The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2562 โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jettanai_p, 2021-11-04 00:57:37

จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น ฉบับที่ 5 สิงหาคม 2563

รายงานประจำปี 2562 โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการ

Keywords: จุลสารบริการวิชาการท้องถิ่น

มนั่ ใจขน้ึ สอื่ บคุ คลเปรยี บดง่ั เครอื่ งมอื ทสี่ ำ� คญั ยงิ่ ของ การขับเคลื่อนงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
องค์กรส�ำหรับงานประชาสัมพันธ์ ท�ำหน้าที่ผลักดัน สุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสร้างปัญญาเพื่อพัฒนา
ส่งเสริมให้ภาพลักษณ์ขององค์กรชัดเจนและเป็นไป ชุมชนท้องถิ่น มีพันธกิจด้านการมุ่งสร้างและพัฒนา
ในแนวทางเดียวกันตามวิสัยทัศน์หรือนโยบายของ บุคลากรท้องถิ่นให้ด�ำรงชีวิตได้ตามหลักเศรษฐกิจ
ผบู้ รหิ าร พอเพียงแก้ไขปัญหาความยากจน ด้วยการน�ำ
ทุกศาสตร์จากองค์ความรู้ มาผนวกผสมผสาน
ขับเคลื่อนการแก้ไขปญั หา ในพ้นื ทท่ี ต่ี อ้ งการพัฒนา
ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี จึงได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการ
ด�ำเนินงานตามศาสตร์ของการพฒั นาและขับเคลอ่ื น
อย่างต่อเนื่อง ระหว่างนักวิชาการของมหาวิทยาลัย
กับประชาชนในท้องถ่ินซ่ึงเป็นผู้ท่ีรู้ถึงปัญหาและมี
ความตอ้ งการแกไ้ ขปญั หานน้ั ทง้ั สองภาคสว่ นจงึ ตอ้ ง
ด�ำเนินการร่วมกัน นักวิชาการผู้ขับเคล่ือนศาสตร์
องค์ความรู้ในนามของมหาวิทยาลัยจึงกลายเป็น
“สอื่ บคุ คลขององคก์ ร” อยา่ งแนบเนยี นเพราะทกุ คน
ต่างปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผู้สื่อสาร ท้ังด้าน การพูด
การเขียน ผ่านองค์ความรู้ที่ตนเองมีอย่างถ่องแท้
เพอ่ื ถา่ ยทอดความรนู้ น้ั ไปยงั ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมาย
เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และน่ีคือ ผู้ท่ีขับเคล่ือน
ภาพลักษณอ์ งคก์ รอยา่ งชัดเจนด้วยลักษณะตอ่ ไปนี้

49

1. ส่ือสารเป็น ... เพราะส่ือบุคคล เป็นการ
สื่อสารแบบเผชิญหน้าท�ำให้สามารถปรับปรุง
ปรับเปลีย่ น เนอ้ื หา ประเด็น วิธีการ ให้เหมาะสมกบั
คสู่ นทนา หรือสถานการณ์ไดง้ ่าย สามารถถ่ายทอด
องคค์ วามรู้ พรอ้ มสอื่ สารดว้ ยลกั ษณะของผทู้ มี่ มี นษุ ย์
สัมพันธ์ท่ีเป็นมิตร สุภาพทั้งวาจาและท่าทางเป็น
แหล่งขอ้ มลู ท่ีมีความนา่ ไว้วางใจ
2. เก่งท่าทาง ปรบั ตัวตาม ... ส่อื บคุ คลเปน็
ผทู้ มี่ กี ารปรบั ตวั เขา้ กบั เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ไดด้ สี ามารถ 4. มีความรอบรู้ ... แม้ไม่รู้ลึกแต่ควรรู้กว้าง
ทำ� งานรว่ มกบั ผคู้ นไดห้ ลากหลาย มกี ารปรบั ตวั ขนั้ สงู เรื่องขององค์กร พร้อมเป็นสื่อกลางด้านบุคคลที่
เพ่อื ใหเ้ ข้าได้กับประชาชนในพืน้ ทีใ่ หม้ ากทสี่ ดุ สามารถแนะน�ำแนวทางการแก้ไขหรือช่องทาง
3. มีความรักองค์กร ... ส่ือบุคคลต้องรู้จัก วิธีการ การติดต่อประสานงานไปยังผู้เกี่ยวข้องใน
กล่าวถึงองค์กรในแง่มุมเชิงบวก มุ่งสร้างความรู้ เร่ืองตา่ ง ๆ ได้
ความเข้าใจระหว่างองค์กรกับกลุ่มเป้าหมาย 5. รจู้ กั ควบคมุ อารมณข์ องตน ... การเขา้ ถงึ
เพอื่ รกั ษาภาพลกั ษณ์ขององคก์ ร ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอาจมีความหลากหลาย
ทั้งทางความคิด เพศ วัยวุฒิ คุณวุฒิ การแสดงออก
ด้านต่าง ๆ ตลอดจนบริบทวัฒนธรรม ที่ส่งผลให้มี
ความเข้าใจไม่ตรงกัน ดังนั้นควรมีการส่ือสารอย่าง
สภุ าพดว้ ยเหตผุ ล เลย่ี งการโตเ้ ถยี งหรอื ขดั แยง้ เพราะ
สอื่ บคุ คลคอื สอื่ กลางระหวา่ งองคก์ รกบั กลมุ่ เปา้ หมาย
ที่จักต้องท�ำหน้าท่ีเชื่อมความสัมพันธ์และทัศนคติ
เชงิ บวกทุกประการ

50

6. มีความรับผิดชอบและมีแบบแผนในการ บคุ คลเปน็ คนเกง่ คนดี ยอ่ มเปน็ “สอื่ บคุ คล” ทด่ี ที ส่ี ดุ
ท�ำงาน ... การเป็นสื่อบุคคลภายใต้การด�ำเนินงาน เพยี งแคส่ รา้ งสงิ่ ดี ๆ แกอ่ งคก์ ร และนคี่ อื จก๊ิ ซอวท์ เี่ ขา้
บริการวิชาการ ต้องมีความรับผิดชอบและมีการ มาต่อเตมิ การสรา้ งภาพลกั ษณอ์ งคก์ รใหช้ ัดเจน เพื่อ
ทำ� งานอยา่ งเปน็ ระบบตามแบบแผน ตงั้ แตก่ ารเลอื ก การขบั เคลอื่ นงานไดต้ รงตามวิสยั ทศั น์ พันธกจิ และ
ลงพน้ื ที่ การนดั กลมุ่ เปา้ หมายเพอ่ื การสมั ภาษณห์ รอื นโยบายย่งิ ขนึ้
ทำ� กจิ กรรมใด ๆ ควรเป็นไปตามขอ้ กำ� หนดการหรือ อา้ งอิง :
ตามขอ้ ตกลงทส่ี รา้ งร่วมกนั 1. http://www.drphot.com/talk/archives/578
ที่มากไปกว่าน้ี ของการเป็นสื่อบุคคลท้ังสอง 2. https://www.stou.ac.th/stouonline/LOM/
ฝ่ายที่ได้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูลระหว่างกัน data/sms/market/Unit8/SUBM1/U814-1.htm
ส�ำหรับผู้ให้ข้อมูลเปรียบดังสื่อส�ำคัญท่ีจะท�ำให้
ประวัติศาสตร์ไม่จางหาย และส�ำหรับองค์กรท่ีมี

