเ้ รมิ่ กอ่ ตงั้ กลมุ่ โดยตกลงกนั เลน่ นำ�้ ตก นกั ทอ่ งเทย่ี วสว่ นใหญเ่ ขา้ มาในพน้ื ทนี่ ำ�้ ตก
ว่าจะท�ำการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บนพ้ืนฐาน ภรู ิน จะแบ่งเปน็ 2 กล่มุ คอื มาเทยี่ วน�ำ้ ตกเชา้ มาเยน็
เดินทางกลับ ศึกษาธรรมชาติใกล้เคียง และกลุ่ม
ท่องเท่ียวธรรมชาติแบบค้างคืนโดยทางกลุ่มได้เข้า
มาบรหิ ารจดั การพนื้ ทบี่ รเิ วณนำ�้ ตกและสวนปา่ ชมุ ชน
ประกอบดว้ ย การจดั การนกั ทอ่ งเทยี่ วตง้ั แตข่ บั รถเขา้
มาในบรเิ วณนำ�้ ตกจดั พนื้ ทจี่ อดรถ เมอ่ื มนี กั ทอ่ งเทยี่ ว
เพม่ิ ขนึ้ ปญั หาทตี่ ามคอื เรอ่ื งของขยะ ทางกลมุ่ บรหิ าร
จัดการเรื่องของการกันส่วนพื้นที่ปลอดขยะขึ้นซึ่ง
บรหิ ารจดั การโดยชมุ ชนและบรหิ ารจดั การรา้ นคา้ ใน
พนื้ ท่ีใหใ้ ช้วัสดุธรรมชาติ
ส�ำหรับกิจกรรมท่องเท่ียวในพื้นที่ พบกับ
กจิ กรรมเดนิ ปา่ ศกึ ษาความหลากหลายทางธรรมชาติ
ชมความสวยงามของธรรมชาติ สัตวป์ ่า น้ำ� ตก และ
พรรณไม้ เช่น ลูกพะยอม มะหาด ลูกนาง เปน็ ตน้ ใช้
เวลาในการเดนิ ทางประมาณ 1 ชว่ั โมง สนกุ สนานกบั
การตั้งแค้มป์ ผกู เปล บริเวณลานหนิ ดาน ทา่ มกลาง
ธรรมชาตริ ม่ รนื่ ตลอดแนวนำ้� ตกและประกอบอาหาร
พน้ื ถน่ิ การกอ่ กองไฟ และปรงุ อาหารดว้ ยหมอ้ สนาม

117





วถิ ชี มุ ชนคนท�ำประมงยังคงมเี สนห่ ์
ข้ันตอนส�ำคัญในด้านการส�ำรวจทรัพยากร
กิจกรรมของชุมชน นักศึกษาได้ลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูล
และภาพถา่ ยชุมชน เรม่ิ ต้นส�ำรวจพน้ื ที่ดว้ ยการลงดู
ชมุ ชนมสุ ลิม น่าจะเปน็ เป้าหมายแรกทนี่ กั ท่องเทีย่ ว
ยคุ แรก ๆ สนใจด้านวิถชี วี ิต กบั ทะเลประมงพนื้ บ้าน
ท่ีมีเรือธงสีสวยจอดลอยล�ำตัดกับทะเลสวยของ
เกาะสมุย โดยครูเลาะ นายอับดุลเลาะ มะลี
ผู้ประสานงานชุมชน น�ำนักศึกษาเข้าส�ำรวจพื้นท่ี
อธบิ ายว่า “ปลานเ้ี พงิ่ ขึน้ ปลาน้มี เี ยอะในทะเลสมุย
ทเ่ี ดน่ ๆ คงเปน็ ปลาพราม เอาไปทำ� เมนนู ยิ มพน้ื บา้ น
สมยุ ” นอกจากปลาสด ปลาตากแห้งยงั มีใหเ้ ห็นขา้ ง
ทาง ณ ตลาดชุมชนมุสลิมหัวถนน นักศึกษาได้เห็น
สินค้าผลิตผลจากทะเลของชุมชน ขนมหน้าตาแตก
ต่างจากห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ โลตัส แมคโคร
ในแถบโซนเฉวงบ้างส่ิงท่ีน่าสนใจถัดมาคือโรงงาน
เคยปลา (กะปิปลา)ท่ีบดกันเห็น ๆ ของป้าวันเพ็ญ
เราเข้าไปดูกระบวนการผลิต เคยปลาเป็นร้อยโอ่ง
ผลิตจากปลาหลังแข็งบดตากแดดสองรอบ ปริมาณ
การผลิตไม่ลดลงเลย ปลาทะเลสมุยยังอุดมสมบูรณ์
เคยปลาผลิตไม่ตีตราแต่ส่งขายท่ัวเกาะ และส่งออก
ไปขายท่ีอื่นด้วย ในชุมชนมุสลิมเริ่มท�ำธนาคารปูมา

120



ให้กลับเป็นนาข้าวท่ีเหลืออยู่ไม่ก่ีผืนกลางเกาะสมุย ที่ลุงป้ากล่าวถึงจะมีข้าวบินพันธุ์ท่ีปลูกเพื่อเอาไปท�ำ
เมื่อพูดถึงนาข้าวในอดีตเรื่องราวของขวัญข้าวจึงถูก ขนมจนี ข้าวเงนิ ยองทบ่ี อกวา่ ดีทีส่ ดุ เปน็ สายพนั ธุ์มา
พูดถงึ ปา้ น้ยุ นางเตือนใจ สมวงศ์ ลุงเจตน์ หรอื ลงุ จากพม่า ข้าวทองดี ฯลฯ และที่นาตาเจตลงไว้ใน
สมเจตน์ สมวงศ์ สองสามภี รรยานกั ขบั เคลอื่ นเกษตร แปลงนาตอนนี้คือข้าวมะลิหอมใหญ่จากสระแก้ว
อนิ ทรยี แ์ ละวถิ ขี า้ ว ใหข้ อ้ มลู เพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั โครงการ ซง่ึ เปน็ ขา้ วสายพนั ธใ์ุ หม่และใชว้ ธิ กี ารดำ� หลงั จากเพาะกลา้
ท่ีได้ริเริ่มท�ำมาสักระยะเกี่ยวกับการฟื้นฟูอนุรักษ์วิถี เพราะเช่ือว่าท�ำนาด�ำน่าจะได้ผลผลิตเยอะสุดท�ำนา
ข้าวของชาวสมุยท่ีสูญหายไปแล้ว “ท่ีน่ีเรียกพิธี ข้าวส่ิงส�ำคัญคือแหล่งน้�ำ ลุงเจตกั้นฝายน�้ำท่ีต่อมา
ผูกข้าว” ลุงเจตอธิบายว่าเมื่อก่อนขวัญข้าวเป็น
พิธีกรรมรวม ร่วมกันของคนในชุมชน ท�ำรวมเสร็จ
แล้วหมอข้าว หรือหมอท�ำพิธีกรรมจะแยกไปท�ำให้
ทลี ะแปลงทีละเจา้ ของอีกคร้งั เรยี กว่า “ผกู ขา้ ว” ท�ำ
เพ่ือบูชาแม่โพสพก่อนเก็บเก่ียว ป้านุ้ยพูดเสริมถึง
ขนมทใี่ ชท้ ำ� พธิ ใี นอดตี ไมว่ า่ จะเปน็ ขนมโค ขนมลนิ้ ควาย
ขา้ วพอง ขนมแดงขนมขาว ณ จดุ นนี้ กั ศกึ ษาเรม่ิ ไดย้ นิ
คำ� ว่า “อยูเ่ ครง” ภาษาสมุยซึ่งหมายถึง ปจั จบุ ันน้ี
การปลูกข้าวนาปีในอดีตของคนสมุยที่จ�ำได้
เรม่ิ ปรบั ทก่ี อ่ นทจี่ ะดำ� นาเดอื นสบิ หลงั ดำ� นาชาวบา้ น
กท็ ำ� สวนสมยั นน้ั คอื สวนมะพรา้ วเปน็ หลกั เลยี้ งควาย
แล้วรอให้ข้าวสีทองช่วงเดือนสองเดือนสามและเริ่ม
เก็บเกี่ยวเดือนส่ี แล้วท้ิงพื้นท่ีพักดินปลูกถั่วปลูกผัก
ปลกู แตงเลย้ี งควาย ขคี้ วายในนากก็ ลายมาเปน็ ปยุ๋ ให้
กบั ดนิ กอ่ นทจ่ี ะเรมิ่ ปรบั ทปี่ ลกู ขา้ วรอบถดั ไป พนั ธข์ุ า้ ว