51

52
จงั หวัดเคลอื่ นท่ี “บำ� บดั ทุกข์ บ�ำรงุ สุข”
อิ่มสุขผู้ให้ อิ่มใจผ้รู บั

ณฐั นยั พิลึก
หอสมุดกลาง ส�ำนักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

สุราษฎร์ธานีโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับทราบปัญหา
และความเดือดร้อน ความต้องการท่ีแท้จริงของ
ประชาชนถงึ พน้ื ที่ ซง่ึ สามารถนำ� ขอ้ มลู ไปแกไ้ ขปญั หา
ความเดอื ดรอ้ นของประชาชนไดต้ รงจดุ พรอ้ มอำ� นวย
ความสะดวกแก่ประชาชนให้ได้รับการบริการจาก
หนว่ ยงานของรฐั อยา่ งทวั่ ถงึ ในลกั ษณะแบบเบด็ เสรจ็

จังหวดั เคลื่อนท่ี โครงการ “หน่วยบ�ำบดั ทุกข์
บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน” จังหวัด
สรุ าษฎร์ธานี หรอื “จงั หวัดเคลื่อนท่”ี คือโครงการท่ี
ภาครัฐน�ำหน่วยงานต่าง ๆ ระดับจังหวัดออกให้
บรกิ ารประชาชน ตามแผนการดำ� เนนิ งานของจงั หวดั







โดยโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา เพ่ือให้ได้ผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางท่ีมีคุณภาพและ
ผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อางจากสาหรา่ ยขอ้ โดยใชส้ ว่ นผสม ปลอดภยั ตอ่ ผใู้ ช้ จากนนั้ ลงพน้ื ทถี่ า่ ยทอดองคค์ วามรู้
สมุนไพร ปราศจากสารเคมีสังเคราะห์ท่ีท�ำให้เกิด ท่ีได้ให้แก่คนในชมุ ชนเกาะพะลวย
อันตราย 4 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สบู่เหลวล้างหน้า
สาหร่ายข้อ สครับขัดผิวสาหร่ายข้อ (สูตรไม่ผสม ภาพที่ 2 อาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
นำ้� มนั และสตู รผสมนำ้� มนั ) นำ้� มนั บำ� รงุ ผวิ สาหรา่ ยขอ้ สรุ าษฎรธ์ านพี รอ้ มดว้ ยชาวบา้ นเกาะพะลวย รว่ มกนั ลงพนื้ ท่ี
(ส�ำหรบั คนผวิ มนั และคนผิวแห้ง) และโลชั่นบำ� รุงผวิ สำ� รวจแหลง่ เจริญเตบิ โตสาหรา่ ยข้อ
สาหรา่ ยขอ้ ทม่ี คี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานเพอื่ ถา่ ยทอด
องคค์ วามร้ใู หแ้ กค่ นในชมุ ชนเกาะพะลวย ภาพท่ี 3 ผลติ ภัณฑ์
ขั้นตอนการด�ำเนินโครงการเริ่มจากการลง เ ค ร่ื อ ง ส� ำ อ า ง จ า ก
พน้ื ทส่ี ำ� รวจความตอ้ งการผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งสำ� อางทมี่ ี สาหร่ายข้อ
ส่วนผสมของสาหร่ายข้อ จากนั้นคณะอาจารย์และ
ชาวบา้ นเกาะพะลวยรว่ มประชมุ แลกเปลย่ี นความคดิ
เห็นโครงการเพ่ือให้การด�ำเนินโครงการเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพและตอบโจทย์ความต้องการของ
ชุมชน จากน้ันลงพ้ืนที่ส�ำรวจแหล่งการเจริญเติบโต
ของสาหร่ายข้อ รวบรวมข้อมูลสูตรและวิธีการท�ำ
ผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งสำ� อางสมนุ ไพรเพอื่ นำ� มาพฒั นาเปน็
ผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางท่ีมีส่วนผสมของสาหร่ายข้อ
หลังจากน้ันผลิตภัณฑ์ท่ีได้จะถูกน�ำมาทดสอบ
ประสิทธิภาพเบ้ืองต้น ได้แก่ การระคายเคืองทาง
ผิวหนัง (Patch Test) และการเพิ่มความชุ่มชื้นผิว

56

ภาพท่ี 4 อาจารย์และนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีร่วมกับทีมงานบริการวิชาการพัฒนาท้องถ่ิน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ลงพ้ืนที่ถ่ายทอด
องคค์ วามรูแ้ ก่คนในชมุ ชนเกาะพะลวย

หลังจากด�ำเนินโครงการเสร็จส้ินพบว่า
ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการได้ให้ความสนใจ
โครงการและผลิตภัณฑ์เป็นอย่างดี โดยข้อมูลที่ได้
จากการสัมภาษณ์ชาวบ้านหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์
พบวา่ ผลติ ภณั ฑ์ทไี่ ด้มปี ระสทิ ธภิ าพในดา้ นการบำ� รุง
ผิวพรรณท�ำให้ผิวแลดูเรียบเนียนและชุ่มช้ืนข้ึน
อีกท้ังยังไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวจากผลการ
ประเมินความพึงพอใจของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ พบว่า
ชาวบ้านท่ีเข้าร่วมโครงการมีแนวโน้มในการน�ำ
ความรู้ที่ได้ไปใช้พัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์สร้าง

57



59
กราโนล่าบราโว่ (Granola Bravo)

สุภาพร อภิรัตนานสุ รณ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กราโนล่าบราโว่ ท�ำมาจากข้าวกล้องไม่ขัดสี
แถมยังมีความกรุบกรอบและมีกล่ินหอมเฉพาะตัว
เพราะท�ำมาจากข้าวหอมไชยาท่ีมีเอกลักษณ์ของ
ความหอมผสมผสานกับนำ้� ตาลมะพรา้ วแท้ ๆ เมลด็
ฟักทอง งาด�ำ งาขาว และลูกเกด เพ่ือเพ่ิมรสชาติ
ความอรอ่ ย กนิ กนั เพลนิ ๆ จนหมด แถมยงั มปี ระโยชน์
ต่อร่างกายเพราะมีไฟเบอร์สูงปราศจากสารกันบูด
และทส่ี ำ� คญั คอื ไมผ่ า่ นการทอดนำ�้ มนั จงึ ดตี อ่ สขุ ภาพ
ไม่ต้องกังวลว่าจะมีกล่ินหืนจากน�้ำมัน เหมาะกับ
คนรกั สขุ ภาพสดุ ๆ และหากตอ้ งการเพม่ิ ความอรอ่ ย







มีปริมาณเบต้าแคโรทีนและปริมาณสารประกอบ บัวนางกวัก ผักกระเฉด ผักบุ้ง สาหร่ายก้ามกุ้ง
ฟนี อลกิ ทง้ั หมดสงู กวา่ ตาํ บลเลมด็ อาํ เภอไชยา จงั หวดั บอนเกรด็ ผกั รกช้าง (ใช้แกค้ ันแกห้ ดิ )
สรุ าษฎรธ์ านีเชน่ เดยี วกัน ปจั จยั ดา้ นอตุ นุ ยิ มวทิ ยาเปน็ ปจั จยั ทส่ี ำ� คญั ตอ่
การศึกษาสัณฐานวิทยาเบ้ืองต้น ข้าวหอม การเจรญิ เตบิ โตของขา้ วไดแ้ ก่อณุ หภมู ิความชน้ื สมั พทั ธ์
ไชยาเป็นขา้ วพืน้ เมอื งไวแสง ออกดอกรอ้ ยละ 20 มี ค่าปริมาณรงั สีดวงอาทติ ย์ ปรมิ าณฝน เปน็ ต้น
ขนบนแผน่ ใบ และกาบใบมีสีเขียว มุมของแผน่ ใบมี .................................................................................
ลกั ษณะตรงถงึ เอน ลน้ิ ใบมลี กั ษณะเปน็ 2 ยอด สขี าว
หใู บและขอ้ ตอ่ ใบเป็นสีเขียวออ่ น สปี ลอ้ งสว่ นใหญม่ ี ผู้รว่ มโครงการ
สีเขียว ทรงกอต้ังทั้งหมด สียอดเกสรตัวเมีย สียอด พัชรี หลุ่งหม่าน วัชรี รวยร่ืน จิตเกษม หล�ำสะอาด
ดอก และสกี ลบี รองดอกมสี ขี าว ไมม่ หี างขา้ ว ลกั ษณะ มิติ เจียรพันธุ์ วีณา จิรัตฐิวรุตกุล ชัยสาร ดอกรัก ชัยสาร
รวงแตกระแง้ และการแกข่ องใบอยใู่ นระดบั ปานกลาง จีรนันท์ กล่อมนรา แก้วรักษา ศักดิ์ชัย กรรมารางกูร
ก้านรวงอ่อน ส่วนใหญ่ติดเมล็ดปานกลาง ร้อยละ นภาพร รัตนาถ กนกอร ทองใหญ่
75-90 การรว่ งของเมลด็ รอ้ ยละ 6-25 เมลด็ มขี นบน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เปลอื กสนั้ มาก ความยาวกลบี รองดอกยาวไมเ่ กนิ 1.5 ภมรรตั น์ สุธรรม
มิลลิเมตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
พบวา่ ในนาขา้ วมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพ
สรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร การทำ� นาขา้ วหอมไชยา
เป็นเกษตรแบบอินทรีย์ ท�ำให้ในนาข้าวมีสัตว์น�้ำ
หลายชนิด เช่น ปลาซ่อน ปลาดุก ปลากระด่ี
ปลาหมอ ปลาหลาด กบ กุ้งนา หอยขม หอยโข่ง
แมงดา ปลิง นกล้มุ และมีพชื ผักต่าง ๆ หลายชนิด
เชน่ ผกั แวน่ ผกั รนิ้ ผกั ไผ่ (ใชแ้ กงปลา) ผกั ไสต้ งิ่ บวั นา

63



อาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรพืชศาสตร์ แก้ไขดินเป็นกรดก่อนปลูก เพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับงานบริการ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้แก่
วิชาการพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรท ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
สรุ าษฎรธ์ านี จงึ ไดล้ งพนื้ ทเี่ กบ็ ขอ้ มลู วเิ คราะหป์ ญั หา หรือปุ๋ยยูเรียลงไป นอกจากนั้นอาจใส่พวกกากถั่ว
กำ� หนดแนวทางการผลติ ผกั ปลอดสารพษิ รว่ มกนั กบั เศษซากพืชตระกูลถ่ัว เม่ือไถกลบลงในดินก็จะช่วย
เกษตรกรภายใต้สภาพปัญหาหรือสถานการณ์ท่ีเกิด เพ่ิมไนโตรเจนใหก้ ับดนิ เปน็ อย่างดี ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ทำ� ให้
ขึ้นจริง โดยสามารถก�ำหนดแนวปฏิบัติในการแก้
ปญั หา สภาพดินเสื่อม ดนิ ขาดธาตุอาหาร การสะสม
ของโรคและแมลงในแปลงผัก เพ่ือให้เกษตรกร
สามารถปลกู ผกั ไดต้ อ่ เนอื่ งเปน็ เวลานานหรอื หลาย ๆ
รอบโดยท่ีสภาพของดินไม่เสื่อมสภาพและช่วยลด
การระบาดของโรคและแมลงไดเ้ ปน็ 3 แนวทางดังนี้
1. การเตรียมดินปลูกพืชผักก่อนการปลูกผัก
จ�ำเป็นต้องมีการเตรียมดินในแปลงปลูกพืชผักให้
อุดมสมบูรณ์อยู่เสมอ เพราะผักเป็นพืชท่ีเติบโตเร็ว
ต้องการการบ�ำรุงมาก การใส่แต่ปุ๋ยเคมีอย่างเดียว
นาน ๆ จะท�ำให้ดินเสื่อม แห้งและแข็ง ไม่ร่วนซุย
ไมซ่ ึมซับน�้ำ และจะเกิดการตรงึ ธาตอุ าหารขนึ้ ในดนิ
ท�ำให้พืชเกิดการขาดธาตุอาหารหรือเกิดการละลาย
ธาตุอาหารบางอย่างมากเกินไปจนเปน็ พษิ ทำ� ใหผ้ ัก
อ่อนแอและเกิดโรคได้ง่าย ดังน้ันในการเตรียมดินที่
จะปลกู พชื ผกั ใหง้ ามในแตล่ ะครงั้ ควรมกี ารใสป่ นู ขาว