122

จากเขาตาเจตลงมาเปน็ คลองไหลลงมาแล้วกันนำ�้ ไว้ ผลติ ภณั ฑแ์ ละผลติ ผลทางการเกษตรชมุ ชนคน
ใชใ้ นนาทำ� นบกนั้ นำ้� ไวเ้ ปดิ ปดิ เวลาตอ้ งการนำ้� ใหไ้ หล
ไปตามคลองไสไ้ ก(่ เหมอื งหรอื คลู ำ� เลยี งนำ้� ขนาดเลก็ ) เกาะสมยุ
ลงุ เจตอธบิ ายวา่ “ทอ่ งมะเรต็ ดนิ ดที ส่ี ดุ ” นนั่ หมายถงึ สวนฮันน่ีโรสกับผลิตภัณฑ์เชิงสุขภาพ
ทงุ่ นาหรอื ทอ้ งนาบา้ นมะเรต็ มคี ณุ ภาพดสี ดุ เหมาะแก่ สมนุ ไพรธรรมชาติ นอกจากสวนฮนั นโ่ี รสเปน็ จดุ ชมววิ
การเพาะปลกู เพราะเปน็ ทต่ี ำ�่ รบั นำ�้ และแรธ่ าตบุ นเขา จดุ แวะพกั รบั ประทานอาหารแลว้ พม่ี ณี อยุ่ ประเสรฐิ
กลางเกาะสมยุ ไหลลงมาทบั ถมกนั ขา้ วทรี่ อเกบ็ เกย่ี ว เจ้าของสวนยังมีผลิตภัณฑ์น้�ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่
น้ีจะถูกน�ำไปสีท่ีโรงสีท่ีบ้านสระเกศ และน่าจะเป็น แสดงสาธิตวิธีการกลั่นอย่างมีระบบ ผลิตภัณฑ์
โรงสีข้าวโรงเดียวในเกาะสมุยการท�ำนาในอดีตชาว สมุนไพรมีให้เลือกซ้ือและมีโรงอบสมุนไพรใช้ในการ
บา้ นวางแผนไดร้ ายปแี ตป่ จั จบุ นั อากาศเปลยี่ นแปลง ผลติ จากพลงั งานแสงอาทติ ยด์ ว้ ยกจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ ว
ทุกปี การทำ� นาจ�ำเปน็ ต้องใช้การสังเกตและติดตาม ในส่วนเป็นไปในเชิงสร้างสรรค์มีการสาธิตการกวน
ขา่ วสารทศิ ทางอากาศ กำ� หนดเดอื นเรมิ่ ตน้ ปลกู คอ่ น ยาหนมหรือกาละแมพ่ีมณีอธิบายการท�ำยาหนมใน
ข้างยาก แต่อย่างไรก็ตามท่ีแน่นอนกว่าอากาศคือ สมยั กอ่ นไวว้ า่ “พอ่ จะตดั ชอ่ ดอกมะพรา้ วใสก่ ระบอก
อดุ มการณข์ องปา้ ในการอนรุ กั ษว์ ถิ เี ดมิ ของคนสมยุ ที่ ไมไ้ ผ่ พ่อต่ืนมาจะกวนนำ้� ตาลเกบ็ ไว้ ขา้ วเหนยี วตอ้ ง
หายไปแลว้ ให้กลับมามีชวี ติ อีกครง้ั แช่ไว้ข้ามคืน ต่ืนมาก็เอาข้าวเหนียวมาบดใส่น้�ำ
เยอะๆ เดก็ ๆตอ้ งไปหาทางมะพรา้ วมาท�ำฟนื สำ� หรบั
กอ่ เพอ่ื กวนขนม ชว่ ยกนั เลอื กมะพรา้ วสกุ หา้ ว จดั การ
ปอกมะพรา้ ว ผา่ แลว้ ขดู และค้ันกะทิ พ่อจะค้ันให้
เพราะมีแรงเยอะสุดจะได้กะทิเยอะ ๆ แล้วจากนั้น
พ่อตั้งเตาตั้งกระทะ (ก่อนเขาไฟเอากระทะต้ัง) ถึง
ขน้ั ตอนการกวน ทกุ ๆ คน จะชว่ ยกนั กวน ผลดั กนั กวน
ยา่ พมี่ ณที ำ� ยาหนมอรอ่ ยมฝี มี อื ทำ� แลว้ เกบ็ ใสห่ มอ้ เพลง้
(หมอ้ แขก) เกบ็ ไวไ้ ดน้ าน ๆ เวลาจะกนิ กไ็ ปดงึ (หยบิ )