65



ความหลากหลายทางชวี ภาพ และชว่ ยลดการระบาด อนิ ทรยี วตั ถุ และแมลงศตั รขู องพชื จะแตกตา่ งจากผกั
ของโรคและแมลงศัตรูพืชได้ อีกทั้งยังช่วยในการ ตระกูลต่าง ๆ เป็นการตัดวงจรอาหารของแมลง
พฒั นาดนิ ดว้ ย การปลกู หมนุ เวยี นเปน็ การไมป่ ลกู พชื และชว่ ยลดการระบาดของแมลงศัตรูพืชได้
ชนิดเดียวกันหรือตระกูลเดียวกันติดต่อกันบนพ้ืนที่ 6) ควรปลกู พืชทมี่ เี ศษเหลือทงิ้ เชน่ ส่วนใบ
เดยี วกนั เปน็ รปู แบบของการปลกู พชื หลายชนดิ แบบ และล�ำต้นหลังการเก็บเกี่ยวมากสลับกับพืชที่มีเศษ
หนง่ึ ทชี่ ว่ ยลดการระบาดของโรคและแมลงศตั รพู ชื ได้ เหลือท้ิงหลังการเกบ็ เกยี่ วนอ้ ย
และช่วยประโยชน์ในทางด้านการปรับปรงุ ดนิ โดยมี 7) ควรปลูกถ่ัวลิสง และดาวเรือง ด้วย
หลักในการเลือกพืชชนิดต่าง ๆ มาไว้ในระบบการ เนอื่ งจากช่วยป้องกนั ไสเ้ ดอื นฝอยรากปม
ปลูกพชื หมุนเวียนดงั นี้ 3. การป้องกนั โรคและแมลง
1) ไม่ปลูกพืชชนิดเดียวกันหรือตระกูล 1) เลอื กใชเ้ มลด็ พนั ธท์ุ ส่ี ะอาดปราศจากเชอ้ื
เดยี วกนั ตดิ ตอ่ กนั ปะปนอยู่ หากไมแ่ น่ใจใหท้ �ำลายเช้ือดังกลา่ วโดยนำ�
2) ควรปลูกพืชกินใบ กินดอก/ผล และ ไปจุ่มแชใ่ นน�้ำอนุ่ 49–50° ซ. นาน 25 นาที
กินหัวสลับกัน เน่ืองจากพืชทั้งสามชนิดนี้จะมีความ 2) ควรปลกู พชื ใหม้ รี ะยะระหวา่ งตน้ หา่ งกนั
ต้องการธาตอุ าหารทแ่ี ตกต่างกัน พอสมควร ไม่เบียดแน่นกนั จนเกินไป
3) ควรปลกู พชื ทม่ี รี ะบบรากสน้ั และรากยาว 3) ไม่ควรใส่ปุ๋ยท่ีมีไนโตรเจนมากในระยะ
สลับกัน เพื่อให้รากแผ่กระจายไปหาอาหารในดินที่ ตน้ กล้า
ต่างระดบั กันสบั เปลี่ยนหมุนเวยี นกนั ไป 4) หลังเก็บเกี่ยวแล้วในกรณีท่ีมีโรคเกิดข้ึน
4) ควรปลกู พชื ตระกลู ถ่วั เชน่ ถ่ัวต่าง ๆ พชื ขณะปลกู ใหเ้ กบ็ ทำ� ลายเศษซากพชื ทต่ี กหลงเหลอื อยู่
ตระกลู ถวั่ จะชว่ ยเพิ่มธาตไุ นโตรเจนและอนิ ทรียวัตถุ ตามดนิ ใหห้ มด พรอ้ มกบั ตน้ พชื ทงี่ อกเองหรอื ทขี่ น้ึ อยู่
เป็นการชว่ ยปรับปรงุ ดิน ในที่ใกล้เคียงก็ไม่ควรให้มีเหลืออยู่แปลงปลูกผักควร
5) ควรปลกู พชื ตระกลู หญา้ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 จะทำ� ความสะอาดอยเู่ สมอ เพอ่ื ไมใ่ หเ้ ปน็ ทส่ี ะสมของ
ครงั้ เชน่ ขา้ ว ขา้ วโพด ฯลฯ พืชตระกลู หญา้ ชว่ ยเพิ่ม เชือ้ โรค และเป็นท่หี ลบซ่อนตัวของหนอนและแมลง

67





ภูมิปัญญาชาวบ้านในอดีตนิยมน�ำเอากะลา โดยไมไ่ ด้ท�ำถ่านอัดแทง่ แตถ่ ้านำ� ถ่านมาอัดแทง่ แลว้
มะพร้าวมาเป็นเชื้อเพลิง เพราะกะลามะพร้าวมี จะมีราคากิโลกรมั ละ 10-14 บาท เพิ่มเปน็ 2 เท่า
คุณสมบัติพิเศษคือติดไฟง่าย และติดไฟได้นาน เปน็ การเพมิ่ มลู คา่ ใหแ้ กเ่ กษตรกรไดอ้ กี ทางหนง่ึ คณะ
จึงเหมาะท่ีจะน�ำมาผลิตเป็นถ่านอัดแท่งเป็นอย่าง ผู้รับผิดชอบโครงการจึงศึกษาการผลิตถ่านอัดแท่ง
มาก ซง่ึ เมอ่ื นำ� มาผสมรวมกบั วตั ถดุ บิ อยา่ งอน่ื ทห่ี าได้ จากกะลามะพร้าวเพ่ือน�ำถ่านอัดแท่งมาใช้ในระดับ
ง่ายในชุมชนแล้วจะได้เป็นถ่านที่มีคุณภาพดีได้
ประโยชน์ 2 ทาง คอื สามารถจ�ำหนา่ ยได้ และช่วย
ลดขยะในชมุ ชนไดอ้ กี ทางหนง่ึ ดว้ ย
ชุมชนบา้ นคลองเรอื หมู่ท่ี 8 ตำ� บลขุนทะเล
อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับซ้ือกะลา
มะพร้าวจากพ้ืนท่ีใกล้เคียง เพ่ือส่งต่อไปยังโรงงาน
แต่ถ้าน�ำมาผลิตถ่านอัดแท่งและใช้เป็นเชื้อเพลิงใน
ชมุ ชนนน้ั จะเปน็ การชว่ ยลดตน้ ทนุ ในระดบั ครวั เรอื น
ได้ ดงั นัน้ ทางคณะผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการไดศ้ กึ ษาการ
ผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลามะพร้าวและถ่ายทอด
เทคโนโลยีการผลิตถ่านอัดแท่งจากกะลามะพร้าว
โดยการน�ำกะลามะพร้าวซ่ึงเป็นวัสดุเศษเหลือจาก
มะพร้าวมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าเพ่ิมเพ่ือเป็น
แนวทางเพิ่มรายได้ใหแ้ กเ่ กษตรกรได้อีกทางหนึง่
ทางชุมชนได้น�ำกะลามาเผาถ่านในถังน้�ำมัน
200 ลิตร แล้วน�ำถ่านกะลาที่เผาแล้วส่งขายให้กับ
โรงงานผลติ ถา่ นอดั แทง่ ในราคากโิ ลกรมั ละ 5-7 บาท
70

ครัวเรือน เมื่อได้ผลการผลิตถ่านอัดแท่งแล้วน�ำผล
การศึกษาที่ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตถ่าน
อดั แทง่ สชู่ มุ ชน เพอื่ เปน็ ตน้ แบบสำ� หรบั การผลติ ถา่ น
อดั แทง่ ในพน้ื ทบี่ า้ นคลองเรอื ดงั นนั้ กระบวนการทใ่ี ช้
ในการเปล่ียนแปลงและการยอมรับของชุมชน
เปา้ หมายตามโครงการ คอื การนำ� องคค์ วามรมู้ าเพมิ่
มูลค่าให้กับวัสดุเศษเหลือของมะพร้าวท�ำให้รายได้
ของเกษตรกรเพ่มิ ข้ึน
ชุมชนได้แนวทางในการเพ่ิมมูลค่าวัสดุเศษ
เหลือทางการเกษตร ได้แก่ ถ่านอัดแท่งจากกะลา
มะพร้าว และสามารถต่อยอดงานวิจัยจนเพิ่มมูลค่า
ให้กับวัสดุเศษเหลือ โดยชุมชนจัดตั้งกลุ่มแปรรูป
ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเศษเหลือจากมะพร้าวท�ำให้
เกษตรกรมีรายได้เพมิ่ ขน้ึ และยงั น�ำถ่านอัดแทง่ มาใช้
ในระดบั ครวั เรอื นเพอื่ ลดตน้ ทนุ การใชแ้ กส๊ หงุ ตม้ โดย
ทิศทางในอนาคตต้องมีการออกแบบเครื่องบดและ
อัดแท่งถ่านกะลามะพร้าวเพื่อรองรับกลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชนในการสร้างรายไดใ้ ห้กับชุมชนตอ่ ไป
.................................................................................

ผูร้ ่วมโครงการ ปภสั รา ทพิ ย์บรรพต สันติ รกั ษาพราหมณ์
และขจรพงศ์ หีตเพ็ง

71



(2) การด�ำเนินงานหรือการให้บริการการ สามารถผลิตก๊าซชีวภาพอยู่ในช่วง 1.20-1.50
ด�ำเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นกระบวนการ ลูกบาศกเ์ มตรต่อวัน ปริมาณมีเทนรอ้ ยละ 52.0 ค่า
ถ่ายทอดความรู้การผลิตก๊าซชีวภาพขนาด 8 พีเอชน้�ำล้นอยู่ในช่วง 7.2-7.4 และสามารถใช้ก๊าซ
ลูกบาศก์เมตร โดยการบรรยายและฝึกอบรม ชีวภาพทดแทนก๊าซ LPG ส�ำหรับหุงต้มประกอบ
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารระยะเวลาในการฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร อาหารได้โดยเฉลี่ย 2-3 ชั่วโมง นอกจากนี้กลุ่มผู้ใช้
จ�ำนวน 1 วัน และติดตามผลการผลิตก๊าซชีวภาพ บ่อหมักก๊าซชีวภาพยังน�ำน้�ำล้นหลังจากผลิตก๊าซ
เป็นระยะเวลา 30 วัน โดยอบรมให้ความรู้พ้ืนฐาน ชีวภาพไปใช้เป็นปุ๋ยส�ำหรับเพิ่มผลผลิตให้กับพืชผล
ในการผลิตก๊าซชีวภาพและสาธิตข้ันตอนการสร้าง
บ่อหมัก การจัดเตรียมบ่อเติมอาหารและจัดเตรียม
พ้ืนที่ส�ำหรับวางถุงหมักก๊าซชีวภาพรวมไปถึงการให้
ความรู้พ้ืนฐานในการน�ำหัวเชื้อจุลินทรีย์จากบ่อ
ไรอ้ ากาศของโรงงานสกดั น้ำ� มนั ปาลม์ การเติมมลู ววั
เศษอาหาร และทางใบปาล์มน้ำ� มนั
หลังจากการอบรมให้ความรู้พื้นฐานและฝึก
อบรมขั้นตอนการสร้างและการใช้งานบ่อหมักก๊าซ
ชีวภาพ ได้ติดตามประเมินความสำ� เร็จของโครงการ
โดยวิเคราะห์ผลจากผู้รับการฝึกอบรม สามารถน�ำ
วัสดุอุปกรณ์ส�ำหรับการสร้างบ่อหมักก๊าซไปติดต้ัง
ระบบได้ด้วยตนเอง และผลจากการเก็บข้อมูล
ปริมาณการผลิตก๊าซชีวภาพและการใช้งาน พบว่า
การหมักร่วมระหว่างทางใบปาล์มน�้ำมันกับมูลวัวท่ี
อัตราส่วนเท่ากับ 60:40 เติมหัวเช้ือร้อยละ 20

73

ทางการเกษตร อีกทั้งจากความส�ำเร็จในการสร้าง
และใช้งานของบ่อหมักก๊าซชีวภาพ ท�ำให้ชุมชน
ใกล้เคียงมีความสนใจในการติดตั้งบ่อหมักก๊าซ
ชีวภาพเพ่ิมข้ึน โดยมีแนวทางในการขยายผล คือ
คณะผู้วิจัยจะท�ำการอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับผู้ท่ี
สนใจในอนาคต เพื่อให้โครงการดังกล่าวเกิดความ
ตอ่ เนื่องและสรา้ งความยง่ั ยืนให้เกดิ ข้ึนในชมุ ชน
นอกจากนน้ีได้ขยายโครงการไปยังพื้นที่
เกาะพะลวย โดยชาวประมงมวี สั ดเุ หลอื จากเศษปลา
จากการทำ� ประมงและตอ้ งรออกี 1-2 วนั เพอื่ นำ� กลบั
ไปทิ้งในทะเล ท�ำให้วัสดุเศษเหลือจากเศษปลาเกิด
กลิ่นเหม็น ท�ำให้เกิดมลพิษทางอากาศ ส่งผลต่อ
คุณภาพชีวิต ดังน้ัน ถ้าชาวประมงในพื้นท่ีเกาะ
พะลวย มีการน�ำวัสดุเศษเหลือจากเศษปลามาใช้
ประโยชน์และได้ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทน
ลดปัญหาส่ิงแวดล้อม ท�ำให้สภาพแวดล้อมและ
คณุ ภาพชวี ิตดีขึ้นโดยในอนาคตจะน�ำผลการศึกษาท่ี
ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพสู่ชุมชน
เพื่อเป็นต้นแบบส�ำหรับการผลิตก๊าซชีวภาพในพื้นที่
เกาะพะลวยตอ่ ไป
.................................................................................