123

มาจากหม้อมาแจกใหห้ ลาน ๆ กนิ การกวนยาหนม
ใหอ้ รอ่ ยตอ้ งใชเ้ ทคนิคการกวน ปริมาณฟืน มะพรา้ ว
ทเ่ี ลอื กมาทำ� และนำ�้ ตาลทใ่ี ชค้ อื นำ้� ตาลมะพรา้ ว หรอื
น�้ำตาลโตนด ยิ่งบดแป้งเองย่ิงอร่อย ยาหนมใน
ปัจจุบัน คนเรียกกาละแมใส่แบแซ (น�้ำตาลโมเลกุล
ใหญ่ ไม่มีรสชาติ ลักษณะข้นเหนยี ว ใช้เป็นสว่ นผสม
ในขนมท่ีต้องการความเหนียว) เพื่อยืดอายุ ความ
ดงั้ เดมิ หายไป คณุ คา่ ทางอาหารน้อยลง”
นอกจากนักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้การท�ำ
กาละแมหรือยาหนมของเกาะสมยุ ยังไดเ้ ดนิ ชมสวน
กุหลาบสมนุ ไพรทา่ มกลางววิ เขาสวย ๆ มผี ลติ ภัณฑ์
สมุนไพรน�้ำมันมะพร้าวให้เลือกซื้อ เอกลักษณ์ที่
บ่งบอกถึงความเป็น Honey Rose พี่มณีบอกว่า
ฮั่นน่ีโรสคือแหล่งรวบรวมสมุนไพรนานาชนิดของ
เกาะสมยุ มีผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเองซึ่งมาจากสมุนไพร
และธรรมชาติส�ำหรับดูแลรักษาสุขภาพพร้อมท้ังได้
เยี่ยมชมสวนสวยหอมอบอวลไปดว้ ยกลิน่ กหุ ลาบ และพระราโชบายในหลวงทตี่ อ้ งการใหร้ าชภฏั เปน็ ท่ี
ธรุ กจิ โรงแรม มภี ารกจิ การรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม พึ่งของท้องถ่ิน วันน้ีนักศึกษาสาขาโรงแรมหลักสูตร
ชุมชนท้องถิ่นและส่ิงแวดล้อมนักศึกษาหลักสูตร นานาชาติปรับโหมดการเรียนรู้สู่บทบาทนักพัฒนา
การจัดการโรงแรมจ�ำเป็นต้องเรียนรู้ท�ำงานร่วมกับ ท่ามกลางการเป็นแหล่งท่องเที่ยวนานาชาติกระแส
ชมุ ชนเหน็ คณุ คา่ ของทรพั ยากรทอ้ งถนิ่ และสงิ่ แวดลอ้ ม หลักเกาะสมยุ มมี ติการเรียนร้อู ีกมิติทยี่ ำ�้ เตือนความ
โครงการวศิ วกรสงั คม ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั ฯ เป็นท้องถ่ินรากหญ้า เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้รับ
124





จะพบวา่ ปญั หาพน้ื ฐานในสงั คมไทย คอื ความเหลอ่ื มลำ้� มัสยิดมีส่วนร่วมในการขัดเกลาจิตวิญญาณ โดยมี
ทางสังคมเศรษฐกิจ และการศึกษา อันเป็นเง่ือนไข ศาสนาเป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจอันเป็นรากฐาน
ท่ีท�ำให้เกิดความแตกต่างทางความคิดทางการเมือง ส�ำคัญของสังคมไทยมาอย่างยาวนาน มีชุมชนเป็น
จนกลายเป็นความขัดแย้งในสังคมท่ีทวีความรุนแรง ศูนย์กลางของการจัดกิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรม
ข้ึนมาตามล�ำดับการสร้างบรรยากาศแห่งความ ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ผู้เขียนมีความหวังเป็น
ปรองดองด้วยการเปิดพ้ืนที่ให้ทุกฝ่ายได้มีโอกาส อย่างยิ่งว่า ความร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเน่ือง
แลกเปล่ียนความคิดเห็นและร่วมมือกันสร้างความ ระหว่างบ้าน วัด/มัสยิด โรงเรยี น และชมุ ชนเป็นบอ่
ปรองดองบนพ้ืนฐานของความจริงจังและจริงใจ เกิดของความสามัคคี ทำ� ใหส้ งั คมไทยผ่านพน้ ปัญหา
ปลูกจิตส�ำนึกให้เด็กและเยาวชนมีความสามัคคี ต่าง ๆ ไปไดเ้ สมอ
รกั ทอ้ งถน่ิ ภาคภมู ใิ จในศลิ ปวฒั นธรรม รจู้ กั วางแผน เมอ่ื ปี พ.ศ.2562 ผเู้ ขยี นไดม้ โี อกาสขบั เคลอ่ื น
และมองเห็นคุณค่าของชีวิตตนเองและผู้อ่ืนเป็น โครงการตามพระราโชบาย “กิจกรรมส่งเสริมความ
ส�ำคญั รกั ความสามคั คี มรี ะเบยี บวนิ ยั เขา้ ใจสทิ ธหิ นา้ ทข่ี อง
รปู แบบของการปลกู จติ สำ� นกึ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ตนเองและผู้อ่ืน” ซ่ึงเป็นปีแรกของโครงการ โดยมี
จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื รว่ มใจของทกุ ภาคสว่ น ความคิดริเร่ิมมุ่งเป้าหมายไปที่นักเรียนในระดับ
ในสังคมโดยอาศัยการบูรณาการร่วมกัน เสมือน ประถมศกึ ษาเป็นสำ� คญั และได้รับความร่วมมอื เป็น
กลยุทธ์หน่ึงที่จะปลูกฝังความคิด ทัศนคติ และ อย่างดีจากโรงเรียนในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ค่านิยมโดยเฉพาะกับเด็กและเยาวชนให้ได้ตระหนัก ชุมพร และระนอง จ�ำนวน 27 โรงเรียนเข้าร่วม
ถึงความส�ำคัญในสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบัน โครงการลักษณะกิจกรรมเป็นการบูรณาการเข้ากับ
การสร้างเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมจะมจี ดุ เร่ิมต้นหลกั การเรียนรู้ในห้องเรียนโดยผลิตชุดหนังสือช่ือ “รู้รัก
ท่ีสถาบันครอบครัว ซ่ึงมีความส�ำคัญในการขัดเกลา สามัคคี พลังความดีที่ยิ่งใหญ่” ในหนังสือมีการ
ความคิดข้ันพื้นฐาน โรงเรียนจะมีบทบาทและมี รวบรวมเรื่องราวท่ีมีคุณค่าอันเกิดจากความสามัคคี
ส่วนร่วมในฐานะผู้ถ่ายทอดวิชาความรู้ ส่วนวัดหรือ ของคนในชาติ ยกตัวอย่างเช่น ความสามัคคีท่ี

127

ถ�้ำหลวง 13 หมปู า่ ตดิ ถ้ำ� หลวง เปน็ กรณีศกึ ษาที่โดง่
ดังไปทั่วโลก นอกจากน้ียังสอดแทรกกิจกรรม
การเรียนรู้นอกห้องเรียนกิจกรรม “วอล์คแรลลี่”
(Walk Rally) ซ่ึงเป็นกจิ กรรมกล่มุ ที่กระทำ� ควบคไู่ ป
กบั การแทรกสาระ ใหเ้ หมาะสมกบั ชว่ งวยั และสภาพ
แวดล้อมในชุมชนท้องถิ่น โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วม
กจิ กรรมอาศยั ทกั ษะ และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลมุ่
เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการท�ำงานร่วมกัน มีความ
คิดสร้างสรรค์ในการท�ำงาน หรือการสร้างผลงาน
เชิงสัญลักษณ์โดยการผสมผสานความสนุกสนาน
ต่นื เต้น ทา้ ทาย สรา้ งมนุษยสัมพันธ์ มไี หวพรบิ และ
สมรรถภาพทางร่างกายเขา้ ไว้ดว้ ยกันเปน็ ตน้
ต่อมาในปี พ.ศ.2563 ผู้เขียนได้ขยายผล
โครงการสู่ชุมชน โดยมีเป้าหมายหลักคือประชาชน
ส�ำหรับกิจกรรมส่งเสริมความรักความสามัคคีฯ
ในภาคประชาชนน้ัน จ�ำเป็นต้องอาศัยการพูดคุย
ท�ำความเข้าใจ ปรับทัศนคติ รู้จักตนเองและผู้อื่น
“เวทชี มุ ชน” จงึ เปน็ ตวั เลอื กสำ� คญั ในการหลอ่ หลอม
ใหท้ กุ ฝา่ ยไดม้ โี อกาสแสดงทศั นะ มมุ มองทางความคดิ
และอุดมการณ์ของตน ภายใต้หัวข้อการพูดคุย
“ความสุขของเรา คือความสงบสุขของสังคม” ทำ� ให้
ทกุ คนทุกฝ่ายไดเ้ รียนรซู้ ง่ึ กันและกนั นอกจากน้ยี งั มี
128