ผู้ร่วมโครงการ วัชรี รวยร่นื ปภสั รา ทพิ ยบ์ รรพต
สนั ติ รกั ษาพราหมณ์ และขจรพงศ์ หตี เพ็ง

74















ข้าวเปลือกข้าวหอมไชยา คือเปลือกหนา ตากฝน วิถีการท�ำนาได้เปลี่ยนไปจากการใช้ภูมิปัญญามาใช้
ตากแดดไวก้ ย็ งั มขี า้ วสารสวยไมห่ กั เมอื่ ตากขา้ วทน่ี า เคร่ืองทุ่นแรง เช่น เครื่องจักรไถนา เครื่องด�ำนา
จนแห้งดีแล้วน�ำไปเก็บไว้ในยุ้งฉาง (เรือนข้าว) เครอื่ งพน่ กลา้ เปน็ ตน้ จนอาจกลา่ วไดว้ า่ ปจั จบุ นั ขา้ ว
คอยดแู ลไมใ่ หห้ นมู ากนิ ขา้ วเปลอื กมกี ารทำ� ขวญั ขา้ ว หอมไชยาเหลือแต่ช่ือกาลเวลาและวิถีใหม่ได้ท�ำให้
ก่อนเอาเข้ายุ้งฉาง แล้วน�ำปล่องหรือไม้ไผ่ไซหรือ พนั ธกุ รรมขา้ วหอมไชยาไดก้ ลายพนั ธจ์ุ นยากจะฟน้ื ฟู
สุ่มดักปลาไปปักไว้ตรงกลางกองข้าว เพ่ือให้ระบาย ใหบ้ รสิ ทุ ธดิ์ งั้ เดมิ และกลายเปน็ ตำ� นานคทู่ งุ่ เสมด็ แหง่
ความรอ้ น ถา้ ขา้ วเปลอื กรอ้ นจดั จะแตกตอก (ขา้ วสาร ไชยาไปเสยี แล้ว
จะเปน็ ขา้ วสกุ เปน็ แปง้ เอามาสีเป็นข้าวสารไมไ่ ด)้
ส�ำหรับภูมิปัญญาในการท�ำข้าวสารเอา
ข้าวเปลือกมาตากให้แห้งใส่ครกกระเด่ืองต�ำหรือ
เรียกว่า “ซ้อมมือ” แล้วน�ำมาใส่กระด้งฝัดเอาร�ำ
และแกลบปลายสารออกแลว้ นำ� ไปเลยี้ งสตั ว์ เชน่ หมู
ไก่ เป็ด ประมาณ 20-30 ตัวในครัวเรือน ส�ำหรับ
การเล้ียงเปด็ ของทน่ี จ่ี ะเลีย้ งแบบปลอ่ ยทุ่ง ให้หากนิ
ในนาซึ่งมีทง้ั ข้าวเปลือก กงุ้ หอย ปู ปลา
ปัจจุบันภูมิปัญญาเก่ียวกับข้าวหอมไชยา
ก�ำลังจะเลือนหายไปจากพ้ืนที่เนื่องจากการเข้ามา
ของทุนนิยมและวิทยาการสมัยใหม่ เม่ือประมาณ
20 ปที แี่ ลว้ ไดม้ กี ารสง่ เสรมิ และการทำ� นาเพอ่ื การคา้
แทนการยังชีพ เริ่มน�ำข้าวหอมปทุมธานีมาปลูก
ทดแทนข้าวหอมไชยา ท�ำข้าวนาปรังแทนข้าวนาปี
ซ่ึงสามารถปลูกได้ปีละ 2 ครั้ง และมีโรงสีมารับ
82





คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ สำ� หรบั โครงการต่อเน่อื งในปีที่ 2 นน้ั มงุ่ เน้น
กองบรกิ ารวชิ าการพฒั นาทอ้ งถน่ิ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั การเผยแพรค่ วามรแู้ กผ่ สู้ นใจในวงกวา้ งผา่ นชอ่ งทาง
สุราษฎร์ธานี จึงได้จัดท�ำและสนับสนุนโครงการ ออนไลน์ เพ่ือรองรับกับสถานการณ์โรคระบาดท่ี
เพ่ือผลิตวุ้นสวรรค์แปรรูป ท่ีเน้นศึกษาและเผยแพร่ เกิดข้ึน โดยโครงการได้จัดท�ำเว็บไซต์รวบรวม
การน�ำวนุ้ สวรรคม์ าทำ� เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เพมิ่ ความ รายละเอียดการแปรรูปวุ้นสวรรค์ ทั้งจากโครงการ
หลากหลายของผลติ ภณั ฑแ์ ละเปน็ ทางเลอื กการสรา้ ง ระยะแรกทเ่ี ผยแพรใ่ นรปู แบบหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
รายไดแ้ กช่ มุ ชนนบั จนถงึ ปจั จบุ นั การดำ� เนนิ โครงการ (e-book) และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่ที่อยู่ในรูป
ไดเ้ ขา้ สปู่ ที ี่ 2 แลว้ ทผี่ า่ นมานอกจากไดอ้ บรมเผยแพร่ คลปิ วดี โี อ ประกอบดว้ ยหมกึ ดองวาซาบิวแี กน ที่ใช้
แก่ชุมชุนท่ีสนใจ ยังได้เข้าร่วมจัดแสดงในงานแสดง วนุ้ สวรรคแ์ ทนเนอื้ หมกึ ทำ� ในรปู แบบอาหารคาว และ
สินค้าระดับประเทศ และในนิทรรศการทรัพยากร เป็นอาหารวีแกนซ่ึงไม่มีส่วนผสมจากสัตว์ โยเกิร์ต
ไทย : ชาวบ้านไทยไดป้ ระโยชน์ ครัง้ ที่ 10 เปน็ การ นำ�้ เตา้ หวู้ นุ้ สวรรค์ วธิ กี ารทำ� โยเกริ ต์ จากนมถว่ั เหลอื ง
เผยแพร่ความรู้ และให้ผู้สนใจมีโอกาสได้ล้ิมลอง เพ่ิมเนื้อสัมผัสด้วยวุ้นมะพร้าว กัมมี่ผสมวุ้นสวรรค์
ผลิตภัณฑ์จากโครงการ ขนมกินเล่นเหนียวหนึบ เยลล่ีเปล่ียนสีที่เพ่ิมความ
นา่ สนใจเวลารบั ประทาน และวธิ ที ำ� วนุ้ สวรรคแ์ คลอรี่
ตำ่� สำ� หรบั ผู้ทีค่ วบคมุ อาหาร

85

การทำ� งานในโครงการเนน้ การบรู ณาการ เพอ่ื
รวบรวมข้อมูลความรู้สู่การนำ� เสนอทที่ นั สมยั พร้อม
ทงั้ เปน็ การฝกึ นกั ศกึ ษาทช่ี ว่ ยงานในโครงการ เปน็ การ
เตรียมความพร้อมการท�ำงานจริงและเป็นทางเลือก
อาชพี หลงั ส�ำเรจ็ การศึกษาไดอ้ กี ทางหนึ่ง
.................................................................................