การแข่งขันกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ในชุมชน โดย สามัคคี มโนราห์สร้างสรรค์ ร�ำวงเวียนครกย้อนยุค
อาศัยกีฬาพื้นบ้านซึ่งสามารถเล่นได้ทุกช่วงวัย บนเวทีมีการแสดงของเด็กและเยาวชน ตลอดจนถึง
เป็นการรว่ มแรงรว่ มใจ รู้แพ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั ผ้สู งู อายุ ภายในงานมกี ารจัดจำ� หน่าย สนิ คา้ พื้นบา้ น
ปดิ ทา้ ยดว้ ยกจิ กรรมทแี่ สดงถงึ อตั ลกั ษณแ์ ละ เพอื่ สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ไปในตวั โดยรายได้
ความต้องการของคนในท้องถ่ิน คือกิจกรรมชุมชน ทง้ั หมดเปน็ การกศุ ลใหก้ บั โรงเรยี นขนาดเลก็ ในชมุ ชน
สมั พนั ธ์ ในรปู แบบ “งานวดั จำ� ลอง” เปน็ การถา่ ยทอด เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ทุนการศึกษาใหล้ กู หลานตอ่ ไป
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น หนังตะลุง ทผี่ ูเ้ ขยี นกลา่ วมาข้างตน้ เป็นแคต่ ัวอยา่ งหนงึ่
ของกิจกรรมคงไม่สามารถอธิบายผลลัพธ์ของความ
ส�ำเร็จได้ 100% แต่ก�ำลังอธิบายให้เห็นว่าความ
สามคั คสี ำ� คญั มากความสามคั คจี ะชว่ ยใหช้ าตขิ องเรา
แขง่ ขนั กบั ประเทศอนื่ ๆ ไดส้ บาย หากคนในชาตริ จู้ กั
ช่วยเหลือกัน รู้จักความสามัคคี ท�ำงานกันเป็นทีม
รจู้ กั กลา่ วคำ� ขอโทษเมอื่ ทำ� ผดิ มคี วามรสู้ กึ รบั ผดิ ชอบ
ต่อหนา้ ทข่ี องตนเอง และผู้อน่ื เพยี งเท่านี้ก็จะนำ� พา
ให้สังคมไทยมีความสงบสุข มีความเจริญก้าวหน้า

129



131
งานงา่ ยๆ เรือ่ งการเบิกจ่าย

ภุมรี กอ้ งศริ วิ งศ์
กองคลัง

ความเสี่ยงที่เกิดจากการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายใน ทเ่ี คยท�ำ ทำ� ตามทค่ี นเก่าสอน โดยไมศ่ ึกษาใหร้ แู้ ละ
การเดนิ ทางไปราชการและคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม เขา้ ใจในระเบยี บ และแนวปฏบิ ตั ใิ หม่ ๆ และผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
และแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่บุคลากรต้อง ขาดความรับผิดชอบไม่รอบคอบในการปฏิบัติงาน
พึงระวังในการเบิกจ่ายเงินของภาครัฐ ที่เห็นได้และ โดยไมร่ ู้ ไมเ่ ขา้ ใจในระเบยี บและไมข่ อคำ� ปรกึ ษาจาก
พบบ่อย ๆ คือความเส่ียงในการใช้ดุลยพินิจของ ผู้รู้ หรือท�ำความเข้าใจในระเบียบส่งผลกระทบ
ผมู้ อี ำ� นาจ ความเสย่ี งทเ่ี กดิ จากการเขา้ ใจระเบยี บ มติ ต่อการเบิกจ่ายเสี่ยงต่อการเบิกเงินเกินวงเงินของ
หรือกฎหมายคลาดเคลื่อนของผู้ท�ำหน้าท่ีเบิกจ่าย งบประมาณตามภารกิจหรือโครงการที่ได้รับอนุมัติ
ความไม่เข้าใจในระเบียบของผู้เบิก ตลอดจนการ น้ัน ๆ และการเบิกจ่ายเงินไม่สอดคล้องกับภารกิจ
ปรบั เปลยี่ นขอ้ บงั คบั หรอื ระเบยี บใหมๆ่ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน ของหนว่ ยงาน เปน็ ปญั หาทห่ี นว่ ยงานหรอื องคก์ รนน้ั ๆ
ไมเ่ รยี นรแู้ ละทำ� ความเขา้ ใจในระเบยี บใหช้ ดั เจนถกู ตอ้ ง ต้องรับภาระความเส่ียงจากระบบการควบคุมท่ี
การใชด้ ลุ ยพินจิ เบกิ จ่าย กฎหมายใหอ้ �ำนาจสามารถ ไม่รัดกุม ท�ำให้เกิดความเส่ียงต่อการเบิกจ่าย
ท�ำได้แต่ต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนราชการ งบประมาณขององคก์ ร
และประชาชนเป็นหลัก กระบวนการต้องชอบด้วย การปฏิบัติไม่ถูกต้องครบถ้วนตามระเบียบฯ
กฎหมาย ถกู ต้องตามระเบียบ ขอ้ บงั คบั และมติครม. ก�ำหนด การเบิกจ่ายเงินท่ีไม่สามารถเบิกจ่ายได้
ถงึ จะสามารถอนมุ ตั ไิ ดแ้ ละการปฏบิ ตั งิ านโดยไมร่ ู้ ไม่ ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเบิกจ่ายและอาจมี
เข้าใจในระเบียบของผู้ปฏิบัติงาน ท�ำแบบเดิม ๆ ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังโทษปรับ

ทางปกครองได้ ผู้ปฏิบัติงานที่ต้องรับผิดชอบด้าน 4. งบหน้าใบส�ำคัญจ่ายในการเดินทางไป
การเงินการคลังต้องพึงระมัดระวังให้ดีในเรื่องการ ราชการ
เบิกจ่ายเงิน วันนี้เรามาเรียนรู้ง่าย ๆ กับวิธีการ แค่น้ีท่านก็สามารถเดินทางไปราชการตาม
เบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ สิทธิ์ โดยไม่รู้สึกว่าการเดินทางไปราชการเป็นสิ่งที่
แบบง่ายๆ เรียนรู้ง่าย ๆ กับวิธีการเบิกจ่ายเงิน น่ากลัวอย่างท่ีคิด ส�ำหรับบุคลากรท่ีต้องเดินทางไป
ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการของบคุ ลากรของ ราชการเพอื่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ ามคำ� สงั่ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
รฐั วา่ ตอ้ งท�ำอย่างไรบา้ ง สง่ิ แรกท่ตี อ้ งทำ� คือ ให้เดินทางไปราชการข้องใจเร่ืองการเบิกจ่ายคร้ัง
1. หนังสือขออนุมัติการเดินทางไปราชการ ต่อไปตดิ ต่อสอบถามกองคลงั ได้
จากผ้มู อี �ำนาจ (ค�ำสั่งไปราชการ)
2. ใบเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ
แบบ 8708
3. หลกั ฐานการจา่ ยเงนิ ทใ่ี ชใ้ นการเดนิ ทางไป
ราชการ ประกอบดว้ ย
- ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา่ นำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ (กรณี
ใชร้ ถยนต์ของราชการ)
- ใบเสร็จรับเงินค่าตั๋วเครื่องบินที่แสดง
รายละเอียด การเดินทางที่เรยี กวา่ Itinerary
- ใบรับเงินค่าผ่านทางด่วน (กรณีใช้รถ
ราชการ)
- ใบเสร็จรับเงนิ คา่ ทพ่ี ัก (กรณีจา่ ยจริง)
- ใบรบั รองการจา่ ยคา่ พาหนะเดนิ ทางท่ี
ไมม่ ีใบเสรจ็ ตามแบบ บก.4231

132

133
นาข้าวเลา่ เรอื่ ง

สิทธชิ ัย ชีวะโรรส
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

“What is Chaiya Fragrant Rice?”“Do you still have this
kind of rice” ค�ำถามของคนยุคใหม่ที่สะท้อนให้ถึงความคุ้นเคยต่อ
ข้าวหอมไชยาที่แทบจะไม่เหลืออยู่ ทั้งที่จริง ๆ แล้วประวัติข้าวหอม
ไชยามีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นทางการในหลายที่แหล่ง
ขอ้ มูล รอเพียงแค่เวลาแห่งการบอกเล่า...ให้นาข้าวเลา่ เร่ือง
ข้าวหอมไชยา หรือข้าวหอมห่วงหรือข้าวหอมแดง ซ่ึงปลูกกัน
มาชา้ นานแล้ว ตามคำ� บอกเลา่ ของคนอาย ุ 60-70 ปี ที่เล่าว่าเกิดมา
ก็พบเห็นข้าวหอมน้ีแล้วการปลูกข้าวหอมไชยาเม่ือถึงฤดูการท�ำนา
ในช่วงเดือนมิถุนายนก็มาพร้อมกับฝนเวลาปลูกข้าวหอมไชยาส่ิงที่
เกิดขึ้นเป็นปกติก็คือเร่ืองน�้ำท่วมเมื่อเกิดน้�ำท่วมสิ่งท่ีมากับน�้ำท่วมคือ
ความเสยี หายทเี่ กดิ จากนำ้� แตก่ ระนนั้ ความพเิ ศษของธรรมชาตกิ แ็ สดง
ให้เห็นนั้นก็คือข้าวหอมไขยากลับไม่ได้รับความเสียหายเลยแต่มีผล
ตรงกนั ขา้ มคอื ตน้ กลา้ ขา้ วกลบั งอกสงู สกู้ บั ความสงู ของนำ�้ ทเี่ จงิ่ นองใน
พนื้ ทกี่ ารปลกู ขา้ วเปน็ ทอ่ี ศั จรรยใ์ จยง่ิ นกั ขา้ วหอมไชยาจงึ นยิ มปลกู ใน
ที่มนี �้ำมากเน่อื งจากข้าวไม่ได้รับความเสยี หายเมอื่ มีนำ�้ หลาก นอกจาก
ความทนน�้ำของพันธุ์ข้าวหอมพันธุ์ไชยาหรือข้าวหอมห่วงนี้ยังมี

ความพิเศษอีกอย่างหนึ่งคือกลิ่นความหอมของข้าว
เม่ือออกดอก กล่ินจะหอมทั่วทุ่งข้าวที่ชาวบ้านปลูก
จนเปน็ ทรี่ กู้ นั วา่ กลน่ิ นเี้ ปน็ กลน่ิ ของขา้ วหอมหว่ งหรอื
ท่ีรู้จักกันในนามข้าวหอมไชยา นอกจากนั้นเมื่อน�ำ
ขา้ วไปหงุ แลว้ ขา้ วกจ็ ะมกี ลน่ิ หอมมากจนมกี ารพดู กนั
ตดิ ปากวา่ “เวลาออกรวงหอมไปท่วั ท่งุ เวลาหงุ หอม
ไปทั่วบ้าน” ข้าวมีกล่ินหอมรสชาติหวานมันงอกงามและ
มเี รอ่ื งเลา่ สบื ทอดกนั มาวา่ ตาหว่ ง หรอื ตาฮว่ ง เม่ือมีคนเดินผ่านนาของตาห่วงในช่วงออกดอกออก
เปน็ ชาวไชยามอี าชพี ทำ� นาปลกู ขา้ วมากวา่ รอ้ ยปดี ว้ ย รวงก็มีกล่ินหอมเมื่อชาวบ้านเห็นก็เลยมีการน�ำไป
ทที่ ำ� นาของตนนน้ั เปน็ ทลี่ มุ่ และมนี ำ�้ หลากเกอื บทกุ ปี ปลูกมากขึ้นจนขยายไปท่ัวท้ังอ�ำเภอจึงเป็นที่มาของ
จึงคิดหาวิธีว่าท�ำอย่างไรให้ข้าวท่ีตนเองปลูกน้ันไม่ ขา้ วหอมหว่ งหรอื ขา้ วหอมพนั ธไ์ุ ชยาสบื ทอดมาจนถงึ
เสยี หายนอ้ ยเพราะนำ�้ จงึ ไดท้ ดลองนำ� พนั ธข์ุ า้ วมาจาก ทุกวันน้ ี
ที่อื่นและน�ำมาปลูกในที่ของตนเม่ือน�ำมาปลูกแล้ว
ปรากฏว่าไดผ้ ลดี