ผรู้ ว่ มโครงการ พัชรี หลงุ่ หม่าน จิตเกษม หลำ� สะอาด
วีณา จิรัตฐิวรตุ ม์กลุ ชยั สาร จรี นันท์ กลอ่ มนรา แก้วรกั ษา
ดอกรกั ชยั สาร และศกั ดช์ิ ัย กรรมารางกรู
ภมรรตั น์ สุธรรม
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์

86

87
"สรา้ งบรรยากาศน่าเรยี นร"ู้
พัฒนาห้องสมดุ โรงเรยี น ตชด.

วรรนภา ทองสมสี
หอสมุดกลาง สำ� นกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

การพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนต�ำรวจตระเวน
ชายแดน สงั กดั กองกำ� กบั การตำ� รวจตระเวนชายแดน
ที่ 41 เปน็ หนงึ่ ในโครงการสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน ของมหาวิทยาลัย
เพอ่ื สนองงานโครงการของสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ดว้ ยทรงเหน็ วา่ การทจ่ี ะปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ นกั เรยี นมนี สิ ยั
รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ืองได้นั้น
จ�ำเป็นต้องมีแหล่งการเรียนรู้ที่ดีและสามารถเข้าถึง
ไดง้ ่าย การจดั ห้องสมุดโรงเรยี นจึงเป็นแนวทางหนง่ึ
ท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในถิ่น
ทุรกันดาร ในการพฒั นาหอ้ งสมดุ โรงเรยี น
หอสมดุ กลาง สำ� นกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

มีบทบาทและหน้าท่ีการท�ำงานร่วมกับงานบริการ
วชิ าการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ในการขบั เคลอ่ื นโครงการและ
สนองงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับห้องสมุดโรงเรียน
ต�ำรวจตระเวนชายแดนได้ลงพ้ืนท่ีในเขตจังหวัด
สุราษฎร์ธานี และจงั หวดั ชมุ พร จำ� นวน 11 โรงเรยี น
เพ่ือให้การบริหารจัดการงานห้องสมุดบรรลุตาม
วัตถุประสงค์ ให้ครูบรรณารักษ์มีความรู้ความเข้าใจ
งานห้องสมุด และสามารถจัดห้องสมุดให้เป็นแหล่ง
เรียนรู้ท่ีดีส�ำหรับนักเรียนได้มีหนังสือ สื่อโสตทัศน์
การจดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งสมดุ
ที่ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ของนักเรียน การจัดวางวัสดุ
ครุภัณฑ์ท่ีมีความเหมาะสมกับพื้นท่ีของห้องสมุด มี
พื้นท่ีในการนั่งอ่านหนังสือ และการท�ำกิจกรรม
88





ของแหล่งทุนต่าง ๆ ที่ให้สนับสนุนในการผลิต
นวตั กรรมตน้ แบบ โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ผลติ เพม่ิ อตั รา
การผลติ หรอื แปรรปู ตามโจทยท์ ไ่ี ดร้ บั จากชมุ ชนและ
ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการน�ำภูมิปัญญาที่มีอยู่เดิมมา
ช่วยเสริมให้นวัตกรรมทรงคุณค่าและใช้งานได้จริง
เปน็ การยกระดบั ชุมชนเชงิ เศรษฐกิจและสังคม
โครงการไม่ได้ยุติเพียงการอบรมในครั้งเดียว
ทางสาขาดำ� เนนิ การทงั้ สว่ นทใ่ี หค้ วามรเู้ ชงิ ทฤษฎแี ละ
การฝกึ ปฏบิ ตั ใิ ชง้ านจากบคุ ลากรของสาขาเทคโนโลยี
ไฟฟา้ อตุ สาหกรรมใหก้ บั เกษตรกรมกี ารกำ� กบั ตดิ ตาม
ปรบั ปรงุ ซอ่ มบำ� รงุ นวตั กรรมตน้ แบบและดำ� เนนิ การ
อย่างต่อเนื่องกับชุมชนผู้ขอใช้ประโยชน์ปัจจุบัน
นวัตกรรมได้ถูกถ่ายทอดสู่ชุมชนในประเด็น
“ผลิตภัณฑจ์ ากหมาก” มตี ้นแบบ 2 เครือ่ งตดิ ต้ังไว้

91

ณ “ชมุ ชนบา้ นภรู นิ ” ประกอบดว้ ย “เครอ่ื งพมิ พข์ นึ้
รูปภาชนะใสอ่ าหารจากกาบหมากแหง้ ” ซึ่งสามารถ
ผลิตได้เฉลี่ย 40 ใบต่อช่ัวโมง และ “เคร่ืองผ่าซีก
หมากแหง้ ” ซง่ึ สามารถผา่ ซกี ผลหมากไดเ้ ฉลย่ี 80 ผล
ต่อนาที ท้ังหมดไดร้ ับทุนสนบั สนนุ จากมหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี และโปรแกรมสนับสนุนการ
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP)
จดุ ม่งุ หมายสูงสุดของโครงการคือ “การสรา้ ง
นวตั กรรมทใ่ี ชไ้ ดจ้ รงิ ในการยกระดับความมนั่ คงทาง
อาชีพ” และสาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรมยัง
ด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเน่ืองเพื่อชุมชน
ทอ้ งถ่ินต่อไป
92