134



ปลายใบ ใบเรยี วแหลมยาว ผวิ ใบเรยี บลนื่ มไี ขนวล
ใบด้านบนมีสีเขียว ท้องใบสีน�้ำตาล เส้นใบด้านล่าง
นูนเด่น
ดอกเป็นดอกช่อ 3-30 ดอก เกิดตามล�ำต้น
และกงิ่ เปน็ ดอกสมบรู ณเ์ พศทรงระฆงั ยาว 1-2เซนตเิ มตร
ดอกมกี ลบี ดอกหา้ กลบี มสี ีขาวและมกี ล่นิ หอม
ผลเป็นผลสดเด่ียว เปลือกผลสีเขียวมีหนาม
แหลม แตกตามแตล่ ะสว่ นของผลเรยี กเปน็ พู เมื่อสุก
จะมสี นี ำ้� ตาลอ่อน ผลยาวได้ถงึ 30 เซนตเิ มตร หนัก
1-3 กิโลกรัม เนื้อในจะน่ิมก่ึงอ่อนกึ่งแข็งมีสีขาว
เมอื่ สกุ สเี หลอื งมรี สหวาน เมลด็ กลมรมี เี ยอ่ื หมุ้ เปลอื ก
สีนำ้� ตาลผิวเรยี บ เนื้อในเมลด็ สีขาวมรี สฝาด โบราณเหลา่ นน้ั ปลกู นอ้ ยลง และหายากบางสายพนั ธ์ุ
ในอดีตไทยปลูกทุเรียนพื้นบ้านหลายร้อย ใกล้สูญพันธุ์ เน่ืองจากเกษตรกรเปลี่ยนมาปลูกพันธุ์
สายพนั ธ์ุแตน่ ำ� มาปลกู เชงิ การคา้ ประมาณ 60-80 พนั ธ์ุ เชิงการค้า ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นทุเรียนพันธุ์หมอนทอง
เท่านั้น ในปัจจุบันทุเรียนพื้นบ้านซึ่งเป็นสายพันธุ์ รองลงมาคอื ทเุ รยี นพันธุช์ ะนี พันธกุ์ ระดมุ และพันธุ์
อื่น ๆ
ทเุ รยี นพนั ธพ์ุ น้ื บา้ นมลี กั ษณะทเี่ ปน็ ประโยชน์
เช่น ลดความเสียหายของการท�ำลายของโรคแมลง
และมีระบบรากท่แี ข็งแรง หาอาหารเก่ง ทนทานต่อ
การเปล่ียนแปลงสภาวะแวดล้อม เพราะถูกทดสอบ
และคดั เลอื กพนั ธม์ุ าจากเกษตรกรเจา้ ของสวนทเุ รยี น
ในอดตี

136

เม่ือกล่าวถึงจังหวัดสุราษฎร์ธานี อ�ำเภอหนึ่ง เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ตา่ งจากทเุ รยี นพนั ธพ์ุ น้ื เมอื งโดย
ท่ีมชี ือ่ เสียงน่ันคอื อ�ำเภอบ้านตาขุน ซึง่ เป็นอ�ำเภอที่ ท่ัวไปลักษณะของเน้ือทุเรียนคลองแสง มีเน้ือสัมผัส
ตั้งของเข่ือนรัชชประภา และบริเวณรอบเขื่อน ค่อนข้างนมุ่ มีความฉำ่� ในเนือ้ ผล มเี ส้นใยปานกลาง
รชั ชประภา มวี ถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรม มาอยา่ งยาวนาน มีความมันเป็นครีมค่อนข้างมาก มีรสชาติหวาน
กว่าร้อยปี ต�ำบลเขาพัง อ�ำเภอบ้านตาขุน จังหวัด ปานกลาง มีรสขมบ้างเล็กน้อยในลูกที่สุกมากและ
สรุ าษฎร์ธานี เป็นชมุ ชนชาวสวน ต้งั อยูบ่ รเิ วณล�ำน้ำ� กล่ินค่อนข้างแรง ทุเรียนคลองแสงให้ผลผลิต
คลองแสง มคี ำ� ขวญั ประจำ� ตำ� บลคอื กยุ้ หลนิ เมอื งไทย ช่วงเดือนมิถนุ ายน ถึงกรกฎาคมของทกุ ปี
วไิ ลเลศิ เขือ่ นดิน ถ่นิ ทเุ รยี นคลองแสง สะพานแขวน คณุ ฤทธริ งค์ ฤทธิ์กลุ ประธานกล่มุ วิสาหกจิ ชุมชน
ภเู ขาหวั ใจ ซง่ึ จะเหน็ วา่ ของดปี ระจำ� ตำ� บลอยา่ งหนง่ึ
นั่นคอื ทุเรยี นคลองแสง ซงึ่ เป็นทุเรียนพันธุพ์ นื้ เมือง บ้านเขาเทพพทิ กั ษ์
ท่ีบา้ นเขาเทพพทิ ักษ์ ต�ำบลเขาพัง อ�ำเภอบ้านตาขนุ
จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
ทุเรียนคลองแสง ปลูกในพ้ืนที่ริมสองฝั่ง
คลองแสง ซึ่งเป็นต้นน�้ำตาปี ยาวนับสิบกิโลเมตร
โดยเฉพาะท่ีบา้ นเขาพัง มตี ้นทุเรยี นพ้นื เมืองอายุนบั
100 ปี จ�ำนวนหลายต้น ซึ่งแต่ละต้นมีช่ือเรียก
แตกตา่ งกนั ไป ได้แก่ สี่ขา กา้ นเพชร สาวน้ยุ ค�ำ้ คาง
รอ่ งทอน หมอนอาย กวาง คอกหมู เขยี วถวาย หนา้ ควน
พรงุ้ พรง้ิ ตะขรบหลมุ และตอขนนุ เปน็ ตน้ ซง่ึ ชอ่ื เรยี ก
ต้นทุเรียนแต่ละต้นเรียกตามลักษณะของต้น หรือ
ล�ำดับการเกิดของต้นทุเรียน เป็นทุเรียนบ้านพันธุ์
พื้นเมืองที่ถือได้ว่าเป็นผลไม้ท่ีมีความโดดเด่นที่มี

137



139
น้�ำมนั มะพร้าว :

เคล็ดลบั ความงามจากธรรมชาติ

นภิ าภรณ์ มีพนั ธุ์ และคณะ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

“จากน�้ำกะทิมาเป็นน�้ำมันมะพร้าว...ส่วน ยงั อดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตแุ ละวติ ามนิ ทส่ี ำ� คญั ไมว่ า่ จะเปน็
ผสมที่ลงตัวในผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพผิวและ แคลเซยี ม แมกนีเซียม เบตา้ แคโรทนี วิตามนิ เอ ดี อี
เสน้ ผม” และเคซึ่งร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้งานได้ทันที
นำ�้ มนั มะพรา้ ว (Coconut oil) เปน็ น�ำ้ มันที่ ทำ� ใหน้ ำ้� มนั มะพรา้ วมปี ระโยชนต์ อ่ สขุ ภาพในหลายๆ
สกัดได้จากเนื้อสีขาวของมะพร้าว โดยผ่าน ด้าน นอกจากประโยชน์ด้านสุขภาพแล้วน้�ำมัน
กระบวนการสกัดที่ใช้ความร้อนไม่สูง ไม่ผ่าน
กระบวนการแปรรูปทางเคมี นำ�้ มนั ทไ่ี ดจ้ ะมีลักษณะ
ใส มกี ล่ินหอมออ่ น ๆ ของมะพร้าว ซึ่งนำ้� มนั ท่ีสกัด
ได้มักเรียกว่า น้�ำมันมะพร้าวสกัดเย็น (Virgin
coconut oil)
น้�ำมันมะพร้าวนอกจากจะมีกรดลอริก
(Lauric acid) ซึ่งเป็นไขมันอิ่มตัวท่ีมีขนาดโมเลกุล
ปานกลางเป็นองค์ประกอบหลักแล้วน้�ำมันมะพร้าว

มะพร้าวยังมีสรรพคุณในการบ�ำรุงความงามต้ังแต่ โซดาไฟ 98 กรมั
ศรี ษะจรดปลายเทา้ ไดอ้ ีกดว้ ย น้ำ� สะอาด 231 กรมั
น�้ำมันมะพร้าวไม่ได้เป็นเพียงน้�ำมันที่ใช้
ส�ำหรับบริโภคและปรุงอาหารเท่าน้ัน แต่ด้วย
สรรพคุณท่ีมากล้นจึงท�ำให้น�้ำมันมะพร้าวถูกน�ำมา
เปน็ สว่ นผสมในผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ชว่ ยบำ� รงุ ผวิ กาย บำ� รงุ
เสน้ ผมและหนงั ศรี ษะ บำ� รงุ มอื และเทา้ ใหด้ สู ขุ ภาพดี
ไดอ้ ยา่ งลงตวั

• สบู่น้�ำมนั มะพรา้ วธรรมชาติ ข้ันตอนการท�ำ
(Natural Coconut Oil Soap) 1. เตรยี มสารละลายดา่ ง (โซดาไฟ) กบั นำ�้ โดย
ส่วนผสม ชงั่ นำ�้ ตามปรมิ าณทตี่ อ้ งการลงในบกี เกอร์ ขนาด 500
น�้ำมนั มะพร้าว 210 กรมั มิลลิลิตร ค่อย ๆ เติมโซดาไฟท่ีจะใช้ลงไปในน�้ำ !!!
น�ำ้ มนั ปาลม์ 210 กรัม หา้ มเทนำ�้ ลงในดา่ งเดด็ ขาด คนจนกระทง่ั ดา่ งละลาย
น้�ำมันร�ำข้าว 245 กรัม หมดปล่อยใหน้ �้ำด่างผสมนี้เยน็ ลงจนถึงอุณหภมู หิ ้อง
น�้ำมันละหุ่ง 35 กรมั 2. เทสารละลายดา่ งลงในนำ�้ มนั และใชต้ ะกรอ้
140 มือกวนเร็วๆ ไปในทางเดียวกันอยา่ งต่อเนอ่ื ง หรือใช้
หวั ปั่นไฟฟา้
3. กวนหรือปั่นจนเกิดปฏิกิริยาการเกิดสบู่
เน้ือจะเหมือนครีมยกขึ้นมีสายหนืดๆ เป็นระดับ



ขีผ้ งึ้ 36.5 กรมั ขน้ั ตอนการท�ำ
น�้ำมันสวีทอัลมอนด์ 2.5 กรัม 1. ผสมข้ีผึ้ง น�้ำมันมะพร้าว น้�ำมันร�ำข้าว
วติ ามนิ อี เชยี รบ์ ตั เตอร์ และนำ�้ มันสวีทอลั มอนด์
สีเกรดเครือ่ งสำ� อาง 2. ใหค้ วามรอ้ นโดยใชไ้ ฟกลางเพอ่ื ละลายสว่ น
ผสมอย่างชา้ ๆ คนใหส้ ่วนผสมเข้าเป็นเน้อื เดียวกัน
3. เมอ่ื สว่ นผสมละลายเปน็ เนอื้ เดยี วกนั รอให้
อุณหภูมอิ ยทู่ ป่ี ระมาณ 60-70 องศาเซลเซียส แต่งสี
และเติมวติ ามนิ อี
4. เทส่วนผสมใส่ลงในภาชนะที่ล้างท�ำความ
สะอาดและฉีดแอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อไว้แล้ว จากนั้น
ปล่อยใหเ้ ยน็
• สบู่เหลวล้างมือนำ้� มันมะพรา้ ว
(Coco Liquid Hand Soap)

142



144
เร่ืองกลว้ ย ๆ ท่ีไม่ได้มีแค่กล้วยของภูริน

สพุ รรณกิ าร์ ศรบี วั ทอง พราวตา จันทโร
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในวันท่ีบ้านสวนปราง ต.คลองสระ
อ.กาญจนดษิ ฐ์ ไดเ้ ปิดตัวในฐานะเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว
น้องใหม่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ท่ีมีน้�ำตกภูรินเป็น
ไฮไลต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เป็นหน่ึง
หน่วยงานที่ระดมสรรพก�ำลังเข้าไปร่วมบูรณาการ
องค์ความรู้เพ่ือเสริมศักยภาพชุมชน ต้ังแต่ต้นน�้ำ
การบริหารน้�ำโดยการจัดท�ำฝายมีชีวิต การเกษตร
การแปรรูปและการท่องเท่ียว ผลิตภัณฑ์ชุมชนทาง
ด้านอาหารได้อิงวิถีชีวิตเกษตรซ่ึงอุดมไปด้วยกล้วย
และมีการส่งเสริมการปลูกสับปะรดและทุเรียน
การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เพ่ิมมูลค่า
จึงเป็นโจทย์ที่รับมาในการช่วยส่งเสริมผลิตภัณฑ์
ชมุ ชนของชาวภรู นิ
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ
อาหาร เป็นหน่ึงในคณะท�ำงานท่ีเข้ามาส่งเสริมการ

พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยมีการประสานความ ไซรปั กลว้ ยยงั พฒั นาเปน็ เครอื่ งดมื่ และผลติ ภณั ฑข์ นม
รว่ มมอื ของกรมแรงงานและสภาเกษตรในการอบรม ได้อีก เมื่อบรรจุในขวดแก้วใส ปริมาตรบรรจุ 150
ทักษะอาชีพด้านการแปรรูปกล้วยมาตั้งแต่ปี 2561 มิลลลิ ิตร สามารถเพม่ิ มูลคา่ กล้วยไดห้ ลายสิบเทา่ ตัว
ต้ังแต่กล้วยฉาบ ขนมกล้วย ไวน์กล้วย กล้วยดอง ต่อยอดผลิตภณั ฑเ์ กษตรกรสู่ห้างได้ หากมีโอกาสได้
น้�ำผึ้ง ฯลฯ และต่อยอดในโครงการแก้ไขปัญหา ลองชิมน้�ำไซรัปกล้วยผสมโซดาบีบมะนาวนิดใส่น้�ำ
ความยากจนของประชาชนในเขตชนบท (ในโครงการ แข็งสักหน่อย รับรองได้ถึงความหอมหวานอร่อยท่ี
พระราโชบายฯ) ในปี 2562 ได้นำ� ความต้องการของ แสนสดชื่นใจ
ชุมชนผนวกกับแนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร กลว้ ยฉาบเปน็ อกี หนง่ึ ผลติ ภณั ฑท์ ตี่ อ่ ยอดจาก
เพ่ือสุขภาพมาเสริมให้ชุมชน พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ผลติ ภณั ฑข์ องชมุ ชนทที่ ำ� อยเู่ ดมิ โดยการปรบั เปลย่ี น
ไซรัปกล้วยหอม กล้วยฉาบสมุนไพรท่ีมีรูปทรง กระบวนการผลิตในขั้นตอนการแช่กล้วยในน�้ำ โดย
หลากหลาย ทุเรียนผงชงพร้อมด่ืม และปั้นสิบไส้ ให้แช่ในน�้ำท่ีผสมผงฟูหรือเบกกิ้งโซดาหรือโซเดียม
สบั ปะรด เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ างเลือกใหม่ให้กับชมุ ชน ไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate) ซ่ึงช่วย
ไซรัปกล้วยหอมเป็นการน�ำกล้วยหอมสุกถึง ปรบั ปรงุ ความกรอบและสขี องของกลว้ ยฉาบใหส้ วา่ ง
สุกจัดมาเพ่ิมมูลค่าโดยการหมักกับน้�ำตาลทรายใน น่ารับประทานข้ึน อีกท้ังช่วยลดการอมน�้ำมันและ
ขวดโหลแก้วในอัตราส่วน 2 ต่อเน่ืองหมักท้ิงไว้เป็น
เวลา 2 สัปดาห์ จะได้น้ำ� ไซรปั สที องเขม้ มีกลิน่ หอม
หวานคาราเมลคลา้ ยนำ�้ ผงึ้ ใชแ้ ทนนำ้� เชอื่ มในการทำ�
นำ�้ หวาน คณุ ประโยชนข์ องไซรปั กลว้ ยคอื มคี ณุ สมบตั ิ
เป็นพรีไบโอติกส์ที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของ
จุลินทรีย์โพรไบโอติกส์ในล�ำไส้และในเนื้อกล้วยยังมี
สารอาหารส�ำคัญอย่างธาตุโพเตสเซียมซ่ึงเป็น
แหล่งพลังงานที่ดูดซึมง่าย จึงเหมาะกับผู้ที่เล่นกีฬา