ของธรุ กจิ ทอ่ งเทย่ี ว จงึ ทำ� ใหเ้ กษตรกรเปลย่ี นไปปลกู พชื เศรษฐกจิ ของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ซง่ึ ประกอบดว้ ย
พืชเศรษฐกิจอ่ืน แต่ด้วยในปัจจุบันพื้นท่ีปลูกมี ความรลู้ กั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ชนดิ พนั ธ์ุ การปลกู
แนวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ การใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั พชื เศรษฐกจิ ที่ การเพาะขยายพนั ธ์ุ ศตั รแู ละการปอ้ งกนั กำ� จดั พนื้ ที่
เปน็ สว่ นหนงึ่ ในวถิ ชี วี ติ และทอ้ งถนิ่ ของตน จงึ มคี วาม ปลูกในจังหวัดสุราษฎร์ธานี การใช้ประโยชน์ในรูป
สำ� คัญและจ�ำเป็น แบบต่าง ๆ เป็นต้น เพื่อเป็นสื่อไปใช้ประกอบการ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎร์ธานี จงึ จัดสรา้ ง เรียนการสอนของครูในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา
และพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องมะพร้าว ตอนตน้ ตามโครงสรา้ งหลกั สตู รรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
มีตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระการ
เรยี นรทู้ ่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.
2560) หรือวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
นอกจากน้ันเป็นเร่ืองราวเก่ียวกับพืชเศรษฐกิจใน
ท้องถิ่นเหมาะส�ำหรับปลูกฝังให้นักเรียนในท้องถิ่น
หรือใช้สอนในหลักสูตรท้องถิ่นได้ในการด�ำเนินงาน
ครงั้ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ถอดบทเรยี นองคค์ วามรเู้ รอ่ื ง
ของมะพรา้ วในจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี สรา้ งและพฒั นา
ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องมะพร้าวพืชเศรษฐกิจ
ข อ ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร ์ ธ า นี ส� ำ ห รั บ นั ก เ รี ย น ชั้ น
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องมะพร้าว
พืชเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานีรวบรวมข้อมูล
เกย่ี วกบั มะพรา้ วจากการสมั ภาษณภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
เกษตรกรสวนมะพร้าว ผู้เก่ียวข้องในท้องถ่ินท้ัง

94

ภาครัฐและเอกชนน�ำข้อมูลมาสังเคราะห์เพ่ือ
เรียบเรียงและจัดท�ำเป็นชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เรื่องมะพร้าวพืชเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
สำ� หรับนักเรยี นชัน้ มัธยมตน้ ท่ปี ระกอบด้วย 1) คมู่ ือ
การใช้ 2) ชดุ การเรยี นรู้ 7 เรอื่ ง คอื พนื้ ทปี่ ลกู มะพรา้ ว
ในจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ลกั ษณะของมะพรา้ ว ประเภท
และพันธุ์มะพร้าวการปลูกมะพร้าว การดูแลรักษา
สวนมะพร้าว การใช้ประโยชน์จากมะพร้าวของคน
สุราษฎร์ธานีและการใช้ประโยชน์จากมะพร้าวใน
ปัจจุบัน 3) แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน 4)
แบบสอบถามความพึงพอใจ ซึ่งชุดการเรียนรู้ด้วย
ตนเองท่ีพัฒนาข้ึนได้รับการประเมินคุณภาพและ
ความเหมาะสมจากผเู้ ชย่ี วชาญ 5 คน คา่ ความเหมาะสม
อยู่ในระดับมากที่สุดซ่ึงมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 4.81±0.17 การประเมินความ
สอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - หลงั
เรยี นทง้ั 7 เรอื่ ง สามารถน�ำไปใชไ้ ดท้ ุกข้อ โดยมคี ่า
ดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.6 – 1.00 น�ำแบบ
ทดสอบก่อนเรยี น - หลังเรยี นจ�ำนวน 30 ข้อ ไปใช้
กับนักเรียนท่ีไม่ใช่กลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงแบบทดสอบท่ี
เลือกมีค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง 0.39-0.76
ค่าอำ� นาจจ�ำแนก (r) อย่รู ะหวา่ ง 0.22 – 0.46 และ

95

ค่าความเชื่อม่ันท้ังฉบับ (KR- 20) เท่ากับ 0.89
ซง่ึ สามารถนำ� ไปใชเ้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเองได้

สรุปผลการดำ� เนนิ งาน
1) ผลการใช้ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
หลังจากน�ำชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองเร่ือง
มะพร้าวพืชเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปใช้
กบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จำ� นวน 6 โรงเรยี น
คือ โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 โรงเรียนกาญจนดิษฐ ์
โรงเรียนวัดสมหวัง โรงเรียนเทศบาล 4 โรงเรียน
พระแสงวิทยา และโรงเรียนคลองฉนวนวิทยา รวม
จ�ำนวนนักเรียน 190 คน มีผลการเปล่ียนแปลง
การเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละกลุ่มหลังจากเรียนด้วย
ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเองพบว่านักเรียนส่วนใหญ่มี
ความรู้เร่ืองมะพร้าวพืชเศรษฐกิจของจังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านเี พม่ิ ขน้ึ โดยนำ� ผลตา่ งของคะแนนกอ่ นเรยี น
และหลังเรียนของนักเรียนแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบ
และทดสอบหาค่าที (t-test) แบบไม่อิสระ (t test
for dependent) จากผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู พบวา่
โดยภาพรวมคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนกั เรยี น หลงั เรียนดว้ ยชดุ การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง
มากกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
96

ทร่ี ะดบั 0.01 ซงึ่ หมายความวา่ นกั เรยี นมคี วามรเู้ รอื่ ง
มะพรา้ วพชื เศรษฐกจิ ของจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านเี พม่ิ ขน้ึ
ในชดุ ท่ี 1-7 แต่ผลการทดสอบนกั เรียนบางกลมุ่ ไมม่ ี
ความแตกตา่ งทางสถติ เิ นอ่ื งจากนกั เรยี นบางคนไมไ่ ด้
ท�ำแบบทดสอบท้ายบทและบางคนมีผลการทดสอบ
หลังเรยี นน้อยกว่ากอ่ นเรียน
2) การประเมินความพึงพอใจการใช้ชุดการ
เรียนรู้ด้วยตนเองจากครูผู้สอนและครูผู้เก่ียวข้อง
จำ� นวน 15 คน โดยภาพรวมครมู คี วามพงึ พอใจอยใู่ น
ระดับมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 4.53±0.44 เมื่อวิเคราะห์เป็นรายประเด็น
พบว่า (1) ด้านความรู้สึกนึกคิดของนักเรียนท่ีมีต่อ
ชดุ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองในเรอ่ื งความสนใจ การเรยี นรู้
รวดเร็วเข้าใจมากยิ่งข้ึนเป็นส่ือการเรียนท่ีสามารถ
เรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลานักเรียนมีความพอใจกับการ
เรยี นดว้ ยชดุ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ครมู คี วามพงึ พอใจ
ในระดับมาก (4.38±0.59) (2) ด้านการแสดงออก
ของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยชุดการเรียนรู้
ด้วยตนเองในเรื่องความต้ังใจเรยี นดี การปฏสิ มั พนั ธ์
มากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกันและกันครูมี
ความพึงพอใจในระดับมาก (4.44±0.58) และ (3)
ด้านการเห็นความส�ำคัญและประโยชน์ต่อการเรียน

97


Click to View FlipBook Version