145

การเกดิ กลิ่นหนื ได้ นอกจากนีย้ ังเพม่ิ สูตรการผลติ ให้
เปน็ กล้วยฉาบสมนุ ไพรเพอื่ สขุ ภาพ และปรบั เปล่ยี น
รูปทรงของกล้วยฉาบให้มีรูปร่างที่หลากหลาย
น่ารับประทานคล้ายมันฝรงั่ ทอดมากขึน้
ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มทุเรียนผงส�ำเร็จรูป เป็น
ผลิตภัณฑ์ทางเลือกใหม่รองรับการเพ่ิมมูลค่าให้กับ
ทเุ รยี นของชมุ ชน โดยการนำ� เนอ้ื ทเุ รยี นสกุ มาทำ� การ
อบแหง้ และปน่ั ละเอยี ด ผสมกบั นำ�้ ตาลทรายเลก็ นอ้ ย
บรรจุในถุงอะลูมิเนียมฟอยด์ส�ำหรับฉีกพร้อมชงดื่ม
ดูหรูหราไฮโซ และเมื่อได้ฉีกซองชงด่ืมพร้อมน้�ำอุ่น
ทุกคนที่ได้ล้ิมลองถึงกับร้องว้าว!ในความหอมละมุน
ของเครอื่ งดมื่ ทุเรยี นท่ีรสชาติกลมกล่อมลงตัว
ปน้ั สบิ ไสส้ บั ปะรด เปน็ อกี หนงึ่ ผลติ ภณั ฑท์ นี่ ำ�
สับปะรดท่ีมีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเพื่อเพ่ิม
มลู คา่ โดยการนำ� สบั ปะรดมากวนผสมกบั นำ้� ตาลทราย
และเกลือ ขึ้นรูปพับครึ่งแล้วจับขลิบให้ขนมแป้ง
ติดกัน ทอดในน�้ำมันร้อน ๆ ได้อีกหน่ึงผลิตภัณฑ์ท่ี
สามารถชว่ ยเสิร์ฟการทอ่ งเที่ยวของชุมชนได้
กล้วยอาจจะยังเป็นแค่กล้วยถ้าเราไม่ได้ท�ำ
อะไรเลย แตห่ ากเราเรยี นรทู้ จ่ี ะรวู้ า่ กลว้ ยมปี ระโยชน์
อย่างไร พฒั นาตอ่ ยอดเป็นผลติ ภณั ฑ์อะไรได้บ้าง ให้
มอี ายกุ ารเกบ็ ไดน้ านและนำ� ไปตอ่ ยอดในเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้
146

กจ็ ะสามารถเพมิ่ มลู คา่ สรา้ งรายไดแ้ ละคณุ ภาพชวี ติ
ท่ีดีขึ้นให้กับคนในชุมชนได้ การเรียนรู้เปิดรับและ
พัฒนาตนเองตลอดเวลาของคนในชุมชนจึงเป็น
เหมือนการเปิดประตูแห่งโอกาส การต่อยอดและ
ความมุ่งม่ันตั้งใจของคนในชุมชนเป็นแรงผลักดัน
ส�ำคัญให้ชุมชนพัฒนาเจริญก้าวหน้าต่อไปได้โดยมี
มหาวิทยาลัยและภาคีเครือข่ายเป็นพี่เลี้ยงเป็นแรง
หนุนเสริม เร่ืองกล้วย ๆ ก็จะไม่ได้มีแค่กล้วยอีก
ตอ่ ไป
.................................................................................

ผรู้ ่วมโครงการ กฤตภาส จนิ าภาค วรรณนสิ า เภาพันธ์

147

148
มีปญั หามาปรึกษาเรา…“คลินิกเทคโนโลยี
เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธาน”ี

อตกิ านต์ วชิ ติ สุพรรณกิ าร์ ศรบี ัวทอง
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

“คลนิ กิ เทคโนโลย”ี จดั ตง้ั ขนึ้ ภายใตแ้ ผนการ ตลอดจนทีมผู้เช่ียวชาญจากหลักสูตรวิทยาศาสตร์
ด�ำเนินงานบริการให้ค�ำปรึกษา ของโครงการคลินิก และเทคโนโลยกี ารอาหาร ไดด้ ำ� เนนิ การใหค้ ำ� ปรกึ ษา
เทคโนโลยี มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ รบั โจทยค์ วามตอ้ งการ แกก่ ลมุ่ เกษตรกรและผปู้ ระกอบการจากพนื้ ทอี่ ำ� เภอ
จากเกษตรกร ชุมชน ผู้ประกอบการในพื้นที่ ผ่าน พุนพนิ และอำ� เภอท่าฉาง จำ� นวน 8 ราย เพือ่ ใหค้ ำ�
ช่องทาง work-in/work-out ทางโทรศพั ท์ และทาง แนะน�ำการต่อยอดและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การติด
อินเตอร์เน็ต โดยการน�ำโจทย์นั้นมาแก้ปัญหาและ ฉลากผลติ ภัณฑ์ การเตรียมสถานทผี่ ลิตอาหารใหไ้ ด้
หาค�ำตอบให้กับผู้เข้ารับบริการจากผู้เชี่ยวชาญใน
หนว่ ยคลนิ กิ เทคโนโลยแี ละเครอื ขา่ ยคลนิ กิ เทคโนโลยี
ซ่งึ มอี ยูท่ ่วั ประเทศ
กจิ กรรมบรกิ ารใหค้ ำ� ปรกึ ษาและบรกิ ารขอ้ มลู
เทคโนโลยี โดยคลินิกเทคโนโลยีเครือข่าย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ประจ�ำ
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 นำ� โดย ผศ.สุรนิ ทร์ สมณะ
ดร.สพุ รรณกิ าร์ ศรบี วั ทอง ดร.ลกั ษมี ชยั เจรญิ วมิ ลกลุ


Click to View FlipBook Version